Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_52

tripitaka_52

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:41

Description: tripitaka_52

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 391 บทวา จตคุ นเฺ ถน ไดแก ผูกรดั ดวยคนั ถะเครอ่ื งผูก ๔ อยา ง มเี ครอ่ื งผูกคอื อภิชฌากายคันถะเปน ตน . คือรอ ยรัด โดยความเปน เครอื่ งผกู . บทวา โอฆส สที โน ไดแ ก เปนผจู มลงในโอฆะ ๔ มกี าโมฆะเปน ตน โดยความเปนทคี่ วรรวมลง, อธบิ ายวา ชื่อวา อนุสัย เพราะอรรถวา นอนเนื่องในสันดาน โดยความทีย่ งั ละไมได, ไดแก กิเลสอันนอนเน่ืองอยใู นสนั ดาน มกี ามราคะเปน ตน . ชอ่ื วา อนุสยาชาลโมตฺถโต เพราะปกคลุมคอื ครอบงําสัตวเ หลา นัน้ไวดว ยตาขา ย. ม อกั ษรทําการตอ บท, ทา นทาํ ทฆี ะ กลา วไวกเ็ พ่ือสะดวกแกร ูปคาถา. ชื่อวา ประกอบแลว ดวยนวิ รณ ๕ เพราะประกอบแลว คอื นอมใจไปแลว ดวยนวิ รณธรรม ๕ อยา ง มกี ามฉันทะเปน ตน,กค็ าํ วา ปฺจนีวรเณ น้ี เปน สตั ตมวี ิภัตติ ลงในอรรถแหงตตยิ าวภิ ตั ติ. เพยี บพรอ มแลว คือสมบูรณแ ลว ดวยมจิ ฉาวิตก มีกามวิตกเปนตนเพราะเหตนุ ้ัน จงึ ชื่อวา เพยี บพรอมดวยวิตก ประกอบดว ยมลู รากแหงภพคอื ตัณหา คอื ถกู มลู รากแหงภพคือตัณหาผูกพนั ไว. บทวา โมหจฺฉาทนฉาทิโต ไดแ ก ปกคลุม ดว ยเครื่องปกปดคอื สมั โมหะ. สวญิ ญาณกะน้นั ท้ังหมด ทา นกลาวหมายถึงกรัชกาย. จรงิ อยูอัตภาพทม่ี วี ิญญาณครอง ทา นเรียกวา กาย เชน ประโยควา ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย กายของตถาคตมีตัณหาในภพขาดสิน้ แลว ยอมตง้ั อยู,กายนี้เทาน้ันเปนภายนอก มนี ามรูป ดงั นเ้ี ปนตน. บทวา เอวาย วตฺตเต กาโย ความวา กายน้ี ยอ มหมนุ ไป โดยประการที่กลา วแลวเปน ตน วา กายน้เี ตม็ ไปดวยมลทินอนั อากลู ตาง ๆ และเปนตนวา กายนี้ ถกู อวิชชาหุม หอ แลว ดงั นี้ กแ็ ล เมอื่ หมุนไป กห็ มนุ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 392ไปดว ยเคร่ืองหมุน คอื กรรมท่ีคนทาํ ดีและทาํ ชั่วไว จงึ หมุนไป คือทอ งเทยี่ วไปในสคุ ติและทุคติ เพราะฟงุ ไปโดยท่ไี มส ามารถจะไปสแู ดนเกษมได. บทวา สมปฺ ตตฺ ิ จ วิปตฺยนตฺ า ไดแก สมบัตทิ ี่มีอยูในรางกายนี้ยอ มมวี บิ ตั เิ ปนทส่ี ุด. จริงอยู ความหนุมและความสาวทง้ั หมด มคี วามแกเ ปนที่สุด, ความไมมีโรคท้งั หมด มีความเจ็บไขเ ปน ทสี่ ุด, ชีวิตท้งั หมดมคี วามตายเปนท่ีสุด, ความประชมุ แหงสงั ขารทงั้ หมด มคี วามแตกแยกจากกนั เปน ทส่ี ุด. ดว ยเหตนุ นั้ ทานจงึ กลา ววา นานาภาโว วปิ ชชฺ ติดังนี้เปน ตน . บทวา นานาภาโว ไดแก ความเปน ตา งๆกัน คือความพลัดพรากจากกัน. อธบิ ายวา รา งกายนัน้ ยอมถงึ คือยอ มบรรลุถึงความเปนตาง ๆกัน คือบางคราวดวยอาํ นาจแหง คนทีพ่ ลดั พรากจากไป, บางคราวดวยอาํ นาจแหงสงิ่ ของทจี่ ะตองพลัดพรากจากไป. บทวา เยม กาย มนายนฺติ ความวา ปถุ ชุ นคนอันธพาลเหลาใด มายึดถอื รางกายนี้ อนั ไมงาม ไมเ ท่ยี ง ไมย ง่ั ยืน เปนทกุ ข หาสาระมไิ ดว า สรรี ะนี้ เปน ของเรา ดังนี้ คอื ยงั ฉนั ทราคะใหเ กิดขน้ึ , ไดแกยอ มยังสงสาร คือตัณหาใหเจริญ ดว ยการเกิดและการตายเปนตนบอ ย ๆเพราะคนมใิ ชบณั ฑติ พึงยนิ ดีภัยอันนากลวั แตชาติเปน ตน และนรกเปนตนดว ยเหตนุ ้ัน ทา นจงึ กลา ววา ปุถุชนคนอันธพาลเหลาน้นั ยอ มถือเอาภพใหมอกี ดังนเี้ ปน ตน . บทวา เยม กาย วิวชฺเชนฺติ คถู ลติ ฺต ว ปนนฺ ค ความวา เปรียบเหมือนบรุ ษุ ผูป ระสงคค วามสขุ อยากมีชวี ติ อยู เหน็ คูถแลวหลีกหนี คอืหลบไปเสยี เพราะเปนสิง่ ทีน่ ารังเกยี จ หรือเห็นอสรพิษแลว หลีกหนี

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 393คือเลี่ยงไปเสีย เพราะความกลัวเฉพาะหนา ช่อื ฉนั ใด กุลบุตรผูเ ปน บณั ฑิตก็ฉนั นั้นเหมือนกนั หลีกรางกายน้ีอนั นารังเกียจ เพราะเปนสิง่ ไมสะอาดและอันมภี ัยเฉพาะหนา เพราะเปน สภาพไมเ ท่ียงเปนตน คอื ละดวยการประหารฉนั ทราคะเสยี การท้งิ ซึ่งอวิชชาอนั เปนมูลรากแหง ภพ และตณั หาในภพ ละไดเ ด็ดขาด ตอ แตน ้นั ก็เปน ผูไมมีอาสวะโดยประการทงั้ ปวงจกั ปรนิ พิ พาน ดวยสอปุ าทิเสสนพิ พานธาตุ และอนุปาทิเสสนิพพาน-ธาตุ แล. จบอรรถกถากปั ปเถรคาถาที่ ๕

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 394 ๖. อุปเสนวังคันตปุตตเถรคาถา วาดวยคาถาของพระอุปเสนวังคันตปุตตเถระ[๓๗๕] ภิกษุซอ งเสพเสนาสนะอนั สงดั ปราศจากเสียง อือ้ อึง เปนทอ่ี ยอู าศยั แหง สตั วร ายเพราะการหลีกเรน ออกเปนเหตุ ภกิ ษุพงึ เก็บผา มาจากกองหยากเย่ือ จาก ปา ชา จากตรอกนอยตรอกใหญ แลว ทําเปน ผานงุ หม พงึ ทรงจวี รอนั เศรา หมอง ภิกษุควรทําใจใหต าํ่ คุม ครอง ทวาร สํารวมดีแลว เทยี่ วไปบิณฑบาตตามลาํ ดบั ตรอก คือตามลาํ ดบั สกุล ภกิ ษพุ ึงยนิ ดีดว ยของ ๆ ตนแมจ ะเปน ของเศราหมอง ไมพึงปรารถนารสอาหารอยางอ่ืนมาก เพราะใจของบคุ คลผตู ดิ ในรสอาหาร ยอ มไมย ินดีใน ฌาน ภิกษคุ วรเปนผมู คี วามปรารถนานอ ย สนั โดษ ชอบ สงดั เปน มุนี ไมค ลกุ คลดี วยพวกคฤหัสถ และพวก บรรพชติ ทง้ั สอง ภิกษุผเู ปนบัณฑิต ควรแสดงตนให เปนดังคนบาและคนใบ ไมค วรพดู มากในทามกลางสงฆ ไมค วรเขาไปกลา ววาใคร ๆ ควรละเวนการเขาไปกระทบ กระท่งั เปน ผสู าํ รวมในพระปาตโิ มกข และพึงเปนผรู จู กั ประมาณในโภชนะ เปนผูฉ ลาดในการเกิดข้ึนแหงจติ มีนิมติ อนั ถือเอาแลว พึงประกอบสมถะและวปิ สสนา ตามเวลาอนั สมควรอยเู นอื ง ๆ พงึ เปน บัณฑติ ผถู งึ พรอ ม

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 395 ดว ยความเพียรเปน นิตย เปน ผปู ระกอบภาวนาทุกเมอ่ื ดว ยความตง้ั ใจวา ถายงั ไมถ งึ ทส่ี ุดทกุ ข ไมพงึ ถงึ ความ วางใจ อาสวะทงั้ ปวงของภกิ ษผุ ปู รารถนาความบรสิ ทุ ธ์ิ เปนอยูอยางนี้ ยอ มสิ้นไป และภิกษุท้งั หลายยอ มบรรลุ นพิ พาน. จบอุปเสนวงั คนั ตปตุ ตเถรคาถา อรรถกถาอปุ เสนวังคนั ตปุตตเถรคาถาที่ ๖ มีคาถาทา นพระอปุ เสนเถระวา ววิ ิตฺต อปปฺ นิคโฺ ฆส ดังนี้เปนตน.เร่ืองน้นั มเี หตุเกดิ ขนึ้ อยางไร ? ไดย ินวา ในกาลแหง พระผมู พี ระภาคเจา ทรงพระนามวา ปทุมตุ ตระทานพระอปุ เสนเถระรปู นี้ บังเกิดในเรือนอันมสี กลุ ในหงั สวดนี คร พอเจรญิ วัยแลวไปฟงธรรมยงั สํานักของพระศาสดาเหน็ พระศาสดาทรงตง้ั ภกิ ษุรปู หน่งึ ไวใ นตําแหนง อนั เลศิ แหงภิกษทุ ัง้ หลาย ผมู คี วามเล่อื มในโดยรอบแลว จงึ กระทําบญุ ญาธิการไวในสาํ นักของพระศาสดาแลว ปรารถนาตาํ แหนง นั้น ตลอดชวี ิตทําแตก ศุ ล จงึ ไดทอ งเทยี่ วไปในเทวโลกและมนษุ ยโลก ในพุทธปุ บาทกาลนี้ บงั เกิดในทอ งของนางพราหมณชี อื่ วารูปสารี ในนาลกคาม และเขาไดม ีชือ่ วา อุปเสนะ. อุปเสนะนั้น เจรญิ วัยแลว พอเรียนไตรเพทจบแลว ฟง ธรรมในสาํ นกั ของพระศาสดา ไดม ศี รทั ธาบวชแลว มีพรรษาเดยี ว ตอ งการเพอื่ใหอุปสมบท จึงใหกุลบุตรคนหนง่ึ อุปสมบทในสํานักของตน ดว ยคิดวา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 396เราจะยังหอ งแหงพระอรหัตใหเจริญ ดังนแ้ี ลว ไปสสู าํ นกั ของพระศาสดาพรอ มกบั กุลบุตรนัน้ พระศาสดาทรงสดบั วา ภกิ ษุนั้นยงั ไมม พี รรษาแตม ีลัทธิวหิ ารกิ จึงทรงติเตยี นวา เร็วนกั แล โมฆบุรุษ เธอเวียนมาเพื่อการเปนอยูอ ยา งฟมุ เฟอย เธอจึงคิดวา บดั นีเ้ ราถูกพระศาสดาทรงตเิ ตยี นเพราะอาศัยบุรษุ นี้แมกจ็ ริง ถึงอยางนนั้ เราอาศยั บรุ ษุ นี้แหละ จักใหพระศาสดาตรัสสรรเสริญบาง ดังน้ีแลว จึงบาํ เพ็ญวิปสสนา ไมนานนักก็บรรลุพระอรหัต. ดวยเหตนุ ัน้ ทานจงึ กลาวไวในอปทาน๑วา :- เราไดเขา เฝา พระผูม ีพระภาคเจา พระนามวา ปทมุ ุตตระ เชษฐบุรุษของโลก เปนนระผูประเสรฐิ สูง สดุ กวานระ ประทบั น่ังอยทู ี่เง้อื มภเู ขา เวลานนั้ เราได เหน็ ดอกกรรณกิ ารก าํ ลงั บาน จึงเด็ดขวั้ มันแลว เอามา ประดบั ท่ฉี ตั ร โปรย (ก้ัน) ถวายแดพระพุทธเจา และ เราไดถวายบณิ ฑบาต มขี าวช้ันพิเศษ ทจ่ี ดั วา เปน โภชนะ อยา งดี ไดนมิ นตพระ ๘ รปู เปน ๙ รปู ทง้ั พระพทุ ธเจา ใหฉันท่บี ริเวณนนั้ พระสยัมภูมหาวีระเจา ผเู ปน บุคคล ผูเลิศ ทรงอนุโมทนาวา ดวยการถวายฉตั รน้ี (และ) ดว ยจติ อนั เลือ่ มใสในการถวายขา วชั้นพเิ ศษนั้น ทานจัก เปน จอมเทวดาเสวยเทวรชั สมบตั ิ ๓๖ คร้ัง และจกั ได เปน พระเจา จกั รพรรดิ ๒๑ คร้ัง จักไดเปนพระเจา ประเทศ- ราชอนั ไพบลู ย โดยคณานับไมถ วน ในแสนกปั แตกปั นี้๑. ข.ุ อ. ๓๒/ขอ ๑๙.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 397 วงศพ ระเจา โอกกากราชจกั สมภพ จักเปนพระพทุ ธเจา พระนามวา โคดม โดยพระโคตร เมอ่ื พระศาสนากําลงั รุง เรอื ง ผนู จ้ี ักถงึ ความเปนมนุษย เปนทายาทในธรรม เปน โอรส นอมไปในธรรมของพระศาสดาพระองคนน้ั จักไดเปนสาวกของพระศาสดา มพี ระนามวา อุปเสนะ จักต้ังอยูใ นเอตทัคคะ ท่เี ปน ผนู าํ ความเลือ่ มใสมาโดยรอบ เม่ือกาลเปนไปถงึ ทส่ี ุด เราถอนภพไดท้ังหมด เราชนะ มารพรอ มท้งั พาหนะแลว ทรงกายอนั เปน ทส่ี ดุ ไว คุณ- วิเศษเหลาน้ี คือปฏสิ มั ภทิ า ๔ . . .ฯลฯ. . . พระพทุ ธ- ศาสนา เราไดท ําเสร็จแลว ฉะน้ีแล ก็ครั้นบรรลพุ ระอรหัตแลว แมต นเองสมาทานธุดงคธรรมทง้ั หมดเปนไปอยู ทง้ั ชักชวนใหภ กิ ษพุ วกอ่นื สมาทาน เพื่อประโยชนแกธ ุดงค-ธรรมน้นั ดวย, ดวยเหตุนั้น พระผมู ีพระภาคเจาจึงทรงดงั เธอไว ในตําแหนงท่เี ลิศแหง ภิกษุท้งั หลาย ผนู ําความเลือ่ มใสมาโดยรอบ. สมยั ตอมาเมอ่ื เกดิ การทะเลาะกนั ข้นึ ในกรุงโกสัมพี และภกิ ษสุ งฆแ ตกแยกเปน ๒ฝา ย เธอถูกภกิ ษุรูปหนงึ่ ผปู ระสงคจ ะหลีกเล่ียงการทะเลาะนั้น ถามวาบดั น้เี กิดการทะเลาะกนั ขน้ึ แลวแล, พระสงฆแตกแยกเปน ๒ ฝาย, กระผมจะพงึ ปฏิบัติอยางไรหนอแล ดังนี้ เมื่อจะกลา วถงึ ขอปฏิบัตแิ กภกิ ษรุ ูปนั้นตงั้ ตนแตการอยอู ยางสงบ จงึ กลา วคาถา๑เหลา นวี้ า :- ภิกษซุ องเสพเสนาสนะอันสงดั ปราศจากเสียงอ้ือองึ เปนทีอ่ ยูอ าศยั แหงสตั วร าย เพราะการหลกี เรนออกเปน๑. ขุ. เถร. ๒๖/ขอ ๓๗๕.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 398เหตุ ภิกษพุ งึ เก็บผา มาจากกองหยากเย่ือ จากปาชา จากตรอกนอ ยตรอกใหญแ ลว ทําเปนผานุงหม พงึ ทรงจวี รอันเศรา หมอง ภิกษคุ วรทาํ ใจใหตา่ํ คมุ ครองทวาร สํารวมดีแลว เท่ียวไปบณิ ฑบาตตามลําดบั ตรอก คอื ตามลาํ ดบัสกลุ ภิกษุพึงยินดีดวยของ ๆ ตน แมจ ะเปน ของเศรา -หมอง ไมพงึ ปรารถนารสอาหารอยางอ่ืนมาก เพราะใจของบคุ คลผมู ตี ดิ ในรสอาหาร ยอมไมย นิ ดีในฌาน ภกิ ษุควรเปนผมู ีความปรารถนานอย สันโดษ ชอบสงดั เปนมุนี ไมคลกุ คลดี ว ยพวกคฤหัสถ และพวกบรรพชิตท้งั สอง ภกิ ษผุ เู ปน บัณฑิต ควรแสดงตนใหเปนดงั คนบาและคนใบ ไมค วรพูดมากในทามกลางสงฆ ไมค วรเขาไปกลาววาใคร ๆ ควรละเวนการเขา ไปกระทบกระทงั่เปนผสู ํารวมพระปาติโมกข และพึงเปนผรู จู กั ประมาณในโภชนะ เปนผูฉลาดในการเกิดขนึ้ แหง จติ มนี มิ ิตอันถือเอาแลว พึงประกอบสมณะและวิปส สนา ตามเวลาอันสมควรอยูเนอื ง ๆ พึงเปน บณั ฑิต ผถู ึงพรอ มดว ยความเพยี รเปนนติ ย เปนผปู ระกอบภาวนาทุกเมือ่ ดว ยความตงั้ ใจวา ถายงั ไมถึงทส่ี ดุ ทุกข ไมพ ึงถึงความวางใจอาสนะทัง้ ปวงของภกิ ษุผปู รารถนาความบรสิ ทุ ธิ์ เปน อยูอยางนี้ ยอ มสิ้นไป และภิกษนุ ้นั ยอมบรรลนุ ิพพาน.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 399 บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา ววิ ิตฺต ไดแ ก เสนาสนะอนั สงดั จากหมูชน วา ง มปี าเปน ตน. บทวา อปปฺ นิคฺโฆส ไดแก เงียบจากเสยี ง คือเวน จากที่เสยี ดสีมากดวยเสยี ง. บทวา วาฬฺมิคนเิ สวิต ไดแ ก อันมีราชสหี  เสอื โครง เสือเหลืองและสตั วร า ย อยอู าศัย. แมด ว ยบทนี้ ทา นแสดงถงึ สถานท่ีอนั สงบจากหมคู นน้ันแล เพราะแสดงวาเสนาสนะสงดั . บทวา เสนาสน ไดแก สถานท่ีอยูโดยความสมควรเพอ่ื จะนอนและเพื่อจะอาศยั ทานประสงคเอาวา เสนาสนะ. ในท่ีนี้. บทวา ปฏิสลลฺ านการณา ไดแก มกี ารหลีกเรน ออกเปน เครื่องหมาย คือเพ่อื จะชักจติ กลับจากอารมณต าง ๆ แลว ใหจ ิตแอบแนบอยูโดยถกู ตอง เฉพาะในกัมมัฏฐานเทา นน้ั . พระเถระครั้นชแ้ี จงถึงเสนาสนะ อนั สมควรแกการเจรญิ ภาวนาแสดงความสันโดษในเสนาสนะอยา งนแี้ ลว บัดนี้ เพอ่ื จะแสดงความสันโดษนั้น แมใ นปจ จัย ๔ มีจวี รเปนตน จงึ กลาวคําวา สงฺการปุฺชา ดงั น้ีเปน ตน . บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา สงกฺ ารปุ ชฺ า ไดแ ก กองแหง หยากเย่ือทง้ั หลาย ช่อื วา กองแหง หยากเยอื่ . จากที่กองหยากเยอ่ื นัน้ . บทวา อาหตฺวา แปลวา เก็บมาแลว . บทวา ตโต แปลวา จากทอนผาเศษทน่ี ํามาแลวเชน น้นั . จริงอยูคาํ นี้เปนปญ จมวี ภิ ัตติ ใชลงในเหต.ุ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 400 บทวา ลูข ไดแก เศราหมอง ดว ยความเศรา หมองในการตัด และดว ยความเศราหมองในการยอมเปนตน คือมีสไี มส ะอาด และถกู จับตองแลว . บทวา ธาเรยฺย ความวา ทานกลาววาเปนผสู นั โดษในจวี ร เพราะพึงบริหารดว ยอาํ นาจการนงุ หม เปนตน . บทวา นีจ มน กริตฺวาน ความวา อนสุ รณถึงโอวาทของพระ-สุคตเจาเปน ตนวา ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย นเ้ี ปนท่ีสดุ แหงชวี ิต ดังน้ี แลวทําจติ ใหร า เริงในการทําลายมานะ. บทวา สปทาน ไดแก เวนจากการเก่ียวของในเรือนท้งั หลายอธบิ ายวา ตามเรือน. ดวยเหตุน้ัน ทานจงึ กลาววา กุลา กุล ดังนีเ้ ปนตน. บทวา กลุ า กุล ไดแก จากตระกูลสูตระกูล อธบิ ายวา ตามลาํ ดับตระกูล คอื ตามลาํ ดบั เรอื น. บทวา ปณ ฺฑิกาย ความวา ทานกลา วความสนั โดษในบิณฑบาตดวยภิกษาที่เจือปนกนั น.้ี บทวา คุตฺตทฺวาโร ไดแ ก คมุ ครองจกั ษุทวารเปนตน ดีแลว . บทวา สุส วุโต ไดแ ก สํารวมแลวดวยดี เพราะไมมคี วามคะนองมือเปน ตน. อป ศพั ท ในคําวา ลูเขนป วา น้ี เปนสมจุ จยตั ถะ. วา ศพั ทเปนวกิ ปั ปตถะ. ความวา พงึ ยนิ ดโี ดยชอบสมํ่าเสมอในความสนั โดษ ดว ยปจ จัยตามมีตามได ทไ่ี ดมาโดยงา ย ไมเ ลือกวาอยางใดอยางหนงึ่ แมทง้ั สองอยางคอื ทง้ั เศราหมอง ทง้ั เปน ของนอย ดวยเหตนุ ั้น ทานจึงกลา ววา นาฺ ปตฺเถ รส พหุ ดังน.ี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook