พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 326 ตัง้ เราไวในเอตทัคคสถาน คณุ วเิ ศษเหลา น้ี คือปฏสิ ัมภิทา ๔ ...ฯลฯ... คาํ สัง่ สอนของพระพทุ ธเจาเราไดท าํ เสร็จ แลว ดงั น.ี้ ก็ทานพระกาฬุทายี ครนั้ บรรลุพระอรหัตแลว จงึ คิดวา รอกอนกาลนยี้ ังไมส มควร เพ่อื การเสดจ็ ไปสูพระนครอันเปนสกลุ เดิมของพระ-ทศพล, แตเ มือ่ ถงึ ฤดูฝนแลว ไพรสณฑจ ะมดี อกไมบ านสะพรัง่ จึงจกัเปน กาลเหมาะเพ่อื การเสด็จไป บนภูมิภาคที่ดารดาษดว ยตณิ ชาติเขียวขจีดังนแี้ ลว จงึ เฝา รอกาล เม่ือถึงฤดฝู นแลว พอจะพรรณนาชมหนทางไปเพอื่ การเสด็จไปยังพระนครอนั เปน สกลุ เดมิ ของพระศาสดา จึงกลา วคาถา๑เหลานี้วา :- ขา แตพ ระองคผ เู จริญ บัดน้ี หมูไ มท้ังหลาย มีดอก และใบสีแดงดจุ ถานเพลิง ผลผิ ลสลัดใบเกา รว งหลนไป หมูไมเ หลานน้ั งดงามรงุ เร่อื งดจุ เปลวเพลิง ขา แตพ ระองค ผมู คี วามเพยี รใหญ เวลาน้เี ปน เวลาสมควรอนุเคราะหห มู พระญาติ ขาแตพ ระองคผแู กลว กลา หมูไมท้ังหลายมี ดอกบานงดงามดี นา ร่ืนรมยใ จ สง กลนิ่ หอมพงุ ตลบไป ท่ัวทศิ โดยรอบ ผลัดใบเกา ผลดิ อกออกผล เวลานี้เปน เวลาสมควรจะหลีกออกไปจากทีน่ ้ี ขอเชิญพระพิชิตมาร เสด็จไปสูกรงุ กบิลพัสดเุ ถดิ ขา แตพ ระองคผ ูเ จรญิ ฤดูน้ี ก็เปน ฤดทู ี่ไมห นาวนกั ไมร อ นนกั เปน ฤดูพอสบาย ทัง้ มรรคากส็ ะดวก ขอพวกศากยะและโกลิยะทง้ั หลาย จง๑. ข.ุ เถร. ๒๖/ขอ ๓๗๐.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 327ไดเ ขา เฝา พระองคท่แี มน ้าํ โรหณิ ี อันมีปากนํ้าอยูทางทศิ ใตเถดิ ชาวนาไถนาดวยความหวงั ผล หวา นพชื ดวยความหวงั ผล พอ คาผูเ ทย่ี วหาทรพั ย ยอมไปสูสมทุ รดว ยความหวังทรพั ย ขา พระองคอยใู นทีน่ ้ี ดว ยความหวังผลอนั ใดขอความหวังผลอันนัน้ จงสาํ เรจ็ แกขา พระองคเ ถิดชาวนาหวานพชื บอย ๆ ฝนตกบอย ๆ ชาวนาไถนาบอย ๆ แวนแควนสมบูรณดวยธัญญาหารบอย ๆ พวกยาจกเทย่ี วขอทานบอ ย ๆ ผูเปนทานบดใี หบอย ๆ คร้ันใหบ อย ๆแลว ยอมเขาถึงสวรรคบ อย ๆ บรุ ษุ ผมู ีความเพยี ร มีปญ ญากวา งขวาง เกิดในสกุลใด ยอมยังสกลุ น้นั ใหบริสทุ ธ์สิ ะอาดตลอด ๗ ชัว่ คน ขา พระองคย อ มเขาใจวาพระองคเ ปน เทพเจา ประเสรฐิ กวา เทพเจา ทั้งหลาย ยอมทรงสามารถทําใหส กุลบริสุทธิ์ เพราะพระองคเกดิ แลวโดยอริยชาติ ไดส จั นามวา เปนนกั ปราชญ สมเดจ็พระบดิ าของพระองค ทรงแสวงหาคณุ อันย่งิ ใหญ ทรงพระนามวา สทุ โธทนะ สมเดจ็ พระนางเจามายาพระมเหสีของพระเจาสุทโธทนะ เปน พระพทุ ธมารดา ทรงบรหิ ารพระองคผ เู ปนพระโพธสิ ตั วม าดว ยพระครรภ เสด็จสวรรคตไปบันเทงิ อยใู นไตรทิพย สมเด็จพระนางเจามายาเทวนี ้นั ครัน้ สวรรคตจุติจากโลกน้ีแลว ทรงพรัง่ -พรอมดวยกามคุณอันเปน ทพิ ย มีหมูนางฟา หอ มลอมบันเทิงอยดู วยเบญจกามคณุ อาตมภาพเปน บตุ รของพระ-
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 328 พทุ ธเจา ผไู มมีส่งิ ใดจะยํ่ายีได มพี ระรัศมแี ผซานจาก พระกาย ไมมผี ูจะเปรียบปาน ผูคงท่ี ดกู อ นมหาบพติ ร พระองคเปนพระบิดาของพระพุทธเจา ผเู ปน พระบิดาแหง อาตมภาพ ดกู อนมหาบพิตร พระองคเ ปน พระอยั กา ของอาตมภาพโดยธรรม. บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา องฺคาริโน ไดแกถานเพลงิ ซงึ่ แปลวาดจุ ถานเพลงิ , ช่อื วา องคฺ าริโน เพราะอรรถวา หมไู มทง้ั หลายเหลาน้นัมดี อกและใบ มสี ดี ังแกวประพาฬแดง, อธบิ ายวา ดจุ ฝนถา นเพลิง เกลอื่ นกลนดวยตมุ ดอกไมโกสุมสแี ดงเขม . บทวา อิทานิ แปลวา ในกาลนี้. บทวา ทุมา แปลวา ตน ไมทั้งหลาย. บทวา ภทนฺเต ไดแ ก ขา แตท านผูเ จริญ ขอความเจรญิ จงมีแกทา นเพราะเหตนุ ้นั ทา นผูป ระกอบดวยคุณวเิ ศษ เขาจงึ เรียกวา ภทนเฺ ตเพราะทําการลบ ท อักษรเสยี อกั ษรหนึง่ , แตพ ระศาสดาเปน ผเู ลศิ กวา ผูประกอบดว ยคุณวเิ ศษท้ังหลาย. เพราะฉะน้ัน คาํ วา ภทนเฺ ต จึงเปนคาํรองเรยี กสาํ หรับพระศาสดา. ก็คําวา ภทนฺเต น้ี เปนคําปฐมาริภตั ติ มีทสี่ ุดอักษรเปน เอ ดจุ ในประโยค เปน ตน วา ถาทํากรรมดีบา ง กรรมช่ัวบาง กไ็ ดรับความสุขบาง ทุกขบาง ดังน้.ี แตใ นท่ีน้ี บณั ฑิตพงึ เห็นวาภทนเฺ ต ลงในอรรถวา การตรัสรชู อบ. ดว ยเหตนุ ้ัน ทา นจงึ กลาววาภทนเฺ ต เปน อาลปนะ อาจารยบางพวกกลา ววา ภทนฺต ศัพทเ ดยี วทีม่ ีในระหวางบท มคี วามหมายเสมอกับ ภททฺ ศพั ท.
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 329 ชอ่ื วา ผเลสิโน เพราะอรรถวา ยอ มตองการเผลด็ ผล. อธบิ ายวาจรงิ อยู แมเม่ือไมมีเจตนา แตกลบั ยกข้ึนสูก ริ ยิ าที่มเี จตนาแลว กลาวเหมือนปรารภทจ่ี ะเดด็ ผล จนถึงเวลาท่เี ด็ดเอาผลอนั เผลด็ แลว ยอมมุง จะใหเหลากอสญู สนิ้ ไปฉะนัน้ . บทวา ฉทน วปิ ปฺ หาย ไดแ ก สลัดใบไมเ กา ๆ คอื ใบไมเหลอื งทวั่ ไปทง้ิ เสีย. บทวา เต โยค ทุมา แปลวา ตนไมเ หลา นนั้ . บทวา อจจฺ มิ นโฺ ต ว ปภาสยนฺติ ความวา ยอ มสอ งสวา งทัว่ ทุกทิศดุจเปลวไฟ หรอื ดจุ กองไฟทล่ี ุกโพลง. บทวา สมโย ไดแ กก าล คอื กาลพเิ ศษแหง คาํ วา เพอ่ื อนุเคราะห. บทวา มหาวีร ไดแก ขา แตพระองคผูม ีความกลาหาญมาก. บทวา ภาคี รสาน ไดแ ก ผมู ีสว นแหง อรรถรส สมจรงิ ดงั คาํ ที่พระธรรมเสนาบดีกลาวไวว า ขาแตพ ระผูมพี ระภาคเจา ขา พระองคเปนผมู สี ว นแหง อรรถรส และธรรมรส ดังนี้เปน ตน . ก็คําวา มหาวรี ภาคีแมน ี้ บณั ฑติ พงึ ทราบท้ังสองคําวา กลา วมุงถึงการตรสั รู. ก็พระราชาองคต น ชื่อวา ภครี ถ ในปาฐะวา ภาครี ถาน , อธิบายวา พวกเจาศากยะเปน พระราชากอ น เพราะตง้ั วงศก อนกวาเขา เพื่ออุปการะพระราชาเหลานัน้ . บทวา ทมุ านิ ทา นกลาวไวโ ดยความเปน ลงิ ควิปลาส, ไดแ ก ทมุ าแปลวา ตน ไมท ง้ั หลาย. บทวา สมนตฺ โต สพพฺ ทิสา ปวนตฺ ิ ความวา หมไู มท ้ังหลาย มีดอกบานแลว ในทิศท้งั ปวง โดยรอบ คอื โดยทุกพื้นที่ เพราะบานแลวอยางนัน้ จงึ สง กลน่ิ คือปลอ ยกลิน่ หอมฟงุ ไปทุกทศิ .
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 330 บทวา อาสมานา ไดแก หวังอยู คือตองการจะเกบ็ เอาผล. พระ-เถระคร้ันแสดงถึงความรื่นรมยแหง หนทางที่จะไป เพราะงดงามดวยหมไู มอยางนแ้ี ลว บดั นจ้ี ึงแสดงถึงความสมบูรณแหง ฤดู ดวยคําวา เนวาติสตี ดงั นเ้ี ปนตน. บทวา สขุ า ฤดูท่ีสบาย คอื นา ปรารถนา เพราะความเปนฤดไู มหนาวนกั ไมรอนนกั . บทวา อุตุ อทฺธนิยา ไดแ ก ฤดูประกอบดว ยหนทางไกล ทีค่ วรไป. บทวา ปสสฺ นฺตุ ต สากิยา โกลยิ า จ ปจฉฺ ามขุ โรหนิ ยิ ตรนฺตความวา แมน ํา้ ช่ือวา โรหิณี มีปากนา้ํ อยูท างทิศใต ไหลไปทางทศิ เหนอืระหวา งสากิยะชนบทและโกลิยะชนบท. และไหลจากทิศตะวนั ออกเฉยี งใตแหงแมนาํ้ นั้นไปยังกรุงราชคฤห เพราะฉะนั้น เมอ่ื จะขามแมน ํ้าจากกรงุราชคฤหไปยังกรงุ กบิลพัสดุ จึงตองขามท่ีปากนาํ้ ทางทศิ ใต. เพราะเหตนุ น้ัทานจงึ กลาววา ปสสฺ นตฺ ุ ต ฯเปฯ ตรนตฺ ดังน้ีเปนตน . พระเถระพยายามออ นวอนพระผูมีพระภาคเจา เพอ่ื การเสด็จไปยงั กรงุ กบิลพสั ดวุ า ชาวสากยิ ะและโกลิยะชนบท จะเห็นพระผมู ีพระภาคเจา เม่อื ลวงถงึ ปากแมน้ําโรหิณี ทางทศิ ใต. บดั นี้ พระเถระเมือ่ จะประกาศความปรารถนาของตนดว ยขอ อุปมาจึงกลาวคาถาวา อาสาย กสเต ดงั นี้เปน ตน. บทวา อาสาย กสเต เขตตฺ ความวา ชาวนา เมอ่ื จะไถนา ก็ไถนาดว ยความหวังผล. บทวา พชี อาสาย วปปฺ ติ ความวา กค็ รน้ั ไถแลว เมือ่ จะหวา นพืช ก็หวา น คอื หยอดพืชดว ยความหวงั ผล
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 331 บทวา อาสาย วาณชิ า ยนฺติ ความวา พวกพอ คา ผูแ สวงหาทรพั ยยอ มแลนเรอื ไปสูม หาสมุทร เพ่ือขามมหาสมุทร คอื เพื่อเขาไปยังประเทศหนงึ่ ดวยความหวังทรัพย. บทวา ยาย อาสาย ติฏามิ ความวา พระเถระกราบทลู วา ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา แมขาพระองคก อ ยูใ นท่ีนีด้ วยความหวงั คือความปรารถนาผลอนั ใด คือดว ยความตองการจะใหพระองคเสดจ็ ไปกรุงกบิล-พัสด,ุ ขอความหวังขอ น้นั ของขาพระองคจงสาํ เรจ็ เถิด. พระองคควรเสดจ็ ไปยังกรงุ กบลิ พสั ดไุ ดแ ลว ดังน้,ี กใ็ นขอน้ี พระเถระกลา วถึงความพอใจคอื ความเปนผใู ครเพอ่ื จะทําวา อาสา เพราะเปน เชน กับความหวัง. พระเถระเพ่อื จะแสดงถึงเหตแุ หง การออ นวอนตง้ั หลายครั้ง โดยมีการพรรณนาถงึ หนทางที่จะเสดจ็ ไปเปน ตน จงึ กลา วคําวา ปนุ ปฺปุน ดังนี้เปน อาทิ. ความแหงบาทคาถานั้นวา :- เม่อื หวานพืชดว ยเพยี งการหวานครัง้เดียวยังไมสมบูรณ พวกชาวนา ยอมหวานพชื บอ ย ๆ คอื หวานซาํ้ เปนครง้ั ท่ี ๒ ที่ ๓ อกี , แมเทพเจา ผูเปน เจาแหง ฝนไมตกครงั้ เดยี วเทา น้นัแตต กบอ ย ๆ คือตกตามฤดูกาลทีส่ มควร. ถึงพวกชาวนา ก็มิใชไถนาเพียงครั้งเดียวเทานน้ั แตไ ถนาบอยๆ เพอื่ ทําดินใหร ว น หรอื ทาํ โคลนใหเปน เทอื ก อันจะมีประโยชนทาํ ใหข า วกลา สมบูรณ, แวนแควน ยอมเขาถงึคอื เขา ถึงความสมบูรณด วยธญั ญาหาร มขี าวสาลีเปน ตนบอ ย ๆ ท่พี วกมนุษยน อ มนาํ เขาไป ดวยอํานาจการเกบ็ ไวใ นยงุ ฉางเปน ตน เพราะทาํ การสงเคราะหธัญชาตคิ รั้งเดยี วเทา น้ัน ไมย นิ ดีวา เทานีก้ ็เพยี งพอละ. แมพ วกยาจกเท่ยี วไป คอื เขา ไปขอยงั สกุลท้งั หลายบอ ย ๆ มใิ ชขอ
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 332เพยี งครัง้ เดยี วเทา นัน้ , ฝา ยพวกทานบดี ท่ถี กู พวกยาจกเหลานัน้ ขอแลวก็ใหบอย ๆ มใิ ชใ หเพยี งครง้ั เดียวเทานั้น. ก็พวกทานบดี ครั้นใหไ ทยธรรมบอ ย ๆ อยา งน้นั แลว คอื ส่งั สมบญุ ทีส่ ําเรจ็ ดว ยทานไวแลว ยอมเขาถงึ สวรรคบ อย ๆ คอื ไป ๆ มา ๆไดแ ก ยอมเขาไปถึงเทวโลก ดวยอาํ นาจการถอื ปฏสิ นธิ, อธิบายวาเพราะฉะน้นั แมข าพระองค ก็จะออ นวอนบอย ๆ ขา แตพ ระผูมพี ระ-ภาคเจา ขอพระองคจ งยังมโนรถของขา พระองคใ หถ งึ ที่สดุ เถิด. บดั นี้ พระเถระออ นวอนพระศาสดา จะใหเ สด็จไปยังกรงุ กบลิ -พัสดุเ พื่อประโยชนใ ด เพ่ือจะแสดงซึง่ ประโยชนน น้ั จึงกลา วคาถาวาวีโร หเว ดังน้ีเปน ตน . ความแหง บาทคาถานั้นวา :- บุรษุ ผมู คี วามเพยี ร มีความอาจหาญมปี ญญากวา งขวาง คอื มีปญญามากเกดิ คอื เกดิ ในสกลุ ใด ยอมชําระตนในสกุลนนั้ ตลอด ๗ ชัว่ คนคอื คแู หงบุรุษ ๗ จนถงึ ปต ามหยุคะท่ี ๗ ใหบรสิ ุทธสิ์ ะอาดดวยสัมมาปฏบิ ตั ิ โดยสวนเดียว เพราะเหตุนั้น จะปว ยกลา วไปไยถงึ วาทะของชาวโลก ที่เปน คาํ ตเิ ตยี น จักมีในชนเหลาอ่ืนเลา . ขาพระองคยอมเขา ใจวา ก็พระผูม พี ระภาคเจา พระองคเ ปนเทพเจาผูประเสรฐิ เพราะพระองคเ ปน เทพเจาผูสงู สุดกวา เทพเจา ทงั้ ปวงยอมทรงอาจสามารถเพือ่ ทาํ สกุลแมท่ีนอกเหนอื ไปกวาน้ันใหบรสิ ุทธไ์ิ ดดว ยการหามเสียจากความชว่ั และดว ยการใหด ํารงอยใู นความด.ี เพราะเหตุไร ? เพราะพระองคเ กดิ แลว โดยอรยิ ชาติ ไดสจั นามวาเปนนกั ปราชญ อธบิ ายวา เพราะความที่พระองคผ ูพ ระศาสดาเกดิ แลวโดยอรยิ ชาติ เปน นกั ปราชญ พระองคเ ปน ผรู ู จึงไดพ ระนามตามความ
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 333จรงิ วา มนุ ี เพราะอรรถวา รูประโยชนส ว นพระองค และประโยชนสว นสังคม และเพราะอรรถวา รซู ึง่ โลกน้ีและโลกหนา . อกี อยา งหน่งึผูมีความรู ชอ่ื วา มุนิ, พระองคม ีพระนามตามความเปนจรงิ วา สมณะบรรพชิต ฤาษี ดงั นี้ ฉะนัน้ ขา แตพ ระผูม ีพระภาคเจา เพราะเหตุแหงการไดเฉพาะซ่งึ ประโยชนโ ดยสวนเดียว แกปวงสตั ว ขา พระองคจ งึ ทลูออนวอนพระองค เพ่อื การเสด็จไปในกรุงกบลิ พสั ดุนัน้ . บดั นี้ เม่ือพระเถระกลา ววา สตฺตยุค ดงั น้ีแลว เพอ่ื จะแสดงยุคะแหง บิดา จึงกลา วคําวา สุทโฺ ธทโน นาม ดงั นเี้ ปน ตน . ชื่อวา สุทโฺ ธทโนเพราะอรรถวา ผูม ีขา วบริสุทธ์ิเปนชวี ิต. จริงอยู พระพทุ ธบดิ า ผูมกี ายสมาจาร วจสี มาจาร และมโนสมาจาร อันบริสุทธ์พิ เิ ศษ โดยสว นเดียวจึงเปนผูมีอาชพี อันบริสุทธดิ์ ี เพราะพระองคเ ปน ผเู พยี บพรอ มดว ยอภนิ หิ ารอยา งนน้ั . บทวา มายนามา ไดแ ก ไดน ามวามายา เพราะพระองคม ีพระคณุท่หี มญู าตแิ ละมิตรเปน ตน จะพึงกลาววา อยา ไปเลย ดังนี้ เหตุสมบรู ณดว ยคณุ มสี กลุ , รูปรา ง, ศลี และมารยาท เปน ตน . บทวา ปริหรยิ า แปลวา ประคับประคอง. บทวา กายสสฺ เภทา ไดแ ก เบ้ืองหนาแตก ายของตนลวงลบั ไปก็เปน เชน กบั เจดียข องชาวโลก พรอ มท้งั เทวโลก. บทวา ติทิวมหฺ ิ ไดแก ในดุสติ เทวโลก. บทวา สา โยค มายาเทวี แปลวา สมเดจ็ พระนางเจา มายาเทวีนนั้ . บทวา โคตมี ความวา พระเถระ ระบถุ ึงพระนางเจา โดยพระโคตร.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 334 บทวา ทพิ ฺเพหิ กาเมหิ ไดแก ดวยวัตถุกามอันเปน ทิพย ท่นี ับเนื่องดวยภพชน้ั ดสุ ติ , บทวา สมงคฺ ิภูตา แปลวา ประกอบพรอมแลว . บทวา กามคเุ ณหิ ไดแกด ว ยสวนแหง กามคณุ ท้ังหลาย, กค็ ร้ันกลาววา กาเมหิ ดงั นแี้ ลว จงึ แสดงวา ยอ มบาํ รุงบําเรอดว ยวตั ถกุ ามอันมีสว นมากมาย ดวยคําวา กามคุเณหิ ดงั นี.้ บทวา เตหิ ความวา บังเกิดแลว ในหมเู ทพช้นั ใด อันหมูเทพชั้นดุสติ เหลานั้น หอมลอมหรอื บันเทิงอยดู วยกามคณุ เหลานั้น. กค็ ําวาสมงคฺ ภิ ตู า ปรวิ ารติ า น้ี ทา นแสดงเปนอติ ถีลงิ ค ทีห่ มายถึงอัตภาพในกาลกอ นซงึ่ สําเร็จเปน หญิง หรือหมายถึงความเปนเทวดา, สวนการอปุ บตั ิของเทพเกดิ โดยความเปนบุรษุ เทานัน้ . พระผูมีพระภาคเจา ถูกพระเถระออ นวอนแลว อยา งน้ัน ทรงเหน็ วาประชาชนเปน อนั มากจะไดบ รรลุคณุ วิเศษ ในเพราะการเสด็จไปในกรุงกบลิ พสั ดุนน้ั จงึ มพี ระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ รปู แวดลอ มแลว เสดจ็ ดําเนินไปยังหนทางทีจ่ ะไปยังกรงุ กบิลพัสดุ โดยการเสด็จออกจากกรุงราชคฤหไมร บี ดวนนกั . พระเถระเขาไปยงั กรุงกบิลพสั ดดุ วยฤทธ์ิ ยืนทามกลางอากาศ ขางหนาพระราชา พระราชาทรงเหน็ เพศท่ีไมเ คยเห็นมากอ น จึงตรสั ถามวา ทา นเปน ใคร เม่อื จะแสดงวา ถา พระองคจําอาตมภาพผูเปนบุตรอาํ มาตยท่พี ระองคสง ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจาไมไ ดไซร ขอพระองคจงทรงรอู ยา งนเ้ี ถิด ดังนี้ จงึ กลา วคาถาสดุ ทา ยวา อาตมภาพ เปนบุตรของพระพทุ ธเจา ผไู มม สี ง่ิ ใด ย่ํายีได มพี ระรศั มีแผซานจากพระกาย ไมมีผเู ปรียบปาน
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 335 ผคู งท่ี ดกู อ นมหาบพิตร พระองคเ ปนพระบดิ าของพระ- พทุ ธเจา ผูเ ปน พระบดิ าแหงอาตมภาพ ดูกอ นมหาบพติ ร พระองคเ ปน พระอัยกาของอาตมภาพโดยธรรม. บรรดาบทเหลานน้ั บทวา พทุ ฺธสฺส ปตุ โฺ ตมหฺ ิ ความวา อาตมภาพเปน บุตรผเู ปน โอรส ของพระสพั พญั พู ุทธเจา เพราะเกิดในอก. บทวา อสยฺหสาหิโน ความวา ชอื่ วาไมม ีใครจะยํ่ายไี ด เพราะคนเหลาอืน่ ไมอาจเพ่อื จะอดกลน้ั นําไปซึง่ พระมหาโพธิสตั ว เวนไวแ ตใ นกาลกอ นแตการตรัสรู คอื เพราะการอดกล้นั การนาํ ไปซ่งึ โพธสิ มภารและบญุ ญาธิการท่เี ปนสวนพระมหากรุณาทง้ั สน้ิ ใคร ๆ ยํา่ ยีไมไ ด, แมท่ียงิ่ ไปกวานัน้ เพราะขม ครอบงํามาร ๕ ท่ีใคร ๆ ไมอาจจะครอบงําไดเด็ดขาด เพราะคนเหลา อนื่ ไมสามารถจะขมครอบงําได และเพราะอดทนตอพุทธกิจ ท่ีคนเหลาอนื่ อดทนไมได กลา วคอื คาํ พรํ่าสอน ดว ยทิฏฐ-ธรรมิกตั ถประโยชน สมั ปรายิกตั ถประโยชน และปรมตั ถประโยชน แกเวไนยสตั วผสู มควร ดวยการหยง่ั รถู ึงการจําแนกสตั วตาง ๆ ตามอาสยะอนสุ ัย จรติ และอธมิ ุตติ เปนตน. อีกอยางหนึ่ง ชื่อวา อสยั หสาหโิ นเพราะความทีพ่ ระองคทรงบําเพ็ญคุณงามความดใี นขอ น้ันไว. บทวา องคฺ รี สสฺส ไดแก เปน ผูส มบรู ณด วยพระคณุ มศี ีลท่ีพระองคทรงบาํ เพญ็ มาแลว เปนตน. อาจารยพ วกอ่ืนกลา ววา มพี ระรัศมีแผซานออกจากพระวรกายทกุ สวน ดังน.้ี สว นอาจารยบ างพวกกลาววา ชือ่๒ ช่อื คือพระอังครี ส และพระสทิ ธตั ถะ นี้ พระพุทธบิดาเทา น้นั ทรงขนานพระนามถวาย.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 336 บทวา อปปฺ ฏมิ สสฺ ไดแก ไมมผี เู ปรียบเสมอ. ช่ือวา ตาทโิ นเพราะสมบรู ณดวยพระลกั ษณะท่ีคงที่ ในอฏิ ฐารมณ และอนฏิ ฐารมณ. บทวา ปต ปุ ต า มยฺห ตวุ สิ ความวา โดยโลกโวหาร พระองคเปนพระบดิ าของพระสมั มาสัมพุทธเจา ผูเปนพระบดิ าของอาตมภาพ โดยอริยชาติ. พระเถระเรียกพระราชาโดยชาติวา สกกฺ . บทวา ธมฺเมน ไดแกโ ดยสภาวะ คอื อรยิ ชาติ และโลกยิ ชาติ. พระเถระเรียกพระราชาโดยพระโคตรวา โคตม. บทวา อยฺยโกสิ ความวา พระองคเปน พระบิดาใหญ (ปู). ก็ในคาถาน้ี พระเถระเม่ือจะกลาวคําเริม่ ตน วา พุทฺธสฺส ปตุ ฺโตมฺหิ ดังนี้จึงไดพยากรณความเปน พระอรหัตไว. กพ็ ระเถระครั้นแสดงตนใหพ ระราชาทรงรูจักอยางนนั้ แลว ไดร บัการนมิ นตจากพระราชาผทู รงเบกิ บานสําราญพระทัย ใหนั่งบนบลั ลังกอันมคี า มากแลว พระราชาก็ทรงบรรจุโภชนะมรี สเลศิ ตา ง ๆ ทเ่ี ขาจัดแจงไวเพอื่ พระองค ถวายแลว จึงแสดงอาการจะไป. ก็เม่อื พระราชาตรสั ถามวาเพราะเหตไุ ร ทา นจงึ ประสงคจะไปเสยี เลา ? จงฉนั กอ นเถอะ. พระเถระจงึ ตอบวา อาตมภาพจักไปเฝาพระศาสดาแลว จึงจักฉนั . พระราชาตรสัถามวา ก็พระศาสดาประทบั อยทู ี่ไหน ? พระเถระตอบวา พระศาสดามีภกิ ษจุ ํานวนประมาณ ๒๐,๐๐๐ รปู กําลังเสดจ็ ดาํ เนนิ มาตามหนทาง เพือ่เฝา พระองคแลว . พระราชาตรสั วา นมิ นตท านฉนั บณิ ฑบาตนี้เสียกอนที่บตุ รของเราจะมาถึงพระนครน้ี แลวถึงคอยนาํ บณิ ฑบาตจากทจี่ นไปเพ่ือบตุ รของเราตอนหลงั .
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 337 พระเถระ กระทําภัตกิจเสรจ็ แลว บอกธรรมถวายแดพระราชาและบรษิ ทั กอ นหนา พระศาสดาเสดจ็ มานั่นเทยี ว กท็ ําคนในพระราชนเิ วสน ทง้ั หมดใหเล่ือมใสในพระรัตนตรยั เมื่อคนท้งั หมดกาํ ลังเห็นอยูนั่นแหละ กป็ ลอยบาตรท่เี ต็มดว ยภตั ร อนั คนนาํ มาเพอ่ื ถวายพระศาสดาในทา มกลางอากาศ แมต นเองก็เหาะขน้ึ สเู วหาแลว นอ มเอาบิณฑบาตเขาไปวางบนพระหตั ถ ถวายพระศาสดา. พระศาสดาทรงเสวยบิณฑบาตนั้นเสร็จแลว . เมอ่ื พระเถระเดนิ ทางวนั ละ ๑ โยชน สนิ้ หนทาง ๑๐๐ โยชนอยา งนี้ นาํ เอาภตั ตาหารจากกรุงราชคฤหม าถวายแดพ ระศาสดา. ลาํ ดับนั้น พระผูมพี ระภาคเจา ทรงตง้ั เธอไวในตาํ แหนง ทเ่ี ลิศกวาภกิ ษุทัง้ หลาย ผทู ําสกลุ ใหเล่ือมใสวา เธอทาํ ตนในพระราชนเิ วศนท ั้งหมดของพระมหาราชเจาผูพระบดิ าของเรา ใหเ ลือ่ มใสได ดังน้แี ล. จบอรรถกถากาฬทุ ายีเถรคาถา
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 338 ๒. เอกวหิ าริยเถรคาถา วา ดวยคาถาของพระเอกวหิ ารยิ เถระ[๓๗๑] ถา ไมมผี ูอ ื่นอยขู า งหนา หรือขางหลงั เรา ความสบาย ใจอยา งยิ่งคงจะมีแกเราผูอยใู นปาผเู ดยี ว มิฉะน้ัน เรา ผเู ดยี วจักไปสูปาอนั พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวา ความ ผาสุกยอมมแี กภ กิ ษผุ อู ยูแตผ ูเดยี ว มีใจเด็ดเด่ยี ว เรา ผเู ดยี วเปนผูชาํ นาญในส่ิงท่เี ปน ประโยชน จกั เขา ไปสูปา ใหญ อันทําใหเ กดิ ปต แิ กพ ระโยคาวจร นา รนื่ รมย เปน ท่อี ยูข องหมูชางตกมนั โดยเร็วพลนั เราผเู ดยี วจักอาบนาํ้ ในซอกเขาอันเยอื กเย็น ในปา อนั เยน็ มีดอกไมบาน สะพรัง่ จักจงกรมใหเปนท่ีสาํ ราญใจ เมอื่ ไรเราจึงจักได อยูในปา ใหญอ นั นารืน่ รมยแ ตผูเดยี ว ไมม ีเพอ่ื นสอง จัก เปนผูทาํ กิจสาํ เรจ็ หาอาสวะมิได ขอความประสงคของ เราผูปรารถนาจะทําอยา งนจี้ งสําเร็จเถิด เราจักยงั ความ ประสงคของเราใหส ําเรจ็ จงได ผอู ืน่ ไมอาจทาํ ผอู ่นื ให สําเร็จไดเ ลย. เราจักผกู เกราะคือความเพียร จักเขาไปสปู า ใหญ เรายังไมบ รรลถุ งึ ความสนิ้ อาสวะแลว จกั ไมออกไปจาก ปานน้ั เมอื่ ลมพัดเย็นมา กลน่ิ ดอกไมก็หอมฟุง มา เรา จักนุงอยบู นยอดเขาทาํ ลายอวิชชา เราจกั ไดร ับความสุข ร่ืนรมยอ ยูดว ยวมิ ตุ ตสิ ุข ในถ้ําท่เี งอื้ มเขาซ่ึงดารดาษไป
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 339 ดว ยดอกโกสมุ มภี าคพื้นเยอื กเย็น อนั มอี ยใู นปาใหญ เปน แน เรามีความดําริอันเต็มเปย ม เหมือนพระจันทร ในวันเพญ็ เปนผูสิ้นอาสวะทง้ั ปวงแลว บัดนี้ ภพใหม มไิ ดม ี. จบเอกวหิ ารยิ เถรคาถา อรรถกถาเอกวหิ ารยิ เถรคาถาท่ี ๒ คาถาของทานพระเอกวหิ ารยิ เถระ เริม่ ตน วา ปรุ โต ปจฺฉโต วาปดงั นี.้ เรือ่ งนั้นมเี หตเุ กดิ ขน้ึ อยางไร ? พระเอกวหิ ารยิ ะแมน ้ี เปนผมู อี ธิการไดบ ําเพ็ญมาแลว ในพระ-พทุ ธเจาพระองคกอนๆ ในภพน้ันๆ ไดส งั่ สมบุญเปน อนั มากไว ในกาลแหงพระทศพลทรงพระนามวา กสั สปะ บังเกดิ ในเรอื นมีสกุล ถึงความรูเดียงสาแลว ไดฟ งธรรมในสํานักพระศาสดาแลว ไดมคี วามเลอ่ื มใสบรรพชาแลวเขาไปสปู า อยแู บบสงบสงัด. ดวยบญุ กรรมนนั้ ทานจงึ ทอ งเทย่ี วไปในเทวโลกและมนษุ ยโลกตลอดพุทธนั ดรหน่งึ ในพุทธุปบาทกาลน้ี เม่ือพระผมู พี ระภาคเจาปรนิ พิ พานแลว ไดบงั เกดิ เปน พระกนิษฐภาดา ของพระเจา ธรรมา-โศกราช. ไดยนิ วา ในปท ี่ ๒๑๘ นบั แตพ ระศาสดาไดปรนิ พิ พานมา พระ-เจาอโศกมหาราช ทรงไดรับการอภิเษกเปน เอกราชในชมพทู วีปท้ังส้นิแลว ทรงสถาปนาติสสกุมารผพู ระกนษิ ฐภาดาของพระองค ไวใ นตําแหนง
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 340อปุ ราช ทรงใชพ ระอุบายอยา งหน่ึง ทําพระกนษิ ฐภาดานั้น ใหมีความเลอื่ มใสยิ่งในพระศาสนา. วนั หน่งึ ติสสกุมารน้ันเขาไปหานายพรานเนอ้ืแลว มองเหน็ พระโยนกมหาธรรมรกั ขิตเถระในปา ซ่ึงชา งตวั ประเสริฐกาํ ลังจับกิง่ ไมสาละนง่ั พดั ถวาย จงึ เกิดความเลื่อมใสคิดวา โอ ! หนอ เราบวชแลว พึงเปน ดจุ พระมหาเถระนี้ อยูใ นปา บา ง. พระเถระทราบถงึ ความเปนไปแหงจติ ของเขา เมื่อเขากําลังเหน็ อยูนัน่ แหละ จึงเหาะขึ้นสอู ากาศแลวมายืนบนนํ้าแหง สระโบกขรณี ในอโศการาม ไมท าํ ใหน ้ําแตกแยกกันแลว คลอ งจวี รและผาอุตราสงคบนอากาศ เรม่ิ จะอาบน้าํ . พระกมุ าร เห็นอานุภาพของพระเถระแลว มคี วามเล่ือมใสเปนอยา งยง่ิ กลับจากปา แลวเขาไปยงั กรงุ ราชคฤห แลวกราบทลู แดพระราชาวา หมอมฉนั จกั บวช ดังน.้ี พระราชาทรงออนวอนพระกมุ ารน้นั มีประการตา ง ๆ กไ็ มอ าจจะลม เลกิ ความประสงคท จ่ี ะบวชได. พระกุมารนั้นเปนอุบาสก เมอ่ื ปรารถนาถึงความสขุ ในการบวช จงึ กลาวคาถา ๖ คาถา๑เหลานีว้ า :- ถาไมม ผี อู ื่นอยูขางหนา หรอื ขา งหลงั เรา ความสบาย ใจอยา งย่ิง คงจะมแี กเ ราผอู ยูในปา ผูเดยี ว มฉิ ะน้ันเรา ผเู ดียวจักไปสปู า อนั พระพุทธเจา ทรงสรรเสริญวา ความ ผาสกุ ยอ มมแี กภ ิกษผุ อู ยแู ตผเู ดยี ว มใี จเด็ดเด่ยี ว เรา ผเู ดียว เปนผชู าํ นาญในสง่ิ ทเ่ี ปนประโยชน จกั เขา ไปสู๑. ขุ. เถร. ๒๖/ขอ ๓๗๑.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 341 ปาใหญ อนั ทําใหเ กดิ ปติแกพ ระโยคาวจร นาร่นื รมย เปน ทอี่ ยขู องหมชู า งตกมนั โดยเร็วพลัน เราผูเดียวจัก อาบนํา้ ในซอกเขาอันเยอื กเยน็ ในปา อนั เยน็ มีดอกไม บานสะพรั่ง จักจงกรมใหเปนทสี่ ําราญใจ เมอื่ ไรเราจึง จักไดอยูใ นปาใหญอ ันนา รืน่ รมยแตผ เู ดยี ว ไมม ีเพ่ือนสอง จักเปน ผทู ํากจิ สาํ เรจ็ หาอาสวะมิได ขอความประสงค ของเราผูปรารถนาจะทาํ อยางนี้ จงสําเรจ็ เถิด เราจกั ยัง ความประสงคของเราใหสาํ เร็จจงได ผอู น่ื ไมอาจทําผอู ่ืน ใหสําเร็จไดเลย. บรรดาบทเหลานัน้ บทวา ปรุ โต ปจฺฉโต วา ความวา ถาคนอน่ืไมมอี ยขู า งหนา หรอื ขา งหลงั ตน คอื เพราะการทตี่ อ งกําหนดเสียง หรอืการทีต่ องมองดูกไ็ มม ี. ความสขุ สบายใจอยา งยงิ่ จะมแี กเรา. แกเ ราผูเดยี วคือไมม ีสหายโดยความเปนอยผู เู ดยี ว. บทวา วสโต วเน ความวา อบุ าสกนนั้ มีหัวใจอนั อธั ยาศยั ในความสงบท่ีตนสงั่ สมมาแลว เปนเวลานาน ชกั ชวนอยเู สมอ เมอ่ื ตนมีมหาชนแวดลอ มอยูทัง้ กลางคืนกลางวนั จงึ พลนั เกดิ ความเบื่อหนา ยตอ การอยูคลกุ คลีดว ยคณะ สาํ คัญหมายถึงความสขุ อันเกิดแตความสงัด และความสขุ เปนอนั มาก จึงกลา วไว. ศพั ทว า หนฺท เปนนิบาต ลงในอรรถวา สละวาง. ดว ยเหตนุ ้นับัดนี้ เขาจงึ กลา วถงึ กริ ิยาท่ีตนกาํ ลงั ทาํ ซ่งึ ละหมคู ณะไปสูปา . บทวา เอโก คมสิ สฺ ามิ ความวา เราผูเ ดียว ไมม เี พอ่ื น จกั ไป
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 342คือจักเขาไป โดยความประสงคจะอยปู า ท่พี ระพทุ ธเจาท้งั หลายสรรเสริญไว โดยพระดาํ รสั มอี าทิวา ดกู อนคฤหบดี พระตถาคตท้งั หลาย ยอมยินดียง่ิ ในเรอื นวางแล. เพราะความผาสกุ ในการอยปู า ยอ มมแี กภ กิ ษผุ ูอยูแตผเู ดยี ว คือผูอยูคนเดยี ว เพราะไมม ีเพ่ือนในที่ท้งั หลายเปน ตน ผูมีตนอนั สง ไปแลว ไดแ กผูศกึ ษาสิกขา ๓ มอี ธศิ ลี สิกขาเปนตน เพราะตนมจี ิตสง ไปเฉพาะพระนิพพาน อธบิ ายวา นาํ สิง่ ทน่ี า ปรารถนาและความสขุ มาให. บทวา โยคปี ติกร ไดแก ช่ือวา อนั กระทาํ ใหเ กิดปต แิ กพ ระ-โยคาวจร เพราะการนํามาซึง่ ปติทเี่ กดิ แตฌานและวิปสสนาเปน ตน แกพระโยคาวจรทง้ั หลาย ผูประกอบความเพยี รในการภาวนา ดวยความไมม ีศรทั ธาเปนตน . ชอ่ื วา รมฺม เพราะเปน สถานทีส่ มควรแกการหลกี เรน โดยที่ไมมีวิสภาคารมณ. บทวา มตตฺ กุ ฺชรเสวติ ไดแ ก เปน ที่เท่ยี วไปของหมชู างตกมัน,ดว ยบทน้ี ทา นแสดงถึงทอ่ี ยอู นั สงดั จากหมูช นเทา น้ัน เพราะมปี า ข้ึนหนาแนน. สมณธรรม ทา นประสงคถงึ ประโยชน ในบทวา อตถฺ วสี น,้ี ไดแ ก 1ไปสูอํานาจของประโยชนน น้ั วา ทําอยางไรหนอ สมณธรรมนั้นจะพึงมีแกเ รา ดังน.ี้ บทวา สปุ ุปผฺ ิเต ไดแก มีดอกไมอนั บานสะพรั่งดวยดี. บทวา สีตวเน ไดแก ในปาทีเ่ ย็น เพราะมรี ม เงาและนา สมบูรณ.ดวยบทแมทั้งสอง ทา นแสดงถงึ สถานท่ีน้ันวา รม รื่นเทา นั้น.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 343 บทวา คริ กิ นทฺ เร ไดแ ก ในซอกระหวางแหงภเู ขา. จริงอยู นํ้าทา นเรยี กวา ก , สถานท่ีลมุ อนั นํ้าน้ันเซาะแลว ชอ่ื วา กนั ทระ. ทา นแสดงถงึ ความประพฤตทิ ่ไี มครอบครองที่อยอู าศยั ในที่ไหน ๆ วา เราผเู ดียวบรรเทาความเรา รอ นในฤดูรอ นเสีย ในซอกเขาอันเยอื กเย็นเชนนั้นแลว ราดรด อาบตวั ของตัวแลวจกั จงกรม ดังน.ี้ บทวา เอกากิโย ไดแ ก ผผู เู ดียวไมมเี พ่อื น. บทวา อทตุ ิโย ไดแ ก ไมมีเพ่ือน เพราะไมมเี พอื่ นกลาวคือตณั หาจริงอยู ตณั หาชอ่ื วา เปน เพอ่ื นของบุรษุ เพราะอรรถวา ไมล ะทิ้งในกาลทั้งปวง. ดวยเหตุนน้ั พระผมู พี ระภาคเจาจึงตรัสวา บุรุษมีตัณหาเปนเพ่ือน ทองเท่ยี วไปอยตู ลอดกาลอนั ยาวนาน ดงั น.้ี บทวา เอว เม กตฺตกุ ามสสฺ ความวา ขอความประสงคของเราผูปรารถนาจะไปปาทาํ การประกอบความเพียรเจรญิ ภาวนา โดยวิธีทกี่ ลา วแลว เปน ตน วา เอาเถอะ เราผูเดียวจกั ไป ดังนี.้ บทวา อธิปฺปาโย สมชิ ฺฌตุ ความวา ขอมโนรถท่ีเปน ไปแลวอยางน้ีวา ในคราวนั้น เราจักเปน ผูเสรจ็ กิจ ไมมอี าสวะ ดังนี้ จงสําเร็จคือจงถงึ ซงึ่ ความสาํ เรจ็ เถิด. ก็เพราะการบรรลุพระอรหัต จะสําเรจ็ ดว ยเพียงการออ นวอน กห็ ามิได ทั้งผูอ่ืนจะพงึ ใหส าํ เร็จ กห็ ามไิ ด ฉะน้นัทา นจึงกลา ววา เราจกั ทาํ ความประสงคข องเราใหส ําเรจ็ ใหไ ด, ผูอ่นื ไมอาจจะทาํ ผูอื่นใหส ําเร็จไดเลย ดังน้ีเปนตน . พระราชาทรงทราบวา อปุ ราชมคี วามปรารถนามน่ั คงในการบรรพชาอยางน้ัน จึงทรงมีรบั ส่งั ใหค นประดบั ทนทางที่จะไปยงั อโศการามแลว ทรงนําพาพระกุมารผูป ระดับดว ยอลงั การพรอมสรรพ ไปยังพระ-
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 344วหิ าร ดวยราชานุภาพอันย่ิงใหญ ดว ยเสนาหมใู หญ. พระกุมารไปยังเรือนทบ่ี ําเพญ็ เพยี รแลว บวชในสาํ นักของพระมหาธรรมรักขิตเถระ, พวกมนษุ ยหลายรอ ยคน พากันบวชตามพระกมุ ารนัน้ แลว . แมทานอคั คพิ รหมผเู ปนราชภาคิไนย และผเู ปนพระสวามีของพระนางสังฆมิตตา ก็ออกบวชตามพระกุมารนัน้ เหมือนกนั . พอพระกมุ ารนัน้ บวชแลว เปน ผูมีจิตรา เรงิยินดี เมอ่ื จะประกาศถงึ กิจท่ตี นควรจะกระทํา จึงกลา วคาถา ๓ คาถาวา เราจกั ผกู เกราะคอื ความเพียร จกั เขาไปสปู าใหญ เรา ยังไมบรรลถุ งึ ความสน้ิ อาสวะแลว จกั ไมอ อกไปจากปา นนั้ เมอ่ื ลมพดั เยน็ มา กล่ินดอกไมก็หอมฟงุ มา เราจกั น่ังอยบู นยอดเขาทาํ ลายอวิชชา เราจกั ไดรบั ความสขุ ร่ืนรมยอยูดว ยวมิ ตุ ติสขุ ในถํ้าที่เงอื้ มเขาซงึ่ ดารดาษไป ดวยดอกโกสุม มภี าคพื้นเยอื กเย็น อนั มอี ยใู นปา ใหญ เปนแน. บรรดาบทเหลานนั้ บทวา เอส พนธฺ ามิ สนฺนาห ความวาเราน้นั จักผกู เกราะคอื ความเพียร ไดแ กเ ราไมห วงใยในรา งกายและชวี ติจะผกู ไวด ว ยเกราะคอื ความเพียร. มคี าํ ทท่ี า นกลา วอธบิ ายไวว า เปรยี บเสมอื นบุรุษผูกลาหาญ มีความประสงคจ ะเอาชนะเหลาขา ศึกท่ลี ุกขน้ึ ตง้ั รบัจึงละทิ้งกจิ อ่นื แลว ผกู สอดเคร่อื งรบ มเี ส้ือเกราะเปนตน และไปยังยทุ ธภูมิแลว ยังไมช นะเหลาขา ศึกแลว ก็ไมยอมกลบั มาจากทน่ี ั้น ช่ือฉนั ใด แมเราเองก็ฉนั นั้นเหมือนกนั มงุ เพือ่ จะเอาชนะเหลา ขา ศกึ คอื กิเลส ไมหว งใยศีรษะและผา ถึงวา จะถกู ความรอ นแผดเผาท่วั ก็ตาม จะผกู สอดเกราะคือ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 345ความเพยี ร อนั ไดแ กส ัมมัปปธาน ๔ อยางไว, ยังไมช นะเหลากเิ ลส จะไมย อมสละละทงิ้ ท่ีอันสงดั สาํ หรบั ทําความเพยี รเพ่อื ชนะกเิ ลสใหไ ด. ดวยเหตนุ น้ั ทา นจึงกลา ววา เราจักเขา ไปสปู า ใหญ เรายงั ไมบ รรลถุ งึ ความสิน้ อาสวะแลว จักไมย อมออกไปจากปา นน้ั ดงั นเ้ี ปนตน . ดวยบทวา มาลุเต อปุ วายนฺเต ดงั น้เี ปน ตน ทา นกลา วถงึ สถานที่อยูในปา เหมาะแกการเจริญกมั มฏั ฐาน, ประกอบความวา เราจักรืน่ รมยอยูในถ้าํ ทเ่ี งื้อมเขาแนน อน, อธบิ ายวา ทา นกลาวกาํ หนดความทเี่ ปนอนาคตกาลวา เราเห็นจกั อภิรมยท่ีเชิงบรรพต. คําท่ีเหลือพงึ รูไดโดยงา ยทีเดยี ว. พระเถระกลาวอยางนั้นแลว เขา ไปสูปา บําเพญ็ สมณธรรมพรอมกบั พระอปุ ชฌาย ไดไปยงั แควนกลิงคะ. ในแควน นน้ั พระเถระเกิดเปนโรคผิวหนงั ขึ้นท่เี ทา. หมอคนหนึ่งเห็นทา นแลวจึงกลา ววา ขา แตทา นผเู จรญิ ทา นหาเนยใสมาเถิด, ผมจะรักษาเยยี วยาใหทา น. พระเถระไมยอมแสวงหาเนยใส มงุ แตจะบาํ เพ็ญวิปส สนาถา ยเดียว. โรคกําเริบขึ้นหมอเหน็ วาพระเถระมีความขวนขวายนอ ยในท่นี น้ั แลว ตนเองจึงแสวงหาเนยใสเสยี เองแลว ไดทาํ พระเถระใหหายขาดจากโรค. พระเถระนั้นไมม ีโรค ตอ กาลไมนานนักกบ็ รรลุพระอรหตั . ดว ยเหตนุ ั้น ทา นจงึ กลา วไวอปทาน๑วา :- ในภัทรกัปนี้ พระพทุ ธเจาพระนามวา กัสสปะ โดย พระโคตร เปน เผาพรหม มีพระยศใหญ ประเสรฐิ กวา นักปราชญท งั้ หลาย เสด็จอบุ ตั ิขนึ้ แลว พระองคไมมี๑. ขุ. อ. ๓๓/ขอ ๒๑.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 346ธรรมเครือ่ งใหเ น่ินชา ไมม ีเครื่องยดึ หนว ง มพี ระทัยเสมอดวยอากาศ มากดว ยสญุ ญตสมาธิ คงที่ ยนิ ดใี นอนมิ ติ ตสมาธิ ประทบั อยแู ลว พระองคผมู พี ระทยั รังเกยี จไมมตี ณั หาเครื่องฉาบทา ไมเกีย่ วขอ งในสกลุ ในคณะประกอบดวยพระกรุณาใหญ เปนนกั ปราชญ ทรงฉลาดในอุบายเครอ่ื งแนะนํา ทรงขวนขวายในกิจของผูอ นื่ ทรงแนะนาํ ในหนทางอันยิง่ สัตวใ หถึงพระนพิ พาน ซึ่งเปนเหตทุ าํ เปอกตมคือคติ ใหแ หง ในโลกพรอมท้งั เทวโลกประทบั นง่ั แสดงอมตธรรม อนั เปนความแชมชื่นอยางย่ิงซึ่งเปนเครือ่ งหามชราและมรณะ ในทามกลางบริษทั ใหญยงั สตั วใหข ามโลก พระวาจาไพเราะเหมือนนกการะเวกเปน นาถะของโลก มพี ระสรุ เสยี งกอ งประหน่งึ เสียงพรหมผเู สด็จมาดว ยประการน้นั ถอนพระองคข ึ้นจากมหนั ตทกุ ขในเมื่อโลกปราศจากผูแ นะนํา ทรงแสดงธรรมทปี่ ราศจากธุลี นําสตั วอ อกจากโลก เราไดเ หน็ แลว ไดฟง ธรรมของพระองค จึงออกบวชเปนบรรพชิต ครน้ั เราบวชแลวในกาลนนั้ คิดถงึ คาํ สั่งสอนของพระชินเจา ถกู ความเกย่ี วของบีบคนั้ จงึ ไดอยูเสยี ในปาที่นา รนื่ รมยแตผเู ดียวเทานั้น การท่ีเรามกี ายหลีกออกมาได เปน เหตแุ หงการหลกี ออกแหงใจของเราผเู หน็ ภัย ในความเกี่ยวขอ ง เราเผากเิ ลสท้งั หลายแลว. . .ฯลฯ. . .พทุ ธศาสนาเราไดท าํ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 515
Pages: