พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 456 ประโยชนอนั สูงสุด เราบรรลวุ ชิ ชา ๓ แลว คําส่ังสอน ของพระพทุ ธเจาเราไดทาํ เสรจ็ แลว จติ ของเราผนู อ มไป ในเนกขมั มะ ในความวเิ วกแหงจติ ในความไมเบียด- เบียน ในความส้นิ ไปแหง อุปาทาน ในความสน้ิ ตัณหา และความไมหลงใหลแหง ใจ ยอมหลดุ พนโดยชอบ เพราะเห็นความเกิดข้นึ แหง อายตนะ การสงั่ สมยอมไมม ี แกภกิ ษุนั้น ผหู ลุดพน แลวโดยชอบ มีจติ รักสงบ เสร็จ กิจแลว กจิ อน่ื ที่จะพึงทําอีกไมม ี ภเู ขาศลิ าลวนเปนแทง ทึบ ยอ มไมส ะเทือนดว ยลมฉนั ใด รูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณทงั้ สน้ิ ทั้งท่ีเปนอิฏฐารมณ และอนฏิ ฐารมณ ยอ มไมท าํ จิตของบคุ คลผูคงทใ่ี หหว่นั - ไหวไดฉ นั นัน้ จิตของผูคงทีน่ ้ัน เปน จิตตงั้ มนั่ ไมหว่ันไหว ไมเกาะเกี่ยวดวยอารมณอ ะไร ๆ เพราะผูคงทน่ี ั้นพจิ ารณา เห็นความเส่ือมไปแหง อารมณน นั้ . บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา ยาหุ รฏเ สมุกฺกฏโ ความวา ผูใดเปน ผูสงู สดุ คอื ประเสริฐสดุ โดยชอบ คืออยา งยง่ิ ดวยโภคสมบตั แิ ละดว ยอิสริยสมบัติ พรอมดวยชาวบาน ๘๐,๐๐๐ คนในอังครฐั . บทวา รโฺ อคคฺ สสฺ ปทฺธคู ประกอบความวา เปนบรวิ ารแหงพระเจา พิมพสิ าร ผเู ปน อธิบดีในองั ครัฐ เพราะอรรถวา เปนทย่ี ินดีแหง บริษัทดว ยสงั คหวตั ถุ ๔ เปน คหบดีวิเศษ เปน กฎุ ม พใี นรัฐของพระเจา พิมพสิ ารน้นั .
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 457 บทวา สฺาชฺชฺ ธมเฺ มสุ อกุ กฺ ฏโ ความวา พระโสณะน้นั เปน ผูสงู สดุ ในโลกตุ รธรรมในวันนี้ คือในบัดนี้ แมใ นกาลเปนคฤหัสถ ทานก็เปนผสู งู สุดกวาใครๆ ทเี ดียว บัดนี้แมในเวลาเปนบรรพชิต ทา นก็เปนผสู ูงสุดเหมอื นกนั เพราะฉะน้ัน ทา นจึงแสดงตนใหเหมอื นคนอนื่ . บทวา ทุกฺขสฺส ปารคู ความวา ทานถงึ ฝง คือถงึ ท่ีสดุ แหง ทุกขในวฏั ฏะทั้งสน้ิ , ดว ยคาํ น้นั ทา นจงึ ยังความเปน ผูสูงสดุ ทีก่ ลาวแลว โดยไมแ ปลกกนั ใหแ ปลกกัน เพราะแสดงถงึ การบรรลพุ ระอรหตั . บดั น้ีทา นเปน ผูถงึ ฝง แหงทกุ ขดว ยขอปฏบิ ตั ิใด เมอื่ จะแสดงขอปฏบิ ัตินน้ั โดยอา งถึงพระอรหัตผล จึงกลา วคาถาวา ปฺจ ฉินฺเท ตัดสงั โยชนเ บือ้ งตํ่า ๕. คําแหงคาถาน้นั มีอธบิ ายวา บุรษุ พึงตัดสงั โยชนอ นั เปนสวนเบื้องตาํ่๕ อยา ง อันใหถงึ อบายและกามสุคติ ดว ยมรรค ๓ เบอ้ื งตํา่ เหมอื นตัดเชือกทผ่ี ูกไวท ่เี ทาดวยศัสตราฉะน้นั . บุรษุ พงึ ละสงั โยชนอ นั เปน สวนเบือ้ งสูง ๕ อนั ใหถ งึ รปู ภพและอรปู ภพ ดวยอรหตั มรรค เหมือนตัดเชอื กทผี่ กูไวท คี่ อฉะนั้น, ก็แลครัน้ ละสังโยชนอันเปนสว นเบอ้ื งสงู เหลานนั้ ไดแ ลวพงึ เจริญ คือพึงทําอินทรีย ๕ มีสทิ ธินทรียเ ปน ตน ใหเกดิ ย่งิ ๆ ขน้ึ ไป,กภ็ กิ ษุผูเ ปนอยางนี้ ชอ่ื วา เปน ผกู า วลว งธรรมเปน เคร่ืองขอ ง ๕ คอื ธรรมเครอื่ งของคือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ และทิฏฐิ ทา นจึงเรียกวาผูขา มโอฆะไดแลว เพราะขามโอฆะ ๔ คือ กามโอฆะ ภวโอฆะ ทฏิ ฐโิ อฆะและอวชิ ชาโอฆะ. เม่อื แสดงวา ก็ปฏปิ ทานี้ชอ่ื วา เปน ความบริบรู ณแ หง ศลี อันขอปฏบิ ัติเคร่ืองขา มโอฆะน่นั แล และศีลเปนตน ยอมถึงความบรบิ ูรณ
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 458เพราะการละมานะเปน ตน , ไมใชโ ดยประการอน่ื ทานจึงกลาวคาถาวาอนุ ฺนฬสฺส ดังนี้เปนตน. บรรดาบทเหลานน้ั บทวา อุนนฺ ฬสฺส แปลวา มีมานะคอื ความวา งเปลา อนั ยกสงู ข้ึน. จรงิ อยู มานะ ทานเรยี กวา นัฏฐะ ฉิบหาย เพราะเปน เหมอื นฉิบหายแลว เพราะความเปน เปลา โดยความเปน ไปของใจท่ฟี ูขึน้ บทวา ปมตฺตสฺส ไดแ ก ถึงซึ่งความประมาท เพราะการปลอยสติ. บทวา พาหริ าสสฺส ความวา ไหลไปทั่วในอายตนะภายนอกอธิบายวา ปราศจากราคะในกามทงั้ หลาย. บทวา สีล สมาธิ ปฺ า จ, ปารปิ รู ึ น คจฺฉติ ความวา เมือ่บคุ คลนนั้ เสพธรรมอันเปนขา ศกึ ตอ ศลี เปนตน อันดับแรกคณุ มีศีลเปน ตนแมท ่ีเปนโลกยิ ะ ยอ มไมถงึ ความบริบรู ณ จะปว ยกลาวไปไยถึงโลกุตร-ธรรมเลา. ในขอน้ันทา นกลาวเหตดุ ว ยคําวา กก็ ิจใด ดังน้ีเปน ตน จรงิ อยูกรรมมีอาทิอยางนี้วา การรกั ษาศีลขันธอนั หาประมาณมไิ ด จาํ เดิมแตเวลาท่ภี กิ ษบุ วชแลว การอยปู า การรักษาธดุ งค ความเปน ผมู ีภาวนาเปนทีม่ ายนิ ดี ชอ่ื วา กจิ . ก็กจิ ตามทก่ี ลาวมาแลว น้ี อันภิกษุไมก ําหนดแลว คือทิง้ เสยี แลวโดยไมการทาํ . ชือ่ วา อกิจจะ ไดแ ก กรรมมีอาทอิ ยางนวี้ า การตบแตง บาตรจวี ร ประคดเอว การผูกอังสะ รม การประดบั รองเทา พัดใบตาล ธมกรก.กรรมมอี าทิอยา งนว้ี า การประดับบริขาร ความเปนผูมากดวยปจจยัช่อื วา ไมใชกิจของภกิ ษุ กิจน้ันภกิ ษุเหลาใดการทาํ อาสวะทงั้ ๔ ยอม
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 459เจรญิ แกภ กิ ษเุ หลาน้ัน ผูช อ่ื วา มีมานะดังไมออยกขนึ้ แลว เพราะยกมานะเพียงวา ไมออ ข้นึ ประพฤติ ชื่อวา ผูประมาทเพราะปลอ ยสติ. สว นคณุ มีปญญาเปน ตน เจริญแกภิกษุเหลาใด เพือ่ จะแสดงภิกษุเหลาน้ัน ทานจึงกลา ววา เยส ดังน้ี เปน ตน. บรรดาบทเหลา น้นั บทวา สุสมารทฺธา ความวา ประคองความเพียรไวดแี ลว . บทวา กายคตาสติ ไดแ ก กายานุปส สนาภาวนา. บทวา อกิจจฺ เต ความวา กิจของทา นนัน้ คอื กจิ มกี ารตบแตงบาตรเปนตน. บทวา น เสวนตฺ ิ ไดแ ก ยอ มไมทาํ . บทวา กิจเฺ จ ไดแ ก กจิ มกี ารคมุ ครองคณุ คือศลี อนั หาประมาณมิได อันภกิ ษพุ ึงทาํ จําเดมิ แตก าลทีต่ นบวชแลว . บทวา สาตจจฺ การิโน แปลวา ผมู อี ันกระทําตดิ ตอ อธบิ ายวาอาสวะทง้ั ๔ ยอมถงึ ความพินาศ คือถงึ ความส้ินไป ถงึ ความไมม ีแกสตั วเหลานัน้ ผูชอื่ วา มีสติ เพราะไมอยูปราศจากสติ. ชื่อวา ผมู สี ัมปชญั ญะดวยสมั ปชัญญะ ๔ คือ สาตถกสัมปชญั ญะ สปั ปายสมั ปชัญญะ โคจร-สัมปชญั ญะ อสมั โมหสัมปชญั ญะ. บดั นี้ เมื่อจะใหโอวาทแกภ กิ ษุผูอยูในสํานักของตน จึงกลา วคาถาวา อุชมุ คคฺ มหฺ ิ ดงั นีเ้ ปนตน. บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา อชุ ุมคคฺ มฺหิ อกขฺ าเต ความวา เมอื่พระศาสดาตรสั พระอริยมรรค อันเปนมชั ฌิมปฏปิ ทา เพราะเวนที่สดุ ๒อยา ง และเพราะละความคดกายเปน ตน .
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 460 บทวา คจฺฉถ แปลวา จงดาํ เนนิ ไป. บทวา มา นิวตฺตถ ไดแ ก จงอยาหยดุ เสยี ในระหวา ง. บทวา อตฺตนา โจทยตฺตาน ความวา กลุ บตุ รผปู รารถนาประโยชนในพระศาสนานี้ ตกั เตอื นอยูซึง่ ตนดว ยตนเอง มกี ารพิจารณาภัยในอบายเปน ตน. บทวา นิพฺพานมภิหารเย ความวา พึงนาํ ตนไปสพู ระนิพพานคอื พึงเขาไปใกลพ ระนพิ พาน อธบิ ายวา พึงปฏิบตั โิ ดยประการท่ีจะทําพระนิพพานน้ันใหแ จง. บัดนี้ เพื่อจะแสดงการปฏิบตั ิของตนวา แมเ ราปฏิบตั อิ ยางน้ีแหละทานจงึ กลาววา อจจฺ ารทธฺ มฺหิ ดงั นเ้ี ปนตน. บทวา อจจฺ ารทธฺ มฺหิ วีรยิ มหฺ ิ ความวา เมอ่ื เราเจริญวปิ ส สนา ไมกระทาํ ความเพยี รใหกิจเสมอดว ยสมาธิ ประคองความเพยี รอยางเหลือเกนิก็ความทผ่ี นู นั้ ปรารภความเพียรเกนิ ไป ไดกลาวไวแลวในหนหลงั นัน่ แล. บทวา วีโณปม กริตวฺ า เม ความวา เมือ่ ทานพระโสณะเกิดความคดิ ขน้ึ วา สาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เหลา ใดเหลา หน่ึงเเล ปรารภความเพียรยอ มอยู เราเปน ผหู นึง่ ในสาวกเหลา น้ัน กถ็ าวา จติ ของเรายอ มหลดุพน จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไมยดึ มนั่ เพราะฉะนนั้ เราจักสกึ . พระ-ศาสดาทรงแสดงพระองคในท่ีเฉพาะหนาของทา นโสณะน้ัน จงึ ตรัสถามวาเพราะเหตุไร โสณะ เธอจงึ เกิดความคดิ ข้นึ วาจักสึก เมื่อกอนเธอเปนผูครองเรือนฉลาดในเสียงแหง สายพณิ . เม่อื ทา นทลู วา อยา งน้นั พระเจา ขาจงึ ตรัสวา โสณะ เธอสําคญั ขอนน้ั เปน อยางไร ? ในกาลใดสายพณิ ของเธอตงึ เกินไป อนึง่ สายพณิ ของเธอยอ มมเี สียงหรอื ควรแกก ารงานในสมัยน้ัน
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 461บางหรอื เมื่อทา นโสณะทูลวา ก็ขอ นัน้ ไมเปน อยา งนนั้ พระเจาขา จงึตรสั วา โสณะ เธอสําคัญขอ น้ันเปน อยา งไร ในกาลใดสายพณิ ของเธอหยอนเกนิ ไป ในสมัยน้ันพณิ ของเธอยอ มมเี สยี ง หรือควรแกก ารงานบางหรือ เมือ่ ทา นโสณะทูลวา ก็ขอ นน้ั ไมเ ปนอยางนัน้ พระเจา ขา จงึ ตรัสวาโสณะ เธอสาํ คัญขอนั้นเปนอยางไร ก็ในกาลใดสายพิณของเธอไมตงึ เกนิไปและไมห ยอ นเกนิ ไป ตง้ั อยูใ นคุณอันเสมอ ในสมัยนนั้ สายพิณของเธอมีเสียง หรือควรแกการงานบา งละหรอื เมื่อทานโสณะทูลวา เปน อยางน้ันพระเจาขา จึงตรัสวา อยา งน้ันนัน่ แหละ โสณะ ความเพียรอันปรารภเกนิ ไป ยอ มเปนไปเพ่อื ความฟุง ซาน ความเพียรอนั หยอนเกนิ ไป ยอมเปนไปเพ่อื ความเกยี จครา น เพราะเหตนุ ัน้ นน่ั แล โสณะ เธอจงต้ังความเพยี รใหสม่ําเสมอ และจงรูแจง ความที่อินทรยี ม คี วามสมาํ่ เสมอกัน ดงั นี้ครน้ั ทรงกระทําพิณใหเ ปนอุปมาอยางนี้แลว จึงแสดงธรรมแกเ รา ดวยโอวาทอันเปรียบดวยพิณอันใหเปน แลว . บทวา ตสฺสาห วจน สุตฺวา ความวา เราไดฟ งวโี ณปโมวาทสูตรอนั เปนพระดํารัสของพระผมู พี ระภาคเจา นัน้ แลว จงึ ละความท่ีตนเปนผใู ครเ พื่อจะสึก อนั เกิดข้นึ ในระหวา งเสีย ยนิ ดแี ลว คอื ยินดียิ่งแลว ในศาสนาของพระศาสดา. กเ็ ม่อื จะอยู เราจะบาํ เพ็ญสมถะใหพ รอมมูล ประกอบความเพียรใหสมํา่ เสมอ ยงั ความท่สี มาธกิ ับวีริยะมกี ิจเสมอใหเ กดิ ขึ้น ยงั วปิ สสนาสมาธิซ่งึ มฌี านเปน ทตี่ ้งั ใหถงึ พรอ ม บาํ เพญ็ วปิ ส สนา จึงกลา วประโยชนในขอน้ันวา ดว ยการบรรลปุ ระโยชนอ นั สูงสุด. บทวา อตุ ฺตมสฺส ปตตฺ ยิ า ความวา เพ่อื บรรลุพระอรหัต.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 462 บดั นี้ เมอื่ จะทรงแสดงประการทส่ี มถะและวิปส สนาสาํ เร็จแกผปู ฏิบัติโดยอา งถงึ พระอรหตั ผล จึงกลา วคาํ วา เนกขฺ มฺเม ดังน้เี ปน ตน. บทวา อธิมตุ ตฺ สสฺ ความวา ผปู ระกอบขวนขวาย โดยภาวะ นอมไป โอนไป เงื้อมไปในเนกขมั มะนัน้ อธิบายวา อนั ดับแรก เปนผูม งุหนาตอ บรรพชากอน แลว ละกามทง้ั หลายและบรรพชา ประกอบการขวนขวายในธรรมอนั หาโทษมิได มีอาทอิ ยางนคี้ ือ การชําระศลี ใหหมดจด การอยูปา การรกั ษาธุดงค และการประกอบยิ่งในภาวนา. บทวา ปวเิ วกฺจ เจตโส ความวา มสี ตนิ อ มใจไปสคู วามสงดัและนอ มไปในเนกขัมมะอยางน้อี ยู คอื ประกอบขวนขวายในวเิ วก โดยยังฌานหมวดสแี่ ละฌานหมวดหาใหบงั เกิด. บทวา อพยฺ าพชฺฌาธมิ ุตฺตสฺส ความวา นอมใจไปโดยความเปนผูหมดทุกข ในเพราะไมเ บียดเบยี น คือยงั ฌานสมาบัติใหเกดิ แลว ขวนขวายในความสขุ อันเกิดแตส มถะ. บทวา อปุ าทานกฺขยสฺส จ ความวา นอมใจไปในทส่ี ุดแหง ความสิ้นไปแหง อปุ าทานทงั้ ๔ คอื ในพระอรหัต. จริงอยู บทวา อปุ าทานกฺขยสฺส น้ี เปนฉฏั ฐีวภิ ตั ติ ใชใ นอรรถแหงสตั ตมวี ภิ ัตต.ิ อธบิ ายวากระทาํ ฌานตามทต่ี นบรรลุแลวนน้ั ใหเ ปนบาทแลว ตามประกอบวิปสสนา เพอ่ื บรรลพุ ระอรหัต. บทวา ตณหฺ กขฺ ยาธิมตุ ตฺ สสฺ ความวา ชอ่ื วา ตัณหักขยะ เพราะเปนทีส่ นิ้ ไปแหง ตณั หา, ไดแกพ ระนพิ พาน, นอ มไปในพระนพิ พานน้ันคอื นอ มไป โอนไป เงอ้ื มไปในนิโรธ โดยเห็นอปุ าทานโดยความเปน ภัยและเหน็ ความไมม อี ุปาทานโดยปลอดภัย.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 463 บทวา อสมโฺ มหฺจ เจตโส ความวา นอ มจติ ไปสคู วามเปนไปโดยไมหลง ดว ยสามารถเเหง สัมปชญั ญะ คอื ความไมหลง. หรือนอ มจิตไปสอู ริยมรรคอนั เปนความไมห ลง ดว ยการถอนความหลงไดโ ดยเดด็ ขาด. บทวา ทสิ วฺ า อายตนปุ ปฺ าท ความวา เพราะเหตทุ ไี่ ดเ หน็ การเกดิขนึ้ แหงอายตนะท้ังหลาย มจี กั ษเุ ปนตน โดยปจจัยตามที่เปน ของตนและเห็นความดับ โดยเปน ขาศึกกบั ความเกดิ นนั้ ดว ยมรรคปญ ญา อนัประกอบดวยวปิ ส สนาปญญา. บทวา สมมฺ า จติ ตฺ วิมุจฺจติ ความวา จติ ยอ มหลดุ พน จากอาสวะท้งั ปวง โดยชอบ คือโดยเหตุ โดยญายะ โดยลาํ ดบั แหง มรรค. ในคาํ วา ตสสฺ สมมฺ า วิมุตฺตสสฺ เปนตน มีความสงั เขปดังตอไปน้วี า :- จติ นั้นหลดุ พนแลวจากกเิ ลสท้ังปวง โดยนยั ที่กลา วแลว คือโดยชอบแท เพราะเหตุนัน้ นั่นแล ความกอ ขึ้นแหงกุศลหรอื อกุศลท่ภี ิกษุผูขีณาสพ มีจติ สงบเพราะสงบโดยสวนเดียว กระทําไวย อ มไมม ี เพราะถอนขนึ้ ดวยมรรคนน่ั เอง กจิ ท่ีควรทําตางดว ยปริญญากิจเปนตน ยอมไมมีเพราะทํากิจเสรจ็ แลว ภูเขาอันลวนแลว ดว ยหนิ เปน แทงทึบ ยอ มไมสะเทือน ยอมไมห ว่ันไหวดวยลมตามปกติฉันใด ธรรมคอื อารมณมีรูปเปน ตน อันนา ปรารถนาและไมปรารถนา ของจิตของภิกษุผูขณี าสพกฉ็ นั น้นั ไมย งั จติ ของทา นผคู งที่ คอื ผูถ งึ ความเปนผคู งที่ ดาํ รงม่ันไมเอนเอยี ง เปน จิตปราศจากกเิ ลสเครอื่ งประกอบ เพราะความเปนผูล ะความโศกไดท้ังหมด ไมห ว่ัน ไมไ หวได และทา นยอ มเขา ผลสมาบัติเห็น
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 464แจงอยตู ลอดกาลโดยกาล แหง ธรรมคอื อารมณน ัน้ ยอ มตามเห็นความเสื่อมคอื ความดับ ไดแกม สี ภาวะแตกไปทกุ ขณะ เพราะเหตนุ ้นั ทานจงึ พยากรณพระอรหตั ผล. จบอรรถกถาโสณโกฬิวสิ เถรคาถาท่ี ๑ จบปรมัตถทีปนี อรรถกถาเถรคาถา เตรสกนบิ าต
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 465 เถรคาถา จุททสกนิบาต ๑. เรวตเถรคาถา วา ดวยคาถาของพระเรวตเถระ[๓๘๑] นบั แตเ ราออกบวชเปนบรรพชติ แลว ไมร สู กึ ถงึ ความ ดําริอันไมป ระเสริฐประกอบดวยโทษเลย ในระยะกาล นานที่เราบวชอยูน ี้ เราไมรูสกึ ถึงความดาํ ริวา ขอใหสตั ว เหลา น้ัน จงถกู ฆา ถกู เขาเบียดเบยี น จงไดรบั ทกุ ข เรารสู ึกแตก ารเจรญิ เมตตาอนั หาประมาณมิได อบรมสง่ั - สมดีแลวโดยลําดับ ตามทีพ่ ระพทุ ธเจาทรงแสดงไวแลว เราไดเ ปน มิตรเปน สหายของสตั วท ั้งปวง เปน ผูอนเุ คราะห สัตวท ั้งปวง ยินดีแลว ในการไมเบียดเบยี น เจริญเมตตา- จติ อยูทกุ เมื่อ เรายงั จติ อันไมงอนแงน ไมก าํ เรบิ ให บันเทิงอยู เจรญิ พรหมวิหารอันบรุ ษุ ผูเ ลวทรามไมซอ งเสพ สาวกของพระสัมมาสมั พุทธเจา เปนผเู ขาทุติยฌานอัน ไมม วี ติ กวิจาร ประกอบดว ยความเปน ผนู ิ่งเปน อรยิ ะ โดย แทจ ริง ภูเขาศลิ าลวนไมหวนั่ ไหว ตง้ั อยูคงที่ แมฉนั ใด ภิกษุก็ฉนั น้นั ยอ มไมหวน่ั ไหวดุจบรรพตเพราะสิน้ โมหะ ความช่วั แมม ปี ระมาณเทา ปลายขนทราย ยอ มปรากฏ เหมือนประมาณเทาหมอกเมฆ แตทานผไู มม กี เิ ลสเครอื่ ง ย่วั ยวน ผแู สวงหาความสะอาดเปนนติ ย เมืองหนาดา น เปน เมืองอนั เขาคมุ ครองแลวทงั้ ภายในและภายนอกฉนั ใด
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 466 ทานทง้ั หลายจงคมุ ครองตนฉันนนั้ เถดิ ขณะอยา ไดล ว ง เลยทานทงั้ หลายไปเสีย เราไมย ินดีตอ ความตาย ไม เพลิดเพลนิ ตอความเปน อยู แตเ รารอเวลาตาย เหมอื น ลกู จางคอยใหห มดเวลาทาํ งานฉะน้นั เราไมยินดี ความตาย ไมเ พลดิ เพลินตอ ความเปน อยู แตเรามสี ติสัมปชัญญะรอทา เวลาตาย พระศาสดาเราคนุ เคยแลว เราทาํ คาํ สงั่ สอน ของพระพุทธเจา เสรจ็ แลว ปลงภาระอนั หนักลงแลว ถอนตัณหาเคร่ืองนําไปสภู พแลว ไดบรรลถุ ึงประโยชนท ่ี กุลบตุ รออกบวชเปนบรรพชติ ตองการแลว บรรลถุ ึงความ ส้นิ สงั โยชนทง้ั ปวง ทานทงั้ หลายจงยังความไมประมาท ใหถึงพรอมเถิด นีเ้ ปนคาํ สอนของเรา เราจักอาํ ลาทา น ท้ังหลายปรนิ พิ พานในบัดนี้ เพราะเราเปน ผหู ลดุ พน แลว จากกิเลสท้ังปวง. จบเรวตเถรคาถา อรรถกถาจุททสกนบิ าต อรรถกถาขทิรวนยิ เรวตเถรคาถาท่ี ๑ ใน จทุ ทสกนบิ าต คาถาของทา นพระขทิรวนิยเรวตเถระ มคี าํเรม่ิ ตน วา ยถา อห ดังน้,ี เร่ืองนน้ั มเี หตเุ กิดข้นึ เปนอยางไร ?
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 467 คาถาของทาน บางอยางมาแลวในเอกนิบาตในหนหลัง, ก็ในเรือ่ งน้ันทานแสดงถึงเหตเุ พยี งใหเกิดสตใิ นหลาน ๆ ของตน เพราะฉะนัน้คาถาทานจงึ สงเคราะหเ ขาในเอกนบิ าต แตค าถาเหลานี้ ทา นประกาศถงึขอ ปฏบิ ัตจิ าํ เดมิ แตพระเถระบวชแลว จนถงึ ปรนิ พิ พาน ยกขึน้ สงั คายนาในจุททสกนิบาตน้.ี ในขอน้นั เหตุเกดิ เร่ืองทานกลา วแลว ในหนหลงั นัน่ แล. แตข อ นี้มคี วามแปลกกนั ดงั ตอ ไปน้ีวา ไดย ินวา พระเถระบรรลพุ ระอรหตั แลว ไปยงั ทีอ่ ปุ ฏ ฐากพระศาสดาและของพระมหาเถระ มพี ระธรรมเสนาบดเี ปน ตนอยูในทนี่ ัน้ เพียงวนั เล็กนอ ยเทาน้นั ก็กลบั มาปาไมตะเคยี นนั่นแล ยบั ยง้ัอยูด ว ยสุขอันเกิดแตผ ลสมาบัติ และดว ยพรหมวิหารธรรม. เมอื่ กาลลวงไปดวยอาการอยา งนี้ วยั ถงึ ครา่ํ ครา เจรญิ โดยลาํ ดบั .วันหน่งึ ทานไปยังที่บาํ รุงพระพุทธเจา อยใู นทีไ่ มไ กลแตกรุงสาวัตถี ในระหวา งทาง. กโ็ ดยสมัยน้ัน พวกโจรกระทําการปลน ในพระนคร ถึงพวกมนษุ ยผูอ ารักขาไลต ดิ ตาม พากนั หนีไปท้งิ หอ สิ่งของท่ีลกั มาในทใี่ กลพ ระ-เถระ. พวกมนุษยต ิดตามเหน็ ภณั ฑะในท่ใี กลพ ระเถระ แลว พาไปดวยหมายวาเปนโจร จึงแสดงแดพ ระราชาวา ผูนเ้ี ปน โจรพระเจา ขา. พระราชารับส่ังใหป ลอ ยพระเถระแลว ตรัสถามวา ทานขอรับ ทานกระทําโจรกรรมนี้หรอื ไม ? พระเถระเพื่อจะประกาศกรรมเชน นัน้ ทีต่ นไมเ คยกระทําตง้ั แตเกิดมากจ็ รงิ ถึงกระนนั้ กรรมน้นั อาตมาก็มิไดท ํา เพราะตดั กิเลสไดเดด็ขาด และไมควรกระทาํ ในกรรมเชนนัน้ เม่อื จะแสดงธรรมแกภิกษผุ ูอยูในทใ่ี กลและแกพระราชา จึงไดก ลาวคาถาน้วี า
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 468 นับแตเ ราออกบวชเปน บรรพชติ แลว ไมร ูสกึ ถึงความดาํ ริอันไมป ระเสรฐิ ประกอบดวยโทษเลย ในระยะกาลนานทเ่ี ราบวชอยูนี้ เราไมรูส ึกถึงความดํารวิ า ขอใหสตั วเ หลาน้ันจงถกู ฆา ถกู เขาเบียดเบยี น จงไดร ับทุกขเรารสู กึ แตการเจริญเมตตาอนั หาประมาณมไิ ด อบรมสั่งสมดีแลวโดยลําดบั ตามท่ีพระพุทธเจา ทรงแสดงไวแลว เราไดเ ปนมิตรเปน สหายของสัตวทง้ั ปวง เปน ผูอนเุ คราะหสัตวท้งั ปวง ยินดีแลวในการไมเบยี ดเบียนเจริญเมตตาจติ อยูทกุ เมื่อ เรายงั จติ อันไมง อ นแงน ไมกาํ เริบใหบ ันเทิงอยู เจรญิ พรหมวหิ ารอนั บุรุษผเู ลวทรามไมซอ งเสพ สาวกของพระสมั มาสมั พุทธเจา เปนผูเขาทุตยิ ฌานอนั ไมม วี ติ กวจิ าร ประกอบดว ยความเปนผูนงิ่เปน อรยิ ะ โดยแทจ รงิ ภูเขาศลิ าลวนไมหวั่นไหว ตั้งอยคู งที่ แมฉันใด ภิกษกุ ฉ็ ันนน้ั ยอมไมห ว่ันไหวดุจบรรพต เพราะส้นิ โมหะ ความชัว่ แมม ปี ระมาณเทาปลายขนทราย ยอมปรากฏเหมอื นประมาณเทา หมอก-เมฆ แกทานผไู มมีกิเลสเครือ่ งยั่วยวน ผูแสวงหาความสะอาดเปนนิตย เมืองหนา ดา นเปน เมืองอนั เขาคุมครองแลวทงั้ ภายในและกายนอกฉันใด ทานทง้ั หลายจงคุม-ครองตนฉันน้ันเถดิ ขณะอยาไดล ว งเลยทา นท้งั หลายไปเสยี เราไมย ินดตี อ ความตาย ไมเพลดิ เพลนิ ตอ ความเปนอยู แตเรารอเวลาตาย เหมือนลกู จา งคอยใหหมด
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 469 เวลาทํางานฉะน้ัน เราไมยินดคี วามตาย ไมเ พลิดเพลนิ ความเปนอยู แตเรามีสตสิ มั ปชญั ญะรอทา เวลาตาย พระศาสดาเราคุนเคยแลว เราทาํ คาํ สั่งสอนของพระ- พทุ ธเจาเสรจ็ แลว ปลงภาระอันหนักลงแลว ถอนตณั หา เคร่อื งนําไปสูภพแลว ไดบ รรลุประโยชนทกี่ ุลบตุ รออก บวชเปน บรรพชติ ตองการแลว บรรลถุ ึงความสน้ิ สงั โยชน ทง้ั ปวง ทา นทงั้ หลายจงยงั ความไมประมาทใหถ งึ พรอ ม เถิด นี้เปนคําสอนของเรา เราจกั อาํ ลาทา นทั้งหลาย ปรินพิ พานในบัดนี้ เพราะเราเปนผหู ลดุ พนแลวจากกิเลส ท้ังปวง. ในคาถาน้ัน มกี ารพรรณนาตามลําดบั บทดังตอ ไปนี้วา บทวาอมิ สฺมึ ทีฆมนตฺ เร ประกอบความวา ในกาลใดเราเปน บรรพชิต ต้งั แตน้นั มาก็นีเ้ ปนกาลนานของเรา ในกาลระยะยาวเชนน้ี เราไมรคู วามตรึกอนั ประกอบดว ยโทษอนั ไมประเสริฐ ดว ยอาํ นาจอภิชฌาวา นีเ้ ปน เหตุของเรา หรือดว ยอาํ นาจพยาบาทวา ขอสัตวเ หลานี้จงถูกฆา. บทวา เมตตฺ ฺจ อภชิ านามิ ความวา ช่อื วา เมตตา เพราะเปนเหตุเยอ่ื ใยคือสิเนหา ไดแกความไมพยาบาท, ชื่อวา เมตตา เพราะมีความรกั ใคร ความเจริญเมตตา ไดแก พรหมวหิ ารธรรมมีเมตตาเปนอารมณ, ซึ่งเมตตานัน้ , ทานสงเคราะหพรหมวหิ ารนอกนี้ ดว ยศพั ทวาเมตตา กรุณา มุทิตา และอเุ บกขา. บทวา อภชิ านามิ ความวา เรารโู ดยเฉพาะหนา, จรงิ อยู เม่อืพจิ ารณาถึงฌานทบ่ี รรลแุ ลว เปนอนั ชอื่ วามุงหนา ตอปจ จเวกขญาณ
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 470เพื่อเลีย่ งคาํ ถามวาประมาณเทา ไร ทานจงึ กลาววา หาประมาณมิไดเปน ตน .ก็ฌานนั้นนน้ั ช่ือวา หาประมาณมิได เพราะมีสตั วห าประมาณมไิ ดเ ปนอารมณ เหมอื นฌานท่พี ระพทุ ธเจาทรงแสดงแลว . ประกอบความวา เรารเู ฉพาะฌานน้ีทช่ี อื่ วา เจรญิ ดีแลว เพราะเจรญิ ดวยดี ท่ีชอื่ วาอบรม คือเสพคุนแลวโดยลําดับ คอื ตามลาํ ดับอยางน้ี คอื เมตตาท่ีหนงึ่ จากน้ันกรุณา จากนน้ั มทุ ติ า ภายหลงั อุเบกขา,ชื่อวาเปนมติ รของคนท้ังปวง เพราะเปนมิตรของสัตวทัง้ ปวง หรอื คนทง้ั ปวงเปนมติ รของเรา, จริงอยู ผเู จรญิ เมตตา ยอ มเปน ทีร่ ักของสัตวทง้ั หลาย. แมใ นบทวา สพพฺ สโข นีก้ ม็ นี ยั นี้เหมอื นกนั . บทวา สพพฺ ภตู านกุ มฺปโก ไดแกผ อู นุเคราะหส ตั วท้ังปวง. บทวา เมตตฺ จติ ตฺ จฺ ภาเวมิ ความวา เรายังจิตใหเกิด คือยงั จิตที่ประกอบคอื ทส่ี มั ปยตุ ดวยเมตตาใหเจรญิ โดยพเิ ศษ หรอื ประกาศเพราะถงึ ความสูงสดุ ในภาวนาแมในเมือ่ ไมกลาว. อกี อยางหนง่ึ วา เราเจริญเมตตาจิต, ความแหงคํานั้นมีนัยดงั กลาวแลวในหนหลังนั้นแล. บทวา อพยฺ าปชฺชรโต ความวา ยนิ ดียิง่ ในความเบยี ดเบยี น คือในการนําประโยชนเ กื้อกูลเขาไปใหแ กส ตั วท ้งั หลาย. บทวา สทา แปลวา ทกุ ๆ กาล ดวยคํานั้นทา นแสดงถงึ การกระทําความเพยี รเปน ไปติดตอในกาลนน้ั . บทวา อส หิร แปลวา ไมงอ นแงน คอื ไมถ ูกราคะอนั เปนขาศกึใกลไมครามา. บทวา อสงกฺ ปุ ฺป แปลวา ไมก ําเริบ คือไมกาํ เริบดวยพยาบาท
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 471อันเปนขา ศึกไกล. ครน้ั กระทําใหเ ปนอยางน้ี ยอ มบันเทิงท่วั คือบันเทิงยิ่ง ซง่ึ เมตตาจิตของเรา คือเจรญิ พรหมวหิ าร บทวา อกาปุรสิ เสวติ ความวา เราทําใหเกิดคอื เจรญิ ซ่ึงเมตตาพรหมวิหารเปนตนอนั ประเสริฐ คอื เลิศ ไดแก หาโทษมไิ ด อนั คนช่ัวคอื ตา่ํ ชา ไมเ สพแลว หรอื อันคนไมชวั่ คอื พระอรยิ เจา ทั้งหลาย มพี ระพทุ ธเจาเปนตนเสพแลว . ครัน้ แสดงขอปฏบิ ัตขิ องตนดว ย ๕ คาถา โดยยกตนขน้ึ แสดงอยางน้ีบัดนีเ้ มื่อจะแสดงขอปฏิบตั นิ นั้ โดยอา งถงึ พระอรหตั ผล จงึ ไดกลาว ๔คาถา โดยนัยมีอาทวิ า อวติ กฺก ดังนี้. บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา อวิตกกฺ สมาปนฺโน ความวา ถงึพรอมซง่ึ ฌานมที ตุ ยิ ฌาณเปนตน อนั เวน แลว จากวิตก, ดว ยคําน้นัพระเถระกลา วการบรรลุฌานมที ุติยฌานเปนตนดวยตนเอง โดยอา งถึงพระอรหัตผล ดวยพรหมวหิ ารภาวนา กเ็ พราะเหตทุ ่ีพระเถระกระทําฌานนน้ั น่นั แลใหเปนบาทแลว เจริญวปิ สสนาแลว ยดึ เอาพระอรหตั โดยอาสนะเดยี วนั่นเอง ฉะนั้นเมื่อจะแสดงความนั้น โดยอางเอาพระอรหัตผลนนั่ แล จึงกลาววา อวิตกฺก สมาปนฺโน ดงั นี้แลวกลา ววา สาวกของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา เปน ผเู ขาถึงความเปนผูน่งิ แบบพระอรยิ ะในขณะ-นน้ั . ในขอน้ัน สมาบัตอิ นั ไมม ีวิตกไมม วี จิ าร เพราะไมมีวจีสังขารพระพุทธเจา ทัง้ หลายตรัสวา เปน ความนิ่งแบบพระอริยะ ก็สมาบัติอยา งใดอยางหนึง่ ช่ือวา เปน ความนิง่ แบบพระอรยิ ะ เพราะพระบาลวี า ภิกษุทงั้ หลาย เมื่อพวกเธอประชมุ กนั พึงทํากจิ ๒ อยาง คือเปน ผูกลา วธรรม
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 472หรือเปน ผนู ่ิงแบบพระอริยะ แตใ นท่นี ้ี ทา นประสงคเอาสมาบัตอิ ันสมั ปยุตดว ยอรหัตผลอันประกอบดวยฌานที่ ๔. บดั น้ี เมอ่ื จะประกาศความทีต่ นไมหวน่ั ไหวดว ยโลกธรรมดวยอุปมาเพราะความที่ตนบรรลุพระอรหตั ผลนนั้ แลว จึงกลา วคาถาวา ยถาปปพฺพโต ดงั นี้เปนตน . บรรดาบทเหลาน้นั บทวา ยถาป ปพฺพโต เสโล ความวา ภูเขาอนั ลว นแลว แตหิน คืออันลว นแลว แตหินเปน แทงทึบฉันใด อธบิ ายวาไมใชภ เู ขาดินรวน ไมใ ชภ เู ขาปนดนิ . บทวา อจโล สุปปฺ ติฏ ิโต ความวา เปน ภเู ขามรี ากตัง้ อยูแ ลวดว ยดี ไมห วน่ั ไหวสะเทือนดวยลมตามปกติ เพราะฉะน้นั พระอรหตั และนพิ พาน ชอื่ วา ละโมหะไดเด็ดขาด เพราะภกิ ษไุ มหวนั่ ไหว เหตโุ มหะส้ินไปดวยอาการอยา งน้ี ดจุ ภเู ขาฉะน้นั คอื ภกิ ษลุ ะอกุศลทั้งปวงไดแลวเพราะอกุศลทัง้ ปวงมีโมหะเปน มลู ยอมไมหวั่นไหวดวยโลกธรรมท้งั หลายเหมอื นภูเขานั้นยอ มไมส ะเทอื นดว ยลมฉะน้ัน อกี อยางหนึง่ อธบิ ายวา เพราะเหตุทีพ่ ระอรหัต และพระนพิ พานทา นเรยี กวา ธรรมเปน ทสี่ ้นิ โมหะ ฉะนน้ัจึงชื่อวา โมหักขยา เพราะฉะนัน้ ภิกษผุ ูตงั้ อยูดว ยดีแลวในอริยสัจ ๔เพราะเหตธุ รรมเปน ทส่ี น้ิ โมหะ และเพราะบรรลุพระนิพพานและอรหตัแมในเวลาไมเ ขา สมาบัตกิ ็ไมหว่ันไหว เหมอื นภเู ขา จะปว ยกลาวไปไยถงึ ผเู ขา สมาบัตเิ ลา. บดั น้เี มอื่ จะแสดงวา ชือ่ วา บาปน้ี ภิกษุผูมีศลี ไมส ะอาดเทานั้นยอ มประพฤติ สว นภกิ ษผุ ูมีศีลสะอาดหาประพฤติไม กบ็ าปสาํ หรับผมู ศี ีลสะอาด
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 473น้นั แมม ปี ระมาณนอย กป็ รากฏเปนของหนัก จึงกลา วคาถามอี าทวิ าอนงฺคณสสฺ ดงั นี้. คาํ แหงคาถานั้นมีอธบิ ายดงั น้ีวา ความชั่วมีประมาณเทา ปลายขนทราย ประมาณเทา ปลายผม แมมีประมาณเล็กนอ ยแหง บาป ของสัปบุรุษผชู อื่ วา ไมม กี เิ ลสเครื่องยยี วน เพราะไมม กี เิ ลสเครื่องยียวนมีราคะเปนตน ผูแสวงหาธรรมอันสะอาดหาโทษมไิ ด ต้ังแผท ั่วโลกธาตปุ รากฏเปน เพียงอากาศ เพราะฉะน้ัน จงึ มอี ธบิ ายวา ไมพึงหวังบคุ คลผเู ชน เราในกรรมเห็นปานน้ี. เมอ่ื จะใหโอวาทวา เพราะเหตุท่พี วกคนอันธพาลทําความวารา ยเห็นปานนนั้ ใหเกิดขน้ึ แมใ นผูไ มมกี เิ ลส ฉะน้ันผูใครต อประโยชนพึงรกั ษาตนโดยเคารพ. จงึ กลา วคาถามอี าทิวา นคร ยถา ดงั นี้. คาถาน้นั มอี ธิบายวา เหมือนอยางวาปจ จนั ตนคร อันมนุษยชาวเมอื งปจ จนั ตนครกระทําประตแู ละกําแพงเปน ตนใหม น่ั คง ช่ือวาทาํ ใหมนั่ คงในภายใน เมือ่ กระทําเชิงเทนิ แลคเู ปนตน ใหมน่ั คง ชือ่ วาทาํ ใหม่ันคงในภายนอก เพราะฉะนั้น ชอื่ วากระทําใหเปน อนั คุมครองทงั้ ภายในและภายนอกฉนั ใด พวกเธอทงั้ หลายก็ฉันนน้ั จงอยาปลอ ยสติท่ีเธอเขาไปตัง้ ไว ปด ทวารทง้ั ๖ ทเี่ ปนไปในภายในแลว รกั ษาทวารไวแ ลวกระทําทวารเหลานั้นใหม ่นั คง ดว ยการไมย ดึ ถอื โดยประการท่อี ายตนะภายนอก ๖ ที่ยึดถือไว เปน ไปเพื่อกระทบอายตนะภายใน ไมละสตทิ ่ีรักษาทวาร โดยไมใ หเ ขา ไปสอู ายตนะเหลา น้นั เทย่ี วไปอยู ชือ่ วา คุม-ครองตน. เพราะเหตไุ ร ? เพราะขณะอยาไดลว งเธอทัง้ หลายไปเสยี . จรงิ อยู ขณะท้งั หมดน้ี คือขณะเปน ทอ่ี บุ ตั แิ หง พระพทุ ธเจา ขณะ
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 474ไดอ ตั ภาพเปนมนษุ ย ขณะอบุ ตั ใิ นมัชฌมิ ประเทศ ขณะไดสมั มาทฏิ ฐิขณะไมบ กพรองอายตนะ ๖ ยอ มลวงบุคคลผูไ มคมุ ครองตนดว ยอาการอยางน้ี, ขณะนัน้ อยา ลว งทา นท้งั หลายไปเสียดงั นแ้ี ล. พระเถระ ครั้นโอวาทบริษทั พรอมดว ยราชบรพิ ารดวยคาถานี้ ดวยอาการอยา งนีแ้ ลว เมอ่ื จะประกาศความท่ตี นมีจิตเสมอในมรณะและชีวติและกิจทตี่ นทาํ เสรจ็ แลว อกี จึงกลาวคําวา นาภินฺนฺทามิ มรณ ไมยนิ ดียงิ่ ซ่ึงความตายดังนเี้ ปนตน. คํานน้ั มีอรรถดงั กลา วแลวในหนหลงั นั่นแล. ก็แลคร้นั กลา วอยา งนี้แลว เหน็ กาลปรนิ ิพพานแหง ตนปรากฏจึงใหโ อวาทแกพ วกเหลา นน้ั โดยสังเขปนั่นแล เมื่อจะประกาศพระนพิ พานจึงกลา วคาถาสุดทา ย. บรรดาบทเหลาน้นั บทวา สมปฺ าเทถปฺปมาเทน ความวา เธอท้งั หลายจงยงั สิกขา ๓ มีทานและศลี เปน ตน ทีค่ วรใหถ งึ พรอม ใหถ งึพรอ มดวยความไมป ระมาทเถดิ , จงเปน ผไู มป ระมาทในการตามรกั ษาศีลอนั เปน ไปแกค ฤหสั ถ อนั ตางดว ยประโยชนในปจ จุบนั และประโยชนในเบือ้ งหนา ในการตามประกอบสมถะ และวิปส สนาภาวนา. บทวา เอสา เม อนุสาสนี ความวา การพร่ําสอนวา ทา นท้ังหลายจงไมป ระมาทในทานและศีลเปนตน นเ้ี ปนคําพร่าํ สอน คอื เปนโอวาทของเรา. ครั้นแสดงขอปฏบิ ตั ิอนั เปนประโยชนแ กผอู ืน่ อยา งนแ้ี ลว เมอื่ จะถอืเอาทีส่ ุดแหงขอ ปฏิบัตอิ นั เปนประโยชนตน จงึ กลา ววา เอาเถอะ เราจักปรนิ ิพพาน เราเปน ผหู ลุดพน แลวในที่ทุกสถาน.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 475 บรรดาบทเหลาน้นั บทวา วปิ ปฺ มุตฺโตมหฺ ิ สพพฺ ธิ ความวา เราเปน ผูหลุดพนแลว จากกเิ ลสและภพท้งั หลาย โดยประการทัง้ ปวง เพราะเหตุนั้น เราจกั ปรินิพพานโดยสวนเดยี วฉะนแ้ี ล. ก็แล คร้นั กลา วอยา งนีแ้ ลว น่งั ขัดสมาธเิ ขา ฌานมีเตโชธาตเุ ปนอารมณ เมอ่ื ไฟลุกโพลงอยปู รินพิ พานดว ยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. จบอรรถกถาขทิรวนยิ เรวตเถรคาถาท่ี ๑
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 476 ๒. โคทตั ตเถรคาถา วา ดวยคาถาของพระโคทัตตเถระ[๓๘๒] โคอาชาไนยที่ดี อันเขาเทยี มแลวที่แอกเกวยี น ยอ ม อาจนําแอกเกวียนไปได ไมยอทอตอ ภาระอนั หนกั ไม ทอดทงิ้ เกวียนอนั เขาเทียมแลว แมฉนั ใด บคุ คลเหลาใด บริบรู ณดวยปญ ญา เหมอื นมหาสมทุ รอนั เตม็ ดว ยนาํ้ บคุ คลเหลานัน้ ยอมไมด หู มนิ่ ผูอนื่ ฉนั น้ัน ยอมเปนดัง อริยธรรมของสตั วท ้ังหลาย นรชนผูตกอยูในอาํ นาจของ เวลา ตกอยูในอาํ นาจภพนอยภพใหญ ยอ มเขาถึงความ ทุกขแ ละตอ งเศรา โศก คนพาลไมพ จิ ารณาเห็นตามความ เปน จรงิ ยอมเดอื ดรอ นดวยเหตุ ๒ อยา ง คอื มีใจฟขู ึ้น เพราะเหตุแหงสุข ๑ มีใจฟบุ ลงเพราะเหตแุ หง ทกุ ข ๑ เหลาใด กา วลว งตัณหาเคร่อื งรอ ยรัดในทกุ ขเวทนา ใน สุขเวทนา และในอทุกขมสุขเวทนา ชนเหลานน้ั เปน ผู ตง้ั มัน่ ไมหวนั่ ไหวเหมอื นเสาเข่อื น เปน ผไู มฟ ูขนึ้ และไม ฟบุ ลง ชนเหลา นัน้ ยอมไมค ิดอยใู นลาภ ความเส่ือมลาภ ในยศ ความเสอ่ื มยศ นนิ ทา สรรเสริญ สุข และทกุ ข ท้งั หมด ดังหยาดนาํ้ ไมต ดิ อยูบนใบบัวฉะนั้น. นกั ปราชญทง้ั หลาย มคี วามสุขและไดชยั ชนะในท่ี ทุกแหง ไป การไมไดล าภโดยชอบธรรม กบั การไดล าภโดย ไมช อบธรรม ทง้ั สองอยางน้ี การไมไ ดล าภอันขอบธรรม จะประเสรฐิ กวา การไดลาภอนั ไมชอบธรรมจะประเสรฐิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 515
Pages: