Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_52

tripitaka_52

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:41

Description: tripitaka_52

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 261 ๔. โสปากเถรคาถา วา ดวยคาถาของพระโสปากเถระ[๓๖๔] เราไดเห็นพระพทุ ธเจาผูสงู กวา นรชน เปน บุรษุ อุดม เสด็จจงกรมอยูที่รมเงาแหงพระคันธกฎุ ี จึงเขาไปเฝา ถวายบังคม ณ ท่ีน้นั เราหมจีวรเฉวยี งบาขา งหน่ึง ประนม มือเดินจงกรมตามพระองคผปู ราศจากกเิ ลสธลุ ี ผสู ูงสดุ กวา สตั วท ง้ั ปวง ลําดับนนั้ พระองคไดต รสั ถามปญหาเรา เราเปนผูฉลาดรอบรปู ญหาท้ังหลาย เปนผูไมม คี วาม หวาดหว่นั และไมก ลัว ไดพยากรณแ ดพ ระศาสดา เมอื่ เราวิสัชนาปญหาแลว พระตถาคตทรงอนโุ มทนา ทรง ตรวจดหู มูภิกษแุ ลว ไดตรสั เน้อื ความนว้ี า โสปากภิกษนุ ี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปจ จัย ของ ชาวอังคะและมคธะเหลาใด เปนลาภของชาวองั คะและ มคธะเหลานั้น อนงึ่ ไดตรัสวา เปนลาภของชาวอังคะและ ชาวมคธะ ท่ไี ดตอนรับและทาํ สามีจิกรรมแกโ สปากภกิ ษุ ดูกอ นโสปากะ ตั้งแตว ันน้เี ปนตนไป ใหเ ธอเขา มาหา เราได ดกู อ นโสปากะ การวิสชั นาปญหานจ้ี งเปน การ อุปสมบทของเธอ เรามีอายุได ๗ ปแ ตเกดิ มา กไ็ ด อุปสมบท ทรงรางกายอันมีในชาตสิ ุดทา ยไว. นา อัศจรรย ความทธ่ี รรมเปน ธรรมดี. จบโสปากเถรคาถา

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 262 อรรถกถาโสปากเถรคาถาท่ี ๔ คาถาของทา นพระโสปากเถระ มคี ําเรมิ่ ตนวา ทสิ ฺวา ปาสาท-ฉายาย ดังน.้ี เร่อื งนม้ี ีเหตุเกิดขึน้ อยา งไร ? แมพระเถระน้ี กไ็ ดบาํ เพญ็ บุญญาธกิ ารไวในพระพุทธเจา ปางกอนทั้งหลาย สั่งสมบญุ ทงั้ หลายไวใ นภพนัน้ ๆ ในกาลแหง พระผมู พี ระภาคเจาพระนามวา สทิ ธตั ถะ บังเกดิ ในตระกูลพราหมณ รเู ดียงสาแลว ถึงความสาํ เรจ็ ในวิชาและศิลปะท้ังหลายของพวกพราหมณ เห็นโทษในกาม จึงละการครองเรอื นบวชเปนดาบสอยู ณ ภูเขาลกู หนึ่ง. พระศาสดาทรงทรามวา ดาบสนัน้ ใกลจ ะมรณะ จึงไดเสดจ็ เขา ไปยังสํานกั ของทาน. ดาบสนนั้ เหน็ พระผูมีพระภาคเจาแลว มีจติ เลอ่ื มใส เมอื่จะประกาศความปต แิ ละปราโมทยอันย่งิ ใหญ จึงไดตกแตง อาสนะดอกไมถวาย. พระศาสดาประทบั นั่งบนอาสนะนนั้ แลว ตรสั ธรรมกี ถาอันสมั ปยตุดวยอนิจจตา เมื่อพระดาบสน้นั เห็นอยนู น่ั แล ไดเ สดจ็ ไปทางอากาศ.ดาบสนั้นละการยึดถือวาเที่ยงทีต่ นเคยถือในกาลกอน แลว ตงั้ อนจิ จสญั ญาไวใ นหทัย กระทาํ กาละแลวไดเกดิ ในเทวโลก ทอ งเท่ียวไป ๆ มา ๆ อยูในเทวดาและมนุษยท้ังหลาย ในพุทธุปบาทกาลนี้ บงั เกิดในโสปาก-กําเนิด๑ ในเมอื งราชคฤห. ปรากฏโดยช่อื อันมมี าโดยกําเนดิ วา โสปากะ.สวนอาจารยบางพวกกลา ววา ทา นเกดิ ในตระกลู พอ คา สว นคําวา โสปากะเปนแตเพยี งชื่อ. คํานั้นผิดจากบาลีในอุทาน เพราะกลาวไววา เมือ่ ถึงภพสุดทา ย เราเกิดในกาํ เนดิ โสปากะ ดังนี.้ เม่ือเขาเกดิ ได ๔ เดือนบิดาก็ตาย อาจึงเล้ียงไว. ทา นเกิดได ๗ ปโดยลาํ ดับ วันหน่ึง อา๑. ผเู กดิ และเตบิ โตในปา ชา .

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 263โกรธวา ทะเลาะกบั ลกู ของตน จงึ นาํ เขาไปยงั ปา ชา เอาเชอื กผกู มือท้งัสองขา งเขาดว ยกัน แลวเชอื กนั้นนั่นแหละผูกมัดอยา งแนนหนาตดิ กบั รางของคนตาย แลว ก็ไปเสียดวยคดิ วา สุนัขจ้ิงจอกเปน ตนจงกดั กิน. เพราะเด็กนนั้ เปน ผมู ภี พครงั้ สุดทา ย เขาไมอาจใหตายไดเอง เพราะผลบญุ ของเด็ก แมส ตั วท ัง้ หลายมีสุนขั จงิ้ จอกเปน ตน กไ็ มอาจครอบงําได. ในเวลาเทย่ี งคนื เด็กนน้ั เพออยูว า คตขิ องเราผูไมม คี ตจิ ะเปน อยา งไร หรอื เผา พนั ธุของ เรา ผไู มม เี ผา พนั ธจุ ะเปนใคร ใครจะเปนผูใหอ ภัยแก เรา ผูถูกผูกอยูในทามกลางปา ชา. ในเวลานั้น พระศาสดาทรงตรวจดูเวไนยสัตวผูเปนเผาพนั ธุ ทรงเหน็ อุปนสิ ยั แหงพระอรหัตอันโพลงอยูใ นภายในหทัยของเดก็ จงึ ทรงแผพระโอภาสทําใหเกดิ สตแิ ลว ตรัสอยา งนว้ี า มาเถดิ โสปากะ อยากลวั จงแลดตู ถาคต เราจะยัง เธอใหข า มพนไป ดุจพระจนั ทรพ น จากปากราหฉู ะน้ัน. ทารกตดั เครือ่ งผูกใหขาดดว ยพทุ ธานุภาพ ในเวลาจบคาถา ไดเปนพระโสดาบัน ไดยนื อยูต รงหนา พระคันธกุฎี. มารดาของทารกนัน้ ไมเ หน็บุตรจึงถามอา เมือ่ อาเขาไมบอกความเปนไปของบุตรนั้น จึงไปคนหาในที่นนั้ ๆ คิดวา เขาเลาลอื วา พระพุทธเจาทรงรอู ดตี อนาคต และปจ จบุ นั ถา กระไรเราเขาไปเฝา พระผมู พี ระภาคเจา ทูลถามความเปน ไปแหงบุตรของเรา จึงไดไ ปยังสาํ นักของพระศาสดา. พระศาสดาทรงปกปดทารกนนั้ ดว ยพระฤทธ์ิ ทรงถูกนางถามวา ขาแตพระองคผเู จรญิ ขา-พระองคไ มเ หน็ บตุ รของขา พระองค พระผมู ีพระภาคเจา ทรงทราบความ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 264เปน ไปของเขาบา งไหม พระเจาขา. จงึ ตรัสธรรมวา บตุ รทงั้ หลายยอ มไมม เี พื่อความเปน ผตู านทาน บดิ า กด็ ี เผาพนั ธุก ด็ ี ยอ มไมม เี พ่อื ความเปน ผูตา นทาน ความตา นทานในหมญู าติ ยอมไมม แี กผ ูอ นั ความตายถงึ ทับแลว . นางไดฟง ธรรมนั้นแลวไดเปน พระโสดาบนั . ทารกไดบรรลพุ ระ-อรหัต. เพราะเหตนุ ้นั ทา นจงึ กลา วไวในอปทาน๑วา พระผูมพี ระภาคเจา พระนามวา สิทธตั ถะ เสด็จมายงั สํานกั ของเรา ซึ่งกาํ ลงั ชาํ ระเง้ือมเขาอยทู ภ่ี เู ขาสูงอนั ประเสริฐ เราเห็นพระพทุ ธเจา เสด็จเขามา ไดต กแตง เครือ่ งลาดแลว ไดปลู าดอาสนะดอกไมถวายแดพ ระ- โลกเชษฐผูคงที่ พระผมู พี ระภาคเจา พระนามวาสิทธตั ถะ ผูนายกของโลก ประทบั น่งั บนอาสนะดอกไมท รงทราบ คตขิ องเรา ไดตรสั ความเปนอนิจจังวา สงั ขารทงั้ หลาย ไมเทย่ี งหนอ มคี วามเกดิ ขึน้ และเสอ่ื มไปเปน ธรรมดา เกดิ ขึน้ แลวยอ มดบั ไป ความทส่ี ังขารเหลา น้ันสงบระงบั เปนสุข พระสพั พญั เู ชษฐบรุ ษุ ของโลก เปน พระผู ประเสริฐ ทรงเปนนักปราชญ ตรัสดังนี้แลว เสด็จเหาะ ขน้ึ ไปในอากาศ ดงั พระยาหงสในอมั พร เราละทฏิ ฐขิ อง ตนแลว เจรญิ อนจิ จสัญญา ครน้ั เราเจรญิ อนิจจสญั ญาได วันเดียว กท็ าํ กาละ ณ ทีน่ นั้ เอง เราเสวยสมบัตทิ งั้ สอง๑. ข.ุ อ. ๓๒/ขอ ๒๑.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 265 อนั กุศลมลู กระตุน เตือนแลว เมอื่ เกดิ ในภพที่สุด เกดิ ใน โสปากกําเนิด (เกิดและเติบโตในปา ชา ) เราออกจาก เรือนบวชเปน บรรพชิต เรามีอายุได ๗ ปโ ดยกาํ เนดิ ได บรรลุพระอรหัต. เราปรารภความเพียรมีใจแนวแน ตั้งมนั่ อยูในศลี ยงั พระมหานาคใหท รงยินดีแลว ไดอ ปุ สมบท. ในกัปที่ ๙๔ แตภัทรกปั นี้ ดวยผลแหงธรรมท่ีเราไดทาํ ไว ในกาลน้ัน เราไมร ูจกั ทคุ ติเลย นีเ้ ปน ผลแหงการถวาย อาสนะดอกไม. ในกัปท่ี ๙๔ แตภ ัทรกปั นี้ เราไดเจริญ สญั ญาใดไวใ นกาลนนั้ เราเจริญสญั ญานนั้ อยู ไดบ รรลุ ถึงความส้ินอาสนะแลว. คณุ วเิ ศษเหลาน้คี อื ปฏสิ ัมภิทา ๔ . . .ฯลฯ. . . คาํ สอนพระพทุ ธเจา เราไดท ําตามแลว. ลําดบั นัน้ พระผูมพี ระภาคเจาทรงคลายพระฤทธ์ิ. ฝายมารดาก็ไดเห็นบุตร ราเริงดใี จ ไดฟงวา บตุ รน้นั เปน พระขีณาสพ จึงใหบ วชแลวก็ไป ทา นโสปากะน้นั เขา ไปเฝา พระศาสดาซึ่งกําลงั เสด็จจงกรมอยูใ นรมเงาแหง พระคันธกุฎี ถวายบงั คมแลวจงกรมตามเสดจ็ . พระผมู ีพระภาคเจาประสงคจ ะทรงอนุญาตอปุ สมบทแกเ ธอ จึงมพี ระดาํ รัสถามปญ หา ๑๐ ขอโดยมอี าทวิ า เอก นาม กึ อะไรช่ือวาหน่งึ ดงั น.้ี ฝายทานโสปากะนั้น ถอื เอาพระพุทธประสงค เทียบเคียงกับพระ-สพั พัญตุ ญาณ ทลู แกปญ หาเหลานนั้ โดยนัยมีอาทิวา สพเฺ พ สตฺตาอาหารฏ ิติกา สตั วท ั้งปวงดาํ รงอยไู ดดว ยอาหาร ดังน้.ี ดว ย เหตนุ น้ั นัน่ แลปญ หาเหลา นนั้ จึงชอ่ื วา กมุ ารปญ หา. พระศาสดาทรงมพี ระทัยโปรดปรานเพราะการพยากรณปญ หาของเธอ จงึ ทรงอนญุ าตการอปุ สมบท, ดวย

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 266เหตุนน้ั อุปสมบทนนั้ จึงช่อื วา ปญ หพยากรณอปุ สมบท อปุ สมบทดว ยการพยากรณปญ หา. พระเถระครั้นประกาศประวตั ิของตนดังน้แี ลว เมื่อจะพยากรณพ ระอรหตั ผล จึงไดก ลาวคาถา๑เหลา น้ีวา เราไดเห็นพระพทุ ธเจาผูสูงสุดกวา นรชน เปนอุดม บุรุษ เสด็จจงกรมอยูใ นรม เงาแหง พระคนั ธกฎุ ี จึงเขา ไปเฝาพระองค ณ ท่นี ั้น แลวถวายบงั คม. เราหม จวี ร เฉวยี งบา ขา งหนงึ่ ประนมมอื จงกรมตามพระองคผ ูปราศ- จากกิเลสธลุ ี ผูสูงสุดกวา สตั วท้งั ปวง. ลาํ ดับน้ัน พระองค ไดต รัสถามปญหาเรา เราเปน ผฉู ลาดรอบรปู ญ หาท้ังหลาย เปน ผไู มมีความหวาดหวน่ั และไมกลัว ไดพยากรณ (ปญหา) แดพระศาสดา เมอ่ื เราวสิ ัชนาปญ หาแลว พระ- ตถาคตทรงอนโุ มทนา ทรงตรวจดูหมภู ิกษุแลว ไดต รสั เนอ้ื ความนี้วา โสปากภิกษุน้ี บรโิ ภคจวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปจ จัย ของชาวอังคะและมคธะ เหลาใด กเ็ ปน ลาภของชาวองั คะและมคธะเหลานัน้ . อนง่ึ ไดตรสั วา เปน ลาภของชาวองั คะและมคธะ ทไี่ ดต อ นรับ และทําสามีจิกรรมแกโสปากภิกษ.ุ ดกู อ นโสปากะ ตงั้ แต วนั น้เี ปน ตนไป ใหเ ธอเขามาหาเราได ดูกอ นโสปากะ การวิสชั นาปญหาน้ี จงเปน การอปุ สมบทของเธอ. เรามี อายุได ๗ ปแตเกดิ มากไ็ ดอุปสมบท ยังคงทรงรา งกายอนั มี ในชาติสดุ ทายนีไ้ วนา อศั จรรยความทีพ่ ระธรรมเปนธรรมด.ี๑. ขุ. เถร ๒๖/ขอ ๓๖๔.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 267 บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา ปาสาทฉายาย ไดแ ก ในรม เงาแหงพระคันธกุฎ.ี บทวา วนทฺ ิสสฺ  แปลวา ถวายบงั คมแลว. บทวา ส หริตฺวาน ปาณโย ไดแก การทาํ มอื ท้งั สองใหบ รรจบกันโดยอาการดอกบัวตูม. อธิบายวา การทําอัญชล.ี บทวา อนุจงฺกมสิ ฺส ความวา เราเดินจงกรมโดยการเดนิ ตามไปเบือ้ งพระปฤษฎางค แหง พระศาสดาผทู รงจงกรมอย.ู บทวา วริ ช แปลวา ปราศจากธลุ มี รี าคะเปน ตน. บทวา ปฺเห ไดแ ก กุมารปญหา. บทวา วทิ ู ไดแ กรสู ิ่งท่ีควรรู อธบิ ายวา รูสง่ิ ท้ังปวง. ชอ่ื วาผูไมสะดงุ และไมก ลวั เพราะเราละความสะดงุ และความกลัวที่เกิดขนึ้ วาพระศาสดาจักตรัสถามเราดงั นี้ ดวยพระอรหตั มรรคแลว จงึ พยากรณ. บทวา เยสาย โยควา เยส องฺคมคธาน อย โสปาโกโสปากะบรโิ ภคจวี ร ฯลฯ ของชาวอังคะและมคธะเหลาใด. บทวา ปจฺจย ไดแก คลิ านปจจยั . บทวา สามีจึ ไดแก กระทาํ สามีจกิ รรม มกี ารหลีกทางใหและการพดั วเี ปน ตน. ท อกั ษรในบทวา อชฺชทคเฺ ค นี้ กระทําการเชอ่ื มบท. อธิบายวากระทําวนั น้ีใหเปนตนไป คอื จาํ เดมิ แตวันน.ี้ บาลวี า อชฺชตคฺเค ดังนี้ก็มี อธิบายวา กระทาํ กาลมใี นวันน้ีใหเ ปน ตน ไป. บทวา ทสฺสนาโยปสงฺกม ความวา เธออยาคิดวา มชี าตติ าํ่ หรือออ นวยั กวา จงเขา ไปพบเรา.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 268 บทวา เอสา เจว มีวาจาประกอบความวา กพ็ ระศาสดาไดตรัสวา ขอทีเ่ ธอเทยี บเคียงกับสพั พญั ตุ ญาณของเราแลว การทาํ การแกปญ หานี้นั่นแล จงเปน อุปสมบทของเธอ. บาลีวา ลทฺธา เม อุปสม-ฺปทา เราไดอปุ สมบทแลว ดังนี้กม็ ี. สําหรับอาจารยนางพวกท่กี ลา ววาลทธฺ าน อุปสมปฺ ท ไดอุปสมบทแลวดงั นน้ี นั้ . บทวา สตฺตวสเฺ สนไดแ ก โดยปท ี่ ๗. อีกอยา งหนง่ึ พงึ เดิมคาํ ที่เหลอื วา สตฺตวสเฺ สนหตุ ฺวา เปนผมู อี ายุ ๗ ป. สวนคําท่ไี มไดกลาวไวใ นทีน่ ี้ งา ยทั้งนั้น. จบอรรถกถาโสปากเถรคาถาที่ ๔

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 269 ๕. สรภงั คเถรคาถา วา ดว ยคาถาของพระสรภงั คเถระ[๓๖๕] เราหักตนแขมดวยมอื ทั้งสองทํากระทอ มอยู เพราะ- ฉะนัน้ เราจงึ มชี ือ่ โดยสมมติวา สรภังคะ วนั นเ้ี ราไม ควรหกั ตนแขนดว ยมอื ทั้งสองอกี เพราะพระสมณโคดม ผเู รอื งยศ ทรงบัญญตั ิสิกขาบทแกเ ราทงั้ หลาย. เมอ่ื กอน เราผชู อื่ วา สรภงั คะ ไมเ คยไดเ ห็นโรคคอื อปุ าทานขนั ธ ๕ ครบบรบิ รู ณท งั้ ส้นิ โรคนัน้ อันเราผูทําตามพระดํารสั ของ พระพทุ ธเจา ซ่งึ เปน เทพเจา ผยู ่ิงใหญไ ดเ หน็ แลว. พระ- สัมมาสัมพทุ ธเจาพระนามวา พระวปิ ส สี พระสิขี พระ- เวสสภู พระกกสุ ันธะ พระโกนาคมนะ พระกสั สปะ ไดเสด็จไปแลวโดยทางใดแล พระสมั มาสัมพทุ ธเจา พระ- นามวาโคดม ก็ไดเ สร็จไปแลวโดยทางนนั้ . พระพุทธเจา ๗ พระองคน้ี ทรงปราศจากตณั หา ไมท รงถือม่ัน ทรง หยั่งถงึ ความสน้ิ กเิ ลส เสดจ็ อบุ ัตโิ ดยธรรมกาย ผูค งที่ ทรงเอ็นดูอนุเคราะหสัตวท ง้ั หลาย ไดทรงแสดงธรรม คอื อรยิ สจั ๔ อันไดแ กทกุ ข เหตุเกิดทกุ ข ความดับทกุ ข ทางเปนทีส่ ิน้ ทุกข เปน ทางท่ีทกุ ขไ มเ ปนไป อันไมม ที ส่ี ดุ ในสงสาร เพราะกายนีแ้ ตก และเพราะความสิน้ ชวี ติ

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 270 การเกิดในภพใหมอ ยา งอนื่ มิไดมี เราเปนผูหลุดพน แลว จากสรรพกิเลสและภพทง้ั ปวง. จบสรภงั คเถรคาถา รวมพระคาถา พระเถระ ๕ องคไดกลา วคาถาองคละ ๗ คาถา รวมเปน ๓คาถา คือ ๑. พระสุนทรสมุททเถระ ๒. พระลกุณฏกภตั ทิยเถระ ๓. พระ-ภัททเถระ ๔. พระโสปากเถระ ๕. พระสรภงั คเถระ. จบสตั ตกนิบาต อรรถกถาสรภงั คเถรคาถาที่ ๕ คาถาของทานพระสรภังคเถระ มีคําเรมิ่ ตนวา สเร หตเฺ ถหิ ดงั น.ี้เร่ืองนมี้ เี หตุเกดิ ขน้ึ อยางไร ? แมพ ระเถระน้ี ก็ไดบ ําเพ็ญบญุ ญาธกิ ารไวในพระพุทธเจาองคกอน ๆส่ังสมกศุ ลอันเปน ทีเ่ ขา ไปอาศัยววิ ฏั ฏะ คือพระนพิ พานไวใ นภพนั้น ๆในพทุ ธุปบาทกาลน้ี บงั เกดิ เปน บุตรพราหมณค นหนึ่ง ในกรงุ ราชคฤหไดม ชี ื่อตามวงศส กุลวา อนภลิ ักขิต. เขาเจริญวยั แลว ละกามบวชเปนดาบส หกั ไมแ ขมและหญาดวย

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 271ตนเอง เอามาทําบรรณศาลาอยู. ตง้ั แตน้ัน ดาบสนัน้ จงึ มสี มัญญานามวาสรภงั คะ. ลําดับน้ัน พระผมู พี ระภาคเจา ทรงตรวจดโู ลกดวยพทุ ธจกั ษุ ไดทรงเหน็ อุปนสิ ยั พระอรหตั ของดาบสนนั้ จึงเสด็จไปในทน่ี น้ั ทรงแสดงธรรม. ดาบสนน้ั ไดศ รัทธาจงึ บวช บาํ เพ็ญวปิ ส สนากรรมฐาน ไมนานนักก็บรรลพุ ระอรหัต แลวอยูในท่นี ั้นนนั่ แหละ. ครั้งนนั้ บรรณศาลาทีพ่ ระเถระน้นั สรางไวในคราวเปนดาบส ไดชาํ รดุ พะเยิบพะยาบ. พวกมนุษยเ หน็ ดงั นั้นจึงกลา วกันวา ทานขอรับ พวกกระผมจะซอ มแซมกุฎีน้ีเพื่อใคร. พระเถระเมอื่ จะประกาศกจิ ทง้ั ปวงน้นั วา บดั น้ี เราไมอ าจทาํกุฎีเหมือนในคราวเปน ดาบส จงึ ไดกลาวคาถา๑ ๒ คาถาวา เราหักตน แขมดว ยมือทั้งสองทํากระทอมอยู เพราะ- ฉะนัน้ เราจงึ มีช่ือโดยสมมติวา สรภังคะ วนั นี้ เราไมค วร หกั ตนแขมดวยมือทง้ั สองอกี เพราะพระสมณโคดมผู เรืองยศ ทรงบญั ญตั สิ ิกขาบทแกเ ราทง้ั หลายไว. บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา สเร หตเฺ ถหิ ภฺชติ วฺ า ความวา ในกาลกอน คือในคราวเปน ดาบส เราเอามือทง้ั สองหักไมเ เขมและหญาสรา งเปน กฎุ ีหญา อาศัย คืออยนู ่ังและนอน. บทวา เตน ไดแ ก ดวยการหักไมแขมทง้ั หลายมาสรางกุฎ.ี บทวา สมมฺ ุติยา ความวา ไดมชี ื่อวา สรภงั คะ ตามสมมติเรอื่ งราวโดยลําดับ.๑. ขุ. เถร. ๒๖/ขอ ๓๖๕.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาที่ 272 บทวา น มยฺห กปฺปเต อชฺช ความวา วันนี้ คอื บดั นี้ เราอุปสมบทแลว ไมค วรหกั ไมแ ขมดว ยมือท้ังสอง เพราะเหตุไร ? เพราะพระสมณโคดมผูเร่อื งยศ ทรงบัญญตั ิสิกขาบทไวแกเราทงั้ หลาย. ดว ยคาํ นั้นพระเถระแสดงวา สิกขาบทท่พี ระศาสดาทรงบญั ญัตไิ ว แกเราทั้งหลายนนั้ เราทง้ั หลายยอ มไมล วงละเมิด แมเ พราะเหตแุ หงชีวติ . พระเถระแสดงเหตใุ นการไมซ อ มแซมกฎุ หี ญาโดยประการหนง่ึ ดว ยประการอยางนแ้ี ลว บัดนี้ เมือ่ จะแสดงเหตนุ ั้นโดยปรยิ ายอน่ื อกี จงึ กลา วคาถานว้ี า เม่อื กอ น เราผูช ่ือวา สรภังคะ ไมไดเ ห็นโรค คอื อุปาทานขันธ ๕ ครบบริบรู ณทั้งสิน้ โรคนี้นัน้ อนั เราผู กระทาํ ตามพระดํารัสของพระพทุ ธเจา ผูเปน เทพเจา ผู ยงิ่ ใหญไ ดเห็นแลว. บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา สกล แปลวา ทง้ั ส้นิ . บทวา สมตฺต แปลวา ครบบรบิ ูรณ อธบิ ายวา ไมเ หลอื จากสว นทั้งปวง. ดวยบทวา โรค นี้ พระเถระกลา วหมายเอาอุปาทานขนั ธ ๕ ชือ่ วาเปน โรค เพราะอรรถวาเสยี ดแทงโดยความเปนตวั ทุกขเ ปน ตน . บทวา นาททฺ ส ปพุ ฺเพ ความวา ในกาลกอนแตไดรับโอวาทของพระศาสดา เราไมเคยเห็น. บทวา โสย โรโค ทิฏโ วจนกเรนาติเทวสฺส ความวา โรคกลาวคือเบญขันธนน้ี ้นั อนั พระสรภงั คะผูต อบแทนพระโอวาทของพระ-

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 273สมั มาสมั พทุ ธเจา ชื่อวา ผเู ปน เทพยิง่ ใหญ เพราะลวงเทพแมท ง้ั ปวง คอืสมมติเทพ อปุ ปตติเทพ และวิสทุ ธเิ ทพ ดว ยคุณมศี ลี เปน ตนของตนดํารงอยู ไดเหน็ แลว คอื กาํ หนดรแู ลว โดยความเปนเบญจขนั ธ ดว ยปญญาอันสมั ปยตุ ดวยมรรค อนั ประกอบดวยวิปสสนาปญ ญา. ดว ยบทวา โสยโรโค เปน ตนน้ี พระเถระแสดงวา แมกฎุ ีคืออตั ภาพกย็ ่ิงไมห ว งใยอยา งนี้อยางไรจักซอมแซมกฎุ ีหญาภายนอก. บัดนี้ พระเถระเม่อื จะพยากรณการบรรลพุ ระอรหัตของตนอยา งน้วี าหนทางที่เราผเู ม่ือปฏิบัติก็ไดเ หน็ โรค คอื อตั ภาพตามความเปน จริงน้นี ้ันเปนทางทว่ั ไปสาํ หรับพระพทุ ธเจาทุกพระองค. เพราะเหตุท่เี ราตั้งอยใู นธรรมคือโอวาทของพระพทุ ธเจาทัง้ หลายนน้ั อันเปน ดจุ ทองคําหกั กลาง(เปน ๒ ทอ น) จึงไดถ ึงความสิน้ ทกุ ข ดงั นี้ จงึ ไดกลา วคาถาเหลา นัน้ความวา พระสมั มาสัมพุทธเจา พระนามวา วิปส สี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสนั ธะ พระโกนาคมนะ และพระ- กัสสปะ ไดเ สดจ็ ไปแลวโดยทางใด พระสมั มาสัมพทุ ธ- เจาพระนามวา โคดม กเ็ สดจ็ ไปทางน้ัน. พระพทุ ธเจา ๗ พระองคน ้ี ทรงปราศจากตัณหา ไมท รงถือม่นั ทรงหยัง่ ถึงความสิ้นกิเลส เสด็จอบุ ัติโดยธรรมกาย ผูคงท่ี ทรง เอ็นดอู นเุ คราะหส ัตวท ้งั หลาย ไดทรงแสดงธรรม คอื อริยสจั ๔ อันไดแ กทกุ ข เหตเุ กดิ ทุกข ความดับทุกข ทางเปนทสี่ นิ้ ทุกข เปน ทางทท่ี กุ ขไมเ ปนรูป อนั ไมม ีท่ีสุด

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 274 ในสงสาร. เพราะกายนีแ้ ตก และเพราะความสน้ิ ชีวติ การเกิดในภพใหมอยา งอื่นยอมไมม ี เราเปนผหู ลดุ พน แลวจากสรรพกเิ ลสและภพทัง้ ปวง. บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา เยเนว มคเฺ คน ไดแก อรยิ มรรคอันประกอบดว ยองค ๘ ใดแล อันเปนสวนเบอ้ื งตน . บทวา คโต แปลวา ถึง คอื บรรลุพระนิพพาน. บทวา วปิ สฺสี ไดแก พระวิปส สีสมั มาสมั พุทธเจา บทวา กกสุ นธฺ เปน บทแสดงไขท่ไี มมวี ิภัตต.ิ บาลีวา กกุสนฺธ-โกนาคมน ดงั น้กี ็ม.ี บทวา เตนฺชเสน ไดแก ทาง คืออนั ทางประเสริน้นั นั่นแหละ. บทวา อนาทานา ไดแ ก ผไู มถอื มัน่ หรือผูไมม ีปฏิสนธ.ิ บทวา ขโยคธา ไดแก ผูหยงั่ ลงสูพระนิพพาน คอื มีพระนพิ พานเปน ที่พ่งึ . บทวา เยหาย เทสโิ ต ธมโฺ ม ความวา ศาสนธรรมน้ี พระสัมมา-สมั พทุ ธเจา ๗ พระองคเ หลาใดทรงแสดงแลว คือทรงประกาศแลว . บทวา ธมฺมภูเตหิ ไดแ ก มีธรรมเปนสภาวะ เพราะเปน ธรรมกายคอื เกดิ จากโลกุตรธรรม ๙ หรือบรรลธุ รรม. บทวา ตาทิภิ ไดแก ผถู งึ ความเปน ผคู งทไ่ี มหว่นั ไหวในอิฏฐารมณเปนตน. ดว ยบทวา จตตฺ าริ อรยิ สจฺจานิ เปน ตน พระเถระแสดงถึงธรรมท่ีพระพุทธเจา เหลา น้ันทรงแสดง.

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 275 บรรดาบทเหลา นั้น บทวา จตตฺ าริ เปน การกาํ หนดการนบั . บทวา สจจฺ านิ เปนเคร่ืองแสดงถงึ ธรรมท่กี าํ หนดไว แตโ ดยวจนัตถะ คอื วเิ คราะหความหมายของศพั ท ช่ือวา อริยสจั เพราะประเสริฐและจรงิ เพราะอรรถวาแท. อีกอยา งหนึ่ง ชือ่ วา อริยสัจ เพราะพระ-ผมู ีพระภาคเจาผูป ระเสริฐทรงแสดงสจั จะ หรือเพราะสจั จะอนั กระทาํ ความเปน พระอรยิ ะ. ชอ่ื วา ทุกข เพราะเปน ของนา เกลียด และเพราะเปนของวา งเปลา ไดแกอ ุปาทานขนั ธท ง้ั ๕. ชอื่ วา สมทุ ัย ไดแกตัณหาเพราะเปน แดนเกดิ แหงทกุ ข. ชื่อวา มรรค เพราะฆา กเิ ลสทง้ั หลายไปหรอื เพราะผตู องการพระนพิ พานจะตองแสวงหา ไดแ กธรรม ๘ ประการมสี ัมมาทิฏฐเิ ปนตน. ชอ่ื วา นโิ รธ เพราะในพระนพิ พานน้นั ไมมฝี ง กลาวคือสงสารเปน ท่ีเทย่ี วไป หรอื วาเมื่อบุคคลบรรลพุ ระนพิ พานนนั้ แลว ยอ มไมมีฝง หรือเปนทด่ี บั ทกุ ข ไดแกพระนิพพาน. ดว ยเหตนุ นั้ ทานจึงกลาววา ทุกขฺ กขฺ โย เปนทสี่ ้ินทกุ ข ในทน่ี ้ีมีความสังเขปเพยี งเทานี้ สว นความพิสดารพึงทราบโดยนยั ดังกลาวแลวในวสิ ทุ ธิมรรคนนั้ แล. บทวา ยสมฺ ึ ความวา เมอ่ื บรรลุนิโรธ คอื พระนิพพานใด. บทวา นิวตตฺ เต มีวาจาประกอบความวา พระสัมมาสัมพุทธเจาทงั้ หลายผูมธี รรมกาย ทรงแสดงธรรมน้ีวา เม่อื อริยมรรคภาวนามอี ยูทุกขมีชาตเิ ปนตน อนั หาทสี่ ดุ มิได คอื ไมม ีท่ีสุด ยอมไมเ ปนไปในสงสารน้ีคอื ยอ มขาดสญู ความทที่ ุกขข าดสูญน้ัน เปน นโิ รธ. พระเถระแสดงโดยสรปุ ถงึ การบรรลพุ ระอรหตั ของตน อันบงบอกดว ยกาํ หนดรทู กุ ขว า เราเหน็ โรคคอื เบญจขันธ โดยมีนยั อาทวิ า เภทา เพราะกายแตก ดังน้ี. สวน

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 276ในบาลวี า ทุกขย อ มเกิดในสงสารใด ประกอบความแหง คาถาท้ังปวงในบาลนี ัน้ วา ทุกขมชี าติเปนตน อันหาทสี่ ุดมไิ ดนี้ ยอมเกดิ ในสงสารทเี่ ขาใจกนั วาลําดับแหง ขนั ธเ ปน ตน ใด สงสารนนั้ อน่ื จากการถงึ ทกุ ขน ้ีชอื่ วา ภพใหมเ พราะเกิดบอ ยๆ. เพราะมชี วี ติ ินทรยี น้สี ญู สิ้นไปเพราะความแตก คอื ความพนิ าศแหง ขันธ ๕ กลา วคอื กาย นอกเหนอื ขนึ้ ไปยอ มไมม ี (อะไร) เพราะฉะนัน้ เราจึงหลดุ พน คอื พรากจากส่ิงท้ังปวงคือจากกิเลสและภพทั้งปวงแล. จบอรรถกถาสรภังคเถรคาถาท่ี ๕ จบปรมัตถทีปนี อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา สตั ตกนิบาต

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 277 เถรคาถา อัฏฐกนิบาต ๑. มหากัจจายนเถรคาถา วา ดวยคาถาของพระมหากจั จายนเถระ[๓๖๖] ภิกษไุ มค วรทาํ การงานใหม าก ควรหลกี เรน หมูชน ไมควรขวนขวายเพ่ือยงั ปจ จยั ใหเกิด เพราะภกิ ษใุ ดเปนผู ตดิ รสอาหาร ภกิ ษนุ นั้ ชอ่ื วา เปน ผูขวนขวายเพอื่ ยังปจจยั ใหเ กิด และช่อื วา ละทง้ิ ประโยชนอ ันจะนําความสุขมาให พระอริยะท้ังหลาย มีพระพุทธเจาเปน ตน กลา วการไหว การบูชาในสกุลท้ังหลายวา เปนเปอ กตม เปน ลกู ศรอนั ละเอียดทถ่ี อนไดยาก เพราะสกั การะอนั บรุ ษุ ช่ัวละไดย าก ภกิ ษไุ มควรแนะนาํ สตั วอ นั ใหท าํ กรรมอนั เปนบาป และ ไมพึงซอ งเสพกรรมน้ันดวยตนเอง เพราะสัตวม ีกรรม เปน เผาพนั ธุ คนเรายอ มไมเปน โจรเพราะคาํ ของบุคคล อ่นื ไมเปน มนุ เี พราะคําของบคุ คลอ่นื บุคคลรูจกั ตนเอง วาเปน อยา งไร แมเ ทพเจา ทัง้ หลายก็รจู ักบคุ คลนนั้ วา เปน อยางนนั้ กค็ นพวกอืน่ ยอ มไมรสู กึ ตัววา พวกเราท่ีสมาคม น้ี จกั พากนั ยบุ ยบั ในหมชู นพวกน้ัน พวกใดมารูสกึ ตัววา พวกเราจกั พากนั ไปสทู ีใ่ กลม จั จรุ าช ความทะเลาะววิ าท ยอ มระงบั ไปเพราะพวกนน้ั บุคคลผมู ปี ญญา ถึงจะส้ิน ทรพั ยกย็ ังเปนอยูได สวนบคุ คลถึงจะมีทรัพยก็เปน อยู ไมได เพราะไมไ ดปญ ญา บุคคลยอ มไดยนิ เสยี งทุกอยา ง

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 278 ดว ยหู ยอมเห็นสงิ่ ท้ังปวงดว ยจกั ษุ แตนกั ปราชญย อ ม ไมค วรละท้งิ สิง่ ทง้ั ปวงทไ่ี ดเห็นไดฟ ง มาแลว ผูม ปี ญ ญา ถึงมตี าดี กท็ าํ เหมือนคนตาบอด ถงึ มีหูดี ก็ทําเหมอื น คนหูหนวก ถงึ มปี ญ ญา กท็ าํ เหมือนคนใบ ถึงมีกาํ ลงั ก็ทาํ เหมอื นคนทุรพล แตเ ม่อื ประโยชนน เ้ี กดิ ข้นึ ถงึ จะ นอนอยูในเวลาใกลต าย กย็ ังทําประโยชนนน้ั ได. จบมหากจั จายนเถรคาถา อรรถกถาอัฏฐกนิบาต อรรถกถามหากัจจายนเถรคาถาที่ ๑ ในอัฏฐกนบิ าต คาถาของทา นพระมหากจั จายนเถระ มีคําเร่ิมตนวา กมฺม พหุก ดงั น้ี. เรอ่ื งนม้ี เี หตุเกิดขนึ้ อยางไร ? ทานพระมหากัจจายนเถระแมนี้ เปนผูม ีอธิการไดบ ําเพญ็ มาแลวในพระพุทธเจา พระองคกอ น ๆ ในกาลแหง พระผูมพี ระภาคเจา ทรงพระนามวา ปทมุ ตุ ตระ บังเกดิ ในตระกูลคฤหบดมี หาศาล เจริญวัยแลววันหน่งึ กาํ ลังฟงธรรมในสํานกั ของพระศาสดา พบภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ท่ีพระ-ศาสดาทรงสถาปนาไวใ นตําแหนงทเี่ ลิศกวา ภกิ ษทุ ั้งหลาย ผจู าํ แนกอรรถทพ่ี ระศาสดาตรัสไวโดยยอ ใหพ ิสดาร แมต นเองกป็ รารถนาตาํ แหนง นัน้ในกาลแหง พระผมู พี ระภาคเจาทรงพระนามวา สเุ มธะ เปนผทู รงวชิ า ไปทางอากาศ เห็นพระศาสดาประทบั นั่งในไพรสณฑแหงหน่ึง ใกลภูเขา

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ท่ี 279หมิ วันต มีใจเล่ือมใส ทาํ การบูชาดว ยดอกกรรณกิ ารหลายดอก. ดวยบุญกรรมนัน้ ทานวนเวียนไป ๆ มาๆ ในสคุ ตินน้ั นนั่ แหละ ในกาลแหงพระทศพลเจา ทรงพระนามวา กสั สปะ (ทา น) ไดบังเกิดในเรือนมตี ระกลู ในกรงุ พาราณสี เม่อื พระผูมพี ระภาคเจาปรนิ พิ พานแลวทาํ การบชู าในทสี่ รา งเจดียท องคํา ดว ยแผนอิฐทองคาํ อนั มคี า แสนหนง่ึแลว ตงั้ ความปรารถนาไววา ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา ขอใหสรรี ะของขา พระองค จงมีสเี หมือนทองคาํ ในทท่ี ี่ขา พระองคเ กิดแลว เถิด. ตอ แตน ้ันมา ก็บําเพญ็ แตก ุศลกรรมจนตลอดชวี ติ ทองเที่ยวไปในเทวโลกและมนษุ ยโลก ตลอดพุทธันดรหนง่ึ ในพุทธปุ บาทกาลน้ีทา นบังเกิดในบานปโุ รหิตของพระเจาจณั ฑปช โชต ในกรุงอชุ เชน,ี ในวันตงั้ ชื่อทารกน้นั มารดาคดิ วา บุตรของเรามีสกี ายเหมือนทองคาํ พาเอาชือ่ ของตนมาแลว ดังน้ี จึงตงั้ ชื่อวา กัญจนมาณพ นน่ั แล. ทารกน้นัเจรญิ วยั แลว ก็ศกึ ษาเลา เรียนไตรเพทจนจบ พอบิดาลวงไป กไ็ ดต ําแหนงเปนปโุ รหติ . เขาปรากฏชอ่ื วา กจั จายนะ ดว ยอาํ นาจแหง โคตร. พระเจาจณั ฑปชโชตทรงสดับวา พระพุทธเจา ทรงอุบัตขิ ้ึน จงึ สง เขาไปวา อาจารยทานจงไปในท่ีนน้ั นาํ เสดจ็ พระศาสดามาในทีน่ ้เี ถิด. กัจจายนะน้นั มตี นเปนที่ ๘ เขา ไปเฝาพระศาสดา. พระศาสดาทรงแสดงธรรมแกเขา ในทสี่ ุดแหง เทศนา เขาพรอมท้งั ชนอกี ๗ คนก็ดํารงอยูใ นพระอรหัต พรอมดว ยปฏสิ ัมภทิ าทั้งหลาย. ดว ยเหตุนน้ั ทานจึงกลา วไวใ นอปทาน๑วา:-๑. ข.ุ อ. ๓๓/ขอ ๑๒๑.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 280 พระพิชิตมารพระนามวา ปทุมตุ ตระ ผปู ราศจากตณั หาทรงชํานะสิง่ ท่ใี คร ๆ เอาชนะไมไ ด เปนพระผูนํา ไดเสด็จอบุ ัตขิ ้นึ ในกปั ทีแ่ สนแตภ ทั รกปั น้ี พระองคเปนผแู กลว กลาสามารถ มพี ระอนิ ทรียเสมือนใบบวั มีพระพกั ตรปราศ-จากมลทนิ คลา ยพระจันทร มพี ระฉววี รรณปานดงั ทองคํามพี ระรศั มีซา นออกจากพระองค เหมือนรัศมีพระอาทิตยเปน ทีต่ ิดตาตรงึ ใจของสัตว ประดบั ดว ยพระลกั ษณะอันประเสริฐ ลวงทางแหง คาํ พูดทุกอยาง อนั หมูมนุษยแ ละอมรเทพสกั การะ ตรัสรดู ว ยพระองคเ อง ทรงยังสัตวใหตรสั รู ทรงนําไปไดอ ยา งรวดเร็ว มพี ระสุรเสียงไพเราะมีพระสนั ดานมากไปดวยพระกรุณา ทรงแกลวกลาในที่ประชุม พระองคท รงแสดงธรรมอันไพเราะ ซ่งึ ประกอบดวยสจั จะ ๔ ทรงฉุดขึน้ ซึง่ หมูสตั วท จ่ี มอยูในเปอกตมคือโมหะ. คร้ังนน้ั เราเปน ดาบสสัญจรไปแตค นเดยี ว มปี าหิมพานตเ ปนทอ่ี ยอู าศยั เมอ่ื ไปสมู นษุ ยโลกทางอากาศก็ไดพ บพระพิชิตมาร เราไดเ ขา ไปเฝาพระองค แลว สดบัพระธรรมเทศนาของพระธีรเจา ผทู รงพรรณนาคุณอนัใหญข องพระสาวกอยวู า เราไมเหน็ สาวกองคอื่นใด ในพระธรรมวนิ ัยน้ี ทจ่ี ะเสมอเหมอื นกับกจั จายนภกิ ษนุ ี้ ผูซ่ึงประกาศธรรมท่ีเราแสดงแลว แตโดยยอ ไดโดยพิสดาร

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนาท่ี 281ทาํ บรษิ ัทและเราใหย ินดี เพราะฉะน้นั กัจจายนภิกษนุ ี้จึงเลศิ กวาภิกษุผูเลิศในการกลาวธรรมไดโดยพิสดาร ซ่ึงอรรถแหง ภาษติ ทเี่ รากลาวไวแ ตโ ดยยอ นี้ ภกิ ษุทงั้ หลายทานทงั้ หลายจงทรงจาํ ไวอยา งน้ีเถดิ . ครั้งนนั้ เราไดฟง พระดํารัสอันรืน่ รมยใจแลว เกดิความอัศจรรย จึงไปปาหิมพานต นําเอากลุมดอกไมมาบชู าพระผูเปน ท่พี ่งึ ของโลก แลวปรารถนาฐานนั ดรนั้นคร้ังน้ัน พระผูทรงละกิเลสเปน เหตใุ หรอ งไห ทรงทราบอัธยาศยั ของเราแลว ไดท รงพยากรณว า จงดฤู ๅษีผูป ระ-เสริฐนี้ ซึง่ เปน ผมู ผี วิ พรรณเหมอื นทองคาํ ท่ไี ลม ลทินออกแลว มีโลมชาตชิ ูชันและใจโสมนัส ยืนประณมอัญชลนี ่ิงไมไหวติง รา เรงิ มีนัยนตาเต็มดี มีอัธยาศัยนอ มไปในคุณของพระพุทธเจา มีธรรมเปน ธง มหี ทัยราเริง เหมือนกบั ถกู รดดว ยนํ้าอมฤต เขาไดสดบั คณุ ของกจั จายนภิกษุเขา จงึ ไดป รารถนาฐานันดรนนั้ ในอนาคตกาล ฤๅษผี นู ้ีจกัไดเปน ธรรมทายาทของพระโคดม มหามุนี เปน โอรสอันธรรนเนรมิต จักเปนพระสาวกของพระศาสดา มนี ามวากจั จายนะ เขาจักเปนพหูสตู มญี าณใหญ รูอ ธบิ ายแจง ชัดเปน นักปราชญ จักถึงฐานนั ดรน้นั ดังท่ีเราไดพ ยากรณไวแลว. ในกัปท่แี สนแตก ัปน้ี เราไดทํากรรมใดในกาลน้ันดวยกรรมน้ัน เราไมร จู กั ทคุ ตเิ ลย นีเ้ ปน ผลแหงพุทธบูชา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หนา ที่ 282 เราทอ งเท่ยี วอยแู ตใ นสองภพ คือในเทวดาและมนษุ ย คตอิ ่นื เราไมร ู น้ีเปนผลแหง พทุ ธบชู า เราเกดิ ในสอง สกุล คอื สกลุ กษัตริยและสกุลพราหมณ เราไมเ กดิ ใน สกลุ ท่ตี ่าํ ทราม นเ้ี ปนผลแหง พุทธบชู า. และในภพสุดทา ย เราเกดิ เปน บุตรของตริ ิตวิ จั ฉ- พราหมณ ผูเปนปุโรหิตของพระเจา จณั ฑปชโชต ใน พระนครอชุ เชนอี นั นา รื่นรมย เราเปนคนฉลาดเรยี นจบ ไตรเพท สวนมารดาของเราช่ือจันทนปทุมา๑ เราช่อื กจั จายนะ เปนผมู ผี วิ พรรณงาม เราอนั พระเจา แผนดนิ ทรงสงไปเพื่อพิจารณาพระพทุ ธเจา ไดพ บพระผนู าํ ซง่ึ เปน ประตูของโมกขบุรี เปนทสี่ ่งั สมคุณ และไดสดับ พระพทุ ธภาษิตอนั ปราศจากมลทนิ เปนเคร่อื งชําระลาง เปอกตมคือคติ จึงไดบ รรลอุ มตธรรมอันสงบ ระงบั พรอม กบั บุรษุ ๗ คนทเี่ หลอื เราเปนผูร ูอธิบายในพระมติอนั ใหญ ของพระสุคตเจาไดแ จง ชดั และพระศาสดา ทรงตั้งไวตาํ แหนงเอตทัคคะ เราเปน ผูม ีความปรารถนา สําเร็จดวยดีแลว เราเผากเิ ลสทงั้ หลายแลว ...ฯลฯ... พระพทุ ธศาสนาเราไดทาํ เสร็จแลว ดังน.้ี ลาํ ดบั นั้น พระศาสดาทรงเหยียดพระหัตถตรสั วา ทานทง้ั หลายจงเปนภิกษมุ าเถิด. ในขณะนั้นนั่นเอง ทานเหลาน้นั มผี มและหนวดเพียง๒ องคลุ ี ทรงบาตรและจีวรท่สี ําเรจ็ ดวยฤทธิ์ ไดเ ปน ผูคลา ยพระเถระมี๑. บางแหง เปน จันทิมา.