พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 131 ไดยินวา ในกาลแหงพระผมู ีพระภาคเจา ทรงพระนามวา ปทมุ ุตตระเปนเศรษฐีสมบรู ณดว ยสมบัติในหงั สวดนี คร ดาํ รงอยดู วยอสิ รสมบตั อิ นัโอฬาร วันหน่งึ เหน็ พระศาสดาแวดลอ มไปดว ยพระขีณาสพ ๑๐๐,๐๐๐องค เสดจ็ เขา ไปสูนครดว ยพุทธานุภาพใหญ ดว ยพทุ ธลลี าใหญ มีจิตเลื่อมใส ถวายบงั คมแลว ไดย นื ประคองอญั ชลอี ยู ในปจฉาภัต ทา นพรอมดว ยอุบาสกท้ังหลาย ไปยงั วิหาร ฟง ธรรมอยใู นสํานกั ของพระผูม ีพระ-ภาคเจา เห็นพระศาสดาทรงตง้ั ภิกษรุ ปู หนึง่ ไวใ นตาํ แหนง เปนผเู ลิศ แหงภกิ ษผุ ูกลา วถอ ยคาํ อนั ไพเราะ แมต นเองก็ปรารถนาตาํ แหนงนัน้ จงึ ไดถวายมหาทาน ไดตั้งความปรารถนาไว. พระศาสดาทรงทราบความทคี่ วามปรารถนาของทานไมมอี ันตราย จึงทรงพยากรณวา ในอนาคตเธอจักไดเปนผเู ลศิ กวา ภิกษผุ กู ลาวถอ ยคาํ อันไพเราะ ในศาสนาของพระสมั มาสมั -พุทธเจา พระนามวา โคดม. ทา นบาํ เพญ็ บญุ ในนครนัน้ ตลอดชวี ิต ทองเท่ยี วไปในเทวโลกและมนษุ ยโลก ในกาลแหง พระผูมีพระภาคเจา พระนามวา วปิ สสี บวชในศาสนา บาํ เพ็ญวัตรปฏวิ ัตรใหบรบิ รู ณ ไดเ ย็บจวี รถวายแกภ กิ ษุรปู หน่งึ .เม่ือโลกวา งจากพระพทุ ธเจาอกี เปนชา งหกู ในกรงุ สาวัตถี ไดต อ คนั กลดทขี่ าดถวายแดพ ระปจ เจกพทุ ธเจารปู หนง่ึ , ทา นไดบาํ เพ็ญบุญในภพนั้นๆดว ยอาการอยา งน้ี ในพทุ ธปุ บาทกาลน้ี บงั เกดิ เปนบุตรเศรษฐีมีสมบัติมาก ในกุลฆรนคร๑ ในอวนั ตีรฐั พวกญาติไดต ั้งชื่อทานวา โสณะ.เพราะทานทรงเครอ่ื งประดบั หูมีราคาโกฏิ เมอ่ื ควรจะเรยี กวาโกฏกิ ัณณะกลับปรากฏช่อื วา กุฏิกณั ณะ.๑. บาลีเปน กรุ รฆร.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 132 ทานเจริญโดยลาํ ดบั เก็บรวบรวมทรพั ย เมือ่ ทา นพระมหากัจจายนะอาศยั เรือนมีตระกูลอยใู นปวัตตบรรพต ฟงธรรมในสํานกั ของทาน ต้ังอยูในสรณะและศีล อปุ ฏฐากทา นดว ยปจ จยั ๔. คร้นั จําเนียรกาลนานมา ทานเกิดความสังเวช บรรพชาในสาํ นักของพระเถระ ใหป ระชุมสงฆท สวรรคไดโดยาก โดยฝด เคือง อปุ สมบทแลว อยูใ นสํานกั พระเถระส้นิ กาลเล็กนอ ย ลาพระเถระเขา ไปยังกรุงสาวตั ถีเพ่อื ถวายบงั คมพระศาสดา ไดอ ยูใ นคันธกฎุ เี ดยี วกัน กับพระศาสดา ถกูพระองคเ ชื้อเชญิ ในเวลาใกลร ุง ในท่ีสดุ แหง คาถาอทุ านวา เห็นโทษในโลกดังน้ี ทีพ่ ระองคใหสาธกุ ารกลา วไว ดวยการกลา วพระสตู ร ๑๖ สูตรในอฏั ฐกวรรค๑แลว เจริญวปิ ส สนาบรรลพุ ระอรหตั ดวยเหตนุ นั้ ทานจึงกลาวไวใ นอปทาน๒วา ครง้ั นน้ั พระพิชิตมารผสู มควรรบั เคร่อื งบูชา พระ- นามวา ปทมุ ตุ ตระ ไดเ สดจ็ เขา รูปยงั พระนคร พรอมทั้ง ภิกษสุ งฆผ ูมีอินทรียอนั สํารวมแลว แสนรปู ขณะน้นั ได มีเสียงสนัน่ กอ งไพเราะ รับเสด็จพระพุทธเจา ผสู งบระงับ ผคู งที่ ซ่ึงกาํ ลงั เสดจ็ เขา พระนคร โดยทางรถดว ยพทุ ธา- นุภาพ พณิ ที่ไมถกู ทําเพลง ไมล กู เคาะ ก็บรรเลงขน้ึ ได เอง ในเม่อื พระพทุ ธเจาเสดจ็ เขา สูบ ุรี เรานมัสการพระ พุทธเจาผูประเสริฐสดุ พระนามวา ปทุมตุ ตระ ผูเปน พระมหามุนี และเหน็ ปาฏิหารยิ แ ลว ไดย งั จิตใหเลื่อมใส ในปาฏิหารยิ นนั้ โอ พระพทุ ธเจา โอ พระธรรม โอ๑. ข. สุ. ๒๕/อฏั ฐกวรรคที่ ๔ มี ๑๖ สตู ร ตัง้ แตข อ ๔๐๘ ถึงขอ ๔๒๓.๒. ข.ุ อ. ๓๓/ขอ ๒๓.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 133 สมบัตแิ หง พระศาสดาของเรา ดนตรถี งึ ไมมีเจตนากย็ ัง บรรเลงไดเ องเทียว ในกปั ท่ีแสนกัปแตภ ทั รกัปน้ี เราได สญั ญาใดในกาลนั้น ดว ยการไดสญั ญาน้นั เราไมร จู กั ทุคตเิ ลย นเ้ี ปนผลแหงสญั ญาในพระพุทธเจา เราเผา กิเลสท้งั หลายแลว . . . ฯลฯ. . . พระพทุ ธศาสนาเราได ทําเสร็จแลว ดังน้.ี ก็ทานดํารงอยูใ นพระอรหัตแลว ขอพร ๕ ประการ คอื การอปุ สมบทดว ยคณะ มพี ระวินยั ธรเปนที่ ๕ ในชนบทปลายแดน โดยทาํ นองทีพ่ ระอุปช ฌายของทา นไดบอกไว การอยปู ระจํา การลาดแผนหนงั การสวมรองเทา เปน ช้ัน ๆ การไมอ ยูปราศจากจีวร ไดพรเหลา นั้นจากพระศาสดาแลว ไปยังทีต่ นอยูอีก บอกความนั้นแกพระอปุ ช ฌายในเรอื่ งน้มี คี วามสังเขปเพยี งเทา น้.ี สวนความพิสดารพึงทราบโดยนัยที่มาแลว ในอรรถกถา. แตใ นอรรถกถาองั คตุ ตรนกิ าย ทา นกลาวไวว า ทานไดอ ุปสมบทแลว เรียนพระกรรมฐานในสํานกั พระอปุ ช ฌายของตน เจริญวิปสสนาแลวบรรลพุ ระอรหัต. ครน้ั กาลตอ มา ทา นอยดู ว ยสขุ อนั เกิดแตว ิมุตติ พิจารณาขอ ปฏิบตั ิของตน เกดิ โสมนสั ไดก ลา วคาถา ๕ คาถา ดว ยอาํ นาจอุทาน๑วา เราไดอุปสมบทแลว เปน ผูหลดุ พน จากกเิ ลส ไมม ี อาสวะ ไดเห็นพระผมู พี ระภาคเจา และไดอ ยูรวมกับ พระองคใ นวิหารเดียวกนั พระผมู ีพระภาคเจาประทบั อยู ในทีแ่ จง ตลอดราตรเี ปนอันมากทีเดยี ว พระศาสดาผู๑. ขุ. เถร. ๒๖/ขอ ๓๔๕.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 134 ฉลาดในธรรมเปนเครือ่ งอยู ไดเ สดจ็ เขา ไปสูพ ระวิหาร เม่อื นัน้ พระโคดมทรงลาดผา สังฆาฏแิ ลว สําเรจ็ สีหไสยา ทรงละความขลาดกลัวเสียแลว เหมือนราชสหี อ ยใู นถ้าํ ภเู ขา ลําดับนน้ั ทา นโสณะผเู ปน สาวกของพระสมั มา- สัมพทุ ธเจา ผกู ลาววาจาไพเราะ ไดภ าษติ สทั ธรรมในท่ี เฉพาะพระพักตรของพระพทุ ธเจาผปู ระเสรฐิ ทานโสณะ กําหนดรเู บญจขนั ธแ ลว อบรมอัฏฐงั คกิ มรรคอันประเสริฐ พึงไดบรรลคุ วามสงบอยางยง่ิ จักเปน ผไู มม อี าสวะ ปรนิ พิ พาน ดังนี.้ บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา อุปสมปฺ ทา ต เม ลทฺธา ความวาอปุ สมั ปทานนั้ ใด ท่ตี นประชมุ ภิกษุสงฆท สวรรคไดโ ดยยาก กแ็ ลอุปสัม-ปทาใดทพี่ ระผูมพี ระภาคเจาทรงอนญุ าตดวยคณะ มพี ระวินัยธรเปนที่ ๕ในชนบทปลายแดนทงั้ หมด ดว ยอํานาจการประทานพร, กลา วหมายเอาอุปสัมปทาทัง้ สองน้ัน. จ ศพั ท เปน สมจุ จยัตถะ. ดว ย จ ศัพทนน้ั ทา นสงเคราะหเอาพรทไี่ ดจากสํานักพระศาสดา แมนอกน.ี้ บทวา วิมุตโฺ ต จมฺหิ อนาสโว ความวา และเราเปน ผูหลดุ พน แลวดวยการหลดุ พน จากวัตถคุ ือกเิ ลสท้ังส้ิน ดว ยอรหตั มรรค. ประกอบความวา เราเปนผูไ มม อี าสวะดวยกามาสวะเปน ตน นนั้ น่ันแล. บทวา โส จ เม ภควา ทิฏโ ความวา เราจากรัฐอวนั ตไี ปยังกรงุ สาวัตถี เพื่อประโยชนแ ดพ ระผมู พี ระภาคเจา ใด ก็พระผมู ีพระภาคเจาพระองคน้ัน ทเี่ ราไมเ คยเห็น เราไดเ หน็ แลว.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 135 บทวา วิหาเร จ สหาวสึ ความวา เราไดเ ห็นพระผูมีพระภาคเจานั้นอยางเดียวเทา นัน้ กห็ าไม โดยทแ่ี ทเ ราไดอ ยรู วมกับพระศาสดาผกู าํ หนดเหตุการณ ประทบั อยใู นพระคนั ธกุฎีของพระศาสดาในวิหาร. อาจารยบางพวกกลา ววา บทวา วหิ าเร แปลวา ในทใี่ กลวิหาร. บทวา พหุเทว รตตฺ ความวา พระผมู พี ระภาคเจา ประทับยับย้งัในโอกาสกลางแจง ตลอดราตรีเปนอันมากทีเดียว ดวยการแสดงธรรมแกภ กิ ษุทง้ั หลาย และดวยการชําระพระกรรมฐานใหห มดจดตลอดปฐมยามและดวยอํานาจตัดความสงสยั ของเทวดาและพรหมตลอดมัชฌิมยาม. บทวา วิหารกุสโล ไดแก เปนผูฉลาดในทิพยวหิ าร พรหมวิหารอาเนญชวหิ ารและอรยิ วหิ าร. บทวา วหิ าร ปาวิสิ ความวา เขาไปสพู ระคนั ธกุฎี เพอ่ื บรรเทาความกระวนกระวายที่เกิดข้นึ เพราะการนงั่ และการจงกรมเกินเวลา. บทวา สนฺถรติ ฺวาน สงฆฺ าฏึ เสยยฺ กปฺเปติ ความวา ปลู าดสงั ฆาฏิ๔ ชั้น แลว ทรงสําเร็จสีหไสยา. ดวยเหตุน้นั จึงกลา ววา พระโคดมเปนประดจุ สีหะในถ้ําศิลา เปน ผลู ะความขลาดกลัวเสยี ได. พระเถระระบุพระผูมพี ระภาคเจา ดว ยพระโคตรวา โคตมะ ในพระคาถานั้น. บทวา สโี ห เสลคหุ าย ว ไดแ ก ในถ้ําแหง ภเู ขาอันลว นแลว แตห ิน สหี มิคราชละความขลาดกลัวเสียได เพราะเปน สตั วมเี ดชสงูสาํ เร็จการนอนเหล่อื มเทาโดยขางขวา ฉันใด พระผมู พี ระภาคเจาผูโคดมก็ฉันน้ัน เปน ผลู ะความขลาดกลวั เพราะตัดกิเลสอันเปนเหตใุ หหวาดเสยี วขนพอง สยอง สะดงุ แหง จติ ทรงสาํ เร็จสหี ไสยา.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 136 บทวา ตโต แปลวา ในภายหลงั , อธิบายวา สาํ เรจ็ สีหไสยาแลวลุกขึ้นจากทน่ี ้ัน ถกู พระศาสดาเชิญวา ภกิ ษุ พระธรรมจงแจมแจง กะเธอเพื่อจะกลา ว. บทวา กลยฺ าณวากกฺ รโณ แปลวา ผกู ลา ววาจาอันไพเราะ อธิบายวา ลําดบั แหง ถอยคาํ เพยี บพรอ มดวยความงาม. บทวา โสโณ อภาสิ สทฺธมมฺ ความวา ทา นโสณกฏุ กิ ัณณะไดก ลา วพระสูตรในอฏั ฐกวรรค ๑๖ สตู ร โดยประจกั ษ เฉพาะพระพทุ ธ-เจาผูประเสริฐ คอื พระสัมมาสัมพทุ ธเจา เพราะเหตนุ ้นั พระเถระจึงกลา วสอนตนนนั่ แหละเหมือนผูอื่น. บทวา ปจฺ กฺขนเฺ ธ ปริ ฺาย ความวา กาํ หนดรอู ุปาทานขันธ ๕ดวยปริญญาท้ัง ๓ แลว เม่อื กาํ หนดรูอุปาทานขนั ธ ๕ นัน่ แหละ ทาํหนทางคือ อรยิ มรรคมีองค ๘ ใหเกิดแลว บรรลุความสงบอยา งยิ่ง คือพระนิพพานดาํ รงอยู เปนผูไมม ีอาสวะ จากนั้นนัน่ แหละ จกั ปรนิ ิพพานณ บดั น้ี คือจักปรนิ พิ พานดว ยอาํ นาจอนปุ าทเิ สสนพิ พาน ฉะนแ้ี ล. จบอรรถกถาโสณกุฏิกัณณเถรคาถาที่ ๑๑
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 137 ๑๒. โกสยิ เถรคาถา วาดว ยคาถาของพระโกสิยเถระ [๓๔๖] ผูใ ดเปนธรี ชน เปนผรู ถู อ ยคําของครูทง้ั หลาย อยูใ น โอวาทของครนู น้ั และยงั ความเคารพใหเกดิ ในโอวาท ของครนู ้ัน ผูนนั้ ชอื่ วาเปน ผมู ภี ักดี และช่อื วาเปน บัณฑติ และพงึ เปน ผวู ิเศษ เพราะรธู รรมทั้งหลาย อนั ตราย อันรายแรงเกดิ ข้ึนแลว ไมค รอบงําบุคคลใดผูพจิ ารณาอยู บคุ คลนน้ั ยอมชือ่ วามกี ําลัง ช่อื วาเปน บณั ฑิต และพึงเปน ผูว เิ ศษเพราะรูธรรมทั้งหลาย ผูใดแลตั้งมั่นไมห ว่ันไหว เหมอื นมหาสมุทร มีปญ ญาลกึ ซึง้ เหน็ เหตผุ ลอนั ละเอียด ชอ่ื วาเปนผูไมงอนแงน ไมค ลอนแคลน ช่อื วาเปน บัณฑติ และพึงเปน ผูวิเศษเพราะรธู รรมทั้งหลาย ผใู ดเปนพหสู ูต ทรงธรรมและประพฤติธรรมสมควรแกธรรม ผูนนั้ ช่ือวา ผูคงท่ี เปนบณั ฑติ และพึงเปนผูวิเศษเพราะรูธรรม ทัง้ หลาย ผใู ดรเู น้ือความแหงสุภาษติ ครนั้ รูแลวทําตาม ทรี่ ู ผนู ้นั ชอื่ วา เปนบณั ฑติ อยใู นอาํ นาจเหตผุ ล และ พงึ เปนผูวิเศษเพราะรูธรรมทั้งหลาย. จบโกสิยเถรคาถา พระเถระ ๑๒ รูป กลาวคาถารูปละ ๕ คาถา รวมเปน ๖๐ คาถาคือ
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 138 ๑. พระราชทัตตเถระ ๒. พระสุภูตเถระ ๓. พระคริ มิ านันทเถระ๔. พระสุมนเถระ ๕. พระวัฑฒเถระ ๖. พระนทกี สั สปเถระ ๗. พระ-คยากัสสปเถระ ๘. พระวักกลเิ ถระ ๙. พระวิชิตเถระ ๑๐. พระยสทตั ต-เถระ ๑๑. พระโสณกฏุ กิ ัณณเถระ ๑๒. พระโกสิยเถระ. จบปญ จกนบิ าต อรรถกถาโกสยิ เถรคาถาท่ี ๑๒ คาถาของทานพระโกสิยเถระ มคี าํ เริ่มตนวา โย เว ครูน ดงั นี.้เรือ่ งน้นั มีเหตเุ กดิ ข้ึนอยางไร ? พระเถระแมนี้ ไดกระทําบุญญาธิการไวใ นพระพุทธเจาในปางกอ นสง่ั สมกุศลอนั เปนอปุ นิสยั แหง พระนพิ พานไวในภพนน้ั ๆ ในกาลแหงพระผมู ีพระภาคเจา พระนามวาวิปสสี บงั เกิดในเรือนมีตระกูล ถงึ ความเปน ผรู ูเดยี งสา วันหน่ึงเหน็ พระศาสดา มีจิตเลื่อมใส ไดถวายทอ นออย. ดว ยบุญกรรมนัน้ ทานทอ งเที่ยวไปในเทวโลกและมนษุ ยโลก ในพทุ ธุปบาทกาลนี้ บังเกดิ ในตระกลู พราหมณ เขาตั้งช่อื ทานดว ยอาํ นาจโคตรวา โกสิยะ. ทานถึงความเปน ผูรูเดยี งสาแลว เขา ไปหาทา นพระธรรม-เสนาบดเี นืองนติ ย ฟง ธรรมในสาํ นกั ของทา น. ทา นไดศรทั ธาในพระ-ศาสนาเพราะไดฟ งธรรมนัน้ ประกอบเนอื ง ๆ ซึ่งพระกรรมฐาน ไมนานนกั กบ็ รรลพุ ระอรหตั . ดว ยเหตนุ ้ัน ทานจึงกลา วไวในอปทาน๑วา๑. ข.ุ อ. ๓๓/ขอ ๒๕.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 139 เราเปน คนเฝาประตู อยใู นพระนครพนั ธมุ ดี ไดเ ห็น พระพุทธเจาผูปราศจากธุลี ทรงรูจบธรรมทงั้ ปวง เรามี จิตเลือ่ มใสโสมนัส ไดถอื เอาทอนออ ยมาถวายแดพ ระ- พทุ ธเจา ผปู ระเสริฐสดุ พระนามวา วิปสสี ผแู สวงหา คุณอันยงิ่ ใหญ ในกัปท่ี ๙๑ แตกปั นี้ เราไดถวายออยใด ในกาลนน้ั ดวยการถวายออ ยนนั้ เราไมร จู ักทคุ ตเิ ลย นเ้ี ปน ผลแหงการถวายทอ นออย เราเผากเิ ลสท้งั หลาย แลว . . . ฯลฯ . . . พระพุทธศาสนาเราไดทาํ เสรจ็ แลว ดังน.ี้ ก็แลคร้นั บรรลุพระอรหตั แลว พจิ ารณาขอ ปฏบิ ตั ิของตน เมอื่ จะสรรเสรญิ การอยูรวมกับครู และเขา ไปอาศัยสัปบรุ ุษจึงกลาว ๕ คาถาเหลานีว้ า ผใู ดเปน ธรี ชน เปน ผูรถู อยคําของครทู ั้งหลาย อยูใน โอวาทของครูนน้ั และยงั ความเคารพใหเกิดในโอวาท ของครนู ้นั ผูน ัน้ ชอื่ วาเปนผมู ภี ักดี และชือ่ วา เปนบัณฑิต และพงึ เปนผูวเิ ศษ เพราะรูธรรมทัง้ หลาย อนั ตรายราย แรงเกิดแลว ไมครอบงาํ บคุ คลใดผูพิจารณาอยู บคุ คล น้ันยอ มชื่อวามีกาํ ลงั ชอื่ วา เปนบัณฑิต และพงึ เปน ผู วเิ ศษเพราะรธู รรมท้ังหลาย ผใู ดและตง้ั มน่ั ไมห วัน่ ไหว เหมอื นมหาสมทุ ร มีปญญาลกึ ซงึ้ เหน็ เหตผุ ลอนั ละเอยี ด ช่ือวาเปน ผูไมงอ นแงน ไมคลอนแคลน ชื่อวาเปน บณั ฑิต
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 140 และพงึ เปน ผวู เิ ศษเพราะรูธรรมทั้งหลาย ผใู ดรเู นอ้ื ความ แหง สภุ าษิต ครัน้ รูแลวทําตามทร่ี ู ผูน ั้นชื่อวา เปน บณั ฑิต อยใู นอํานาจเหตุผล และพงึ เปน ผวู เิ ศษ เพราะรูธรรม ทัง้ หลาย. บรรดาบทเหลานนั้ บทวา โย ไดแ ก ผูใ ดผูหน่งึ ในบรรดาบรษิ ทั ๔ มขี ัตตยิ บรษิ ัทเปนตน. บทวา เว แปลวา เปนผูป รากฏ.บทวา ครูน ไดเเก บณั ฑติ ผปู ระกอบดว ยคณุ มีศลี เปน ตน . บทวา วจนฺ ู ไดแก ผรู ถู อ ยคํา คืออนุสาสนีของบณั ฑติ เหลา น้นัอธบิ ายวา เมอื่ ปฏิบัตติ ามคําพรํา่ สอน กแ็ ลคร้ันปฏิบตั ิแลวรผู ลแหงการปฏิบัตนิ นั้ . บทวา วเส จ ตมฺหิ ชนเยถ เปม ความวา พงึ อยใู นคํา คือในโอวาทของครทู ง้ั หลาย คอื พงึ ปฏบิ ตั ิตามคาํ พรํ่าสอน ครัน้ ปฏบิ ัตแิ ลวพึงใหเ กิดความรัก ความเคารพในคําพราํ่ สอนเหลา นน้ั วา เราจกั เปน ผูลว งพน ทุกขม ชี าติทุกขเปนตนน้ี ดว ยโอวาทนห้ี นอ. กค็ ําทงั้ สองนีเ้ ปนการกระทาํ ความที่กลาวแลวนัน่ แล ดวยบทท้งั สองวา ธรี ชนเปนผูรูถอ ยคาํ ของครทู ั้งหลาย ดงั น้ี ใหปรากฏ. บทวา โส ความวา ผใู ดเปน ธรี ชน รถู อยคาํ ของครูทงั้ หลาย ผูนน้ัชือ่ วาเปนผูมคี วามภักดใี นครเู หลานน้ั ดวยการปฏิบัตติ ามท่ีพร่าํ สอน และชอ่ื วา บณั ฑิตเพราะไมลวงเลยขอ พราํ่ สอนน้ัน แมเพราะเหตุแหงชีวิต. บทวา ตฺวา จ ธมเฺ มสุ วิเสสิ อสฺส ความวา กเ็ มอื่ ปฏบิ ตั อิ ยางนน้ั ถึงเปนผูวเิ ศษวา เปนผูมวี ชิ ชา ๓ มอี ภญิ ญา ๖ บรรลุปฏสิ มั ภทิ า
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 141ดว ยสามารถแหงวิชชา ๓ ในธรรมท้ังทเ่ี ปน โลกิยะและโลกุตระ เพราะเหตุแหง การรอู รยิ สัจ ๔ ดว ยขอ ปฏบิ ัตินนั้ นนั่ แล. บทวา ย ความวา อันตรายทป่ี รากฏมีความเยน็ ความรอน ความหวิ และความกระหายเปนตน และอนั ตรายทีป่ กปดมรี าคะเปนตน อันไดโวหารวา อนั ตราย เพราะทาํ อนั ตรายตอ การปฏิบัติ อุบัตคิ ือเกิดข้ึนมากมาย คอื มีกําลัง ยอ มไมขม ขบ่ี คุ คล คือไมทาํ ใคร ๆ ใหหว่นั ไหว. ถามวา เพราะเหตไุ ร ? ตอบวา เพราะไมครอบงาํ ผพู จิ ารณา อธบิ ายวา ผูพจิ ารณาอยู คอื ผตู ั้งอยูใ นกาํ ลงั แหง การพิจารณา. บทวา โสความวา ผใู ดแมถกู อนั ตรายรา ยแรงยงิ่ นักครอบงาํ ผนู ้นั กเ็ ปน ผชู ือ่ วามีกําลัง มปี ญญา มีความบากบ่นั มัน่ คง และชื่อวาเปน บัณฑิต เพราะพรงั่พรอ มดว ยกาํ ลังคือปญ ญา อันขมฝา ยกิเลสไมม ีสว นเหลอื . คําวา กผ็ ูเปนเชนนัน้ แล พงึ เปนผูวเิ ศษเพราะรธู รรมทงั้ หลายนั้น มอี รรถดังกลาวแลวนนั่ แล. บทวา สมทุ โฺ ทว โิ ต ความวา มคี วามตงั้ อยเู ปนสภาวะ เหมือนสมทุ รฉะน้นั . เหมือนอยา งวา มหาสมุทรใกลเ ชิงเขาสเิ นรซุ ง่ึ ลกึ ๘๔,๐๐๐โยชน ตงั้ อยไู มห ว่ันไหว ไมเอนเอียงไปดว ยลมตามปกติ ซง่ึ ตั้งขน้ึ จากทิศทัง้ ๘ และลกึ ซง้ึ ฉันใด ธรี ชนกฉ็ นั นน้ั ตั้งอยไู มห ว่ันไหว ไมเ อนเอยี งดว ยลมคอื กิเลส และดวยลมคือวาทะของพวกเดียรถยี . ธีรชนชอื่ วาเปนผมู ีปญ ญาอนั ลึกซ้ึง และผูเห็นประโยชน เพราะรูแจงอรรถแหง ปฏจิ จ-สมปุ บาทเปนตน อนั ลกึ ซ้งึ หยง่ั ลงไมได ดว ยญาณสมภารท่ไี มเ คยส่งั สมมาละเอยี ดสุขุม, บคุ คลนนั้ ช่ือวา เปนบัณฑติ ไมงอนแงน เปน ผคู งที่ ช่ือวาเปน ผไู มง อ นแงน เพราะไมง อนแงนดว ยกเิ ลส หรอื ดวยเทวบตุ รมาร
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 142เปนตน อยา งใดอยา งหน่งึ ชอื่ วา เปน บัณฑิตเพราะอรรถที่กลาวแลว คาํ ที่เหลือมีนยั ดงั กลาวแลว น่ันแล. บทวา พหสุ สฺ ุโต ความวา ช่อื วาเปน พหูสูต ดว ยอาํ นาจความเปนพหสู ตู ในทางปริยตั ิ ชอ่ื วา พหุสสตุ ะ เพราะไดสดับสุตตะและเคยยะเปน ตน มาก และช่ือวาทรงไวซ่งึ ธรรม เพราะทรงธรรมนน้ั นั่นแหละไวไมใหพ ินาศไป เหมอื นนา้ํ มนั เหลวแหงราชสหี ทเี่ ขาใสไวใ นภาชนะทองคําฉะนน้ั . บทวา ธมฺมสฺส โหติ อนุธมฺมจารี ความวา ชอ่ื วาประพฤติธรรมสมควรแกธรรม เพราะรอู รรถรูธรรม ตามทฟ่ี งมา ตามทเี่ รียนมาแลวประพฤติ คือปฏบิ ตั ธิ รรมอนั สมควรแกโ ลกตุ รธรรม ๙ ธรรมตางดวยปาริสุทธิศีล ธุดงคและอสุภกรรมฐานเปนตน กลาวคอื ปุพพภาค-ปฏิปทา คือประพฤตหิ วังการแทงตลอดวา วนั นี้ วันน้ีแหละ ดงั น้.ี บทวา โส ตาทโิ ส นาม จ โหติ ปณฺฑโิ ต ความวา บุคคลใดเปนพหูสตู ทรงธรรมและประพฤตธิ รรมสมควรแกธรรม เพราะอาศัยครใู ด บคุ คลผูนน้ั แลเปน ผเู ชนนนั้ คือเปน เสมือนกับครนู น้ั ชอื่ วา เปนบัณฑติ เพราะมภี าวะแหง การปฏบิ ตั ิเหมือนกัน. กข็ อทีบ่ คุ คลผเู ปนเชนน้ัน พึงเปน ผูวเิ ศษเพราะรูธรรมทัง้ หลุดนน้ัมีเนือ้ ความกลา วไวแ ลว แล. บทวา อตฺถจฺ โย ชานาติ ภาสิตสฺส ความวา บคุ คลใด ยอมรอู รรถแหง พระปริยตั ธิ รรมทพ่ี ระสัมมาสมั พุทธเจาตรสั แลว กเ็ มื่อรู ยอมรอู รรถตามที่กลา วแลวในธรรมน้นั ๆ วา ศีล ตรสั ไวในทนี่ ี้ สมาธิ ตรัส
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 143ไวใ นท่ีนี้ ปญ ญา ตรสั ไวท่นี ้ี ดงั นี้ แลวการทาํ โดยประการน้นั คอื ยอมปฏิบัติตามที่พระศาสดาทรงพรํ่าสอน. บทวา อตฺถนฺตโร นาม ส โหติ ปณฑฺ โิ ต ความวา บุคคลนน้ัคอื เหน็ ปานนนั้ เปน ผูอยูภ ายในแหง เหตผุ ล กระทาํ เหตุเพยี งการรูเหตผุ ลศลี เปน ตน เทานัน้ เพราะเหตแุ หงผล ยอ มชอ่ื วาเปน บณั ฑิต คาํ ท่เี หลือมนี ยั ดงั กลา วแลว นัน่ แล. ก็ในคาถาเหลา นี้ ดว ยคาถาตน ทา นกลาวถงึ ความเปน ผวู เิ ศษอันมีศรทั ธาเปนอปุ นสิ ัย โดยนยั มีอาทวิ า โย เว ครูน ดงั น.้ี ดว ยคาถาท่ี ๒ทา นกลาวถึงความเปนผูวิเศษอันมีวริ ยิ ะเปนอปุ นสิ ยั โดยนัยมอี าทิวา ยอาปทา ดังนี.้ ดวยคาถาท่ี ๓ ทา นกลา วถึงความเปนผวู เิ ศษอนั มีสมาธิเปนอปุ นสิ ยั โดยนยั มีอาทิวา โย เว สมุทฺโทว ิโต ดังนี้. ดวยคาถาท่ี ๔ ทานกลา วถึงความเปนผวู ิเศษอันมสี ตเิ ปน อุปนสิ ยั โดยนัยมีอาทวิ าพหสุ ฺสุโต ดงั น.้ี ดวยคาถาท่ี ๕ พงึ ทราบวา ทา นกลาวถงึ ความเปนผูวิเศษอันมีปญ ญาเปน อุปนสิ ยั โดยนยั มอี าทิวา อตฺถจฺ โย ชานาติดงั น.้ี จบอรรถกถาโกสยิ เถรคาถาท่ี ๑๒ จบปรมัตถทปี นี อรรถกถาขุททกนิกาย เถรคาถา ปญ จกนบิ าต
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 144 เถรคาถา ฉกั กนบิ าต ๑. อรุ ุเวลกัสสปเถรคาถา วาดว ยคาถาของพระอุรเุ วลกัสสปเถระ[๓๔๗] เรายังไมเ หน็ ปาฏหิ ารยิ ข องพระโคดมผเู รอื งยศ เพียงใด เรากย็ ังเปน คนลวงโลกดว ยความรษิ ยาและมานะ ไมนอบนอมเพียงน้ัน พระผูมีพระภาคเจา ผเู ปน สารถีฝก นรชน ทรงทราบความดาํ ริของเรา ทรงตกั เตอื นเรา ลาํ ดับนน้ั ความสลดใจไดเ กิดแกเรา เกดิ ความอัศจรรย ใจ ขนลกุ ชูชัน ความสําเร็จอนั เล็กนอ ยของเราผูเ ปนชฎลิ เคยมอี ยใู นกอ น เราไดส ละความสาํ เรจ็ อนั นั้นแลว บวช ในศาสนาของพระชนิ เจา เมื่อกอ น เรายนิ ดกี ารบชู ายญั หอมลอ มดวยกามารมณ ภายหลัง เราถอนราคะ โทสะ และโมหะไดแ ลว เรารูขันธปญ จกอันอาศยั อยใู นกาลกอน ชําระทพิ ยจกั ษหุ มดจด เปน ผมู ีฤทธ์ิ รจู ติ ของผูอ่ืน และ บรรลุทพิ โสต อน่งึ เราออกบวชเปนบรรพชติ เพ่อื ประ- โยชนใ ด ประโยชนนั้นเราไดบ รรลุแลว ความสนิ้ ไป แหง สงั โยชนท งั้ ปวงเราไดบรรลแุ ลว. จบอุรุเวลกัสสปเถรคาถา
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 145 อรรถกถาฉักกนิบาต อรรถกถาอรุ เุ วลกัสสปเถรคาถาท่ี ๑ ในฉักกนบิ าต คาถาของทา นพระอุรุเวลกัสสปเถระ มคี าํ เริม่ ตนวา ทสิ ฺวาน ปาฏิหรี านิ ดงั น.ี้ เรอ่ื งนนั้ มีเหตเุ กดิ ขึ้นอยา งไร. แมพ ระเถระน้กี เ็ ปนผมู ีบุญญาธกิ าร อันไดกระทําไวในพระพทุ ธเจาในปางกอ นท้งั หลาย กอ สรา งกศุ ลอันเปน อุปนิสัยแกพระนพิ พานในภพน้ัน ๆ ในกาลแหงพระผมู พี ระภาคเจา พระนามวาปทมุ ุตตระ ไดบังเกิดในเรอื นของตระกลู ถึงความเจริญวยั ฟงธรรมในสาํ นักของพระ-ศาสดา ไดเ หน็ พระศาสดาทรงตง้ั ภกิ ษรุ ูปหนง่ึ ไวในตําแหนง ผเู ลิศแหงบรษิ ทั ใหญ แมต นเองก็ปรารถนาฐานนั ดรน้นั จงึ ไดถ วายมหาทานแลวกระทําความปรารถนาไว. ฝา ยพระผมู พี ระภาคเจาไดทรงเหน็ วา ความปรารถนาของเขาไมมีอนั ตราย จึงทรงพยากรณวา ในอนาคตกาล เขาจักเปน เลิศแหงบรษิ ทั หมใู หญในศาสนาของพระโคดมพทุ ธเจา . เขากระทาํ บญุ ในชาตินั้นจนตลอดอายุ จตุ ิจากชาตนิ นั้ แลว ทองเทยี่ วไปในเทวดาและมนุษยท ั้งหลาย ในที่สดุ ๙๒ กปั แตภ ัทรกปั น้ี บงั เกิดเปนนอ งชายตางมารดากนั กบั พระผูมีพระภาคเจา พระนามวา ปสุ สะ เขามีนอ งชายแมอื่นอกี ๒ คน พนี่ องแมท ง้ั ๓ คนนั้น บชู าพระสงฆม ีพระพทุ ธ-เจาเปน ประธานดว ยการบชู าอยางยิง่ การทาํ กุศลตลอดชัว่ อายุ ทองเทีย่ วไปในเทวดาและมนุษย กอ นทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจาของเราทง้ั หลายจะอบุ ัติ(เขา) เกดิ เปน พ่นี อ งชายกันโดยลําดบั ในตระกูลพราหมณในกรงุ สาวตั ถีแมท ัง้ ๓ คนก็มนี ามวากสั สปทัง้ นั้นเนอื่ งดว ยโคตร.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 146 พี่นอ งทงั้ ๓ นน้ั เตบิ โตแลว กเ็ ลา เรยี นไตรเพท. บรรดาพนี่ องชายทง้ั ๓ น้ัน พีช่ ายคนโตมมี าณพเปน บริวาร ๕๐๐ คนกลาง ๓๐๐ คนเลก็ ๒๐๐. พนี่ องท้งั ๓ นน้ั ตรวจดสู าระในคัมภีรข องตน เห็นแตประโยชนปจจุบนั เทาน้ัน จึงชอบการบวช. บรรดาพีน่ องทงั้ ๓ นนั้พี่ชายคนโตพรอมกบั บรวิ ารของตน ไปยงั ตําบลอุรุเวลาบวชเปน ฤๅษี จึงมีชอ่ื วา อรุ ุเวลากัสสป นองชายที่บวชอยู ณ โคง แมน้าํ มหาคงคา จึงมีช่อื วา นทีกัสสป นองชายผูท บ่ี วชอยู ณ คยาสสี ประเทศ จงึ มชี ่ือวาคยากสั สป. เมื่อพนี่ องทั้ง ๓ น้นั บวชเปน ฤาษี อยใู นที่นน้ั ๆ อยา งนแ้ี ลว เม่ือวนั เวลาลว งไปเปนอนั มาก พระโพธิสตั วของเราท้งั หลายเสดจ็ ออกมหา-ภเิ นษกรมณ ทรงรูแจง แทงตลอดพระสัพพัญุตญาณ ทรงประกาศพระ-ธรรมจกั รไปโดยลําดับ ทรงใหพระเบญจวคั คียเถระดํารงอยใู นพระอรหัตทรงแนะนาํ สหาย ๕๕ คนมียสะเปนประธาน แลว ทรงสง พระอรหนั ต ๖๐องค ไปดว ยพระดาํ รัสมวี า ภิกษทุ ั้งหลาย พวกเธอจงเทยี่ วจารกิ ไป ดังนี้เปน ตน แลว ทรงแนะนําภัตทวัคคียกมุ าร แลวเสด็จไปยังที่อยขู องอรุ เุ วล-กสั สป เสด็จเขาไปยงั โรงบชู าไฟเพือ่ จะประทับอยู ทรงแนะนําอรุ ุเวล-กัสสปพรอ มทงั้ บริษทั ดวยปาฏิหาริย ๓,๕๐๐ ประการ มกี ารทรมานพระยานาคทอี่ ยูใ นที่นัน้ เปนตน แลว ทรงใหบ รรพชา. ฝายนอ งชายท้ังสองรวู าอรุ เุ วลกสั สปนนั้ บวชแลวพรอ มท้ังบรวิ าร พากันมาบวชในสาํ นักของพระศาสดา. ทงั้ หมดนั่นแหละไดเ ปนเอหิภกิ ขุ ทรงบาตรและจวี รอันสาํ เรจ็ ดวยฤทธิ.์ พระศาสดาทรงพาสมณะ ๑,๐๐๐ รปู น้นั ไปยงั คยาสสี ประเทศ แลว
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 147ประทับนั่งบนหินดาด ใหสมณะทัง้ หมดดาํ รงอยูในพระอรหัต ดวยอาทิตต-ปริยายสูตรเทศนา. ดว ยเหตุนน้ั ทา นจึงกลาวไวในอปทาน๑วา ในกัปทแ่ี สนแตกปั นี้ พระพชิ ติ มารนามวา ปทุมตุ ตระ ผูรแู จง โลกทง้ั ปวง เปนนักปราชญม ีจักษุ ไดเ สดจ็ อบุ ัติ ขนึ้ แลว พระองคเ ปน ผตู รสั สอน ทรงแสดงใหส ตั ว รชู ดั ไดยงั สรรพสัตวใหข า มพน วฏั สงสาร ฉลาดใน เทศนา เปนผูเบกิ บาน ทรงชวยประชุมชนใหข า มพน ไป เปนอนั มาก พระองคเ ปน ผอู นเุ คราะห ประกอบดว ย พระกรณุ าแสวงหาประโยชนใหส รรพสัตว ยังเดียรถยี ท ่ี มาเฝา ใหด าํ รงอยใู นเบญจศลี ไดทกุ คน เมือ่ เปน เชนนี้ พระศาสนาจึงไมมีความอากลู วา งสูญจากเดยี รถีย วจิ ิตร ดวยพระอรหนั ตผูคงท่ี มคี วามชาํ นิชาํ นาญ พระมหามุนี พระองคน ั้น สูงประมาณ ๕๘ ศอก มพี ระฉวีวรรณงามดจุ ทองคาํ อันล้าํ คา มีพระลกั ษณะอนั ประเสริฐ ๓๒ ประการ ครั้งน้ัน อายุของสัตวแ สนป พระชินสีหพ ระองคนั้น เมอื่ ดํารงพระชนมอยูโดยกาลประมาณเทา นั้น ไดท รงยงั ประชุมชนเปนอันมากใหข า มพนวฏั สงสารเปนอันมาก ครัง้ นน้ั เราเปน พราหมณช าวเมืองหังสวดี อนั ชนสมมติวา เปนคนประเสรฐิ ไดเ ขาไปเฝา พระพุทธเจา ผูสองโลก แลว สดับพระธรรมเทศนา ครงั้ นั้นเราไดฟง พระผมู -ี พระภาคเจาทรงตั้งสาวกของพระองคใ นตําแหนง เอต- ทัคคะในทป่ี ระชุมใหญ กช็ อบใจ จึงนมิ นตพระมหาชินเจา๑. ขุ. อ. ๓๓/ขอ ๑๒๘.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 148 กับบรวิ ารเปนอันมากแลว ไดถวายทานพรอมกันกับพราหมณอีก ๑,๐๐๐ คน ครั้นแลวเราไดถวายบงั คมพระ-ผมู ีพระภาคเจา ผูนายก แลวยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหน่งึเปนผรู า เริง ไดกราบทูลวา ขา แตพ ระมหาวีรเจา ดว ยความเชอ่ื ในพระองคแ ละดวยอธกิ ารคุณ ขอใหข าพระ-องคผูเ กดิ ในภพน้นั ๆ มีบริษัทมากเถิด ครัง้ น้ันพระศาสดาผมู พี ระสุรเสียงเหมอื นคชสารคํารน มีพระสาํ เนยี งเหมอื นนกการเวก ไดตรัสกะบรษิ ทั วา จงดูพราหมณผ นู ี้ผมู วี รรณะเหมือนทองคํา แขนใหญ ปากและตาเหมอื นดอกบัว มกี ายและใจสงู เพราะปติ ราเรงิ มคี วามเชอ่ื ในคณุ ของเรา เขาปรารถนาตําแหนง แหง ภิกษผุ มู เี สียงกองดุจเสยี งราชสีหในอนาคตกาล เขาจกั ไดตาํ แหนง นี้สมความปรารถนา ในกัปนับแตน ข้ี น้ึ ไป ๑ แสน พระศาสดามีพระนามวา โคดมซงึ่ สมภพในวงศของพระเจาโอกกากราชจักเสด็จอบุ ัตขิ นึ้ ในโลก พราหมณน ้จี กั เปนธรรมทายาทของพระศาสดาพระองคน้นั เปนโอรสอันธรรมเนรมิตจกัเปน สาวกของพระศาสดา มีนามวากสั สป พระอคั รนายกของโลกพระนามวา ผสุ สะ ผเู ปน พระศาสดาอยา งยอด-เยยี่ ม หาผเู ปรยี บมไิ ด ไมม ใี ครจะเสมอเหมือน ไดเ สดจ็อุบัติขึ้นแลว ในกปั ท่ี ๙๒ แตภทั รกัปน้ี พระศาสดาพระนามวา ผุสสะ พระองคน้นั แล ทรงกาํ จัดความมดืท้งั ปวง ทรงสางรกชัฏใหญ ทรงยงั ฝนคืออมตธรรมให
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 149 ตกลง ใหมนษุ ยและทวยเทพอม่ิ หนํา คร้งั น้นั เราสามคนพนี่ อ งเปนราชอํามาตยในพระนครพาราณสี ลวนแตเปน ทไี่ วว างพระทยั ของพระมหากษตั ริย รูปรางองอาจแกลว กลา สมบูรณด ว ยกําลังไมแ พใ ครเลยในสงครามคร้ังนน้ั พระเจา แผนดนิ ผูมเี มืองชายแดนกอ การกาํ เริบไดต รสั ส่งั เราวา ทา นท้งั หลายจงไปชนบทชายแดน พวกทา นจงยงั กาํ ลังของแผน ดนิ ใหเ รียบรอย ทาํ แวนแควนของเราใหเ กษม แลวกลบั มา ลําดบั นน้ั เราไดกราบทลูวา ถา พระองคจ ะพงึ พระราชทานพระนายกเจา เพ่อื ใหขา พระองคอ ปุ ฏฐากไซร ขา พระองคท ้งั หลายกจ็ ักทํากจิของพระองคใ หสําเรจ็ ลาํ ดับนั้น เราผรู บั พระราชทานพรสมเด็จพระภูมิบาลสง ไปทําชนบทชายแดนใหวางอาวธุแลวกลับมายังพระนครน้นั เราทลู ขอการอปุ ฏ ฐากพระ-ศาสดาแดพระราชา ไดพระศาสดาผูเปนนายกของโลกผปู ระเสริฐกวามุนี แลวไดบชู าพระองคตราบเทาสนิ้ ชวี ติเราทัง้ หลายเปน ผมู ศี ลี ประกอบดวยกรณุ า มใี จประกอบดว ยภาวนา ไดถวายผามีคา มาก รสอันประณตี เสนาสนะอนั นา ร่นื รมย และเภสชั ที่เปน ประโยชนท ตี่ นใหเกิดขึน้โดยชอบธรรม แกพระมุนีพรอ มทัง้ พระสงฆ อุปฏฐากพระองคดว ยจิตเมตตาตลอดกาล ครั้นพระศาสดาผูเ ลศิพระองคนน้ั นิพพานแลว ไดทาํ การบชู าตามกาํ ลัง เราทกุ คนจตุ ิจากอตั ภาพน้นั แลว ไปสสู วรรคชนั้ ดาวดงึ ส
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 150 เสวยมหนั ตสุขในดาวดงึ สน้ัน น้ีเปน ผลแหง พุทธบูชาเม่อื เราทอ งเทีย่ วอยูในภพ เปน เหมือนนายชา งดอกไมไดดอกไมแลวแสดงชนดิ แหงดอกไมแปลก ๆ มากมายฉะนน้ั ไดเ กิดเปนพระเจาวเิ ทหราช เพราะถอยคําของคณุ ะอเจลก เราจึงมีอธั ยาศยั อันมจิ ฉาทฏิ ฐกิ ําจดั แลว จึงขึน้ สูทางนรก ไมเอือ้ เฟอ โอวาทของธิดาเราผชู ื่อวารจุ าเมือ่ ถูกนารทพรหมสัง่ สอนเสยี มากมาย จงึ ละความเห็นท่ชี ว่ั ชา เสียได บาํ เพญ็ กุศลธรรมบถ ๑๐ ใหบ ริบูรณโ ดยพเิ ศษ ละทง้ิ รางกายแลว ไดไ ปสวรรค เหมือนไปที่อยูของตวั เองฉะน้นั เมื่อถงึ ภพสุดทาย เราเปนบตุ รของพราหมณ เกิดในสกลุ ท่สี มบูรณ ในกรุงพาราณสี เรากลัวตอ ความตาย ความปว ยไขแ ละความแกช รา จึงเขาปาใหญแสวงหาหนทางนิพพาน ไดบ วชในสํานักของชฎลิคร้งั น้ัน นองชายท้งั สองของเราก็ไดบ วชพรอมกับเรา เราไดส รา งอาศรม อาศยั อยทู ตี่ ําบลอรุ เุ วลา เรานี้นามตามโคตรวา กสั สป แตเ พราะอาศัยอยทู ี่ตาํ บลอุรุเวลา เราจงึมนี ามบญั ญตั ิวา อุรุเวลกสั สป เพราะนองชายของเราอาศยั อยทู ่ชี ายแมนาํ้ เขาจงึ ไดน ามวา นทกี สั สป และเพราะนองชายของเราอกี คนหนึ่ง อาศยั อยทู ต่ี าํ บลคยาเขาจึงถกู ประกาศนามวา คยากัสสป นอ งชายคนเลก็ มีศิษย ๒๐๐ คน นองชายคนกลางมี ๓๐๐ คน เรามี ๕๐๐ คนถวน ศิษยท กุ คนลวนแตป ระพฤติตามเรา คร้งั น้นั พระ-
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 515
Pages: