บทที่ 5 ระบบตน้ ทนุ ฐานกิจกรรม 5 - 29 การปันสว่ นคา่ ใช้จ่ายการผลิตให้ผลิตภัณฑแ์ ตล่ ะชนิด - เค้กวานลิ ลา กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ จานวนตวั อตั รา ค่าใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ผลกั ดนั ต้นทนุ ที่ ค่าใช้จ่ายการ ผลิตต่อหน่วย ขั้นท่ี 5 การส่งั ซื้อวัตถุดิบ จานวนคร้งั ของ เกิดขึ้นจริง การผสมแปง้ สัง่ ซอ้ื ของตวั 24,000 การอบเค้ก จานวนชว่ั โมง 400 ครง้ั ผลกั ดนั ต้นทนุ 60,000 การแต่งหน้าเคก้ แรงงานทางตรง 30,000 ชม. 294,750 การบรรจหุ ีบหอ่ จานวนชวั่ โมง 15,000 ชั่วโมง 60 45,000 เครอื่ งจกั ร 1,500 ครงั้ 75,000 จานวนครั้งของ 15,000 ปอนด์ 2 498,750 การแต่งหนา้ จานวนหนว่ ยผลติ 19.65 30 5 การปนั สว่ นคา่ ใช้จา่ ยการผลิตใหผ้ ลิตภณั ฑแ์ ตล่ ะชนดิ - เคก้ นมสด กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ จานวนตวั อตั รา ค่าใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ผลกั ดนั ต้นทุนที่ ค่าใช้จ่ายการ ผลิตต่อหน่วย 36,000 การสั่งซอ้ื วัตถดุ ิบ จานวนครง้ั ของ เกิดขึน้ จริง 30,000 การผสมแป้ง ส่ังซอ้ื ของตวั 255,450 การอบเคก้ จานวนชั่วโมง 600 ครงั้ ผลกั ดนั ต้นทนุ 30,000 การแต่งหน้าเค้ก แรงงานทางตรง 15,000 ชม. 50,000 การบรรจหุ บี ห่อ จานวนชว่ั โมง 13,000 ชวั่ โมง 60 401,450 เคร่ืองจักร 1,000 ครัง้ จานวนครงั้ ของ 10,000 ปอนด์ 2 การแตง่ หนา้ จานวนหนว่ ยผลิต 19.65 30 5
5 - 30 การบญั ชีต้นทุน 2 เค้กวานิ ลา เค้กนมสด การคานวณต้นทนุ ผลติ ภณั ฑต์ อ่ หน่วย 55.00 70.00 20.00 20.00 วตั ถุดบิ ทางตรง 33.25(1) 40.15(2) คา่ แรงงานทางตรง 108.25 130.15 คา่ ใช้จา่ ยการผลิต ตน้ ทุนผลติ ภัณฑต์ ่อหนว่ ย (1) ค่าใชจ้ ่ายการผลิตต่อหนว่ ยของเค้กวานิลลา = ค่าใช้จ่ายการผลติ ของเคก้ วานลิ ลา ปริมาณการผลิตเคก้ วานิลลา = 498,750 15,000 = 33.25 บาทต่อปอนด์ (2) ค่าใช้จา่ ยการผลติ ตอ่ หน่วยของเคก้ นมสด = คา่ ใช้จ่ายการผลิตของเคก้ นมสด ปรมิ าณการผลติ เคก้ นมสด = 401,450 10,000 = 40.15 บาทตอ่ ปอนด์ จากขอ้ มูลตน้ ทนุ ผลติ ภณั ฑท์ คี่ านวณจากระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรม จะเห็นไดว้ ่า ต้นทุนผลิตภัณฑต์ อ่ หน่วยของเคก้ วานลิ ลา และเคก้ นมสด เท่ากับ 108.25 บาทและ 130.15 บาท ตามลาดับ แตเ่ มอื่ ไปเปรียบเทยี บกบั ตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการคานวณตน้ ทุนระบบ ตน้ ทนุ แบบเดิม ต้นทนุ ผลิตภณั ฑต์ ่อหน่วยของเคก้ วานิลลา และเคก้ นมสด เทา่ กับ 127.75 บาท และ144.32 บาท ซ่งึ จะพบว่า ต้นทุนของเคก้ ทงั้ สองชนดิ ถ้าใช้ระบบตน้ ทนุ แบบเดมิ จะสูงกว่าที่ ควรจะเป็น ซ่ึงมผี ลตอ่ การตง้ั ราคาสินคา้ กจิ การอาจตงั้ ราคาทสี่ งู เกนิ ไป ทาใหข้ ายในราคาทส่ี งู กว่าคแู่ ข่ง
บทที่ 5 ระบบตน้ ทนุ ฐานกิจกรรม 5 - 31 ประโยชน์ของระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรม การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยการประยุกต์ระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรม ทาให้ ขอ้ มูลทางการบญั ชีมคี วามถกู ต้องมากขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นประโยชน์ในด้านการบริหารจัดการ ซึ่งสามารถแบ่งได้ดงั นี้ 1. การคานวณตน้ ทนุ ผลติ ภณั ฑ์มีความถูกต้องมากข้นึ เนอ่ื งจากการคานวณคา่ ใช้จ่ายการ ผลิต ไดพ้ ิจารณาแต่กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตผลิตภัณฑ์นั้นๆ พร้อมท้ังได้ใช้ตัวผลักดัน ต้นทุนที่มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมนั้นๆโดยตรง ทาให้การปันส่วนต้นทุนมีความถูกต้อง มากกว่าที่จะใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งเป็นฐานในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ ตามระบบการ คานวณตน้ ทุนแบบเดิม 2. การกาหนดประเภทของกิจกรรมหรือศนู ย์กจิ กรรม ที่มีความเก่ียวข้องกับผลิตภัณฑ์แต่ ละชนดิ ทาให้ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการองค์กรได้ง่ายขึ้น เช่น การแบ่งประเภทกิจกรรม เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ กิจกรรมเพิ่มมูลค่า (Value - added Activities) และกิจกรรมไม่เพิ่ม มูลค่า มลู ค่า (Nonvalue - added Activities) ถ้าหากผบู้ ริหารสามารถลดหรือกาจัดกิจกรรมท่ี ไมเ่ พิม่ มูลค่าได้ จะมีผลทาให้ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เป็นของกิจกรรมนั้นลดลง ซ่ึงมีผลต่อต้นทุน ผลิตภณั ฑ์ตอ่ หน่วยลดลง สามารถเป็นข้อได้เปรียบในเชิงการแข่งขันกับคู่แข่งได้ ซึ่งหลักการ บริหารการจดั การในกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับการดาเนินธุรกิจ เรียกว่า การบริหารตามฐานกิจกรรม (Activity – based Management : ABM) 3. การคานวณคา่ ใช้จา่ ยการผลติ ตามระบบตน้ ทุนตามฐานกิจกรรม ทาให้ผบู้ ริหารมีข้อมูล ทางการบัญชีท่ีมีความถูกต้องหรือใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากข้ึน เมื่อผู้บริหารนาข้อมูล ทางการบัญชีดังกล่าว ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ทาให้การตัดสินใจมีความถูกต้องมากขึ้น นอกจากน้ี ยังสามารถควบคมุ ตน้ ทุนหรือค่าใชจ้ ่ายการผลติ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ สรปุ การคานวณต้นทุนสินค้าตามระบบต้นทุนแบบเดิมจะจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเป็น ตน้ ทุนของสนิ คา้ โดยกาหนดอตั ราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตคิดเข้างานล่วงหน้า อาจเป็นอัตราเดียวทั้ง โรงงานหรือท้ังกิจการ หรือมีหลายอัตราแยกแต่ละแผนก โดยใช้เกณฑ์ในการปันส่วนเป็น จานวนชวั่ โมงแรงงานทางตรงหรอื จานวนชั่วโมงเครื่องจกั ร ซงึ่ ในปัจจุบนั จะเห็นไดว้ า่ สภาพการ แข่งขนั ของธุรกิจมกี ารนาเอาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการผลิตสนิ ค้ามากข้ึน ดังน้ันเกณฑ์ท่ีใช้ในการ ปันสว่ นตามระบบต้นทนุ แบบเดมิ มขี ้อจากัด เช่น คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ อาจจะไม่สัมพันธ์กับเกณฑ์ ที่นามาใช้ในการคานวณอตั ราค่าใชจ้ ่ายการผลิตโดยตรง จึงต้องมีการนาเอาระบบการคานวณ
5 - 32 การบญั ชีต้นทุน 2 ตน้ ทนุ สินคา้ ตามฐานกิจกรรมมาช่วยในการคานวณ เพื่อใหต้ ้นทนุ สินคา้ ต่อหน่วยมคี วามถูกต้อง มากยง่ิ ขน้ึ ระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรม จะปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตไปตามกิจกรรมต่างๆท่ี เก่ียวข้องกับการผลิตสินค้า นอกจากน้ียังใช้ตัวผลักดันต้นทุนท่ีมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ กจิ กรรมนน้ั ๆ เพอ่ื ใช้คานวณหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลติ ตอ่ ตัวผลกั ดันต้นทนุ ซงึ่ ข้ันตอนของการ คานวณต้นทุนสินค้าตามระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรมมีขั้นตอนดังนี้ 1) กาหนดกิจกรรมที่ เกี่ยวขอ้ งกับการผลติ สนิ ค้า 2) กาหนดตัวผลักดันต้นทุนท่ีมีความสัมพันธ์กับแต่ละกิจกรรม 3) คานวณการจัดสรรต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตสาหรับแต่ละกิจกรรม 4) คานวณต้นทุนการผลิต ของสินค้าแต่ละชนิดโดยใช้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตที่คานวณจากขั้นท่ี 3 ซึ่งการนาเอาการ คานวณต้นทุนตามฐานกจิ กรรมมาช่วยในการคานวณตน้ ทนุ สินค้า ทาให้ตน้ ทนุ การผลิตมคี วาม ถกู ตอ้ งมากยง่ิ ขึ้น เพราะคานึงถงึ สาเหตขุ องการเกิดต้นทุนท่ีมีความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็น ผลกันโดยตรง แต่อย่างไรก็ตามการคานวณต้นทุนตามฐานของกิจกรรมก็มีข้อจากัดเก่ียวกับ ประโยชนแ์ ละตน้ ทุนที่เสยี ไป เพราะอาจต้องใช้ค่าใช้จ่ายจานวนท่ีสูงเพ่ือให้การคานวณต้นทุน สนิ ค้าเหมาะกับการคานวณต้นทนุ ตามฐานกจิ กรรม นอกจากน้ี การที่กิจการมีการคานวณต้นทุนตามฐานกิจกรรม ได้รับประโยชน์ในด้าน ต้นทนุ การผลิตท่ีมีความถูกตอ้ งมากขึ้นและ ยังสามารถนาเอาข้อมูลกิจกรรมที่จัดเก็บรวบรวม ได้มาใช้ในการบริหารจัดการที่เรียกว่า การบริหารตามฐานกิจกรรม (ABM) ให้เกิดความ ได้เปรยี บในเชิงการแข่งขนั มากขึน้
บทที่ 5 ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม 5 - 33 แบบฝึ กหดั ข้อ 1. การคานวณตน้ ทุนแยกตามฐานกิจกรรม (Activity-based Costing: ABC) มีลักษณะ อย่างไร ข้อ 2. ระบบตน้ ทนุ แบบเดิม (Traditional Costing) แบ่งได้เป็นกีว่ ิธี อะไรบ้าง ขอ้ 3. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตน้ ทุน (Cost) หรอื คา่ ใช้จา่ ยการผลิต (Manufacturing Overhead) กจิ กรรมของการเกดิ ต้นทุน (Activity) ตัวผลกั ดนั ตน้ ทนุ (Cost Driver) และต้นทนุ ผลติ ภัณฑ์ (Product Cost) มีความสัมพนั ธก์ ันอย่างไร ข้อ 4. ระดับของกิจกรรมทีท่ าให้เกิดต้นทนุ แบ่งไดเ้ ปน็ กรี่ ะดับ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ข้อ 5. การคานวณตน้ ทนุ แยกตามฐานกจิ กรรม มีขัน้ ตอนในการคานวณอย่างไร ข้อ 6. จงระบุสาเหตุของการเกิดต้นทุน หรือ ตัวผลักดันต้นทุน (Cost Driver) ของแต่ละ กจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ 1 การสงั่ ซอ้ื วัตถุดิบ 2 การติดตัง้ เคร่ืองจกั ร 3 การตรวจสอบคณุ ภาพ 4 การพ่นสี 5 การบารุงรกั ษาเคร่อื งจักร 6 การขนยา้ ยวัตถดุ บิ 7 การออกแบบผลติ ภัณฑ์ 8 การบรรจหุ บี ห่อ 9 การเดนิ เครือ่ งจกั ร 10 การตัดแบบ
5 - 34 การบัญชตี ้นทุน 2 ข้อ 7. จงระบกุ ิจกรรมต่อไปนี้ว่าเปน็ กิจกรรมเพิ่มมลู คา่ (Value – added Activities) หรอื เป็น กิจกรรมทไ่ี ม่เพม่ิ มลู ค่า (Nonvalue – added Activities) โดยใส่เครอื่ งหมาย ในชอ่ งท่ีเหน็ ว่า ถกู ต้องทีส่ ดุ ข้อ กิจกรรม กิจกรรมที่เพ่ิมมูลค่า กิจกรรมที่ไมเ่ พ่ิมมลู ค่า 1 การส่ังซอื้ วัตถดุ ิบ 2 การติดต้ังเคร่อื งจกั ร 3 การตรวจสอบคุณภาพ 4 การพ่นสี 5 การบารงุ รกั ษาเครอื่ งจักร 6 การขนยา้ ยวตั ถุดบิ 7 การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 8 การบรรจุหีบห่อ 9 การเดินเครอ่ื งจกั ร 10 การตดั แบบ 11 การขนสง่ สนิ คา้ ใหก้ ับลกู ค้า 12 การประกอบชนิ้ ส่วน 13 การพมิ พ์ลาย ข้อ 8. บริษัท เครื่องหนงั ไทย จากัด ได้มีแผนกผลิต 2 แผนก คือ แผนกเคร่ืองจักร และแผนก ประกอบชิน้ ส่วน กิจการมกี ารผลิตสินคา้ 2 ชนดิ คอื รองเท้าหนัง และกระเป๋าหนัง โดยกิจการ ได้กาหนดอัตราคา่ ใช้จา่ ยการผลิตประจาแผนกเป็นหลักในการปันส่วนต้นทุนให้กับผลิตภัณฑ์ ซึง่ ในการผลติ สินค้าท้ังสองชนดิ น้ี ตอ้ งผ่านกระบวนการผลิตท้งั สองแผนก โดยมีข้อมูลการผลิต ดงั น้ี ผลิตภณั ฑ์ รองเท้าหนัง กระเป๋ าหนัง วัตถดุ ิบทางตรงตอ่ หนว่ ย (บาทตอ่ หนว่ ย) 100 250 อัตราการใชช้ ั่วโมงในการผลติ ตอ่ หน่วย (ชัว่ โมง) แผนกเครอ่ื งจักร 12 แผนกประกอบ 2 2.5
บทที่ 5 ระบบตน้ ทุนฐานกจิ กรรม 5 - 35 ผลิตภณั ฑ์ รองเท้าหนัง กระเป๋ าหนัง อัตราคา่ แรงงานทางตรงตอ่ ชว่ั โมง (บาทต่อชว่ั โมง) แผนกเครื่องจักร 20 25 แผนกประกอบ 30 40 ปริมาณสินคา้ ทีผ่ ลิต (หนว่ ย) 1,000 1,500 คา่ ใช้จ่ายการผลติ แต่ละแผนก มดี งั น้ี แผนกเคร่ืองจักร 360,000 บาท แผนกประกอบ 400,000 บาท ในการผลติ แผนกเครอ่ื งจักรมกี ารใชจ้ านวนช่ัวโมงเครื่องจักรเป็นเกณฑ์ในการปันส่วน ค่าใช้จา่ ยการผลิต ส่วนแผนกประกอบชิ้นส่วน ใช้จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงเป็นเกณฑ์ใน การปันส่วนคา่ ใชจ้ ่ายการผลิต ให้ทา 1. คานวณอตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ประจาแผนกทปี่ นั สว่ นเขา้ สู่ผลิตภัณฑท์ ้ังสองชนิด 2. คานวณตน้ ทุนผลิตภณั ฑต์ อ่ หนว่ ยของสนิ คา้ ทงั้ สองชนดิ ขอ้ 9. บรษิ ทั แสนอรอ่ ย จากดั ไดท้ าการผลิตขนมค้กุ กี้ 2 ชนิด คอื คุก้ ก้เี นย และคุก้ กี้เฮลตี้ โดยมขี อ้ มลู เก่ยี วกับคา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ ดังต่อไปน้ี ค้กุ กี้เฮลตี้ ค้กุ กเี้ นย ปริมาณการผลิต(กลอ่ ง) 10,000 80,000 ต้นทนุ การผลติ ต่อหนว่ ย (บาท) วตั ถุดิบทางตรง 50 35 ค่าแรงงานทางตรง 30 30 คา่ ใช้จ่ายการผลติ รวม 3,600,000 บาท จานวนชว่ั โมงเครอื่ งจักร 95,000 ช่ัวโมง ขอ้ มูลเพ่ิมเติม การผลติ สินคา้ แตล่ ะชนดิ มกี ารใชช้ ่ัวโมงเคร่อื งจกั ร ในการผลติ สนิ คา้ ต่อ 1 หนว่ ย ดงั นี้ คกุ้ กีเ้ ฮลตี้ ใช้ช่วั โมงเคร่อื งจกั ร 1.5 ชวั่ โมง และคกุ้ กเี้ นย ใช้ช่วั โมงเคร่ืองจกั ร 1 ช่วั โมง
5 - 36 การบญั ชตี ้นทนุ 2 ให้ทา คานวณหาต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยโดยใช้ระบบต้นทุนเดิม ในการกาหนดอัตรา ค่าใช้จ่ายการผลิตเพียงอัตราเดียวทั้งโรงงาน (Plant wide Rate) โดยใช้ช่ัวโมงเครื่องจักรเป็น เกณฑ์ในการคานวณ ขอ้ 10. บริษัท แสนอรอ่ ย จากัด (ตอ่ เนอ่ื งจากขอ้ มูลเดมิ ในขอ้ 8) ได้เก็บรวบรวมข้อมลู ตน้ ทุน และกาหนดกจิ กรรม พร้อมท้งั ตวั ผลกั ดนั ตน้ ทนุ ของแต่ละศนู ยก์ ิจกรรม เพอื่ คานวณต้นทุนตาม ฐานกจิ กรรม (Activity-based costing: ABC) ดังนี้ กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั จานวนตวั ผลกั ดนั คา่ ใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ต้นทุนท่ีใช้ต่อ (บาท) หน่วย การเตรยี มเครอ่ื งจกั ร จานวนครั้งของการเตรยี ม 900 900,000 การบารงุ รกั ษา จานวนช่ัวโมงเครื่องจกั ร 95,000 950,000 การตรวจสอบคณุ ภาพ จานวนครง้ั ของการ 1,000 750,000 สาธารณปู โภค ตรวจสอบ 40,000 จานวนตารางฟุต 1,000,000 3,600,000 จานวนตวั ผลกั ดนั ตน้ ทนุ ของผลิตภณั ฑแ์ ตล่ ะชนดิ มดี ังน้ี ตวั ผลกั ดนั 900 ครัง้ จานวน จานวน (Cost Driver) 95,000 ชม. ตวั ผลกั ดนั ต้นทุน ตวั ผลกั ดนั ต้นทุน 1,000 คร้งั จานวนครั้งของการเตรยี ม 40,000 ตร.ฟุต คกุ้ ก้ีเฮลต้ี คกุ้ ก้ีเนย (ครงั้ ) 300 600 ชั่วโมงเครือ่ งจักร (ชว่ั โมง เครื่องจกั ร) 15,000 80,000 จานวนครงั้ ของการ ตรวจสอบ (ครั้ง) 200 800 จานวนตารางฟุต (ตร.ฟตุ ) 10,000 30,000
บทที่ 5 ระบบตน้ ทนุ ฐานกจิ กรรม 5 - 37 ให้ทา 1. คานวณอัตราคา่ ใชจ้ ่ายการผลติ ตอ่ หนว่ ยของตวั ผลกั ดันตน้ ทนุ 2. ปันสว่ นค่าใชจ้ า่ ยการผลิตใหผ้ ลติ ภัณฑ์แต่ละชนิด 3. คานวณต้นทนุ ผลติ ภณั ฑ์ต่อหนว่ ยของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด 1. คานวณอัตราคา่ ใช้จ่ายการผลติ ต่อหน่วยของตัวผลกั ดนั ตน้ ทนุ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................................................................ กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ ค่าใช้จ่ายการ จานวนตวั อตั ราค่าใช้จ่าย (Activities) ผลิต ผลกั ดนั ต้นทุน การผลิตต่อ (Cost Driver) ที่ใช้ต่อหน่ วย หน่ วยของตวั การเตรียมเครื่องจักร ผลกั ดนั ต้นทุน การบารงุ รกั ษา จานวนครงั้ ของการ เตรยี ม ชว่ั โมงเคร่อื งจักร การตรวจสอบคณุ ภาพ จานวนคร้งั ของการ สาธารณปู โภค ตรวจสอบ จานวนตารางฟุต 2. ปันส่วนคา่ ใช้จ่ายการผลิตให้ผลติ ภัณฑแ์ ตล่ ะชนิด ค้กุ กเี้ ฮลตี้ กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ จานวนตวั อตั รา ค่าใช้จ่ายการ (Activities) (Cost Driver) ผลกั ดนั ต้นทุน ค่าใช้จ่ายการ ผลิต ที่เกิดขึ้นจริง ผลิตต่อหน่วย การเตรยี มเครอ่ื งจกั ร จานวนคร้งั ของการ การบารุงรกั ษา เตรยี ม ของตวั การตรวจสอบคุณภาพ ช่ัวโมงเครื่องจกั ร ผลกั ดนั ต้นทนุ สาธารณูปโภค จานวนครงั้ ของการ ตรวจสอบ จานวนตารางฟุต
5 - 38 การบัญชตี ้นทุน 2 ค้กุ กเี้ นย กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั ต้นทุน จานวนตวั อตั รา ค่าใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ผลกั ดนั ต้นทุนที่ ค่าใช้จ่ายการ ผลิตต่อหน่วย การเตรียม จานวนครง้ั ของ เกิดขึน้ จริง เคร่อื งจกั ร การเตรียม ของตวั การบารงุ รักษา ชัว่ โมงเครื่องจักร ผลกั ดนั ต้นทนุ การตรวจสอบ จานวนครงั้ ของ คณุ ภาพ การตรวจสอบ สาธารณปู โภค จานวนตารางฟุต ข้อ 11. บริษทั สยามอตุ สาหกรรม จากดั เป็นบริษัทท่ีทาการผลติ และจาหนา่ ยชนิ้ ส่วนรถยนต์ 2 ชนิด ซึง่ นาไปใช้ประกอบรถยนต์ โดยบริษทั มกี ารคานวณต้นทนุ ผลิตภัณฑ์ ภายใตร้ ะบบต้นทุน แบบเดิมและระบบตน้ ทุนแยกตามฐานกิจกรรม เพื่อใช้เปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนการผลิตในปี หนา้ ขอ้ มลู ทีเ่ กดิ ข้นึ เกย่ี วกบั การผลิตตลอดท้งั ปี มีดังน้ี วัตถุดบิ ทางตรงตอ่ หน่วย (บาท) ชิ้นส่วน A ชิ้นส่วน B จานวนชัว่ โมงแรงงานทางตรงตอ่ หน่วย (บาท) 50 80 อัตราคา่ แรงงานตอ่ ช่ัวโมง (บาท) 3 ปริมาณชน้ิ ส่วนทผี่ ลิต (ชน้ิ ) 2 15 10 8,000 6,000 สาหรับขอ้ มูลที่เกยี่ วกับการคานวณต้นทนุ ตามระบบตน้ ทุนแยกตามฐานกิจกรรม มดี งั น้ี กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั จานวนตวั ผลกั ดนั ค่าใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ต้นทุนท่ีใช้ (บาท) การสั่งซ้ือวัตถุดิบ จานวนคร้ังของการสั่งซื้อ 100 ครง้ั 190,000 การเตรียมเครอ่ื งจักร จานวนครั้งของการเตรยี ม 22 ครง้ั 220,000 การเดนิ เครื่องจักร จานวนชัว่ โมงเครอ่ื งจักร 5,000 ช่ัวโมง 550,000 การตรวจสอบคุณภาพ จานวนครงั้ ของการตรวจสอบ 80 ครั้ง 120,000
บทท่ี 5 ระบบต้นทนุ ฐานกจิ กรรม 5 - 39 จานวนตัวผลกั ดันของแตล่ ะผลติ ภณั ฑ์ มีดังน้ี ตวั ผลกั ดนั (Cost Driver) จานวนตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ จานวนตวั ผลกั ดนั ต้นทุน ชิ้นส่วน A ชิ้นส่วน B จานวนครง้ั ของการสงั่ ซื้อ 40 60 จานวนคร้งั ของการเตรียม 10 จานวนชวั่ โมงเครอ่ื งจกั ร 2,200 12 จานวนครัง้ ของการตรวจสอบ 35 2,800 45 ให้ทา 1. คานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยภายใต้ระบบต้นทุนเดิม โดยใช้ชั่วโมงแรงงาน ทางตรงเปน็ ฐานในการคานวณคา่ ใช้จ่ายการผลิต 2. คานวณต้นทุนสินค้าต่อหน่วย ภายใต้ระบบต้นทุนแยกตามฐานกิจกรรม โดยแบ่งไป ตามขนั้ ตอน ดงั น้ี 2.1. คานวณอัตราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตต่อหนว่ ยของตัวผลกั ดนั ต้นทุน 2.2. ปนั ส่วนคา่ ใช้จ่ายการผลิตใหผ้ ลติ ภัณฑ์แตล่ ะชนดิ 2.3. คานวณต้นทุนผลิตภัณฑต์ อ่ หนว่ ยของสนิ คา้ แตล่ ะชนดิ ข้อ 12. บรษิ ัท กานดา จากัด ได้ทาการผลิตสนิ คา้ เส้อื ผา้ ฝา้ ยยอ้ มคราม และเสือ้ ผา้ ไหมโดยได้ วางแผนการผลิตในเดอื นหนา้ ขอ้ มูลท่ีเกิดขึ้นเกี่ยวกับการผลติ ตลอดทง้ั เดือน มดี งั นี้ วตั ถุดิบทางตรงตอ่ หนว่ ย (บาท) เสือ้ ผา้ ฝ้ ายย้อมคราม เสื้อผา้ ไหม 100 150 จานวนช่วั โมงแรงงานทางตรงตอ่ หนว่ ย (บาท) 6 8 อตั ราค่าแรงงานต่อช่ัวโมง (บาท) 90 90 ปริมาณสนิ คา้ ทีผ่ ลติ (หนว่ ย) 800 500 กิจการได้ใช้ระบบต้นทุนเดิมในการคานวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิต โดยใช้ชวั่ โมง แรงงานทางตรงเป็นเกณฑ์ในการคานวณ
5 - 40 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 สาหรับขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วกบั การคานวณตน้ ทุนตามระบบต้นทนุ แยกตามฐานกิจกรรม มี ดงั นี้ กิจกรรม ตวั ผลกั ดนั จานวนตวั ผลกั ดนั ค่าใช้จ่ายการผลิต (Activities) (Cost Driver) ต้นทนุ ที่ใช้ต่อหน่วย (บาท) การจัดซือ้ วัตถุดิบ จานวนคร้งั ของการจัดซอื้ 10,000 จานวนชั่วโมงวิศวกรรม 5 ครัง้ การออกแบบ 12,000 ผลติ ภัณฑ์ จานวนครัง้ ของการติดต้ัง 20 ชัว่ โมง การติดตัง้ เครื่องจกั ร 2 ครั้ง 100,000 การเดนิ เครอ่ื งจกั ร จานวนชั่วโมงเครือ่ งจกั ร 5 ชวั่ โมง 200,000 การตรวจสอบคุณภาพ จานวนคร้ังของการตรวจสอบ 10 คร้งั 30,000 352,000 จานวนตวั ผลกั ดันของแตล่ ะผลิตภณั ฑ์ มดี ังน้ี ตวั ผลกั ดนั (Cost Driver) จานวนตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ จานวนตวั ผลกั ดนั ต้นทนุ เสื้อผ้าฝ้ ายย้อมคราม เสื้อผ้าไหม จานวนคร้ังของการจัดซอ้ื (คร้ัง) 3 2 จานวนชวั่ โมงวศิ วกรรม (ชั่วโมง) 12 8 จานวนคร้ังของการติดต้งั (ครงั้ ) 1 1 จานวนชวั่ โมงเครอ่ื งจักร (ชว่ั โมง) 2 3 จานวนครั้งของการตรวจสอบ (ครง้ั ) 6 4 ให้ทา 1. คานวณตน้ ทุนสนิ คา้ ตอ่ หน่วย ภายใตร้ ะบบต้นทนุ เดมิ โดยการกาหนดอัตราคา่ ใช้จ่าย การผลิต ไดใ้ ชช้ ั่วโมงแรงงานทางตรงเปน็ เกณฑใ์ นการคานวณ 2. คานวณต้นทนุ สนิ คา้ ตอ่ หน่วย ภายใต้ระบบต้นทนุ แยกตามฐานกจิ กรรม โดยแยก คานวณทีละหวั ข้อ ดงั น้ี 2.1. คานวณอตั ราคา่ ใช้จ่ายการผลติ ตอ่ หน่วยของตวั ผลกั ดนั ตน้ ทนุ 2.2. ปันสว่ นคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ให้ผลติ ภัณฑแ์ ต่ละชนดิ 2.3. คานวณตน้ ทุนผลติ ภณั ฑ์ต่อหนว่ ยของผลติ ภณั ฑแ์ ต่ละชนดิ
บทท่ี 6 งบประมาณ การดาเนินธุรกิจเพื่อให้ประสบความสาเร็จ ได้ผลการดาเนินงานตามที่วางแผนไว้ หรอื ไมข่ ึน้ อยกู่ ับการบรหิ ารจัดการให้เปน็ ไปตามแผนธุรกิจที่ทาไว้ เครื่องมือหนึ่งที่สามารถทา ให้ธุรกิจดาเนินงานได้ตามแผนที่ตั้งเป้าหมายเอาไว้ คือ การจัดทางบประมาณ (Budgeting) เป็นเครื่องมอื ที่นามาใช้เพื่อเปลี่ยนเป้าหมายและกลยุทธ์ของธุรกิจให้อยู่ในรูปของตัวเลข จาก การพยากรณห์ รอื คาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต จากสถานการณ์ทค่ี าดวา่ จะเกิดข้นึ ธรุ กิจแตล่ ะประเภทไม่ว่าจะเป็นธุรกิจบริการ ธุรกิจซื้อขายสินค้า และธุรกิจผลิตสินค้า จะมีรูปแบบของการจัดทางบประมาณท่ีมีท้ังเหมือนและแตกต่างกัน เน่ืองจากกิจการแต่ละ ประเภทมวี ิธกี ารดาเนนิ งานท่ีแตกต่างกนั ในรายละเอียด จึงมีผลทาให้งบประมาณท่ีจัดทาขึ้นมี ท้ังเหมือนและแตกต่างกัน เช่น ธุรกิจบริการจะมีการจัดทางบประมาณรายได้จากการบริการ และงบประมาณค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร แต่ธุรกิจซ้ือขายสินค้า จะมีงบประมาณการซ้ือ สินค้าสาเร็จรูป งบประมาณสินค้าคงเหลือ และงบประมาณต้นทุนขาย นอกเหนือจาก งบประมาณการขาย และงบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ส่วนธุรกิจผลิตสินค้า จะ เพิ่มในส่วนของกระบวนการผลิตสินค้า จึงต้องมีงบประมาณการผลิต งบประมาณวัตถุดิบ ทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง และงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต นอกเหนือจาก งบประมาณการขายและงบประมาณค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน เป็นตน้ การจดั ทางบประมาณของธรุ กจิ เพ่อื แสดงให้เห็นถึงผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน ในภาพรวมของท้ังองค์กร จาเป็นต้องแยกงบประมาณออกเป็นแต่ละด้าน ซ่ึงประกอบด้วย งบประมาณการดาเนินงาน และงบประมาณการเงนิ ทั้งระยะสน้ั และระยะยาว เพราะงบประมาณ จะนาไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือทางการบริหารให้ผู้บริหารแต่ละระดับนาไปใช้เพ่ือเปรียบเทียบกับผล การปฏิบัติงานจริง เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนและการควบคุม ให้ทราบว่าแต่ละแผนกมี การใชท้ รัพยากรทม่ี ีอยใู่ หเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสดุ หรือไม่ ซึ่งมีผลทาให้ธุรกิจบรรลุวัตถุประสงค์ ตามท่ผี ูบ้ รหิ ารระดับสูงต้องการ และนอกจากนี้ งบประมาณยังสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการ วัดและประเมินผลการปฏิบัติของผู้บริหารแต่ละแผนก ท่ีเป็นส่วนงานย่อยได้อีกด้วย ดังนั้น เนื้อหาในบทน้ี จึงจะกล่าวถึงความหมาย ประโยชน์ ประเภทและข้ันตอนของการจัดทา งบประมาณ รวมไปถึงความสมั พนั ธ์ของงบประมาณแตล่ ะประเภท ซ่งึ จะอธิบายในรายละเอียด ในหวั ขอ้ ต่อไปตามลาดับ
6 - 2 การบัญชตี ้นทนุ 2 ความหมายของงบประมาณ งบประมาณ (Budgeting) หมายถึง แผนงานของผู้บริหารที่จัดทาขึ้นเป็นลายลักษณ์ อักษร สาหรับงวดเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต โดยการจัดทาในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดสรร ทรัพยากรทีเ่ ปน็ ตัวเงนิ ใหก้ ับงานและหนว่ ยงานต่างๆ และขององค์กรธุรกิจตามท่กี าหนดไว้ (ธนภร เอกเผา่ พนั ธุ์, 2554) เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ (2554)ได้ให้ความหมายของงบประมาณ ไว้ดังน้ี “งบประมาณ หมายถึง แผนการดาเนินงานทเ่ี กย่ี วกับการได้มาและใช้ไปของข้อมูลทางการเงิน ซง่ึ ไดถ้ ูกกาหนดไวล้ ่วงหน้าสาหรับชว่ งระยะเวลาหนง่ึ ซงึ่ อาจทาไดท้ ง้ั ในระยะสัน้ และระยะยาว” นอกจากน้ี กชกร เฉลิมกาญจนา (2557) ได้ให้ความหมายไว้ว่า “งบประมาณ คือ แผน ทางการเงินที่เสดงถึงทรัพยากรที่จะเป็นต้องใช้ไปในการทากิจกรรม และสอดคล้องกับ เปา้ หมายทางการเงินสาหรับแต่ละงวดเวลาในอนาคต งบประมาณจะแสดงภาพรวมของแผน ทางการเงนิ ของกิจการสาหรับระยะเวลาหนงึ่ ๆ” ดงั นน้ั จากความหมายขา้ งตน้ งบประมาณ จงึ หมายถึง แผนการดาเนินงานในภาพรวม ของธุรกิจท่ีผู้บริหารจัดทาข้ึน โดยแสดงในรูปของข้อมูลทางการเงินที่ได้มีการกาหนดไว้ ลว่ งหน้าสาหรับชว่ งเวลาใดเวลาหนึง่ ในอนาคต สาหรบั งวดเวลาใดเวลาหนึ่ง เพ่อื แสดงให้ทราบ ถงึ การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่กิจการในการทากิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับการดาเนนิ งานของธรุ กิจเพ่ือใหส้ อดคล้องกบั เป้าหมายของธรุ กิจในแตล่ ะช่วงเวลาท่ีผูบ้ ริหาร วางแผนและคาดการณว์ ่าจะเกิดข้ึนในอนาคต วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ทางบประมาณ วัตถุประสงคข์ องการจัดทางบประมาณเพ่ือช่วยผู้บริหารใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการวางแผน ทางการเงิน งบประมาณเป็นเหมือนเครื่องมือสื่อสารให้เกิดการประสานงานกันระหว่างแผนก ตา่ งๆ ในองคก์ ร มกี ารจัดสรรทรพั ยากรขององค์กรท่ีมอี ยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดและ ชว่ ยในการควบคุมกาไรจากการดาเนินงานขององค์กร รวมไปถึงนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการ ประเมินผลการดาเนินงานหรือประสิทธิภาพการทางานของแผนกต่างๆ หรือทั้งองค์กร และ สามารถใช้เปน็ เคร่ืองมือในการกาหนดสิ่งจงู ใจในการทางานให้กบั หวั หน้าหรือพนกั งานในแต่ละ ระดบั ดังน้ัน วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ทางบประมาณ สามารถสรปุ ดงั นี้
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 3 1. เพ่ือให้ผบู้ ริหารได้มีการกาหนดเป้ าหมายในอนาคตให้กบั ธรุ กิจ เม่ือผู้บริหารมีการจัดทางบประมาณถือเป็นการสร้างเป้าหมายในอนาคตให้กับธุรกิจ เป็นการลว่ งหนา้ ถา้ มปี ัญหาเกดิ ขึน้ ผู้บริหารสามารถแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที 2. เพ่อื สรา้ งแผนการทางาน เม่อื มีการวางแผนผลการดาเนนิ งานตามทตี่ อ้ งการ ทาให้กิจการสามารถสร้างแนวทาง ในการทางานให้กับพนักงานปฏิบัติการว่าพนักงานควรจะปฏิบัติอย่างไรเพ่ือให้บรรลุ วตั ถุประสงคต์ ามท่อี งค์กรตอ้ งการ 3. เพือ่ ให้เกิดการประสานงานจากบคุ คลทุกระดบั ในองคก์ ร ก่อนจัดทางบประมาณต้องมีการประชุมระหว่างแผนก เพ่ือปรึกษาหารือกันว่า วตั ถปุ ระสงค์ของแต่ละแผนกต้องการอะไร ดังนนั้ การจดั ทางบประมาณจึงเปน็ การประสานงาน กันระหว่างหลายๆ แผนกในองค์กร และทาการรวบรวมข้อมูลของแต่ละแผนกก่อนจะจัดทา งบประมาณ เช่น แผนกขายต้องประสานงานกับแผนกผลิต โดยแจ้งว่าจานวนสินค้าที่แผนก ขายต้องการจะขายมีจานวนเท่าใด แผนกผลิตมีหน้าที่ผลิตตามความต้องการของแผนกขาย หรือถ้าแผนกคลังสินค้ามีสินค้าคงคลัง เหลืออยู่ในคลังจานวนหนึ่ง แผนกผลิตต้องผลิตสินค้า เพ่มิ อีกจานวนเทา่ ใดเพื่อให้เพยี งพอกับปรมิ าณสินคา้ ทตี่ ้องขาย เป็นตน้ 4. เพ่อื การควบคมุ ให้เป็นไปตามแผน เม่อื ผู้บริหารมีแผนการดาเนนิ งานในรปู ของงบประมาณที่ชัดเจนแล้ว ผูบ้ รหิ ารจะทาการ ควบคุมโดยการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ โดยผู้บริหารนาข้อมูลท่ีได้จากการ ปฏบิ ัตงิ านจรงิ มาเปรยี บเทียบกบั แผนการดาเนินงานตามงบประมาณท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้า ซึ่ง ผลที่ได้อาจมคี วามแตกต่างกันระหว่างผลการดาเนินงานตามงบประมาณและผลการปฏิบัติงาน จริง ผ้บู ริหารจะได้มาหาสาเหตุว่าผลต่างทีเ่ กิดขึน้ นั้น เกดิ จากสาเหตอุ ะไรและหาคนรบั ผิดชอบ 5. เพือ่ การประเมินผลการดาเนิ นงานและสรา้ งจงู ในในการทางาน การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของผู้บริหารแต่ละระดับว่ามีผลการดาเนินงานน่าพอใจ หรอื ไมน่ ่าพอใจ จาเป็นตอ้ งมีการเปรียบเทยี บว่าผลการดาเนนิ งานที่เกิดข้นึ จริงกับแผนท่ีตั้งเป้า ไว้มีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ผลลัพธ์ที่ได้สูงหรือต่ากว่าที่ประมาณการไว้ ซ่ึง
6 - 4 การบัญชีต้นทนุ 2 งบประมาณทจี่ ัดทาขนึ้ เปน็ เหมือนเครื่องมือท่ีนามาใช้เปน็ เกณฑห์ รอื ฐานทผี่ บู้ ริหารแต่ละแผนก ใช้เป็นแนวทางเพ่ือให้การปฏิบัติงานง่ายข้ึน และสามารถดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ล่วงหน้า หากแผนกใดท่ีทาได้ตามแผนหรือเกินกว่าแผนท่ีวางไว้ ควรจะได้รับ ผลตอบแทน เชน่ ใหโ้ บนัส เล่อื นตาแหนง่ หรือเป็นเงินรางวัล เปน็ ตน้ 6. เพอ่ื สนับสนุนให้เกิดการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง การจดั ทางบประมาณทาใหพ้ นกั งานพยายามปรบั ปรุงการทางานอยู่ตลอดเวลา ถ้าหาก ไมไ่ ด้ตามเปา้ หมายทีก่ าหนดพนกั งานจะมีการปรับเปลี่ยนวิธีการทางานเพื่อให้บรรลุผลตามที่ วางแผนไว้ ทาให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานในแผนกท่ีพนักงานทางานอยู่ และมีการ วางแผนหรอื ตง้ั เป้าหมายผลการดาเนินงานในอนาคตอย่างสม่าเสมอ ประโยชน์ของงบประมาณ งบประมาณเป็นเหมอื นเคร่อื งมือสาหรบั ผู้บริหารในการวางแผน และการควบคมุ ซงึ่ เปน็ ประโยชน์สาหรับธรุ กิจเปน็ อยา่ งมาก โดยประโยชน์หลกั ของงบประมาณ สามารถแบ่งได้ 3 ประการ ได้แก่ 1. งบประมาณเปน็ เครือ่ งมือท่ีทาใหผ้ บู้ ริหารวางแผนการดาเนินธุรกิจล่วงหน้า เหมือน เปน็ การมองอนาคต โดยพจิ ารณาจากปจั จัยต่างๆ ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ธุรกิจ ทาใหส้ ามารถคาดการณ์ ปัญหาหรืออุปสรรคท่ีอาจจะเกิดขึ้น และหาทางแก้ไขไว้ก่อนล่วงหน้า เพ่ือลดหรือหลีกเล่ียง ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดข้ัน ยกตัวอย่างเช่น การจัดทางบประมาณจะทาให้ผู้บริหารทราบก่อน ล่วงหน้าว่าในช่วงเวลาใดท่ีบริษัทอาจจะมีปัญหาเงินสดมีไม่เพียงพอสาหรับการดาเนินงาน ตามปกติ ธรุ กิจสามารถแก้ปญั หาโดยการวางแผนหาแหลง่ กูย้ ืมไว้ก่อนลว่ งหนา้ หรือ การจดั ทา งบประมาณจะทาให้ผู้บรหิ ารทราบว่าช่วงใดท่ีลกู คา้ มคี วามต้องการสินค้าสูง ช่วงนั้นฝ่ายผลิตก็ จะทาการผลิตสินค้าให้มากข้ึน เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว ทาให้บริษัทไม่ สูญเสียรายได้จากการขายสินค้าไป หรือ ฝ่ายจัดซื้อจะได้ทาการส่ังซ้ือวัตถุดิบให้เพียงพอกับ ปริมาณการผลติ ที่มากขนึ้ เปน็ ตน้ 2. งบประมาณเป็นเครือ่ งมอื ในการส่อื สารใหห้ น่วยงานตา่ งๆ ในองคก์ รเกิดการร่วมมือ และประสานงานระหว่างกัน ผู้บริหารระดับสูงสามารถส่ือสารกบั ผูบ้ ริหารระดับล่างในฝ่ายต่างๆ ในองค์กร โดยใช้งบประมาณเพื่อให้ผู้บริหารระดับล่างทราบว่าผู้บริหารระดับสูงคาดหวังมาก นอ้ ยแคไ่ หน เชน่ ยอดขายท่ตี อ้ งการของฝ่ายขาย จะสง่ ขอ้ มูลไปใหก้ ับฝ่ายผลิต เพื่อทาการผลติ สินค้าให้สอดคล้องกับปริมาณการขาย หรือ ปริมาณสินค้าที่ผลิตจะทาให้ทราบว่าปริมาณ
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 5 วตั ถดุ ิบที่ต้องใชใ้ นการผลติ มีจานวนเทา่ ใด และทาให้ฝา่ ยจดั ซ้ือสงั่ ซอ้ื วัตถดุ บิ จานวนเท่าใด และ ปริมาณการผลิตจะทาให้ฝ่ายผลิตทราบว่าต้องเตรียมจานวนคนงานจานวนเท่าใดเพื่อผลิต สนิ คา้ จานวนดงั กลา่ ว เป็นตน้ 3. งบประมาณเป็นเคร่ืองมือสาหรับการสร้างแรงจูงใจในการทางาน งบประมาณที่ดี ควรเปน็ งบประมาณท่ีช่วยจูงใจใหพ้ นักงานทางานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย ให้มากท่ีสุด การจัดทางบประมาณไม่สูงหรือต่าเกินไป จะเป็นการกระตุ้นให้พนักงานทางาน และถา้ มกี ารให้รางวัลกบั พนกั งานทที่ าได้ตามเปา้ หมาย จะทาให้เกดิ แรงจูงใจในการทางานมาก ข้ึน นอกจากน้ี งบประมาณเป็นเหมือนตัวช้ีวัดเพ่ือใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนักงานด้วยว่าทางานได้ตามแผนหรือไม่ เพ่ือให้ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมเป็นไปตาม เปา้ หมายหลกั ขององค์กร แตอ่ ย่างไรก็ตาม การจดั ทางบประมาณก็มขี อ้ จากัด เนอื่ งจากจัดทางบประมาณเป็น การวางแผนลว่ งหนา้ ซง่ึ เหตกุ ารณ์หรอื ปจั จัยต่างๆ ท่ีนามาใชใ้ นการประมาณตัวเลข เพื่อจัดทา งบประมาณ จะเป็นตัวเลขท่ีคาดการณ์ลว่ งหน้า แต่ในทางปฏบิ ัติจรงิ อาจมเี หตุการณ์บางอยา่ งท่ี ไม่เป็นไปตามท่คี าดการณ์เอาไว้ ทาใหก้ ารประมาณการมคี วามผิดพลาด และอีกประเด็นหนึ่งท่ี เป็นข้อจากัดคือ การจัดทางบประมาณต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย มาร่วม ปรึกษาหารอื กัน แต่ในความเป็นจริง อาจไม่ไดร้ ับความรว่ มมือจากผบู้ ริหารจากแผนกตา่ งๆ ทา ใหต้ วั เลขประมาณการท่ีจัดทาขึ้นไม่ประสบความสาเร็จ ทาให้งบประมาณไม่สามารถนามาใช้ เปน็ เคร่อื งมอื ในการบรหิ ารงานไดอ้ ย่างเต็มท่ี ประเภทของงบประมาณ งบประมาณหลัก (Master Budget) หรืองบประมาณประจาปี เป็นงบประมาณท่ีจัดทา ข้ึนล่วงหน้าสาหรับระยะเวลา 1 ปี เป็นงบประมาณท่ีครอบคลุมแผนงานของแผนกต่างๆ ใน องคก์ ร สาหรับช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง งบประมาณหลัก จะประกอบด้วยงบประมาณของหน้าท่ี งานต่างๆ ที่อยู่ในองค์กรจัดทาขึ้น ซ่ึงแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) งบประมาณดาเนินงาน (Operating Budget) และ 2) งบประมาณการเงิน (Financial Budget) งบประมาณการดาเนินงาน จะครอบคลุมกิจกรรมการดาเนินงานที่วางแผนไว้ของ องคก์ ร สาหรับชว่ งเวลาใดเวลาหน่งึ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ หไ้ ดร้ บั ผลกาไรตามเปา้ หมายขององค์กร โดยงบประมาณดาเนินงานของธุรกิจจะมีความแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับลักษณะการดาเนินงาน ของแต่ละธุรกิจ งบประมาณของธุรกิจผลิตสินค้า จะแตกต่างจากงบประมาณของธุรกิจซ้ือมา ขายไป และงบประมาณของธรุ กจิ บริการ ซึง่ จะอธบิ ายในรายละเอยี ดในหวั ข้อตอ่ ไป
6 - 6 การบญั ชีต้นทนุ 2 สาหรบั งบประมาณการเงิน เป็นงบประมาณท่เี น้นแหลง่ ที่มาของเงินทนุ เพือ่ รองรับการ ดาเนินงานของกิจการ เช่น การรับเงินและการจ่ายเงินจากการดาเนินงานตามปกติของธุรกิจ เงินท่ีลงทุนในสินทรัพยเ์ พื่อใชใ้ นการดาเนนิ งานหรอื โครงการลงทนุ อ่ืนๆ และการจัดหาเงินเพ่ือ นามาใช้ในการดาเนนิ งาน งบประมาณสาหรับกิจกรรมเหล่าน้ีจะเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ ดังน้ัน งบประมาณการเงินจะทาให้กิจการสามารถจัดทางบประมาณงบ แสดงฐานะการเงินได้ เพ่ือให้เข้าใจประเภทของงบประมาณหลักทั้งสองประเภท จะอธิบาย รายละเอียดแต่ละประเภท ดังนี้ 1. งบประมาณดาเนิ นงาน งบประมาณดาเนินงาน (Operational Budget) เป็นการจัดทางบประมาณที่เก่ียวกับ กิจกรรมการดาเนินงาน เช่น การขายสนิ คา้ การผลิต รวมไปถึงการซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าแรงงาน ทางตรง จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ คอื ใหไ้ ด้กาไรตามทต่ี ้องการ ในการจัดทางบประมาณดาเนินงาน จะประกอบด้วยงบประมาณ อะไรบ้างนั้น ข้ึนอยู่กับลักษณะของธุรกิจท่ีจัดทา เช่น ถ้าเป็นธุรกิจประเภทการผลิตสินค้า งบประมาณดาเนินงาน ประกอบด้วย 1.1. งบประมาณขาย 1.2. งบประมาณการผลติ 1.3 งบประมาณวัตถดุ บิ ทางตรง 1.4. งบประมาณค่าแรงงานทางตรง 1.5. งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ 1.6. งบประมาณต้นทนุ การผลติ 1.7. งบประมาณสนิ ค้าคงเหลอื 1.8. งบประมาณต้นทุนขาย 1.9. งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย 1.10. งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร 1.11. งบประมาณงบกาไรขาดทุน
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 7 2. งบประมาณการเงิน งบประมาณการเงิน (Financial Budget) เป็นงบประมาณที่แสดงให้ทราบถึงฐานะ การเงินของกจิ การ และการไดม้ าและใชไ้ ปของเงินสด ซ่ึงเก่ียวกับการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ ซึง่ ประกอบดว้ ย 2.1. งบประมาณเงินลงทนุ 2.2. งบประมาณเงินสด 2.3. งบประมาณแสดงฐานะการเงนิ 2.4. งบประมาณแสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของผู้ถอื หนุ้ 2.5. งบประมาณกระแสเงนิ สด นอกจากน้ี การจาแนกประเภทงบประมาณหลักหรืองบประมาณประจาปีเป็น งบประมาณดาเนินงานและงบประมาณการเงินดงั ทก่ี ล่าวข้างต้นแล้ว งบประมาณหลักสามารถ แบ่งตามลักษณะของธุรกิจ ซ่ึงสามารแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ งบประมาณสาหรับธุรกิจ การใหบ้ ริการ งบประมาณสาหรบั ธุรกิจซ้ือขายสนิ คา้ และ งบประมาณสาหรับธุรกิจผลติ สนิ ค้า ธุรกิจแต่ละประเภทจะมีลักษณะการดาเนินงานท่ีแตกต่าง ทาให้งบประมาณที่กิจการ จัดทาขึ้นจึงมีความแตกต่างกัน สาหรับธุรกิจผลิตสินค้า งบประมาณหลักจะประกอบด้วย งบประมาณหลกั มากกวา่ ธรุ กจิ ประเภทอน่ื เน่ืองจากมีลักษณะการดาเนินงานที่คอ่ นขา้ งซบั ซอ้ น และต้องผ่านกระบวนการหลายข้ันตอน เริ่มตั้งแต่กระบวนการผลิตสินค้า มีต้นทุนการผลิตมา เก่ียวข้อง ในขณะท่ธี ุรกิจซื้อขายสนิ ค้า และธุรกิจบริการไม่มีการผลิตสินค้า แต่ในกระบวนการ ขายสินค้าธุรกิจผลิตสินค้าและขายสินค้าให้กับลูกค้า จะเหมือนกับธุรกิจซื้อขายสินค้า ดังน้ัน งบประมาณเก่ียวกับการขายสินค้า จะมีงบประมาณหลักท่ีเหมือนกัน สาหรับธุรกิจการผลิต สนิ คา้ จะมีงบประมาณทีแ่ ตกต่างจากธุรกจิ ประเภทในส่วนของงบประมาณท่ีเกี่ยวกับต้นทุนการ ผลิต เช่น งบประมาณการผลิต งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง และงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต แต่งบประมาณการดาเนินงานอ่ืนๆ จะเหมือนกับธุรกิจซ้ือ ขายสินค้า และธุรกิจบริการ ซึ่งสามารถแสดงประเภทของงบประมาณหลักของธุรกิจแต่ละ ประเภท ดังแสดงในตารางท่ี 6.1 ได้ดงั นี้
6 - 8 การบัญชีต้นทุน 2 ตารางท่ี 6.1 งบประมาณหลักแยกตามประเภทของธุรกิจ ประเภทของ ธรุ กิจ ประเภทของธรุ กิจ ธรุ กิจ งบประมาณหลกั ผลิตสินค้า ธรุ กิจ บริการ งบประมาณขาย งบประมาณรายไดจ้ าก งบประมาณ ซื้อขายสินค้า การบรกิ าร ดาเนินงาน งบประมาณการผลิต งบประมาณขาย งบประมาณวตั ถดุ บิ ทางตรง - งบประมาณ งบประมาณค่าแรงงาน งบประมาณซื้อสนิ ค้า การเงิน ทางตรง งบประมาณสินคา้ คงเหลอื - งบประมาณค่าใช้จา่ ยการ ผลิต - - งบประมาณต้นทุนการผลิต งบประมาณสินคา้ คงเหลือ - - งบประมาณตน้ ทนุ ขาย งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการ - - ขาย งบประมาณค่าใชจ้ ่ายในการ - - บริหาร งบประมาณตน้ ทุนขาย งบประมาณกาไรขาดทนุ งบประมาณค่าใช้จ่ายใน - งบประมาณเงนิ ลงทุน การขาย งบประมาณค่าใช้จา่ ยใน งบประมาณเงนิ สด งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายใน การขาย งบประมาณแสดง การบริหาร งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยใน ฐานะการเงิน งบประมาณกาไรขาดทนุ การบรหิ าร งบประมาณแสดงการ งบประมาณเงินลงทุน งบประมาณกาไรขาดทุน เปล่ยี นแปลงสว่ นของ งบประมาณเงนิ สด งบประมาณเงนิ ลงทุน ผถู้ อื หนุ้ งบประมาณแสดง งบประมาณเงนิ สด งบประมาณกระแส ฐานะการเงนิ งบประมาณแสดง เงินสด งบประมาณแสดงการ ฐานะการเงิน เปลยี่ นแปลงส่วนของ งบประมาณแสดงการ ผถู้ ือหุ้น เปลี่ยนแปลงส่วนของ งบประมาณกระแส ผู้ถอื หุ้น เงินสด งบประมาณกระแส เงินสด
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 9 ความสมั พนั ธข์ องงบประมาณหลกั สาหรบั ธรุ กิจผลิตสินค้า การจดั ทางบประมาณแต่ละประเภทจะมีความสมั พันธก์ ัน จะเหน็ ไดว้ ่า งบประมาณขาย เป็นจดุ เริม่ ต้นของการจัดทางบประมาณ ซึ่งก่อนจัดทางบประมาณการขาย แผนกขายต้องทา การพยากรณ์ยอดขายของกิจการก่อนอันดับแรก โดยคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ท่ีมีผลต่อการ พยากรณ์ยอดขาย เช่น ยอดขายในอดตี สภาพเศรษฐกจิ สภาพการแข่งขนั คูแ่ ขง่ แนวโน้มของ อตุ สาหกรรม เป็นต้น เม่ือประมาณการยอดขายหรือพยากรณ์ยอดขายได้แล้ว แผนกขายจะ จัดทางบประมาณขาย เมือ่ มขี อ้ มูลจานวนสนิ ค้าทค่ี าดว่าจะขายไดแ้ ลว้ ขนั้ ตอ่ ไป คือการจดั ทางบประมาณการ ผลิต ซ่ึงแสดงจานวนสินค้าท่ีต้องผลิตเพ่ือให้เพียงพอกับสินค้าที่คาดว่าจะขายได้ในแต่ละ ช่วงเวลา ปริมาณสินค้าท่ผี ลติ อาจมคี วามแตกตา่ งจากปรมิ าณสินคา้ ทีข่ าย ซ่ึงขึน้ อยู่กบั นโยบาย สินค้าคงเหลือของกิจการ โดยนโยบายสินค้าคงเหลือนี้จะเป็นสิ่งท่ีกาหนดปริมาณของสินค้า คงเหลือ ซึง่ จะไปปรากฏอยู่ในงบประมาณสนิ ค้าคงเหลอื ดงั น้นั ขอ้ มูลท่ีนามาจัดทางบประมาณ การผลิตจะประกอบดว้ ยปรมิ าณการขายโดยประมาณ นโยบายสินค้าคงเหลือ คานวณเพ่ือหา วา่ แผนกผลิตควรผลติ สนิ คา้ จานวนเทา่ ใด เมอื่ ทราบจานวนสินค้าทค่ี าดว่าจะผลิตจากงบประมาณการผลติ แล้ว หลังจากน้ัน จดั ทา งบประมาณการซอ้ื วตั ถดุ บิ การจดั ทางบประมาณคา่ แรงงานทางตรง และการจดั ทางบประมาณ ค่าใช้จ่ายการผลติ ซึ่งงบประมาณการซื้อวัตถุดิบ ซ่ึงจะเป็นการประมาณการปริมาณวัตถุดิบที่ ตอ้ งซ้ือในแตล่ ะช่วงเวลา เพอื่ ใหเ้ พียงพอกับปริมาณการผลิตตามแผนการผลิต ปริมาณการซ้ือ วตั ถดุ บิ โดยประมาณจะเท่ากับเท่าใดน้ัน ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้วัตถุดิบ (ปริมาณการผลิต x อัตราการใช้วัตถุดิบต่อหน่วยสินค้าท่ีผลิต) และนโยบายสารองวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดของ ธรุ กิจ นอกจากนี้ จัดทางบประมาณค่าแรงงานทางตรง โดยพิจารณาจากจานวนชั่วโมง แรงงานทางตรงที่ใช้ในการผลิตตามแผนการผลิต และคานึงถึงอัตราค่าแรงงานทางตรงต่อ ชว่ั โมง ซึง่ ผลลพั ธ์ท่ีได้คอื ต้นทนุ ค่าแรงงานทางตรงทใ่ี ชใ้ นการผลิต และจดั ทางบประมาณคา่ ใช้จ่ายการผลติ ซ่งึ เป็นการประมาณการค่าใช้จ่ายการผลิตแต่ ละชว่ งเวลา โดยการแยกประเภทคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตออกเป็นผันแปรและคงที่ และประมาณการ วา่ ตอ้ งใชค้ ่าใช้จา่ ยการผลติ แต่ละรายการจานวนเท่าใดสาหรบั การผลติ ตามทว่ี างแผนไว้ หลังจากนั้น นาข้อมูลที่ได้จากปัจจัยการผลิตท่ีประมาณการได้ทั้งสามประเภท ซึ่ง ประกอบด้วย งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง และงบประมาณ ค่าใชจ้ า่ ยการผลิต มาจัดทางบประมาณต้นทุนการผลิต จากงบประมาณย่อยทั้งสามงบ ทาให้ กจิ การทราบวา่ ตน้ ทุนการผลิตโดยประมาณเทา่ กับเท่าใด โดยรวมข้อมูลจากงบทั้งสามงบ เพ่ือ
6 - 10 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 จัดทาเปน็ งบประมาณต้นทุนการผลิต และต้นทุนการผลิตโดยประมาณจะช่วยกิจการทราบว่า ตน้ ทนุ การผลิตตอ่ หน่วยของสินค้าท่ีผลติ ได้มีต้นทุนเทา่ กบั เท่าใด ต่อมาจัดทางบประมาณสินค้าคงเหลือจากการคานวณต้นทุนการผลิตต่อหน่วย โดยประมาณ และนาไปจดั ทางบประมาณตน้ ทนุ ขาย นอกจากน้ี ข้อมูลจากงบประมาณขายจะช่วยให้กิจการสามารถจัดทางบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ทั้งในส่วนท่ีเป็นผันแปรและคงที่ โดยข้อมูลต่างๆ จาก งบประมาณด้านการดาเนินงานเหล่าน้ี จะช่วยให้กิจการสามารถจัดทางบประมาณงบกาไร ขาดทนุ ได้ ซ่งึ การจดั ทางบประมาณกาไรขาดทนุ ตวั เลขทใี่ ส่ในงบประมาณกาไรขาดทุน จะเอา ตัวเลขประมาณการจากจากงบประมาณการขาย งบประมาณต้นทุนขาย และงบประมาณ คา่ ใช้จ่ายในการขายและบรหิ าร รวมไปถึงดอกเบี้ยโดยประมาณจากงบประมาณการลงทนุ หลังจากนั้น จะนาข้อมูลต่างๆ จากงบประมาณดาเนินงานแต่ละประเภทมาจัดทา งบประมาณการเงิน ซ่ึงแต่ละงบจะมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกับงบประมาณการเงิน ซ่ึงได้แก่ งบประมาณเงินสด ซ่ึงแสดงข้อมูลเก่ียวกับการรับเงินและการจ่ายเงินของกิจการในแต่ละ ชว่ งเวลา การรับเงินต้องอาศัยข้อมูลจากงบประมาณขายร่วมกับนโยบายการรับชาระเงินของ กิจการ ส่วนการจ่ายเงินต้องอาศัยข้อมูลจากงบประมาณการซ้ือวัตถุดิบและนโยบายการจ่าย ชาระหนี้ควบคู่กัน งบประมาณค่าแรงงานทางตรง งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต และ งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการขายและบรหิ าร ร่วมกบั นโยบายการจ่ายเงินของกิจการ เพื่อจัดทา งบประมาณการเงนิ นอกจากนี้ กจิ การจาเป็นตอ้ งวางแผนเกีย่ วกับการลงทนุ เพ่อื รองรับการผลิตทว่ี างแผน ไว้ เช่น กจิ การอาจวางแผนการสรา้ งโรงงาน หรอื ซอื้ เครอ่ื งจักร เป็นต้น ซึ่งการจ่ายเงินสาหรับ การลงทนุ ดังกล่าว จะไปปรากฏเป็นสว่ นหนงึ่ ในงบประมาณเงนิ สดดว้ ย และเม่อื กิจการมีเงินสด ไมเ่ พียงพอสาหรับการดาเนนิ งานหรอื การลงทนุ กิจการจาเปน็ ตอ้ งวางแผนหาแหลง่ เงินทนุ จาก ภายนอก เชน่ กเู้ งนิ จากธนาคาร หรอื ขายห้นุ เพิม่ ทุน เป็นตน้ ไมว่ ่าจะเปน็ การกยู้ มื เงินระยะส้ัน หรอื ระยะยาว หรือการจัดหาเงินจากเจ้าของผ่านการเพิ่มทุน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวก็จะปรากฏใน งบประมาณเงินสดดว้ ยเชน่ กัน ดงั นน้ั ขอ้ มลู จากงบประมาณดาเนนิ งาน และงบประมาณการเงนิ จะช่วยให้กจิ การ จดั ทางบประมาณงบแสดงฐานะการเงนิ (Statement of Budgeted Financial Position) ซ่ึงจะ แสดงขอ้ มลู เกยี่ วกบั สนิ ทรพั ย์โดยประมาณของกิจการ เชน่ เงินสด ลกู หนี้การค้า สนิ ค้าคงเหลอื และทีด่ นิ อาคาร และอปุ กรณ์ เป็นตน้ หนสี้ นิ และส่วนของเจ้าของโดยประมาณ เช่น เจา้ หนี้ การค้า เงนิ กยู้ มื จากธนาคารทั้งระยะสนั้ และระยะยาว ทนุ เรือนหนุ้ และกาไรสะสม เปน็ ต้น
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 11 จากความสัมพันธ์ของงบประมาณสาหรับธุรกิจผลิตสินค้าดังกล่าวข้างต้น สามารถ แสดงความสัมพันธ์ของ งบประมาณดาเนินงาน และงบประมาณการเงินแต่ละงบ ดังแสดงใน ภาพที่ 6.1 งบประมาณดาเนิ นงาน งบประมาณการขาย นโยบายสินค้าคงเหลอื งบประมาณการผลติ งบประมาณวัตถุดบิ ทางตรง งบประมาณ งบประมาณ คา่ แรงงานทางตรง คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต งบประมาณต้นทุนการผลิต งบประมาณสนิ คา้ คงเหลือ งบประมาณต้นทุนขาย งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการขาย งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร งบประมาณ กาไรขาดทนุ งบประมาณเงนิ ลงทุน งบประมาณเงนิ สด งบประมาณการเงิน งบประมาณ แสดงฐานะการเงิน งบประมาณ กระแสเงนิ สด ภาพที่ 6.1 ความสมั พนั ธข์ องงบประมาณประเภทต่างๆ สาหรบั ธุรกจิ ผลิตสนิ ค้า
6 - 12 การบญั ชตี ้นทุน 2 การจดั ทางบประมาณสาหรบั ธรุ กิจผลิตสินค้า การจัดทางบประมาณหลักของกิ จการทั่วไปจะประกอบด้วยงบประมาณ ย่อยหลา ย ประเภท เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งข้ึนเกี่ยวกับการจัดทางบประมาณ จะแสดงรายละเอียดในการ จดั ทางบประมาณแต่ละประเภทตามลาดับ ดังน้ี 1. งบประมาณการขาย งบประมาณการขาย (Sales Budget) เป็นงบประมาณทกี่ ิจการต้องจัดทาขึ้นเป็นลาดับ แรก เนือ่ งจากเปน็ ขอ้ มลู เบือ้ งต้นใหก้ บั แผนกอนื่ ๆ ซึ่งการจดั ทางบประมาณการขายเกิดขึน้ จาก การพยากรณ์ยอดขาย ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการพยากรณ์ยอดขาย ได้แก่ ยอดขายในอดีต เป้าหมายหลักขององค์กร นโยบายของบรษิ ทั กลยุทธ์ทางการตลาดหรือแผนการตลาด สภาพ เศรษฐกจิ สภาพการแข่งขนั คู่แข่ง แนวโน้มของอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เป็นต้น ซึ่งการพยากรณ์ยอดขายอาจใช้วิธีวิเคราะห์ปัจจัยตลาด การใช้วิธีการทางสถิติ การ สารวจความต้องการของผู้ซื้อ วิเคราะห์ยอดขายในอดีต และหาแนวโน้มยอดขายในอนาคต การพยากรณ์โดยใช้ความเห็นของผู้บริหารระดับสูง หรือใช้ความเห็นจากกลุ่มพนักงานขาย และการวิเคราะหอ์ ตุ สาหกรรมท่ีกิจการดาเนนิ อยู่ เปน็ ตน้ (ธนภร เอกเผา่ พันธุ์, 2554) การประมาณยอดขายเพื่อจัดทางบประมาณการขาย ต้องใช้ข้อมูลเก่ียวกับการ พยากรณย์ อดขายเพ่อื หาว่าปรมิ าณการขายโดยประมาณเท่ากบั เทา่ ใด และราคาขายต่อหน่วย ของสินคา้ ที่คาดว่าจะขายได้ ซึง่ สามารถแสดงการคานวณได้ดังนี้ ยอดขายโดยประมาณ (บาท) = ปริมาณการขายโดยประมาณ(หน่วย) x ราคาขายต่อหนว่ ย ในกรณที ีก่ ิจการมนี โยบายในการขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เชื่อ กิจการต้องประมาณการว่าจะมี รบั ชาระหน้ีจากลูกหนกี้ ารค้าอยา่ งไร เนื่องจากมีผลต่อการคานวณเงินสดรับโดยประมาณจาก การรับชาระหน้ีจากลูกหนี้ที่เกิดจากขายสินค้า เพ่ือจัดทางบประมาณเงินสด รวมไปถึงยอด ลูกหน้คี งเหลือปลายงวด ซ่ึงจะไปแสดงในงบประมาณงบแสดงฐานะการเงนิ ต่อไป เพ่อื ให้เข้าใจมากย่ิงขึ้นในการจัดทางบประมาณการขาย จะแสดงรายละเอยี ดการจดั ทา งบประมาณการขาย ดังแสดงในตวั อย่างท่ี 6.1
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 13 ตวั อยา่ งท่ี 6.1 บริษัท อนุรักษ์ไทย จากัด เป็นกิจการที่ผลิตและจาหน่ายสินค้าประเภทกระเป๋าท่ีทา จากผ้าฝ้าย โดยทาการผลติ และขายสินค้าเพยี งชนดิ เดียว ผบู้ ริหารของบรษิ ัทกาลงั วางแผนการ ดาเนินงานและต้องการจัดทางบประมาณหลักประจาปี 25X2 โดยมีนโยบายในการจัดทา งบประมาณเปน็ รายไตรมาส โดยมงี บแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X1 ดงั น้ี บริษัท อนรุ ักษ์ไทย จากัด งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 สินทรพั ย์ หน่วย : บาท สินทรพั ยห์ มนุ เวียน เงนิ สด 610,000 ลกู หน้กี ารคา้ 100,000 สนิ ค้าคงเหลือ สนิ คา้ สาเรจ็ รูป (1,000 @90) 90,000 วัตถดุ บิ (260 @ 50) 13,000 103,000 รวมสินทรัพย์หมนุ เวียน 813,000 สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น ทีด่ นิ อาคารและอปุ กรณ์ ที่ดิน 2,900,000 รวมสินทรพั ย์ไม่หมุนเวียน 2,900,000 รวมสนิ ทรัพย์ทัง้ สน้ิ 3,713,000 หนี้สินหมนุ เวยี น หนี้สินและส่วนของผถู้ ือห้นุ เจา้ หนก้ี ารคา้ 100,000 รวมหน้ีสนิ หมุนเวยี น 100,000 หนี้สินไมห่ มุนเวียน 744,000 844,000 เงินกจู้ านอง 744,000 รวมหน้สี นิ ไมห่ มุนเวียน รวมหนสี้ นิ ทง้ั สิ้น
6 - 14 การบัญชตี น้ ทนุ 2 บรษิ ทั อนุรักษไ์ ทย จากดั งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 ส่วนของผถู้ อื ห้นุ หนว่ ย : บาท ทนุ เรือนหุ้น 2,000,000 กาไรสะสม 869,000 รวมสว่ นของผถู้ อื หุ้น 2,869,000 รวมหนส้ี นิ และส่วนของผูถ้ ือห้นุ 3,713,000 ขอ้ มลู เพ่ิมเติม 1. บริษัทมขี ้อมลู การพยากรณ์ยอดขายตลอดทง้ั ปี ดังนี้ ปริมาณการขายโดยประมาณ ไตรมาส (หนว่ ย) ไตรมาสท่ี 1 4,500 ไตรมาสที่ 2 6,500 ไตรมาสท่ี 3 7,000 ไตรมาสท่ี 4 8,200 รวม 26,200 2. นโยบายในการขายสินค้า 2.1.บรษิ ทั มีการขายสนิ ค้าเป็นเงนิ เชอ่ื ราคาขาย 100 บาท 2.2. นโยบายในการรบั ชาระหนี้ในไตรมาสท่ีขายเท่ากับ 50% ของยอดขาย ท่ี เหลืออีก 50% รับชาระในไตรมาสถดั ไป 3. มีลกู หนี้คงเหลือยกมา 100,000 บาท จากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี วันที่ 31 ธนั วาคม 25X1 จากข้อมูลขา้ งต้น สามารถนามาจดั ทางบประมาณการขาย ได้ดังนี้
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 15 บรษิ ัท อนุรักษไ์ ทย จากัด หนว่ ย : บาท งบประมาณการขาย รวม ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X2 ไตรมาส 1234 ปริมาณขาย (หน่วย) 4,500 6,500 7,000 8,200 26,200 ราคาขายตอ่ หนว่ ย 200 200 200 200 200 ยอดขายโดยประมาณ (บาท) 900,000 1,300,000 1,400,000 1,640,000 5,240,000 ตารางแสดงการรบั ชาระหนี้จากลูกหนี้* หน่วย : บาท 1 2 3 4 รวม ลูกหนี้คงเหลอื ตน้ งวด 100,000 - - - 100,000 ขายในไตรมาสท่ี 1 450,000 450,000 - - 900,000 ขายในไตรมาสที่ 2 - 650,000 650,000 - 1,300,000 ขายในไตรมาสท่ี 3 - - 700,000 700,000 1,400,000 ขายในไตรมาสที่ 4 - - - 820,000(1) 820,000(2) รวมเงินสดเกบ็ จากลกู คา้ 550,000 1,100,000 1,350,000 1,520,000 4,520,000 *นโยบายในการรบั ชาระหนี้ : 50 %ของยอดขายโดยประมาณเกบ็ เงินสดไดใ้ นไตรมาสที่ ขาย และ 50 %ของยอดขายโดยประมาณเกบ็ เงนิ สดได้ในไตรมาสถดั จากไตรมาสท่ขี าย (1) แสดงจานวนเงินรับชาระหนี้ได้จากยอดขายในไตรมาสที่ 4 คือ ยอดขาย 1,640,000 บาท ซึง่ รบั ชาระหนี้ 50% (1,640,000 x 50 %) คดิ เปน็ เงิน 820,000 บาท (2) ยอดทเ่ี หลือของยอดขายไตรมาสท่ี 4 หักออกจากเงินท่ีได้รับชาระแล้ว 820,000 บาท ท่ีเหลือจะเป็นยอดลูกหน้ีคงเหลือปลายงวด 31 ธันวาคม 25X2 จานวนเท่ากับ 820,000 บาท (1,640,000 - 820,000)
6 - 16 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 2. งบประมาณการผลิต งบประมาณการผลิต (Production Budget) เป็นงบประมาณแสดงปริมาณสินค้าท่ี กิจการคาดว่าจะผลิต เพื่อให้เพียงพอกับปริมาณสนค้าที่คาดว่าจะขายได้ตามแผนการตลาด โดยปรมิ าณการผลิตโดยประมาณ คานวณจากปริมาณการขายจากงบประมาณขายมาพิจารณา ร่วมกับนโยบายการกาหนดสินค้าคงเหลือของกิจการ ดังนั้น ปริมาณสินค้าที่กิจการคาดว่าจะ ผลติ จึงขึน้ กับ 2.1. ปริมาณของสนิ ค้าคงเหลือที่ยกมาจากงวดท่ีแลว้ (สนิ คา้ คงเหลือต้นงวด) 2.2. ปริมาณของสินค้าท่ีคาดว่าจะขาย (จากการพยากรณ์ยอดขาย หรือจาก งบประมาณการขาย) 2.3. ปรมิ าณของสนิ ค้าคงเหลือทจ่ี ะสารองไว้ในงวดถดั ไป (สนิ คา้ คงเหลือปลายงวด) ดงั น้นั ปริมาณสนิ ค้าทคี่ าดวา่ จะผลติ ในแต่ละงวด สามารถคานวณได้ดังนี้ ปรมิ าณสินค้าทจี่ ะผลติ = ปรมิ าณการขาย + สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด - สนิ ค้าคงเหลอื ต้นงวด ตวั อยา่ งที่ 6.2 จากขอ้ มลู ตัวอยา่ งท่ี 6.1 ของบรษิ ทั อนรุ กั ษไ์ ทย จากัด สมมติให้บริษัทมีนโยบายที่จะ สารองสินค้าคงเหลือแต่ละไตรมาสเท่ากับ 10% ของปริมาณการขายในไตรมาสถัดไป และ บริษัทคาดว่าในไตรมาสท่ี 4 ของปี 25X2 มีสินค้าคงเหลือยกไปไตรมาสท่ี 1 ของปี 25X3 จานวน 900 หน่วย และจากงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 บริษัทมี สินคา้ คงเหลอื ปลายงวด จานวน 1,000 หนว่ ย จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สามารถนามาจัดทางบประมาณการผลิต ไดด้ งั น้ี
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 17 บรษิ ทั อนุรักษไ์ ทย จากดั งบประมาณการผลิต สาหรบั ปสี ้นิ สดุ 31 ธนั วาคม 25X2 ปริมาณการขาย (หนว่ ย) 1 ไตรมาส รวม บวก สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด 4,500 23 4 (หน่วย) ที่ตอ้ งการ (1) 6,500 7,000 8,200 26,200 650 ปรมิ าณสินค้าที่ตอ้ งการ 5,150 700 820 900(3) 900(4) หกั สนิ คา้ คงเหลอื ต้นงวด(2) 1,000(5) 7,200 7,820 9,100 27,100 ปริมาณสนิ คา้ ที่ตอ้ งการผลิต 4,150 650 700 820 1,000(4) 6,550 7,120 8,280 26,100 (1) 10% ของปริมาณการขายในไตรมาสถัดไป (2) สนิ ค้าคงเหลือปลายงวดก่อน จะเปน็ สนิ ค้าคงเหลือต้นงวดของงวดถดั ไป (3) กาหนดสนิ ค้าคงเหลอื ยกไปไตรมาสที่ 1 ของปี 25x3 โดยสินค้าคงเหลือไตรมาส 4 ของปี 25x2 ก็คอื สนิ ค้าคงเหลอื ยกไปไตรมาส 1 ในปี 25x3 (4) จานวนหน่วยของสินค้าคงเหลือต้นงวดและปลายงวดของปีท่ีจัดทางบประมาณ ไม่ใชจ่ านวนรวมของทงั้ ปี (5) เปน็ สินคา้ คงเหลอื ยกมาจากปี 25x1 (ในงบแสดงฐานะการเงนิ ปี25x1)
6 - 18 การบญั ชีต้นทุน 2 3. งบประมาณวตั ถดุ ิบทางตรง หลงั จากจัดทางบประมาณการผลติ แล้ว กจิ การจะต้องจัดทางบประมาณท่ีเก่ียวข้องกับ ต้นทุนการผลิต ได้แก่ งบประมาณวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials Budget) งบประมาณ คา่ แรงงานทางตรง และงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ สาหรับงบประมาณวตั ถุดบิ ทางตรง จะแสดงจานวนวตั ถุดิบทางตรงที่กิจการต้องจัดซ้ือ เพ่ือประมาณการจดั ซื้อวตั ถุดบิ ทางตรงให้เพยี งพอกับจานวนที่ต้องการใช้สาหรับการผลิตตาม แผนการผลิต (จากงบประมาณการผลิต) รวมทั้งสารองไว้เป็นวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด เพื่อ ป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบสาหรับที่อาจจะใช้ในการผลิตงวดต่อไป หรือถ้าหากกิจการมี วัตถุดิบทางตรงคงเหลือยกมาจากงวดที่แล้ว จะต้องนามาพิจารณาประกอบด้วย ดังนั้นการ คานวณจานวนวัตถุดิบทางตรงท่ตี อ้ งการซื้อ สามารถคานวณได้ดังน้ี วตั ถุดิบทางตรงท่ตี ้องการใช้ในการผลติ XXX(1) บวก วตั ถุดิบทางตรงคงเหลือปลายงวด XXX รวมวัตถดุ ิบทางตรงทต่ี อ้ งการ XXX XXX หัก วตั ถุดบิ ทางตรงคงเหลือตน้ งวด XXX ปรมิ าณวัตถดุ ิบทางตรงทต่ี ้องการซ้อื โดยประมาณ(หน่วย) (1) ปรมิ าณวัตถุดบิ ทางตรงท่ตี อ้ งการใช้ในการผลิต = ปริมาณการผลิต x อัตราการใช้ วัตถดุ บิ ทางตรงตอ่ หนว่ ยทีผ่ ลติ โดยปกติแลว้ การประมาณการซอ้ื วตั ถุดิบทางตรง จะมีนโยบายการจ่ายชาระหนี้ให้กับ เจา้ หนีด้ ว้ ย ดงั นน้ั กจิ การมักจะแสดงรายการชาระเงนิ แกเ่ จ้าหนี้ไวท้ างดา้ นท้ายของงบประมาณ ด้วย เพ่ือใชข้ ้อมูลไปจัดทางบประมาณเงนิ สดตอ่ ไป ตวั อยา่ งท่ี 6.3 จากข้อมลู ตวั อยา่ งที่ 6.1 ของบริษัท อนุรักษ์ไทย จากัด สมมติให้บริษัทมีอัตราการใช้ วัตถดุ บิ ทางตรง ซึ่งในท่นี ้คี ือ ผา้ ฝา้ ยเพยี งอย่างเดียว โดยในการผลิตกระเป๋า 1 ใบ บริษัทจะใช้ วตั ถดุ บิ ทางตรงจานวน 0.5 เมตร ผ้าฝ้ายราคาเมตรละ 50 บาท โดยบริษัทฯ มีนโยบายท่ีจะสารองวัตถุดิบทางตรงปลายงวดเท่ากับ 10% ของจานวน วตั ถดุ ิบทต่ี ้องการใชใ้ นการผลติ สาหรับไตรมาสถัดไป และนโยบายการซ้ือและการจ่ายชาระหน้ี ชาระเงนิ ในไตรมาสทีม่ ีการซอ้ื 50% ท่เี หลอื นาไปจา่ ยในไตรมาสถัดไป 50%
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 19 นอกจากนี้บรษิ ทั คาดวา่ ในไตรมาสที่ 4 ของปี 25X2 มีวัตถุดิบคงเหลือยกไปไตรมาสท่ี 1 ของปี 25X3 จานวน 200 เมตร และจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X1 บริษัทมวี ตั ถุดิบทางตรงคงเหลือจานวน 260 เมตร จากขอ้ มูลขา้ งต้น สามารถนามาจดั ทางบประมาณวัตถดุ บิ ทางตรง ไดด้ งั น้ี บริษัท อนรุ ักษ์ไทย จากัด งบประมาณวัตถดุ บิ ทางตรง สาหรบั ปสี ิน้ สุด 31 ธันวาคม 25X2 หนว่ ย : บาท ไตรมาส รวม ปริมาณการผลติ (1) (หน่วย) 1 234 วัตถดุ ิบท่ใี ช้ในการผลติ ตอ่ 4,150 6,550 7,120 8,280 26,100 หนว่ ย 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 จานวนวัตถดุ ิบทางตรงท่ี ตอ้ งการใช้ในการผลิต (เมตร) 2,075 3,275 3,560 4,140 13,050 บวก วัตถุดบิ ทางตรงคงเหลือ ปลายงวดท่ตี อ้ งการ(2) 327.5 356 414 200(4) 200(5) 2,403 3,631 3,974 4,340 13,250 จานวนวัตถดุ ิบทางตรง หกั วตั ถุดิบทางตรงคงเหลือ 260(6) 327.5 356 414 260(5) ตน้ งวด(3) 2,143 3,304 3,618 3,926 12,990 จานวนวตั ถดุ ิบทตี่ ้องซอ้ื 50 50 50 50 50 ราคาวัตถดุ ิบตอ่ หน่วย 107,125 165,175 180,900 196,300 649,500 ตน้ ทนุ การซ้อื วตั ถดุ ิบทางตรง (1) ปริมาณการผลติ มาจากงบประมาณการผลิต (2) จานวนวตั ถุดบิ คงเหลือปลายงวด เทา่ กับ 10% จากปรมิ าณการใช้ในไตรมาสถัดไป (3) วัตถุดบิ คงเหลือปลายงวดของไตรมาสที่แล้ว จะเปน็ วตั ถุดบิ คงเหลอื ต้นงวดของไตร มาสถัดไป (4) วัตถุดิบคงเหลือยกไปไตรมาสท่ี 1 ของปี 25x3 ก็คือวัตถุดิบคงเหลือไตรมาสท่ี 4 ของปี 25X2
6 - 20 การบญั ชีต้นทุน 2 (5) จานวนหนว่ ยของวัตถุดิบคงเหลือทีต่ อ้ งการที่จัดทาในงบประมาณไม่ใช่จานวนรวม ของทั้งปี (6) เป็นวตั ถดุ บิ คงเหลือยกมาจากปี 25x2 (ในงบแสดงฐานะการเงินปี25X1) สาหรบั ตารางการจ่ายชาระหนี้โดยปกติจะแสดงสอบทานงบประมาณวัตถุดิบทางตรง โดยต้องพิจารณาถึงเจ้าหน้ีค่าวัตถุดิบทางตรงท่ียกมาจากงวดที่แล้วถ้ามีรวมกับนโยบายการ ชาระหน้ีนอกจากนี้ตารางการจ่ายชาระหน้ีจะแสดงยอดเจ้าหน้ีคงเหลือปลายงวดเพ่ือเป็น รายการหน่ึงในงบประมาณงบแสดงฐานะการเงนิ สมมติบริษัท อนุรักษ์ไทย จากัดมีนโยบายจะใช้จ่ายชาระเงินแก่เจ้าหน้ีค่าวัตถุดิบ ทางตรงจานวน 50 % ของยอดซื้อในไตรมาสที่ซ้ือ และจ่ายชาระที่เหลืออีก 50 % ในไตรมาส ถัดไปและจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 บริษัทมีเจ้าหน้ีค่าวัตถุดิบ ทางตรงจานวน 100,000 บาท ตารางแสดงการจ่ายชาระเงินแก่เจ้าหนี้ หนว่ ย : บาท 1 2 3 4 รวม เจา้ หนย้ี กมา 1 ม.ค. 25X1 100,000.00 100,000.00 ซอ้ื ในไตรมาสที่ 1 53,562.50 53,562.50 107125.00 ซอ้ื ในไตรมาสที่ 2 82,587.50 82,587.50 165175.00 ซอื้ ในไตรมาสท่ี 3 90,450.00 90,450.00 180,900.00 ซือ้ ในไตรมาสที่ 4 98,150.00 98,150.00 รวมเงินสดทจี่ ะต้องจา่ ย ซอ้ื วตั ถุดิบ 153,562.50 136,150.00 173,037.50 188,600.00 651,350.00 4. งบประมาณค่าแรงงานทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor Budget) จดั แสดงจานวนชั่วโมงแรงงาน ทางตรงทีต่ อ้ งการใช้รวมถึงตน้ ทุนแรงงานทางตรงท่ีจะใช้ในการผลิตสาหรับแต่ละงวดเพ่ือนาไป จดั ทางบประมาณเงินสดต่อไปในการคานวณจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงท่ีต้องการใช้จะนา ขอ้ มลู มาจากงบประมาณการผลติ ซึ่งสามารถแสดงการคานวณเป็นข้นั ตอนได้ดงั น้ี จานวนชัว่ โมงแรงงานทางตรง = ปรมิ าณสินคา้ ที่จะผลติ x จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรง ท่ีตอ้ งการ(ช่ัวโมง) ในแตล่ ะงวด ทตี่ อ้ งการใชใ้ นการผลติ สนิ ค้า 1 หน่วย
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 21 สาหรับการคานวณตน้ ทุนคา่ แรงงานทางตรง สามารถคานวณ ไดด้ งั น้ี ต้นทุนคา่ แรงงานทางตรง (บาท) = จานวนชวั่ โมงแรงงาน X อตั ราค่าแรงงานทางตรง ทางตรงท่ีตอ้ งการ (ชั่วโมง) ต่อชั่วโมง งบประมาณแรงงานทางตรง เป็นงบประมาณท่ีแสดงรายการเก่ียวกับการประมาณว่า กจิ การต้องการแรงงานกคี่ น เพื่อให้เพยี งพอกับปรมิ าณสินค้าที่คาดว่าจะผลิตได้ เพ่ือไม่ให้เกิด การขาดแคลน และกิจการสามารถวางแผนได้ว่าตอ้ งมีการฝกึ อบรมแรงงานอย่างไรจึงเพียงพอ ไมใ่ ชก่ ารผลิตหยดุ ชะงักเน่ืองจากปัญหาการขาดแคลนแรงงานเกิดขน้ึ ตวั อย่างที่ 6.4 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 6.1 ของบริษัท อนุรักษ์ไทย จากัด สมมติให้บริษัทใช้จานวน ช่ัวโมงแรงงานทางตรง 2 ช่ัวโมงต่อการผลิตสินค้าหนึ่งหน่วย โดยกาหนดอัตราค่าแรงงาน เทา่ กบั 30 บาทต่อชั่วโมง จากขอ้ มูลขา้ งต้น สามารถนามาจดั ทางบประมาณคา่ แรงงานทางตรง ได้ดงั นี้ บริษทั อนรุ ักษ์ไทย จากัด งบประมาณคา่ แรงงานทางตรง สาหรับปสี ้นิ สุด 31 ธนั วาคม 25X2 หน่วย : บาท ไตรมาส 1 2 3 4 รวม จานวนหน่วยผลิต (1)(หน่วย) 4,150 6,550 7,120 8,280 26,100 จานวนช่ัวโมงแรงงานทใี่ ช้ตอ่ 2 2 22 2 หน่วย จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงท่ี 8,300 13,100 14,240 16,560 52,200 ต้องการทง้ั หมด(ชว่ั โมง) อตั ราค่าแรงงานต่อชวั่ โมง (บาท) 30 30 30 30 30 ตน้ ทนุ คา่ แรงงานทางตรง (บาท) 249,000 393,000 427,200 496,800 1,566,000 (1) ปรมิ าณการผลิต มาจากงบประมาณการผลติ
6 - 22 การบัญชีต้นทนุ 2 จากงบประมาณแรงงานข้างต้นสมมุติว่าแรงงานทางตรงทุกคนได้รับค่าแรงในอัตรา เดียวกนั ซึง่ ในความเป็นจรงิ คา่ จา้ งแรงงานแต่ละคนอาจไดร้ บั อัตราค่าแรงท่ีไม่เท่ากันข้ึนอยู่กับ งานท่ีทา ประสบการณ์ หรือความชานาญของคนงานแต่ละคน ดังน้ัน การจัดทางบประมาณ ค่าแรงงานทางตรง อาจต้องแยกกลมุ่ คนที่ทางานของแตล่ ะแผนก 5. งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead Budget) จะแสดงค่าใช้จ่าย การผลิตท่ีนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง เช่น ค่าเช่าโรงงาน และ ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆท่ีเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตในการแสดงรายละเอียดในงบประมาณ คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตส่วนใหญจ่ ะแยกเป็นค่าใช้จ่ายการผลติ สว่ นท่แี ปรผันและส่วนที่คงที่ออกจาก กัน นอกจากน้ีทางงบประมาณมักจะแสดงจานวนเงินสดที่กิจการต้องจ่ายเป็นรูปตัวเงินเพ่ือ เตรียมข้อมูลบริษัททางบประมาณเงินสดเนื่องจากมีรายการค่าใช้จ่ายการผลิตบางรายการที่ กิจการมิได้จา่ ยในรปู ของเงินสด เช่น คา่ เส่ือมราคา หนีส้ งสยั จะสูญ คา่ ตดั จาหน่ายสินทรัพย์ไม่ มีตัวตน เปน็ ต้น ตวั อย่างท่ี 9.5 จากขอ้ มลู ตวั อยา่ งที่ 6.1 ของบริษัท อนุรกั ษ์ไทย จากดั สมมติให้บรษิ ัทมคี ่าใช้จา่ ยการ ผลติ ดงั น้ี นโยบายเกย่ี วกับค่าใช้จ่ายการผลิต ของบรษิ ัท อนรุ ักษไ์ ทย จากดั มดี ังนี้ 1. กาลงั การผลิตปกติ 10000 ใบ จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงปกติ 20000 ช่ัวโมง 2. อตั ราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตผนั แปร 2.1. แรงงานทางอ้อม 2 บาทต่อชว่ั โมง 2.2. ค่าใชจ้ ่ายทางอ้อมอืน่ ๆ 1 บาทตอ่ ชัว่ โมง 3. ค่าใชจ้ ่ายการผลติ คงทตี่ อ่ ปี มดี งั น้ี 3.1. เงนิ เดือนผูจ้ ัดการโรงงาน 137,600 บาท 3.2. คา่ ประกนั ภัย 100,000 บาท 3.3. ค่าเสื่อมราคา 48,000 บาท
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 23 จากขอ้ มูลข้างต้น สามารถนามาจดั ทางบประมาณคา่ แรงงานทางตรง ไดด้ ังนี้ บริษทั อนุรักษไ์ ทย จากัด งบประมาณค่าใชจ้ ่ายการผลิต สาหรบั ปีสนิ้ สดุ 31 ธันวาคม 25X2 หน่วย : บาท ไตรมาส 1 2 3 4 รวม จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงที่ใช้ 8,300 13,100 14,240 16,560 52,200 ในการผลติ (1) (ช่ัวโมง) ค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปร แรงงานทางออ้ ม (2บาท/ชม.) 16,600 26,200 28,480 33,120 104,400 คา่ ใชจ้ า่ ยทางออ้ มอื่นๆ(1บาท/ชม.) 8,300 13,100 14,240 16,560 52,200 รวมคา่ ใช้จ่ายการผลิตผันแปร 24,900 39,300 42,720 49,680 156,600 ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่: 34,400 34,400 34,400 34,400 137,600 เงินเดอื นผูจ้ ดั การโรงงาน คา่ ประกนั ภยั 25,000 25,000 25,000 25,000 100,000 ค่าเสอ่ื มราคา 12,000 12,000 12,000 12,000 48,000 รวมค่าใช้จ่ายการผลิตคงท่ี 71,400 71,400 71,400 71,400 285,600 รวมคา่ ใช้จ่ายการผลติ 96,300 110,700 114,120 121,080 442,200 หัก ค่าเสอื่ มราคา (2) 12,000 12,000 12,000 12,000 48,000 เงนิ สดที่ตอ้ งจ่าย 84,300 98,700 102,120 109,080 394,200 (1) จากงบประมาณคา่ แรงงานทางตรง (2) ค่าเสื่อมราคา เป็นค่าใชจ้ า่ ยทไี่ มไ่ ดจ้ ่ายเป็นเงนิ สด ดงั น้นั จงึ ตอ้ งนาไปหกั ออกจาก คา่ ใช้จ่ายการผลิตรวม เพื่อหาคา่ ใชจ้ ่ายทจี่ า่ ยเปน็ เงนิ สดโดยเฉพาะ
6 - 24 การบัญชีตน้ ทนุ 2 6. งบประมาณต้นทุนการผลิต งบประมาณต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost Budget) จะเป็นการแสดงผลรวม ของต้นทุนการผลิตโดยประมาณทั้งหมดที่กิจการใช้ไปสาหรับการผลิตสินค้า ซ่ึงข้อมูลที่ นามาใช้ประกอบการคานวณหารต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย ต้นทุนวัตถุดิบทางตรงที่ใช้ใน การผลิตจากงบประมาณวัตถุดิบทางตรง (ใช้จานวนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพ่ือหาต้นทุน วตั ถดุ บิ ทางตรงทใ่ี ช้ในการผลิต) ค่าแรงงานทางตรงจากงบประมาณค่าแรงงานทางตรง และ คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ จากงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ แลว้ นาตน้ ทุนการผลิตโดยประมาณท้ังสิ้น ไปคานวณหาตน้ ทุนการผลติ ต่อหนว่ ย ซึ่งสามารถแสดงการคานวณไดด้ งั นี้ ตน้ ทนุ การผลิต = วตั ถดุ บิ ทางตรงใช้ไป + ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใชจ้ ่ายการผลิต (บาท) + งานระหวา่ งทาคงเหลือตน้ งวด - งานระหวา่ งทาคงเหลือปลายงวด และ ตน้ ทุนการผลิตต่อหนว่ ย สามารถคานวณไดด้ งั น้ี ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย = ตน้ ทนุ การผลิตรวม (บาท) ปริมาณสินค้าที่ผลิต (หนว่ ย) สาหรับต้นทุนการผลิตต่อหน่วยโดยประมาณ จะนาไปใช้ในการคานวณหาต้นทุนขาย ซึ่งต้นทุนขายจะไปปรากฏในงบประมาณกาไรขาดทุน นอกจากนี้ยังนาไปใช้ในการคานวณ ตน้ ทุนสินค้าสาเรจ็ รูปคงเหลือปลายงวดดว้ ยเชน่ กนั ซงึ่ สินคา้ สาเรจ็ รูปคงเหลือปลายงวด จะไป แสดงเปน็ รายการประเภทสนิ ทรพั ย์หมุนเวียน ในงบประมาณแสดงฐานะการเงนิ
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 25 ตวั อย่างท่ี 6.6 จากข้อมูลของบรษิ ทั อนุรักษ์ไทย จากัด สมมติบริษัทไม่มีงานระหว่างทาคงเหลือต้น งวดและปลายงวด จากขอ้ มูลขา้ งต้น สามารถนามาจัดทางบประมาณต้นทุนการผลติ ไดด้ ังน้ี บรษิ ทั อนุรกั ษไ์ ทย จากดั งบประมาณตน้ ทนุ การผลติ สาหรับปีสน้ิ สดุ 31 ธันวาคม 25X2 วัตถุดิบทางตรงทีใ่ ช้ (1) หนว่ ย : บาท คา่ แรงงานทางตรง (2) คา่ ใช้จา่ ยการผลิต (3) 652,500 1,566,000 442,200 รวมตน้ ทุนการผลิต 2,660,700 ปริมาณหน่วยทผี่ ลิต (4) 26,100 ต้นทุนการผลิตตอ่ หน่วย (5) (บาทต่อหน่วย) 101.94 (1) จากงบประมาณวตั ถุดบิ ทางตรง วัตถุดิบทางตรงท่ใี ช้ สามารถคานวณได้ดงั น้ี วัตถุดิบทางตรงทีใ่ ช้ = จานวนวตั ถดุ ิบทางตรงทใี่ ชใ้ นการผลติ X ราคาวัตถดุ บิ ทางตรง/หน่วย = 13,050 x 50 บาท = 652,500 บาท (2) จากงบประมาณคา่ แรงงานทางตรง (3) จากงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยการผลติ (4) จากงบประมาณการผลติ (5) ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย สามารถแสดงการคานวณ ไดด้ งั นี้ ตน้ ทนุ การผลติ ต่อหนว่ ย = 2,660,700 26,100 = 101.94 บาทตอ่ หนว่ ย
6 - 26 การบญั ชีตน้ ทุน 2 7. งบประมาณต้นทนุ ขาย งบประมาณต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold Budget) เป็นงบประมาณท่ีแสดงต้นทุน ขายโดยประมาณของกจิ การวา่ มตี ้นทนุ ของสินค้าที่ขายได้มีจานวนโดยประมาณเท่ากับเท่าใด ซงึ่ ต้นทนุ ขายโดยประมาณจะมาจากมูลค่าของสินค้าคงเหลือต้นงวดรวมกับต้นทุนสินค้าที่ทา การผลิตในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง แล้วหักออกจากมูลค่าของสิน้าคงเหลือปลายงวด ซ่ึงต้นทุน ขายโดยประมาณที่ได้จะนาไปเป็นรายการหกั ในงบกาไรขาดทนุ โดยประมาณต่อไป ซึ่งสามารถ แสดงการคานวณได้ดงั นี้ ต้นทนุ ขาย (บาท) = สนิ ค้าคงเหลือตน้ งวด + ต้นทนุ การผลิต – สินค้าคงเหลอื ปลายงวด ตวั อยา่ งท่ี 6.7 จากข้อมลู ของ บรษิ ัท อนรุ กั ษไ์ ทย จากดั ขอ้ มลู จากงบประมาณการผลิตบริษัทมีสนิ คา้ สาเร็จรูปคงเหลือต้นงวด จานวน 1,000 หน่วย และสินค้าสาเร็จรูปคงเหลือปลายงวด จานวน 900 หน่วย จากขอ้ มูลข้างตน้ สามารถนามาจัดทางบประมาณต้นทุนขาย ได้ดังนี้ บรษิ ทั อนรุ กั ษไ์ ทย จากัด งบประมาณต้นทนุ ขาย สาหรับปสี น้ิ สดุ 31 ธนั วาคม 25X2 สินคา้ สาเร็จรูปคงเหลอื ตน้ งวด (1,000 หน่วยx 90)(1) หนว่ ย : บาท 90,000 บวก ตน้ ทนุ การผลติ 2,660,700 ตน้ ทนุ สนิ คา้ ทม่ี ีไวเ้ พอื่ ขาย 2,750,700 หกั สนิ คา้ สาเร็จรปู คงเหลอื ปลายงวด (900 หนว่ ย x101.94)(2) 91,746 ต้นทุนขาย 2,658,954 (1) สินค้าสาเร็จรูปคงเหลอื ต้นงวด มาจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 (2) สนิ ค้าสาเรจ็ รูปคงเหลือปลายงวด มีต้นทุนการผลิตต่อหน่วย เท่ากับ 101.94 บาท ซึง่ ตน้ ทุนต่อหน่วยน้ีได้มาจากการคานวณต้นทุนการผลิตจากงบประมาณต้นทุนการผลิตหาร ดว้ ยปริมาณสินคา้ ทต่ี ้องการผลติ จากงบประมาณการผลิต
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 27 8. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (Operating Expense Budget) เป็น งบประมาณท่ีประมาณการค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าค่าใช้จ่ายใน การดาเนินงานอ่ืนๆ ที่ไม่เกย่ี วข้องกับค่าใช้จ่ายการผลิต ข้อมลู ในงบประมาณน้ีจะนาไปแสดงใน งบประมาณกาไรขาดทุน และงบประมาณเงนิ สดต่อไป โดยปกติแลว้ ถา้ งบประมาณคา่ ใช้จ่ายใน การขายและบริหาร กิจการแสดงการจ่ายค่าใช้จ่ายนั้นเป็นจานวนเงินสดทั้งหมด รายการ คา่ ใช้จา่ ยนั้น กส็ ามารถนาไปใสเ่ ป็นยอดเงนิ ที่จา่ ยเพื่อเตรียมข้อมูลไว้จัดทางบประมาณเงินสด แตถ่ า้ หากกจิ การมรี ายการคา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ ารบางรายการท่ีไม่ได้จา่ ยในรูปของเงิน สด เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน หน้ีสงสัยจะสูญ เป็นต้น รายการ เหล่าน้ีต้องบวกกลบั เขา้ ไปซะก่อน เพ่ือหาว่าจานวนเงินทกี่ ิจการจา่ ยเปน็ เงนิ สดเปน็ เทา่ ใด โดยท่ัวไปการจัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารจะแสดงรายการ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร โดยแบ่งเป็น ค่าใช้จ่ายส่วนที่เป็นผันแปร แยกออกจาก ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารส่วนที่เป็นคงท่ี ค่าใช้จ่ายในการขายผันแปรมักจะกาหนดเป็น สัดส่วนโดยตรงกับยอดขาย หรือเป็นอัตราร้อยละของยอดขาย ส่วนค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหารคงที่มักจะข้ึนอยู่กับนโยบายของผู้บริหาร เช่น จะมีนโยบายขึ้นเงินเดือนพนักงาน อย่างไร หรือจะมีงบโฆษณาแต่ละปีจานวนเท่าใด เป็นต้น นอกจากนี้บางกิจการอาจจัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายแยกต่างหากจาก งบประมาณค่าใช้จ่ายในการบริหารก็ได้ หากมีรายการค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารหลาย รายการ และรายการเหล่านัน้ สามารถแยกออกจากกนั ได้อย่างชดั เจน จะจัดทางบประมาณเป็น 2 งบ ได้แก่ งบประมาณคา่ ใช้จ่ายในการขาย และงบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายในการบริหาร ตวั อยา่ งที่ 6.8 จากขอ้ มลู ของบริษทั อนรุ กั ษไ์ ทย จากัด โดยมขี อ้ มูลเก่ียวกับค่าใช้จ่ายในการขายและ บรหิ ารทั้งในส่วนผันแปรและคงท่ี ดงั นี้ 1. ค่าใชจ้ า่ ยในการขาย 1.1. คา่ ใช้จ่ายในการขายผนั แปร 10 บาทตอ่ หนว่ ย 1.2. คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายคงท่ีต่อปี ประกอบด้วย เงนิ เดอื นพนกั งานขาย 120,000 บาท ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 20,000 บาท รวมคา่ ใช้จ่ายในการขายคงท่ี 140,000 บาท
6 - 28 การบญั ชีตน้ ทนุ 2 2. ค่าใชจ้ ่ายในการบริหาร 2.1. คา่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารผนั แปรจะสมมติแสดงตวั เลขในแตล่ ะไตรมาส 2.2. คา่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารคงท่ีต่อปี ประกอบดว้ ย เงินเดอื น 400,000 บาท ค่าเช่าสานักงาน 80,000 บาท คา่ รับรอง 40,000 บาท รวมค่าใช้จ่ายในการบรหิ ารคงที่ 520,000 บาท จากขอ้ มูลข้างต้น สามารถนามาจัดทางบประมาณค่าใชจ้ ่ายในการขายและคา่ ใช้จา่ ยใน การบรหิ าร ได้ดังนี้ บริษทั อนุรกั ษไ์ ทย จากัด งบประมาณค่าใช้จา่ ยในการขาย สาหรบั ปีสิน้ สดุ 31 ธนั วาคม 25X2 ไตรมาส 4 หนว่ ย : บาท 123 8,200 รวม ค่าใช้จ่ายผนั แปร: 4,500 6,500 7,000 10 ปรมิ าณการขาย (1) 10 10 10 26,200 82,000 10 ค่าใชจ้ ่ายผันแปรต่อหนว่ ย 45,000 65,000 70,000 รวม 30,000 262,000 30,000 30,000 30,000 5,000 ค่าใช้จา่ ยคงที่: 5,000 5,000 5,000 35,000 120,000 เงนิ เดือนพนกั งานขาย 35,000 35,000 35,000 117,000 20,000 คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ 80,000 100,000 105,000 140,000 402,000 รวม รวมคา่ ใชจ้ ่ายในการขาย (1) ปรมิ าณการขายมาจากงบประมาณการขาย
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 29 บรษิ ัท อนุรกั ษไ์ ทย จากดั 4 หนว่ ย : บาท งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร สาหรับปีส้ินสุด 31 ธนั วาคม 25X2 รวม ไตรมาส 21,700 123 15,000 11,700 ค่าใช้จ่ายผนั แปร : 5,000 4,500 6,500 5,700 48,400 3,700 3,800 4,000 3,500 คา่ สาธารณปู โภค 2,200 3,200 3,800 2,500 400,000 10,900 11,500 14,300 11,700 80,000 ค่าวสั ดุสานกั งาน 40,000 100,000 100,000 100,000 100,000 520,000 คา่ ใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ 20,000 20,000 20,000 20,000 568,400 10,000 10,000 10,000 10,000 รวมค่าใช้จา่ ยผนั แปร 130,000 130,000 130,000 130,000 ค่าใช้จ่ายคงท่ี : 140,900 141,500 144,300 141,700 เงนิ เดอื น คา่ เชา่ สานกั งาน ค่ารบั รอง รวมคา่ ใช้จา่ ยคงที่ รวมค่าใชจ้ า่ ยในการบริหาร จากงบประมาณท่ีจัดทามาท้ังหมดถือเป็นงบประมาณดาเนินงานซ่ึงโดยปกติแล้ว กจิ การจะต้องจัดทางบประมาณดาเนินงานกอ่ นจึงจะจัดทางบประมาณการเงินต่อไป อย่างไรก็ ตามงบประมาณกาไรขาดทนุ หรือเป็นงบประมาณดาเนนิ งานจะจัดทาทหี ลงั งบประมาณการเงิน บางงบประมาณคืองบประมาณเงินลงทุนและงบประมาณเงินสดซ่ึงจาเป็นต้องจัดทาก่อน เน่ืองจากต้องการการประมาณการตัวเลขเพื่อนาไปใช้ในการจัดทางบประมาณกาไรขาดทุน ต่อไปยกตัวอย่างเช่นในงบประมาณเงินลงทุนจะแสดงแผนงานท่ีกิจการต้องใช้เงินลงทุนเพื่อ จดั หาสนิ ทรพั ยต์ า่ งๆสาหรับการดาเนินงานในอนาคตดังน้ันในการจะดูว่าเงินสดที่กิจการมีอยู่ น้นั พอเพียงหรือไม่กบั การลงทนุ จึงตอ้ งจดั ทางบกระแสเงินสดก่อนและเม่ือมีการกู้ยืมเกิดขึ้นใน กรณีทเี่ งินสดไมเ่ พยี งพอกจ็ ะเกดิ รายการดอกเบย้ี จา่ ยทีเ่ กดิ จากการกู้ยืมเกิดข้นึ ซ่ึงจะต้องนาไป แสดงในงบประมาณกาไรขาดทุนดังน้ันในการจัดทางบประมาณจึงต้องดูลาดับการจัดทา งบประมาณด้วย ซึ่งหลงั จากท่จี ัดทางบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายในการขายและงบประมาณค่าใช้จ่าย ในการบริหารแล้ว ในตัวอยา่ งน้จี ะจัดทางบประมาณตามลาดบั ดงั นี้
6 - 30 การบญั ชีตน้ ทนุ 2 9. งบประมาณเงนิ ลงทนุ 10. งบประมาณเงนิ สด 11. งบประมาณกาไรขาดทุน 12. งบประมาณกาไรสะสม 13. งบประมาณแสดงฐานะการเงิน 9. งบประมาณเงินลงทุน งบประมาณเงินลงทนุ (Capital Budget) เป็นงบประมาณที่แสดงให้ทราบถึงแผนงานที่ กิจการต้องการจะลงทุนในสินทรัพย์ในการดาเนินงานหรือโครงการต่างๆ ในอนาคต ซึ่ง โครงการเหล่าน้มี ีการใชเ้ งนิ จานวนคอ่ นขา้ งมาก เชน่ การขยายอาคารสานกั งาน การซือ้ อาคาร โรงงาน การขยายกจิ การ หรือการซื้อเครื่องจักรหรือสินทรัพย์เพ่ือนามาใช้ในการดาเนินธุรกิจ เป็นต้น โดยงบประมาณเงินลงทุนจะแสดงรายละเอียดของจานวนเงินลงทุนท่ีต้องการใช้ใน อนาคต จานวนเงนิ ที่จา่ ยชาระหนรี้ วมถึงมีการกาหนดระยะเวลาการจา่ ยเงนิ ว่าจะจ่ายเงนิ ช่วงใด เพ่ือใหก้ ิจการสามารถเตรียมตวั หาเงนิ ลงทุนได้ทนั เวลา หรือถา้ มีเงินสดคงเหลือไม่เพียงพอต่อ การลงทนุ ดงั กล่าว กจิ การกจ็ ะสามารถหาแหลง่ เงนิ กไู้ ด้อย่างเพียงพอ และข้อมูลการจ่ายเงินน้ี จะเปน็ ขอ้ มลู ในการจัดทางบประมาณเงนิ สดตอ่ ไป ตวั อย่างท่ี 6.9 จากข้อมูลของบริษัท อนุรักษ์ไทย จากัด สมมติให้กิจการมีแผนการลงทุนในปี 25X2 ดังนี้ บริษัทมีนโยบายท่ีจะจัดซื้อเคร่ืองจักรเพื่อตัดเย็บกระเป๋า ราคาประมาณ 200,000 บาท โดยคาดว่าจะจ่ายชาระเงินในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3 เป็นจานวนเงิน 100,000 บาทและ 100,000 ตามลาดับ จากขอ้ มูลข้างต้น สามารถนามาจดั ทางบประมาณเงนิ ลงทุน ไดด้ งั น้ี บริษัท อนรุ ักษไ์ ทย จากัด งบประมาณเงินลงทุน สาหรับปสี ้นิ สดุ 31 ธันวาคม 25X2 เครือ่ งจกั รตดั เย็บ ไตรมาส 4 หน่วย : บาท เงินสดทีต่ อ้ งการ - 123 รวม 200,000 - 100,000 100,000 200,000 100,000 100,000
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 31 10. งบประมาณเงินสด งบประมาณเงินสด (Cash Budget) เป็นงบประมาณทแ่ี สดงถึงเงินสดรับและเงินสดจ่าย ของกิจการ เน่ืองจากการดาเนินงานตามปกติหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ทาให้เงินสดเพิ่มข้ึนและ ลดลง ซงึ่ งบประมาณเงนิ สดเป็นงบประมาณท่ีบอกได้ว่ากิจการมีสภาพคล่องอย่างไร มีเงินสด เพียงพอสาหรบั การใชจ้ า่ ยเปน็ เงินทุนหมุนเวียนให้กับกิจการพอจ่ายสาหรับค่าใช้จ่ายต่างๆใน กจิ การหรือไม่ กจิ การบางแหง่ จัดทางบประมาณเงนิ สด แบง่ เปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ งบประมาณ เงนิ สดรบั และงบประมาณเงินสดจ่าย แล้วนาเงินสดรับและเงินสดจ่ายจากงบประมาณทั้งสอง งบมารวมเป็นงบประมาณเงนิ สดทง้ั สิ้น หรือรวมเงินสดรับและเงินสดจ่ายไว้ในงบประมาณเงิน สดเพยี บงบเดยี วกไ็ ด้ ดงั น้ัน งบประมาณเงนิ สด จึงประกอบดว้ ย รายการตา่ งๆ ดงั น้ี 10.1. เงินสดรบั จะประกอบรายการต่างๆ ดงั นี้ รับรายไดจ้ ากการขาย หรอื การ ใหบ้ รกิ ารเป็นเงินสด และรบั ชาระหนจี้ ากลกู หนกี้ ารค้า รวมไปถงึ รบั เงนิ สดจากแหล่งอืน่ ๆ เชน่ รบั จากรายได้เบด็ เตล็ดอ่ืนๆ ทน่ี อกเหนือจากการขายสนิ คา้ ขายเศษวัสดเุ หลอื ใช้ ขายสนิ ทรัพย์ ทีห่ มดอายกุ ารใชง้ านแล้ว รบั จากเงินลงทนุ ออกหุ้นทนุ เพิ่มเตมิ และรบั จากการกยู้ ืม ขายหุ้นกู้ เป็นตน้ 10.2. เงินสดจา่ ย จะประกอบรายการต่างๆ ดงั นี้ จ่ายเงินสดจากการซ้ือสินค้า หรือ ซอ้ื วตั ถดุ บิ จ่ายชาระหนใ้ี หแ้ กเ่ จา้ หนี้ จา่ ยคา่ แรงงาน จ่ายค่าใช้จ่ายการผลิต รวมถึง ค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงานตา่ งๆ โดยเอามาเฉพาะส่วนที่เป็นเงินสด ค่าใช้จ่ายท่ีไม่ได้จ่ายเป็นเงินสดให้ เอาไปหักออก เช่น ค่าเส่ือมราคา หน้ีสูญ หนี้สงสัยจะสูญ เป็นต้น รายจ่ายที่เกิดข้ึนไม่บ่อย เช่น คา่ ทาบญั ชี คา่ ท่ปี รกึ ษากฎหมาย และรายจา่ ยอื่นๆ เชน่ จ่ายเงนิ ปนั ผล ชาระหนี้เงนิ กู้ จ่าย ภาษีเงนิ ได้ จ่ายเงนิ ลงทนุ เม่อื ซื้อสินทรัพย์ จ่ายดอกเบย้ี เป็นตน้ เม่ือรวบรวมเงนิ สดรบั และเงินสดจา่ ยจากงบประมาณเงินสดท้ังสองประเภทได้แล้ว จะ คานวณหายอดเงนิ สดคงเหลอื โดยการเอารายการเงินสดคงเหลือยกมาต้นงวดรวมกับเงินสดที่ ได้รับทัง้ สิ้น จากงบประมาณเงนิ สดรับ และหักดว้ ยเงินสดท่ีจ่ายออกไป จากงบประมาณเงินสด จา่ ย ผลแตกต่างระหว่างเงนิ สดท่ีได้รับและเงินสดท่ีจ่ายออกไป จะแสดงให้เห็นว่ากิจการมีเงิน สดส่วนเกินหรือเงินสดส่วนขาด ถ้ากิจการมีเงินสดส่วนเกินกิจการก็สามารถวางแผนในการ ลงทุนอน่ื ๆ ได้ แตถ่ ้าหากกจิ การมีเงนิ สดขาดมอื กจิ การกต็ ้องวางแผนในการกยู้ มื เงินต่อไป
6 - 32 การบญั ชีตน้ ทนุ 2 ตวั อยา่ งที่ 6.10 จากข้อมูลของบริษัท อนุรักษ์ไทย จากัด สมมติให้ผู้บริหารของบริษัทมีการกาหนด นโยบายเก่ยี วกบั เงนิ สดไว้ดังน้ี 1. เพือ่ ไม่ใหเ้ งนิ สดของกิจการขาดสภาพคล่อง จึงกาหนดให้แต่ละไตรมาสต้องสารอง เงนิ ไว้อย่างน้อยไตรมาสละ 500,000 บาท 2. หากไตรมาสใดมีเงนิ สารองไม่เพียงพอ กจิ การต้องไปกู้เงินจากธนาคารโดยกาหนด ว่าการกู้ยืมเงินต้องกู้เป็นจานวนเต็ม 100,000 บาท โดยธนาคารคิดอัตราดอกเบ้ีย 8 %ต่อปี และกู้ในวนั แรกของไตรมาส 3. หากไตรมาสใดกิจการมีเงินเกินกว่าจานวนท่ีจาเป็นต้องสารอง 500,000 บาท แล้ว กิจการสามารถนาเงินไปใช้คืนเงินกู้บางส่วนได้ โดยธนาคารกาหนดการใช้คืนเงินกู้ กิจการ จะต้องจา่ ยเงินต้นเปน็ จานวนเตม็ 1,000 บาท รวมทง้ั ต้องจ่ายชาระดอกเบ้ียทุกครั้งท่ีจ่ายชาระ คืนเงินต้น โดยกาหนดจา่ ยชาระคืนในตอนปลายไตรมาส 4.บรษิ ทั มนี โยบายจ่ายเงินปันผลเป็นเงนิ สดในเดือนธันวาคม จานวน 100,000 บาท จากขอ้ มลู ขา้ งต้น สามารถนามาจัดทางบประมาณเงินสดได้ดงั นี้ บริษัท อนุรักษไ์ ทย จากัด งบประมาณเงนิ สด สาหรบั ปีสน้ิ สดุ 31 ธันวาคม 25X2 ไตรมาส หน่วย : บาท 123 4 รวม 879,230 610,000 เงนิ สดคงเหลือยกมา (1) 610,000 552,237 580,887 เงินสดรบั จากการขายสนิ คา้ (2) 550,000 1,100,000 1,350,000 1,520,000 4,520,000 - - จากการเพ่มิ ทุน --- 2,399,230 5,130,000 รวมเงนิ สดทมี่ ี 1,160,000 1,652,237 1,930,887 เงินสดจ่าย ซื้อวตั ถดุ ิบทางตรง (3) 153,563 136,150 173,037 188,600 651,350 496,800 1,566,000 จา่ ยค่าแรงงานทางตรง (4) 249,000 393,000 427,200 109,080 117,000 394,200 จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการผลิต (5) 84,300 98,700 102,120 141,700 402,000 568,400 จ่ายค่าใช้จ่ายในการขาย (6) 80,000 100,000 105,000 จา่ ยค่าใชจ้ ่ายในการบริหาร (7) 140,900 141,500 144,300
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 33 ไตรมาส 1 2 3 4 รวม เงินสดจ่าย (ตอ่ ) จา่ ยเพอ่ื ซอื้ เครอื่ งจักร (8) - 100,000 100,000 - 200,000 (9) - - - 100,000 100,000 จ่ายเงนิ ปนั ผล 707,763 1,153,180 3,881,950 (10) 969,350 1,051,657 รวมเงินสดทีใ่ ชไ้ ป (11) (12) 452,237 682,887 879,230 1,246,050 1,248,050 การเปลยี่ นแปลงของเงินสดท่ี (13) 100,000 - - - 100,000 ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การกยู้ ืมหรือ - - (100,000) จา่ ยคนื เงินกู้ - (100,000) ก้จู ากธนาคาร จ่ายชาระคนื ธนาคาร - เงินตน้ - ดอกเบยี้ - (2,000) - - (2,000) เงินสดคงเหลอื ยกไป 552,237 580,887 879,230 1,246,050 1,246,050 (1) เงนิ สดคงเหลือยกมา จากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 (2) งบประมาณการขาย และตารางการรบั ชาระหน้ี (3) งบประมาณวตั ถุดิบทางตรง และตารางการจ่ายชาระหนี้ (4) งบประมาณค่าแรงงานทางตรง (5) งบประมาณค่าใชจ้ ่ายการผลติ เฉพาะคา่ ใชจ้ า่ ยทจ่ี า่ ยเปน็ เงนิ สด (6) งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขาย (7) งบประมาณค่าใช้จา่ ยในการขาย (8) งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการบริหาร (9) นโยบายจา่ ยเงนิ ปนั ผลในตอนสน้ิ ปี 100,000 บาท (10) เงินสดคงเหลอื ปลายงวดมนี อ้ ยกวา่ เงินสดข้นั ตา่ 500,000 บาท (ตามนโยบายของ บรษิ ัท) จึงตอ้ งกเู้ พ่ิม 100,000 บาท (11) ไตรมาสที่ 2 มเี งินสดคงเหลือเกิน เงนิ สดข้ันตา่ จงึ จา่ ยเงินต้นคนื 100,000 บาท และจา่ ย ดอกเบี้ยคืน 8% ตอ่ ปี (12) จา่ ยดอกเบย้ี เงินกู้ จานวน 2,000 บาท (100,000 x 8% x 3/12 = 2,000 บาท) (13) เงินสดคงเหลอื ยกไปในงวดถดั ไป
6 - 34 การบัญชีตน้ ทุน 2 11. งบประมาณกาไรขาดทุน งบประมาณกาไรขาดทุน (Budget Income Statement) จะแสดงการประมาณการผล การดาเนนิ งานในรอบระยะเวลาหนึง่ ของการดาเนนิ งานเพอื่ วางแผนใหท้ ราบวา่ กิจการจะมีกาไร หรอื ขาดทุนในการจดั ทางบประมาณกาไรขาดทุนจะนาข้อมูลประมาณการมาจากงบประมาณ ประเภทรายได้และงบประมาณประเภทค่าใช้จ่ายท่ีได้จัดทาไว้ ล่วงหน้าแล้ว งบประมาณที่ 11 แสดงงบประมาณกาไรขาดทุน ตวั อยา่ งท่ี 6.11 จากขอ้ มลู ของบริษทั อนุรักษ์ไทย จากดั สามารถจัดทางบประมาณกาไรขาดทุนได้ดงั นี้ บริษัท อนรุ ักษ์ไทย จากัด งบประมาณกาไรขาดทนุ สาหรบั ปสี ้นิ สดุ 31 ธนั วาคม 25X2 ขาย (1) (26,200 x @200) หน่วย : บาท หัก ตน้ ทนุ ขาย (2) 5,240,000 2,658,954 กาไรขนั้ ต้น 2,581,046 หกั คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน 402,000 970,400 คา่ ใช้จ่ายในการขาย (3) 568,400 คา่ ใช้จา่ ยในการบริหาร (4) กาไรสุทธจิ ากการดาเนนิ งาน 1,610,646 หัก ดอกเบีย้ จ่าย (5) 2,000 กาไรสทุ ธกิ ่อนหักภาษี 1,608,646 หัก ประมาณการภาษีเงนิ ได้ 20% 321,729 กาไรสุทธิ 1,286,917 (1) จากงบประมาณการขาย (2) จากงบประมาณตน้ ทนุ ขาย (3) จากงบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการขาย (4) จากงบประมาณค่าใช้จ่ายในการบรหิ าร (5) จากงบประมาณเงนิ สด เป็นการประมาณการดอกเบย้ี จ่ายจากเงนิ กยู้ ืม (6) สมมตอิ ัตราภาษีเงนิ ได้ 20%ของกาไรสทุ ธกิ อ่ นหกั ภาษี
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 35 12. งบประมาณกาไรสะสม งบประมาณกาไรสะสม (Budgeted Retained Earning) เป็นงบประมาณที่แสดง ประมาณการของกาไรสะสมของกิจการตั้งแต่เร่ิมดาเนินงานจนถึงงวดท่ีจัดทางบประมาณงบ กาไรสะสม ในงบประมาณนี้ยังแสดงถึงนโยบายการจ่ายเงินปันผลของกิจการช่วงเวลาใดเวลา หนงึ่ ด้วย ดงั น้นั งบประมาณกาไรสะสม จึงประกอบดว้ ย ผลรวมของกาไรสะสมต้นงวดกับกาไร สุทธปิ ระมาณการ จากงบประมาณงบกาไรขาดทุน แล้วหักด้วยเงินปันผลโดยประมาณ ดังนั้น ผลลพั ธ์ทีไ่ ด้คอื กาไรสะสมปลายงวดซง่ึ จะนาไปแสดงเป็นส่วนหนึ่งของผู้ถือหุ้นในงบประมาณ งบแสดงฐานะการเงินตอ่ ไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 เรื่องการนาเสนองบการเงินนั้นไม่ได้ ระบใุ ห้บริษัททาแลว้ เนอื่ งจากให้จัดทางบแสดงการเปลีย่ นแปลงสว่ นของเจา้ ของแทน ตวั อยา่ งที่ 6.12 จากขอ้ มูลของบรษิ ัท อนุรกั ษไ์ ทย จากดั ถ้าหากกจิ การมนี โยบายในการจ่ายเงนิ ปันผล ใหก้ ับผู้ถือห้นุ จานวน 100,000 บาท บริษทั สามารถจัดทางบประมาณกาไรสะสมได้ดงั นี้ บรษิ ทั อนุรักษ์ไทย จากัด งบประมาณกาไรสะสม สาหรบั ปสี ้นิ สดุ 31 ธนั วาคม 25X2 869,000 กาไรสะสมตน้ งวด (1) 1,286,917 บวก กาไรสทุ ธิ (2) รวม 2,155,917 หกั เงินปนั ผล(3) 100,000 กาไรสะสมปลายงวด 2,055,917 (1) ยอดคงเหลอื ของกาไรสะสมตน้ งวด มาจากงบแสดงฐานะการเงินของปี 25x1 (2) จากงบประมาณกาไรขาดทนุ (3) กจิ การมนี โยบายประกาศจ่ายเงินปนั ผล 100,000 บาทตอนสนิ้ ปี
6 - 36 การบญั ชตี ้นทุน 2 13. งบประมาณแสดงฐานะการเงิน งบประมาณงบแสดงฐานะการเงิน (Budget Statement of Financial Position) เป็น งบประมาณท่ีแสดงให้เห็นการประมาณการฐานะการเงินของกิจการโดยแยกเป็นสินทรัพย์ โดยประมาณ หนี้สินโดยประมาณ และส่วนของผู้ถือหุ้นโดยประมาณ การจัดทางบประมาณ ประเภทน้ีจะนางบแสดงฐานะการเงนิ ในรอบระยะเวลาบญั ชีก่อนหนา้ มาปรับด้วยรายการทค่ี าด วา่ จะเกิดขนึ้ จากงบประมาณต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั งบประมาณแสดงฐานะการเงินในอนาคต ตวั อย่างท่ี 6.13 จากขอ้ มูลของบริษทั อนรุ กั ษ์ไทย จากัด สามารถจดั ทางบประมาณแสดงฐานะการเงนิ ได้ดังน้ี บรษิ ทั อนรุ กั ษ์ไทย จากดั งบประมาณแสดงฐานะการเงนิ สาหรบั ปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25X2 สินทรพั ย์ หนว่ ย:บาท สินทรพั ยห์ มนุ เวยี น 1,246,050 เงนิ สด (1) ลกู หน้ีการคา้ (2) 820,000 สินคา้ คงเหลอื สนิ คา้ สาเรจ็ รูปคงเหลอื (3) 91,746 วตั ถดุ บิ คงเหลอื (4) 10,000 101,746 รวมสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน 2,167,796 สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวียน ท่ดี นิ (5) 2,900,000 เครอื่ งจกั ร (6) 200,000 หกั คา่ เสื่อมราคาสะสม – เคร่อื งจักร (7) 48,000 152,000 รวมทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ 3,052,000 รวมสนิ ทรัพยท์ ง้ั สนิ้ 5,219,796
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 37 หนี้สินหมนุ เวยี น หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เจ้าหนกี้ ารคา้ (8) 98,150 321,729 ภาษีเงนิ ไดค้ า้ งจา่ ย (9) รวมหนส้ี ินหมนุ เวยี น 419,879 หนี้สินไมห่ มนุ เวยี น เงนิ กูจ้ านอง (10) 744,000 744,000 รวมหนส้ี ินไมห่ มุนเวียน 1,163,879 รวมหนส้ี ินทงั้ สนิ้ ส่วนของผถู้ อื ห้นุ (11) ทนุ เรอื นหนุ้ 2,000,000 2,055,917 กาไรสะสม (12) รวมส่วนของผู้ถือหนุ้ 4,055,917 5,219,796 รวมหน้ีสินและส่วนของผูถ้ ือหนุ้ (1) จากงบประมาณเงนิ สด (2) จากงบประมาณการขาย ตารางการรบั ชาระหนจ้ี ากลูกหน้ี ยอดขายไตรมาสที่ 4 จานวน 820,000 x 50% (3) จากงบประมาณการผลิต สินคา้ คงเหลอื ปลายงวด จานวน 900 หน่วย x 101.94 เท่ากบั 91,746 บาท (4) จากงบประมาณวตั ถดุ ิบทางตรง วตั ถดุ บิ ทางตรงคงเหลอื ปลายงวด 200 หนว่ ย x 50 บาท เทา่ กับ 10,000 บาท (5) จากงบแสดงฐานะการเงนิ ปี 25X1 (6) จากงบประมาณเงินลงทนุ (7) จากงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยการผลติ (8) จากงบประมาณวตั ถุดิบทางตรง ตารางการจ่ายชาระหนีใ้ ห้แกเ่ จ้าหน้ี ยอดซอ้ื วตั ถุดิบ ไตรมาสที่ 4 จานวน 196300 x 50% เทา่ กับ 98,150 บาท (9) จากงบประมาณกาไรขาดทนุ (10) จากงบแสดงฐานะการเงนิ ปี 25X1 (11) จากงบแสดงฐานะการเงนิ ปี 25X1 (12) จากงบประมาณกาไรสะสม
6 - 38 การบัญชีต้นทนุ 2 การจดั ทางบประมาณสาหรบั ธรุ กิจท่ีไม่ได้ผลิตสินค้า การจัดทางบประมาณนอกจากธุรกิจผลิตสินค้าจะต้องจัดทางบประมาณแล้ว ธุรกิจ ประเภทอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการให้บริการ และธุรกิจซ้ือขายสินค้า ก็สามารถจัดทา งบประมาณได้เช่นกัน เพ่ือเอาข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ควบคุม และตัดสินใจในการดาเนิน ธุรกจิ เพยี งแต่ประเภทของงบประมาณทจ่ี ดั ทาจะมีความแตกต่างกัน เพื่อให้เข้าใจในการจัดทา งบประมาณสาหรับธุรกจิ การให้บริการ และธุรกจิ ซ้อื ขายสนิ ค้า จะอธิบายรายละเอียดการจัดทา งบประมาณสาหรบั แต่ละประเภท ได้ดังนี้ 1. ธรุ กิจซือ้ ขายสินค้า การจัดทางบประมาณสาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า จะจัดทางบประมาณเช่นเดียวกับ งบประมาณสาหรบั ธรุ กจิ ผลติ สนิ คา้ โดยเร่มิ ตน้ จากการจดั ทางบประมาณการขาย โดยใช้ข้อมูล จากการพยากรณ์ยอดขายจากพนักงานขาย หลังจากนั้น จัดทางบประมาณการซ้ือสินค้า ซ่ึง แตกตา่ งจากธรุ กจิ ผลติ สินคา้ เพราะธรุ กิจซอื้ ขายสนิ ค้าไม่มกี ระบวนการของการผลิตสินค้า แต่ ซ้ือสินค้าสาเร็จรปู มาเพอื่ ขาย หลังจากนนั้ จดั ทางบประมาณต้นทุนขาย งบประมาณค่าใช้จ่าย ในการขายและบริหาร งบประมาณเงนิ สด งบประมาณกาไรขาดทุน และงบประมาณแสดงฐานะ การเงิน ตามลาดบั เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของงบประมาณแต่ละประเภท สาหรับธุรกิจซ้ือขายสินค้า สามารถสรปุ ความสัมพนั ธง์ บประมาณแตล่ ะเภท ดังแสดงในภาพท่ี 6.2 งบประมาณการขาย งบประมาณซือ้ สินค้า งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย งบประมาณต้นทุนขาย การขายและบริหาร งบประมาณกาไรขาดทุน งบประมาณเงินสด งบประมาณแสดงฐานะการเงนิ ภาพท่ี 6.2 ความสมั พนั ธ์ของงบประมาณประเภทต่างๆ สาหรบั ธุรกจิ ซอื้ ขายสนิ ค้า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 451
Pages: