พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 151 ๗. ตนิ ทุกชาดก วา ดวยอุบาย [๒๐๓] มนุษยท ง้ั หลายมมี อื ถือแลงธนู ถอื ดาบ อนั คมแลว พากันมาแวดลอมพวกเราไดโ ดยรอบ ดว ยอบุ ายอยางไรพวกเราจึงจะรอดพน ไปได. [๒๐๔] ประโยชนอยา งใดอยางหนึง่ จะพึงเกดิ มี แกม นษุ ยทั้งหลายผูมีกิจมากเปนแน ยงั มีเวลา พอท่ีจะเกบ็ เอาผลไมมากนิ ได ทานทั้งหลาย จง พากนั กนิ ผลมะพลบั เถิด. จบ ตินทุกชาดกที่ ๗ อรรถกถาตนิ ทุกชาดกท่ี ๗ พระศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันทรงปรารภพระปญ ญาบารมี ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เรมิ่ ตน วาธนหุ ตถฺ กลาเปหิ ดังน.้ี ความพิสดารมอี ยูวา พระศาสดาคร้ันทรงสดับวาจาพรรณาพระคณุ แหงปญญาของพระองคเหมอื นในมหาโพธิชาดกและอุมมงั คชาดกแลว จงึ ตรัสวา ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย ตถาคตมีปญญามใิ ชในบดั นเี้ ทา นน้ั แมเม่ือกอนก็มปี ญ ญาและฉลาดในอุบายเหมอื นกนั แลว ทรงนาํ เรอื่ งในอดีตมาตรสั เลา
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 152 ในอดตี กาลคร้งั พระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบตั ิอยูใ นกรงุ พาราณสี พระโพธสิ ตั วอบุ ตั ิในกําเนิดวานร มวี านรแปดหมื่นเปน บรวิ าร อาศยั อยูในหิมวันตประเทศ. ใกลหมิ วนั ตประเทศน้นัมบี านชายแดนแหง หนึง่ บางคร้ังก็มคี นอยู บางครั้งกไ็ มมคี นอยูในทามกลางหมูบ า นนนั้ มีตนมะพลบั ตน หนึง่ กง่ิ กา นและคาคบบรบิ ูรณมีผลอรอย. ฝูงลงิ พากนั มากนิ ผลมะพลบั นัน้ ในเวลาท่ีไมม คี นอยู. ครน้ั ตอมาถึงคราวมีผลอีก บา นนั้นไดก ลบั เปนท่อี ยูของมนษุ ยเรียงรายไปดว ยตนออ ประกอบไปดวยประต.ู แมตนไมน ัน้ กอ็ อกผลก่ิงลนู อมลง. ฝงู ลงิ คิดวา เมือ่ กอ นเรากนิ ผลมะพลบั ทบ่ี านโนน บัดนมี้ ะพลบั ตน นัน้ มีผลหรอื ยงั หนอ บา นมีคนอยูห รือไมห นอ คร้นั คดิ ดังนน้ั แลว จึงสงลงิ ไปตัวหนึ่ง โดยกลาววา เจาจงไปสืบดูที. ลิงน้นั ไปสบื ดูก็รูวาไมน ั้นออกผลและบานมผี ูค นจับจองอยูจงึ กลับมาบอกแกพวกลงิ . พวกลงิไดฟงวาตนไมน ั้นออกผล เกิดความอุตสาหะวา จักกนิ ผลมะพลับอนั โอชา จงึ บอกความน้ันแกพ ญาวานร. พญาวานรถามวาบา นมีคนอยูห รอื ไม มนั บอกวา มีจะนาย. พญาวานรบอกวาถาเชน น้นั ไมควรไป เพราะพวกมนุษยมเี ลหก ะเทม าก. พวกลงิกลาววา เราจกั กินตอนเทีย่ งคนื ในเวลาทพ่ี วกมนุษยหลบั สนิทครัน้ พญาวานรรับรูแลว จงึ ลงจากปาหมิ พานต คอยเวลาท่ีพวกมนุษยห ลับสนิท นอนอยูบ นหลงั แผน หินใหญไ มไกลหมบู านน้นั ครนั้ มชั ฌิมยามพวกมนษุ ยหลบั จงึ พากันขึ้นตนไมกนิ ผลไม.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 153ทนี น้ั ชายคนหน่งึ ออกจากเรือนโดยจะไปถา ยอุจจาระ ถึงทามกลางบานเหน็ ฝูงลงิ จงึ ตะโกนบอกพวกมนุษย. พวกมนุษยมากมาย สอดธนูและลูกศร ถอื อาวุธตา ง ๆ ท้ังกอนดนิ และทอ นไมเปน ตน พอรงุ สวา ง พากนั ยนื ลอมตน ไมด วยหวงั วา จกั จับฝงู ลงิ . ฝูงลิงแปดหมน่ื ตวั เหน็ พวกมนุษยต กใจกลัวตาย พากันไปหาพญาวานรดว ยคดิ วา นอกจากพญาวานรแลว ไมมผี ูอ น่ืจะเปน ท่พี ง่ึ ของพวกเราได แลว กลา วคาถาแรกวา :- พวกมนษุ ยม ีมือถือธนูและแลง ธนู ถอื ดาบ อันคมกริบ พากันมาแวดลอ มพวกเราไวโ ดยรอบ พวกเราจะพน ไปไดดวยอุบายอยา งไร. ในบทเหลา นั้น บทวา ธนหุ ตฺถกลาเปหิ คือมมี ือถือธนูและแลงธนู อธบิ ายวา ถอื ธนแู ลแลง ศรยนื ลอ มอยู. บทวาปรกิ ิณณฺ มหฺ า คือแวดลอม. บทวา กถ ไดแก พวกเราจกั พน ไดดว ยอบุ ายไรหนอ. พญาวานรไดฟง คําของพวกลงิ เหลาน้นั แลวปลอบพวกลงิ วา พวกเจา อยา กลัวเลย ข้ึนชอ่ื วาเหลา มนุษยม กี ารงานมากแมวนั นกี้ ็เพิ่งมัชฌิมยาม บางทีเมือ่ พวกมนษุ ยยืนลอ มเราดวยคดิ วาจกั ฆา พวกเรา กจิ อ่ืนอันทําอันตรายแกกจิ น้ีพึงเกดิ ข้นึแลวกลา วคาถาท่ี ๒ วา :-
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 154 ประโยชนอยา งใดอยา งหนงึ่ จะพงึ เกดิ แกม นุษยผมู กี ิจมากเปนแน ยงั มเี วลาพอท่จี ะเก็บ ผลไมเอามากนิ ได พวกทานจงพากันกนิ ผล มะพลับเถิด. บทวา น เปนเพียงนิบาต. ในบทนมี้ อี ธบิ ายวา บางที.ความตอ งการอะไร ๆ อยา งอ่นื พึงเกิดขน้ึ แกพ วกมนษุ ยผูมีกจิ มาก. บทวา อตถฺ ิ รกุ ฺขสฺส อุจฉฺ นิ นฺ ความวา ยังมที างท่จี ะแยง เอามากนิ ไดดว ยการฉุดกระชากผลของตน ไมน .้ี บทวาขชฺช ตเฺ ว ตนิ ฺทกุ ความวา พวกเจา จงกนิ ผลมะพลบั กันเถิด คอื พวกเจา มีความตอ งการเทา ใด จงกนิ เทา นัน้ เราจกั รูในเวลาทีเ่ ขาประหารพวกเรา. พระมหาสัตวปลอบฝงู ลงิ ไว. เพราะวา เม่อื พวกมนั เมือ่ไมไดการปลอบใจเชน น้ี ทง้ั หมดจะหัวใจแตกถงึ แกความตาย.พระมหาสตั วปลอบฝงู วานรอยา งน้ีแลวกลาววา พวกเจาจบั นบัลิงท้งั หมดท.ี เมือ่ พวกมนั นับกไ็ มเหน็ วานรช่ือ เสนกะซงึ่ เปนหลานของพญาวานร จงึ แจง วา เสนกะไมมา. พญาวานรกลาววา หากเสนกะไมมา พวกเจาไมตองกลวั เสนกะน้ันจกัทําความปลอดภยั ใหแ กพวกเจา ในบดั น.้ี เสนกะหลบั ในเวลาท่ฝี งู ลิงมา ภายหลังตน่ื ขึน้ ไมเหน็ ใคร ๆจงึ เดนิ ตามรอยเทา มา ครัน้ เห็นพวกมนษุ ยจงึ รูวา ภยั เกิดขน้ึ แกฝูงลิงเสยี แลว จึงไปหาหญิงแกซ่งึ ตามไฟกรอดายอยู ณ ทาย
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 155เรือนหลังหนง่ึ แลวทาํ เปนเดก็ ชาวบานเดนิ ไปนา ควาคบไฟดนุ หนงึ่ ว่งิ ไปจดุ บานซง่ึ ตงั้ อยเู หนอื ลม. พวกมนษุ ยพ ากันผละพวกลงิ ไปดบั ไฟ. ลิงท้งั หลายก็พากันหนีเก็บผลไมไ ดต ัวละผลเพอ่ื นําไปใหเ สนกะแลวพากนั หนไี ป. พระศาสดาทรงน าพระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประชุมชาดก. เสนกะหลานพญาวานรในคร้ังนั้นไดเปนมหานามศากยะในครั้งน้ี ฝูงลิงไดเ ปน พุทธบรษิ ัท สว นพญาวานร คอื เราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาตินทุกชาดกท่ี ๗
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 156 ๘. กจั ฉปชาดก วา ดว ยเตา [๒๐๕] เราเกดิ ทน่ี ่ี เตบิ โตท่ีน่ี เพราะเหตนุ ี้ เรา จงึ ไดอาศยั อยูทเ่ี ปอกตม เปอกตมกลบั ทับถม เราใหทรุ พล ดูกอนทานภัคควะ เพราะเหตนุ ั้น ขา พเจาจะขอกลา วกะทาน ขอทา นจงฟงคาํ ของ ขา พเจา เถดิ . [๒๐๖] บุคคลไดร ับความสขุ ในทีใ่ ด จะเปนใน บา นหรือในปาก็ตาม ทนี่ นั้ เปนทีเ่ กดิ เปน ท่เี ติบโต ของบุรษุ ผรู จกั เหตุผล บคุ คลพงึ เปนอยูไดใ นท่ใี ด กพ็ ึงไปที่นน้ั ไมพ ึงใหท่ีอยฆู าตนเสยี . จบ กจั ฉปชาดกท่ี ๘ อรรถกถากจั ฉปชาดกที่ ๘ พระศาสดาเม่อื ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวิหารทรงปรารภผูรอดจากอหิวาตกโรคคนหนง่ึ ตรัสพระธรรมเทศนานม้ี ีคาํ เรม่ิ ตนวา ชนติ เม ภวติ เม ดังน้.ี มเี รื่องเลา วา ท่กี รุงสาวัตถี ไดเกดิ อหวิ าตกโรคขึน้ ในตระกูลหน่งึ . มารดาบดิ าจึงบอกแกบ ตุ รวา ลกู เจาอยาอยใู น
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 157เรอื นนเี้ ลย จงพงั ฝาหนีไปเสียในท่ีใดทห่ี นง่ึ รกั ษาชวี ิตไวภ ายหลังจึงคอ ยกลบั มา ขดุ ทรพั ยซ ่ึงฝง ไวม ีอยใู นที่นี้ แลวเกบ็ ทรพั ยไ วเลีย้ งชพี ใหเปน สุขเถดิ . บุตรรับคาํ ของมารดาบิดาแลวพงั ฝาหนไี ป เม่อื โรคของตนหายดแี ลวจึงกลับมาขดุ เอาทรัพยท่ฝี ง ไวอยคู รองเรือนอยา งเปนสุข. วันหนึ่งเขาใหค นถอื เนยใสและนา้ํ มัน ผา เครอ่ื งนงุ หมเปน ตน ไปวหิ ารเชตวนั ถวายบงั คมพระศาสดาแลวน่ัง. พระศาสดาทรงทาํ ปฏิสนั ถารกบั เขาแลวตรัสถามวา ไดย ินวา อหิวาตกโรคเกดิ ข้ึนในเรือนของทานทานทาํ อยางไรจึงรอดมาได. เขาไดก ราบทูลเรอ่ื งราวนน้ั ใหทรงทราบ. พระศาสดาตรสั วา ดกู อนอบุ าสก แมแ ตก อ นชนเหลา ใด เม่อื ภยั เกดิ ขึน้ ทําความอาลยั ในทีอ่ ยขู องตน ไมย อมไปอยูท่อี ืน่ ชนเหลาน้ันถึงส้นิ ชีวติ แตชนเหลา ใดไมทําความอาลัยไปอยูเสียท่ีอ่นื ชนเหลา นนั้ รอดชีวิตแลว ทรงนําเรอ่ื งในอดตีมาตรัสเลา . ในอดีตกาลคร้งั พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั อิ ยใู นกรงุ พาราณสี พระโพธสิ ตั วอบุ ัติในตระกูลชางหมอใกลหมูบานแหง หน่ึง ทําการปน หมอเล้ียงบตุ รภรรยา. ในครงั้ น้ัน ใกลกรงุ พาราณสี ไดมีสระใหญต อเนื่องเปน อันเดียวกับแมน ้ําใหญสระนน้ั มนี า้ํ ไหลถงึ กนั กบั แมน ํา้ ในคราวนา้ํ มาก. เม่อื นํ้านอ ยก็แยกกัน. ปลาและเตายอมรูว า ปน ีฝ้ นดี ปน ีฝ้ นแลง . ครน้ั ตอ มาปลาและเตาทเ่ี กิดในสระน้ันรูวา ในปน ี้ฝนจะแลง ครั้นถงึ เวลา
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 158นาํ้ ไหลตอเนอื่ งกันเปนอันเดียว จงึ พากันออกจากสระไปสแู มน ้ํา.แตเ ตา ตัวหนง่ึ ไมย อมไปดว ยคดิ เสยี วา นี้เปน ท่เี กิดของเรา เปนท่เี ตบิ โตของเรา เปน ท่ีที่พอแมของเราเคยอยู เราไมอาจจะละทน่ี ้ีไปได. คร้ันถึงคราวหนาแลง นํา้ แหง ผาก. เตานั้นขุดคุย ดินเขา ไปอยูในทท่ี ีข่ นดินของพระโพธิสัตว. พระโพธิสัตวไ ดไปณ ท่นี นั้ ดวยประสงควา จกั เอาดิน จึงเอาจอบใหญข ุดดนิ สับถกูเตาแลวเอาจอบงัดมันขน้ึ คลา ยกอ นดนิ ท้ิงกล้ิงอยูบนบก. เตาน้นั ไดร บั เวทนา จึงพดู ครํ่าครวญวา เราไมอาจละทีอ่ ยูไดจ ึงถงึความพนิ าศอยางนี้ แลวไดกลา วคาถาเหลา น้วี า :- เราเกิดที่น่ี เตบิ โตทนี่ ี่ เพราะเหตนุ ี้ เรา จงึ ไดอาศัยอยูทเี่ ปอกตม เปอ กตมกลับทบั ถมเรา ใหทรุ พล ดูกอนทา นภัคควะ เพราะเหตนุ น้ั ขาพเจาจะขอกลาวกะทา น ขอทา นจงฟงคาํ ของ ขา พเจา เถดิ บคุ คลไดร ับความสุขในทใ่ี ด จะเปน ในบานหรอื ในปาก็ตาม ท่นี ้นั เปน ทเ่ี กดิ เปน ท่ี เติบโตของบรุ ษุ ผรู จู กั เหตผุ ล บคุ คลพงึ เปนอยู ไดใ นที่ใดก็พึงไปในท่ีน้ัน ไมพึงใหที่อยฆู า ตน เสยี . ในบทเหลา นน้ั บทวา ชนติ เม ภวติ เม ไดแก นเี้ ปน ท่ีเกิดของเรา นี้เปนทเ่ี ตบิ โตของเรา. บทวา อิติ ปงเฺ ก อวสสฺ ยึ ความ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 159วา เราอาศยั คอื นอน คอื สําเร็จการอยใู นเปอ กตมนี้ เพราะเหตนุ ้.ีบทวา อชฌฺ ภวิ ไดแ ก ครอบงาํ คอื ใหถงึ ความพนิ าศ. เรียกชางหมอ วา ภคั ควะ ภคั ควะนเ้ี ปน บญั ญตั นิ ามและโคตรของชางหมอ . บทวา สุข ไดแ ก ความสบายทางกายและทางจติ .บทวา ต ชนิต ภวติ ฺจ ไดแก น้ันเปนท่เี กิดและเปนที่เติบโต.บทวา ปชานโต ไดแ ก ผรู ูป ระโยชนม ิใชป ระโยชนคือ เหตุและมใิ ชเหตุ. บทวา น นิเกตหโต สยิ า ความวา ทาํ ความอาลัยในท่อี ยูแลวไมไปในทอ่ี นื่ ถูกที่อยฆู า ไมควรใหถึงมรณทกุ ขเชน นี.้ เตา เมอื่ พูดกบั พระโพธสิ ัตวอยา งน้กี ต็ าย. พระโพธสิ ัตวจับเอาเตาไปแลวใหชาวบานทั้งหมดมาประชมุ กัน เมอ่ื จะสอนมนุษยท้ังหลาย จึงกลา วอยางนีว้ า พวกทานจงดูเตา น้ี ในขณะทป่ี ลาและเตาอ่นื ๆ ไปสแู มนํ้าใหญ เตานี้ไมอ าจตดั ความอาลัยในท่ีอยูของตนได ไมไปกบั สตั วเหลา นัน้ เขาไปนอนยงั ทขี่ นดนิของเรา ครั้นเราขนดนิ ไดเอาจอบใหญสบั หลังมันเหว่ยี งมนั ลงบนบกเหมือนกอนดนิ เตาน้ีจงึ เปด เผยกรรมที่ตนกระทาํ คร่ําครวญดว ยคาถาสองคาถาแลวกต็ าย มนั ทําความอาลยั ในทีอ่ ยูของตนถงึ แกความตาย แมพ วกทานกอ็ ยาไดเ ปน เชนเตา ตวั น้ี ตั้งแตนี้ไป พวกทานจงอยา ยดึ ดวยอาํ นาจตัณหา ดวยอาํ นาจเครื่องอุปโภคและบริโภควา รปู เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ของเราบุตรของเรา ธิดาของเรา ทาสีและทาสเงินทองของเราแท
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 160สตั วผ เู ดยี วนเ้ี ทานัน้ วนเวียนไปในภพสาม. พระโพธิสตั วไ ดใหโอวาทแกมหาชน ดวยพทุ ธสีลา ดว ยประการฉะนี้. โอวาทน้นัแผไปท่วั ชมพทู วปี ดาํ รงอยตู ลอดเวลาประมาณเจ็ดพนั ป.มหาชนตงั้ อยใู นโอวาทของพระโพธสิ ตั ว ทาํ บุญมที านเปนตนทาํ ทางสวรรคใ หบรบิ รู ณในคราวสิ้นอายุ. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าแลว ทรงประกาศอริยสจั ทรงประชุมชาดก. เม่ือจบอริยสจั กลุ บุตรนั้นตง้ั อยใู นโสดาปต ติผล. เตา ในครงั้ น้ันไดเปนอานนทในครั้งน้ี สว นชางหมอ คือเราตถาคตน้แี ล. จบ อรรถกถากจั ฉปชาดกที่ ๘
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 161 ๙. สตธรรมชาดก วา ดว ยสตธรรมมาณพ [๒๐๗] อาหารท่เี ราบรโิ ภค นอยดวย เปนเดนดว ย อนึง่ เขาใหแ กเราโดยยากเต็มที เราเปนชาติ พราหมณบ ริสทุ ธ์ิ เพราะเหตนุ ้นั อาหารที่เรา บรโิ ภคเขา ไปแลว จงึ กลับออกมาอีก. [๒๐๘] ภิกษุใดละทง้ิ ธรรมเสีย หาเลีย้ งชีพโดย ไมชอบธรรม ภิกษนุ ้นั ก็ยอ มไมเพลนิ ดว ยลาภ แมทไ่ี ดม าแลว เปรียบเหมอื นสตธรรมมาณพ ฉะนนั้ . จบ สตธรรมชาดกท่ี ๙ อรรถกถาสตธรรมชาดกท่ี ๙ พระศาสดาเมือ่ ประทบั อยู ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภการแสวงหาไมค วร ๒๑ อยา ง ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มคี าํเปน ตนวา ตจฺ อปปฺ ฺจ อจุ ฉฺ ิฏ ดงั น.ี้ เรื่องพสิ ดารมีอยูวา คร้ังหนง่ึ ภกิ ษุเปนอนั มากสาํ เร็จชีวติ ดวยการแสวงหาไมควร ๒๑ อยา ง เปนตน วา การเปนหมอการเปน ทตู การสงขาว การรบั ใช การใหไ มส ีฟน การใหไมไ ผ
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 162การใหดอกไม การใหผลไม การใหจณุ สําหรบั ทา การใหครุภณั ฑ การใหย า การใหของบณิ ฑบาต. การแสวงหาไมค วรนนั้ จักมแี จง ในสาเกตชาดก. พระศาสดาทรงทราบการเลย้ี งชีพของภิกษุเหลาน้นัทรงพระดาํ รวิ า บัดน้ภี กิ ษเุ ปนอนั มากสําเร็จชวี ิตดว ยการแสวงหาไมค วร คร้ันสําเร็จชีวิตอยา งน้ีแลวจักไมพน ความเปนยักษ ความเปนเปรต จกั เกิดเปนโคเทยี มแอก จกั เกิดในนรกเราควรกลาวธรรมเทศนาสักอยางหน่ึงอันเปน อธั ยาศยั ของตนเปน ปฏิภาณของตน เพอื่ ประโยชนเ พอ่ื ความสขุ ของพวกเธอแลวรบั สง่ั ใหห มูภ ิกษุประชมุ กนั ตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลายไมควรใหป จจยั เกดิ ข้นึ ดว ยการแสวงหาไมค วร ๒๑ อยางเพราะบณิ ฑบาตทเ่ี กิดขนึ้ ดวยการแสวงหาไมควรเปนเชนกบักอนทองแดงรอน เปรียบเหมือนยาพิษรา ยแรง จริงอยูการแสวงหาไมค วรน้ี พระพุทธเจา พระปจ เจกพทุ ธเจา และสาวกของพระพทุ ธเจาตเิ ตยี น คดั คา น เมือ่ ภกิ ษุบรโิ ภคบิณฑบาตอนั เกิดขน้ึ ดวยการแสวงหาอนั ไมควร จะไมม คี วามราเรงิ หรอืโสมนสั เลย เพราะวาบิณฑบาตอนั เกดิ ขึน้ อยา งน้ีเปนเชนกับอาหารเดนของคนจณั ฑาลในศาสนาของเรา การบริโภคบิณฑบาตน้นั ยอ มเปนเหมอื นการบริโภคอาหารเดนของคนจัณฑาล ชื่อสตธรรมมาณพ แลว ทรงนําเร่อื งในอดตี มาตรัสเลา.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 163 ในอดีตกาลครั้งพระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั อิ ยูในกรุงพาราณสี พระโพธิสตั วบังเกิดในกาํ เนดิ คนจณั ฑาล คร้ันเจรญิ วัยไดต ระเตรยี มขา วสารเปน เสบยี งและหอขา วเดนิ ทางไปทํากรณยี กิจอยา งหนง่ึ . ในกาลน้ันในกรุงพาราณสีมมี าณพคนหนงึ่ ชือ่ สตธรรม เกดิ ในสกลุ พราหมณมหาศาลอุทิจจโคตร.เขามไิ ดต ระเตรียมขาวสารหรือหอ ขาวเดินทางไปดว ยกรณยี กิจอยา งหนึ่ง. ท้งั สองไดม าพบกนั ทที่ างใหญ. มาณพจึงถามพระ-โพธิสตั ววา ทา นเปนชาตอิ ะไร. มาณพบอกวา เราเปนคนจณั ฑาล แลว ถามมาณพวา กท็ านเลา เปนชาตอิ ะไร เขาบอกวาเราเปนพราหมณอุทิจจโคตร. ดีแลว เราไปดวยกนั ทง้ั สองก็เดินทางรว มกันไป. ไดเ วลาอาหารเชา พระโพธสิ ตั วจงึ นงั่ ในท่ีท่ีหาน้ํางา ย ลา งมอื แกหอขาวแลว กลา ววา มาณพบรโิ ภคขาวกันเถดิ . มาณพตอบวา ไมมีเสียละเจาคนจัณฑาลท่เี ราจะตองการอาหารของทา น. พระโพธสิ ัตวจ งึ วาตามใจ แลวแบง อาหารเพยี งพอสําหรับตนไวใ นใบไมอน่ื ไมท าํ อาหารในหอใหเ ปนเดน มัดหอวางไวข างหนึ่ง บรโิ ภค ดม่ื น้ํา จากนั้นก็ลางมอื ลางเทา ถอื เอาขา วสารและอาหารที่เหลือ กลา ววา ไปกนัเถดิ มาณพ แลว กเ็ ดนิ ทางตอ ไป. เขาพากันเดินทางไปตลอดวันยังค่ํา ในตอนเยน็ ทัง้ สองพากันลงอาบนาํ้ ในทท่ี นี่ า้ํ บรบิ ูรณแหง หนงึ่ เสร็จแลวกข็ ึ้น. พระโพธิสตั วนั่งในทีส่ าํ ราญ แลวแกหออาหาร ไมไ ดเ ชญิ มาณพ เรม่ิ บรโิ ภค. มาณพเหนด็ เหน่ือย
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 164เพราะการเดินทางมาตลอดวัน เกิดความหวิ โหย ไดแตยนื มองดวยคดิ วา หากเขาใหอ าหารเรา เราก็จักบรโิ ภค. ฝา ยพระ-โพธิสัตว กม็ ิไดพ ูดอะไรบรโิ ภคทา เดียว. มาณพคิดวา เจาคนจัณฑาลนีไ้ มพดู กบั เราเลย บรโิ ภคจนหมด เราควรยดึ เอากอนอาหารไว ทงิ้ เศษอาหารขา งบนเสยี แลวบริโภคสวนทเี่ หลอื .มาณพไดทาํ ดงั นน้ั แลว บรโิ ภคอาหารเดน. คร้นั บริโภคเสรจ็แลว เทา นั้น กเ็ กิดความรอ นใจอยางแรงวา เราทาํ กรรมอันไมสมควรแกช าติ โคตร ตระกูล และประเทศของตน เราบรโิ ภคอาหารเดนของคนจัณฑาล. ทันใดนัน้ เองอาหารปนโลหิตก็พุงออกจากปากของมาณพนั้น. เขาครํ่าครวญ เพราะความโศกใหญหลวงเกดิ ขนึ้ วา เราทาํ กรรมอนั ไมส มควรเพราะเหตุอาหารเพียงเลก็ นอ ย แลวกลา วคาถาแรกวา :- อาหารทเ่ี ราบรโิ ภคนอยดวย เปน เดนดว ย อนง่ึ เขาใหแกเราโดยยากเยน็ เต็มที เราเปน ชาติ พราหมณบ ริสุทธ์ิ เพราะเหตนุ ัน้ อาหารที่เรา บริโภคเขา ไปแลว จึงกลบั ออกมาอกี . ในคาถาน้ันมคี วามสงั เขปดังตอไปนี้ เราบรโิ ภคอาหารใดอาหารนน้ั นอ ยดว ยเปนเดนดวย คนจณั ฑาลนน้ั มิไดใ หอาหารแกเ ราดวยความพอใจของตน ท่ีแทถ กู เรายดึ จึงไดใหด ว ยความยาก คอื ดวยความลาํ บาก เราเปนพราหมณมีชาตบิ รสิ ทุ ธิ์ดวยเหตุนน้ั อาหารทเี่ ราบริโภคจงึ พลงุ ออกมาพรอ มกับโลหติ .
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 165 มาณพคร่ําครวญอยอู ยา งนแ้ี ลวจงึ คดิ วา เราทํากรรมอันไมสมควร ถึงอยา งน้แี ลว จะมีชีวิตอยูไปทําไม จงึ เขาปา ไปไมแ สดงตนแกใ คร ๆ ถึงแกก รรมลงอยางนา อนาถ. พระศาสดาทรงแสดงเรือ่ งอดตี นแ้ี ลวตรัสวา ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย เพราะสตธรรมมาณพบรโิ ภคอาหารเดนของคนจณั ฑาลเปน การบริโภคอาหารทไ่ี มสมควรแกต น จึงมิไดเกิดความราเริงยินดฉี ันใด ผใู ดบวชแลวในศาสนานีก้ ฉ็ นั นั้นสําเรจ็ ชวี ติ ดวยการแสวงหาอันไมสมควร บริโภคปจจยั ตามท่ีได ความราเรงิ ยนิ ดมี ิไดเกิดแกผ ูน นั้ เพราะเขามชี วี ติ เปน อยูทนี่ า ตําหนิ ซึง่ พระพทุ ธองคท รงคดั คาน คร้ันทรงบรรลุอภสิ ัม-โพธญิ าณแลว จึงตรัสพระคาถา ๒ คาถาวา :- ภิกษใุ ดละท้ิงธรรมเสยี หาเล้ียงชพี โดย ไมชอบธรรม ภกิ ษนุ ้ันกย็ อ มไมเพลนิ ดว ยลาภ แมที่ตนไดมาแลว เปรียบเหมือนสตมาณพฉะนั้น. ในบทเหลาน้นั บทวา ธมฺม ไดแก ธรรม คอื อาชีวปาริ-สทุ ธิคีล. บทวา นิรงกฺ ตวฺ า ไดแ ก นาํ ไปทิง้ เสยี . บทวาอธมฺเมน ไดแก มิจฉาชพี กลา วคือการแสวงหาไมส มควร ๒๑อยา ง อยางน้.ี บทวา สตธมโฺ ม เปน ชือ่ ของมาณพนน้ั . บาลีเปนสตุ ธมโฺ ม บา ง. บทวา น นนทฺ ติ ความวา มาณพสตธรรมไมยินดดี ว ยลาภนน้ั วา เราไดอาหารเดนของคนจณั ฑาล ฉันใด
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 199เมื่อจติ ไมขนุ มัว บรุ ษุ น้นั ยอมเห็นประโยชนตนและประโยชนผูอืน่ ฉนั น้ันเหมือนกัน. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประกาศอริยสัจ ทรงประชมุ ชาดก. เมอ่ื จบอรยิ สัจ พราหมณก ุมารตั้งอยูในโสดาปตติผล. มาณพในครั้งนน้ั ไดเปนมาณพน้ีแล ในคร้งั นี้สว นอาจารย คอื เราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาอนภิรตชิ าดกท่ี ๕
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 200 ๖. ทธวิ าหนชาดก วา ดวยพระเจา ทธิวาหนะ [๒๒๑] (พระเจา ทธิวาหนะตรสั ถามวา ) แตก อ น มะมวงตนน้ีบรบิ รู ณด ว ยสี กลิน่ และรส ไดร บั การบํารุงอยูเ ชน เดมิ เหตไุ รจึงมผี ลขน่ื ขมไปเลา . [๒๒๒] (พระโพธสิ ตั วท ูลวา ) ขาแตพระเจา- ทธิวาหนะ มะมว งของพระองคม ตี นสะเดาลอ ม อยู รากตอ รากเกย่ี วพนั กนั ก่งิ ตอ กิง่ เกย่ี วประ- สานกนั เหตทุ ี่อยรู วมกนั กับตนสะเดาทีม่ ีรสขม มะมวงจงึ มผี ลขมไปดว ย. จบ ทธวิ าหนชาดกท่ี ๖ อรรถกถาทธวิ าหนชาดกที่ ๖ พระศาสดาเมือ่ ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวิหารทรงปรารภภิกษุคบพวกผดิ ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เริม่ ตนวา วณฺณคนธฺ รโสเปโต ดังนี้. เรอ่ื งราวขาพเจากลาวไวแลวในหนหลงั . กใ็ นเรือ่ งน้ี พระศาสดาตรสั วา ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลายขน้ึ ชื่อวาการอยูรวมกบั อสตั บุรษุ เปนสงิ่ เลวทราม ทาํ แตความ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 526
Pages: