Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_72

tripitaka_72

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:44

Description: tripitaka_72

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ที่ 1 พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย อปทาน๑ เลม ท่ี ๙ขอนอบนอ มแดพ ระผูมีพระภาคอรหนั ตสัมมาสมั พุทธพระองคน้ัน ภัททาลวิ รรคท่ี ๔๒ ๓. เถราปทาน ภัททาลเิ ถราปทานที่ ๑ (๔๑๑) วา ดว ยผลแหง การมงุ มณฑปดว ยดอกรัง [๑] พระสมั มาสมั พุทธเจาพระนามวา สุเมธะ ผเู ลิศ ประกอบดวยพระกรณุ า เปนมุนี ปรารถนาความวเิ วก เลศิ ในโลกไดเ สด็จเขา ไปยัง ปา หิมพานต คร้ันแลว พระสเุ มธสมั มาสัมพุทธเจา ผูนาํ โลก พระเสริฐกวาบรุ ุษ ไดป ระทบั นัง่ ขดั สมาธิ พระพทุ ธเจาผูนําโลก พระนามวาสเุ มธะผูสูงสดุ กวาบรุ ษุ พระองคป ระทบั น่ังขัดสมาธอิ ยู ๗ คืน ๗ วัน เราถือหาบเขา ไปกลางปา ณ ที่นน้ั เราได เหน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ผขู า มโอฆะไดแ ลว ไมมีอาสวะ๑. บาลเี ลมท่ี ๓๓

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ที่ 2 คร้งั น้ัน เราจับไมก วาด กวาดอาศรมปก ไมสอ่ี ันทาํ เปน มณฑป เราเอาดอกรงั มานงุ มณฑป เราเปนผมู จี ติเลื่อมใส โสมนัส ไดถวายบงั คมพระผูนาํ โลกแลว พระสัมมาสมั พทุ ธเจาพระนามวา สุเมธะทชี่ นท้ังหลายกลา วกนั วา มีพระปญญาดังแผนดนิมีพระปญญาดี ประทบั นัง่ ณ ทามกลางพระภกิ ษุสงฆไดต รัสพระคาถาเหลา น้ี เทวดาทงั้ ปวงทราบวาพระพุทธเจา จะเปลง วาจา จึงพากันมาประชุมดวยคดิ วา พระพทุ ธเจาผปู ระเสรฐิ สุด มพี ระจกั ษุ จะทรงแสดงพระธรรมเทศนาโดยไมตอ งสงสยั พระสมั พทุ ธเจา พระนามวา สุเมธะ ผสู ม-ควรรบั เครอื่ งบูชา ประทับนั่งในหมูเทวดา ไดตรัสพระคาถาดังตอ ไปนี้ ผูใ ดทรงมณฑป มีดอกรงั เปน เครอื่ งมุงแกเราตลอด ๗ วัน เราพยากรณผ นู นั้ ทานท้ังหลายจงฟง เรากลาว ผูนนั้ เกดิ เปน เทวดาหรือมนุษย จักเปนผมู ีผวิ พรรณเหมือนทองคาํ จกั มีโภคทรพั ยลนเหลือ บริโภคกาม ชา งมาตังคะ ๖ หม่นื เชือกประดบั ดว ยเครอ่ื งอาภรณทุกชนดิ รดั ปะคน และพานหนา

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 3พานหลังลว นทองกอปรดว ยเคร่อื งประดบั ศรี ษะและขา ยทอง มีนายหัตถาจารยผูมีมือถือหอกซัดและขอขึ้นข่ีประจาํ จักมาสูที่บํารงุ ผนู ั้นทัง้ เวลาเยน็ เวลาเชา ผนู ี้จักเปนผูอันชางเหลา น้ันแวดลอมแลวร่ืนรมยอยู สินธพอาชาไนยโดยกําเนิด ๖ หมนื่ มาประดบั ดว ยเคร่ืองอลังการทุกอยา งเปน พาหนะวอ งไว มอี ัศวาจารยผูส วมเกราะถอื ธนขู ึ้นข่ปี ระจาํจักแวดลอมอยเู ปน นติ ย น้เี ปน ผลแหง พทุ ธบชู า รถ ๖ หมื่นคันประดบั ดวยสรรพาลงั การหุม ดว ยหนังเสอื เหลอื งบาง ดวยหนงั เสอื โครง บางมธี งปกหนา รถ มีคนขับถือธนูสวมเกราะขึ้นประจํา จักแวดลอ มผนู ้ีอยเู ปน นติ ย นี้เปน ผลแหงพทุ ธบชู า บาน ๖ หมนื่ บริบูรณดว ยเครอ่ื งใชทกุ สง่ิมที รพั ยและขาวเปลอื กลนเหลือ บรบิ รู ณดที กุประการ จกั มปี รากฏอยูทุกเมอ่ื นเ้ี ปนผลแหงพุทธบชู า เสนาสี่เหลา คอื กองชา ง กองมา กองรถ กองราบ จกั แวดลอ มผนู ้ีอยเู ปน นติ ย นเี้ ปนผลแหง พทุ ธบูชา

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 4 ใน ๑๘,๐๐๐ กปั ผนู ้ีจักร่ืนรมยอยใู นเทว-โลก จักไดเปนพระเจา จักรพรรดิ ๑,๐๐๐ ครง้ัและจกั เสวยรัชสมบตั ิในเทวโลก ๓๐๐ คร้ัง จักไดเปน พระเจาประเทศราชอนั ไพบูลยโ ดยคณานบัไมถวน ในกัปท่ี ๓๐,๐๐๐ แตกัปนี้ พระศาสดามีพระนามชอ่ื วา โคดม ซ่ึงสมภพในวงศพ ระเจาโอกกากราชจักเสดจ็ อบุ ัตขิ ้นึ ในโลก ขาพระองคเปน ทายาทในธรรมของพระ-องคทาน เปนโอรสอนั ธรรมนริ มิตแลว กาํ หนดรอู าสวะทัง้ ปวงแลว เปนผูไมมอี าสวะอยู ในกปั ที่ ๓๐,๐๐๐(แตก ัปน)ี้ ขา พระองคไดเ ห็นพระศาสดาผนู าํ โลก ในระหวา งนี้ ขา พระ-องคไดแสวงหาอมฤตบท การทขี่ าพระองคร ูศาสนธรรมนี้ เปนลาภของขาพระองค ขา พระองคไดด แี ลว วิชชา ๓ขา พระองคบ รรลแุ ลว โดยลําดับ พระพทุ ธศาสนาขา พระองคท ําเสร็จแลว ขาแตพ ระองคผ เู ปนบรุ ษุ อาชาไนย ขา พระองคขอนอบนอ มแดพระองค ขาแตพ ระองค ผสู งู สดุ กวา บรุ ุษ ขา พระองคข อนอบนอ มแด พระองค ขาพระองคไดบ รรลุอมฤตบท เพราะกลาวสดดุ พี ระพุทธญาณ

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ที่ 5 ขาพระองคเขาถึงกําเนิดใดๆ คอื จะเปน เทวดาหรือมนษุ ย ยอมเปน ผูม คี วามสุขในทุก สถาน น้ีเปน ผลในการทท่ีขา พระองค กลาวสดดุ ี พระพทุ ธญาณ นีเ้ ปน การเกดิ ครง้ั หลงั ของขาพระองค ภพสดุ ทา ยกาํ ลงั เปน ไปอยู ขาพระองคตดั กเิ ลส เครื่องผูก ดังชางตดั เชือกแลว เปนผไู มมีอาสวะ อยู ขาพระองคเผากิเลสท้ังหลายแลว ถอน ภพข้ึนไดท ง้ั หมดแลว ตดั กิเลสเคร่อื งผกู ดังชาง ตัดเชือกแลว เปนผูไมมอี าสวะอยู การทีข่ า พระองคไดมาในสาํ นักของพระ- พุทธเจา ของขาพระองคน ้ี เปนการมาดแี ลว หนอ วิชชา ๓ พระองคบ รรลุแลว โดยลําดับ คําสอน ของพระพุทธเจา ขาพระองคไดทาํ เสร็จแลว คณุ วิเศษเหลา นี้ คือ ปฏสิ ัมภิทา ๔ วโิ มกข ๘ และอภิญญา ๖ ขา พระองคไดท ําใหแจง แลว คําสอนของพระพุทธเจา ขาพระองคไ ดท ํา เสรจ็ แลว ดังนี้. ทราบวา ทา นพระภัททาลิเถระไดภ าษิตคาถาเหลาน้ี ดว ยประการฉะนแ้ี ล. จบภัททาลิเถราปทาน

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 6 เอกฉตั ติยเถราปทานท่ี ๒ (๔๑๒)วา ดวยแหง การกางเศวตฉัตรถวายพระพทุ ธเจา [๒] ขา พระองคไดสรา งอาศรม ซึ่งมี ทรายสขี าวสะอาดเกลื่อนกลน ใกลแ มน ้าํ จนั ทภาคา และไดส รางบรรณศาลาไว แมนํ้าจนั ทภาคานนั้ เปนแมนา้ํ ทม่ี ฝี งลาด มที าน้ําราบเรียบ นา รื่นรมย สมบูรณด ว ยปลาและเตา อนั จระเขเสพอาศยั หมี นกยูง เสือเหลือง นกการะเวก และนกสาริกา ร่ํารองอยูท กุ เวลา ชว ยทาํ อาศร ของขา พระองคใ หงดงาม นกดุเหวาเสียงหวาน และหงสมีเสียง เสนาะรองอยใู กลอ าศรมนั้น ชว ยทาํ อาศรมของ ขาพระองคใ หง ดงาม ราชสีห เสอื โครง หมู นกยาง หมาปา และหมาใน บันลือเสยี งอยทู ช่ี อ งเขา ชวยทํา อาศรมของขาพระองคใ หงดงาม เนื้อทราย กวาง หมาจ้ิงจอก สุกร มมี าก บันลือเสียงอยทู ี่ชองเขา ชวยทําอาศรมของขา- พระองคใหง ดงาม ตน ราชพฤกษ ตน จําปา ไมแ คฝอย ไม ยางทราย ไมอุโลก และตนอโศก ชว ยทาํ อาศรม ของขาพระองคใหงดงาม

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 7 ตน ปรู ตน คดั เคา ตนตนี เปด เถาตาํ ลึงตนคนทสี อ ไมก รรณิการ ออกดอกอยใู กลอาศรมของขา พระองค ไมกากะทิง ตน รัง และตน สนบวั ขาว ดอกบานสะพร่ัง ใกลอาศรมนั่น กลิ่นหอมฟุงไป ชวยทําอาศรมของขาพระองคใ หงดงาม และท่ีใกลอาศรมนน้ั มไี มโ พธ์ิ ไมประดูไมส ะทอ น ตนรงั และไมประยงค ดอกบานสะพรงั่ ชวยทาํ อาศรมของขาพระองคใหงดงาม ตนมะมวง ตนหวา ตนหมากหอมควายตน กระทมุ ตน รังท่งี ดงาม มกี ล่นิ หอมฟุง ขจรไปยอมทําอาศรมของขา พระองคใ หงดงาม ตน อโศก ไมมะขวิด และตนภคิมมิ าลาดอกบานสะพร่ัง มีกลนิ่ หอมฟุงขจรไป ยอ มทาํอาศรมของขาพระองคไหงดงาม ตนกระทุม ตน กลวย ถ่วั ฤาษี และตนมะกลา่ํ ดาํ มีผลอยเู ปนนิตย ชว ยทาํ อาศรมของขา พระองค ใหง ดงาม ตนสมอไทย มะขามปอม มะมว ง หวาสมอพเิ ภก กระเบา ไมร กฟา มะตูม ผลิตผลอยูใกลอาศรมของขาพระองค ในทไี่ มไกลอาศรมมสี ระโบกขรณี มีทา น้าํ ราบเรียบนา รืน่ รมยใจ .ดารดาษไปดว ยบัวขม กอปทมุ และกออบุ ล กอ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาท่ี 8ปทุมกอหนึ่งกําลังดอกตมู กออืน่ ๆ มีดอกบานบางก็มีใบและกลบี หลุดลง บานอยใู กลอาศรมของขาพระองค ปลาสลาด ปลากระบอก ปลาสวาย ปลาเคาและปลาตะเพียน วา ยอยใู นนา้ํ ใส ชว ยทาํอาศรมของขาพระองคใหงดงาม มะมว งหอมที่นา ดู กบั ตนเกดทขี่ ้นึ อยูริมฝง มีกลิน่ หอมฟงุ ขจรไป ชวยทาํ อาศรมของขาพระองคใ หง ดงาม นาํ้ หวานทีไ่ หลออกจากเหงา รสหวานปานดงั นํ้าผ้งึ นมสดและเนยใสมกี ล่นิ หอมฟุงขจรไป ยอมทําใหอ าศรมของขาพระองคใ หงดงาม ใกลอ าศรมน้ัน มกี องทรายทีส่ วยงามอนั น้ําเสพแลวเกล่อื นไป ดอกไมหลน ดอกไมบาน สขี าว ๆ ชว ยทําอาศรมของขาพระองคใหงดงาม ฤาษที ั้งหลายสวนชฎา มหี าบเตม็ นงุหนงั สตั วท ัง้ เล็บ ทรงผา เปลอื กไมก รอง ยอ มยังอาศรมของขา พระองคใหง ดงาม ฤาษที ัง้ หลายทอดตาดูประมาณช่ัวแอกมปี ญ ญา มคี วามประพฤติสงบ ไมยินดใี นความกําหนัดในกาม อยใู นอาศรมของขาพระองค ฤาษที ง้ั หลายผูม ขี นรกั แรแ ละเล็บงอกยาวฟนเขลอะ มธี ลุ ีบนศรี ษะ ทรงธุลลี ะอองและของ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาที่ 9เปรอะเปอน ลว นอยูในอาศรมของขา พระองคฤาษีเหลาน้นั ถึงที่สดุ แหง อภิญญาเหาะเหนิ เดนิอากาศได เมอื่ เหาะข้ึนสทู องฟา ยอมพาใหอ าศรมของขาพระองคงดงาม ครงั้ นั้น ขาพระองคอนั ศษิ ยเ หลาน้นัแวดลอ มอยูในปา เปนผเู พยี บพรอ มดว ยความยินดใี นฌาน ไมรูก ลางวนั กลางคืน ก็สมัยนนั้พระผมู พี ระภาคมหามุนี พระนามวา อตั ถทสั สีเปน นายกของโลก เสดจ็ อุบัติขึน้ ยังความมดื ใหพินาศไป ครั้งนั้น ศษิ ยค นหน่ึงไดย งั สาํ นักของขาพระองค เขประสงค จะเรยี นลักษณะช่ือวาฉฬังคะ ในคมั ภีรพ ระเวท พระพทุ ธเจาพระนามวา อัถทสั สี ผูเปนมหามนุ ี ทรงอบุ ตั ิข้ึนในโลก เมือ่ ทรงประกาศสัจจะ ๔ ทรงแสดงอมตบท ขา พระองคเ ปนผูยินดีราเรงิ บนั เทิงจิต มีหมวดธรรมอยา งอืน่ เปนที่มานอน ออกจากอาศรมแลว พูดดังน้วี า พระพุทธเจาผูมพี ระลักษณะอันประเสรฐิ๓๒ ประการ เกดิ อบุ ตั ิขึน้ แลวในโลก มาเถอะทา นทัง้ หลาย เราทกุ คนจกั ไปยงั สาํ นักของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 10 ศิษยเหลานัน้ ดปู ฏบิ ัตติ ามคาํ สง่ั สอนถึงท่ีสดุ ในสัจธรรม แสวงหาประโยชนอยา งเย่ียมไดร ับปากวา ดีแลว ในกาลนัน้ พวกเขาผูสวมชฎา มหี าบเตม็นุงหนงั สัตวพ รอ มทง้ั เลบ็ เสาะหาประโยชนอ ยางเยีย่ ม ไดออกจากปาไป สมัยนน้ั พระผมู ีพระภาคเจา ผมู ีพระยศใหญ พระนามวา อัตถทัสสี เมอื่ ทรงประกาศสจั จะ ๔ ไดท รงแสดงอมตบท ขา พระองคถ อื เศวตฉัตรก้นั ถวายแดพระพทุ ธเจา ผูประเสริฐ ขาพระองคค รน้ั ก้นั ถวายวนัหน่งึ แลว ไดถวายบงั คมพระพทุ ธเจา ผูป ระเสรฐิ สดุ กพ็ ระผูม พี ระภาคเจา พระนามวา อัตถทสั สีผูเชษฐะของโลก ประเสรฐิ กวานรชน ประทบั นัง่ในทามกลางพระภิกษุสงฆแลว ไดตรสั พระคาถาเหลา นีว้ า ผูใ ดมจี ติ เลอื่ มใส ไดก ้นั เศวตฉัตรใหเราดว ยมอื ทง้ั สอของตน เราจกั พยากรณผนู ้นั ทา นท้งั หลายจงฟงเรากลาว เมือ่ ผนู ี้เกดิ ในเทวดาหรือมนุษย ชนท้งัหลายจกั คอยก้ันเศวตฉัตรใหทุกเมอ่ื น้เี ปน ผลแหง การกน้ั ฉัตรถวาย

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ที่ 11 ผูน จ้ี ักรน่ื รมยอ ยใู นเทวโลก ๗๗ กปั จักไดเ ปนพระเจา จกั รพรรดิราช ๑๐๐๐ ครัง้ จกั เสวยทิพยสมบัตใิ นเทวโลก ๗๗ ครงั้ จกั ไดเ ปน พระเจาประเทศราชอนั ไพบลู ยโ ดยคณนานบั ไมถ ว น ใน๑๘๐๐ กปั พระพุทธเจาพระนามวา โคดม ศากย-บุตร จักเสดจ็ อบุ ตั ิ กาํ จดั ความมืดมนธนการใหพินาศ เขาจกั เปนทายาทในธรรมของพระพุทธ-เจาพระองคนั้น เปน โอรสในธรรมนริ มิตแลวจักกําหนดรอู าสวะท้งั ปวง แลว เปน ผไู มมอี าสวะปรินพิ พาน ในระหวางกาล นบั ตง้ั แตข าพระองคไดทํากรรม คือ ไดกัน้ เศวตฉตั รถวายแดพระพุทธเจามา ขา พระองคไ มร จู กั เศวตฉัตรท่ไี มถ กู ก้นั ชาติน้ีเปน ชาติหลงั สดุ ของขา พระองคภพสดุ ทายกําลงั เปนไปอยู ทกุ วันนี้ เหนอื ศรี ษะของขาพระองคไดมกี ารกน้ั เศวตฉตั ร ซึ่งเปน ไปตลอดกาลเปนนิตยโดยขาพระองคไดท าํ กรรมไวด แี ลว แดพ ระพทุ ธ-เจาพระนามวา อตั ถทัสสี ผูคงท่ี ขาพระองคเ ปนผูสน้ิ อาสวะท้ังปวงแลว บัดน้ภี พใหมม ิไดมี ขาพระองคเ ผากเิ ลสทงั้ หลายแลว ถอนภพข้ึนได

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาท่ี 12 ทง้ั หมดแลว ตดั กิเลสเคร่อื งผูก ดงั ชางตัดเชือก แลว เปนผไู มมีอาสวะอยู การทข่ี าพระองคไ มม าในสํานกั ของพระ- พทุ ธเจาของขาพระองคน ้ี เปนการมาดีแลว , วิชชา ๓ ขาพระองคบรรลุแลวโดยลาํ ดบั คําสอน ของพระพุทธเจา ขา พระองคไ ดทาํ สาํ เร็จแลว คณุ วิเศษเหลานี้ คือ ปฏิสัมภทิ า ๔ วิโมกข  ๘ และอภญิ ญา ๖ ขา พระองคทําใหแจง แลว คาํ สอนของพระพุทธเจา ขาพระองคไ ด กระทําเสร็จแลว ดงั นี้ ทราบวา ทานพระเอกฉัตตยิ เถระไดก ลาวคาถาเหลา น้ี ดว ยประการฉะนี้แล จบเอกฉตั ตติยเถราปทาน ตณิ สลู กฉาทนิยเถรปทานที่ ๓ (๔๑๓) วา ดวยผลแหง การถวายดอกมะลซิ อ นเปนพุทธบูชา [๓] คร้งั นนั้ เราไดพจิ ารณาถึงความ เกดิ ความแก และความตาย ผูเดียว ไดออกบวช เปน บรรพชิต เราเท่ยี วไปโดยลําพัง ไดไปถงึ ฝง แมน้าํ คงคา ไดเ หน็ พ้นื แผนดนิ ทฝี่ งแมน ้ําคงคานน้ั เรียบราบ สมํ่าเสมอ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ที่ 13 จงึ ไดสรางอาศรมขนึ้ ทฝี่ ง แมน า้ํ คงคาน้นัอยใู นอาศรมของเรา ทจ่ี งกรม ซึ่งประกอบดวยหมนู กนานาชนิด เราไดทําไวอยา งสวยงาม สตั วทัง้ หลายอยใู กลเ รา และสง เสียงร่นื รมย เราร่ืนรมยอ ยกู ับสตั วเหลานั้นอยใู นอาศรม ท่ีใกลอาศรมของเรามมี ฤคราชสี่เทา ออกจากทอี่ ยูแลว มันคํารามเหมือนอสนีบาต ก็เมอ่ื มฤคราชคาํ ราม เราเกิดความราเรงิเราคนหามฤคราชอยู ไดเ ห็นพระพทุ ธเจา ผูนาํ โลก คร้ันไดเ หน็ พระพุทธเจา ผูนําชัน้ เลศิ ของโลกพระนามวาตสิ สะ ผูประเสริฐกวาเทวดาแลวเปนผูร า เริง มีจิตบันเทงิ เอาดอกกากะทงิ บชู าพระองค ไดช มเชยพระผูนําโลก ผเู ดนเหมือนพระอาทติ ย บานเหมือนดอกไมพญารัง รงุ โรจนเหมือนดาวประกายพฤกษว า พระองคผสู ัพพัญู ทําใหพ ระองคพ รอ มทง้ั เทพยดาใหสวาง ดว ยพระญาณของพระองคบุคคลทาํ ใหพระองคโปรดปรานแลว ยอมพน จากชาตไิ ด เพราะไมไ ดเฝา พระสพั พัญพู ทุ ธเจาผูเหน็ ธรรมทง้ั ปวง สัตวท้งั หลายทถ่ี กู ราคะและโทสะทบั ถม จงึ พากันตกนรกอเวจี

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 14 เพราะอาศัยการไดเ ขาเฝาพระองคผ สู พั -พัญูนายกของโลก สตั วท้งั ปวงจงึ หลดุ พนจากภพยอมถูกตองอมตบท เมอื่ ใด พระพุทธเจาผมู ีพระปญญาจักษุเปลงรศั มี อบุ ตั ิขึ้น เม่ือนน้ั พระองคทรงเผากเิ ลสแลว ทรงแสดงแสงสวา ง เราไดก ลา วสดดุ พี ระสมั พทุ ธเจา พระนามวา ตสิ สะ ผเู ปน นายกช้นั เลิศของโลกแลว เปนผรู าเรงิ มจี ติ บนั เทงิ เอาดอกมะลซิ อนบชู าพระองค พระพทุ ธเจาพระนามวา ตสิ สะผูน าํ ชัน้เลศิ ของโลกทรงทราบความดํารขิ องเรา ประทบันั่งบนอาสนะของพระองคแ ลว ไดตรสั พระคาถาเหลานี้วา ผใู ดเปน ผเู ลื่อมใส ไดเ อาดอกไมบงั เราดว ยมือของตน เราจักพยากรณผูน ั้น ทา นท้ังหลายจงฟงเรากลาว ผนู นั้ จักเสวยทพิ ยสมบตั ใิ นเทวโลก ๒๕ครงั้ จกั ไดเปน พระเจาจักรพรรดิ ๗๕ คร้งั จักไดเปนพระเจาประเทศราชอนั ไพบูลยโ ดยคณนานบัมิได ผลแหงกรรมนั้นเปนผลแหงการบูชาดวยดอกไม ก็บรุ ุษทีไ่ ดเอาดอกไมบงั เราทง้ั เย็นและเชา เปน ผูป ระกอบดวยบุญกรรม จักปรากฏตอไปขา งหนา

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาท่ี 15 เขาปรารถนาส่ิงใด ๆ สิ่งนัน้ ๆ จกั ปรากฏตามความในประสงค เขาทําความดาํ รชิ อบใหบรบิ ูรณแลว จกั เปน ผูไ มม อี าสวะ ปรนิ ิพพาน เขาเผากิเลส มสี ติสมั ปชัญญะ นงั่ บนอาสนะเดยี ว บรรลุอรหตั ได เราเม่ือเดินยืน น่งั หรอื นอน ยอมระลกึถึงพระพทุ ธเจา ผูป ระเสริฐสดุ อยทู กุ ขณะ ความพรอ งในปจจัยน้นั ๆ คอื จีวรบณิ ฑบาต ทน่ี อน ท่ีน่ัง และคลิ านปจจัย มิไดมีแกเ รา นี้เปนผลแหงพทุ ธบูชา บัดนี้ เราบรรลุอมตบท อนั สงบระงับเปนธรรมยอดเย่ยี ม กาํ หนดรูอ าสวะทั้งปวงแลวเปนผไู มมีอาสวะอยู ในกัปท่ี ๙๒ แตกปั น้ี เราไดบ ูชาพระ-พุทธเจาอันใด ดวยการบูชานน้ั เราจงึ ไมรูจกัทุคตเิ ลย นี้เปนผลแหง พทุ ธบชู า เราเผากเิ ลสทัง้ หลายแลว ถอนภพขน้ึ ไดทัง้ หมดแลว ตัดกเิ ลสเครอื่ งผูกดังชา งตัดเชอื กแลว เปน ผูไ มม ี อาสวะอยู การท่ีเราไดมาในสํานกั พระพุทธเจาของเราน้ี เปน การมาดแี ลวหนอ วิชชา ๓ เราไดบรรลแุ ลวโดยลาํ ดบั คาํ สอนของพระพทุ ธเจาเราไดท าํ เสรจ็ แลว

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 16 คณุ วเิ ศษเหลา นี้ คอื ปฏสิ ัมภิทา ๔ วโิ มกข ๘ และอภญิ ญา ๖ เราทาํ ใหแจง ชัดแลว คาํ สอนของพระพทุ ธเจา เราทาํ เสร็จแลว ดงั นี.้ ทราบวา ทา นพระติณสูลกฉาทนยิ เถระไดกลาวคาถาเหลา นี้ ดว ยประการฉะน้แี ล จบตณิ สลู กฉาทนยิ เถราปทาน ๔๑๑. - ๔๑๓.อรรถกถาภทั ทาลิวรรคท่ี ๔๒ อปุ ทานท่ี ๑ อปทานท่ี ๒ และอปุ ทานท่ี ๓ ในวรรคท่ี ๔๒ มเี นื้อความพอจะกําหนดรไู ดโดยงา ย คามลาํ ดับ แหงนัยนน่ั แล. จบอรรถกถาภตั ทาลวิ รรคที่ ๔๒ มธุมังสทายกเถรปทานที่ ๔ (๔๑๔) [๔] เราเปนคนฆา หมอู ยูใ นนครพันธุมดี เราเลอื กเอาเนอ้ื ดี ๆ มาเทลงแชน ้าํ ผ้ึง เราไดไ ป สูทปี่ ระชุมสงฆ ถอื เอาบาตรมาใบหนึ่ง เอาเนอ้ื ใสบ าตรน้ันใหเ ต็มแลวไดถวายแกพระภกิ ษสุ งฆ ครัง้ น้นั เราไดถ วายแกพ ระสงฆเถระ ดวยคิดวา เพราะเอาเน้ือใสบ าตรใหเ ตม็ นี้ เราจกั ไดสขุ อันไพบูลย

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 17 เราไดเ สวยสมบตั ิทงั้ สองแลว อนั กศุ ล มูลตักเตือนแลว เมอื่ เราดาํ รงชีพอยใู นภพสดุ ทาย จกั เผากเิ ลสท้ังหลายได เรายังจติ ใหเลื่อมใสในทานนั้นแลว ได ไปยังดาวดึงสพภิ พ ณ ทนี่ ่นั เรากนิ ด่ืม ไดส ุข อยา งไพบลู ย ท่มี ณฑป หรือโคนไม เรานึกถงึ บุรพ- กรรมเสมอ หาฝน คือ ขาวและนา้ํ ยอ มตกลงมา เพื่อเราในครง้ั นั้น ชาตนิ ้เี ปน ครั้งสดุ ทายของเรา ภพหลงั กาํ ลังเปน ไป ถึงในภพน้ี ขา วและนาํ้ กต็ กลงมา เพอื่ เราตลอดกาลทุกเมือ่ เพราะมธุทานนน่ั แหละ เราทอ งเทยี่ วไป ในภพ กาํ หนดรูอาสวะท้ังปวงแลว เปนผูไมม ี อาสวะอยู ในกปั ที่ ๙๑ แตก ัปนี้ เราไดใหทานใด ดวยทานนน้ั เราไมร ูจ ักทคุ ตเิ ลยนีเ้ ปน ผลแหง มธทุ าน เราเผากิเลสแลว . . . คาํ สอนของพระ- พทุ ธเจา เราไดท าํ เสร็จแลว ดงั นี้. ทราบวา ทานพระมธุนงั สทายกเถระไดกลาวคาถาเหลา นี้ ดวยประการฉะนีแ้ ล ฯ จบทธมุ ังสทายกเถราปทาน.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาท่ี 18 ๔๑๔. อรรถกถามธุมังสทายกเถราปทาน พงึ ทราบเรื่องราวในอปุ ทานท่ี ๔ ดังตอ ไปนี้ :- อุปทานของทานพระมธุมงั สทายกเถระ มคี าํ เรมิ่ ตนวา นคเรพนฺธมุ ตยิ า ดงั น้.ี บรรดาบทเหลา นั้น บทวา สกู รโิ ก ไดแ ก ขายเน้ือสุกรเล้ยี งชวี ิตบทวา อกุ ฺโกฏก รนฺธยติ วฺ า ความวา เราตม เนื้อไตและเนื้อปอดแลว แชใสลงในเนื้อท่ีผสมนาํ้ ผึง้ อธิบายวา เอาเนื้อนัน้ บรรจจุ นเต็มบาตรแลว ถวายแดภ กิ ษสุ งฆ ดวยบุญกรรรมนัน้ ในพุทธปุ บาทกาลนี้ บวชแลว จงึ ไดบ รรลุพระอรหัตแล. จบอรรถกถามธุมังสทายกเถราปทาน นาคปลลวกเถราปทานท่ี ๕ (๔๑๕) วาดว ยผลแหงการบูชาดวยกงิ่ ไมก ากะทงิ [๕] เราอาศยั อยใู นสวนหลวงในพระ- นครพันธุมดี พระพุทธเจาผูนาํ โลก ไดป ระทบั อยใู กลอ าศรมของเรา เราถือเอาก่งิ ไมก ากะทงิ ไปปก ไวขางหนา พระพุทธเจา เรามจี ติ เล่ือมใสโสมนัสไดถ วาย อภวิ าทพระสุคตเจา ในกัปท่ี 8 แตก ัปน้ีเราไดเอากง่ิ ไมบ ูชา ดวยการบูชานัน้ เราไมร จู ักทุคติเลย น้ีเปน ผล แหง พทุ ธบูชา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนาท่ี 19 เราเผากเิ ลสทง้ั หลายแลว . . . คําสอน ของพระพทุ ธเจา เราไดทาํ เสร็จแลว ดังน.้ี ทราบวา ทานพระนาคปลลวกเถระไดก ลาวคาถาเหลา น้ี ดว ยประการฉะน้แี ล. จบนาคปลลวกเถราปทาน. เอกทีปยเถราปทานท่ี ๖ (๔๑๖) วา ดวยการตามประทปี เปน พทุ ธบูชา [๖] เมอ่ื พระสคุ ตเจา ผนู ําโลกพระนาม วาสทิ ธตั ถะ ปรินิพพานแลว ชนทงั้ ปวงทัง้ เทวดา และมนุษย ตา งก็บชู าพระองคผูสูงสุดกวา สตั ว และเม่อื เขาชว ยกนั ยกพระผูน ําโลก พระ นามวา สิทธัตถะ ขึน้ บนเชิงตะกอน ชนทง้ั หลาย พากนั บชู าเชงิ ตะกอนของพระศาสดาตามกาํ ลัง เราไดต ามประทีปไวไ มไ กลเชงิ ตะกอน ประทีปของเราลกุ โพรงจนพระอาทติ ยข ึ้น เพราะกรรมทไี่ ดท าํ ไวดแี ลว นน้ั และ เพราะความตัง้ ใจชอบ เราละรางมนษุ ยแ ลว ได ไปสดู าวดงึ สพิภพ เขายอ มทราบกันวา วมิ านอนั บุญกรรม ไดทําไวเ ปนอยางดี เพ่อื เราในดาวดงึ สพิภพนน้ั

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย อปทาน เลม ๙ ภาค ๑ - หนา ท่ี 20ชอ่ื วาเอกทีปะ ประทปี แสนดวงสองสวา งอยูในวมิ านของเรา รางกายของเรารงุ เรอื งอยูท ุกเมื่อ เหมอื นพระอาทิตยที่กาํ ลงั อทุ ัยฉะนี้ สรีระของเรามแี สงสวา งดวยรศั มีในกาลทกุ เม่อื เรามองเห็นไดต ลอด ดว ยจักษุ ทะลฝุ ากําแพง ภูเขา โดยรอบรอ ยโยชน รื่นรมยอ ยใู นเทวโลก ๗๗ ครง้ั เสวยรชั สมบัติในเทวโลก ๓๑ คร้ัง ไดเปน พระเจาจักร-พรรดิราช ๒๘ ครง้ั เปนพระเจาประเทศราชอันไพบูลยโ ดยคณนานับมิได เราจุติจากเทวโลกแลวเกดิ ในครรภข องมารดา นัยนตาของเราผแู มจะอยูใ นครรภ ของมารดา กไ็ มวนิ าศ เรามีอายุ ๔ ขวบแตกําเนดิ ก็ไดออกบวชเปน บรรพชิต ไดบ รรลพุ ระอรหตั แตยงั ไมท ันไดถงึ ก่งึ เดอื น เราชําระทพิ ยจักษุใหบ รสิ ุทธแิ์ ลวถอนภพข้นึ ไดทง้ั หมดแลว ตัดกเิ ลสท้งั ปวงขาดแลว นีเ้ ปนผลแหงประทีปดวงเดยี วนอกฝา นอกกาํ แพง และถึงภูเขาทัง้ ส้ินเราก็เหน็ ทะลุไปได น้ีกเ็ ปนผลแหง ประทีปดวงเดียว สาํ หรับเรา ภมู ิภาคท่ขี รขุ ระ ยอมเปนทรี่ าบเรียบ ความมดื ยอ มไมป รากฏมี เราไมเห็นความมืด น้กี ็เปนแหง ประทปี ดวงเดียว




























































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook