พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 401 ๔. กมุ ภลี ชาดก คณุ ธรรมเครื่องใหเ จริญ [๒๙๗] ผูใดมคี ณุ ธรรม อนั เปนเครอ่ื งใหเ จริญ อยางยง่ิ ๔ ประการน้ี คอื สจั จะ ๑ ธรรม ๑ ธิติ ๑ จาคะ ๑ ผูน ั้นยอมลวงพน ศตั รไู ด. [๒๙๘] สว นผูใด ไมม คี ุณธรรมอันเปน เครอ่ื ง ใหเจริญอยางยง่ิ ๔ ประการน้ี คือ สัจจะ ๑ ธรรม ๑ ธติ ิ ๑ จาคะ ๑ ผูน้นั ยอมลวงพนศตั รู ไมไ ด. จบ กมุ ภีลชาดกท่ี ๔ อรรถกถากมุ ภลี ชาดกท่ี ๔ พระศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ พระเวฬุวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มคี าํ เริ่มตน วายสเฺ สเต จตุ โร ธมฺมา ดงั น้ี. พระโพธสิ ตั วไ ดก ลาวคาถาเหลา นว้ี า :- ผูใดมีคณุ ธรรมอนั เปน เครอ่ื งใหค วาม เจรญิ อยางย่งิ ๔ ประการนี้ คอื สัจจะ ๑ ธรรม ๑ ธิติ ๑ จาคะ ๑ ผูนั้นยอมลว งพนศัตรูได.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 402 สวนผูใ ดไมมีคณุ ธรรมอนั เปน เคร่ืองให เจรญิ อยา งยิ่ง ๔ ประการน้ี คือ สัจจะ ๑ ธรรม ๑ ธิติ ๑ จาคะ ๑ ผนู ั้นยอมลวงพนศตั รูไมได. ในบทเหลานัน้ บทวา คุณา ปรมภททฺ กา ความวา ผใู ดไมม คี ุณธรรมอันเจรญิ ๔ ประการเหลา นี้ โดยเปนหมูเปนหมวดผูนัน้ ยอ มไมอาจลว งพนศัตรูไปได. ขอ ความทั้งหมดทีเ่ หลอื ในชาดกนีพ้ รอมทง้ั ประชมุ ชาดก มนี ัยดังกลา วแลว ในกุมภีลชาดกในหนหลังแล. จบ อรรถกถากมุ ภลี ชาดกท่ี ๔
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 403 ๕. ขนั ตวิ รรณนชาดก ตองอดใจในคนทีห่ าคุณธรรมยาก [๒๙๙] ขา แตพระองคผสู มมตเิ ทพ ขาพระบาท มีบรุ ษุ ผขู วนขวายในกจิ ทกุ อยางอยูคนหนง่ึ แต เขามคี วามผิดอยขู อ หนง่ึ พระองคจะทรงโปรด ดําริในความผดิ ของเขาน้ันเปน ประการใด พระ- เจา ขา. [๓๐๐] บรุ ุษเชน นี้ของเราก็มอี ยใู นทีน่ ี้ แตบรุ ษุ ผปู ระกอบดว ยองคคุณหาไดย าก เราจงึ สูอ ดใจ เสยี . จบ ขันตวิ รรณนชาดกที่ ๕ อรรถกถาขนั ตวิ รรณนชาดกท่ี ๕ พระศาสดาเม่อื ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภพระเจาโกศล ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเริ่มตนวาอตฺถิ เม ปรุ โิ ส เทว ดังน้.ี ไดยนิ วา อาํ มาตยของพระเจา โกศลผูหน่งึ ผมู ีอปุ การะมาก ไดลอบเปน ชกู บั นางสนม. พระราชาแมทรงทราบก็ทรง
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 404อดกลนั้ น่ิงไวดวยคดิ วา เปน ผมู ีอุปการะแกเรา ไดกราบทูลพระศาสดา. พระศาสดาตรสั วา มหาบพติ ร แมพระราชาในกาลกอ นก็ทรงอดกลั้นอยา งน้เี หมอื นกัน พระเจา โกศลทลู อาราธนาจงึ ทรงนาํ เรอื่ งอดีตมาตรสั เลา. ในอดตี กาลครงั้ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัติอยใู นกรุงพาราณสี อํามาตยผ หู น่ึงไดลอบเปน ชูกับนางสนมของพระองค. แมค นใชของอาํ มาตยกล็ อบเปนชใู นครอบครวั ของเขา.เขาไมอาจอดกลั้นความผิดของคนใชไ ด จึงพาตวั ไปเฝา พระราชาเพ่ือจะถามวา ขา แตสมมติเทพ คนใชของขา พระองคคนหนง่ึเปนผทู ํากิจการท้งั ปวง เขาไดเ ปน ชูกบั ครอบครัวของขา พระองคขาพระองคควรจะทาํ อะไรแกเ ขา จงึ กลา วคาถาแรกวา :- ขา แตพ ระองคผ ูสมมติเทพ ขา พระบาท มบี ุรุษผูขวนขวายในกจิ การทกุ อยา งอยคู นหนงึ่ แตเ ขามีความผิดอยขู อ หนงึ่ พระองคจะทรงโปรด ดํารใิ นความผิดของเขาน้นั เปนประการใด พระ- เจา ขา. ในบทเหลาน้ัน บทวา ตสสฺ เจโกปราธตฺถิ ความวา บุรุษน้ันมคี วามผดิ อยูขอหนึ่ง. บทวา ตตฺถ ตวฺ กินตฺ ิ มฺสิ ความวาพระองคจ ะทรงดํารใิ นความผดิ ของบรุ ุษนน้ั ในขอ นั้นวา ควรท าอยา งไร ขอพระองคจงทรงปรบั สินไหมบุรษุ น้นั ตามสมควรแกค วามผิดของเขาเถิด พระเจา ขา .
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 405 พระราชาทรงสดับดงั นัน้ แลว จึงกลา วคาถาที่ ๒ วา :- บรุ ุษเชน น้ขี องเราก็มีอยูในทน่ี ้ี แตบุรษุ ผูป ระกอบดวยองคคุณหาไดย าก เราจึงสูอ ดใจ เสีย. อธบิ ายความแหงคาถานัน้ วา บรุ ุษผปู ระทษุ รา ย เชน นี้คอื มีอุปการะมาก มอี ยูในเรือนของเราผูเปนพระราชา เปนสัตบรุ ษุ . ก็บรุ ุษนั้นมอี ยใู นทนี่ ี้ เดี๋ยวนี้กย็ ังอยใู นทน่ี ีแ้ หละ แมเราผูเปน พระราชาก็ยังอดกล้นั เพราะบรุ ุษนนั้ เปนผมู อี ุปการะมาก.บทวา องคฺ สมฺปนโฺ น ความวา ชอื่ วา บรุ ษุ ผูประกอบดว ยสวนแหง คุณธรรม. ทั้งปวงหาไดยาก ดว ยเหตุนั้น เราจงึ สูอดกลัน้ เสียในฐานะเห็นปานน้.ี อํามาตยรูวาพระราชาตรสั หมายถงึ ตน ตัง้ แตนน้ั มาก็ไมกลาเปน ชูก บั นางสนมอีก. แมค นใชข องอาํ มาตยน ้ัน ก็รวู าพระราชาทรงวากลาวตน ตงั้ แตน น้ั มาก็ไมกลาทาํ กรรมน้ันอีก. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประชุมชาดก. พระราชาพาราณสใี นครัง้ น้ัน คอื เราตถาคตนเ้ี อง อาํ มาตยน้ันรูวาพระราชากราบทูลแดพระศาสดา ตงั้ แตน ั้นมาก็ไมอาจทํากรรมนนั้ . จบ อรรถกถาขนั ติวรรณนชาดกท่ี ๕
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 406 ๖. โกสิยชาดก วา ดวยผรู ูกาลควรไมควร [๓๐๑] การออกไปในเวลาอนั สมควร เปน ความ ดี การออกไปในเวลาอนั ไมสมควร ไมดี เพราะ วาคนผูออกไปโดยเวลาไมสมควร ยอ มไมยงั ประโยชนอ ะไรใหเกดิ ได คนทีเ่ ปนศตั รเู ปน อนั มาก ยอ มทาํ อันตรายคนผูอ อกไปแตผ เู ดียวใน เวลาอนั ไมสมควรได เหมอื นฝงู การมุ จกิ นกเคา ฉะนัน้ . [๓๐๒] นักปราชญร ูจ กั วิธีการตา ง ๆ เขา ใจชอ ง ทางของคนเหลาอ่ืน ทาํ พวกศัตรทู ้งั มวลใหอ ยู ในอํานาจไดแ ลว พงึ อยูเปนสขุ เหมือนนกเคา ผฉู ลาด ฉะนั้น. จบ โกสยิ ชาดกท่ี ๖ อรรถกถาโกสิยชาดกที่ ๖ พระศาสดาเม่อื ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระเจาโกศล ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี าํ เรมิ่ ตนวากาเล นิกฺขมนา สาธุ ดังน.้ี
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 407 พระเจาโกศลเสด็จออกในเวลาไมส มควร เพือ่ ปราบปรามชายแดน. เรื่องนีม้ ีนยั ดงั ทกี่ ลาวแลวในหนหลังท้งั น้ัน. สวนพระศาสดาทรงนาํ อดตี นิทานมาตรสั เลา. ในอดตี กาลครัง้ พระเจา พาราณสเี สดจ็ กรีฑาทัพออกในเวลาไมส มควร ทรงยบั ยงั้ กองทพั อยูทีอ่ ทุ ยาน. ในกาลนั้นมีนกเคาตัวหนึง่ เขาไปซอนอยใู นพมุ ไมไผ. ฝูงกาตางมาลอมไวดว ยคดิ วา จักจับนกเคาตอนออก. นกเคา ไมคอยรอจนถงึ พระ-อาทติ ยต ก จงึ ออกในกาลไมสมควร พอขยับจะบนิ หน.ี ทีนน้ักาทั้งหลายจึงรุมกันจกิ ตจี นลว งลง. พระราชาตรสั เรยี กพระ-โพธสิ ตั วแ ลว ตรสั ถามวา ดูกอนทา นบัณฑติ พวกกาเหลา นี้จกิ ตีนกเคา ตกลงดวยเหตุใดหนอ. พระโพธิสตั วกราบทลู วา ขาแตมหาราชเจา นกเคาออกจากทอี่ ยขู องตนในกาลไมส มควร จึงไดรับความทกุ ขเ หน็ ปานนี้ เพราะฉะนัน้ จงึ ไมควรออกจากทอี่ ยูของตนในกาลไมสมควร. เมือ่ จะประกาศขอความนี้ จึงกลา วคาถาทง้ั สองนว้ี า :- การออกไปในเวลาอันสมควรเปนความ ดี การออกไปในเวลาอันไมสมควรไมดี เพราะ วา ผูออกไปในเวลาไมสมควร ยอ มไมย ังประ- โยชนอ ะไรใหเกดิ ได คนทเ่ี ปน ศัตรูเปนอนั มาก ยอ มทาํ อนั ตรายคนผูออกไปแตผูเดยี ว ในเวลา อันไมสมควรไดเ หมือนฝูงการุมจกิ นกเคา ฉะน้นั .
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 408 นักปราชญรจู กั วิธีการตา ง ๆ เขาใจชอง ทางของคนเหลา อ่นื ทําพวกศตั รทู ้งั มวลใหอ ยูใน อาํ นาจไดแลว พงึ อยเู ปน สขุ เหมอื นนกเคา ผูฉลาด ฉะนน้ั . ในบทเหลานน้ั บทวา กาเล นิกขฺ มนา สาธุ ความวา การออกไปกด็ ี การกา วไปก็ดี ชื่อวา การออกไป การออกไปในกาลอนั สมควรเปน การดี การออกไปในกาลอันไมส มควร ไมดีเพราะฉะนนั้ การออกไปกด็ ี การกา วไปกด็ ี เพ่อื จะไปในที่อื่นจากทีอ่ ยขู องตน ไมดี. ในบทสีบ่ ทมีอาทวิ า อกาเลหิ พงึ ประกอบบทที่สามดว ยบททีห่ นงึ่ บททีส่ ่ดี วยบททสี่ อง แลว พึงทราบความอยา งนี้. ทนี่ นั้ แลชนเปนอนั มาก คือคนทเี่ ปนศตั รูเปนอันมากลอมคน ๆ เดียวผอู อกไปหรือกา วไปในเวลาอันไมส มควร ยังคน ๆ เดียวใหถึงความพินาศ. เปรียบเหมอื นฝงู กาจกิ นกเคาผูอ อกไปหรอื กาวไปในเวลาอนั ไมสมควรใหถงึ มหาพินาศ ฉะนัน้ .เพราะฉะนัน้ ใหด ูสตั วดิรจั ฉานเปน ตน ใคร ๆ ไมค วรออกไปไมควรกา วไปจากท่ีอยขู องตนในเวลาอันไมส มควร. บทวาธโี ร ในคาถาที่สองไดแ ก บณั ฑติ . บทวา วิธิ ไดแกป ระเพณีที่บณั ฑิตแตกอ นไดว างไว. บทวา วิธาน ไดแก สวนหรือการจัด.บทวา วิวรานคุ ู ไดแ ก เดินตาม คอื ร.ู บทวา สพฺพามติ เฺ ต ไดแกศตั รทู งั้ หมด. บทวา วสกี ตฺวา ไดแ ก ทําไวใ นอํานาจของตน.บทวา โกสโิ ยว คอื เหมอื นนกเคาผฉู ลาดอ่ืนจากนกเคา โงน ้ี.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 409ทา นอธิบายไววา กผ็ ใู ดแลเปนบณั ฑิตยอ มรูวธิ ีการอันเปน สว นของวิธี กลาวคือประเพณีท่โี บราณกบณั ฑติ วางไวว า ในกาลน้ีควรออกไป ควรกา วไป ในกาลน้ี ไมค วรออกไป ไมค วรกา วไปหรือ การจดั แจงวิธีน้นั . ผนู ัน้ ชอ่ื วา รูจักวธิ ีการตาง ๆ รชู องทางของคนอน่ื คือ ศัตรูของตน เหมือนนกเคา ผฉู ลาด ออกและกาวไปโดยกาลอนั สมควรของตน คอื ตอนกลางคนื จิกหัวกาซึ่งนอนอยู ณ ทน่ี น้ั ๆ ทํากาเหลานั้นท้งั หมดใหอ ยูใ นอาํ นาจของตนพงึ อยูเปนสุข ฉนั ใด แมบัณฑิตออกไป กา วไป ในกาลอนั สมควรกฉ็ ันน้นั กระทําศัตรูของตนใหอ ยใู นอํานาจ พงึ มคี วามสขุ ไมม ีทกุ ข ฉะนนั้ . พระราชาทรงสดับคําของพระโพธสิ ตั วแ ลว เสดจ็ กลับพระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานีม้ าแลว ทรงประชมุ ชาดก.พระราชาในครั้งนั้นไดเ ปนอานนทในครงั้ น้ี สว นอาํ มาตยบ ณั ฑติคอื เราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาโกสิยชาดกท่ี ๖
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 410 ๗. คถู ปาณกชาดก หนอนทาชางสู [๓๐๓] ทา นก็เปน ผกู ลา หาญ มาพบกบั เราผูกลา หาญ อาจประหารไดไ มยนยอ มาซชิ าง ทานจง กลบั มากอน ทานกลัวหรือจงึ ไดห นีไป ขอให พวกคนชาวองั คะและมคธะไดเ ห็นความกลาหาญ ของเราและของทานเถดิ . [๓๐๔] เราจักไมต องฆา เจา ดวยเทา งา หรอื ดวย งวงเลย เราจกั ฆาเจาดว ยคูถ หนอนตัวเนา ควร ฆาดว ยของเนา เชน กัน. จบ คูถปาณกชาดกที่ ๗ อรรถกถาคูถปาณกชาดกท่ี ๗ พระศาสดาเม่ือประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภกิ ษรุ ูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มคี าํ เริ่มตน วาสูโร สูเรน สงฺคมฺม ดังน.ี้ ไดย นิ วา ในครัง้ นั้นมีบานในนิคมแหงหน่งึ จากเชตวนั -มหาวิหารประมาณโยชนก ับหนงึ่ คาวุต. ที่บา นนน้ั มีสลากภัตรและปก ขิกภัตรเปนอนั มาก. มบี รุ ษุ ดวนผูหนึ่ง ชอบซกั ถาม
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 411ปญหาอยทู บี่ า นนัน้ . บรุ ษุ น้ันถามปญหาภิกษุหนมุ และสามเณรทไ่ี ปรบั สลากภตั รและปกขิกภัตรวา พวกไหนด่มื พวกไหนเคย้ี วกนิ พวกไหนบริโภค ทาํ ใหภ ิกษุและสามเณรเหลา นน้ั ไมสามารถตอบปญ หาได ใหไ ดอาย. ภิกษแุ ละสามเณรทัง้ หลายจึงไมไ ปบา นนั้นเพ่อื รับสลากภตั รและปก ขิกภัตร เพราะเกรงบุรษุ ดวนนัน้ . อยมู าวนั หนง่ึ ภิกษรุ ูปหนง่ึ ไปโรงสลากถามวาทานผูเจริญ สลากภตั รหรือปกขิกภัตรที่บา นโนน ยังมีอยหู รือเม่อื ภกิ ษผุ ูเปนภัตถทุ เทสกก ลา ววา ยงั มีอยู ทา น แตที่บา นน้นัมีบรุ ษุ ดว นคนหนึ่ง คอยถามปญ หา ดาวา ภิกษุสามเณรท่ีไมสามารถแกปญ หาได จึงไมมีใครอยากไปเพราะเกรงบุรษุ ดวนนั้นจึงกลา ววา ทานผูเจรญิ ขอจงใหภัตรทีบ่ านนัน้ ถึงผมเถิด ผมจักทรมานบุรุษน้นั ทาํ ใหห มดพยศ จะทําใหหนีไปเพราะเหน็ ผมตัง้ แตน้ันเลย. ภกิ ษุท้ังหลายรับวา ดลี ะ จะใหภัตรทบี่ า นนัน้ถงึ แกทาน ภิกษุนน้ั จึงไปท่บี านนั้นหมจีวรท่ปี ระตบู าน. บุรษุดว นเหน็ ภกิ ษนุ ้นั ก็ปรี่เขา ไปหาดงั แพะดุ กลาววา สมณะจงแกปญหาของขาพเจาเถดิ . ภกิ ษนุ ้นั กลา ววา อุบาสก ขอใหอาตมาเท่ียวบิณฑบาตในบานรบั ขาวยาคมู าศาลาน่งั พกั เสยี กอนเถดิ .บุรุษดว นเมอื่ ภิกษุนน้ั รบั ขา วยาคู แลวมาสูศาลาน่งั พกั ก็ไดกลา วเหมือนอยางน้นั . ภกิ ษุนน้ั กผ็ ดั วา ขอดื่มขาวยาคูกอ นขอกวาดศาลานั่งพักกอน ขอรับสลากภัตรมากอน คร้ันรบั สลากภตั รแลว จงึ ใหบุรษุ น้ันถือบาตร กลาววา ตามมาเถิด เราจัก
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 412แกป ญ หาทาน พาไปนอกบา น จีบจวี รพาดบา รับบาตรจากมอืของบรุ ุษนน้ั ยืนอยู. บุรษุ น้นั กลาวเตือนวา สมณะจงแกปญหาของขาพเจา . ภิกษกุ ลา ววา เราจะแกปญ หาของทา น แลว ผลกัโครมเดยี วลมลง โบยตดี ังจะบดกระดกู ใหละเอยี ด เอาคถู ยดั ปากขูสาํ ทับวา คราวนตี้ ั้งแตน ีไ้ ป เราจะคอยสืบรูในเวลาทถี่ ามปญ หาไร ๆ กะภิกษุทีม่ าบา นนี.้ ต้ังแตน้ันบรุ ษุ ดวนเห็นภิกษุแลวก็หนี. ครนั้ ตอ มา การกระทาํ ของภิกษุน้ันไดปรากฏข้นึ ในหมูสงฆ. ภิกษุทั้งหลาย จงึ ประชมุ สนทนากนั ในโรงธรรมวาดกู อนอาวุโส ไดย นิ วา ภิกษรุ ูปโนน เอาคูถใสปากบุรุษดว นแลวกไ็ ป. พระศาสดาเสด็จมาตรสั ถามวา ดกู อนภิกษุท้งั หลายบดั นี้พวกเธอนั่งสนทนากนั ดว ยเรอ่ื งอะไร เม่ือภกิ ษุเหลา นน้ักราบทลู ใหท รงทราบแลว จงึ ตรสั วา ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภิกษุนั้นจะรุกรานบรุ ษุ ดวนดวยคูถในบดั นเ้ี ทา น้ันก็หาไม แมเม่ือกอนก็ไดรุกรานแลว เหมอื นกนั แลว ทรงนาํ เรือ่ งอดีตมาตรสั เลา . ในอดีตกาลชาวอังคะและมคธท้งั หลาย ตางกไ็ ปมาหาสูยังแวน แควนของกนั และกนั . วันหนง่ึ ตางเขา ไปอาศัยบา นหลงัหนึง่ ที่พรมแดนของรฐั ท้ังสอง ด่ืมสรุ า กินปลาเนื้อกันแลว ก็เทยี มยานออกเดินทางแตเชาตร.ู ในเวลาที่ชนเหลา นั้นไปกันแลวหนอนกินคูถตัวหนง่ึ ไดกล่ินคูถจึงมา เหน็ สรุ าท่เี ขาท้ิงไวต รงที่นงั่ กนั จึงดืม่ ดวยความกระหาย ก็เมาไตข ้นึ บนกองคถู . คูถสด ๆกย็ บุ ลงหนอ ยหนงึ่ เมอ่ื หนอนไตข นึ้ ไป. หนอนน้นั กร็ องวา
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 413แผนดนิ ทานตัวเราไปไมไ ด. ขณะนนั้ เองชา งตกมันตัวหนึ่งมาถึงทน่ี ั้นไดก ล่ินคถู แลวรงั เกียจกห็ ลีกไป. หนอนเห็นชางนนั้ แลวเขา ใจวา ชางน้กี ลัวเราจึงหนีไป เราควรจะทาํ สงครามกับชา งน้ีจงึ รองเรยี กชางน้นั กลาวคาถาแรกวา :- ทานก็เปนผกู ลาหาญ มาพบกับเราผกู ลา หาญ อาจประหารไดไ มย น ยอ มาซชิ า ง ทานจง กลับมากอน ทานกลัวหรอื จึงไดหนไี ป ขอให พวกชาวองั คะและมคธะไดเ หน็ ความกลาหาญ ของเราและของทา นเถดิ . เนอื้ ความแหง คาถานี้วา ทา นกเ็ ปนผูกลา หาญมาพบกบัเราผกู ลาหาญ ผไู มย อ ทอทางความเพยี ร บากบ่นั เปน นักตอสูเพราะสามารถในทางสูรบ เหตใุ ดจงึ ไปเสยี ไมป ระสงคการสงครามเลา . การประหารกันสักทีเดยี ว ก็ควรกระทํามใิ ชห รอื .เพราะฉะนั้น ดูกอ นชา ง จงมาเถดิ จงกลับกอน ทา นกลวั ตายดวยเหตุเพยี งเทานัน้ จะกลัวหนไี ปเทยี วหรือ ชาวองั คะและมคธทง้ั หลายผอู ยูพรมแดนน้ี จงคอยดูความเกง กาจ ความทรหดอดทนของเราและของทาน. ชางนัน้ แผดเสยี งรองไดฟงคาํ ของหนอนนนั้ แลว จงึ กลับไปหาหนอน เม่อื จะรกุ รบหนอนน้นั ไดกลาวคาถาที่ ๒ วา
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 414 เราจกั ไมต อ งฆา เจาดว ยเทา งา หรือดว ย งวงเลย เราจักฆา เจาดวยคถู หนอนตัวเนา ควร ฆา ดว ยของเนา เชน กัน. เน้อื ความแหง ความคาถาน้นั วา เราจักไมฆ า เจาดวยเทาเปนตน แตเราจกั ฆา เจาดวยคูถจงึ สมควรแกเจา ก็และคร้ันชางกลาวอยา งน้แี ลว จงึ กลาวตอ ไปวา สตั วก ินคถู เนา ควรตายดวยของเนา . ชางจงึ ถา ยคถู กอนใหญล งบนหวั หนอนน้ันแลว ถา ยปส สาวะรดยงั หนอนใหถงึ แกค วามตายในที่น้ันเอง แผดเสยี งเขาปาไป. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานีม้ าแลว ทรงประชุมชาดก. ตัวหนอนในครงั้ นน้ั ไดเ ปน บรุ ษุ ดวนในคร้งั น้ี ชางไดเปนภกิ ษุรปู นนั้ สว นเทวดาผูเ กิดในไพรสณฑน้ัน เห็นเหตนุ น้ั โดยประจกั ษ คือ เราตถาคตน้ีแล. จบ อรรถกถาคถู ปาณกชาดกที่ ๗
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 415 ๘. กามนีตชาดก ผถู กู โรครกั ครอบง ารักษายาก [๓๐๕] เราปรารถนาระหวางเมอื งทง้ั ๓ คือ เมอื ง ปญ จาละ ๑ เมืองกุรุยะ ๑ เมอื งเกกกะ ๑ ดกู อน ทานพราหมณ เราปรารถนาราชสมบัติท้งั ๓ เมืองนนั้ มากกวาสมบัตทิ ีเ่ ราไดแลว น้ี ดูกอน พราหมณ ขอใหท านชวยรกั ษาเราผูถูกความ ใครค รอบงําดวยเถิด. [๓๐๖] อนั ทจ่ี ริง เมอื่ บคุ คลถูกงเู หากัด หมอ บางคนกร็ กั ษาได อนง่ึ บคุ คลถกู ผีเขาสิง หมอ ผูฉลาดกไ็ ลออกได แตบคุ คลผถู กู ความใคร ครอบงําแลว ใคร ๆ ก็รักษาไมหาย เพราะวา เมือ่ บคุ คลลวงเลยธรรมขาวเสียแลว จะรกั ษา ไดอ ยา งไร. จบ กามนีตชาดกที่ ๘ อรรถกถากามนตี ชาดกที่ ๘ พระศาสดาเมือ่ ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภพราหมณชือ่ กามนีตะ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคําเริ่มตน วา ตโย คิรึ ดังน.ี้
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 416 เรอื่ งราวทง้ั ปจจบุ นั และอดตี จักมีแจง ในกามชาดก ในทวาทสนบิ าต. พระราชบุตรท้ังสองพระองคน ัน้ พระองคพ ไ่ี ดก ลับมาเปน พระราชาในกรุงพาราณสี. พระองคนองไดเ ปน อุปราช.ทั้งสองพระองคนั้น องคพ่เี ปน พระราชาเปน ผูไมอม่ิ ในวตั ถกุ ามและกิเลสกาม มีพระทยั โลภในทรพั ยส มบตั .ิ ในคราวน้นั พระ-โพธสิ ตั วเปนทาวสักกเทวราช ตรวจดชู มพูทวีป ทรงทราบวาพระราชานั้นมิไดทรงอ่มิ ในกามทง้ั สอง ทรงด ารวิ า จกั ไปขมข่ีพระราชานี้ใหล ะอายพระทยั จงึ ทรงแปลงเปนพราหมณมาณพเขา เฝาพระราชา. เม่อื พระราชาตรัสถามวา แนะมาณพ ทา นมาดว ยประสงคอ ะไร. กราบทลู วา ขาแตมหาราช ขา พระองคพบนครสามนครนารืน่ รมยม ีภกิ ษาหารสมบูรณ พรง่ั พรอมดวยชา ง มา รถ พลนกิ รและเงินทองเคร่ืองอลงั การ แตพ ระองคสามารถยดึ นครทงั้ ๓ นน้ั ดว ยกาํ ลงั เลก็ นอยเทา น้นั ขาพระองคจงึ มาเพือ่ รบั อาสาไปตเี มอื งทงั้ สามถวายพระองค. เม่อื ตรสั ถามวา เราจะไปกันเมือ่ ไรเลา มาณพ. กราบทลู วา ไปพรงุ น้ีพระ-เจาขา. ตรสั วา ถาเชน นน้ั เราไปดวยกนั ทา นมาแตเ ชา ๆ หนอยทา วสกั กะตรสั วา ดแี ลว พระเจาขา พระองคจ งเตรยี มพลไวโดยเร็วแลวเสด็จกลบั วมิ านของพระองค. รุง ขนึ้ พระราชารบั สั่งใหเ ท่ียวตีกลองเรยี กชมุ นมุ พล รับส่งั ใหอ ํามาตยท งั้ หลายมาแลวตรัสวา เม่อื วานนี้มพี ราหมณ
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 417มาณพผหู นึง่ รับอาสาจะตีนครทงั้ สามเอาราชสมบตั ิถวาย คอืนครอุตตรปญจาละ นครอนิ ทปต ร นครเกกกะ เราจะพามาณพนัน้ ไปตีเอาราชสมบัตใิ นนครทงั้ สามนน้ั . พวกทา นจงไปตามตัวมาณพนัน้ มาโดยเรว็ . พวกอาํ มาตยท ลู ถามวา ขา แตพระองคพระองคพ ระราชทานทพ่ี กั ใหม าณพน้ัน ณ ทีไ่ หน. ตรัสวาเราไมไ ดใหท ีพ่ ักแกเ ขา. กราบทลู ถามวา เสบียงอาหารพระองคพระราชทานหรือเปลา ตรสั วา เสบยี งอาหารก็ไมไ ดป ระทานทลู ถามวา ขาพระองคจ ะไปตามตัวไดท ่ีไหน. ตรสั วา พวกทานจงเทีย่ วตามหาดูตามถนนในนครเถิด. พวกอาํ มาตยเ ทีย่ วตรวจตราดูแลวไมพ บ จึงกราบทลู วา ไมพบตัว พระเจา ขา เม่ือพระ-ราชาไมไ ดตวั มาณพมากเ็ กดิ ความโศกเสียพระทยั วา เราเส่อื มจากอิสสริยสมบตั ิอันใหญหลวงอยางนเี้ สียแลว ดวงพระทัยก็เรา รอ น โลหิตทฉี่ ีดเลย้ี งหทัยกก็ ําเรบิ จนเกิดสาํ รอกโลหติ ออกมา. บรรดาแพทยทัง้ หลายก็ไมสามารถจะรักษาได. ถดั จากน้ันมา ๓-๔ วัน ทา วสกั กเทวราชทรงตรวจดู ทรงทราบการประชวรของพระราชา ทรงดําริวา จักชว ยรักษา จึงแปลงเปนพราหมณมาเยอื นประตพู ระราชวงั ใหก ราบทูลวามีหมอพราหมณจะมารกั ษาพระองค. พระราชาทรงสดับดังน้ันตรัสวา หมอหลวงลว นแตใหญโต ยงั รกั ษาเราไมไ ด ทานจงจา ยคา ปวยการใหเขากลับไปเถิด. ทาวสกั กเทวราชไดส ดบั คําอาํ มาตยม าบอกแลวตรัสวา เราไมตอ งการท่ีพักและคาปว ยการแมคา ขวัญขาวเรา
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 418ก็ไมข อรับ เราขออาสารักษาพระองค. ขอพระราชาจงใหเ ราเฝา เถิด. พระราชาทรงสดับดังนนั้ แลว รับสง่ั วา ถา เชนนัน้ จงมาเถดิ . ทา วสกั กเทวราชเสดจ็ เขา ไปแลว ถวายบงั คมยืน ณสวนขางหนงึ่ . พระราชาตรสั ถามวา ทา นจะรักษาเราหรอื .ทลู วาอยางน้ันพระเจา ขา. ตรัสวา ถา เชนนน้ั จงรักษาเถิด.กราบทลู วา ขา แตม หาราช ขอประทานโอกาส ขอพระองคจ งบอกลกั ษณะของโรคแกข า พระองควาเกดิ เพราะเหตุอะไร เกิดเพราะเสวยอะไร หรอื ไดทอดพระเนตร หรือทรงสดับอะไรพระราชาตรัสวา แนะพอ โรคของเราเกดิ เพราะไดฟ งขา วทูลถามวา พระองคส ดับขา วอะไร. ตรสั วาแนะพอ มีมาณพคนหน่งึ มาบอกวา จกั รับอาสาตีเอาราชสมบัติในนครทง้ั สามถวายเรา เราก็ไมไ ดใหท พี่ ักหรอื คากนิ อยูแ กเขา เขาคงโกรธเราจงึไปเฝา พระราชาองคอ ่นื . เม่ือเปน เชน นั้น เรากเ็ ฝา แตค ิดอยวู าเราเสือ่ มจากอสิ สริยสมบตั ิอันใหญห ลวงดงั นี้ จงึ ไดเกิดโรคขนึ้ถาทานสามารถกจ็ งรกั ษาโรคอนั เกดิ เพราะจิตปรารถนาของเรา. เม่อื จะประกาศเนือ้ ความนไี้ ดกลา วคาถาแรกวา :- เราปรารถนาระหวางเมืองท้ังสาม คือ เมอื งปญจาละ ๑ เมืองกุรุยะ ๑ เมอื งเกกกะ ๑ ดกู อ นทานพราหมณ เราปรารถนาราชสมบัติ ทง้ั สามเมืองนนั้ มากกวาราชสมบตั ิทเี่ ราไดแลว
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 419 น้ี ดูกอนพราหมณ ขอทานรกั ษาเราผถู กู ความ ใครครอบงําดว ยเถดิ . ในบทเหลานั้น บทวา ตโย คิรึ คอื นครท้ังสาม. เหมอื นสุทัสสนเทพนคร ทานเรียกวา สุทัสสคีรี เพราะจะรบยดึ เอาไดยาก หวั่นไหวไดยากในประโยคนีว้ า สทุ สสฺ นคริ โิ น ทฺวาร เหตปกาสต.ิ เพราะฉะนั้น ในคาถาน้ีจงึ มเี นอื้ ความดังนี้ เราตอ งการนครสามนคร และแควน ท้ังสามแควนในระหวา งนครเหลา นัน้ .เราตองการหมดทง้ั สามแวน แควน อนั มีนามวา อุตตรปญจาละซงึ่ มีนครช่ือวา กปล ะ แวน แควนหน่ึง มนี ามวา กุรยุ ะ ซ่ึงมีนครชอื่ วา อนิ ทปต ร แวน แควน หน่ึง มนี ามวา เกกกะ ซงึ่ มนี ครชื่อวา เกกกะราชธานี แวนแควน หนึ่ง. เราปรารถนาราชสมบัติท้ังสามแวนแควนนน้ั ย่ิงไปเสยี กวา ราชสมบตั ิกรุงพาราณสี ซึ่งเราครองอยูน้ี. บทวา ตกิ ิจฉฺ ม พฺรหฺมณ กามนตี ความวาทานพราหมณ เราถูกวตั ถกุ ามและกเิ ลสกามเหลานน้ั ชกั นาํ ไปแลว ถกู รบกวนประหตั ประหารแลว ถา ทานอาจก็จงรักษาเราเถิด. ล าดับนนั้ ทา วสกั กเทวราชจึงตรสั กะพระราชาวา ขา แตมหาราช พระองคจ ะรักษาดวยโอสถรากไมเ ปนตนไมหาย ตอ งรักษาดวยโอสถ คือญาณอยางเดียว ไดก ลาวคาถาที่ ๒ วา :- อันทจ่ี รงิ เมอื่ บุคคลถูกงเู หา กดั หมอบาง คนกร็ ักษาได อนง่ึ บคุ คลถกู ผสี งิ หมอผูฉลาด
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 420 ก็ไลออกได แตบ ุคคลผถู ูกความใครค รอบงําแลว ใคร ๆ ก็รกั ษาไมหาย เพราะวาเม่อื บุคคลลวง เลยธรรมขาวเสียแลว จะรักษาไดอยางไร. ในบทเหลา นัน้ บทวา กณหฺ าหิ ทฏุ สฺส กโรนฺติ เหเกความวา อันท่ีจรงิ เมอื่ บคุ คลถูกงูเหามพี ษิ รายกัด หมอบางคนก็รักษาดวยมนตและดวยโอสถใหหายได. บทวา อมนุสสฺ วฏิ สสฺกโรนตฺ ิ ปณฑฺ ิตา ความวา หมอผีผูฉลาดจาํ พวกหน่ึง เม่อื คนถกูอมนษุ ยม ผี แี ละยกั ษเ ปนตน เขาสิงแลวยอมทาํ การรกั ษาไดดว ยวธิ ีตา ง ๆ มกี ารเซน สรวง สวดพระปรติ รและวางยาเปนตนใหหายได. บทวา น กามนตี สฺส กโรติ โกจิ ความวา แตคนท่ีถูกกามชักนาํ ไปแลว คืออยใู นอํานาจของกามเวนบณั ฑิตเสยีใคร ๆ อื่นกท็ ําการรักษาไมได แมจะรักษากไ็ มส ามารถจะรักษาใหหายได. ถามวา เพราะเหตุไร. ตอบวา เพราะบคุ คลท่ีกาวลวงเขตแดนสกุ กธรรม คือ กศุ ลธรรม ตงั้ อยใู นอกุศลธรรมเสยี แลว จะรกั ษาดวยมนตแ ละโอสถ เปน ตนอยา งไรไหว คือไมอ าจรักษาไดดว ยมนตและโอสถเปน ตน น้ัน. พระมหาสตั วแ สดงเหตุน้ีแดพระราชาฉะน้แี ลว ไดต รสัใหยง่ิ ๆ ข้นึ ไปอยางนี้วา ขาแตมหาราช ถา พระองคจกั ไดราชสมบัติทัง้ สามแควน น้ัน เมอื่ พระองคเสวยราชท้ัง ๔ นครจะฉลองพระองคดว ยผา สาฎกทั้ง ๔ คู คราวเดียวกนั ไดอยางไรเลา หนอ. จะเสวยทง้ั ๔ ถาดทอง จะบรรทมท้งั ๔ พระแทน
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 421สิรไิ สยาสนคราวเดยี วกันไดอยา งไร. ขา แตม หาราช พระองคไมพ ึงเปน ไปในอํานาจตัณหา. ชอ่ื วาตัณหานี้เปน มลู รากของความวิบัติ. เมอื่ เจรญิ ขนึ้ ผูใดท าใหงอกงาม ยอมซัดบุคคลนน้ัลงนรกทงั้ ๘ ขุม อุสสทนรก ๑๖ ขุม และอบายภมู ิที่เหลือมีประเภทนานาประการ. พระมหาสตั วแ สดงธรรมขูพระราชาดวยภัยในนรกเปน ตนอยา งนี้. ฝา ยพระราชาฟง ธรรมของพระ-มหาสัตวแลว ก็สรางโศก หายพระโรคทนั ใดนนั้ เอง. แมท าว-สักกะประทานโอวาทแดพระราชาใหด าํ รงอยูในศลี แลวเสดจ็กลบั เทวโลก. ฝา ยพระราชาตงั้ แตนน้ั ทรงบําเพ็ญบุญมที านเปนตน เสดจ็ ไปตามยถากรรม. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานมี้ าแลว ทรงประชุมชาดก. พระราชาในคร้ังนนั้ ไดเ ปนพราหมณช ื่อ กามนตี ะ ในครัง้ น้ี สวนทา วสักกเทวราช คือ เราตถาคตนแี้ ล. จบ อรรถกถากามนีตชาดกที่ ๘
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 422 ๙. ปลายชิ าดก วาดวยขับไลศตั รแู บบสายฟาแลบ [๓๐๗] เมืองตักกสิลาถูกเขาลอมไวทกุ ดา นแลว ดวยกองพลชา งตวั ประเสรฐิ ซง่ึ รองคาํ รนอยู ดานหนึ่ง ดว ยกองทพั มา ตัวประเสริฐซึ่งคลุม มาลาเคร่ืองครบอยูดานหนงึ่ ดวยกองพลรถ ดุจ คลนื่ ในมหาสมุทรอันยังฝนคอื ลกู ศรใหต กลง ดานหนงึ่ ดวยกองพลเดินเทา ถอื ธนมู นั่ มีฝม ือยิง แมน อยูด า นหน่งึ . [๓๐๘] ทา นทั้งหลายจงรบี รกุ เขาไป และจงรบี บุกเขา ไป จงไสชางใหห นนุ เนอื่ งกนั เขาไปเลย จงโหร อ งใหสนั่นหวั่นไหวในวันนี้ ดุจสายฟา อันซา นออกจากกลบี เมฆคํารนอยู ฉะนนั้ . จบ ปลายิชาดกท่ี ๙ อรรถกถาปลายชิ าดกที่ ๙ พระศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภปลายิปรพิ าชก ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มคี าํ เริม่ ตน วาคชคฺคเมเฆภิ ดงั นี.้
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 423 ไดยินวา ปริพาชกนั้นทอ งเท่ียวไปท่วั ชมพทู วีป เพ่ือการโตวาทะ ไมไดร ับการโตตอบวาทะอะไร แลว จนลถุ ึงเมืองสาวตั ถีโดยลาํ ดบั ถามมนษุ ยทง้ั หลายวา ใคร ๆ สามารถจะโตตอบวาทะกบั เรามีบางไหม. พวกมนุษยตา งพากนั สรรเสรญิ พระ-พทุ ธองคว า พระมหาโคดมผูสัพพญั เู ลศิ กวา สตั วส องเทาทัง้ หลาย ผูเปน ใหญโดยธรรม ยํ่ายวี าทะของผูอ ื่น เปนผสู ามารถจะโตต อบวาทะกบั คนเชน ทานแมต ้ังพนั ปราชญผ ูม ีวาทะขัดแยงทีเ่ กิดขึ้นในชมพทู วปี แมท งั้ สิน้ ทีจ่ ะสามารถลวงเลยพระผูมี-พระภาคเจาพระองคน น้ั มไิ ดม .ี บรรดาวาทะทั้งปวงมาถงึ บาทมูลของพระองคเ ปน ผุยผงไปดุจคล่ืนสมทุ รกระทบฝง ฉะน้ัน.ปริพาชกถามวา กเ็ ด๋ยี วนีพ้ ระองคประทบั อยทู ่ีไหน ไดฟงวาทพี่ ระเชตวนั มหาวิหาร กลาววา เราจกั ไปประวาทะกบั พระองคในบดั นี้ แวดลอมดวยมหาชนไปสเู ชตวนั มหาวหิ าร พอเห็นซมุประตเู ชตวันมหาวิหาร ซ่ึงพระราชกมุ ารพระนามวา เชตะ ทรงสละทรัพยเ กาโกฏสิ รา ง ถามวา นี้คอื ปราสาทท่ปี ระทบั ของพระสมณโคดมหรอื ไดฟงวา นคี้ อื ซมุ ประตู กลาววา ซมุ ประตูยังเปน ถงึ เพียงน้ี คฤหาสนท ปี่ ระทบั จะเปน เชน ไร เมื่อมหาชนกลา ววา ชื่อวา พระคนั ธกฏุ ีประมาณไมถูก กลา ววา ใครจะโตต อบวาทะกบั พระสมณโคดมเปน ถงึ ปานนไ้ี ด. จงึ หนไี ปจากทน่ี ้ันเอง. มนุษยทงั้ หลายตา งอึงคะนึงกนั จะเขา ไปยงั พระเชต-วันมหาวิหาร พระศาสดาตรัสถามวา ทําไมจงึ มากันผดิ เวลา
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 424กราบทลู ความเปน ไปใหทรงทราบ. พระศาสดาตรัสวา ดูกอนอุบาสกทั้งหลาย ปรพิ าชกผนู ี้เห็นซมุ ประตูของเรากห็ นใี นบดั นี้เทาน้นั กห็ ามิได แมในกาลกอ นกห็ นีไปแลว เหมอื นกัน พวกมนษุ ยเหลา นั้นจงึ ทูลอาราธนา ทรงนาํ เร่อื งอดีตมาตรสั เลา ในอดตี กาล พระโพธิสตั วเสวยราชสมบัตใิ นเมืองตกั กสิลาในแควน คนั ธาระ. พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบตั ิในกรงุพาราณสี. พระเจาพรหมทัตนนั้ ทรงดํารวิ า จกั ตเี มืองตกั กสิลาจึงยกพลนิกายใหญไปต้ังม่ันอยไู มไ กลจากเมอื งตักกสลิ า ทรงซกั ซอ มเสนาวา จงสง กองชา งเขาไปดา นน้ี สงกองมาเขาไปดา นนี้ สง กองรถเขา ไปดา นนี้ สง พลราบเขา ไปดา นนี้ เม่ือบกุเขาไปอยางนี้แลว จงใชอาวุธทง้ั หลาย จงใหหาฝนลกู ศรใหตกดังหมวู ลาหกโปรยฝนลกู เห็บฉะน้นั ดวยประการฉะน้ี ไดตรสัสองคาถานวี้ า :- เมอื งตกั กสลิ าถกู เขาลอมไวท ุกดานแลว ดว ยกองพลชางตัวประเสริฐ ซ่งึ รองคาํ รนอยู ดานหนงึ่ ดวยกองพลมา ตวั ประเสรฐิ ซ่งึ คลุม มาลาเคร่อื งครบอยูดา นเหนือ ดว ยกองพลรถ ดุจคลนื่ ในมหาสมทุ รอนั ยังฝน คือลกู ศรใหต ก ลงดานหนงึ่ ดว ยกองพลเดนิ เทาถือธนูม่นั มฝี ม อื ยิงแมนอยูดา นหน่ึง ทา นทงั้ หลายจงรบี บกุ เขา ไป และจงรีบบุกเขาไป จงไสชางใหหนุนเนือ่ ง
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 425 กนั เขา ไปเลย จงโหรองใหส นน่ั หว่ันไหว ในวันนี้ ดุจสายฟาอันซา นออกจากกลบี เมฆ คาํ รน อยู ฉะน้นั . พระเจา พรหมทัตนั้นทรงตรวจพลปลุกใจเสนาใหคกึ คักฉะน้แี ลวเคลือ่ นทพั ไปถงึ ที่ใกลป ระตูนคร เหน็ ซมุ ประตแู ลวตรัสถามวา นี้คอื พระราชมณเฑียรหรือ เมื่อเหลา เสนากราบทูลวา นี้คอื ซุมประตูนคร ยังเปน ถงึ ปานนี้ พระราชมณเฑยี รจะเปนเชน ไร ไดส ดบั วาเชนกบั เวชยนั ตปราสาท ตรสั วา เราไมอ าจสูรบกับพระราชาผถู งึ พรอมดว ยยศอยา งนี้ ไดทอดพระเนตรซุมประตแู ลว เสด็จหนีกลบั สูเ มืองพาราณส.ี พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานี้มา แลว ทรงประชมุชาดก. พระเจา พาราณสีในครั้งน้ัน ไดเปนปลายปิ รพิ าชกในคร้ังนี้ สวนพระราชาเมอื งตักกสลิ า คือเราตถาคตน้แี ล. จบ อรรถกถาปลายชิ าดกท่ี ๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 526
Pages: