พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 201 ๙. เชนตปุโรหิตปุตตเถรคาถา๑ วาดว ยคาถาของพระเชนตปุโรหิตปตุ ตเถระ [๓๕๕] เราเปน ผูเมาดว ยความเมาเพราะชาติสกุล ดวยโภคะ และอิสรยิ ยศ ดว ยทรวดทรง ผวิ พรรณและรปู รา ง และ เปน ผเู มาแลว ดวยความเมาอยางอน่ื เราจงึ ไมสาํ คัญ ใคร ๆ วา เสมอตน และยิง่ กวาตน เราเปนผูมีกุศลอัน อติมานะกาํ จดั แลว เปน คนโงเ ขลา มใี จกระดาง ถือตวั มีมานะจดั ไมเ อ้ือเฟอ ไมกราบไหวใ คร แมเปน มารดา หรือบิดา แมพ ่ชี ายหรอื พส่ี าว และแมส มณพราหมณ เหลาอน่ื ท่ีโลกสมมตวิ าเปน ครบู าอาจารย เราเห็นพระ- พทุ ธเจาผูเปน นายกของโลก ผเู ลศิ ประเสริฐสุดกวาสารถี ทง้ั หลาย ผูรุง เรื่องดุจพระอาทิตย อนั หมภู กิ ษุสงฆห อ ม ลอมแลว จึงละทิง้ มานะและความมัวเมา มีใจผองใส ถวายบังคมพระองคผสู ูงสุดกวาสตั วทง้ั หลาย ดว ยเศียร- เกลา การถือตวั วาดีกวาเขา วา เลวกวาเขา และวาเสมอ เขา เราละแลว ถอนขึ้นแลว ดวยดี การถอื ตัววา เปนเรา เปนเขา เราตัดขาดแลว การถือตวั ตาง ๆ ทง้ั หมด เรา กาํ จัดแลว. จบเชนตปโุ รหิตปุตตเถรคาถา๑. อรรถกถาเปน ปโุ รหติ ปตุ ตเชนตเถรคาถา.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 202 อรรถกถาปโุ รหติ ปุตตเชนตเถรคาถาท่ี ๙ คาถาของทานพระเชนตเถระ มีคําเร่มิ ตน วา ชาติมเทน มตฺโตหดงั น้.ี มีเรือ่ งเกิดขึ้นอยา งไร . แมพระเถระน้ี กไ็ ดบ าํ เพญ็ บญุ ญาธกิ ารไวใ นพระพทุ ธเจา ปางกอ นท้งั หลาย สัง่ สมบญุ ทงั้ หลายไวในภพน้นั ๆ ในพุทธปุ บาทกาลน้ี บงั เกิดเปน บุตรของปุโรหิตของพระเจา โกศล ในนครสาวตั ถ.ี ทา นมนี ามวาเชนตะ. พอทานเจริญวยั กม็ ัวเมาดว ยความเมาเพราะชาติและเมาในโภคะความเปนใหญ และรปู ดหู มิ่นคนอ่ืน ไมทาํ ความยําเกรงแมแ กทานผตู ั้งอยูในฐานะทคี่ วรเคารพ มีมานะจัดเท่ยี วไป. วนั หนึ่ง นายเชนตะน้ันไดเห็นพระศาสดา อันบริษทั หมใู หญห อมลอ มกาํ ลังแสดงธรรมอยู เมื่อจะเขา ไปเฝา จงึ ทาํ ความคิดใหเ กิดขึ้นวา ถาพระสมณโคดมน้จี กั ตรัสทกั เรากอ น แมเรากจ็ กั ทกั ทายดวย ถาไมต รัสทกั เราก็จกั ไมท กั ดงั น้แี ลว จงึ เขาไปเฝายนื อยู เมอ่ื พระผูม ีพระภาคเจา ไมตรัสทักกอ น แมตนเองก็ไมท กั ทายเพราะถอื ตัว แสดงอาการจะเดนิ ไป. พระผูมีพระภาคเจา จงึ ไดต รัสกะเขาดวยพระคาถาวา ดกู อ นพราหมณ ใครในโลกนม้ี มี านะ ไมด ีเลย ผใู ด มาดว ยประโยชนใด ผนู ้นั พึงเพิม่ พูนประโยชนน ั้น. เขาคิดวา พระสมณโคดมรูจติ ใจของเรา มคี วามเล่อื มใสยงิ่ จึงซบศรี ษะลงท่ีพระบาททง้ั สองของพระผมู พี ระภาคเจา การทําอาการเคารพยาํ เกรงอยางยงิ่ แลว ทลู ถามวา พราหมณไมควรทาํ มานะในใคร ควรมคี วามเคารพ ในใคร พงึ ยาํ เกรงใคร บูชาใครดว ยดีแลว จงึ เปนการด.ี
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 203 พระผูมพี ระภาคเจา เมือ่ จะทรงตอบปญ หาของเขา จงึ ทรงแสดงธรรมวา ไมควรทาํ มานะในมารดา บดิ า พชี่ าย และในอาจารย เปน ที่ ๔ พึงมีความเคารพในบคุ คลเหลานั้น พึงยําเกรง บคุ คลเหลา น้นั บูชาบุคคลเหลา น้ัน ดว ยดแี ลว จึงเปน การดี บุคคลพงึ ทาํ ลายมานะเสีย ไมควรมคี วามกระดาง ในพระอรหันตผ ูเยน็ สนทิ ผทู าํ กจิ เสรจ็ แลว หาอาสวะ มิได พงึ นอบนอมทานเหลา นน้ั ผูไมมีผอู ืน่ ยิ่งกวา. เขาไดเ ปนพระโสดาบันดวยเทศนานั้น บวชแลวบาํ เพญ็ วปิ ส สนาจึงไดบรรลุพระอรหัต เม่อื จะพยากรณพระอรหัตผลโดยมงุ ระบขุ อปฏบิ ัติของตน จึงไดกลา วคาถา๑เหลา น้ี ความวา เราเปนผเู มาดว ยความเมาเพราะชาตสิ กุล ดวยโภคะ และอิสริยยศ ดวยทรวดทรง ผวิ พรรณและรปู ราง และ เปน ผูเมาดว ยความเมาอยางอืน่ เราจึงไมส าํ คัญใคร ๆ วา เสมอตนและย่ิงกวาตน เราเปนผูม ีกุศลอันอตนิ านะ กําจดั แลว เปน คนโงเ ขลา มใี จกระดาง ถือตวั มีมานะ จัด ไมเอ้ือเฟอ ไมกราบไหวใคร แมเ ปน มารดาหรือ บดิ า แมพช่ี ายหรือพ่สี าว และแมส มณพราหมณเ หลา อนื่ ท่โี ลกสมมตวิ า เปนครบู าอาจารย เราเหน็ พระพุทธเจา ผู เปน นายกของโลก ผูเ ลศิ ประเสริฐสงู สุดกวาสารถที งั้ หลาย๑. ข.ุ เถร. ๒๖/ขอ ๓๓๕.
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 204 ผรู งุ เรืองดจุ พระอาทิตย อนั หมภู ิกษุสงฆหอ มลอ มแลว จงึ ละทงิ้ มานะและความมวั เมา มใี จผอ งใส ถวายบังคม พระองคผสู ูงสุดกวาสตั วท้ังหลาย ดว ยเศียรเกลา การ ถอื ตวั วา ดีกวาเขา วา เลวกวาเขา และวาเสมอเขา เราละ แลว ถอนข้นึ แลว ดวยดี การถอื ตวั วาเปน เราเปนเขา เรา ตัดขาดแลว การถือตวั ตา ง ๆ ทั้งหมด เรากาํ จัดไดแลว. บรรดาบทเหลานัน้ บทวา ชาติทเมน มตฺโตห มีวาจาประกอบความวา เราบงั เกดิ ในตระกลู พราหมณผมู ชี ่ือเสยี ง จงึ เมาดวยความถอืตระกลู วา ไมม ตี นอ่นื ผเู กดิ ดแี ลว จากบดิ ามารดาทง้ั สองฝา ยเชนกับเรา จึงไดถือตวั จัดเทย่ี วไป. บทวา โภคอสิ สฺ รเิ ยน จ ประกอบความวา เราไดเ ปนผเู มาดว ยทรัพยสมบัติ และดวยความเปนใหญ คือดวยความเมาอนั เกิดข้ึน เพราะอาศยั โภคสมบตั ิ และอิสรยิ สมบัติอันเปนตัวเหตุเท่ยี วไป. บทวา สณฺานวณฺณรูเปน ความวา ทรวดทรง ไดแก ความสมบูรณด ว ยสว นสูงและสว นใหญ. วรรณะ ไดแก ความสมบูรณด วยผิวพรรณ มีผิวขาวและผวิ คล้าํ เปน ตน, รปู ไดแก ความงามแหง อวยั วะนอ ยใหญ. แมใ นบทวา สณฺ านวณฺณรเู ปน น้ี ก็พงึ ทราบวาจาประกอบความโดยนัยดังกลาวแลว. บทวา มทมตฺโต ไดแ ก ผเู มาดว ยความเมาแมอ น่ื จากประการที่กลา วแลว. บทวา นาตตฺ โน สมก กจฺ ิ ความวา เราจงึ ไมสาํ คัญ คือไมร ับรูใครๆวา เสมอ คอื เชนกับตน ไดแกเสมอดว ยชาตเิ ปน ตน หรอื วายง่ิ
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 205กวา ตน อธบิ ายวา แมคนผเู สมอกับตนเรากย็ ังไมส าํ คญั (วาจะมี) คนที่ยง่ิ กวาน้ัน เราจะสําคญั (วา จะมี) มาแตไ หน. บทวา อตมิ านหโต พาโล ความวา เราเปนคนพาล เพราะความเปนคนพาลนั้น จงึ เปน ผถู กู อตมิ านะกาํ จดั การบาํ เพญ็ กศุ ลเสยี เพราะเหตุนั้นน่ันแหละ เราจงึ มใี จกระดาง ถือตวั คือเปนผูก ระดางจดั ไดแกเกิดเปน ผกู ระดา ง โดยไมถ อมตน เปนคนถือตัวโดยไมทําการนอบนอ มแมแ กค รทู ้ังหลายดวยความหัวดอื้ . เพื่อจะทาํ เน้อื ความท่ีกลา วแลว นนั่ แลใหป รากฏชดั ข้ึน จึงกลาวคําวามาตร เปนตน . บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา อเฺ ไดแก พชี่ ายเปน ตน และสมณพราหมณ. บทวา ครุสมฺมเต ไดแก ทส่ี มมตกิ นั วา ครู คอื ผูตั้งอยูในฐานะคร.ู บทวา อนาทโร แปลวา เวน จากความเอ้อื เฟอ . บทวา ทสิ วฺ า วนิ ายก อคคฺ มีวาจาประกอบความวา เราเปนผูมีมานะจดั อยางน้เี ทยี่ วไป ไดเ หน็ พระศาสดาผชู ่อื วา ผูแนะนําโดยวเิ ศษเพราะแนะนาํ เหลาเวไนยสัตวด วยทฏิ ฐธมั มกิ ประโยชน สัมปรายกิ ตั ถ-ประโยชน และปรมตั ถประโยชน และเพราะภาวะเปน ผนู าํ โดยความเปนพระสยัมภู ชอ่ื วา ผเู ลศิ เพราะความเปนผูประเสริฐสดุ ในโลก พรอ มท้งัเทวโลกดว ยคุณมีศีลเปนตน ช่อื วาผสู ูงสุดคอื สูงสดุ ยิง่ แหง สารถี เพราะฝก บรุ ษุ ทีค่ วรฝกไดโ ดยเดด็ ขาด ผรู งุ เรอื งคอื สวา งไสวดว ยแสงสวา งดวยพระรัศมดี านละวาเปน ตน ดุจพระอาทติ ย ผูสูงสุดกวา สรรพสัตว อนั หมู
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 206ภิกษแุ วดลอมกาํ ลงั แสดงธรรมอยู ถูกพุทธานุภาพคกุ คาม จึงละคอื ท้งิมานะทีเ่ กิดขึ้นวา เราเทานั้นเปน ผปู ระเสรฐิ คนอืน่ เลว และความเมามเี มาในโภคะเปนตน มีใจเล่ือมใส จึงอภวิ าทดวยเศยี รเกลา . ถามวากน็ ายเชนตะนี้เปนผูม ีมานะจัด อยา งไรจึงละมานะดว ยเหตสุ กั วา ไดเห็นพระ-ศาสดา ? ตอบวา ขอ นน้ั ไมพ งึ เห็นอยา งน้ัน. เขาไมไดล ะมานะดวยสักวาเหน็ พระศาสดา แตล ะมานะไดด ว ยเทศนา มีอาทวิ า ดูกอนพราหมณมานะไมดีเลย ดงั น้ี ซึง่ ทา นหมายกลาววา เราละมานะและความมวั เมามีใจเล่อื มใส จึงอภวิ าทดวยเศยี รเกลา. ก็ในบทวา วปิ ฺปสนเฺ นน เจตสา น้ี พึงเหน็ วา ใชตติยาวิภัตตใิ นอรรถวา อิตถัมภตู ะ แปลวา ม.ี บางอาจารยกลา ววา มานะทีเ่ กดิ ขึ้นวา เราเทา นัน้ เปนผปู ระเสรฐิสุด ดังนี้ เปนอตมิ านะ สําคญั ตวั วา ยง่ิ กวาเขา มานะของคนผตู ง้ั คนอื่นไวโดยความเปนคนเลววา สวนคนอืน่ เปน คนเลว ดังนเ้ี ปน โอมานะสาํ คญั ตัววาเลวกวาเขา. อน่ึง มานะวาดกี วาเขา ท่ีเกิดแกบ คุ คลผลู วงเลยคนอ่ืน แลว ต้งั ตนวา ประเสรฐิ กวาเขา เราเปน ผปู ระเสรฐิ กวา ดังนี้ เปนอติมานะ. มานะวา เลวกวาเขาทเ่ี กิดข้นึ วา เราเปนคนเลวกวาเขา ดงั นี้เปนโอมานะ. บทวา ปหนี า สสุ มหู ตา ความวา เปน ผลู ะดว ยมรรคเบือ้ งต่าํ ถอนข้ึนไดเด็ดขาดดว ยอรหตั มรรค. บทวา อสฺมมิ าโน ไดแ ก มานะที่เกดิ ดว ยอํานาจการยดึ ถอื วา\"เรา\" ในขนั ธว า \"เราเปน นนั่ . \"
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 207 บทวา สพฺเพ ความวา มใิ ชอติมานะ โอมานะ และอสั มมิ านะอยางเดียวเทานั้น โดยที่แทป ระเภทของมานะ คือสวนแหงมานะทง้ั หมดมปี ระเภทมานะ ๙ มมี านะวาประเสรฐิ กวา เขา แหงคนผูป ระเสรฐิ กวาเขาและมานะหลายประเภท โดยประเภทอ่ืน ๆ เรากาํ จดั แลว คือถอนไดเด็ดขาดแลว ดว ยอรหตั มรรค. จบอรรถกถาปุโรหิตปตุ ตเชนตเถรคาถาที่ ๙
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 208 ๑๐. สมุ นเถรคาถา วา ดว ยคาถาของพระสมุ นเถระ [๓๕๖] เมอ่ื คร้งั เราบวชใหม มอี ายไุ ด ๗ ปโ ดยกาํ เนดิ ได ชนะพระยานาคผมู ีมหิทธิฤทธด์ิ ว ยฤทธิ์ ไดต ักนา้ํ จาก สระใหญ ช่อื วา อโนดาต มาถวายพระอุปชฌาย ลาํ ดบั นนั้ พระศาสดาทอดพระเนตรเหน็ เราแลว ตรสั วา ดูกอน สารบี ตุ ร เธอจงดูกุมารผถู ือหมอ นา้ํ มาน้ี มีจติ ต้งั มนั่ ดแี ลว ในภายใน สามเณรนม้ี ีวตั รอนั นา เลอื่ มใส มอี ริ ยิ าบถ งดงาม เปน ศิษยของพระอนุรุทธะ แกลว กลาดวยฤทธ์ิ เปนผูอันพระอนุรทุ ธะ ผูเ ปน บุรษุ อาชาไนยฝกใหรไู ด รวดเรว็ ผอู ันพระอนุรทุ ธะผเู ปนคนดี ฝก ใหดีแลว เปน ผอู ันพระอนุรุทธะผูท าํ กจิ เสร็จแลว แนะนําแลว ใหศ ึกษา แลว สุมนสามเณรนนั้ ไดบรรลุสันติธรรมอันยอดเยี่ยม ทําใหแจงซงึ่ ธรรมอันไมกาํ เริบ ปรารถนาอยวู า ใคร ๆ อยา พงึ รูจกั เรา. จบสุมนเถรคาถา อรรถกถาสมุ นเถรคาถาที่ ๑๐ คาถาของทา นพระสมุ นเถระ มีคําเร่ิมตนวา ยทา นโว ปพฺพชโิ ต.เรือ่ งนมี้ เี หตุเกิดขน้ึ อยางไร ? แมพระเถระนี้กไ็ ดบาํ เพญ็ บญุ ญาธกิ ารไวใ นพระพทุ ธเจาแตป างกอนท้งั หลาย สงั่ สมบญุ ไวใ นภพนนั้ ๆ ในกาลแหง พระผมู พี ระภาคเจา
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 209พระนามวา สขิ ี บงั เกดิ ในตระกลู ของนายมาลาการ รเู ดยี งสาแลว วันหนง่ึไดเหน็ พระผูมพี ระภาคเจา พระนามวาสิขี มใี จเลื่อมใสไดบ ูชาดวยดอกมะลิ. ดว ยบุญกรรมน้ัน เขาทองเที่ยวไปในเทวดาและมนษุ ยท้ังหลายในพทุ ธปุ บาทกาลน้ี ไดถ อื ปฏสิ นธิในเรือนของอบุ าสกคนหนง่ึ และอุบาสกผูนนั้ ไดเปนอุปฏ ฐากของทา นพระอนรุ ทุ ธเถระ ก็ในกาลกอ นแตนั้น พวกเด็กของเขาพอเกิดก็ตายไป ดว ยเหตนุ ้นั เขาจึงเกดิ ความคดิขึน้ วา บัดนี้ ถาเราจักไดบุตรชายคนเดียว จักใหบวชในสํานกั ของพระผเู ปนเจาอนุรทุ ธเถระ. กเ็ ดก็ ในครรภน ัน้ พอลว งไปได ๑๐ เดือนก็เกิด เปน เด็กไมป วยไขเจริญเตบิ โตมาโดยลาํ ดับ มอี ายุได ๗ ขวบ บิดาใหเขาบวชในสาํ นักของพระเถระ คร้นั บวชแลวแตน ้นั เพราะเปน ผูมญี าณแกก ลาทา นจงึ บําเพญ็วปิ ส สนากรรมฐาน ไมนานนักเปน ผมู ีอภิญญา ๖ เมอื่ จะบํารุงพระเถระคดิ วาจักตักน้ําดม่ื จงึ ไดถอื หมอนา้ํ ไปยังสระอโนดาตดวยฤทธ์.ิ ลําดับน้นั นาคราชตวั หนงึ่ เปนมจิ ฉาทิฏฐิ เมอ่ื จะปด สระอโนดาตจึงเอาขนดวง ๗ รอบ แผพ งั พานใหญไวเบอ้ื งบน ไมใหโอกาสทา นสุมนะตักน้าํ . ทานสมุ นะแปลงรูปเปน ครุฑ ชนะนาคราชน้ัน แลวจึงตักน้าํ เหาะมุง ไปยงั ที่อยขู องพระเถระ. พระศาสดาประทับนงั่ อยูในพระเชตวัน ทรงเห็นพระสมุ นะนน้ั ไปโดยประการอยา งนน้ั จงึ ตรัสเรียกพระธรรมเสนาบดีมาแลว ไดตรสั คณุของเธอดวยคาถา ๖ คาถา โดยนยั มอี าทวิ า สารบี ตุ ร เธอจงดูกมุ ารผูน ี้ลําดบั น้ัน พระสมุ นเถระไดกลาวคาถา๑ ๖ คาถา ดว ยการพยากรณพระ-อรหตั ผลวาขุ. เถร ๒๖/ ขอ ๓๕๖.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 210 เมอื่ ครั้งเราบวชใหม มีอายุได ๗ ปโ ดยกําเนิด ไดชนะ พระยานาคผูมีมหิทธิฤทธด์ิ ว ยฤทธ์ิ ไดตักนาํ้ จากสระใหญ ชื่อวา อโนดาต มาถวายพระอุปช ฌาย. ลาํ ดับนั้น พระศาสดาไดทอดพระเนตรเหน็ เราแลว ตรสั วา ดูกอน สารบี ตุ ร เธอจงดูกมุ ารผูถอื หมอนํา้ มาน้ี มีจิตตั้งม่นั ดีแลว ในภายใน. สามเณรนี้มีวัตรนาเล่ือมใส มอี ิริยาบถงดงาม เปนศษิ ยของพระอนุรุทธะ แกลว กลา ดวยฤทธิ์ เปนผอู นั พระอนรุ ทุ ธะผเู ปนบรุ ุษอาชาไนย ฝก ใหร ูไดรวดเร็ว ผูอ นั พระอนุรทุ ธะผูเปน คนดี ฝก ใหดีแลว เปน ผูอนั พระอนุรุทธะผทู าํ กิจเสร็จแลว แนะนาํ แลว ใหศกึ ษาแลว สุมนสามเณรนน้ั ไดบรรลสุ นั ตธิ รรมอนั ยอดเย่ียม ทาํ ให แจง ธรรมอนั ไมกาํ เริบแลว ปรารถนาอยวู า ใคร ๆ อยา พงึ รจู ักเรา. บรรดาคาถาเหลา น้ัน คาถา ๒ คาถาขางตน พระสมุ นเถระนน่ั แลกลาวไว อกี ๔ คาถา พระศาสดาเมอื่ ทรงเหน็ ดงั นัน้ จงึ ตรสั ไว. พระสมุ นเถระรวมคาถาทั้งหมดนน้ั เขาไวแหง เดยี วกัน แลวไดก ลา วเนอ่ื งดว ยการพยากรณพระอรหัตผลในชน้ั หลงั . บรรดาบทเหลานน้ั บทวา ปนฺนคนิ ทฺ แปลวา พระยานาค. บทวา ตโต ไดแ ก ในกาลนนั้ อธบิ ายวา ในคราวทเ่ี รายงั บวชใหม มีอายุได ๗ ปโดยกาํ เนิด ไดช นะพระยานาคผูมีฤทธม์ิ าก ดวยพลงั แหง ฤทธ์ิ นาํ น้าํ จากอโนดาตมาถวายพระอปุ ช ฌาย. พระเถระ เม่อื จะแสดงพระดาํ รัสทพี่ ระศาสดาของเราตรัสเจาะจงเราจงกลา วคาํ อาทิวา ดกู อนสารบี ตุ ร เธอจงดูกมุ ารนี้ ดงั น้ี.
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 211 บทวา อชฺฌตตฺ สุสมาหิต ความวา ผมู จี ติ ต้ังมัน่ ดีแลว ดว ยสมาธิอันสัมปยุตดว ยพระอรหตั ผลอนั เปนอารมณภายใน. บทวา ปาสาทิเกน วตเฺ ตน ไดแ ก ดว ยอาจารวตั รอันนาํ ความเลอ่ื มใสมาใหแกผเู ห็นอยู. คาํ วา ปาสาทเิ กน วตฺเตน น้ี เปนตตยิ า-วิภัติใชใ นอรรถแหง กรณะ แปลวา ดวย. บทวา กลยฺ าณอิริยาปโถ แปลวา ผมู ีอิรยิ าบถเรียบรอ ย. อกีอยางหน่งึ บทวา ปาสาทิเกน วตเฺ ตน นี้ เปนตตยิ าวิภัติใชใ นลักษณะอติ ถมั ภูตะ แปลวา ม.ี ความเปนสมณะ ชอื่ วา สามณั ยะ อธบิ ายวา สามญั ญะ.ชือ่ วาสามเณร ไดแก สมณทุ เทส เพราะไปคือเปน ไปเพอื่ สามัญญะความเปน สมณะนั้น. บทวา อิทธฺ ยิ า จ วิสารโท ไดแก เปนผูฉลาด คอื ฉลาดดีแมในฤทธ์.ิ บทวา อาชานเี ยน ไดแ ก บุรษุ อาชาไนย. อธบิ ายวา ผูอ ันพระอนุรทุ ธะผกู ระทาํ กิจเสร็จแลว ผูช่อื วาคนดี เพราะทาํ ประโยชนตนและประโยชนค นอน่ื ใหสาํ เร็จ กระทําคอื ฝกใหเ ปนคนดี คือใหสําเรจ็ประโยชนท ั้งสอง อีกอยางหนง่ึ ทาํ คอื ฝกใหเ ปนผูร ูร วดเรว็ ดวยดี แนะนาํแลวดว ยวชิ ชาอนั เลศิ ใหศ ึกษาแลว ดวยการใหบรรลคุ วามเปน พระอเสกขะ. สุมนสามเณรน้นั ไดร บั ความสงบอยางยิง่ คือพระนพิ พาน บรรลุแลวดว ยการบรรลุพระอรหัตมรรค กระทาํ ใหแ จง คอื ทําใหป ระจกั ษแ กต นซงึ่ ความเปนธรรมอนั ไมก าํ เรบิ ไดแกพ ระอรหัตผล เพราะเปนผูถ ึงความ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 212มักนอ ยอยางย่ิงยวดจึงปรารถนา คอื หวงั อยูวา อยา พึงรเู รา คือแมใ คร ๆกอ็ ยาพงึ รูจกั เราวา ผนู ม้ี ีอาสวะส้นิ แลว หรือวา มีอภญิ ญา ๖ ฉะนี้แล. จบอรรถกถาสุมนเถรคาถาที่ ๑๐
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 213 ๑๑. นหาตกมุนเี ถรคาถา วา ดวยของพระนหาตกมุนเี ถระพระผูมีพระภาคเจา ตรัสถามวา [๓๕๗] ดกู อนภกิ ษุ เม่ือเธออยใู นปาใหญอันปราศจากโคจร เปน ปาเศราหมอง ถกู โรคลมครอบงํา จกั ทําอยางไร.พระนหาตกมุนีกราบทูลวา ขาพระองคจ ักยงั ปต ิและความสขุ อันไพบลู ยใหแ ผไป สรู างกาย ครอบงาํ ปจจัยอันเศราหมองอยูในปา ใหญ และ จักเจริญโพชฌงค ๗ อินทรีย ๕ พละ ๕ ถงึ พรอ มดวย อรูปฌาน จักเปน ผูห มดอาสวะอยู ขา พระองคจกั พิจารณา เนอื ง ๆ ซึ่งจิตอนั บริสุทธิ์ หลดุ พน แลว จากกเิ ลส ไมข ุนมัว เปนผหู มดอาสวะอยู อาสนะทั้งปวงของขาพระองค ซ่งึ มี อยูท ้ังภายในและภายนอก ถูกถอนข้ึนหมดแลว ไมเ กดิ ข้ึนอีกตอ ไป เบญจขนั ธ ขา พระองคก าํ หนดรแู ลว มรี าก อันขาดแลวต้งั อยู ธรรมอนั เปน ทสี่ ิ้นทุกข ขา พระองคไ ด บรรลุแลว บัดน้ี ภพใหมไมมี พระเจา ขา. จบนหาตกมนุ เี ถรคาถา อรรถกถานหาตกมนุ ีเถรคาถาท่ี ๑๑ คาถาของทานพระนหาตกมุนีเถระ มีคําเริ่มตนวา วาตโรคาภินีโตดังนี้. เร่อื งนี้มเี หตเุ กดิ ข้นึ อยา งไร ?
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 214 แมพ ระเถระน้ีก็ไดบาํ เพญ็ บุญญาธกิ ารไวในพระพุทธเจาแตป างกอ นทั้งหลาย ส่งั สมบุญไวในภพนั้น ๆ ในพทุ ธุปบาทกาลนี้ บังเกดิ ในตระกลูพราหมณใ นนครราชคฤห เตบิ ใหญขึ้นไดถ งึ ความสําเรจ็ ในท่ตี ้งั แหงวชิ ชาเปน ตน เขารูกนั ท่ัววา นหาตกะ เพราะประกอบดวยลกั ษณะของผอู าบแลว (คอื หมดกเิ ลส). ทา นนหาตกะนนั้ บวชเปน ดาบสยงั อัตภาพใหเ ปน ไปดวยลูกเดอื ยในราวปาในท่ีประมาณ ๓ โยชนจากนครราชคฤห บําเรอไฟอย.ู พระ-ศาสดาทรงเหน็ อปุ นสิ ัยแหง พระอรหตั ของทา นอนั โพลงอยูในภายในหทยัเหมอื นประทีปลุกโพลงอยูในหมอ จงไดเสด็จไปยงั อาศรมบทของทาน. ทานไดเห็นพระผมู ีพระภาคเจา แลว ราเริงดีใจ จึงนอมนาํ อาหารเขาไปถวายโดยทาํ นองทสี่ ําเร็จแกต น. พระผูมีพระภาคเจา เสวยอาหารนัน้ ถวายในวันท่ี ๒ ที่ ๓ กอ็ ยา งนน้ั ในวนั ท่ี ๔ จึงกราบทูลวา ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา พระองคเ ปน ผูละเอยี ดออนอยา งยง่ิ ไฉนจงึ ยังอตั ภาพใหเปน ไปดวยอาหารน้ไี ด. พระศาสดาเมอ่ื จะทรงประกาศคณุ แหง อริย-สนั โดษแกท าน จึงทรงแสดงธรรม. ดาบสไดฟ ง ธรรมน้ันแลว เปนพระโสดาบัน บวชแลว บรรลุพระ-อรหัต. พระผมู ีพระภาคเจา ครั้นทาํ ดาบสนัน้ ใหดํารงอยูในพระอรหัตแลว ก็เสดจ็ ไป. ฝา ยดาบสนัน้ อยใู นทน่ี น้ั แหละ ตอ มาถูกโรคลมเบียดเบยี น.พระศาสดาไดเสดจ็ ไปในที่น้นั เมอื่ จะตรสั ถามธรรมเครอ่ื งอยูของทานโดยทางปฏสิ ันถาร จงึ ตรสั พระคาถาวา ดกู อนภิกษุ เม่อื เธออยูในปา ใหญ อันปราศจากโคจร เปนปาเศรา หมอง ถกู โรคลมครอบงาํ จกั ทาํ อยางไร.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 215 ลาํ ดับน้ัน พระเถระจงึ ประกาศธรรมเคร่ืองอยขู องตนแดพ ระศาสดาดว ยคาถา๑เหลา นว้ี า ขาพระองคจ ักยงั ปต แิ ละสุขใหแ ผไปสูรางกาย ครอบ งําปจจยั อันเศรา หมองอยใู นปาใหญ และจักเจรญิ โพช- ฌงค ๗ อนิ ทรีย ๕ พละ ๕ ถงึ พรอมดว ยฌานโสขมุ มะ คืออรปู ฌาน จักเปนผไู มมีอาสวะอยู ขาพระองคจ กั พิจารณาเนอื ง ๆ ถึงจติ อันบรสิ ุทธ์ิ หลุดพนจากกิเลสแลว ไมข ุนมวั ไมม อี าสวะอย.ู อาสวะท้ังปวงของขา พระองค ซง่ึ มอี ยูทงั้ ภายในและภายนอก ถูกถอนขนึ้ หมดแลว ไม เกิดขน้ึ ตอไป เบญจขันธข าพระองคกาํ หนดรแู ลว มีราก ขาดแลวตั้งอยู ธรรมอันเปนที่สิ้นทุกข ขา พระองคไ ด บรรลแุ ลว บดั นีภ้ พใหมไ มม พี ระเจาขา. บรรดาบทเหลา นั้น บทวา ณานโสขุมฺมสมฺปนฺโน ไดแ ก ผูประกอบดว ยภาวะอนั ละเอยี ดออนแหง ฌาน. อรปู ฌาน ชอ่ื วา ฌานสุขมุ ะ. เพราะ-ฉะนนั้ ทานจึงอธิบายไวว า เราเปนผูไดส มาบัติ ๘. ดวยบทวา ฌาน-โสขุมฺมสมฺปนฺโน นนั้ ทา นพระดาบสแสดงถึงความทต่ี นเปน อุภโตภาค-วมิ ตุ ต.ิ สว นอาจารยอ กี พวกหนง่ึ กลาววา ดวยบทวา โสขุมฺม น้ี ทานประสงคเอาอธิปญ ญาสิกขาในอรหตั มรรคและอรหัตผล. แตน น้ั ทา นประกาศถึงความทตี่ นเปน อุภโตภาควมิ ุตติ ดว ย ฌาน ศัพท. บทวา วปิ ปฺ มตุ ตฺ กิเลเสหิ ความวา ชอื่ วา หลุดพน จากกิเลสทัง้ ปวงเพราะปฏิปสสทั ธิวิมตุ ติ ชือ่ วาจติ บรสิ ุทธิ์ เพราะหลุดพนจากกิเลสทง้ั ปวง๑. ขุ. เถร. ๒๖/ขอ ๓๕๗.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 216นนั้ นน่ั แหละ ชื่อวา ไมข นุ มวั เพราะความเปน ผมู คี วามดําริอนั ไมข ุนมวัดว ยบททัง้ ๓ ทา นกลาวถงึ จิตอนั สมั ปยตุ ดวยอรหตั ผลนน่ั เอง. คําทีเ่ หลือมนี ัยดงั กลา วแลวในหนหลงั น่ันแล และพระเถระไดมกี ารพยากรณพ ระอรหัตผลดังกลาวมาฉะน้ีแล. จบอรรถกถานหาตกเถรคาถาที่ ๑๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 515
Pages: