Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_57

tripitaka_57

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:42

Description: tripitaka_57

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 265 ในบทเหลานัน้ บทวา คิร คือ คาํ พูด. จริงอยู คาํ พูดทานเรียกวา คิระ เหมือนดังวาจาทีเ่ ปลงออกในเวลานี.้ ลูกนกแขกเตานน้ั มไิ ดคาํ นงึ ถึงเพศ จงึ กลา วอยา งนัน้ . อธิบายความในคาถานี้ดงั นี้. ขาแตพ อ ธรรมดาบณั ฑิตจะไมก ลาวแมค ําท่ปี ระกอบดวยสจั จะคอื มสี ภาพท่เี ปน จริงและประกอบดวยประโยชน แตไมท าํใหพน ทกุ ขและความจรงิ ทีไ่ มด ี คอื ไมทําใหพ น ทกุ ข. บทวาสเยถ โปฏ ปาโทว มุมฺมเร อปุ กสู โิ ต ความวา เหมอื นนกโปฏฐปาทะ นอนไหมอยูในเถา รึง ฉะนัน้ . บาลวี า อปุ กฏุ  โิ ตก็มี ความอยางเดยี วกนั . พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานม้ี าแลว ทรงประกาศสัจธรรม ประชมุ ชาดก. เมอ่ื จบสัจธรรม ภิกษุผูกระสันตัง้อยใู นโสดาปตติผล. นกแขกเตา โปฏฐปาทะในครั้งน้นั ไดเปนอานนทใ นคร้งั นี้ แตนกแขกเตา ราธะ คือเราตถาคตนีแ้ ล. จบ อรรถกถาราธชาดกที่ ๘

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 266 ๙. คหปติชาดก วาดว ยการทวงในเวลาท่ียังไมถงึ กําหนด [๒๔๗] กรรมทงั้ สองไมค วรแกเ รา เราไมช อบใจ ก็หญิงคนน้ลี งไปในฉางขาวแลว พูดวา เรายัง ใชห น้ีใหไ มไ ด [๒๔๘] ดูกอ นนายบา น เพราะเหตนุ ัน้ เราจงึ พูด กะทาน ทานมาทวงคาเนอื้ ววั แก ซูบผอม ซ่งึ เราไดทาํ สัญญาผลัดไวถ งึ สองเดือน ในคราว เมื่อชวี ติ ของเรานอยลาํ บากยากเข็ญ ในกาลยัง ไมทันถึงกําหนดสัญญา กรรมทัง้ สองนนั้ ไมถ กู ใจเราเสยี เลย. จบ คหปตชิ าดกที่ ๙ อรรถกถาคหปติชาดกที่ ๙ พระศาสดาเม่ือประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผูกระสันเหมือนกัน ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี าํเรม่ิ ตน วา อภุ ย เม น ขมติ ดังน้.ี พระศาสดาเมอ่ื จะรับสั่ง จึงตรสั วา ข้นึ ชือ่ วามาตคุ ามดูแลไมไ หว ทําความชั่วเขาแลว ยอมลวงสามดี ว ยอุบายอยางใด

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 267อยางหนงึ่ แลวทรงนาํ เรอื่ งอดตี มาตรัสเลา. ในอดตี กาลคร้ังพระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบตั อิ ยใู นกรงุ พาราณสี พระโพธิสัตวอุบตั ใิ นตระกลู คหบดี แควนกาสีครัน้ เจรญิ วัยไดครองฆราวาส. ภรรยาของพระโพธสิ ัตวน ั้นเปนหญิงทศุ ีล ประพฤตอิ นาจารกับผใู หญบา น. พระโพธิสตั วทราบระแคะระคาย จงึ เทยี่ วสบื . กใ็ นครั้งนัน้ ในระหวางฤดูฝนเมื่อขาวปลกู ยงั ไมแ ก กเ็ กิดความอดหยาก. ถงึ เวลาที่ขา วกลาตั้งทอง. ชาวบานทัง้ หมดรว มใจกัน ยมื โคแกต ัวหน่ึงของผูใหญบานมาบรโิ ภคเนื้อ โดยสญั ญาวา จากนไี้ ปสองเดือนเราเกบ็ เกี่ยวแลวจกั ใหข าวเปลือก. อยูมาวนั หนง่ึ ผใู หญบานคอยโอกาส จงึ เขาไปยงั เรอื นในเวลาที่พระโพธสิ ัตวอ อกไปขางนอก. ในขณะทที่ ้งั สองคนนอนอยางเปน สุขนั่นเอง พระโพธสิ ตั วกเ็ ขา ไปทางประตูบา นหนั หนา ไปทางเรือน. หญงิ นั้นหันหนา มาทางประตูบา น เหน็พระโพธสิ ัตว คดิ วา น่นั ใครหนอ จงึ ยนื มองดูทธ่ี รณีประตู ครั้นรวู า พระโพธสิ ตั วน่นั เอง จึงบอกแกผ ใู หญบา น. ผใู หญบา นกลวัตัวสน่ั . หญงิ นนั้ จึงบอกผใู หญบา นวา อยา กลัว ฉันมอี บุ ายอยา งหนึ่ง พวกเรายืมโคของทานมาบรโิ ภคเนอื้ ทานจงทาํ เปน ทวงเรียกคาเน้อื ฉันจะข้นึ ไปยงั ฉางขาวยนื อยทู ่ีประตฉู าง แลว บอกทา นวา ขา วเปลอื กไมมี ทานยืนอยกู ลางเรอื น แลวทวงบอย ๆวา พวกเดก็ ๆ ในเรือนของเราหวิ ทา นจงใหค า เนอื้ เถิด วาแลว

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 268นางก็ขนึ้ ไปยังฉางน่ังที่ประตูฉาง. ฝายผูใ หญบ านยืนอยทู ีก่ ลางเรอื นก็รองวา จงใหคาเน้ือเรา. นางน่งั อยทู ปี่ ระตฉู าง พูดวาในฉางไมม ีขาวเปลอื ก เมื่อเกบ็ เก่ยี วแลว เราจงึ จะให ไปกอนเถิด. พระโพธสิ ัตวเ ขา ไปยงั เรือนเห็นกริ ิยาของคนทงั้ สองก็รูว า นั่นคงเปน อุบายของหญงิ ชวั่ น้ี จึงเรยี กผใู หญบ านมาพดู วาน่แี นะทานผใู หญ เมือ่ เราจะบริโภคเน้ือโคแกข องทา นก็บรโิ ภคโดยสัญญาวา จากน้ีไปสองเดือน เราจึงจักใหขาวเปลอื ก ยงั ไมลว งไปถึงก่งึ เดอื นเลยทาน เพราะเหตุไรทานจึงมาทวงในเวลาน้ีทา นมิไดม าดว ยเหตนุ ี้ นาจะมาดวยเหตุอ่ืนกระมัง เราไมช อบใจกิรยิ าของทา นเลย แมห ญิงนีก้ ็เลวทรามเหลอื หลาย รูว าในฉางไมมขี าวเปลอื ก ก็ยังขน้ึ ฉางบอกวา ขาวเปลือกไมมี แมทา นก็ทวงวา จงใหเรา เราไมช อบการกระทําของทา นทัง้ สองเลยเมอื่ จะประกาศเนอื้ ความนี้จึงไดก ลาวคาถาเหลา นี้วา :- กรรมทงั้ สองไมค วรแกเ รา เราไมชอบใจ กห็ ญงิ คนน้ี ลงไปในฉางขา วแลวพดู วา เรายงั ใชห น้ใี หไมไ ด. ดกู อนผใู หญบาน เพราะเหตนุ ี้เราจึงพูด กะทา น ทานมาทวงคาเน้อื ววั แก ซบู ผอม ซง่ึ เรา ไดผ ลดั ไวถ ึงสองเดอื น ในคราวเมื่อชวี ิตของเรา นอ ยลําบากยากเข็ญ ในกาลยังไมถึงกําหนด สญั ญา กรรมทั้งสองนั้นไมช อบใจเราเสยี เลย.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 269 ในบทเหลา นน้ั บทวา ต ต คามปติ พฺรูมิ ความวา ทานผูใหญบา น เราพูดกะทา นดว ยเหตนุ นั้ . บทวา กทเร อปฺปสมฺ ึชวี เิ ต ความวา ชอ่ื วาชีวติ ของเรายากจน คอื คน แคน เศราหมองฝด เคือง กาํ ลังนอ ย ซูบผอม เม่อื ชีวิตของ. เราเปน ถึงเชนน.้ี บทวาเทวฺ มาเส สงฺคร กตฺวา ม ส ชรคคฺ ว กิส ความวา เม่ือพวกเราจะรบั เนอ้ื ทา นก็ใหโ คแก คอื โคชรา ซบู ผอม ทุพพลภาพ แลวผลดั เพ้ียน คอื กําหนดสองเดือนอยา งนี้วา สองเดือนลว งแลว ทา นควรชําระคา เนือ้ . บทวา อปฺปตตฺ กาเล โจเทสิ ความวา เมอื่ยงั ไมถ ึงเวลาน้ันทานกม็ าทวงเสยี แลว . บทวา ตมปฺ  มยฺห นรจุ ฺจติ ความวา และหญิงช่ัวชา ทุศลี ผูนรี้ ูอ ยวู า ภายในฉางขาวไมม ขี า วเปลอื กทําเปน ไมร ูข น้ึ ไปบนฉางขา ว ยืนทปี่ ระตฉู างพดู วา เรายังใชห นีใ้ หไมไ ด อน่ึง ทา นกม็ าทวงเมอื่ ยงั ไมถงึเวลา ท้งั สองอยางน้ีเราไมชอบใจเลย. เมอ่ื พระโพธิสัตวกลา วซาํ้ ซากอยอู ยา งนี้ จึงจิกผมผูใหญบา นกระชากใหล ม ลงทา มกลางเรือน แลวดาวาดวยคําเปนตนวาเจาทาํ รา ยของท่คี นอืน่ เรารักษาหวงแหนโดยถือวา ฉนั เปนผูใหญบา น แลวทุบตจี นบอบชํ้า จับคอไสออกจากเรอื น แลว ควาผมหญิงชวั่ รายน้นั ใหล งมาจากฉางตบตีขวู า หากเจาทําเชน นีอ้ กีจกั ไดร กู นั . ตัง้ แตน นั้ มาผใู หญบ านกไ็ มกลา มองดูเรอื นนนั้ .แมห ญงิ ชว่ั น้ันก็ไมอาจประพฤตินอกใจอีก.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 270 พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประกาศสจั ธรรม ทรงประชุมชาดก. เมื่อจบสจั ธรรม ภิกษุกระสนัต้งั อยใู นโสดาปต ติผล. คหบดผี ลู งโทษผูใหญบ า น คือเราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาคหปติชาดกท่ี ๙

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 271 ๑๐. สาธุศลี ชาดก วา ดว ยเลอื กเอาผมู ศี ลี [๒๔๙] เราขอถามทา นพราหมณว า ๑. คนมีรปู งาม ๒. คนอายุมาก ๓. คนมีชาตสิ งู ๔. คนมี ศีลดี ๔ คนนั่น ทา นจะเลือกเอาคนไหน. [๒๕๐] ประโยชนใ นรา งกายกม็ ีอยู ขาพเจา ขอทาํ ความนอบนอมตอ ทา นผูเจรญิ วัย ประโยชนใ น บรุ ุษผมู ชี าตดิ ีก็มอี ยู แตเราชอบใจศีล. จบ สาธศุ ีลชาดกที่ ๑๐ อรรถกถาสาธศุ ีลชาดกที่ ๑๐ พระศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภพราหมณคนหนงึ่ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคําเรมิ่ ตน วาสรีรทพยฺ  วุฑฺฒพยฺ  ดังนี.้ ไดยนิ วา พราหมณน ั้นมลี กู สาวส่คี น. มีชายส่ีคนตองการลกู สาวเหลานน้ั . ในชายส่คี นนั้น คนหนึง่ รปู งามรา งกายสมบรู ณ คนหนึง่ อายมุ ากเปนผใู หญ คนหน่ึงสมบรู ณดว ยชาติ คนหนึ่งมีศีล. พราหมณค ิดวา เมื่อจะปลกู ฝง ลกู สาวควรจะใหแกใ ครหนอ ควรใหแกค นรปู งามหรือ คนมีอายุ คนสมบูรณดวยชาติ และคนมศี ีล คนใดคนหน่งึ ด.ี แมเ ขาจะพยายาม

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 272คดิ กไ็ มรูแน จงึ คิดวา พระสมั มาสมั พทุ ธเจาจักทรงทราบเหตุน้ี เราจักทูลถามพระองคแลว ยกลกู สาวใหแกผ ทู ส่ี มควรในระหวา งคนเหลา น้นั จึงไดถอื ของหอมดอกไมเ ปน ตน ไปวหิ ารถวายบังคมพระศาสดา นงั่ ณ สวนหนงึ่ กราบทูลความน้นั แดพระผูมพี ระภาคเจา ตั้งแตตน แลว ทลู ถามวา ขาแตพ ระองคควรจะใหแ กใครในชายทั้งสเ่ี หลาน.้ี พระศาสดาตรัสวา แตปางกอนบณั ฑิตทัง้ หลายกย็ ังถามปญ หานแ้ี กพระองค แตเพราะยงั อยูในหวั เล้ียวหวั ตอ ของภพ จึงไมอ าจจดจําได เมือ่ พราหมณทลู อาราธนา จึงทรงนําเรอ่ื งอดตี มาตรสั เลา . ในอดตี กาลคร้ังพระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัตอิ ยใู นกรงุ พาราณสี พระโพธิสัตวอุบัติในตระกูลพราหมณเรยี นศิลปะในเมืองตักกสลิ า แลว ไดม าเปนอาจารยท ศิ าปาโมกขในกรงุตักกสิลา. ครง้ั น้นั พราหมณมีลกู สาวสีค่ น. มชี ายสีค่ นตองการลกู สาวเหลานน้ั . พราหมณร ําพงึ วา จะควรใหแกใคร เมอ่ื ไมแนใจจงึ คดิ วา เราจะตองถามอาจารย แลว ใหแกผ ูท คี่ วรใหจงึ ไปหาอาจารย เมื่อจะถามเรือ่ งนั้น จึงกลา วคาถาแรกวา :- เราขอถามทานพราหมณวา ๑. คนมรี ูป งาม ๒. คนอายมุ าก ๓. คนมีชาตสิ งู ๔. คนมี ศีล ส่ีคนนั้น ทา นจะเลอื กเอาคนไหน. ในบทเหลา นัน้ พราหมณป ระกาศคุณท่มี ีอยแู กช ายส่คี นเหลา นั้น. ในคาถานี้มอี ธบิ ายดังน้ี ชายสคี่ นตองการลูกสาว

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 273ส่คี นของขาพเจา ในชายส่คี นนนั้ คนหน่ึงมรี ปู งาม คือมีรา งกายสมบรู ณ มคี วามสงา คนหน่ึงอายมุ าก คือเปน ผูใ หญ เจรญิ วยัคนหน่งึ มชี าติสูง คือสมบรู ณดวยชาติ เพราะเกิดมาดี คนหน่ึงมศี ลี คืองดงามดว ยศลี สมบรู ณด วยศีล. บทวา พรฺ าหฺมณนฺเต วปจุ ฺฉาม ความวา ขา พเจาไมรูวา จะใหล กู สาวเหลา นี้แกช ายคนหนึง่ ในสี่คนเหลานัน้ จึงขอถามทานพราหมณ. บทวา กินนฺ ุเตส วณิมหฺ เส ความวา ชายสีค่ นเหลาน้ัน ขา พเจาจะเลอื ก คือตอ งการคนไหนดี. คือพราหมณถ ามอาจารยวา ขา พเจาจะใหลูกสาวเหลา นน้ั แกใ คร. อาจารยฟง พราหมณน นั้ แลว จงึ ตอบวา คนมศี ลี วบิ ตั แิ ลวแมเมอื่ มีรปู สมบตั กิ ็นาตาํ หนิ เพราะฉะนั้น รูปสมบัตหิ าเปนประมาณไม เราชอบความเปนผมู ีศีล เมื่อจะประกาศความนี้จงึ กลาวคาถาท่ี ๒ วา :- ประโยชนใ นรางกายก็มีอยู ขาพเจา ขอ ทาํ ความนอบนอ มตอทานผเู จริญวยั ประโยชน ในชาตดิ ีก็มีอยู แตเ ราชอบใจศีล. ในบทเหลา น้ัน บทวา อตโฺ ถ อตฺถิ สรรี สมฺ ึ ความวา ความตอ งการ คือความวิเศษ ความเจรญิ ในรางกายท่ีสมบูรณด ว ยรูป มีเหมือนกัน มใิ ชเราวา ไมม .ี บทวา วฑุ ฺฒพฺยสฺส นโม กเรความวา แตเ ราทําความนอบนอ มแกผ ูเจรญิ วัย เพราะผเู จรญิ วัยยอมไดก ารกราบไหวน ับถอื . บทวา อตฺโถ อตถฺ ิ สุชาตสมฺ ึ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 274ความวา ความเจริญในคนที่เกดิ มาดีกม็ ี เพราะชาตสิ มบตั กิ ็ควรปรารถนาเหมือนกัน. บทวา สลี  อสฺมาก รจุ จฺ ติ ไดแกแตเ ราชอบใจคนมศี ลี เทา นั้น. เพราะคนมีศีล สมบรู ณด ว ยมารยาท แมจ ะขาด สรีรสมบัติ กย็ ังนาบูชา นาสรรเสริญ. พราหมณฟ ง คาํ ของอาจารยแลวกย็ กลูกสาวใหแ กคนมีศีลอยา งเดยี ว. พระศาสดานําพระธรรมเทศนานม้ี าแลว ทรงประกาศสจั ธรรม ทรงประชุมชาดก. เม่ือจบสจั ธรรม พราหมณต ้ังอยใู นโสดาปตติผล. พราหมณใ นครงั้ นนั้ ไดเ ปน พราหมณผูนี้แหละ สว นอาจารยท ศิ าปาโมกข คือเราตถาคตนแ้ี ล. จบ อรรถกถาสาธสุ ีลชาดกที่ ๑๐ รวมชาดกท่มี ีในวรรคนี้ คือ ๑. รหุ กชาดก ๒. สิริกาฬกัณณิชาดก ๓. จุลลปทมุ ชาดก๔. มณโิ จรชาดก ๕. ปพพตปู ตถรชาดก ๖. วลาหกัสสชาดก๗. มิตตามิตตชาดก ๘. ราธชาดก ๙. คหปตชิ าดก ๑๐. สาธ-ุศลี ชาดก. จบ รหุ กวรรคที่ ๕

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 275 ๖. นตังทัฬหวรรค ๑. พันธนาคารชาดก วา ดว ยเครอ่ื งผูก [๒๕๑] เคร่อื งผูกอันใด ที่ทาํ ดว ยเหลก็ ก็ดี ทาํ ดวย ไมก ็ดี ทาํ ดวยหญา ปลองก็ดี นักปราชญไ มกลาว เครอ่ื งผกู นนั้ วา เปน เคร่ืองผกู อนั ม่นั คง ความ กาํ หนดั ยินดใี นแกว มณแี ละกณุ ฑลก็ดี ความ หวงใยในบตุ รและภรรยากด็ .ี [๒๕๒] นกั ปราชญกลาวเคร่อื งผูกนัน้ วา เปน เครื่องผูกอันม่นั คง ทาํ ใหสตั วตกตํ่า หยอ น แก ไดย าก แมเ ครื่องผูกนน้ั นักปราชญก็ตดั ไดไ มม ี ความหวงใย ละกามสขุ หลีกออกไปได. จบ พันธนาคารชาดกที่ ๑ อรรถกถานตังทัฬหวรรคท่ี ๖ อรรถกถาพนั ธนาคารชาดกที่ ๑ พระศาสดาเมือ่ ประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภเรอื นจํา ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี าํ เรมิ่ ตนวา น ตทฬฺห พนธฺ นมาหุ ธีรา.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 276 ไดย นิ วา ในคร้ังนนั้ . พวกราชบุรษุ ไดจ บั พวกโจรผตู ัดชอ งยอ งเบา ฆาผคู นในหนทาง ฆา ชาวบานเปน อนั มาก นาํเขา ถวายพระเจาโกศล. พระราชารบั สัง่ ใหจองจาํ พวกโจรเหลานน้ั ดวยเครอ่ื งจํา คือ ข่ือคา เชือก และโซ. ภกิ ษชุ าวชนบทประมาณ ๓๐ รปู ประสงคจ ะเฝาพระศาสดา จึงพากนั มาเฝาถวายบงั คม รงุ เชา ออกบิณฑบาตผา นเรือนจําเห็นพวกโจรเหลา นั้น กลับจากบณิ ฑบาต เวลาเยน็ เขา เฝา พระตถาคต ทูลถามวา ขาแตพ ระองคผูเจริญ วันนี้พวกขาพระพุทธเจาออกบิณฑบาตไดเห็นพวกโจรมากมายทีเ่ รอื นจํา ถกู จองจําดวยขอื่ คา และเชอื กเปนตน ตางกเ็ สวยทุกขใ หญห ลวง พวกโจรเหลานั้น ไมสามารถจะตดั เครอ่ื งจองจําเหลา นน้ั หนีไปได ยงั มีเครื่องจองจําอยา งอ่ืนท่มี ั่นคงกวา เคร่อื งจองจําเหลา นนั้ อีกหรอื ไม พระเจา ขา.พระศาสดาตรสั วา ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย เคร่อื งจองจาํ เหลานั้นจะชือ่ วา เคร่ืองจองจาํ อะไรกนั สวนเครอื่ งจองจํา คือกเิ ลสไดแกตณั หาในทรัพย ในขาวเปลือก ในบตุ รภรรยาเปน ตน นแ่ี หละมัน่ คงย่ิงกวา เครื่องจองจําเหลานนั้ ตั้งรอ ยเทาพันเทา แตเ ครอ่ื งจองจํานี้แมใ หญหลวง ตัดไดย ากอยางนี้ บัณฑิตแตกอนยังตดั ไดแลว เขาไปหิมวนั ตประเทศ ออกบวชแลวทรงนําเรอื่ งอดตี มาตรัสเลา . ในอดตี กาลครัง้ พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัตอิ ยูใ นกรงุ พาราณสี พระโพธสิ ัตวอุบัตใิ นตระกูลคหบดยี ากจนตระกลู

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 277หนงึ่ . ครน้ั เจริญวัยแลว บดิ าไดถ งึ แกก รรม. พระโพธสิ ตั วไดทําการรับจา งเล้ยี งมารดา. ครั้งนน้ั มารดาจึงไดไปสูข อธดิ าตระกลูหนงึ่ มาไวใ นเรือนใหพระโพธิสตั วท ั้ง ๆ ที่ไมตองการ แลวนางกถ็ งึ แกก รรม. ฝายภรรยาของพระโพธิสตั วก ็ตัง้ ครรภ. พระโพธสิ ัตวไมร วู า นางตง้ั ครรภจ งึ บอกวา ดกู อนนาง เจา จงรบั จางเขาเล้ียงชีวิตเถดิ ฉันจักบวชละ. นางจงึ กลาววา ฉนั ตัง้ ครรภ เมอื่ฉันคลอดแลว พเี่ ห็นเดก็ แลวก็บวชเถิด. พระโพธสิ ัตวก ร็ ับคาํพอนางคลอด จึงบอกกลาววา นอ งคลอดเรยี บรอยแลว พ่จี ักบวชละ. นางจึงกลา ววา จงรอใหลูกหยา นมเสียกอนเถดิ แลว กต็ งั้ครรภอีก. พระโพธสิ ตั วดาํ ริวา เราไมอ าจใหน างยนิ ยอมแลวไปได เราจะไมบ อกกลา วนาง จะหนไี ปบวชละ. พระโพธิสตั วมิไดบ อกกลาวนาง พอตกกลางคืนกล็ กุ หนีไป. คร้งั นนั้ เจาหนา ท่ีผูด แู ลพระนครไดจ ับพระโพธิสตั วน น้ั ไว. พระโพธสิ ตั วจึงบอกวาเจา นาย ขาพเจา เปนผูเ ลย้ี งมารดา โปรดปลอ ยขาพเจา เถดิครน้ั ใหเขาปลอ ยแลวก็ไปอาศยั ในทแี่ หงหน่งึ ออกทางประตูใหญน้นั เอง เขา ปาหิมพานต บวชเปนฤาษยี ังอภิญญาและสมาบตั ิใหเ กดิ เพลดิ เพลินอยดู ว ยฌาน. พระโพธสิ ัตวเ ม่อื อยู ณ ทีน่ ้ันเมอ่ื จะเปลง อุทานวา เราไดต ดั เครือ่ งจองจํา คือบตุ รภรรยาเครอื่ งจองจาํ คอื กเิ ลสท่ตี ัดไดย ากเห็นปานนแ้ี ลว ไดก ลาวคาถาเหลานวี้ า :-

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 278 เครอ่ื งผูกอนั ใด ที่ทําดว ยเหลก็ กด็ ี ทําดว ย ไมกด็ ี ทําดว ยหญาปลองกด็ ี นักปราชญไ มก ลา ว เคร่อื งผูกนัน้ วา เปนเคร่ืองผูกอนั มน่ั คง ความ กาํ หนดั ยนิ ดีในแกว มณี และกุณฑลกด็ ี ความ หว งใยในบุตรและภรรยากด็ .ี นกั ปราชญก ลา วเครอื่ งผูกนน้ั วา เปน เครอ่ื งผูกอนั ม่นั คง ทาํ ใหส ัตวตกต่ํา ยอหยอน แกไดยาก แมเ ครอ่ื งผกู น้ันนักปราชญก็ตัดได ไมม คี วามหวงใย ละกามสุข หลกี ออกไปได. ในบทเหลานน้ั บทวา ธรี า ความวา ช่อื วา ธรี า เพราะมีปญ ญา เพราะปราศจากบาป. อกี อยางหน่ึง ชอื่ วา ธีรา เพราะเปน ผปู ระกอบดวยปญ ญาน้ัน ไดแก พระพุทธเจา พระปจ เจก-พุทธเจา พระสาวกของพระพทุ ธเจา และพระโพธสิ ตั ว. พึงทราบวนิ ิจฉัยในบทวา ยทายส เปนตน นกั ปราชญท ัง้ หลายยอ มไมกลาวเครอื่ งจองจาํ ทท่ี าํ ดว ยเหล็กอันไดแ ก โซ เครอ่ื งจองจําทําดว ยไมอนั ไดแ ก ขอ่ื คา เครอื่ งจองจําทําดว ยเชือกทีข่ วนั้ เปนเชือกดว ยหญามุงกระตา ยหรอื ดว ยอยางอ่ืนมี ปอ เปนตน วาเปนเครือ่ งจองจําอันม่นั คง แนนหนา. บทวา สารตตฺ รตฺตา ไดแ กความกําหนดั ยินดี คอื ยินดีดว ยความกําหนดั จดั . บทวา มณ-ิกุณฺฑเลสุ ไดแก ในแกวมณีและแกว กุณฑล หรอื ในแกวกณุ ฑลประกอบดวยแกว มณี. บทวา เอต ทฬหฺ  ความวา นักปราชญ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 279ทง้ั หลายกลา ววา เคร่ืองจองจําอันเปนกิเลสของผทู ีก่ ําหนดัยนิ ดใี นแกว มณแี ละแกว กณุ ฑล และของผทู ี่หวงใยในบุตรและภรรยาวา เปน เคร่อื งจองจาํ อันม่ันคงแนน หนา. บทวา โอหารนิความวา ชื่อวา เครือ่ งจองจําทาํ ใหตกตํ่า เพราะชักนําลงในเบอื้ งตาํ่ โดยฉดุ ใหต กลงในอบาย ๔. บทวา สถิ ิล ความวาชื่อวาเครือ่ งจองจาํ ยอ หยอ น เพราะไมต ดั ผิวหนงั และเนือ้ ไมทําใหเ ลอื ดออกตรงที่ผูก ไมใหรูสกึ วาเปน เครื่องจองดว ย ยอมใหท ําการงานทั้งทางบกและทางน้ําเปน ตน. บทวา ทปุ ฺปมุ ฺจความวา ชื่อวาเครือ่ งจองจําแกไ ดย าก เพราะเครอื่ งจองจาํ คือกิเลสเกิดขน้ึ แมคราวเดยี ว ดว ยอาํ นาจตณั หาและโลภะ ยอ มแกหลุดไดยาก เหมือนเตา หลดุ จากท่ผี กู ไดยาก. บทวา เอตมฺปเฉตฺวาน ความวา นกั ปราชญทั้งหลาย ตัดเคร่ืองจองจาํ คือกิเลสนนั้แมม น่ั คงอยา งน้ี ดวยพระขรรค คอื ญาณ ตัดหวงเหล็กดจุ ชางตกมนั ดุจราชสีหห นุมทาํ ลายซ่ีกรง รงั เกียจวตั ถุกามและกเิ ลสกาม ดจุ พน้ื ที่เทหยากเย่อื ไมมีความหวงใย ละกามสุขหลกี ออกไป ก็และครน้ั หลีกออกไปแลว เขาปาหมิ พานตบวชเปน ฤๅษียังกาลเวลาใหล วงไปดว ยสขุ เกดิ แตฌ าน. พระโพธิสตั วค ร้ันทรงเปลง อุทานน้อี ยางน้ีแลว มีฌานไมเ ส่อื ม มีพรหมโลกเปนทีไ่ ปในเบอ้ื งหนา . พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าแลว ทรงประกาศสจั ธรรม. เมอื่ จบสัจธรรม ภิกษุบางพวกไดเ ปน พระโสดาบนั

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 280บางพวกไดเปนพระสกทาคามี บางพวกไดเปน พระอนาคามีบางพวกไดเ ปนพระอรหนั ต. มารดาในครั้งนนั้ ไดเ ปนพระนางมหามายาในครั้งน้ี บดิ าไดเปน พระเจา สุทโธทนมหาราช ภรรยาไดเ ปน มารดาพระราหลุ สว นบุรุษผูละบตุ รและภรรยาออกบวชคือ เราตถาคตนแี้ ล. จบ อรรถกถาพนั ธนาคารชาดกท่ี ๑

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 281 ๒. เกฬิสีลชาดก วา ดวยปญญาสาํ คัญกวา รา งกาย [๒๕๓] หงสกด็ ี นกกะเรียนกด็ ี นกยูงกด็ ี ชางก็ดี ฟานกด็ ี ยอ มกลัวราชสหี ท ัง้ นนั้ จะถือเอารางกาย เปนประมาณไมไดฉนั ใด. [๒๕๔] ในหมมู นุษยก ฉ็ นั นัน้ ถา แมเ ด็กมปี ญ ญา กเ็ ปนผใู หญได คนโงถ งึ รางกายจะใหญโ ต ก็เปน ผใู หญไมไ ด. จบ เกฬสิ ีลชาดกท่ี ๒ อรรถกถาเกฬิสีชาดกที่ ๒ พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวหิ าร ทรงปรารภทา นพระลกุณฏกภทั ทิยะ ตรสั พระธรรมเทศนานีม้ คี าํเร่มิ ตนวา ห สา โกจฺ า มยุรา จ ดงั นี้. ไดย นิ วา ทา นลกณุ ฏกภทั ทยิ ะเปน ผปู รากฏช่ือเสียงในพระพทุ ธศาสนา มีเสยี งเพราะเปน ผแู สดงธรรมไพเราะ เปนพระมหาขีณาสพบรรลปุ ฏิสมั ภทิ า แตท านตัวเล็กเตยี้ ในหมพู ระ-มหาเถระ ๘๐ องค คลายสามเณรถกู ลอ เลียน. วนั หนง่ึ เมือ่ ทานถวายบงั คมพระตถาคตแลวไปซมุ ประตูพระเชตวัน. ภกิ ษุชาว

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 282ชนบทประมาณ ๓๐ รูปไปยังพระเชตวันดวยคิดวา จักถวายบังคมพระตถาคต เหน็ พระเถระทซ่ี มุ วิหาร จึงพากันจับพระเถระท่ีชายจีวร ท่มี ือ ที่ศีรษะ ทจ่ี มกู ท่ีหู เขยา ดว ยสาํ คัญวา ทานเปนสามเณร ทาํ ดวยคะนองมือ ครั้นเกบ็ บาตรจีวรแลว กพ็ ากันเขาเฝา พระศาสดา ถวายบงั คมแลว นงั่ เมอื่ พระศาสดาทรงกระทาํปฏิสนั ถารดวยพระดาํ รสั อนั ไพเราะแลวจึงทูลถามวา ขาแตพระองค ไดยนิ วามีพระเถระองคห นงึ่ ชอ่ื ลกุณฏกภัททิยเถระเปน สาวกของพระองค แสดงธรรมไพเราะ เดย๋ี วนพี้ ระเถระรูปนั้นอยูที่ไหนพระเจาขา พระศาสดาตรัสถามวา ดูกอนภกิ ษุทัง้ หลาย พวกเธอประสงคจะเห็นหรอื . กราบทลู วา พระเจา ขาขา พระพุทธเจา ทง้ั หลายใครจ ะเห็น. ตรสั วาดูกอ นภิกษทุ งั้ หลายภิกษุที่พวกเธอเห็นทีซ่ ุม ประตแู ลว พวกเธอคะนองมอื จบั ทช่ี ายจีวรเปนตนแลวมา ภิกษุรูปนัน้ แหละคือ ลกุณฏกภทั ทิยะละ.ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทูลวา ขาแตพระองค พระสาวกผูถ ึงพรอ มดวยอภินิหาร ไดตัง้ ความปรารถนาไวเห็นปานนี้ เพราะเหตุใดจงึ มศี ักดิน์ อ ยเลา พระเจา ขา . พระศาสดาตรัสวา เพราะอาศัยกรรมทต่ี นไดท ําไว ภิกษเุ หลา น้นั ทูลอาราธนา ทรงนาํ เร่อื งอดตีมาตรัสเลา. ในอดีตกาลครัง้ พระเจา พรหมทตั เสวยราชสมบัตอิ ยใู นกรงุ พาราณสพี ระโพธสิ ัตวไ ดเปน ทา วสักกเทวราช. ในกาลนน้ัใคร ๆ ก็ไมอาจจะใหพระเจา พรหมทตั ไดท รงเหน็ ชาง มา หรือ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 283โคท่ีแกช รา พระองคชอบเลน สนุก ทอดพระเนตรเหน็ สตั วเ ชนนน้ัจงึ รบั สงั่ ใหพวกมนุษยตอ นไลแขงกัน เหน็ เกวยี นเกา ๆ กใ็ หแขง กนั จนพัง เห็นสตรีแกรบั สัง่ ใหเรียกมากระแทกทที่ องใหลม ลง แลว จบั ใหลกุ ข้นึ ใหข ับรอ งเพลง เหน็ ชายแก ๆ กใ็ หหกคะเมนตีลังกาเปนตน บนพน้ื ดนิ ดุจนกั เลนกระโดด เม่ือไมทรงพบเหน็ เอง เปนแตไดส ดับขา ววา คนแกม ที ่บี านโนน กร็ ับสั่งใหเ รยี กตวั มาบังคับใหเ ลน . พวกมนษุ ยต างก็ละอาย สง มารดาบิดาของตนไปอยนู อกแควน. ขาดการบํารุงมารดาบิดา. พวกราชเสวกก็พอใจในการเลน สนุก. พวกตายไป ๆ กไ็ ปบงั เกิดเตม็ ในอบาย ๔. เทพบริษัททง้ั หลายกล็ ดลง. ทาวสกั กะไมทรงเหน็ เทพบุตรเกดิ ใหม ทรงรําพงึ วา เหตอุ ะไรหนอ คร้นั ทรงทราบเหตนุ ้นั แลวดํารวิ า เราจะตองทรมานพระเจาพรหมทัต จงึ ทรงแปลงเพศเปนคนแก บรรทุกตมุ เปรยี ง ๒ ใบ ใสไ ปบนยานเกา ๆเทยี มโคแก ๒ ตวั ในวนั มหรสพวนั หนง่ึ เมื่อพระเจาพรหมทตัทรงชา งพระที่นั่งตกแตงดว ยเครื่องอลังการ เสด็จเลยี บพระนครอนั ตกแตงแลว ทรงนงุ ผา เกา ขับยานน้นั ตรงไปเฉพาะพระพักตรพระราชา. พระราชาทอดพระเนตรเห็นยานเกาเทยี มดวยโคแกจึงตรสั ใหนาํ ยานน้นั มา. พวกมนุษยพากนั กราบทูลวา ขา แตเทวะยานอยูทไ่ี หน พวกขา พระองคมองไมเหน็ . ทาวสักกะทรงแสดงใหพ ระราชาเทา นน้ั เหน็ ดว ยอานุภาพของตน.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 284 ลาํ ดับนัน้ เมอื่ เกวียนไปถงึ หมูคนแลว ทา วสกั กะจึงทรงขับเกวียนนั้นไปขา งบน ทุบตมุ ใบหนึ่งรดบนพระเศยี รของพระราชา แลวกลับมาทุบใบทสี่ อง. ครั้นแลวเปรียงก็ไหลลงเปรอะเปอ นพระราชาต้ังแตพระเศียร. พระราชาทรงอดึ อดัละอาย ขยะแขยง. ครนั้ ทาวสักกะทรงทราบวา พระราชาทรงวุนวายพระทัย ก็ทรงขบั เกวียนหายไป เนรมติ พระองคเ ปนทา วสักกะอยางเดมิ พระหัตถทรงวชริ าวุธ ประทับยืนบนอากาศ ตรสัคกุ คามวา ดกู อนอธรรมกิ ราชผูชัว่ ชา ชะรอยทา นจะไมแกละหรอื ความชราจักไมกล้ํากรายสรรี ะของทา นหรอื ไร ทา นมวั แตเห็นแกเลนเบยี ดเบียนคนแกมามากมาย เพราะอาศัยทา นผเู ดียวคนทต่ี ายไป ๆ เพราะทาํ กรรมน้นั จงึ เตม็ อยใู นอบาย พวกมนษุ ยไมไ ดบาํ รงุ มารดาบดิ า หากทานไมงดทาํ กรรมนี้ เราจะทาํ ลายศรี ษะของทา นดวยจักรเพชรน้ี ต้ังแตน ไ้ี ปทานอยา ไดทาํ กรรมน้ีอีกเลย แลว ตรัสถงึ คุณของมารดาบิดา ทรงชแ้ี จงอานสิ งสของการออนนอ มถอมตนตอผูส งู อายุ ครน้ั ทรงสอนแลวก็เสด็จกลบั ไปยงั วิมานของพระองค. ต้งั แตนนั้ มาพระราชากม็ ิไดแมแตค ิดที่จะทาํ กรรมนน้ั อกี ตอไป. พระศาสดา ตรสั รแู ลวไดตรัสคาถาเหลา น้วี า :- หงสกด็ ี นกกะเรียนก็ดี ชางกด็ ี ฟานกด็ ี ยอมกลวั ราชสหี ทงั้ น้ัน จะถอื เอารางกายเปน ประมาณมไิ ด ฉนั ใด.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 285 ในหมมู นษุ ยก ็ฉันนน้ั ถา แมเ ด็กมปี ญญา ก็เปน ผใู หญได คนโงถึงรา งกายจะใหญโต ก็ เปนผใู หญไ มไ ด. ในบทเหลา น้ัน บทวา ปสทา มคิ า ไดแกเนือ้ ฟาน. อธบิ ายวา ทงั้ เน้อื ฟาน ท้ังเน้อื ที่เหลือบาง. บาลีวา ปสทมิคา ก็มี ไดแ กเนือ้ ฟานนน่ั เอง. บทวา นตฺถิ กายสมฺ ิ ตุลฺยตา ความวา ขนาดของรา งกายไมส ําคัญ ถาสําคญั ไซร พวกชา งและเนื้อฟานซึ่งมีรา งกายใหญโต กจ็ ะพึงฆาราชสหี ไ ด ราชสีหกจ็ ะพงึ ฆาไดแ ตสตั วเ ลก็ ๆ เทานนั้ เชน หงสแ ละนกยูงเปน ตน . เมอ่ื เปนเชนนัน้สัตวทตี่ วั เลก็ เทานัน้ พงึ กลัวราชสีห แตสตั วใหญไมก ลวั . แตเพราะขอ น้เี ปน ไปไมไ ด ฉะนั้นสตั วเ หลา นนั้ ท้งั หมด จงึ กลวัราชสีห. บทวา สรรี วา ไดแก คนโง แมรางกายใหญโต ก็ไมช่อื วาเปนใหญ. เพราะฉะนนั้ ลกณุ ฏกภัททยิ ะ แมจ ะมรี างกายเล็ก กอ็ ยาเขา ใจวา เล็กโดยญาณ. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าแลว ทรงประกาศสจั ธรรม ทรงประชุมชาดก. เม่ือจบสัจธรรมบรรดาภกิ ษุเหลานน้ั บางพวกไดเปนพระโสดาบัน บางพวกไดเ ปนพระ-สกทาคามี บางพวกไดเ ปนพระอนาคามี บางพวกไดเปน พระ-อรหันต. พระราชาในครัง้ นน้ั ไดเปนลกุณฏกภทั ทยิ ะ เธอไดเปนท่ีเลน ลอ เลยี นของผอู ืน่ เพราะคา ที่ตนชอบเลนสนุกครงั้ น.ี้สวนทา วสักกะ คอื เราตถาคตนแี้ ล. จบ อรรถกถาเกฬิสลี ชาดกที่ ๒

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 286 ๓. ขนั ธปรติ ตชาดกวาดวยพระปริตปองกนั สตั วรายตา ง ๆ[๒๕๕] ขอไมตรจี ติ ของเราจงมีกับตระกลู พญางูช่อื วา วิรปู ก ขะ ขอไมตรจี ิตของเราจงมีกบัตระกลู พญางูชอ่ื วา เอราปถะ ขอไมตรีจิตของเราจงมกี บั ตระกูลพญางูช่อื วา ฉัพยาปตุ ตะและขอไมตรจี ิตของเราจงมีกับตระกลู พญางูชื่อวากณั หาโคตมกะ ขอไมตรีจิตของเราจงมีกบั สตั วทไี่ มม เี ทา ขอไมตรีจติ ของเราจงมกี ับสตั วทีม่ ี๒ เทา ขอไมตรีจติ ของเราจงมกี บั สตั วทมี่ ี ๔ เทาขอไมตรีจติ ของเราจงมีกบั สัตวท มี่ เี ทามาก ขอสัตวท่ีไมมเี ทา สัตวท ีม่ ี ๒ เทา สตั วท ่ีมี ๔ เทาสัตวที่มีเทามาก อยาไดเบยี ดเบียนเราเลย ขอสัตวผ ขู อ งอยู สตั วผมู ีลมปราณ สัตวผ เู กดิ แลวหมดท้งั สิน้ ดว ยกัน จงประสบพบแตค วามเจรญิทัว่ กัน ความทุกขอ ันชั่วชา อยาไดม าถึงสตั วผ ูใ ดผูห นึง่ เลย.[๒๕๖] พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มีพระคณุหาประมาณมิได บรรดาสตั วเล้อื ยคลาน คือ งู

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 287 แมลงปอ ง ตะขาบ แมลงมุม ตุกแก และหนู เปน สตั วประมาณได เราไดทําการรกั ษาตัวแลว ปอ งกันตัวแลว ขอสตั วท ั้งหลายจงพากนั หลีก ไป ขาพเจาน่ันขอนอบนอ มแดพ ระผูมพี ระภาค- เจา ขอนอบนอมพระสัมมาสมั พทุ ธเจา ๗ พระองค. จบ ขันธปรติ ตชาดกที่ ๓ อรรถกถาขนั ธปริตตชาดกท่ี ๓ พระศาสดาเมือ่ ประทบั อยู ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภกิ ษรุ ูปหนงึ่ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคําเร่มิ ตน วา วริ ูปกเฺ ขหิเม เมตตฺ  ดงั น้.ี ไดย นิ วา เม่อื ภิกษนุ ั้นกําลังผา ฟน อยทู ป่ี ระตูเรอื นไฟ งูตัวหนง่ึ เลือ้ ยออกจากระหวางไมผ ุไดก ัดเขา ท่นี ิว้ เทา. ภกิ ษนุ ั้นมรณภาพในท่นี ้ันทนั ท.ี เรือ่ งทภ่ี กิ ษนุ น้ั มรณภาพไดป รากฏไปทั่ววดั . ภกิ ษุทงั้ หลายประชมุ สนทนากันในโรงธรรมวา ไดยินวาภิกษุรปู โนนกําลงั ผา ฟนอยทู ่ปี ระตูเรือนไฟ ถูกงูกัดถงึ แกมรณภาพ ณ ท่นี น้ั เอง. พระศาสดาเสดจ็ มาตรสั ถามวา ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย พวกเธอนงั่ สนทนากันดว ยเร่อื งอะไร เมือ่ ภกิ ษุทงั้ หลายกราบทูลใหท รงทราบแลว จึงตรัสวา ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลายหากภกิ ษรุ ูปน้ันจักไดเจริญเมตตาแผถึงตระกลู พญางูทั้งสแี่ ลว

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 288งูกจ็ ะไมกดั ภกิ ษุนัน้ . แมด าบสทัง้ หลายซ่งึ เปน บัณฑติ แตปางกอ นเมอ่ื พระพุทธเจา ยังมไิ ดอุบตั ิ ก็ไดเจริญเมตตาในตระกูลพญางูทั้ง ๔ ปลอดภัยอันจะเกิดเพราะอาศัยตระกูลพญางูเหลานน้ัแลว ทรงนําเรื่องอดีตมาตรสั เลา . ในอดตี กาลครัง้ พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบตั ิอยูในกรุงพาราณี พระโพธสิ ตั วอ ุบัตใิ นตระกูลพราหมณ แควนกาสีครั้นเจริญวัย สละกามสขุ ออกบวชเปน ฤๅษี ยังอภญิ ญาและสมาบตั ิใหเ กดิ สรา งอาศรมบทอยทู คี่ งุ แมน า้ํ แหงหนง่ึ ในหมิ วันต-ประเทศ เพลดิ เพลนิ ในฌาน เปนครูประจาํ คณะ มหี มูฤ ๅษีแวดลอมอยอู ยางสงบ. ครั้งนน้ั ทฝี่ ง คงคา มงี ูนานาชนดิ ทําอนั ตรายแกพ วกฤาษี.พวกฤๅษโี ดยมากไดถ งึ แกกรรม. ดาบสทั้งหลายจงึ บอกเร่อื งน้ันแกพระโพธิสัตว. พระโพธิสตั วเ รียกประชุมดาบสทงั้ หมด แลวกลาววา หากพวกทานเจรญิ เมตตาในตระกูลพญางูท้งั ๔ งูท้งั หลายก็จะไมก ดั พวกเธอ เพราะฉะน้นั ตัง้ แตนไ้ี ป พวกเธอจงเจริญเมตตาในตระกูลพญางูทั้ง ๔ แลว จึงตรัสคาถานีว้ า :- ขอไมตรจี ติ ของเราจงมีกับตระกลู พญางู ชื่อวา วิรูปกขะ ขอไมตรจี ติ ของเราจงมีกบั ตระกลู พญางชู ือ่ วา เอราปถะ ขอไมตรีจติ ของเรา จงมีกบั ตระกูลพญางชู อ่ื วา ฉัพยาปตุ ตะ ขอไมตรี จิตของเราจงมกี บั ตระกูลพญางูชือ่ กณั หาโคตมกะ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 289 พระโพธสิ ัตวค ร้ันแสดงตระกลู พญางูทั้ง ๔ อยางน้ีแลวจึงกลาววา หากพวกทา นจกั สามารถเจริญเมตตาในตระกูลพญางูท้ัง ๔ นั้น งูทง้ั หลายกจ็ ักไมก ดั ไมเบียดเบียนพวกทาน. แลวกลาวคาถาที่ ๒ วา :- ขอไมตรีจติ ของเรา จงมีกับสตั วท ี่ไมมี เทา ขอไมตรีจติ ของเราจงมกี ับสตั วส องเทา ขอ ไมตรจี ิตของเราจงมีกบั สัตวส่เี ทา ขอไมตรีจิต ของเราจงมกี ับสัตวม เี ทามาก. พระโพธสิ ัตวครัน้ แสดงเมตตาภาวนาโดยสรปุ อยางนีแ้ ลวบดั น้ีเม่ือจะแสดงดวยการขอรอ งจงึ กลา วคาถาน้วี า :- ขอสตั วท ี่ไมม เี ทา สัตวท ี่มี ๒ เทา สตั วท ี่มี ๔ เทา สัตวที่มเี ทา มาก อยาไดเ บยี ดเบยี นเราเลย. บัดน้ีเมอื่ จะแสดงการเจรญิ เมตตาโดยไมเ จาะจง จึงกลาวคาถานีว้ า :- ขอสตั วผูข อ งอยู สตั วผมู ลี มปราณ สตั ว ผเู กดิ แลวหมดท้งั ส้นิ ดวยกัน จงประสบพบแต ความเจริญทั่วกนั ความทุกขอ ันช่ัวชา อยาได มาถึงสัตวผ ูใดผูห นงึ่ เลย. พระโพธสิ ัตวกลา ววา พวกทา นจงเจรญิ เมตตาไมเฉพาะเจาะจงในสรรพสัตวอยางน้ี เพอื่ ใหร ะลึกถึงคณุ ของพระรตั นตรยัอกี จึงกลาววา :-

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 290 พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มีพระคณุ หาประมาณมไิ ด บรรดาสตั วเ ล้อื ยคลาน คอื แมลงปอง ตะขาบ แมลงมมุ ตุกแก และหนู เปน สัตวป ระมาณได. พระโพธิสตั วแ สดงวา เพราะธรรมท้ังหลายอันทําประมาณมรี าคะภายในของสตั วเหลา นัน้ ยังมอี ยู ฉะน้นั สตั วเล้ือยคลานเหลานน้ั จงึ ชอื่ วามปี ระมาณ แลว กลาววา ทา นทงั้ หลายจงระลึกถึงคณุ ของพระรัตนตรัยอยางน้วี า ดวยอานุภาพของพระรัตนตรยัอันหาประมาณมิได ขอสัตวท้งั หลายอนั มีประมาณเหลา น้ี จงทาํการปกปอ งรกั ษาพวกเราทงั้ กลางคืนกลางวันเถิด เพอื่ แสดงกรรมท่คี วรทาํ ใหย่ิงขน้ึ ไปกวา นั้น จึงกลาวคาถานว้ี า :- เราไดท ําการรักษาตัวแลว ปองกนั ตัวแลว ขอสตั วท ัง้ หลาย จงพากนั หลีกไป ขาพเจาขอ นอบนอ มแดพระผมู พี ระภาคเจา ขอนอบนอม พระสัมมาสมั พทุ ธเจา ๗ พระองค. พระโพธสิ ัตวผ ูกพระปรติ รนีใ้ หแ กคณะฤๅษ.ี กพ็ ระปริตรน้ี พงึ ทราบวาทา นกลาวไวในชาดกน้ดี วยคาถาทัง้ หลายตอนตนเพราะแสดงเมตตาในตระกลู พญานาคท้ังส่ี หรือเพราะแสดงเมตตาภาวนาทัง้ สอง คอื โดยเจาะจงและไมเ จาะจง ควรคน ควาหาเหตอุ น่ื ตอ ไป.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 291 ตง้ั แตนนั้ คณะฤๅษีตงั้ อยใู นโอวาทของพระโพธิสตั วเจริญเมตตาราํ ลกึ ถงึ พระพุทธคณุ . เมอื่ ฤาษรี ําลกึ ถึงพระพุทธคุณอยูอยา งน้ี บรรดางูท้งั หลายทัง้ หมดตางกห็ ลีกไป แมพระโพธิสตั วกเ็ จริญพรหมวหิ าร มพี รหมโลกเปน ทีไ่ ปในเบอื้ งหนา. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประชุมชาดก. คณะฤๅษใี นคร้ังน้นั ไดเ ปนพทุ ธบริษทั ในครง้ั น้ี. สว นครูประจาํ คณะ คอื เราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาขนั ธปริตตชาดกที่ ๓

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 292 ๔. วรี กชาดก วา ดว ยโทษเอาอยางผอู ่นื [๒๕๗] ทานวีรกะ ทานเห็นนกทีร่ องเสยี งเพราะ มีสเี สมอดว ยสรอ ยคอแหง นกยงู ผเู ปน ผัวของ ฉันชื่อวา สวิษฐกะบางไหม. [๒๕๘] นกสวษิ ฐกะ เมอื่ ท าตามภรรยาของปก ษี ผูเ ทีย่ วไปไดท ั้งทางนํา้ และทางบก บรโิ ภคปลาสด เปนนิจนัน้ ถูกสาหรายพนั คอตายเสยี แลว. จบ วรี กชาดกท่ี ๔ อรรถกถาวรี กชาดกที่ ๔ พระศาสดาเมอ่ื ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภการเอาอยางพระสคุ ต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มคี ําเริ่มตนวา อป วีรก ปสฺเสสิ ดงั น้ี. ความยอ มวี า เมือ่ พระเถระทัง้ หลายพาบริษทั ของพระ-เทวทัตมาเฝา พระศาสดาตรัสถามวา ดูกอ นสารบี ุตร เทวทตัเหน็ พวกเธอแลว ไดทําอยางไร กราบทูลวา พระเทวทัตเลยี นแบบพระสคุ ตพระเจาขา ตรัสวา ดกู อ นสารบี ตุ ร เทวทัตทําตามอยางเรา ถงึ ความพินาศมใิ ชใ นบดั น้ีเทา นนั้ แมแตกอนก็ถงึ ความ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 293พินาศมาแลว พระเถระกราบทลู อาราธนา ทรงนาํ เรอื่ งอดตีมาตรสั เลา . ในอดีตกาลคร้งั พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบตั ิอยใู นกรุงพาราณสี พระโพธิสตั วอ ุบตั ิในกําเนิดกาน้าํ ในหิมวันต-ประเทศ อาศัยสระแหง หนึ่งอย.ู มีชอื่ วา วีรกะ. ในคร้ังนน้ัไดเ กิดขาวยากหมากแพงข้นึ ในแควน กาส.ี พวกมนุษยไมส ามารถใหอาหารกา หรอื กระทาํ การบวงสรวงยักษและนาคได. กาทง้ั หลายจงึ ออกจากแควน ท่อี ดอยาก เขาปาไปโดยมาก. ในกาเหลา น้ัน มีกาตัวหนึ่งชื่อ สวษิ ฐกะอยูเมืองพาราณสี พานางกาไปยังท่อี ยูข องกาวรี กะ อาศัยสระนนั้ อยสู วนหนึ่ง. อยมู าวันหนึ่งกาสวษิ ฐกะหาเหย่อื อยูในสระนั้น เหน็ กาวีรกะลงสระกินปลาแลวขึน้ มาตากตวั ใหแ หง จึงคิดวา เราอาศัยกาตวั นี้แลว สามารถหาปลาไดม าก เราจกั ปรนนิบัติกาตวั นี้ แลวเขาไปหากาวีรกะนนั้ เมอื่ กาวีรกะถามวา อะไรละสหาย ตอบวา นาย ขา พเจาอยากจะปรนนิบัติทาน กาสวิษฐกะรบั วา ดแี ลว ตั้งแตนนั้ มากาสวิษฐกะก็ปรนนบิ ตั ิกาวรี กะ. ฝายกาวีรกะกินปลาพออมิ่ สําหรับตนแลว ก็คาบปลามาใหแ กสวษิ ฐกะ. ฝา ยกาสวิษฐกะกินพออม่ิ สาํ หรับตนแลว กใ็ หปลาทเี่ หลอื แกน างกา. ตอมากาสวิษฐกะเกดิ ความทะนงตนขนึ้มาวา แมกานํา้ ตวั นี้ก็เปนกาดํา แมเ รากเ็ ปน กาดาํ แมต าจะงอยปาก และเทา ของกาวีรกะนัน้ และของเราก็ไมต างกัน

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 294ต้ังแตนี้ไปเราไมต องการปลาทีก่ าตัวน้ีจบั มาใหเรา. เราจกั จบัเสยี เอง. กาสวิษฐกะจึงเขาไปหากาวีรกะน้นั กลา ววา สหายตั้งแตนีไ้ ป เราจะลงสระจับปลากินเอง แมเ มือ่ กาวรี กะหา มอยูวาสหาย เจา มิไดเกดิ ในตระกูลกาทล่ี งนาํ้ จับปลากนิ เจา อยาพนิ าศเสยี เลย. กม็ ไิ ดเชื่อฟง คาํ ลงสระดําน้ําแลว กไ็ มโผลข ้นึ ไมสามารถจะแหวกสาหรายออกมาได. ติดอยูภ ายในสาหราย โผลแตปลายจงอยปากเทา นน้ั . กาสวษิ ฐกะหายใจไมออกถึงแกค วามตายในนํา้ นนั่ เอง ครงั้ นั้นนางกา ภรรยาของกาสวษิ ฐกะไมเหน็ กาสวษิ ฐกะกลับมา จึงไปหากาวีรกะเพอื่ จะรูค วามเปน ไป เมือ่จะถามวา นาย กาสวษิ ฐกะไมปรากฏ เขาหายไปเสยี ที่ไหนเลาจงึ กลาวคาถาแรกวา :- ทา นวรี กะ ทา นเห็นนกทรี่ อ งเสียงไพเราะ มีสีเสมอดวยสรอยคอแหงนกยูงผูเปนผัวของ ฉนั ชื่อสวษิ ฐกะบางไหม. กาวรี กะฟง ดงั นั้นแลวจงึ กลาววา จะ ขา รูท ่ีทผี่ ัวของเจาไปแลวกลาวคาถาท่ี ๒ วา :- นกสวษิ ฐกะ เม่อื ทําตามภรรยาของปก ษี ผเู ทย่ี วไปไดท ้ังทางนํา้ และทางบก บรโิ ภคปลาสด เปนนิจน้ัน ถกู สาหรายพันคอตายเสยี แลว . นางกาไดฟงดังนน้ั กโ็ ศกเศรา เสียใจกลับไปกรงุ พาราณสีตามเดิม.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 295 พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมา แลว ทรงประชุมชาดก. กาสวิษฐกะในครั้งน้นั ไดเ ปนเทวทตั ในครั้งน้ี. สว นกาวีรกะ คือเราตถาคตนแ้ี ล. จบ อรรถกถาวีรกชาดกที่ ๔

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 296 ๕. คังเคยยชาดก วาดวยผชู อบโออวด [๒๕๙] ปลาชื่อคงั เคยยะกง็ าม และปลาช่ือยมุนา ก็งาม แตบ ุรุษ ๔ เทา มีปรมิ ณฑลเพยี งดงั ตนไทร มีคอยาวหนอ ยหนึง่ ผนู ้ี ยอ มรุง เรืองย่งิ กวา ใคร ทัง้ หมด. [๒๖๐] ทานไมบ อกเหตทุ เ่ี ราถาม เราถามอยาง หนง่ึ ทานบอกเสียอยางหนง่ึ คนสรรเสรญิ ตนเอง นไ้ี มช อบใจเราเลย. จบ คงั เคยยชาดกที่ ๕ อรรถกถาคังเคยยชาดกท่ี ๕ พระศาสดาเมอ่ื ประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภภกิ ษุผูเ ปน สหายสองรปู ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มคี ําเริม่ ตนวา โสภนตฺ ิ มจฉฺ า คงฺเคยฺยา ดังน้.ี ไดย ินวา ภกิ ษทุ ง้ั สองน้ันเปน กุลบตุ รชาวเมอื งสาวตั ถีบวชในศาสนาแลว มไิ ดบ ําเพญ็ อสุภภาวนา ชอบสรรเสรญิ รปูเทีย่ วพรา่ํ เพอ แตเ รอื่ งรูป. วันหน่ึง ภิกษุทั้งสองน้นั เกดิ ทมุ เถยี งกนั เร่ืองรูปวา ทานงาม เรากง็ าม เห็นพระเถระแกรปู หน่ึงนงั่








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook