Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_08

tripitaka_08

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:39

Description: tripitaka_08

Search

Read the Text Version

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 551 พทุ ธานุญาตใหระงับอธกิ รณดว ยติณวัตถารกะ พระผมู ีพระภาคเจารับสั่งกะภิกษุท้ังหลาย วาดงั น้ี :- [๖๒๖] ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย กพ็ วกภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้ เกิดความบาดหมาง เกิดความทะเลาะ ถึงความววิ าทอยู ไดป ระพฤตลิ ะเมิดกจิ อันไมค วรแกสมณะเปนอนั มาก ท้งั ท่ีกลาวดวยวาจาและพยายามทําดวยกาย ถา พวกเธอในหมนู ั้นคดิ อยา งนว้ี า พวกเราเกดิ ความบาดหมางเกดิ ความทะเลาะ ถงึ ความววิ าทอยู ไดประพฤตลิ ะเมดิ กิจอนั ไมควรแกสมณะเปน อนั มาก ท้ังท่กี ลาวดว ยวาจาและพยายามทําดว ยกาย ถาพวกเราจักปรับกนั ดวยอาบัติเหลาน้ี บางทอี ธกิ รณน นั้ จะพงึ เปน ไปเพ่ือความรุนแรง เพอื่ ความรา ยกาจ เพื่อความแตกกันก็ได ดกู อนภิกษุทงั้ หลายเราอนญุ าตใหร ะงับอธิกรณเห็นปาน้ัน ดวยตณิ วตั ถารกะ..... วิธีระงบั [๖๒๗] ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย กแ็ ล สงฆพ งึ ระงับอยางนี้ ภกิ ษุทุก ๆ รปู พงึ ประชมุ ในท่ีแหง เดียวกนั คร้ันแลว ภิกษุผูฉ ลาดผสู ามารถ พงึ ประกาศใหส งฆทราบดว ยญัตติกรรมวาจา วาดงั น:ี้ - ญตั ตกิ รรมวาจาระงบั อธกิ รณดว ยติณวัตถารกะ ทานเจาขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา พวกเราเกดิ ความบาดหมาง เกิดความทะเลาะ ถงึ ความววิ าทอยู ไดประพฤติละเมดิ กิจอันไมสมควรแกส มณะเปน อนั มาก

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 552 ทง้ั ท่กี ลาวดวยวาจาและพยายามทาํ ดว ยกาย ถา พวกเราจกั ใหป รบั กันดวยอาบัติเหลา นี้ บางทีอธกิ รณนนั้ จะพงึ เปน ไป เพ่อื ความรนุ แรง เพอื่ ความรา ยกาจ เพือ่ ความ แตกกนั ก็ได ถาความพรอ มพรงั่ ของสงฆถงึ ท่แี ลว สงฆ พึงระงับอธิกรณนด้ี ว ยตณิ วตั ถารกะ เวนอาบัตทิ ่ีมโี ทษ หนกั เวนอาบตั เิ นื่องดว ยคฤหัสถ บรรดาภิกษฝุ ายเดียวกัน ภกิ ษผุ ฉู ลาด ผูส ามารถ พงึ ประกาศใหฝ า ยของคนทราบดวยคณะญัตติกรรมวาจา วา ดังน้ี:- คณะญตั ติกรรมวาจา ขอทา นท้งั หลายจงพงึ ขาพเจา พวกเราเกิดความ บาดหมาง เกดิ ความทะเลาะ ถึงความววิ าทอยู ได ประพฤติละเมดิ กจิ อนั ไมค วรแกส มณะเปน อันมาก ท้ังท่ี กลา วดว ยวาจาและพยายามทาํ ดวยกาย ถา พวกเราจกั ปรับ กนั ดว ยอาบัตเิ หลา นี้ บางทีอธกิ รณนนั้ จะพึงเปนไปเพอ่ื ความรนุ แรง เพ่ือความรายกาจ เพือ่ ความแตกกนั ก็ได ถา ความพรอ มพรงั่ ของทา นทัง้ หลายถึงท่ีแลว ขาพเจาพงึ แสดงอาบตั ิของทา นทงั้ หลาย และอาบัตขิ องตนในทาม กลางสงฆดว ยติณวตั ถารกะ เวน อาบตั ทิ ่ีมีโทษหนัก เวน อาบัตเิ นื่องดว ยคฤหสั ถ เพอ่ื ประโยชนแกทานทั้งหลาย และเพือ่ ประโยชนแกต น.

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 553 [๖๒๘] ลาํ ดับน้ัน บรรดาภกิ ษุฝา ยเดยี วกันอีกพวกหน่งึ ภิกษุผฉู ลาด ผูสามารถ พึงประกาศใหฝา ยของคนทราบดวยญตั ตกิ รรมวาจาวาดงั น้ี :- คณะญตั ติกรรมวาจา ขอทานท้ังหลายจงฟงขาพเจา พวกเราเกดิ ความ บาดหมาง เกิดความทะเลาะ ถงึ ความวิวาทอยู ได ประพฤตลิ ะเมดิ กจิ อันไมค วรแกส มณะเปนอันมาก ทง้ั ที่ กลาวดว ยวาจาและพยายามทําดว ยกาย ถา พวกเราจกั ปรับ กันดว ยอาบัตเิ หลา นี้ บางทอี ธิกรณนน้ั จะพงึ เปนไป เพื่อ ความรนุ แรง เพ่ือความรา ยกาจ เพอ่ื ความแตกกันกไ็ ด ถาความพรอมพร่ังของทานทัง้ หลายถึงที่แลว ขา พเจา พึง แสดงอาบตั ิของทานท้ังหลาย และอาบตั ขิ องตน ใน ทามกลางสงฆด ว ยติณวตั ถารกะ เวนอาบตั ิท่ีมีโทษหนกั เวน อาบตั เิ นื่องดว ยคฤหัสถ เพื่อประโยชนแกทานทง้ั หลาย และเพ่อื ประโยชนแ กต น. [๖๒๙] บรรดาภิกษุฝายเดยี วกนั ภกิ ษผุ ูฉ ลาด ผูสามารถ พึงประกาศใหสงฆท ราบดว ยญตั ติทตุ ยิ กรรมวาจา วาดงั นี้ :- ญัตติทุติยกรรมวาจา ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟงขาพเจา พวกเราเกดิ ความบาดหมาง เกิดความทะเลาะ ถงึ ความวิวาทอยู ได

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 554ประพฤติละเมดิ กิจอนั ไมค วรแกส มณะเปน อันมาก ท้งั ท่ีกลาวดวยวาจาและพยายามทาํ ดวยกาย ถาพวกเราจักปรบักนั ดว ยอาบตั ิเหลานี้ บางทอี ธิกรณนั้นจะพงึ เปน ไป เพื่อความรนุ แรง เพื่อความรา ยกาจ เพ่ือความแตกกนั ก็ไดถา ความพรอมพรัง่ ของสงฆถ ึงท่แี ลว ขาพเจาพงึ แสดงอาบตั ิของทานเหลานี้ และอาบตั ิของตน ในทามกลางสงฆดวยติณวตั ถารกะ เวนอาบตั ิทมี่ โี ทษหนกั เวน อาบตั ิเนื่องดว ยคฤหสั ถ เพือ่ ประโยชนแ กท า นเหลานี้ และเพ่ือประโยชนแ กตน นี้เปน ญัตติ ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟงขาพเจา พวกเราเกิดความบาดหมาง เกิดความทะเลาะ ถึงความวิวาทอยู ไดประพฤติละเมดิ กิจอนั ไมควรแกสมณะเปน อันมาก ทง้ั ที่กลา วดวยวาจา และพยายามทําดว ยกาย ถาพวกเราจกัปรับกันดว ยอาบตั ิเหลา น้ี บางทอี ธิกรณน ั้นจะพงึ เปน ไปเพื่อความรุนแรง เพ่อื ความรา ยกาจ เพอ่ื ความแตกกนั ก็ได ขา พเจาแสดงอาบตั ิของทา นเหลานี้ และอาบตั ขิ องตน ในทา มกลางสงฆด วยติณวัตถารกะ เวนอาบัตทิ ี่มีโทษหนัก เวน อาบตั เิ น่ืองดวยคฤหัสถ เพือ่ ประโยชนแกท านเหลานี้ และเพ่อื ประโยชนแกตน การแสดงอาบัติเหลาน้ีของพวกเรา ในทา มกลางสงฆดวยตณิ วัตถารกะเวน อาบตั ทิ ี่มโี ทษหนกั เวนอาบตั ิเนือ่ งดว ยคฤหสั ถ ชอบ

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 555 แกท า นผูใด ทา นผนู ั้นพงึ เปน ผูนิง่ ไมชอบแกท า นผูใด ทานผนู ั้นพึงพดู อาบตั ิเหลา นข้ี องพวกเราเวนอาบตั ิทีม่ โี ทษหนกั เวนอาบตั ิเนอื่ งดวยคฤหัสถ ขาพเจาแสดงแลว ในทาม กลางสงฆด ว ยตณิ วัตถารกะ ชอบแกส งฆ เหตนุ น้ั จึงนิ่ง ขาพเจาทรงความนีไ้ ว อยางน.้ี [๖๓๐] ลําดับน้นั บรรดาภิกษฝุ า ยเดยี วกันอกี พวกหนง่ึ ภกิ ษุผูฉลาด ผสู ามารถ พึงประกาศใหสงฆทราบดวยญตั ตทิ ตุ ยิ กรรมวาจาวาดังน้ี. ญตั ตทิ ุตยิ กรรมวาจา ทา นเจา ขา ขอสงฆจ งฟงขา พเจา พวกเราเกิด ความบาดหมาง เกดิ ความทะเลาะ ถึงความววิ าทอยู ได ประพฤตลิ ะเมิดกิจอันไมควรแกส มณะเปนอนั มาก ทั้งท่ี กลาวดวยวาจาและพยายามทาํ ดว ยกาย ถา พวกเราจกั ปรบั กันดว ยอาบตั ิเหลา น้ี บางทีอธกิ รณน้นั จะพึงเปน ไป เพอื่ ความรนุ แรง เพอ่ื ความรา ยกาจ เพือ่ ความแตกกนั ก็ได ถา ความพรอมพรัง่ ของสงฆถ งึ ทแ่ี ลว ขา พเจา พึงแสดง อาบตั ิของทา นเหลาน้ี และอาบัติของตนในทา มกลางสงฆ ดว ยตณิ วตั ถารกะ เวนอาบตั ิที่มโี ทษหนัก เวน อาบัตเิ นอ่ื ง ดว ยคฤหัสถ เพ่อื ประโยชนแ กทา นเหลา นี้ และเพอ่ื ประโยชนแ กต น น้ีเปน ญตั ติ

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 556 ทานเจา ขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา พวกเราเกิด ความบาดหมาง เกดิ ความทะเลาะ ถงึ ความววิ าทอยู ได ประพดู ละเมิดกจิ อนั ไมค วรแกส มณะเปน อนั มาก ท้งั ที่ กลาวดว ยวาจาและพยายามทาํ ดว ยกาย ถา พวกเราจักปรับ กันดว ยอาบตั ิเหลา นี้ บางทอี ธิกรณนั้นจะพงึ เปนไป เพอื่ ความรนุ แรง เพอื่ ความรา ยกาจ เพือ่ ความแตกกนั กไ็ ด ขาพเจา แสดงอาบตั ขิ องทานเหลา นี้ และอาบัตขิ องตนใน ทามกลางสงฆด ว ยติณวตั ถารกะ เวน อาบตั ิทมี่ ีโทษหนกั เวนอาบัตเิ นือ่ งดวยคฤหัสถ เพือ่ ประโยชนแ กทานเหลา นี้ และเพอ่ื ประโยชนแกต น การแสดงอาบตั ิเหลานี้ของพวก เรา ในทา มกลางสงฆดว ยตณิ วัตถารกะ เวน อาบตั ทิ ม่ี ี โทษหนัก เวนอาบตั ิเนือ่ งดว ยคฤหสั ถ ชอบแกท า นผใู ด ทานผูน้ันพึงเปนผนู งิ่ ไมชอบแกท า นผใู ด ทา นผูนน้ั พงึ พดู อาบัติเหลาน้ีของพวกเรา เวน อาบัตทิ ีม่ ีโทษหนกั เวน อาบตั ิเนอ่ื งดวยคฤหัสถ ขาพเจา แสดงแลว ในทาม กลางสงฆด วยติณวตั ถารกะ ชอบแกส ง  เหตนุ น้ั จงึ นิ่ง ขา พเจาทรงความนไี้ ว อยางนี้. [๖๓๑] ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย กแ็ ล ดว ยอาการอยางนี้ ภิกษุเหลานนั้ เปนผูออกแลว จากอาบตั เิ หลานั้น เวนอาบตั ทิ มี่ ีโทษหนัก เวนอาบตั ิเนื่องดว ยคฤหสั ถ เวน ผแู สดงความเห็นแยง เวน ผูไมไดอยใู นท่นี ้นั .

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 557 อธกิ รณ [๖๓๒] โดยสมัยนัน้ แล พวกภกิ ษุวิวาทกับพวกภิกษณุ บี า ง พวกภิกษณุ วี วิ าทกบั พวกภิกษบุ า ง ฝายพระฉนั นะเขา แทรกแซงพวกภิกษณุ ีแลวววิ าทกบั พวกภิกษุ ใหถอื ฝา ยภิกษุณี บรรดาภกิ ษุทเ่ี ปนผมู ักนอย....ตา งก็เพงโทษ ติเตยี นโพนทะนาวา ไฉนพระฉนั นะจงึ ไดเขา แทรกแซงพวกภกิ ษุณี แลววิวาทกับพวกภิกษุ ใหถอื ฝา ยภิกษุณเี ลา แลว กราบทูลเรอ่ื งน้นั แดพ ระผมู พี ระภาคเจา ๆ ทรงสอบถามภกิ ษุทัง้ หลายวา ไดยนิวา ภกิ ษฉุ นั นะเขาเเทรกเเซงพวกภกิ ษณุ ี แลว วิวาทกบั พวกภกิ ษุ ใหถ อืฝายภกิ ษณุ ี จริงหรอื ภกิ ษทุ ั้งหลายกราบทูลวา จริง พระพุทธเจา ขา พระผมู ีพระภาคพุทธเจา ทรงติเตยี น.... ครนั้ แลวทรงทําธรรมีกถารับ ส่ังกะภกิ ษทุ งั้ หลายวา ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย อธกิ รณ ๔ นี้ คือววิ าทาธกิ รณ อนุวาทาธิกรณ อาปตตาธิกรณ กจิ จาธกิ รณ. อธิกรณ ๔ อยา ง ๑. วิวาทาธกิ รณ [๖๓๓] ในอธิกรณ ๔ อยา งนั้น วิวาทาธิกรณ เปนไฉน? ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย กภ็ ิกษทุ ั้งหลายในธรรมวนิ ยั น้ี ยอมววิ าทกนั วา ๑. น้เี ปน ธรรม นี้ไมเปนธรรม ๒. นเ้ี ปนวนิ ัย น้ีไมเ ปนวินยั

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 558 ๓. นี้พระตถาคตเจาตรัสภาษิตไว น้พี ระตถาคตเจา ไมไ ดตรสั ภาษติไว ๔. น้ีพระตถาคตเจา ทรงประพฤติมา นี้พระตถาคตเจา ไมไดทรงประพฤตมิ า ๕. น้พี ระตถาคตเจาทรงบัญญตั ไิ ว น้ีพระตถาคตเจาไมไ ดทรงบัญญัติไว ๖. นเ้ี ปน อาบัติ นไี้ มเ ปน อาบัติ ๗. นเี้ ปน อาบตั เิ บา นี้เปน อาบัติหนกั ๘. น้เี ปนอาบัติมสี ว นเหลือ นี้เปน อาบัติหาสวนเหลอื มไิ ด ๙. นเี้ ปน อาบัตชิ ว่ั หยาบ นีเ้ ปน อาบตั ไิ มชวั่ หยาบ. ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแกง แยง ความทุมเถยี งความกลาวตางกนั ความกลาวประการอ่นื การพูดเพอื่ ความกลดั กลมุ ใจความหมายม่นั ในเรือ่ งน้นั อนั ใด นีเ้ รยี กวา วิวาทาธกิ รณ. ๒. อนุวาทาธิกรณ [๖๓๔] ในอธกิ รณ ๔ อยางนั้น อนุวาทาธิกรณ เปน ไฉน?ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย อนงึ่ ภิกษทุ ้ังหลายในธรรมวินัยนี้ ยอมโจทภกิ ษุดว ยศีลวิบัติ อาจารวิบตั ิ ทฏิ ฐิวิบัติ หรอื อาชีววบิ ัติ การโจท การกลาวหา การฟอ งรอง การประทวง ความเปน ผคู ลอ ยตาม การทาํความอุตสาหะโจท การตามเพิม่ กาํ ลงั ให ในเร่ืองน้ันอนั ใด นเ้ี รยี กวาอนุวาทาธกิ รณ.

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 559 ๓. อาปต ตาธิกรณ [๖๓๕] ในอธิกรณ ๔ อยางน้ัน อาปต ตาธกิ รณ เปน ไฉน?อาบัตทิ ง้ั ๕ กอง ซ่งึ อาปต ตาธกิ รณ อาบตั ิทงั้ ๗ กอง ชื่ออาปตตาธกิ รณ นี้เรยี กวา อาปตตาธิกรณ. ๔. กิจจาธกิ รณ [๖๓๖] ในอธิกรณ ๔ อยา งน้ัน กจิ จาธิกรณ เปน ไฉน? ความเปนหนาที่ ความเปน กรณียแ หง สงฆอ นั ใด คือ อปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญตั ติทตุ ิยกรรม ญัตติจตตุ ถกรรม น้ีเรียกวา กิจจาธกิ รณ. อธิกรณ ๔ อยาง จบ มูลแหงวิวาทาธกิ รณ [๖๓๗] อะไรเปนมลู แหงววิ าทาธกิ รณ รากแหงการเถียงกนั ๖อยา ง เปน มูลแหงววิ าทาธิกรณ รากแหง อกศุ ลท้งั ๓ เปน มลู แหง วิวาทาธกิ รณ รากแหง กศุ ลท้งั ๓ เปนมลู แหง วิวาทาธกิ รณ รากแหงการเถียงกัน ๖ อยา ง เปน มลู แหงววิ าทาธิกรณ เปนไฉน? ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย ก็ภกิ ษุในธรรมวนิ ยั นี้ เปน ผมู กั โกรธ เปนผูถือโกรธ ภกิ ษุทม่ี ักโกรธ ถือโกรธนนั้ ยอมไมม คี วามเคารพยาํ เกรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอ ยู ยอมไมท าํ ใหบรบิ ูรณแมในสิกขา ภกิ ษุที่ไมมคี วามเคารพ ยาํ เกรง ในพระศาสดา ในพระธรรมในพระสงฆ แมใ นสกิ ขาก็ไมท ําใหบริบรู ณน้นั ยอ มยังวิวาทใหเ กดิ ใน

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 560สงฆ การววิ าทยอ มเปน ไปเพ่อื ความไมเกอื้ กูลแกชนมาก เพอื่ ไมเ ปนสุขแกช นมาก เพือ่ ความพนิ าศแกชนมาก เพอื่ ความไมเ กอื้ กลู เพอื่ ทุกขแกเ ทพยดาและมนุษย ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ถาพวกเธอเล็งเห็นรากแหงการเถยี งกันเห็นปานน้ี ทงั้ ภายในและภายนอกได พวกเธอในบรษิ ทั น้ันพงึ พยายามละรากแหง การเถยี งกันอันลามกนัน้ แหละเสยี ถา พวกเธอไมเ ล็งเห็นรากแหงการเถียงกันเหน็ ปานน้ี ท้งั ภายในและภายนอก พวกเธอในบริษทั นั้นพึงปฏิบตั ิเพือ่ ความยืดยาวไป แหงรากแหงการเถยี งกันอันลามกนัน้ แหละ ความละรากแหงการเถยี งกนั อันลามกนัน้ ยอมมีดว ยอยางน้ี ความยดื เยือ้ แหงรากแหงการเถียงกันอันลามกน้ัน ยอมมีตอไปดวยอยา งนี.้ [๖๓๘] ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ก็ขออน่ื ยังมีอกี ภิกษุเปน ผลู บหลูตเี สมอทาน..... ภกิ ษุเปน ผมู ีปรกตอิ ิสสา ตระหนี่.... ภกิ ษเุ ปนผูอ วดดี เจามายา... ภิกษุเปน ผมู คี วามปรารถนาลามก มคี วามเห็นผดิ .... ภกิ ษุเปนผูถอื แตค วามเหน็ ของตน ถืออยางแนน แฟน ปลดไดยาก ภกิ ษุผูถอื แตค วามเห็นของตน ถอื อยา งแนน แฟน ปลดไดย ากนนั้ยอมไมม ีความเคารพยาํ เกรง ในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอยู ยอมไมทําใหบรบิ รู ณแมใ นสิกขา ภกิ ษุผูไมม ีความเคารพยาํ เกรง ในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอยู แมในสกิ ขาก็ไมทาํ ใหบ รบิ ูรณน นั้ ยอ มยงั ววิ าทใหเ กดิ ในสงฆ การวิวาทยอมเปนไปเพ่อื ความไมเก้ือกูลแกช นมาก เพื่อไมเปน สขุ แกชนมาก เพอื่ ความ

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 561พินาศแกข นมาก เพ่ือความไมเกอื้ กลู เพ่ือทุกขแ กเ ทพยดาและมนษุ ยดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย ถาพวกเธอเล็งเห็นรากแหงการเถยี งกันเห็นปานน้ีทัง้ ภายในและภายนอกได พวกเธอในบรษิ ัทน้นั พงึ พยายามมละรากแหงการเถยี งกันอันลามกน้นั แหละเสีย ถาพวกเธอไมเลง็ เหน็ รากแหง การเถยี งกันเห็นปานนี้ ทั้งภายในและภายนอก พวกเธอในบรษิ ทั นนั้ พึงปฏบิ ตั ิเพอื่ ความยืดเยือ้ แหง รากแหง การเถียงกันอนั ลามกน้นั แหละ ความละรากแหง การเถยี งกนั อันลามกนั้น ยอ มมดี วยอยางนี้ ความยดื เย้อื แหงรากแหงการเถียงกนั อนั ลามกนน้ั ยอมมีตอไปดวยอยา งนี้ รากแหงการวิวาท ๖ อยา งนี้ เปน มลู แหง วิวาทาธิกรณ. อกุศลมลู ๓ [๖๓๙] รากแหงอกศุ ล ๓ เปน มูลแหง ววิ าทาธิกรณ เปน ไฉน?ดูกอนภิกษทุ ้ังหลาย ก็ภิกษทุ ้ังหลายในธรรมวนิ ยั นี้ มจี ิตโลภววิ าทกนัมีจติ โกรธวิวาทกัน มีจติ หลงววิ าทกันวา ๑. นี้เปนธรรม นีไ้ มเปนธรรม ๒. นเ้ี ปนวนิ ัย นี้ไมเ ปน วินัย ๓. นพ้ี ระตถาคตเจาตรสั ภาษติ ไว นพี้ ระตถาคตเจา ไมไ ดต รัสภาษิตไว ๔. น้พี ระตถาคตเจาทรงประพฤติมา น้ีพระตถาคตเจาไมไ ดทรงประพฤติมา ๕. นีพ้ ระตถาคตเจาทรงบัญญตั ไิ ว นพ้ี ระตถาคตเจา ไมไดท รงบญั ญตั ไิ ว

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 562 ๖. นีเ้ ปนอาบตั ิ นี้ไมเปน อาบตั ิ ๗. น้ีเปน อาบัติเบา นเ้ี ปนอาบัติหนกั ๘. นเี้ ปนอาบัติมสี วนเหลือ นี้เปน อาบัตหิ าสว นเหลือมไิ ด ๙. น้ีเปน อาบัติชวั่ หยาบ น้เี ปนอาบัติไมช ่วั หยาบ รากแหงอกุศล ๓ อยางน้ี เปน มลู แหงววิ าทาธิกรณ. กศุ ลมลู ๓ [๖๔๐] รากแหง กุศล ๓ เปนมูลแหงววิ าทาธิกรณ เปนไฉน ?ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลาย ก็ภกิ ษทุ ้ังหลายในธรรมวินยั น้ี มีจติ ไมโ ลภวิวาทกันมีจิตไมโกรธววิ าทกัน มีจติ ไมห ลงวิวาทกันวา ๑. น้ีเปน ธรรม น้ไี มเปน ธรรม...... ๙. นี้เปน อาบัติชว่ั หยาบ นเี้ ปน อาบัติไมชว่ั หยาบ. รากแหง กุศล ๓ อยางน้ี เปนมลู แหง วิวาทาธิกรณ. มลู แหงอนุวาทาธกิ รณ [๖๔๑] อะไรเปนมูลแหงอนุวาทาธิกรณ รากแหงการโจท ๖อยาง เปน มลู แหงอนวุ าทาธิกรณ รากแหง อกุศลทั้ง ๓ เปน มลู แหงอนุวาทาธิกรณ รากแหงกศุ ลทัง้ ๓ เปน มูลแหงอนุวาทาธิกรณ แมก ายกเ็ ปน มลู แหงอนุวาทาธิกรณ แมวาจากเ็ ปน มูลแหงอนุวาทาธกิ รณ. [๖๔๒] รากแหงการโจท ๖ อยา ง เปน มลู เหงอนวุ าทาธิกรณเปน ไฉน? ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย ก็ภกิ ษใุ นธรรมวินยั นี้ เปนผมู กั โกรธถือโกรธ ภิกษุท่ีมักโกรธ ถอื โกรธนนั้ ยอมไมม ีความเคารพยาํ เกรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอ ยู ยอมไมท าํ ใหบรบิ รู ณแ ม

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 563ในสิกขา ภกิ ษุทไี่ มเ คารพยํากรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอยู แมใ นสิกขาก็ไมท าํ ใหบ รบิ ูรณนน้ั ยอ มยงั การโจทกันใหเกิดในสงฆ การโจทยอมเปนไปเพื่อความไมเกอื้ กูลแกชนมาก เพ่อื ไมเ ปนสขุ แกช นมาก เพ่อื ความพินาศแกชนมาก เพ่อื ความไมเ กื้อกลู เพอื่ทกุ ขแกเ ทพดาและมนษุ ย ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ถาพวกเธอเลง็ เหน็รากแหง การโจทกันเห็นปานน้ี ท้ังภายในและภายนอกได พวกเธอในบริษทั นน้ั พึงพยายามละรากแหงการโจทกันอันลามกนั้นแหละเสีย ถาพวกเธอไมเ ล็งเห็นรากแหงการโจทกันเหน็ ปานนี้ ทงั้ ภายในและภายนอกพวกเธอในบรษิ ทั น้ันพงึ ปฏิบัติเพือ่ ความยืดเยือ้ แหงราก แหง การโจทกนัอนั ลามกนน้ั แหละ ความละรากแหง การโจทกันอนั ลามกน้ัน ยอ มมดี วยอยางน้ี การยดื เย้อื แหงรากแหง การโจทกนั อันลามกนัน้ ยอมมีตอไปดวยอยางนี้ . [๖๔๓] ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย กข็ อ อนื่ ยังมอี กี ภิกษุเปน ผูล บหลูตีเสมอทา น ภกิ ษเุ ปนผูมีปกตอิ สิ สา ตระหน่.ี ... ภิกษุเปนผอู วดดี เจา มายา..... ภิกษเุ ปน ผคู วามปรารถนาลามก มีความเหน็ ผดิ ..... ภิกษุเปนผูถือแตความเห็นของตน ถอื อยา งแนน แฟน ปลดไดยาก ภิกษุท่ีถอื แตความเหน็ ของตน ถอื อยางแนนแฟน ปลดไดย ากน้ันยอ มไมมคี วามเคารพยําเกรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 564อยู ยอมไมทําใหบ ริบูรณแ มในสกิ ขา ภิกษทุ ่ีไมมีความเคารพยาํ กรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆอ ยู เเมในสกิ ขา กไ็ มท ําใหบริบูรณน ้นั ยอมยังการโจทกันใหเ กิดในสงฆ การโจทกนั ยอ มเปนไปเพ่อื ความไมเ ก้อื กูลแกช นมาก เพอ่ื ไมเปนสุขแกช นมาก เพ่ือความพนิ าศแกช นมาก เพอ่ื ความไมเ กื้อกลู เพ่อื ทุกขแ กเทพดาและมนุษยดูกอ นภิกษุท้ังหลาย ถา พวกเธอเลง็ เหน็ รากแหง การโจทกันเหน็ ปานน้ี ท้งัภายในและภายนอกได พวกเธอในบรษิ ัทนัน้ พงึ พยายามละรากแหงการโจทกันอนั ลามกน้นั แหละเสีย ถา พวกเธอไมเ ลง็ เห็นรากแหง การโจทกนั เหน็ ปานน้ี ท้ังภายในเเละภายนอก พวกเธอในบริษทั น้นั พงึปฏิบตั ิเพือ่ ความยดื เยื้อแหง รากแหงการโจทกันอันลามกนัน้ แหละ ความละรากแหงการโจทกนั อนั ลามกน้ัน ยอ มมดี วยอยา งนี้ ความยดื เยอื้ แหงรากแหงการโจทกนั อนั ลามกนน้ั ยอมมตี อไปดวยอยา งน้ี รากแหง การโจทกนั ๖ อยางน้ี เปน มูลแหง อนุวาทาธกิ รณ. อกุศลมลู ๓ [๖๔๔] อกศุ ลมูล ๓ อยา ง เปนมูลแหง อนุวาทาธกิ รณเ ปน ไฉน?ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย กภ็ กิ ษุท้ังหลายในธรรมวนิ ัยนี้ ยอ มมีจิตโลภโจทยอมมีจิตโกรธโจท ยอ มมจี ติ หลงโจทภกิ ษุ ดวยศลี วบิ ัติ อาจารวบิ ตั ิทฏิ ฐวิ ิบัติหรืออาชวี วิบัติ อกุศลมลู ๓ อยา งนี้ เปน มลู แหงอนวุ าทาธิกรณ กุศลมูล ๓ [๖๔๕] กุศลมูล ๓ อยาง เปน มูลแหงอนวุ าทาธิกรณ เปน ไฉน?ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ก็ภิกษุท้ังหลายในธรรมวินยั น้ี ยอ มมจี ติ ไมโลภโจท

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 565ยอมมีจิตไมโ กรธโจท ยอมมจี ิตไมห ลงโจทภิกษุ ดวยศลี วบิ ตั ิ ทฏิ ฐวิ บิ ตั ิหรอื อาชวี วิบตั ิ กศุ ลมูล ๓ อยางน้ี เปน มลู แหง อนวุ าทาธกิ รณ. กาย [๖๔๖] อนึ่ง กาย เปนมูลแหง อนวุ าทาธิกรณ เปน ไฉน ?ภิกษุบางรูปในธรรมวินยั นี้ เปนผูม ีผิวพรรณนารงั เกียจ ไมน า ดู มีรปู รางเลก็ มีอาพาธมาก เปนคนบอด งอย กระจอก หรอื อมั พาตภิกษุท้ังหลายยอ มโจทภิกษนุ ั้น ดวยกายใด กายนี้ เปน มูลแหงอนุวาทาธกิ รณ. วาจา [๖๔๗] อนงึ่ วาจา เปนมลู แหง อนวุ าทาธกิ รณ เปนไฉน?ภกิ ษบุ างรูปในธรรมวินยั นี้ เปน คนพดู ไมดี พูดไมชัด พดู ระรานภิกษทุ ง้ั หลายยอมโจทภกิ ษนุ ้นั ดว ยวาจาใด วาจาน้ี เปน มูลแหง อนุวาทาธกิ รณ. มลู แหง อาปต ตาธกิ รณ [๖๔๘] อะไรเปนมลู แหงอาปตตาธิกรณ? สมฏุ ฐานแหงอาบัติ ๖ อยา ง เปน มลู แหง อาปต ตาธกิ รณ คือ:- ๑. อาบตั ิเกดิ ทางกาย ไมใชทางวาจา ไมใ ชท างจิต กม็ ี ๒. อาบัตเิ กดิ ทางวาจา ไมใชท างกาย ไมใชท างจติ ก็มี ๓. อาบตั เิ กิดทางกายกับวาจา ไมใ ชทางจติ กม็ ี ๔. อาบัตเิ กิดทางกายกับจิต ไมใ ชท างวาจา ก็มี ๕. อาบตั ิเกิดทางวาจากับจติ ไมใ ชท างกาย ก็มี

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 566 ๖. อาบตั เิ กดิ ทางกาย วาจา และจิต กม็ ี. สมุฏฐานแหงอาบตั ิ ๖ อยา งน้ี เปน มลู แหง อาปตตาธิกรณ. มูลแหง กจิ จาธิกรณ [๖๔๙] อะไรเปน มูลแหง กิจจาธิกรณ? สงฆเ ปนมูลอนั หน่ึงแหงกจิ จาธกิ รณ อธกิ รณเปนกศุ ล อกศุ ล และอัพยากฤต [๖๕๐] วิวาทาธิกรณเ ปนกุศล อกศุ ล อพั ยากฤต ววิ าทาธิกรณเปนกุศลก็มี เปนอกุศลก็มี เปน อพั ยากฤตกม็ ี. [๖๕๑] บรรดาววิ าทาธกิ รณน้นั ววิ าทาธิกรณ เปนอกศุ ล เปนไฉน? ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย กภ็ กิ ษุทง้ั หลายในธรรมวินยั นี้ มีจติ เปนอกศุ ลวิวาทกนั วา ๑. นเี้ ปนธรรม นไี้ มเปนธรรม.... ๙. นี้เปน อาบัตชิ ว่ั หยาบ น้ีเปนอาบตั ไิ มช ่วั หยาบ. ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแกง แยง ความทุมเถียงการกลาวตา งกนั การกลาวโดยประการอื่น การพูดเพ่ือความกลัดกลุมใจความหมายมั่นในเร่ืองน้นั อันใด น้เี รียกวา วิวาทาธกิ รณเปนอกศุ ล. [๖๕๒] บรรดาวิวาทาธิกรณน้นั ววิ าทาธิกรณเ ปนกศุ ล เปนไฉน ? ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ก็ภกิ ษุท้งั หลายในธรรมวนิ ัยนีม้ ีจติ เปนกศุ ลววิ าทกันวา

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 567 ๑. นี้เปน ธรรม น้ีไมเปน ธรรม.... ๙. นี้เปนอาบัตชิ วั่ หยาบ น้ีเปน อาบตั ไิ มชวั่ หยาบ ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแกงแยง ความทมุ เถียงการกลาวตางกัน การกลา วโดยประการอ่ืน การพูดเพ่ือความกลัดกลมุ ใจความหมายมัน่ ในเรอ่ื งนั้นอันใด น้เี รยี กวา วิวาทาธิกรณเปน กุศล. [๖๕๓] บรรดาวิวาทาธกิ รณน นั้ ววิ าทาธกิ รณเ ปนอัพยากฤตเปนไฉน? ดูกอนภกิ ษุทงั้ หลาย ก็ภิกษทุ ง้ั หลายในธรรมวินยั น้ี มีจติ เปนอพั ยากฤตววิ าทกนั วา ๑. นเ้ี ปนธรรม น้ไี มเ ปน ธรรม.... ๙. น้ีเปนอาบัติช่ัวหยาบ นเี้ ปน อาบัติไมช ว่ั หยาบ ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแกงแยง ความทุมเถียงการกลาวตางกัน การกลาวโดยประการอ่ืน การพดู เพ่อื ความกลดั กลมุ ใจความหมายม่ันในเร่อื งน้ัน อันใด น้ีเรยี กวา วิวาทาธิกรณเปนอัพยากฤต [๖๕๔ ] อนวุ าทาธิกรณ เปนกุศล อกุศล อพั ยากฤต อนุวาทาธิกรณ เปนกุศลกม็ ี อกุศลก็มี อัพยากฤตก็มี. [๖๕๕] บรรดาอนุวาทาธิกรณน ัน้ อนุวาทาธกิ รณท ีเ่ ปน อกุศลเปน ไฉน? ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย กภ็ ิกษทุ ้งั หลายในธรรมวนิ ยั นี้ เปนผมู จี ิตเปน อกุศล ยอมโจทภิกษดุ วยศลี วบิ ตั ิ อาจารวบิ ตั ิ ทฏิ ฐวิ ิบตั ิ หรืออาชวี วิบตั ิ การโจท การกลาวหา การฟองรอ ง การประทว งความ

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 568เปนผูคลอ ยตาม การทําความอุตสาหะโจท การตามเพ่มิ กาํ ลงั ให ในเร่ืองน้ัน อนั ใด น้ีเรยี กวา อนุวาทาธกิ รณเ ปน อกุศล. [๖๕๖] บรรดาอนุวาทาธกิ รณน้ัน อนวุ าทาธกิ รณท เ่ี ปน กุศลเปน ไฉน? ดูกอนภกิ ษุทั้งหลาย กภ็ กิ ษุท้งั หลายในธรรมวินยั น้ี เปน ผมู จี ติเปน กศุ ล ยอ มโจทภิกษดุ วยศลี วิบตั ิ อาจารวบิ ัติ ทิฏฐิวบิ ตั ิ หรอือาชีววิบัติ การโจท การกลา วหา การฟอ งรอง การประทวง ความเปนผคู ลอยตาม การทาํ ความอุตสาหะโจท การตามเพมิ่ กาํ ลังให ในเรอ่ื งนั้น อนั ใด น้ีเรียกวา อนุวาทาธิกรณเ ปนกศุ ล [๖๕๗] บรรดาอนวุ าทาธิกรณน้นั อนวุ าทาธกิ รณท่ีเปนอัพยากฤตเปน ไฉน? ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย ก็ภิกษทุ ัง้ หลายในธรรมวินยั นี้ เปน ผมู ีจิตเปน อพั ยากฤต ยอมโจทภิกษุดวยศีลวิบตั ิ อาจารวบิ ตั ทฏิ ฐิวิบตั ิ หรืออาชีววิบัติ การโจท การกลาวหา การฟอ งรอ ง การประทว งความเปนผูคลอยตาม การทาํ ความอตุ สาหะโจท การตามเพมิ่ กาํ ลงั ให ในเรือ่ งนนั้ อันใด น้ีเรียกวา อนุวาทาธิกรณเปนอพั ยากฤต [๖๕๘] อาปต ิตาธกิ รณเ ปน อกุศล อพั ยากฤต อาปต ตาธกิ รณเปนอกุศลก็มี อัพยากฤตก็มี อาปติตาธิกรณเปน กศุ ลไมมี [๖๕๙] บรรดาอาปต ตาธกิ รณนัน้ อาปต ติ าธิกรณที่เปน อกศุ ลเปนไฉน?

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 569 ภิกษรุ ูอ ยู เขาใจอยู จงใจ ฝาฝน ละเมิดอาบตั ใิ ด นเ้ี รยี กวาอาปต ตาธิกรณเ ปน อกศุ ล บรรดาอาปตตาธิกรณน น้ั อาปต ตาธกิ รณท ี่เปนอัพยากฤต เปนไฉน? ภิกษุไมร ู ไมเ ขาใจ ไมจงใจ ไมฝ าฝน ละเมดิ อาบัติใดนเ้ี รียกวา อาปตตาธิกรณเ ปน อพั ยากฤต. [๖๖๐] กิจจาธิกรณเ ปน กศุ ล อกุศล อพั ยากฤต กิจจาธิกรณเปนกุศลก็มี อกุศลก็มี อัพยากฤตก็มี. [๖๖๑] บรรดากิจจาธกิ รณนั้น กิจจาธิกรณท่เี ปนอกุศล เปนไฉน? สงฆม ีจติ เปน อกุศล ทํากรรมอนั ใด คือ อปุ โลกนกรรม ญตั ต-ิกรรม ญตั ตทิ ตุ ยิ กรรม ญตั ตจิ ตตุ ถกรรม น้ีเรยี กวา กจิ จาธิกรณเปน อกุศล . [๖๖๒] บรรดากจิ จาธิกรณน ั้น กจิ จาธิกรณท ี่เปน กุศล เปน ไฉน?สงฆมีจติ เปนกุศล ทํากรรมอันใด คอื อุปโลกนกรรม ญตั ตกิ รรมญตั ตทิ ตุ ยิ กรรม ญัตติจตตุ ถกรรม นเี้ รยี กวา กิจจาธกิ รณเ ปนกุศล. [๖๖๓] บรรดากิจจาธกิ รณน ้นั กจิ จาธิกรณที่เปนอพั ยากฤต เปนไฉน ? สงฆมจี ิตเปน อัพยากฤต ทํากรรมอันใด คอื อุปโลกนกรรมฌัตตกิ รรม ญตั ตทิ ตุ ิยกรรม ญตั ตจิ ตุตถกรรม นเ้ี รียกวา กิจจาธิกรณเปนอพั ยากฤต.

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 570 ววิ าทาธิกรณ [๖๖๔] ววิ าท เปนววิ าทาธกิ รณ วิวาทไมเปน อธิกรณ อธกิ รณไมเปน ววิ าท เปน อธกิ รณด ว ยเปนววิ าทดว ย ววิ าทเปน วิวาทาธิกรณก ม็ ีววิ าทไมเปนอธกิ รณก ็มี อธิกรณไ มเ ปน วิวาทกม็ ี เปน อธิกรณดวยเปนวิวาทดวยก็ม.ี [๖๖๕] บรรดาวิวาทนั้น วิวาททเ่ี ปน วิวาทาธิกรณ เปนไฉน ? ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ก็ภกิ ษทุ ้งั หลายในธรรมวินยั นี้ ยอ มววิ าทกันวา ๑. น้เี ปน ธรรม น้ไี มเ ปนธรรม ..... ๙. นเี้ ปน อาบตั ชิ ว่ั หยาบ นเี้ ปนอาบตั ไิ มช่ัวหยาบ ความบาดหมาง ความทะเลาะ ความแกงแยง ความทมุ เถยี งความกลาวตา งกนั ความกลา วโดยประการอน่ื การพดู เพอ่ื ความกลัดกลมุ ใจ ความหมายมัน่ ในเรอื่ งน้นั อนั ใด น้ชี ื่อวา วิวาทเปน วิวาทาธิกรณ บรรดาววิ าทนั้น ววิ าทไมเ ปนอธิกรณ เปนไฉน ? มารดาววิ าทกบั บุตรบาง บุตรววิ าทกบั มารดาบา ง บิดาวิวาทกบั บตุ รบา ง บตุ รวิวาทกับบิดาบา ง พ่ีชายววิ าทกับนองชายบาง พ่ีชายววิ าทกับนอ งหญิงบา งนอ งหญิงววิ าทกบั พี่ชายบา ง สหายววิ าทกบั สหายบา ง น้ชี อ่ื วา วิวาทไมเ ปน อธิกรณ บรรดาววิ าทนน้ั อธกิ รณไ มเ ปน ววิ าท เปนไฉน?

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 571 อนวุ าทาธิกรณ อาปตตาธิกรณ กิจจาธิกรณ นี้ชื่อวา อธกิ รณไมเ ปน วิวาท บรรดาววิ าทน้นั อธิกรณ เปนอธิกรณดว ย เปน วิวาทดว ย เปนไฉน? ววิ าทาธกิ รณ เปนอธิกรณดว ย เปนวิวาทดว ย. อนวุ าทาธิกรณ [๖๖๖] การโจทเปน อนุวาทาธิกรณ การโจทไมเ ปนอธิกรณอธิกรณไมเ ปน การโจท เปน อธิกรณดวยเปนการโจทดวย การโจทเปนอนุวาทาธิกรณก็มี การโจทไมเปนอธิกรณก ม็ ี อธิกรณไมเ ปน การโจทกม็ ี เปน อธกิ รณด ว ยเปน การโจทดวยกม็ ี. [๖๖๗] บรรดาการโจทน้นั การโจททีเ่ ปนอนวุ าทาธิกรณ เปนไฉน ? ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุทั้งหลายในธรรมวนิ ยั นี้ ยอมโจทภิกษุดว ยศลี วบิ ัติ อาจารวบิ ัติ ทฏิ ฐวิ ิบตั ิ หรอื อาชีววบิ ัติ การโจท การกลา วหา การฟองรอง การประทวง ความเปนผคู ลอยตาม การทาํความอุตสาหะโจท การตามเพ่ิมกําลังให ในเรื่องนั้นอนั ใด นี้ชอ่ื วาการโจทเปน อนวุ าทาธิกรณ บรรดาการโจทนั้น การโจทท่ไี มเ ปนอธิกรณ เปน ไฉน ? มารดากลา วหาบุตรบาง บตุ รกลาวหามารดาบา ง บดิ ากลา วหาบุตรบาง บตุ รกลา วหาบดิ าบาง พช่ี ายกลา วหานอ งชายบาง พชี่ าย

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 572กลา วหานอ งหญิงบาง นองหญงิ กลา วหาพีช่ ายบาง สหายกลาวหาสหายบาง น้ชี ่อื วา การโจทไมเ ปนอธิกรณ บรรดาอธิกรณน ้ัน อธกิ รณท ี่ไมเปน การโจท เปนไฉน ? อาปต ตาธิกรณ กิขจาธกิ รณ วิวาทาธกิ รณ น้ชี ่ือวา อธกิ รณไมเ ปนการโจท บรรดาอธิกรณน ัน้ อธิกรณท เ่ี ปนอธกิ รณด ว ย เปนการโจทดวยเปนไฉน? อนวุ าทาธกิ รณ เปนอธกิ รณด วย เปน การโจทดว ย. อาปตตาธิกรณ [๖๖๘] อาบตั ิเปนอาปต ตาธกิ รณ อาบัตไิ มเปน อธิกรณ อธิกรณไมเ ปน อาบตั ิ เปน อธิกรณดว ยเปนอาบัติดวย อาบัตเิ ปนอาปตตาธกิ รณกม็ ี อาบตั ไิ มเ ปนอธกิ รณก ม็ ี อธิกรณไมเ ปน อาบัตกิ ม็ ี เปนอธิกรณด วยเปน อาบตั ิดวยก็ม.ี [๖๖๙] บรรดาอธิกรณนนั้ อาบัตเิ ปน อาปต ตาธิกรณ เปน ไฉน ? อาบตั ิ ๕ กองเปน อาปต ตาธกิ รณบา ง อาบัติ ๗ กองเปนอาปตตาธิกรณบาง นี้ชื่อวา อาบัติเปน อาปตตาธิกรณ บรรดาอธิกรณน น้ั อาบตั ทิ ไี่ มเปน อธกิ รณ เปนไฉน ? โสดาบัติ สมาบัติ นี้ชื่อวา อาบตั ิไมเ ปน อธิกรณ บรรดาอธิกรณน ้นั อธิกรณท ี่ไมเ ปน อาบัติ เปนไฉน?

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 573 กจิ จาธิกรณ ววิ าทาธกิ รณ อนวุ าทาธกิ รณ นชี้ ือ่ วา อธกิ รณไ มเปนอาบัติ บรรดาอธิกรณน น้ั อธกิ รณที่เปน อธิกรณดว ย เปน อาบตั ดิ ว ยเปนไฉน ? อาปต ตาธกิ รณ เปน อธิกรณดวย เปนอาบตั ิดว ย. กจิ จาธิกรณ [๖๗๐] กิจเปน กิจจาธกิ รณ กิจไมเ ปน อธิกรณ อธิกรณไ มเปนกจิ เปนอธกิ รณด ว ย เปนกจิ ดวย กจิ เปนกิจจาธิกรณกม็ ี กิจไมเปนอธกิ รณก ็มี อธิกรณไมเปนกิจก็มี เปนอธิกรณดว ยเปน กจิ ดว ยก็ม.ี [๖๗๑] บรรดาอธิกรณน ัน้ กจิ เปน กิจจาธิกรณ เปนไฉน ? ความเปน หนา ท่ี ความเปนกรณแี หง สงฆอ ันใด คือ อปโลกน-กรรม ญัตตกิ รรม ญตั ตทิ ตุ ยิ กรรม ญตั ติจตตุ ถกรรม นีช้ ่อื วา กิจเปนกจิ จาธกิ รณ บรรดาอธกิ รณน้ัน กจิ ไมเ ปนอธกิ รณ เปนไฉน ? กิจทจี่ ะตองทาํ แกพ ระอาจารย กจิ ทจ่ี ะตองทาํ แกพ ระอุปช ฌายะกิจทจ่ี ะตอ งทําแกภิกษเุ สมออุปชฌายะ กิจที่จะตองทาํ แกภ ิกษผุ เู สมอพระอาจารย นี้ช่ือวา กิจไมเ ปน อธิกรณ บรรดาอธิกรณน นั้ อธิกรณไมเ ปน กิจ เปนไฉน ? ววิ าทาธิกรณ อนุวาทาธิกรณ อาปต ตาธิกรณ นี้ชอ่ื วา อธกิ รณไมเปน กจิ

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 574 บรรดาอธิกรณนั้น อธิกรณทเี่ ปน อธกิ รณด วยเปน กิจดวย เปนไฉน ? กจิ จาธกิ รณ เปนอธกิ รณด วย เปนกจิ ดวย. วิวาทาธกิ รณระงับดวยสมถะ ๒ อยา ง [๖๗๒] วิวาทาธกิ รณย อ มระงับดว ยสมถะเทา ไร ? วิวาทาธกิ รณ ยอมระงบั ดวยสมถะ ๒ คอื สัมมขุ าวินยั ๑เยภุยยสิกา ๑ บางทวี ิวาทาธิกรณไ มอาศยั สมถะอยางหนึ่ง คอื เยภุยยสิกาพงึ ระงับดวยสมถะอยางเดียว คอื สมั มขุ าวินยั บางทีพงึ ตกลงกนั ได สมจริงดังที่ตรัสไววา ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ก็ภกิ ษทุ ้งั หลายในธรรมวนิ ัยน้ี ยอมววิ าทกนั วา ๑. นีเ้ ปนธรรม นีไ้ มเปน ธรรม ๒. นีเ้ ปน วินัย นี้ไมเปนวนิ ยั ๓ นี้พระตถาคตเจา ตรัสภาษิตไว น้พี ระตถาคตเจาไมไดตรสัภาษติ ไว ๔. นี้พระตถาคตเจา ทรงประพฤติมา น้ีพระตถาคตเจา ไมไ ดท รงประพฤติมา ๕. น้พี ระตถาคตเจา ทรงบัญญัตไิ ว นีพ้ ระตถาคตเจา ไมไดท รงบญั ญัตไิ ว ๖. น้เี ปนอาบัติ นไี้ มเปนอาบัติ ๗. นเี้ ปนอาบตั ิเบา นี้เปน อาบตั ิหนัก

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 575 ๘. นเ้ี ปน อาบตั ิมสี ว นเหลือ น้ีเปนอาบตั ไิ มม ีสว นเหลือ ๙. นีเ้ ปนอาบัตชิ วั่ หยาบ นีเ้ ปน อาบัตไิ มชว่ั หยาบ. ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย หากภิกษุพวกนนั้ สามารถระงบั อธกิ รณนน้ั ไดน้ีเรยี กวา อธิกรณร ะงับแลว ระงบั ดว ยอะไร? ดว ยสมั มขุ าวินยั ในสมั มุขาวินัยน้ัน มอี ะไรบา ง ? มคี วามพรอ มหนาสงฆ ความพรอ มหนาธรรม ความพรอ มหนาวนิ ัย ความพรอมหนาบคุ คล ก็ความพรอมหนาสงฆ ในสัมมขุ าวนิ ัยน้ันอยา งไร ? คอื ภิกษผุ ูเขา กรรมมีจาํ นวนเทา ไร ? ภิกษุเหลานั้นมาประชุมกนั นําฉันทะของผูควรฉนั ทะมา ผูอยูพรอ มหนา กนั ไมคัดคาน นช้ี ือ่ วา ความพรอ มหนา สงฆในสัมมขุ าวินัยน้นั กค็ วามพรอ มหนาธรรม ความพรอมหนาวนิ ยั ในสมั มขุ าวนิ ัยน้นัอยางไร? คือ อธิกรณน ัน้ ระงับโดยธรรม โดยวินัย และโดยสตั ถุศาสนใด น้ีชื่อวาความพรอมหนาธรรม ความพรอ มหนาวนิ ยั ในสมั มุขาวินัยนน้ั กค็ วามพรอ มหนา บคุ คลในสมั มขุ าวินยั นน้ั อยางไร? คือ โจทกและจาํ เลยท้งั สอง เปน คตู อสใู นคดอี ยพู รอมหนา กัน นี้ชอื่ วา ความพรอ มหนา บคุ คลในสัมมขุ าวินยั นั้น ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย หากอธิกรณระงับอยา งน้ี ผทู าํ รื้อฟน เปนปาจิตตียท ี่รอื้ ฟน ผใู หฉ ันทะตเิ ตยี น เปน ปาจิตตียทีต่ เิ ตยี น [๖๗๓] ดกู อนภิกษุท้งั หลาย ถาภิกษเุ หลา นัน้ ไมส ามารถระงับอธกิ รณน น้ั ในอาวาสนั้นได พวกเธอพึงไปสูอาวาสท่มี ีภิกษุมากกวา หาก

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 576พวกเธอกาํ ลงั ไปสอู าวาสน้ัน สามารถระงบั อธกิ รณไ ดในระหวา งทาง นี้เรยี กวา อธกิ รณระงบั แลว ระงับดว ยอะไร ดว ยสัมมขุ าวนิ ัย ในสมั มขุ าวนิ ยั นั้น มีอะไรบาง? มีความพรอ มหนาสงฆ ความพรอ มหนาธรรม ความพรอมหนาวินยั ความพรอมหนาบุคคล ก็ความพรอมหนา สงฆ ในสัมมุขาวินยั นน้ั อยางไร ? คือ ภิกษุผเู ขากรรมมจี าํ นวนเทาไร ภิกษเุ หลา น้นั มาประชมุ กนั นาํ ฉันทะของผูควรฉันทะมา ผูอ ยพู รอมหนา กันไมคัดคาน นช้ี ือ่ วา ความพรอมหนาสงฆ ในสมั มขุ าวนิ ัยน้ัน ก็ความพรอมหนา ธรรม ความพรอ มหนาวินยั ในสมั มุขาวินยั นนั้อยา งไร ? คือ อธกิ รณนน้ั ระงับโดยธรรม โดยวนิ ยั และโดยสัตถุศาสนใด น้ีชื่อวา ความพรอ มหนา ธรรม ความพรอ มหนาวินัย ในสมั มุขาวินัยน้ัน ก็ความพรอมหนา บุคคล ในสมั มขุ าวินยั นนั้ อยางไร ? คอื โจทกและจาํ เลยทั้งสอง เปน คูตอสใู นคดอี ยพู รอมหนากัน น้ชี อื่ วา ความพรอ มหนาบคุ คล ในสัมมขุ าวินยั น้ี ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ถา อธิกรณร ะงบั อยา งนี้ ผทู าํ รอ้ื ฟน เปนปาจติ ตียท ีร่ ือ้ ฟน ผูใหฉันทะติเตียน เปนปาจิตตียท่ตี ิเตยี น. [๖๗๔] ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ถา ภกิ ษเุ หลา นน้ั กําลงั ไปสอู าวาสนน้ัไมส ามารถระงบั อธกิ รณนัน้ ในระหวางทางได พวกเธอไปถงึ อาวาสนั้นแลว พงึ กลา วกะภิกษุเจาถนิ่ วา ทา นทงั้ หลาย อธิกรณน ้ีเกดิ แลว อยางนี้

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 577บังเกิดแลว อยา งน้ี ขอโอกาสทา นทงั้ หลายจงระงบั อธกิ รณน ี้โดยธรรมโดยวินยั และโดยสัตถุศาสน ตามวถิ ที างทอี่ ธิกรณน ีจ้ ะพงึ ระงบั ดว ยดี ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ถาพวกภกิ ษเุ จาถ่ินเปน ผแู กก วา พวกภิกษุอาคันตุกะออนกวา พวกเธอพงึ กลาวกะภิกษุอาคนั ตุกะวา ทา นท้งั หลายขอนิมนตทา นทง้ั หลายจงรวมอยู ณ ท่ีควรสว นขางหนงึ่ สกั ครหู น่ึงตลอดเวลาที่พวกขา พเจา จะปรึกษากัน แตถ าพวกภกิ ษุเจาถ่นิ เปนผอู อ นกวา พวกภกิ ษุอาคันตกุ ะแกกวา พวกเธอพึงกลาวกะภกิ ษุอาคันตุกะวาทานทงั้ หลาย ถา เชน นน้ั ขอทา นท้ังหลายจงอยู ณ ท่ีนส้ี ักครหู น่ึงจนกวาพวกขา พเจาจะปรกึ ษากนั ดกู อนภิกษุท้ังหลาย ถา พวกภิกษเุ จา ถ่นิ กาํ ลังปรึกษา คิดกันอยางนวี้ า พวกเราไมส ามารถระงับอธกิ รณน้โี ดยธรรม โดยวนิ ัย และโดยสัตถุศาสน พวกเธอไมพงึ รบั อธกิ รณน ้ันไว แตถากาํ ลังปรกึ ษา คดิ กันอยางนว้ี า พวกเรา สามารถระงับอธกิ รณน้ไี ดโ ดยธรรม โดยวินัยและโดยสตั ถศุ าสน พวกเธอพึงกลา วกะพวกภิกษอุ าคนั ตกุ ะวา ทานทัง้หลาย ถา พวกทา นจกั แจง อธกิ รณน ต้ี ามท่เี กดิ แลว ตามทีอ่ ุบตั ิแลว แกพวกเรา เหมอื นอยา งพวกเราจักระงบั อธิกรณน้โี ดยธรรม โดยวินยั และโดยสตั ถศุ าสนฉันใด อธิกรณน ้ีจกั ระงับดว ยดีฉนั นน้ั อยางน้ีพวกเราจึงจักรับอธกิ รณน ้ี หากพวกทา นจกั ไมแ จงอธิกรณน ี้ตามทเ่ี กิดแลว ตามที่อุบัตแิ ลวแกพวกเรา เหมือนอยา งพวกเราจกั ระงับอธกิ รณน ้โี ดยธรรมโดยวินัย และโดยสัตถศุ าสน ฉนั ใด อธกิ รณนจ้ี กั ไมระงบั ดว ยดี ฉนั น้ันพวกเราจักไมรับอธกิ รณน ้ี

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 578 ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุเจา ถ่นิ พึงรอบตอบอยา งนี้ แลวรับอธกิ รณนัน้ ไว พวกภกิ ษอุ าคันตุกะน้ัน พงึ กลา วกะพวกภิกษเุ จาถิน่ วาพวกขาพเจาจักแจง อธิกรณนต้ี ามทีเ่ กดิ แลว ตามทอี่ ุบัติแลว แกท านท้งัหลาย ถาทานสามารถระงับอธิกรณน้โี ดยธรรม โดยวินัย และโดยสัตถศุ าสน ระหวางเวลาเทา น้ีได อธกิ รณจ ักระงับ ดว ยดีเชนวา น้นั อยางนี้ พวกขา พเจา จกั มอบอธกิ รณแกท า นทัง้ หลาย พวกทานทั้งหลายไมสามารถระงับอธิกรณน้ีโดยธรรม โดยวินยั และโดยสตั ถศุ าสน ระหวา งเวลาเทา นี้ได อธกิ รณจักไมร ะงับดว ยดีเชนวาน้นั พวกขาพเจา จักไมมอบอธกิ รณน้แี กท านท้ังหลาย พวกขาพเจานีแ้ หละจกั เปน เจาของอธิกรณน ี้ ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกภิกษุอาคันตุกะพึงรอบคอบอยา งนี้ แลวจึงมอบอธิกรณแ กพ วกภิกษเุ จาถนิ่ ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย ถา ภกิ ษเุ หลานั้นสามารถระงบั อธกิ รณน นั้ ไดนเ้ี รยี กวา อธกิ รณร ะงับดแี ลว ระงับดว ยอะไร ? ดว ยสมั มขุ าวนิ ัย ในสมั มุขาวนิ ัยนน้ั มีอะไรบาง ? มคี วามพรอมหนาสงฆ ความพรอ มหนาธรรม ความพรอมหนา วนิ ยั ความพรอ มหนา บุคคล.... ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ถา อธกิ รณระงบั แลวอยา งน้ี ผูทําร้ือฟนเปน ปาจิตตยี ทร่ี ้ือฟน ผูใหฉันทะตเิ ตียน เปน ปาจติ ตยี ท ต่ี ิเตียน. อุพพาหิกวิธี [๖๗๕] ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ถาเมอ่ื ภกิ ษุเหลานนั้ วนิ จิ ฉยั อธกิ รณนัน้ อยู มเี สียงเซง็ แซเกิดขน้ึ และไมทราบความแหง ถอยคาํ ทก่ี ลาวแลวน้ัน

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 579เราอนุญาตใหร ะงับอธิกรณเ หน็ ปานนด้ี วยอุพพาหกิ วิธี ภกิ ษุผปู ระกอบดวยองคค ุณ ๑๐ ประการ สงฆพ งึ สมมตดิ ว ยอพุ พาหกิ วธิ ี องคคุณ ๑๐ ประการ ๑. เปน ผูม ศี ลี สํารวมในปาฏโิ มกขสังวร ถึงพรอมดว ยอาจาระและโคจร มปี กตเิ ห็นภัยในโทษมีประมาณเล็กนอ ย สมาทานศกึ ษาอยูในสกิ ขาบททงั้ หลาย ๒. เปน พหูสตู ร ทรงสตุ ะ ส่ังสมสุตะ ธรรมเหลา นั้นใดไพเราะในเบื้องตน ทา มกลาง และทีส่ ดุ ยอ มสรรเสริญพรหมจรรยอ ันบริสทุ ธ์ิบรบิ รู ณส ้ินเชงิ พรอ มทงั้ อรรถพรอ มทัง้ พยัญชนะ ธรรมทงั้ หลายเหน็ปานนั้น ยอ มเปนอันเธอสดับมาก ทรงไว สงั่ สมดวยวาจา เขา ไปเพงดว ยใจ แทงตลอดดีแลว ดวยทิฏฐิ ๓. จําปาตโิ มกขท ้งั สองไดดโี ดยพศิ ดาร จาํ แนกดี สวดดี วินิจฉยัถูกตอ งโดยสตู ร โดยอนุพยญั ชนะ ๔. เปนผตู ั้งมน่ั ในพระวนิ ยั ไมค ลอนแคลน ๕. เปน ผอู าจช้ีแจงใหคตู อ สูในอธิกรณย นิ ยอม เขา ใจ เพงเหน็เลอื่ มใส ๖. เปน ผฉู ลาดเพ่ือยงั อธกิ รณอนั เกดิ ขน้ึ ใหร ะงับ ๗. รูอ ธิกรณ ๘. รูเ หตเุ กิดอธิกรณ ๙. รูค วามระงบั แหงอธกิ รณ ๑๐. รูทางระงับอธกิ รณ

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 580 ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย เราอนญุ าตใหส มมตภิ ิกษผุ ูประกอบดว ยองคคณุ ๑๐ นี้ ดว ยอุพพาหิกวิธี. [๖๗๖] ดูกอ นภิกษุท้งั หลาย ก็แล สงฆพงึ สมมติอยางน้ี พึงขอรอ งภิกษุกอ น ครน้ั แลว ภกิ ษผุ ฉู ลาด ผสู ามารถ พงึ ประกาศใหสงฆทราบดวยญตั ตทิ ตุ ิยกรรมวาจา วา ดังน:้ี - กรรมวาจาสมมติ ทา นเจา ขา ขอสงฆจงฟงขา พเจา เม่อื พวกเรา วินิจฉยั อธิกรณน อี้ ยู มเี สยี งเซ็งแซเ กดิ ข้นึ และไมทราบ อรรถ แหง ถอยคาํ ทีก่ ลาวแลวนัน้ ถาความพรอ มพรัง่ ของ สงฆถ ึงทแี่ ลว สงฆพงึ สมมติภิกษมุ ชี ่ือนีด้ ว ย มีช่ือนีด้ วย เพอ่ื ระงับอธกิ รณน้ี ดว ยอพุ พาหิกวิธี น้เี ปน ญตั ติ ทานเจา ขา ขอสงฆจงฟง ขา พเจา เมอื่ พวกเรา วนิ ิจฉยั อธิกรณน อี้ ยู มีเสยี งเซ็งแซเ กิดขึ้น และไมทราบ ความแหงถอ ยคําทีก่ ลาวแลว นัน้ สงฆส มมตภิ กิ ษมุ ีชือ่ น้ี ดวย มีชอ่ื นดี้ ว ย เพอื่ ระงับอธกิ รณน ้ี ดวยอุพพาหกิ วธิ ี การสมมตภิกษมุ ีชือ่ นด้ี วย มชี ่ือนีด้ ว ย เพ่ือระงบั อธิกรณ นี้ ดว ยอพุ พาหิกวิธี ชอบแกทานผใู ด ทานผนู ัน้ พงึ เปนผูนงิ่ ไมชอบแกทานผูใด ทานผูน้นั พึงพูด ภกิ ษุมชี อ่ื น้ดี ว ย มชี ่ือนี้ดว ย อนั สงฆสมมตแิ ลว เพอ่ื ระงบั อธกิ รณน ี้ ดวยอุพพาหิกวธิ ี ชอบแกสงฆ เหตุ นนั้ จงึ น่ิง ขา พเจาทรงความนไ้ี ว อยางน.ี้








































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook