พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 201ฉบิ หาย. ในการอยรู ว มกนั นน้ั อยา วา แตอยรู ว มกนั คนชว่ั ทําความฉบิ หายใหแกม นษุ ยเ ลย แมเมอื่ กอนตนมะมวงซง่ึ ไมมีจิตใจ มีรสอรอ ย เปรยี บดว ยรสทพิ ย อาศัยอยูรว มกับตนสะเดาทไี่ มนาพอใจ ไมมรี สอรอ ย ยังขมได. แลว ทรงนําเรื่องอดตีมาตรัสเลา. ในอดตี กาลครั้งพระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบัติอยูในกรงุ พาราณสี พราหมณส่ีคนพีน่ องในแควน กาสี บวชเปนฤๅษีสรา งบรรณศาลา อาศัยอยตู ามลําดับกันไปในหิมวนั ตประเทศ.พีช่ ายใหญของพวกพราหมณถึงแกก รรมไป เกดิ เปน ทา วสักกะ.ทา วเธอทราบเหตกุ ารณน้ัน ลวงไปเจด็ แปดวันเปน ลาํ ดับ ๆจะเสด็จไปดแู ลดาบสเหลาน้นั วนั หนึ่งเสด็จไปนมสั การดาบสผพู ่ปี ระทบั นงั่ ณ สว นขา งหนงึ่ ตรสั ถามวา ทา นตอ งการอะไรดาบสน้นั เปนโรคผอมเหลือง จงึ ถวายพระพรวา อาตมาตองการไฟ. ทาวสักกะจงึ ประทานพรา โตให. พราใสดามใชไดทงั้ มีดท้ังขวาน ช่ือวา พรา โต. พระดาบสถวายพระพรวา ใครจะใชพราน้หี าฟน มาใหอ าตมาไดเลา. ทาวสักกะจึงรบั ส่ังกะดาบสนนั้ วา หากพระคุณเจา ตอ งการฟน ก็จงเอามอื ตบพราโตน ี้แลว ส่ังวา จงหาฟน มากอ ไฟใหเรา พราโตนน้ั ก็จะหาฟน มากอ ไฟให. ครน้ั แลว ทา วสกั กะประทานพรา โตแกดาบสนั้นแลวจึงเขา ไปหาดาบสรปู ทีส่ อง ตรสั ถามวา ทา นตอ งการอะไร.ใกลบรรณศาลาของดาบสนนั้ เปน ทางเดนิ ของชา ง. ดาบสถูก
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 202ชา งรบกวน จึงถวายพระพรวา อาตมาลาํ บากเพราะชาง ขอใหไลมันไปเสยี เถิด. ทาวสักกะจงึ ทรงมอบกลองใบหนงึ่ ใหแกดาบสน้นั แลวรบั ส่งั วา เมอื่ พระคุณเจาตีกลองดา นน้ี ขาศึกจะหนีไป ตดี า นน้ี เขาจกั มีเมตตาหอ มลอมทานดว ยจตุรงั คนิ เี สนาครน้ั ประทานกลองใบน้ันแลว จงึ เสด็จไปยังสํานักของดาบสผูนองแลวตรสั ถามวา พระคณุ เจา ตอ งการอะไร. แมพระดาบสรูปนั้นกเ็ ปนโรคผอมเหลือง เพราะฉะนน้ั จงึ ถวายพระพรวาตอ งการนมสม. ทาวสักกะจงึ ประทานหมอ นมสมใบหนึ่งแกดาบสนัน้ แลว มรี ับส่งั วา ถา พระคุณเจา ตอ งการก็จงรินหมอนี้จะเกดิ เปน แมน้ําใหญ มหี วงนํา้ ใหญไหลไป ทงั้ ยงั สามารถเอาราชสมบัติใหทา นได คร้นั รับสง่ั แลวก็เสดจ็ กลับ. ตัง้ แตนนั้ มา พราโตก ็กอ ไฟใหดาบสผพู ี่. เม่อื ดาบสรูปทีส่ องตกี ลอง ชางกห็ นี. ดาบสผนู องก็ฉันนมสม. ในครง้ั นน้ัมสี กุ รตวั หนง่ึ เทีย่ วไปทบี่ า นรา งแหง หนึ่ง ไดพ บแกวมณีท่ที รงอานภุ าพ. มันจงึ คาบแกว มณีนัน้ แลว เหาะไปบนอากาศดว ยอานภุ าพของแกวมณี ไปถึงเกาะแหง หนง่ึ ทามกลางมหาสมุทรคิดวา เวลานเี้ ราควรอยทู ่นี ่ี แลวลงพักใตตน มะเดื่อตน หน่ึง ในที่อนั ส าราญ. วันหนึง่ มนั วางแกวมณไี วข า งหนา แลวก็หลับไปทโ่ี คนตนไมน ัน้ . ครั้งน้ันมนุษยชาวแควน กาสคี นหนง่ึ ถูกมารดาบิดาไลออกจากเรอื นดว ยเหน็ วา เดก็ คนน้ไี มชว ยเหลอื เราเลย จงึ ไป
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 203ถงึ ทา เรอื แหง หน่ึง สมคั รเปน กรรมกรของชาวเรือโดยสารเรอืไป ครั้นเรอื อับปางกลางสมทุ ร จึงนอนบนแผนกระดานไปถึงเกาะแหง หนงึ่ เทย่ี วแสวงหาผลไม ครัน้ เห็นสกุ รนน้ั นอนหลบัจึงคอย ๆ ยองเขาไปลกั เอาแกวมณี แลวเหาะข้ึนไปบนอากาศดว ยอานุภาพของแกวมณีนนั้ แลว กลบั มาน่งั ลงบนตน มะเดอ่ืคิดวา ชะรอยสกุ รนี้จะเทยี่ วไปในอากาศดวยอานภุ าพของแกวมณีน้ี แลวมาพักอยูทน่ี ่ี เราควรฆาสุกรน้ีกนิ เนือ้ เสยี กอ นแลว จงึ ไปในภายหลงั . ชายนนั้ จงึ หกั ไมท อนหน่ึงเหวย่ี งลงบนหวัสุกร. สกุ รตืน่ ขึน้ ไมเ หน็ แกว มณจี ึงกระสบั กระสา ยว่ิงพลา นไปมา. ชายทนี่ ่ังบนตนไมหวั เราะ สกุ รเหลอื บเห็นเขา กเ็ อาหวัชนตน ไมน นั้ ตายทนั ที. ชายผนู นั้ จงึ ลงจากตนไมกอไฟยา งเนื้อสกุ รกนิ แลว เหาะขึน้ ไปบนอากาศไปถึงทางสุดของหิมวันต-ประเทศ ครั้นเห็นอาศรมบทแลวจงึ เหาะลงที่อาศรมของดาบสผพู ่ี ไดอ าศัยกระทําวัตรปฏิบัตดิ าบสอยูส องสามวนั และไดเ หน็อานุภาพของพราโต. ชายผนู น้ั จงึ คดิ วา เราควรเอาพราเลมนี้เสีย จึงอวดอานภุ าพแกวมณีแกดาบส แลว พดู วา พระคณุ เจาจงเอาแกว มณนี ้ี แลวใหพ ราโตแ กขา พเจาเถดิ . พระดาบสอยากจะเทยี่ วไปบนอากาศบาง จึงรับเอาแกวมณแี ลว ใหพ ราโตแกเขา. ชายผนู ้ันครน้ั ไดพรา โต เดินไปไดส ักหนอยจงึ ตบพราโตสงั่ วา ดูกอนพราโตเ จาจงตัดศรี ษะดาบสเสยี แลว เอาแกว มณีมาใหเ รา. พรา โตก ไ็ ปตดั ศรี ษะดาบสแลว นาํ แกว มณมี าให.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 204เขาซอนพราโตไวใ นทท่ี ่ีปกปด แลว เดินไปหาดาบสคนกลางพักอยสู องสามวันก็ไดเหน็ อานุภาพของกลอง จึงใหแกวมณีแลกกับกลอง แลวใหพรา โตต ัดศีรษะดาบสรปู นั้นเสียเชนนัยกอน แลว จึงเขาไปหาดาบสคนสดุ ทา ย กไ็ ดเห็นอานภุ าพของหมอนมสม จึงใหแกว มณีแลกเอาหมอ นมสม แลวใหตดั ศีรษะดาบสนนั้ เชนนยั กอน ถอื เอาแกวมณี พราโต กลอง หมอ นมสมเหาะไปบนอากาศ แลวลงพักไมไ กลกรงุ พาราณสี ฝากหนังสือไปแกบรุ ุษคนหนงึ่ วา พระเจากรุงพาราณสจี ะสูร บกบั เราหรอืจะยอมใหราชสมบัตแิ กเรา. พระราชาทรงสดบั สาสน เทา นัน้กเ็ สด็จออกดวยหมายพระทัยวา จกั จับโจร. ชายผูน นั้ จงึ ตีกลองดา นหนง่ึ จตุรงั คินีเสนากเ็ ขา มาหอ มลอม. เขาทราบอยางแนว แนวา พระราชาตกอยูใ นเง้อื มมอื ของตนแลว จงึ รนิ หมอนมสม . เกิดเปน แมน ้ําใหญไหลทวมทน . มหาชนจมลงในนมสมไมสามารถหนีออกไปได. เขาจึงตบพราโตสัง่ วาเจา จงไปตดัศีรษะพระราชามา. พรา โตก ไ็ ปตัดพระเศยี รพระราชามาวางไวแ ทบเทา ของเขา. นกั รบแมค นเดยี วกไ็ มอาจเงื้ออาวธุ ไดเขาแวดลอ มดว ยพลนกิ ายใหญย กเขาสูพ ระนคร ใหจดั ทําพิธีปราบดาภเิ ษก เปนพระราชาพระนามวา ทธวิ าหนะ ครอบครองราชสมบตั ิโดยธรรม. วันหนึ่งเมอ่ื พระราชาทธวิ าหนะทรงสนานที่แมนํา้ ใหญภายในมขี ายกนั้ เปนวงลอ ม มะมวงสุกผลหนงึ่ เปน ของเทวดา
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 205 ลอยมาตดิ ขาย. พนักงานทง้ั หลายเมอ่ื ยกขา ยขนึ้ กเ็ ห็นมะมว งนั้นจึงนําไปถวายพระราชา. มะมวงนน้ั เปนผลกลมประมาณเทา หมอใหญ มสี ดี ุจทองคาํ . พระราชาตรัสถามพรานปาวา นี้ผลอะไร คร้นั สดบั วาเปนผลมะมวง จึงรับสงั่ใหป ลูกในพระราชอุทยานของพระองค แลว ใหรดดวยน้ํานม.ตน ไมไดเจริญเตบิ โตใหผ ลในปท ี่สาม. ตน มะมวงไดม ีสักการะเปนอนั มาก. เขารดดวยนาํ้ นม เจิมดวยของหอมหา ชนดิ หอยพวงมาลัยตามประทปี ดว ยน้าํ มันหอม ก้นั ดว ยผา มาน. เปนผลไมมรี สหวาน มสี ีเหลืองดงั ทองคาํ . พระเจา ทธวิ าหนะจะทรงสงผลมะมวงไปถวายพระราชาอื่น ๆ ใชเ งี่ยงกระเปน แทงหนอท้ิงออกเสียแลว สง ไป เพราะเกรงวาจะเกิดเปน ตนขึ้น แลว ทรงสงไป. เมลด็ มะมวงทพ่ี ระราชาเหลา นน้ั เสวยแลว ใหเพาะกไ็ มงอก. เมือ่ พระราชาเหลานนั้สอบถามวา อะไรหนอเปน เหตใุ นเรอ่ื งน้ี กห็ าทราบเหตุนน้ั ไม.ครัน้ แลวพระราชาองคหนึง่ รับส่งั หาคนเฝา พระอุทยานมาตรสัถามวา เจา สามารถจะทาํ รสผลมะมวงของพระเจา ทธิวาหนะใหเ สียกลายเปน รสขมไดหรอื เมื่อคนเฝา สวนกราบทลู วา ไดพระเจาขา จงึ รับส่ังวา ถา เชน นัน้ กจ็ งไป แลวพระราชทานทรพั ยพ ันหน่งึ สงไป. เขาไปถงึ กรุงพาราณสีแลว ใหก ราบทลูพระราชาวา คนเฝาสวนคนหนงึ่ มาเฝา เม่ือพระองครบั สง่ั วาใหม าเฝา ได เขาจงึ ไปถวายบังคมพระราชา เมือ่ รับส่ังถามวา
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 206เจาเปนคนเฝาสวนหรือ เขากราบทลู วา ถกู แลว พระเจาขา แลวกพ็ รรณนาถึงความสามารถของตน. พระราชารบั สงั่ วา จงไปอยูกบั คนเฝาสวนของเราเถดิ . ต้ังแตน น้ั มาทั้งสองคนกช็ ว ยกันรักษาพระราชอทุ ยาน คนเฝาสวนคนใหมมาอยไู ดไ มน าน ไดทาํ ใหตน ไมออกชอในเวลามิใชก าล ใหม ีผลในเวลามใิ ชผลทาํ ใหพ ระราชอุทยานนาร่นื รมยยงิ่ นกั . พระราชาทรงโปรดปรานเขา รบั ส่ังใหปลดคนเฝา สวนคนเกาออกเสีย ไดพระราชทานหนาทเ่ี ฝา สวนใหแ กเขาโดยเฉพาะ. เขาตระหนักแนว า พระ-ราชอทุ ยานอยใู นเงือ้ มมอื ของตนแลว จึงปลูกตนสะเดา และเถาบรเพ็ดลอมตน มะมว ง. ตนสะเดางอกงามข้ึนโดยลําดับรากตอ รากพนั กนั ก่ิงตอกง่ิ พาดทับกัน. เพราะความเกยี่ วพันกันกับไมท ่ีไมน า ยินดี และปราศจากรสนน้ั มะมว งซึ่งมผี ลหวานมากอ น กก็ ลบั เปนรสขมแลว จึงหนไี ป. พระเจา ทธวิ าหนะเสดจ็ไปพระอทุ ยานเสวยผลมะมวง ไมอ าจจะทรงกลนื เยือ่ มะมว งซึ่งตกถึงพระโอฐได คลายนํ้าฝากสะเดา ตองทรงขากถมท้ิงครัง้ น้นั พระโพธสิ ัตวเปนผูสอนอรรถและธรรมของพระองคพระราชาจงึ ปรึกษากะพระโพธิสัตววา ดูกอนบณั ฑติ ตนไมน ี้มไิ ดบ กพรอ งตอการดูแลมากอ นเลย เม่อื เปนเชน นน้ั ผลของมันกเ็ กดิ ขมขึ้นมาได อะไรหนอเปนเหตุ เมอื่ จะรบั ส่ังถาม จึงตรสั คาถาแรกวา :-
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 207 แตกอ นมามะมวงตนนบี้ รบิ ูรณดวย กลนิ่ และรส ไดร ับการบํารงุ อยูแ ตเดิม เหตุไร จงึ มผี ลขมไปได. ลาํ ดบั นัน้ พระโพธสิ ตั วเมอ่ื จะทลู แจงเหตุของมะมว งนน้ัจึงกลา วคาถาท่ี ๒ วา :- ขา แตพระเจาทธิวาหนะ มะมว งของ พระองค มีตนสะเดาลอมอยู รากตอ รากเก่ียว พันกัน ก่งิ ตอ ก่งิ เกี่ยวประสานกัน เหตุทอ่ี ยรู วม กนั กับตนสะเดาที่มีรสขม มะมวงจงึ มีรสขม ไปดว ย. บทวา ปจุ มิ นทฺ ปรวิ าโร แปลวา ลอ มดว ยตน สะเดา. บทวาสาขา สาข นเิ วสเร คอื ก่งิ สะเดาพาดกิง่ มะมว ง. บทวาอสาตสนนฺ ิวาเสน ไดแ ก เพราะพาดกับตน สะเดาอันมีรสขม.บทวา เตน อธิบายวา เพราะเหตนุ ้ัน มะมวงนจ้ี งึ มีรสเฝอนมรี สปรา มรี สขม. พระราชาทรงสดับคําของพระโพธิสตั วแลว รบั สง่ั ใหตดั ตนสะเดาและเถาบรเพ็ดเสีย ใหถอนรากขึน้ ขนดนิ ที่เสยี รสไปทิง้ ใสแตดนิ มรี สดี ใหบาํ รงุ ตน มะมวงดวยน้ํานมนา้ํ ตาลกรวดและน้ําหอม. เพราะปนกบั รสดี มนั จึงกลายเปน ตน ไมมีรสหวานอยางเดิม. พระราชาทรงมอบพระอทุ ยานแกคนเฝา สวนคนเดมิทรงดาํ รงอยตู ลอดพระชนมแลว เสดจ็ ไปตามยถากรรม.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 208 พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้มี าแลว ทรงประชมุชาดก. อาํ มาตยบ ณั ฑติ ในคร้งั นนั้ คอื เราตถาคตในครงั้ นแ้ี ล. จบ อรรถกถาทธิวาหนชาดกที่ ๖
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 209 ๗. จตุมัฏฐชาดก ผเู ลวทราม ๔ อยาง [๒๒๓] ทานทง้ั สองพากันข้นึ ไปบนคาคบไมอ ัน สงู อยูในท่ลี บั แลว ปรึกษากัน เชญิ ทา นลงมา ปรกึ ษากันในท่ตี า่ํ เถิด พระยาเนอื้ จกั ไดฟงบาง. [๒๒๔] สุบรรณกบั สุบรรณเขาปรึกษากนั เทวดา กับเทวดาเขาพูดกันในเรื่องน้ี จะมปี ระโยชน อะไรแกส ุนัขจง้ิ จอกผูเลวทราม ๔ อยา ง (สรรี ะ ๑ ชาติ ๑ เสยี ง ๑ คณุ ๑) เลา แนะสนุ ขั จงิ้ จอก ผชู าติช่วั เจา จงเขา ไปสโู พรงเถิด. จบ จตุมัฏฐชาดกท่ี ๗ อรรถกถาจตมุ ัฏฐชาดกท่ี ๗ พระศาสดาเม่ือประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภภกิ ษรุ ูปหน่ึง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเริ่มตน วาอจุ เฺ จ วิฏภิมารุยหฺ ดังนี้. มเี รอื่ งไดย ินวาวันหนง่ึ เม่ือพระอัครสาวกสองรปู นง่ัสนทนาปรารภการถามและการแกปญ หากนั พระแกร ปู หนง่ึไปหาทา นนง่ั เปนรปู ท่สี าม กลาววา นท่ี าน ผมจะถามปญ หา
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 210กะทา น แมท านกจ็ งถามขอสงสยั ของตนกะผมบาง. พระเถระรังเกยี จพระแกน ้นั ลกุ หลกี ไป. พวกบรษิ ัทที่นัง่ เพือ่ จะฟง ธรรมของพระเถระ จึงพากนั ไปเฝา พระศาสดา ในเวลาทกี่ ารประชุมลม เลกิ ไป เมอื่ พระองคตรัสถามวา ทําไมพวกเธอมาผดิ เวลาจึงกราบทลู เหตนุ น้ั ใหท รงทราบ. พระศาสดาตรสั วา ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย สารีบุตรและโมคคัลลานะรังเกยี จพระแกนนั้ ใชพดู จาดว ยแลว หลีกไป มใิ ชในบดั นเ้ี ทา นนั้ แมแตก อนก็พากนัหลกี ไป แลวทรงนําเรื่องในอดีตมาตรสั เลา . ในอดตี กาลคร้ังพระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัตอิ ยใู นกรุงพาราณสี พระโพธิสตั วไดถือกําเนิดเปน รกุ ขเทวดา อยใู นราวปา . ครง้ั น้ันลกู หงสส องตัวออกจากภเู ขาคิชฌกูฏ จบั ที่ตนไมน้ันแลวไปหาอาหาร เม่ือบินกลบั กพ็ กั อยูที่ตน ไมน ้ันเองแลวกลับไปภเู ขาคชิ ฌกฏู . เมอ่ื เวลาผา นไป หงสส องตวั กม็ คี วามคนุ เคยกบั พระโพธิสัตว. เมอ่ื บินผานไปมาตางก็ชน่ื ชมสนทนาธรรมกันและกนั แลวกห็ ลกี ไป. อยมู าวันหน่ึง เมอื่ หงสทัง้ สองจบั อยบู นยอดไมส นทนากบั พระโพธิสตั ว. สุนขั จิง้ จอกตัวหน่งึยนื อยูใ ตต นไมนัน้ เม่ือจะสนทนากบั ลูกหงสเ หลา นัน้ จึงกลาวคาถาแรกวา :- ทา นทั้งสองพากนั ขน้ึ ไปบนคาคบไมอ นั สูง อยูในที่ลับแลวปรกึ ษากนั เชิญทานลงมา ปรึกษากันในทตี่ าํ่ เถดิ พญาเน้ือจักไดฟ ง บาง.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 211 ในบทเหลานั้น บทวา อจุ ฺเจ วิฏภิมารยุ ฺห ความวา พากันขนึ้ ไปบนคา คบไมอ นั สูงตามปกติ คอื สงู กวา บนตนไมน ้ี. บทวามนตฺ ยวฺโห ไดแก ปรกึ ษากนั คอื คุยกนั . บทวา นีเจ โอรุยหฺไดแ ก เชญิ ลงมายนื ปรกึ ษากนั ในทต่ี ํา่ เถิด. บทวา มคิ ราชาปโสสสฺ ติ ไดแก สนุ ขั จงิ้ จอกพดู ยกตนเปน พญาเนือ้ . ลูกหงสท ง้ั สองรงั เกียจ จึงพากันบนิ ไปภูเขาคิชฌกฏู .ในเวลาที่หงสสองตวั กลับไป พระโพธิสตั วจ งึ กลา วคาถาท่ี ๒แกสนุ ัขจงิ้ จอกวา :- ครฑุ กบั ครุฑเขาปรกึ ษากัน เทวดากับ เทวดาเขาพดู กันในเรอื่ งน้ี จะมีประโยชนอ ะไร แกสนุ ขั จ้งิ จอก ผเู ลวทราม ๔ อยาง (สรีระ ๑ ชาติ ๑ เสียง ๑ คุณ ๑) เลา แนะ สนุ ขั จิ้งจอกผู ชาตชิ ่วั เจา จงเขา โพรงไปเถดิ . ในบทเหลานัน้ บทวา สปุ ณโฺ ณ แปลวา สัตวผ ูม ีปกงาม.บทวา สุปณเฺ ณน ไดแ ก ลกู หงสต วั ท่ีสอง. บทวา เทโว เทเวนไดแก สมมตลิ กู หงสท ั้งสองนน้ั เปนเทวดาปรกึ ษากัน. บทวาจตุมฏุ สฺส อธบิ ายตามตวั อักษรวา สนุ ัขจ้งิ จอกผูเลวทราม คอืบรสิ ทุ ธิ์ดว ยเหตุ ๔ อยา ง คือ สรรี ะ ๑ ชาติ ๑ เสยี ง ๑ คณุ ๑.พระโพธสิ ตั วเ ม่อื จะติเตยี นความไมบ ริสุทธดิ์ วยคาํ สรรเสรญิจงึ กลา วอยา งน.้ี ในบทนี้มอี ธบิ ายดังนวี้ า สุนัขจง้ิ จอกชัว่ ชาคือ ลามกดวยเหตุ ๔ ประการคืออะไร. บทวา วิล ปวิส คือ
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 212พระโพธสิ ตั วแ สดงอารมณอนั นา กลวั น้ี เมื่อจะไลสนุ ัขจ้ิงจอกใหหนีไปจึงกลา ว. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประชุมชาดก. ภิกษุแกใ นครงั้ นนั้ ไดเปน สนุ ัขจง้ิ จอกในคร้งั น้ี ลกู หงสสองตวั ไดเปน สารีบุตรและโมคคลั ลานะ สวนรุกขเทวดา คอื เราตถาคตน้แี ล. จบ อรรถกถาจตุมฏั ฐชาดกท่ี ๗
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 213 ๘. สีหโกฏุกชาดก ตัวเหมอื นราชสีหแตเ สียงไมเ หมือน [๒๒๕] ราชสหี ต ัวหน่ึง นิว้ ก็นิว้ ราชสหี เลบ็ ก็ เล็บราชสหี ยืนก็ยืนดว ยเทาราชสีห มีอยตู วั เดยี ว ในหมรู าชสหี ยอ มบรรลอื ดวยเสียงอกี อยา งหน่ึง. [๒๒๖] ดกู อ นเจา ผเู ปนบตุ รแหง ราชสหี เจา อยา บรรลือเสยี งอีกเลย จงมีเสยี งเบา ๆ อยูในปา เขาทง้ั หลายพึงรูจักเจาดว ยเสยี งนัน่ แหละ เพราะ เสยี งของเจา ไมเ หมอื นกับเสียงราชสีหผ เู ปน บิดา. จบ สีหโกฏุกชาดกที่ ๘ อรรถกถาสหี โกฏกุ ชาดกที่ ๘ พระศาสดาเมอ่ื ประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระโกกาลิกะตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี ําเริ่มตน วาสหี งฺคุลี สีหนโข ดงั น้.ี ไดยนิ วาวันหนง่ึ พระโกกาลกิ ะ เม่ือพระผูเปน พหสู ตู หลายรูปกาํ ลังสนทนาธรรมกันอยู ตนเองประสงคจ ะกลาวบาง. เรอ่ื งทั้งหมดพงึ พิสดารโดยนัยทีก่ ลาวแลว ในหนหลงั นัน้ แล.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 214 พระศาสดาคร้ันทรงสดับเรอื่ งนน้ั แลว จงึ รับสัง่ วา ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย โกกาลกิ ะเปด เผยดวยเสียงของตนมิใชใ นบดั น้ีเทา น้ัน แมแ ตกอ นก็เปดเผย แลว ทรงนาํ เรือ่ งอดตี มาตรัสเลา. ในอดตี กาลครั้งพระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบตั ิอยูใ นกรงุ พาราณสี ครั้งนนั้ พระโพธสิ ัตวถือกําเนิดเปน ราชสหี อยูอาศยั ในหิมวนั ตประเทศ สมจรกับนางสนุ ขั จง้ิ จอกตัวหนงึ่จงึ ไดล ูก. ลูกตัวนน้ั เหมือนกบั พอดว ยอาการเหลา นีค้ ือ นว้ิ เลบ็สรอ ยคอ สี และสัณฐาน แตเ สียงเหมอื นแม. อยมู าวนั หนงึ่เมือ่ ฝนตกขาดเม็ดแลว พวกราชสีห. เมือ่ เหลา ราชสหี บ รรลือสหี นาทเลนหยอกกันอยู มันกต็ อ งการบรรลือสีหนาทในระหวา งเหลาราชสหี น้นั บาง จงึ เปลง เสียงเหมือนแมส นุ ัขจ้งิ จอก. คร้ันฝงู ราชสหี ไดฟ ง เสยี งของมัน จงึ พากนั นิ่ง. ลกู ราชสีหร วมชาติของพระโพธสิ ตั วอ กี ตวั หนง่ึ ไดย นิ เสยี งของมนั แลว จงึ พดู วาพอราชสหี ต วั น้ีเหมือนเราดว ยสเี ปนตน แตเ สยี งของมัน ไมย กัเหมอื น มันเปนสตั วประเภทไหน เมื่อจะถามจงึ กลา วคาถาแรกวา :- ราชสหี ตัวน้นั นิ้วกน็ ้ิวราชสีห เล็บกเ็ ล็บ ราชสหี ยืนกย็ นื ดว ยเทาราชสีห มีอยตู ัวเดยี ว ในหมรู าชสหี ยอ มบรรลอื ดวยเสยี งอกี อยา งหนงึ่ . ในบทเหลา น้นั บทวา สหี ปาทปตฏิ โิ ต ไดแก ยนื ดว ยเทา ของราชสหี น ่นั เอง. บทวา เอโก นทติ อฺ ถา ความวา
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 215ตัวเดียวเทา นนั้ ออกเสียงเหมอื นสุนขั จ้ิงจอก ไมเหมอื นพวกราชสีหเหลา อ่นื ช่ือวาบรรลือดว ยเสยี งอีกอยา งหนง่ึ . พระโพธสิ ัตวไดส ดับคํานน้ั แลว จึงกลา ววา ดูกอ นลกู สัตวนเ้ี ปนพี่นองของลูก เปน ลกู ของนางสนุ ขั จง้ิ จอก มีรูปเหมือนเรามเี สยี งเหมือนแม แลว จึงเรียกลูกนางสุนขั จ้ิงจอกมาส่งั สอนวานแ่ี นลูก ตง้ั แตน ไี้ ป เมอื่ เจา จะอยูในท่นี ้ี จงอยเู งียบ ๆ ถา เจาเปลง เสียงอีก ราชสีหท ้ังหลายจะรูว าเจาเปน สุนัขจงิ้ จอก จงึกลา วคาถาที่ ๒ วา :- ดกู อนเจา ผูเ ปนบุตรราชสีห เจา อยา บรรลอื เสียงอกี เลย จงมเี สยี งเบา ๆ อยูในปา เขาทัง้ หลายพึงรจู ักเจาดว ยเสียงน้นั แหละ เพราะ เสียงของเจาไมเหมอื นกบั เสียงราชสีหผูเปน พอ. ในบทเหลา น้ัน บทวา ราชปุตตฺ คอื ลกู พญาสหี มฤค.ก็และลกู สนุ ัขจิ้งจอกน้ันครั้นฟงคาํ สอนนีแ้ ลวกไ็ มก ลา เปลงเสยี งอกี ตอ ไป. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประชุมชาดก. สนุ ัขจ้ิงจอกในคร้งั นัน้ ไดเปน โกกาลกิ ะ ในคร้งั น.ี้ ลกูราชสหี รว มชาตไิ ดเปนราหลุ สว นพญามฤค คอื เราตถาคตนแี้ ล. จบ อรรถกถาสีหโกฏกุ ชาดกที่ ๘
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 216 ๙. สีหจมั มชาดก ลาปลอมเปนราชสีห [๒๒๗] นี่ไมใชเสยี งบรรลือของราชสีห ไมใช เสียงบรรลอื ของเสือโครง ไมใ ชเสยี งบรรลอื ของเสือเหลือง ลาผูลามกคลมุ ตวั ดวยหนงั ราชสีหบรรลอื เสียง. [๒๒๘] ลาเอาหนงั ราชสีหคลมุ ตัว เท่ยี วกนิ ขา ว เหนยี วนานมาแลว รอ งใหเขารวู าเปน ตัวลา ได ประทษุ รายตนเองแลว . จบ สีหจมั มชาดกที่ ๙ อรรถกถาสหี จมั มชาดกที่ ๙ พระศาสดาเมอ่ื ประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภพระโกกาลกิ ะน่ันแล ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เรม่ิ ตนวา เนต สีหสสฺ นทติ ดังน้.ี ในเวลานน้ั พระโกกาลิกะประสงคจะกลาว สรภัญญะ.พระศาสดาทรงสดบั เร่ืองนัน้ แลว จึงทรงนาํ เรอ่ื งอดตี มาตรัสเลา. ในอดตี กาลครง้ั พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัติอยใู นกรุงพาราณสี พระโพธสิ ตั วอ บุ ัตใิ นตระกลู ชาวนา คร้ันเจริญ
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 217วยั หาเลี้ยงชีพดว ยกสิกรรมนน่ั เอง. ในกาลนน้ั มีพอ คาคนหนึ่งเที่ยวทําการคา ดวยการบรรทุกสินคา บนหลังลา. พอ คานัน้ ขนสินคาลงจากหลงั ลาในท่ีท่ีไปถึง แลวเอาหนงั ราชสีหคลมุ ลาปลอ ยไปหากิน ทน่ี าขา วสาลแี ละขาวเหนียว. คนรักษานาเห็นแลว ไมอาจเขา ใกลดวยเขา ใจวาเปนราชสีห. อยมู าวนั หนง่ึพอคา นั้น พักอยทู ี่ประตูบานแหงหน่ึง หงุ อาหารเชา แตน ัน้ จึงเอาหนังราชสีหคลุมหลังลา ปลอ ยไปหากนิ ในนาขาวเหนียว.พวกเฝา นาเห็นมันเขา ก็ไมอาจเขาใกลม ันได ดวยสําคญั วาเปนราชสหี จึงพากันกลับไปเรอื น. พวกชาวบา นท้งั หมด ตางถอื อาวธุ เปาสังข รวั กลอง โหรองไปยังทีใ่ กลน า. ลากลัวตายจงึ เปลง เสยี งเปนเสยี งลา. ครนั้ พระโพธิสัตวร ูวามนั เปน ลา จงึกลาวคาถาแรกวา :- นมี่ ใิ ชเ สียงบรรลอื ของราชสีห ไมใชเ สียง บรรลอื ของเสอื โครง ไมใ ชเ สียงบรรลอื ของเสือ เหลือง ลาผลู ามกคลุมตวั ดวยหนงั ราชสีหบ รรลอื เสียง. ในบทเหลา นั้น บทวา ชมโฺ ม แปลวา ลามก. แมพ วกชาวบา นกร็ วู า มันเปนลา จึงพากันโบยใหล ม ลง กระดูกหักแลวเอาหนังราชสหี ไป. ครั้นพอคาน้นั มาเห็นลาถงึ ความบอบชา้ํจึงกลาวคาถาท่ี ๒ วา :-
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 218 ลาเอาหนังราชสหี คลุมตวั เที่ยวหากิน ขา วเหนียวนานมาแลว รองใหเ ขารวู า เปน ลา ไดประทษุ รา ยตนเองแลว . ในบทเหลาน้นั บทวา ต เปนเพยี งนบิ าต. อธบิ ายวาลานี้ไมใหเขารูวาตวั เปน ลา จงึ เอาหนงั ราชสหี มาคลุม กินขาวเหนยี วออ นมาเปน เวลานาน. บทวา รวมาโน ว ทสู ยิ ความวา เม่ือรอ งเสียงเปน ลาก็ประทุษรายตนเอง. มิใชความผิดของหนังราชสีห. เม่อื พอ คานนั้ กลา วอยา งนเ้ี สร็จแลว ลาก็นอนตายในที่นั้นเอง. แมพอ คากท็ ิง้ ลากลบั บา น. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประชมุชาดก. ลาในครัง้ น้นั ไดเปนพระโกกาลิกะในครง้ั น.้ี สว นชาวนาบณั ฑติ คือเราตถาคตน้ีแล. จบ อรรถกถาสีหจมั มชาดกที่ ๙
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 219 ๑๐. สลี านสิ ังสชาดก วาดวยอานิสงสศลี [๒๒๙] จงดผู ลของศรทั ธา ศลี และจาคะ น้เี ถดิ พระยานาคนริ มติ เพศเปน เรอื พาอุบาสกผมู ี ศรทั ธาไป. [๒๓๐] บุคคลพึงสมาคมกบั สัตบุรษุ ทง้ั หลายเถดิ พงึ ทาํ ความสนิทสนมกบั สตั บรุ ุษทง้ั หลายเถิด ดวยวาชา งกลั บกถึงความสวสั ดไี ด ก็เพราะการ อยรู วมกบั สตั บรุ ุษทง้ั หลาย. จบ สลี านสิ งั สชาดกท่ี ๑๐ อรรถกถาสลี านิสังสชาดกท่ี ๑๐ พระศาสดาเม่ือประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภอุบาสกผมู ศี รัทธาคนหน่ึง ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคําเร่ิมตนวา นสฺส สทธฺ าย สลี สฺส ดงั นี.้ ไดยินวา อบุ าสกน้นั เปนอริยสาวกผูมีศรัทธา เลอ่ื มใสวันหนง่ึ เดนิ ไปยงั พระวิหารเชตวนั ถงึ ฝงแมนา้ํ อจริ วดีในตอนเยน็เมอ่ื คนเรอื จอดเรือไวท่ีฝง ไปฟงธรรม ไมพายเรอื ท่ที าน้ํา จึงยึดปต ิมพี ระพุทธเจา เปนอารมณใ หมนั่ ลงสูแมน ้ํา. เทาของเขา
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 220หาจมน้าํ ไม. เขาเห็นคลืน่ เวลาเดินไปกลางน้าํ คลายกับเดินเหนอื พน้ื ดิน. คร้ันปต ิมีพระพุทธเจา เปนอารมณของเขาออนลง.เทาของเขากเ็ รม่ิ จะจม. เขาจงึ ประคองปต ิมีพระพทุ ธเจา เปนอารมณใหมน่ั เดนิ ไปหลังนํ้า ถงึ พระเชตวนั ถวายบังคมพระ-ศาสดา นงั่ ณ สวนหน่งึ พระศาสดาทรงทาํ ปฏสิ นั ถารกบั เขาตรสั ถามวา ดกู อ นอบุ าสก ทา นเดินทางมาถงึ โดยเหนด็ เหนอ่ื ยนอ ยกระมัง เมือ่ เขากราบทลู วา ขา แตพ ระองคขา พระองคยึดเอาปต ิมพี ระพทุ ธเจา เปน อารมณ จึงไดทพี่ ึง่ เหนอื หลงั น้ําคลายกบั เหยยี บแผนดินมา จงึ รบั สงั่ วา อบุ าสก มิใชท า นเทาน้นัที่ระลกึ ถึงพระพทุ ธคุณแลว ไดทพ่ี ่งึ แมแ ตก อ นอุบาสกทัง้ หลายกร็ ะลกึ ถึงพระพทุ ธคณุ ไดที่พึ่ง เม่อื เรอื อบั ปางกลางสมทุ ร เม่ือเขาทลู อาราธนาจงึ ทรงนําเรอื่ งอดตี มาตรสั เลา . ในอดีตกาล ครงั้ ศาสนาพระกสั สปสมั มาสมั พทุ ธเจาพระอริยสาวกผเู ปน โสดาบนั โดยสารเรือไปกับกุฎมพีชา งกัลบกคนหน่งึ . ภรรยาของชางกัลบกน้นั มอบหมายชางกลั บกแกเขาวา นาย สขุ ทกุ ขของสามีของดิฉัน ขอมอบใหเปนภาระของทานครนั้ ถงึ วันท่เี จด็ เรอื ของกฎุ ม พีชางกัลบกอบั ปางลงในกลางสมุทรชนทั้งสองเกาะแผน กระดานแผน หนง่ึ ลอยมาถึงเกาะแหงหน่งึ .ชา งกัลบกนัน้ จงึ ฆานกปง กนิ แลว ใหอ บุ าสก. อบุ าสกไมย อมบริโภค โดยกลา ววา อยา เลยสําหรบั เรา. อุบาสกคิดวา ในที่นี้นอกจากพระรัตนตรัยแลว ไมมที ่ีพึง่ อน่ื สาํ หรับเรา. เขาจึง
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 221ระลกึ คณุ ของพระรตั นตรยั . ลาํ ดับนนั้ เมือ่ เขากาํ ลงั ระลึกถงึพญานาคซึ่งเกดิ ในเกาะน้นั จงึ เนรมิตรางของตนเปน เรือลาํ ใหญมีเทวดาประจาํ สมุทรเปนมาณพตนหนเรอื . เรอื เต็มไปดว ยรัตนะเจ็ดประการ. เสากระโดงทัง้ สาม สาํ เรจ็ ดว ยแกว มณีสีอินทนิล ใบเรอื สําเร็จดวยทอง เชอื กสําเรจ็ ดว ยเงนิ คันใบสําเร็จดวยทอง. เทวดาประจําสมทุ รยนื อยูบนเรอื ประกาศวา ผจู ะไปชมพทู วีปมีไหม. อุบาสกตอบวา เราจะไป. ถาเชนนัน้ จงมาข้นึเรอื เถิด. อุบาสกข้นึ เรือแลวเรียกชา งกัลบกขึน้ ดวย. เทวดาประจําสมทุ รกลา ววา ไดแ ตท านเทานัน้ คนนนั้ ไมได. อบุ าสกถามวา เพราะเหตไุ รเลา. เทวดาประจาํ สมุทรตอบวา เขาไมม คี ุณ คอื ศลี และอาจาระ เหตเุ ปนดังนั้น ขา พเจา นาํ เรือมาเพื่อทา น มใิ ชผ นู .ี้ เอาละเราใหส ว นแกค นน้ดี ว ยทานทต่ี นใหดวยศลี ทต่ี นรกั ษา ดว ยภาวนาท่ตี นอบรม. ชา งกัลบกตอบวาขา พเจา ขออนโุ มทนา. เทวดากลาววา ขาพเจาจักพาไปเดยี๋ วน้ีแลว อมุ เขาพาไปทง้ั สองคน ออกจากสมทุ รไปถึงกรงุ พาราณสีทางแมนํา้ บนั ดาลใหท รพั ยอ ยใู นเรือนของเขาทง้ั สอง ดว ยอานภุ าพของตน เมื่อจะกลา วถึงคุณของการสงั สรรคกับบัณฑติวา ควรทําความสงั สรรคกบั บัณฑิตทง้ั หลาย หากวา ชา งกลั บกคนนไ้ี มไดส ังสรรคก บั อุบาสกนี้ จกั พนิ าศในทา มกลางสมุทรนน้ั เอง จึงกลาวคาถาเหลา นวี้ า :-
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 222 จงดผู ลของศรัทธา ศลี จาคะ นีเ้ ถิด พญานาคเนรมิตเพศเปน เรอื พาอบุ าสกผูม ี ศรัทธาไป. บคุ คลพึงสมาคมกบั สตั บรุ ุษเถดิ พึงทํา ความสนิทสนมกบั สตั บุรุษเถิด ดวยชา งกลั บก ถงึ ความสวสั ดไี ดก็เพราะการอยูร ว มกบั สตั บุรษุ ทัง้ หลาย. ในบทเหลา นนั้ บทวา ปสสฺ ไดแ ก เรยี กวา จงดเู ถดิไมก ําหนดใคร ๆ. บทวา สทธาย คอื ดวยโลกยิ ศรัทธา และโลกตุ ตรศรทั ธา. แมใ นศีลก็มนี ยั น้ีเหมอื นกัน. บทวา จาคสสฺไดแก บรจิ าคไทยธรรมและบรจิ าคกเิ ลส. บทวา อย ผล ไดแ กนี้เปน ผล คอื เปนคณุ เปน อานิสงส. อีกอยางหน่ึงพงึ เหน็ ความอธิบายในบทนอี้ ยางนว้ี า จงดผู ลของการบริจาคเถดิ พญานาคนแ้ี ปลงเพศเปนเรือ. บทวา นาวาย วณฺเณน คือดวยสณั ฐานเรือ.บทวา สทธฺ คือ มศี รัทธาตงั้ อยูใ นพระรัตนตรยั . บทวา สพภฺ เิ รวคือ พวกบัณฑิตน่นั เอง. บทวา สมาเสถ ไดแ ก พงึ กระทาํบทวา สนฺถว ไดแก สนทิ สนมฐานมติ ร. แตไมค วรทําความสนิทสนมดว ยตัณหากบั ใคร ๆ. บทวา นหาปโต ไดแก กฎุ ม พีชางกลั บก. บาลีวา นฺหาปโต ก็มี. เทวดาประจาํ สมทุ ร ยนื อยูบนอากาศ แสดงธรรมกลา วสอนอยา งนแี้ ลว จึงพาพญานาคกลบั ไปวมิ านของตน.
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 223 พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประกาศสัจธรรม แลวทรงประชมุ ชาดก. ในเวลาจบสัจธรรมอบุ าสกตงั้ อยใู นสกทาคามิผล. อบุ าสกโสดาบนั ในกาลนนั้ ครั้นเจรญิมรรคใหย ิง่ ๆ ข้ึนไปก็นพิ พาน. พญานาคไดเปน สารบี ุตร สว นเทวดาประจําสมุทร คือเราตถาคตน้ีแล. จบ อรรถกถาสีลานิสังสชาดกที่ ๑๐ รวมชาดกท่มี ใี นวรรคน้ี คือ ๑. อสทิสชาดก ๒. สงั คามาวจรชาดก ๓. วาโลทกชาดก๔. คิรทิ ตั ตชาดก ๕. อนภิรติชาดก ๖. ทธวิ าหนชาดก ๗. จต-ุมฎั ฐชาดก ๘. สีหโกฏุกชาดก ๙. สีหจมั มชาดก ๑๐. สีลา-นสิ งั สชาดก. จบ อสทิสวรรคท่ี ๔
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 224 ๕. รุหกวรรค ๑. รหุ กชาดก [๒๓๑] ดกู อ นพอรหุ กะ สายธนถู งึ ขาดแลวกย็ งั ตอ กันไดอ ีก ทา นจงคืนดีกนั เสยี กบั ภรรยาเกา เถิด อยาลุอํานาจแกค วามโกรธเลย. [๒๓๒] เมื่อปา นออ นยังมอี ยู ชางทาํ กย็ งั มีอยู ขาพระบาทจกั กระทําสายอ่ืนใหม พอกนั ที สาํ หรบั สายเกา . จบ รุหกชาดกท่ี ๑ อรรถกถารุหกวรรคท่ี ๕ อรรถกถรหุ กชาดกที่ ๑ พระศาสดาเม่อื ประทบั อยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภการเลา โลมของภรรยาเกา ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี ําเรม่ิ ตน วา อมฺโภ รุหกจฺฉินฺนาป ดงั น.ี้ เรือ่ งราวจักมแี จง ในอนิ ทริยชาดกในอฏั ฐกนบิ าต. กใ็ นเรอื่ งนพ้ี ระศาสดาตรัสกะภิกษนุ ้ันวา ดกู อนภกิ ษุหญิงคนน้ที าํ ความพินาศใหแกเ ธอ แมเ มอ่ื กอ นหญงิ คนน้ีกไ็ ด
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 225ทําอาการใหเธออาย ในทา มกลางบรษิ ทั พรอ มท้ังพระราชาแลวออกจากเรือนไป แลวทรงนําเร่อื งอดีตมาตรัสเลา . ในอดีตกาลครัง้ พระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบัติอยูใ นกรงุ พาราณสี พระโพธิสตั วท รงบงั เกดิ ในครรภข องพระอัครมเหสีของพระองค คร้นั ทรงเจรญิ วยั เมอื่ พระชนกสวรรคตแลวทรงดํารงอยใู นราชสมบัติ ทรงครองราชยโดยธรรม. พระองคมปี ุโรหติ คนหนงึ่ ชอื่ รหุ กะ. ภรรยาของรุหกะช่ือ ปรุ ณพี ราหมณ.ีพระราชาพระราชทานมา ประดับเครอ่ื งอลงั การแกพราหมณ.เขาข่ีมาไปทําราชการ. ลําดบั นัน้ ประชาชนผยู ืนอยใู นท่นี ั้น ๆเหน็ เขานง่ั บนหลังมาท่ปี ระดับแลวผานไปมาอยู จึงสรรเสรญิมาเทานน้ั วา แมเจาโวยมา นงี้ ามอยางประหลาด. รุหกปุโรหิตมาถงึ เรอื น ข้นึ เรอื นเรียกภรรยามาพดู วา นนี่ อ งมาของเรางามเหลือเกิน ประชาชนท่ียนื อยูท้ังสองขาง สรรเสริญแตมาของเราเทา นน้ั . ฝา ยพราหมณนี ัน้ เปน หญงิ คอนขา งจะเปนชาตินักเลง เหลาะแหละ เพราะฉะน้ันนางจงึ ตอบเขาอยา งนีว้ านายทา นไมร เู หตุทีท่ ําใหม างาม มา ตวั นี้งามเพราะอาศยั เครื่องมา ทป่ี ระดบั ไวท ี่ตวั . หากทานประสงคจ ะงามเหมือนมา จงประดับเคร่อื งมาแลวข้นึ ไป ระหวา งถนน แลว ซอยเทาเหมือนมาไปเฝา พระราชา. แมพระราชากจ็ ักยกยอ งทา น แมพวกมนุษยก็จักสรรเสรญิ ทานเทานน้ั . รุหกปโุ รหติ เปน พราหมณคอนขา งบา ๆ บอ ๆ ฟง คําของพราหมณี กไ็ มรูวา นางพูดกะเราเพราะ
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 226เหตนุ ี้ มงุ แตจะงามจึงไดทําตามนน้ั . พวกมนษุ ยที่เหน็ ตางพากนัพูดเยยหยันวา อาจารยง าม. สว นพระราชารับสง่ั กะเขาเปนตนวา อาจารยจิตใจไมปกติไปแลวหรือ เปน บา ไปแลวหรอื แลวทรงทําใหป ุโรหิตละอาย. ในกาลนน้ั พราหมณละอายวา เราทาํ สงิ่ อนั ไมส มควรเสียแลว จึงเกรย้ี วกราดนางพราหมณีวา เราถูกนางทําใหไดอายในระหวางเสนากบั พระราชาน้นั เราจกั โบยตีนางแลวขบั ไลนางไปเสีย แลว กลับไปเรือน นางพราหมณีนักเลงรูวา สามโี กรธกลบั มา จึงออกไปทางประตเู ลก็ กอนแลวไปพระราชวงั พกัอยใู นพระราชวงั สห่ี าวนั . พระราชาทรงทราบเหตนุ ้นั จงึ รับส่งั ใหเรียกปโุ รหิตมาตรัสวา อาจารย ธรรมดาสตรยี อ มมีความผิดไดเ หมอื นกนั ควรยกโทษใหน างเสยี เถดิ เพ่อื ใหปุโรหติยกโทษจึงตรสั คาถาแรกวา :- ดูกอนรุหกะ สายธนถู งึ ขาดแลว กย็ งั ตอ กันไดอกี ทา นจงคนื ดีเสียกับภรรยาเกาเถิด อยา ลุอํานาจความโกรธเลย. ความยอ ในคาถาน้ันมีดังน้ี รหุ กะผูเ จริญ สายธนูแมข าดแลว ก็ยังยัง คือทําใหต ิดกนั ไดม ิใชหรอื ทา นกเ็ หมือนกันควร สมัครสมานกับภรรยาเกาเสียเถิด อยา ลอุ ํานาจ ความโกรธเลย.
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 227 รุหกะไดส ดบั พระราชาดาํ รัสดงั น้นั จงึ กลาวคาถาท่ี ๒ วา เมื่อปานออนยงั มอี ยู ชา งทาํ กย็ งั มีอยู ขา พระบาทจักกระทาํ สายอนื่ ใหม พอกนั ที สาํ หรับสายเกา . ใจความแหงคาถานนั้ วา ขา แตม หาราช เมอื่ ปานออ นยงั มแี ละเมอ่ื ชา งทาํ ยงั มี ขาพระองคจ กั ทาํ สายอื่น ไมตองการสายเกา ท่ีขาดแลว นี้ ไมมปี ระโยชนอ ะไรสําหรับขาพระองค. ก็และครน้ั ปโุ รหติ กราบทลู อยา งน้ีแลว จงึ ไลนางพราหมณีออกไป นํานางพราหมณีอ่นื มา. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประกาศสัจธรรม แลวทรงประชุมชาดก. เม่ือจบสจั ธรรม ภกิ ษุกระสนัตัง้ อยูในโสดาปต ติผล. นางปรุ าณใี นครงั้ นั้น ไดเปน ภรรยาเกาในคร้งั น้ี รหุ กะไดเปน ภิกษกุ ระสนั สวนพระราชาพาราณสีคอื เราตถาคตนแี้ ล. จบ อรรถกถารหุ กชาดกที่ ๑
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 228 ๒. สริ ิกาฬกัณณิชาดก วา ดวยสริ กิ ับกาฬกรรณี [๒๓๓] หญิงทมี่ รี ปู งาม ทง้ั มศี ีลาจารวตั ร บรุ ุษ ไมพงึ ปรารถนาหญงิ นัน้ ทานเช่ือไหมมโหสถ. [๒๓๔] ขาแตมหาราชะ ขา พระบาทเชอ่ื บรุ ุษ คงเปน คนตํา่ ตอ ย สิริกบั กาฬกรรณยี อมไมสม กันเลยไมว าในกาลไหน ๆ. จบ สริ ิกาฬกัณณชิ าดกท่ี ๒ อรรถกถาสิริกาฬกัณณกิ ชาดกท่ี ๒ สริ ิกัณณิชาดกนี้ มีคําเรม่ิ ตนวา อติ ถฺ ี สยา รูปวตี ดังนี้จักมแี จงในมหาอุมมงั คชาดก. จบ อรรถกถาสริ ิกาฬกณั ณชิ าดกท่ี ๒
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 229 ๓. จุลลปทมุ ชาดก วา ดว ยการลงโทษหญงิ ชายทาํ ชูกัน [๒๓๕] หญิงคนน้ีแหละ คอื หญิงคนนัน้ ถงึ เราก็ คอื บรุ ษุ คนน้นั ไมใชค นอื่น บรุ ษุ คนนแ้ี หละที่ หญงิ คนน้อี างวา เปน ผัวของนางมาต้ังแตเ ปน กุมารี กค็ ือบรุ ษุ ทถ่ี กู ตดั มอื หาใชคนอ่นื ไม ข้ึน ชือ่ วา หญิงท้ังหลายควรฆา เสียใหหมดเลย ความ สัตยไมมีในหญงิ ทง้ั หลาย. [๒๓๖] ทา นทงั้ หลายจงฆา บรุ ษุ ผชู ่ัวชาลามกราว กบั ซากผี มกั ทาํ ชกู บั ภรรยาผูอื่นคนน้ี เสยี ดวย สาก จงตดั หตู ัดจมูกของหญิงผปู รนนิบัตผิ วั ชวั่ ชาลามกคนนเ้ี สยี ท้งั เปน ๆ เถดิ . จบ จุลลปทุมชาดกท่ี ๓ อรรถกถาจุลลปทมุ ชาดกท่ี ๓ พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภกิ ษผุ ูกระสนั ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เรม่ิ ตนวาอยเมว สา อหมฺป โส อนฺโ ดังนี้.
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 230 เรอื่ งราวจักมีแจง ในอมุ มาทันตีชาดก. กใ็ นเร่อื งน้ี ภกิ ษุนั้นเม่ือพระศาสดาตรสั ถามวา ไดยินวาเธอกระสนั จรงิ หรอื กราบทลู วา จรงิ พระเจา ขา ตรสั ถามวากใ็ ครทําใหเธอกระสนั เลา กราบทูลวา ขา แตพ ระองคผ เู จรญิ ขาพระพทุ ธเจา เห็นมาตุคามคนหนึง่ ตกแตง อยางสวยงาม แลวตกอยูในอํานาจกิเลสจงึ กระสัน พระศาสดาจึงตรัสวา ดกู อ นภกิ ษุขนึ้ ชอ่ื วา มาตุคามมักอกตัญู ประทษุ รายมติ ร มีดวงใจกระดา งแมโบราณกบัณฑิต ใหดื่มโลหิตทเี่ ขาขวาของตน บรจิ าคทานตลอดชวี ดิ ยังไมไ ดด ังใจของมาตคุ าม แลว ทรงนาํ เรื่องอดีตมาตรัสเลา. ในอดีตกาลคร้ังพระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยูในกรงุ พาราณสี พระโพธิสตั วท รงอบุ ัติในพระครรภของพระ-อคั รมเหสีของพระองค. ในวันขนานพระนาม ไดรบั พระราชทานนามวา ปทุมราชกุมาร. พระปทมุ ราชกมุ าร ไดมพี ่นี องอกี หกพระองค. ท้งั เจด็ พระองคน นั้ เจรญิ พระชนมขน้ึ โดยลาํ ดับครองฆราวาส ทรงประพฤตเิ ยี่ยงพระราชา. อยูมาวนั หน่ึงพระราชาประทับทอดพระเนตรพระลาน-หลวง ทรงเห็นพระราชกมุ ารพี่นอ งเหลานัน้ มีบริวารมากพากนั มาปฏิบตั ิราชการ ทรงเกิดความระแวงวา ราชกุมารเหลา นีจ้ ะพึงฆาเราแลว ชิงเอาราชสมบตั ิ จึงตรัสเรียกพระ-ราชกมุ ารเหลา น้นั มารบั สัง่ วา ลกู ๆ ทงั้ หลาย พวกเจา จะอยู
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 526
Pages: