บทที่ 10 การบัญชตี ามความรบั ผดิ ชอบและการกาหนดราคาโอน 10 - 23 แบบฝึ กหดั ข้อ 1. บรษิ ทั ฟ้าไทยอตุ สาหกรรม จากดั ได้แผนกการผลิต ได้วางแผนการผลติ สนิ คา้ ชนดิ หนึ่ง สาหรบั เดอื นธันวาคม 25X1 โดยประมาณการวา่ จะผลิตสนิ ค้า จานวน 5,000 หนว่ ย โดยมี ข้อมูลงบประมาณต้นทุนการผลติ ผนั แปร ดงั นี้ บรษิ ทั ฟ้าไทยอุตสาหกรรม จากัด งบประมาณต้นทนุ การผลติ ผันแปร สาหรับเดือนธนั วาคม 25X1 ตน้ ทุนต่อหน่วย ต้นทุนรวม (บาทตอ่ หนว่ ย) (บาท) ปริมาณการผลติ โดยประมาณ 5,000 หนว่ ย ต้นทนุ การผลติ ผันแปร วตั ถดุ บิ ทางตรง 120 600,000 ค่าแรงงานทางตรง 80 400,000 คา่ ใช้จ่ายการผลิตผันแปร - คา่ แรงงานทางอ้อม 50 250,000 - วตั ถุดิบทางอ้อม 40 200,000 - ค่าสาธารณูปโภค 30 150,000 รวม 320 1,600,000 ถ้าในเดือนธนั วาคม ปรากฏวา่ กจิ การไดท้ าการผลติ สินคา้ จรงิ จานวน 4,000 หน่วย ให้ พิจารณาวา่ ผลการดาเนนิ งานของแผนกผลติ เป็นทน่ี ่าพอใจหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ถา้ หากว่า ขอ้ มูลต้นทุนการผลติ จรงิ ท่ีเกดิ ข้นึ เป็นดังน้ี ขอ้ มูลตน้ ทุนการผลติ ผันแปร สาหรบั เดอื นธันวาคม 25X1 ต้นทุนรวม (บาท) ปรมิ าณการผลติ จริง 4,000 หน่วย ต้นทุนการผลิตผนั แปร วัตถดุ ิบทางตรง 500,000 ค่าแรงงานทางตรง 360,000 คา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผนั แปร - คา่ แรงงานทางอ้อม 240,000 - วัตถุดิบทางออ้ ม 180,000 - คา่ สาธารณูปโภค 140,000 รวม 1,420,000
10 - 24 การบญั ชีต้นทนุ 2 ให้ทา รายงานผลการดาเนนิ งานของแผนกผลิต (ศนู ย์ต้นทุน) โดยเปรยี บเทยี บระหวา่ ตน้ ทุน การผลติ โดยประมาณและตน้ ทนุ การผลิตจรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเดอื นธนั วาคม 25X1 บริษัท ฟ้าไทยอุตสาหกรรม จากัด รายงานผลการดาเนนิ งานแผนกผลิต สาหรบั เดือนธันวาคม 2559 ต้นทนุ งบประมาณ เกิดขึ้นจริง ผลต่าง ต่อหน่ วย (น่ าพอใจ/ไม่ น่ าพอใจ) ปรมิ าณการผลติ (หนว่ ย) ต้นทุนการผลิตผนั แปร วตั ถุดิบทางตรง คา่ แรงงานทางตรง คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตผันแปร - ค่าแรงงานทางอ้อม - วัตถดุ ิบทางอ้อม - ค่าสาธารณูปโภค รวม ขอ้ 2. ตอ่ ไปน้ีเป็นข้อมลู เก่ยี วกบั รายได้และต้นทนุ ของสนิ คา้ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ เกา้ อี้ และโต๊ะ ยอดขาย เก้าอี้ โต๊ะ 500,000 325,000 ต้นทนุ ผันแปร 257,000 180,000 ตน้ ทนุ คงที่โดยตรง 82,000 55,000 เงนิ ลงทุน 850,000 620,000 ตน้ ทุนคงทโี่ ดยออ้ มหรือต้นทนุ คงทรี่ ่วม 73,000 บาท ให้ทา 1. จัดทางบกาไรขาดทนุ แสดงผลการดาเนนิ งานของสินคา้ แต่ละชนดิ 2. คานวณหาอตั รากาไร อตั ราการหมนุ เวียนของสนิ ทรพั ย์ และอัตราผลตอบแทนจากการ ลงทุน 3. คานวณหากาไรสว่ นทีเ่ หลือ (RI) ของแตล่ ะแผนก ถ้ากิจการกาหนดอัตราผลตอบแทน จากการลงทุนขัน้ ตา่ ไว้ 10 %
บทท่ี 10 การบญั ชีตามความรับผิดชอบและการกาหนดราคาโอน 10 - 25 4. คานวณหาอตั ราสว่ นกาไรส่วนทเี่ หลอื จากการลงทุน (RRI) ของแตล่ ะแผนก ข้อ 3. บริษทั ยดู กี ารไฟฟา้ จากดั มแี ผนกยอ่ ยอยู่ 3 แผนก ประกอบดว้ ย แผนกโทรทัศน์ ตเู้ ยน็ และเครือ่ งเสยี ง ซ่ึงผู้จัดการแตล่ ะแผนกสามารถตดั สินใจในดา้ นการลงทนุ ในสนิ ทรพั ย์เพอ่ื ใชใ้ น การดาเนนิ งานของแผนกได้ ซึ่งถอื เป็นการบรหิ ารแบบศูนยล์ งทนุ โดยมีขอ้ มูลงบกาไรขาดทนุ อย่างยอ่ ของแต่ศูนย์ (แผนก) ดงั นี้ งบกาไรขาดทุน แผนก ยอดขาย โทรทศั น์ ต้เู ยน็ เคร่อื งเสียง 5,600,000 6,720,000 7,500,000 หัก คา่ ใชจ้ ่ายทง้ั สน้ิ 4,900,000 5,880,000 6,750,000 กาไรสุทธิ 700,000 840,000 750,000 นอกจากนี้ ผู้จดั การแตล่ ะแผนกลงทนุ ในสนิ ทรพั ย์ถวั เฉล่ยี โดยแยกไปตามแผนกดงั นี้ แผนก โทรทศั น์ ต้เู ยน็ เครอ่ื งเสียง เงินลงทุนในสินทรพั ยถ์ วั เฉลีย่ 3,500,000 7,000,000 5,000,000 ให้ทา 1. ใหค้ านวณหาอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ของแต่ละแผนก 2. ใหค้ านวณหาอตั ราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ของแต่ละแผนก โดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ อัตรากาไร และอัตราการหมุนเวียนของเงินลงทุนในสินทรัพย์ (Du Pont Formula) 3. ถ้ากจิ การกาหนดอตั ราผลตอบแทนจากการลงทุนขนั้ ตา่ ไว้ 10 % กาไรส่วนท่เี หลอื (RI) ของแต่ละแผนก มคี า่ เทา่ กับเท่าใด 4. คานวณหาอตั ราส่วนกาไรสว่ นท่เี หลอื จากการลงทนุ (RRI) ของแต่ละแผนก
10 - 26 การบญั ชตี ้นทนุ 2 ขอ้ 4. บรษิ ทั ขวัญข้าว จากัด เป็นบริษัทผผู้ ลติ และจาหนา่ ยของเดก็ เลน่ ในประเทศไทย ในปี 25X1 ตอ้ งการทจ่ี ะประเมินผลการดาเนนิ งานของ 2 แผนก คอื แผนกของเด็กเลน่ ทาจากไม้ และแผนกของเดก็ เล่นทาจากพลาสตกิ ท่ีจดั เปน็ ศนู ยล์ งทนุ โดยขอ้ มลู เกย่ี วกบั การดาเนินงาน ในรอบปี 25X1 มดี งั นี้ ของเล่นทาจากไม้ ของเล่นทาจากพลาสติก ยอดขาย (บาท) 4,000,000 3,500,000 หกั ตน้ ทนุ ขาย 1,300,000 1,000,000 กาไรขน้ั ตน้ 2,700,000 2,500,000 หัก คา่ ใช้จ่ายในการขายและบริหาร 1,200,000 1,500,000 กาไรจากการดาเนินงาน 1,500,000 1,000,000 ข้อมลู เพิ่มเติม เงนิ ลงทุนในสนิ ทรพั ยร์ วมถวั เฉลย่ี (บาท) 6,000,000 2,500,000 15% อัตราผลตอบแทนขน้ั ตา่ ท่ีต้องการ 15% ให้ทา 1. คานวณอตั ราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ของแตล่ ะแผนก 2. คานวณหาอตั ราส่วนกาไร (Profit Margin Ratio) ของแต่ละแผนก 3. คานวณหาอตั ราการหมุนเวียนของสินทรพั ย์ (Asset Turnover)แตล่ ะแผนก 4. คานวณกาไรสว่ นที่เหลอื (RI) ของแตล่ ะแผนก 5. คานวณอัตราสว่ นกาไรส่วนทเ่ี หลอื จากการลงทนุ (RRI) ของแต่ละแผนก ทา่ นคิดวา่ บรษิ ทั ควรเลอื กลงทนุ ในโครงการใด เพราะเหตุใด
บทที่ 10 การบัญชีตามความรบั ผิดชอบและการกาหนดราคาโอน 10 - 27 ขอ้ 5. บริษัท ฟ้าไทย จากดั มแี ผนกยอ่ ยอยู่ 2 แผนก ประกอบด้วย แผนกสภุ าพบุรษุ และ สภุ าพสตรี ซงึ่ ผจู้ ดั การแต่ละแผนกสามารถตดั สนิ ใจในด้านการลงทนุ ในสนิ ทรัพยเ์ พ่อื ใชใ้ นการ ดาเนนิ งานของแผนกได้ ซ่งึ ถอื เปน็ การบรหิ ารแบบศนู ยล์ งทนุ โดยมขี อ้ มลู งบกาไรขาดทนุ อยา่ ง ย่อของแต่ศูนย์ (แผนก) ดงั น้ี บรษิ ัท ฟา้ ไทย จากัด งบกาไรขาดทนุ – แยกตามแผนก สาหรับปี สน้ิ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2558 แผนกสภุ าพบรุ ษุ แผนกสภุ าพสตรี รวม ยอดขาย 1,600,000 1,920,000 3,520,000 หัก ตน้ ทนุ ผันแปร 900,000 880,000 1,780,000 กาไรสว่ นเกนิ 700,000 1,040,000 1,740,000 หัก ตน้ ทนุ คงที่โดยตรง 250,000 330,000 580,000 กาไรจากการดาเนินงาน 450,000 710,000 1,160,000 นอกจากน้ี ผู้จดั การแต่ละแผนกลงทนุ ในสนิ ทรัพยถ์ วั เฉล่ีย โดยแยกไปตาม แผนกดังน้ี แผนกสภุ าพบรุ ุษ แผนกสภุ าพสตรี เงนิ ลงทุนในสินทรพั ยถ์ ัวเฉลีย่ 3,500,000 5,000,000 ให้ทา 1. คานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทนุ (ROI) ของแตล่ ะแผนก 2. คานวณกาไรส่วนทเี่ หลอื (RI) ของแต่ละแผนก 3. คานวณอัตราส่วนกาไรส่วนที่เหลอื จากการลงทนุ (RRI) ของแต่ละแผนก ท่านคดิ วา่ บรษิ ทั ควรเลือกลงทนุ ในโครงการใด เพราะเหตใุ ด
10 - 28 การบัญชีตน้ ทุน 2 ข้อ 6. บรษิ ัท บณั ฑติ จากัด เปน็ บริษัทผูผ้ ลติ และจาหน่ายโทรศัพท์มือถอื กาลังพจิ ารณาทจ่ี ะ เลอื กลงทนุ ในการผลติ มอื ถอื รนุ่ ใหม่ จากหนง่ึ ใน 2 รุ่น ซงึ่ มขี ้อมูลเก่ียวกับการลงทนุ ของแตล่ ะ รุ่น ดงั ตอ่ ไปน้ี รนุ่ ไอไอ ร่นุ เอฟเอฟ ยอดขาย (บาท) 6,500,000 3,000,000 หกั ตน้ ทนุ ขาย 3,500,000 1,000,000 กาไรขนั้ ต้น 3,000,000 2,000,000 หกั คา่ ใช้จ่ายในการขายและบรหิ าร 1,200,000 600,000 กาไรสทุ ธิ 1,800,000 1,400,000 สนิ ทรัพย์รวมถัวเฉล่ีย (บาท) 4,000,000 3,000,000 อตั ราผลตอบแทนขน้ั ต่าท่ีตอ้ งการ 10% 10% ให้ทา 1. คานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ของแตล่ ะแผนก 2. คานวณหาอัตราสว่ นกาไร (Profit Margin Ratio) ของแต่ละแผนก 3. คานวณหาอัตราการหมุนเวยี นของสินทรพั ย์ (Asset Turnover)แตล่ ะแผนก 4. คานวณกาไรสว่ นที่เหลอื (RI) ของแตล่ ะแผนก 5. คานวณอัตราส่วนกาไรสว่ นท่เี หลอื จากการลงทนุ (RRI) ของแต่ละแผนก ท่านคดิ วา่ บริษัทควรเลือกลงทนุ ในโครงการใด เพราะเหตใุ ด ขอ้ 7. บรษิ ทั ฟ้าประทาน จากดั มีแผนกผลติ ช้นิ สว่ นอะไหลร่ ถยนต์ (แผนก A) โดยแผนกน้ี สามารถจะนาชน้ิ สว่ นอะไหลไ่ ปขายให้กับลกู คา้ ภายนอกได้ และสามารถจะขายใหก้ บั แผนก ประกอบช้ินสว่ นรถยนต์ (แผนก B) ซ่ึงอยู่ในบรษิ ทั เดียวกนั ได้อกี ด้วย โดยมขี อ้ มลู ต้นทนุ การผลติ และกาลังการผลติ ของแผนกดงั น้ี แผนกประกอบชิ้นสว่ นรถยนต์ ต้องการซ้อื ชน้ิ สว่ นจากแผนกผลติ ชิ้นส่วน จานวน 5,000 ช้นิ เพ่อื ใช้ในการผลติ รถยนต์ กาลังการผลติ ปกติ (Normal Capacity) จานวน 40,000 ช้นิ ขอ้ มูลตน้ ทุนการผลิตและคา่ ใช้จ่ายตา่ งๆ ของแผนกผลติ ชน้ิ ส่วน มดี ังนี้ วัตถุดบิ ทางตรงตอ่ หน่วย 40 บาท คา่ แรงงานทางตรงตอ่ หน่วย 25 บาท คา่ ใช้จา่ ยการผลิตผันแปรตอ่ หนว่ ย 20 บาท
บทที่ 10 การบญั ชตี ามความรบั ผิดชอบและการกาหนดราคาโอน 10 - 29 คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตคงท่ี (รวม) 600,000 บาท บาท คา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ ารผนั แปร 20 บาท หน่วย ราคาขายตอ่ หน่วย (ราคาทขี่ ายในทอ้ งตลาด) 170 ปรมิ าณการขาย (ต่อป)ี 30,000 ถา้ ในกรณีทแ่ี ผนกประกอบชนิ้ ส่วนรถยนตซ์ อื้ ชนิ้ สว่ นจากแผนกผลติ สามารถลด คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและบริหารไดท้ ัง้ จานวน ให้ทา 1. ราคาโอนทแ่ี ผนกผลติ ชิ้นส่วนยอมขายใหก้ บั แผนกประกอบรถยนต์ เท่ากบั เทา่ ใด (ถา้ กิจการคานวณตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์ โดยใชว้ ิธีต้นทนุ ผนั แปร เป็นเกณฑ์ในการคานวณ) 2. ราคาโอนสูงสดุ ท่แี ผนกประกอบชนิ้ ส่วน ยอมซอ้ื จากแผนกผลติ ช้ินส่วน เทา่ กับเท่าใด 3. ถ้าผู้จดั การแผนกทงั้ สองมกี ารเจรจาตอ่ รอง โดยแผนกผลติ กาหนดราคาโอนโดยบวก สว่ นเพิ่ม 20% จากตน้ ทนุ เตม็ แผนกผลติ ชิน้ สว่ นจะกาหนดราคาโอนเทา่ กบั เทา่ ใด ขอ้ 8. บรษิ ทั ประสานการค้า จากดั มแี ผนกผลิต 2 แผนก ไดแ้ ก่ แผนกผลิต A และแผนกผลิต B โดยแผนก A เป็นแผนกผลิตช้ินส่วนที่ขายในท้องตลาด ในขณะเดียวกัน ช้ินส่วนชนิดนี้เป็น ชิ้นส่วนที่แผนกผลิต B นาไปใช้ประกอบเป็นชิ้นส่วนสาคัญในการผลิตสินค้า โดยแผนก B มี ความต้องการช้นิ สว่ นจานวน 2,000 หน่วย โดยมขี อ้ มูลตน้ ทุนของแผนกผลิต A ดังนี้ กาลังการผลติ ปกติตอ่ เดือน 20,000 หนว่ ย ปริมาณการผลิต 18,000 หนว่ ย วัตถุดิบทางตรง 150 บาทต่อหนว่ ย ค่าแรงงานทางตรง 130 บาทตอ่ หนว่ ย คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตผนั แปร 120 บาทต่อหน่วย ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ คงท่ี 200 บาทตอ่ หนว่ ย คา่ ใช้จา่ ยในการขายผนั แปร 50 บาทตอ่ หนว่ ย ราคาตลาดทขี่ ายใหก้ ับบุคคลภายนอก 500 บาทตอ่ หน่วย
10 - 30 การบญั ชตี น้ ทุน 2 ให้ทา 1. กาหนดราคาโอนทแี่ ผนกผลติ ท่ที ้งั สองแผนกจะยอมรับได้ ถ้าหากแผนก A มีกาลงั การ ผลิตเหลือพอทีจ่ ะผลิตช้นิ ส่วนให้แผนก B 2. กาหนดราคาโอนท่ีแผนกผลติ ท่ีทงั้ สองแผนกจะยอมรบั ได้ ถ้าหากแผนก A มีปรมิ าณ การผลิตเต็มท่ี 20,000 หนว่ ย หรอื ไมม่ ีกาลงั การผลติ เหลือจะผลติ ชนิ้ ส่วนใหแ้ ผนก B
บทที่ 11 การวิเคราะหก์ ารลงทนุ การตัดสนิ ใจเป็นหน้าที่หลกั ผู้บริหารของธรุ กจิ หรอื บรษิ ัทตา่ งๆ ซง่ึ การตดั สินใจท่สี าคัญ อีกลักษณะหนึ่ง คือ การตัดสินใจเก่ียวกับการลงทุนในสินทรัพย์หรือโครงการต่างๆ (Capital Investment) ท่ีต้องใช้ระยะเวลานานกว่าจะทราบว่าได้รับผลตอบแทนเท่าใด คุ้มค่ากับเงินที่ ลงทุนไปหรือไม่ ซ่ึงโครงการเหล่านี้จะเป็นลักษณะการตัดสินใจแบบระยะยาว (Long – term Decision Making) เน่ืองจากโครงการแต่ละโครงการมีรอบระยะเวลาการลงทุนหรือการ ดาเนินงานหลายปี จานวนเงนิ ที่ลงทนุ ใชเ้ งินทนุ จานวนมาก กจิ การไม่สามารถคืนทุนได้ภายใน หน่ึงปี ซงึ่ สว่ นใหญ่จะตอ้ งใชเ้ วลามากกวา่ หน่ึงปีขึน้ ไป ดังน้นั ผบู้ รหิ ารต้องมีขอ้ มลู หรอื เคร่ืองมือ ท่ีนามาใช้ประกอบการตัดสินในการเลือกท่ีจะยอมรับการลงทุนหรือปฏิเสธการลงทุน เพื่อให้ กิจการได้รบั ผลตอบแทนทส่ี ูงท่ีสดุ หรอื ไดร้ บั ผลประโยชนท์ ดี่ ที ่สี ุด ซ่ึงการตัดสินใจเก่ียวกับการ ลงทุนน้ี เช่น การตัดสินใจเกยี่ วกับการลงทุนที่จะขยายโรงงาน การตัดสินใจซื้อเครื่องจักรใหม่ หรือซ้ืออุปกรณ์สานักงานท่ีราคาค่อนข้างแพง ดังน้ัน การตัดสินในในลักษณะนี้มีปัจจัยท่ีต้อง นามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ ได้แก่ กระแสเงินสดสุทธิ (Net Cash flow) อัตรา ผลตอบแทนถัวเฉล่ีย (Average Rate of Return) และ ระยะเวลาคืนทุน (Payback period) ท่ี กิจการไดร้ ับตลอดอายขุ องการลงทนุ ในสนิ ทรัพยห์ รือโครงการท่ลี งทุนไป นอกจากนี้ยังมีปัจจัย เร่ืองมูลค่าของเงินตามเวลา (Time Value of Money) มาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งธุรกิจต้องให้ ความสาคญั ในการวิเคราะห์โครงการลงทุนด้วยเช่นกัน ได้แก่ มูลค่าปัจจุบัน (Present Value) มลู ค่าอนาคต (Future Value) มลู คา่ ปจั จบุ นั สุทธิ (Net Present Value) และอัตราผลตอบแทน ภายใน (Internal Rate of Return) เป็นต้น ดังนั้น การตัดสินใจเก่ียวกับการลงทุนในสินทรัพย์ และโครงการต่างๆ จาเปน็ ต้องเข้าใจข้อมูลต่างๆ เหล่าน้ี เพ่ือนามาใช้ประกอบการตัดสินใจว่า คุ้มคา่ ควรที่กิจการจะตัดสินใจลงทนุ หรือไม่
11 - 2 การบัญชตี น้ ทุน 2 ความหมายของการลงทุน การลงทุน (Capital Investment) หมายถึง การลงทุนในสินทรัพย์ลงทุน หรือโครงการ ลงทุนท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์หรือผลตอบแทนแก่กิจการในอนาคตระยะยาว (สมนึก เอื้อจิระ พงษ์พันธ์, 2552) ซง่ึ อาจเป็นการลงทนุ ในกจิ กรรมหลักอย่างใดอย่างหนึ่งของการดาเนินธุรกิจ โดยกจิ การคาดหวงั กระแสเงนิ สดหรอื ผลตอบแทนทไ่ี ดร้ ับกลบั มาในอนาคต (ไพฑูรย์ อินต๊ะขัน, 2554) การวิเคราะห์การลงทุนมีลักษณะที่สาคัญ คือ การลงทุนจะใช้จานวนเงินลงทุนที่ต้อง จา่ ยในช่วงแรก หรือการจ่ายเพิ่มในแต่ละครั้งมีจานวนมาก อายุของสินทรัพย์หรือโครงการที่ ลงทนุ และผลตอบแทนทไี่ ดร้ บั มรี ะยะเวลานาน ตลอดอายกุ ารใช้งานของสนิ ทรพั ย์นั้นๆ และเมื่อ ผู้บริหารตัดสินใจลงทุนไปแล้ว ไม่สามารถเปล่ียนแปลงการตัดสินใจน้ันได้ ดังนั้น กิจการจึง จาเป็นต้องทาการวิเคราะห์ว่าผลตอบแทนที่จะได้รับคุ้มค่าที่จะลงทุนหรือไม่ (สมนึก เอื้อจิระ พงษ์พันธ์, 2552) ซ่งึ จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การลงทุน หมายถึง การลงทุนหรือการ วางแผนลงทุนในสินทรัพย์ที่มีอายุการใช้งานยาวนานกว่า 1 ปี หรือลงทุนในโครงการใดๆ ที่ กิจการลงทุน เพื่อก่อให้เกิดกระแสเงินสดหรือผลตอบแทนกลับคืนมาในอนาคตระยะยาว ซ่ึง ระยะเวลาการคืนทนุ มกั จะใช้เวลานานเกินกวา่ หน่ึงปีขน้ึ ไป ประเภทของการลงทุน การลงทุนในสินทรพั ยห์ รอื โครงการใดโครงการหนงึ่ ของธรุ กจิ มหี ลายประเภท ขนึ้ อยู่ กับวัตถุประสงคห์ รือการตดั สนิ ใจของผบู้ ริหาร ซึ่งสามารถจาแนกได้ 6 ประเภท ดงั นี้ (ปรับปรุง มาจากสมนึก เอื้อจิระพงษพ์ นั ธ์, 2552) 1. การทดแทนและบารงุ รกั ษาสินทรพั ยเ์ ดิม ก า ร ล ง ทุ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ น้ี เ ป็ น ก า ร ซ้ื อ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ใ ห ม่ ม า ท ด แ ท น เ ค ร่ื อ ง จั ก ร เ ดิ ม (Replacement and Maintenance) โดยเครื่องจักรใหม่อาจมีความสามารถในการผลิต เหมือนกับเคร่ืองจักรเดมิ หรือดขี นึ้ หรอื เป็นการซอ่ มแซมบารุงใหก้ ารใช้งานของเครอ่ื งจกั รเกา่ มี ประสทิ ธภิ าพดีกวา่ เดิม หรือสามารถใช้งานไดอ้ กี หลายปี เช่น การยกเคร่ืองรถบรรทุก
บทที่ 11 การวิเคราะหก์ ารลงทุน 11 - 3 2. การลงทุนเพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน การลงทุนในลักษณะนี้เป็นการลงทุนเพ่ือวัตถุประสงค์ลดต้นทุนและเพ่ิมประสิทธิภาพ ของการทางาน เช่น ซ้ือเคร่ืองจักรใหม่เพ่ือมาแทนเครื่องจักรเดิม เพื่อให้ต้นทุนค่าแรงงาน เน่อื งจากทาให้เวลาในการทางานลดลง หรือเพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบ และประหยัดกระแสไฟฟ้า ทาใหค้ า่ ไฟฟา้ ลดลง เปน็ ตน้ 3. การลงทุนเพื่อขยายกาลงั การผลิต การลงทุนเพือ่ เพ่มิ กาลังการผลิต (Expansion) ให้มากข้ึน หรือให้มีลูกค้าที่อยู่ในตลาด เดมิ มีลูกค้ามากข้ึน โดยการเพ่ิมพนักงานขาย ช่องทางการจัดจาหน่ายให้มีความหลายหลาย มากข้ึน หรือเพิ่มสถานที่ให้มากขึ้น รวมถึงการนาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้เป็นการสร้าง ระบบการทางานระบบใหม่ให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากข้ึน เช่น มีการลงทุนใน โปรแกรมทางการบัญชีหรือโปรแกรมอื่นๆ ในการบริหารสินค้าคงเหลือ เพื่อก่อให้เกิด ผลตอบแทนในอนาคตท่ีมากขึน้ เปน็ ต้น 4. การลงทนุ เพ่ือขยายสายผลิตภณั ฑแ์ ละตลาดใหมๆ่ การลงทุนในลักษณะนี้กิจการมีความต้องการเพิ่มประเภทของผลิตภัณฑ์ใหม่ (Add New Product Lines) ซึ่งประเภทผลิตภัณฑ์ทลี่ งทนุ ใหม่น้ีอาจจะเกยี่ วขอ้ งผลติ ภณั ฑ์เดมิ หรือไม่ เก่ียวข้องก็ได้ เพื่อขยายตลาดหรือกลุ่มลูกค้าให้กว้างขวางมากข้ึน เพื่อเพ่ิมส่วนแบ่งทาง การตลาดให้กบั ธุรกจิ 5. การลงทุนเพือ่ สรา้ งภาพลกั ษณ์ให้กบั องคก์ ร การลงทุนในลักษณะน้ี เป็นการลงทุนในสินทรัพย์หรือโครงการที่เป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร (Image Improvement) ท่ีเป็นการควบคุมเกี่ยวกับการรักษา สิ่งแวดล้อม หรือรักษาความปลอดภัยในท่ีทางาน โครงการจะเน้นการปฏิบัติงานให้มีความ ถูกตอ้ งตามกฎหมาย ท้งั ด้านระเบยี บ แรงงาน การประกันภัย หรือ โครงการต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เป็นต้น เพื่อแสดงให้เห็นว่ากิจการมีความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility) ซ่ึงโครงการเหล่าน้ีจะส่งผลกระทบต่อผลการ ดาเนนิ งานขององค์กรในอนาคตได้ 6. การลงทุนในลกั ษณะอ่ืนๆ (Other Investment) การลงทุนในลักษณะอ่ืนๆ เป็นการลงทุนที่นอกเหนือจากท่ีกล่าวมาข้างต้น เช่น การ ลงทุนสร้างอาคารสานกั งาน อาคารโรงงาน การลงทุนในพันธบัตรหุ้นกู้ การลงทุนในสินทรัพย์
11 - 4 การบญั ชตี ้นทุน 2 ลงทุนอ่นื ๆ หรือ การลงทนุ ในงานที่เกย่ี วกับการวจิ ยั และพัฒนา (Research and Development) เปน็ ตน้ เพอ่ื ส่งผลตอ่ การสร้างผลกาไรจากการดาเนินงานในอนาคตใหม้ ากข้นึ ขนั้ ตอนการวิเคราะหก์ ารลงทนุ การวิเคราะห์การลงทุนเป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการท่ีกิจการได้รับผลตอบแทนจาก การลงทุนตลอดอายุของโครงการลงทุนน้ัน ว่าเงินที่ลงทุนไปในช่วงแรกให้ผลตอบแทนคุ้มค่า หรือไม่ ดงั นั้นเพ่อื ให้การวิเคราะห์โครงการลงทุนมีความสมบูรณ์ถูกต้อง สามารถกาหนดเป็น ขั้นตอนในการวิเคราะห์การลงทุนตามลาดับ ดังนี้ (ปรับปรุงจากสมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, 2552) 1. การประมาณการกระแสเงินสดสทุ ธิ ตลอดอายขุ องโครงการ การประมาณกระแสเงินสดสุทธิ (Net Cash Flow Forecast) เป็นการคานวณจาก กระแสเงนิ สดรับและกระแสเงินสดจ่ายตลอดอายขุ องโครงการ หรือประมาณการจากกระแสเงิน สดจากกิจกรรมการดาเนินงาน กิจกรรมการลงทุนในสินทรัพย์และกิจกรรมการจัดหาเงินจาก ข้อมูลประมาณการในงบกระแสเงินสดแล้วนามาคานวณเพ่ือหากระแสเงินสดสุทธิของกิจการ เนอื่ งจากกระแสเงนิ สดสุทธิของการลงทุนในสินทรัพย์หรือโครงการที่กิจการได้รับ ไม่ได้รับแค่ ครงั้ เดยี ว แต่ไดร้ ับเปน็ ประจาทกุ ปีตลอดอายขุ องโครงการที่ลงทุนไป 2. การประเมินความเสี่ยงของกระแสเงินสดสทุ ธิท่ีได้รบั ในอนาคต การประเมินความเสี่ยงของเงินสดสุทธทิ คี่ าดว่าจะไดร้ บั ในอนาคต (Risk Evaluation for Net Cash Flow Forecast) อาจอยภู่ ายใต้ความไม่แน่นอน หรือ อาจมีความน่าจะเป็นของการ ไดร้ ับกระแสเงินสดหรอื การจ่ายออกไปของกระแสเงนิ สดของกิจกรรมตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วข้อง 3. การกาหนดอตั ราผลตอบแทนขนั้ ตา่ ของของเงินลงทุน การกาหนดอตั ราผลตอบแทนข้นั ตา่ (Minimum Rate of Return) ที่กจิ การต้องการเพ่ือ ใช้ในการคาดคะเนว่ากระแสเงินสดสุทธิท่ีกิจการจะได้รับให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน เมื่อมีการ พจิ ารณาถึงมูลค่าของเงนิ ตามเวลา 4. การประมาณการจานวนเงินที่กิจการต้องจ่ายลงทนุ ครงั้ แรก การประมาณจานวนเงนิ ทีก่ ิจการตอ้ งลงทุนเร่ิมแรก (Initial Investment Forecast) เพื่อ นาไปพิจารณาถึงผลตอบแทนหรือกระแสเงินสดสุทธิที่กิจการควรจะได้รับแต่ละปีตลอดอายุ โครงการลงทุน
บทที่ 11 การวิเคราะห์การลงทุน 11 - 5 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู เก่ยี วกบั การลงทนุ ด้วยเทคนิ ควิธีต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุนในโครงการใดโครงการหน่ึงท่ี ระยะเวลาการลงทุนมากกว่าหนึ่งปี จาเป็นต้องคานึงถึงค่าของเงินด้วย ดังน้ัน เครื่องมือท่ี เหมาะสมในการพจิ ารณาต้องเปน็ เครื่องมือทต่ี อ้ งพิจารณาถงึ มูลค่าของเงินตามเวลา ซึ่งเทคนิค วิธกี ารต่างๆ ท่ีเหมาะสม เช่น อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ระยะเวลาคืนทุน มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนภายใน ดัชนีความสามารถในการทากาไร เปน็ ต้น เพื่อให้เข้าใจในขั้นตอนของการวิเคราะห์การลงทุน สามารถแสดงขั้นตอนการ วิเคราะห์ ดงั ภาพที่ 11.1 การประมาณการกระแสเงินสดสทุ ธิ การประเมนิ ความเสย่ี งของเงนิ สดสทุ ธิ การกาหนดอตั ราผลตอบแทนของเงนิ ลงทุน การประมาณจานวนเงนิ ทก่ี จิ การตอ้ งจ่ายลงทนุ คร้งั แรก การวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ียวกบั การลงทนุ ดว้ ยเทคนิควธิ ตี า่ งๆ ระยะเวลาคืนทนุ อตั ราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ มูลค่าปจั จบุ ันสทุ ธิ อัตราผลตอบแทนภายใน ดัชนคี วามสามารถในการทากาไร ภาพที่ 11.1 ขั้นตอนการวิเคราะหก์ ารลงทนุ
11 - 6 การบัญชตี น้ ทุน 2 ข้อมูลในการวิเคราะหก์ ารลงทนุ การวิเคราะห์การลงทุนมีวิธีการวิเคราะห์ท่ีหลากหลายตามความเหมาะสมของแต่ละ โครงการ และแต่ละวิธีมีการใช้ขอ้ มลู เพ่ือนามาใช้ประกอบการวเิ คราะหก์ ารลงทุน คือ 1) กระแส เงินสดสุทธิในแต่ละปีตลอดอายุของโครงการ 2) มูลค่าของเงินตามเวลา (วรรณี เตโชโยธิน, สมชาย สภุ ทั รกลุ และมนวิกา ผดงุ สทิ ธ์ิ, 2558 และ ศศิวิมล มีอาพล, 2557) 1. กระแสเงินสดสทุ ธิในแต่ละปี ตลอดอายขุ องโครงการ กระแสเงินสดรับสุทธิ (Net Cash Flow) ในแต่ละปีตลอดอายุของโครงการ หมายถึง กระแสเงนิ สดรบั จากการดาเนินโครงการหกั ด้วยกระแสเงินสดจา่ ยจากการดาเนนิ งานในแต่ละปี (วรรณี เตโชโยธนิ , สมชาย สุภัทรกลุ และมนวกิ า ผดุงสิทธ์ิ, 2558) ดังนั้น จะเห็นได้ว่า กระแส เงินสดสุทธิ จะประกอบด้วย กระแสเงินสดรับ และกระแสเงินสดจ่ายจากการดาเนินโครงการ นั้นๆ ซงึ่ กระแสเงินสดรบั จากการดาเนนิ งานในแต่ละปีจะเป็นกระแสเงนิ สดรับเนื่องจากการขาย สินค้า ซ่ึงถือเป็นกระแสเงินสดรับหลักของธุรกิจ หรืออาจได้มาเน่ืองจากกิจกรรมอื่นๆ ท่ี นอกเหนือจากการขายก็ได้ สว่ นกระแสเงินสดจ่ายจะเป็นกระแสเงินสดที่กิจการจ่ายไปสาหรับ การผลิตสินค้าถ้าเป็นธรุ กิจประเภทผลิตสินค้า หรือกระแสเงินสดท่ีจ่ายไปสาหรับการซ้ือสินค้า ถ้าหากเป็นธุรกิจซ้ือขายสินค้า และจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จ่ายค่าภาษีเงินได้ รวมถึงเงนิ ทนุ หมนุ เวียนสาหรับการดาเนินงานของโครงการ ซ่ึงกระแสเงินสดรับ และกระแสเงิน สดจ่ายของกิจการเกิดข้ึนเนื่องจากกิจกรรมต่างๆ สามารถจาแนกได้เป็น 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการดาเนนิ งาน กิจกรรมการลงทนุ และกิจกรรมการจดั หาเงนิ ดงั แสดงในตารางที่ 11.1 ดังน้ี ตารางท่ี 11.1 กระแสเงินสดรบั และกระแสเงนิ สดจา่ ยจากกิจกรรมตา่ งๆ กิจกรรม กระแสเงินสดรบั กระแสเงินสดจ่าย กิจกรรมการดาเนนิ งาน 1) รบั จากการขายสนิ ค้าหรอื บรกิ าร 1) ซอื้ สินคา้ หรอื ให้บริการลกู ค้า (Operating Activity) 2) รับจากรายได้ค่าสิทธิ 2) จ่ายค่าใชจ้ า่ ยตา่ งๆ จากการ 3) รับจากคา่ ธรรมเนยี ม ค่านายหนา้ ดาเนินงานของกจิ การ และรายไดอ้ ื่นๆ 3) จา่ ยใหแ้ ก่พนักงานและจา่ ยแทน 4) รับจากคา่ สินไหมทดแทน 5) รับจากรายได้ดอกเบย้ี และเงินปนั พนกั งาน 4) จ่ายคา่ ประกนั ภยั ผลรับ 5) จา่ ยค่าภาษีเงนิ ได้ 6) จา่ ยคา่ ดอกเบ้ยี
บทที่ 11 การวิเคราะหก์ ารลงทุน 11 - 7 ตารางท่ี 11.1 (ตอ่ ) กิจกรรม กระแสเงินสดรบั กระแสเงินสดจ่าย กจิ กรรมการลงทนุ 1) ขายท่ดี ิน อาคารและอปุ กรณ์ 1) ซ้ือท่ดี นิ อาคารและอุปกรณ์ 2) ขายสนิ ทรัพยไ์ มม่ ีตัวตน และ 2) ซอ้ื สนิ ทรัพย์ไมม่ ีตัวตน และ (Investing Activity) สนิ ทรพั ย์ระยะยาวอนื่ ๆ สนิ ทรพั ย์ระยะยาวอน่ื ๆ 3) ขายหลักทรัพย์หรอื เงนิ ลงทุน 3) ซ้ือหลักทรพั ยห์ รอื เงนิ ลงทุน 4) ขายตราสารทุนหรอื ตราสาร 4) ซื้อขายตราสารทุนหรือตรา หนขี องกจิ การอ่ืน และสว่ นได้ สารหนีของกจิ การอ่นื และ เสียในการรว่ มคา้ สว่ นไดเ้ สียในการรว่ มค้า กจิ กรรมการจัดหาเงิน 1) ออกหนุ้ หรือตราสารทนุ อื่น 1) ซื้อห้นุ ทุนคืน 2) ออกหนุ้ กู้ เงนิ กู้ยมื การจานอง 2) ไถ่ถอนหุ้นกู้ (Financing Activity) 3) กยู้ มื ระยะส้นั และระยะยาวอืน่ 3) ชาระหนเี้ งินกู้ยมื 4) จ่ายเงนิ ปนั ผลให้กับผถู้ ือหนุ้ ท่มี า : (ปรบั ปรุงจาก สภาวชิ าชีพบญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ 2558 และศศวิ ิมล มอี าพล, 2556) เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการประมาณกระแสเงินสดสุทธิมากย่ิงข้ึน สามารถอธิบาย รายละเอยี ดเก่ียวกับกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่าย พร้อมท้ังแสดงการคานวณกระแส เงินสดสุทธิ ดังแสดงในตวั อยา่ งที่ 11.1 ดงั นี้ ตวั อย่างที่ 11.1 บรษิ ัท ประชาอตุ สาหกรรม จากดั ผ้บู รหิ ารของบรษิ ทั กาลงั พจิ ารณาวา่ จะซอ้ื เคร่ืองจกั ร ใหม่เพอ่ื นามาใชผ้ ลิตสินคา้ โดยมมี ลู ค่า 600,000 บาท คาดวา่ เครอื่ งจกั รใหมน่ จ้ี ะมอี ายกุ ารใช้ งานประมาณ 10 ปี เมอ่ื ครบอายุการใชง้ านแลว้ คาดวา่ จะขายได้ 50,000 บาท ประมาณการ รายไดจ้ ากการขายสินค้ารายปเี ท่ากับ 250,000 บาท และประมาณการวา่ ต้องจา่ ยชาระคนื เงนิ กู้ รายปีเทา่ กับ 100,000 บาท จากขอ้ มูลขา้ งตน้ สามารถสรุปได้ว่าขอ้ มูลท่นี ามาใชว้ เิ คราะหก์ ารลงทนุ มดี ังน้ี เงินลงทนุ เริ่มแรก 600,000 บาท อายกุ ารใชง้ านของเครอื่ งจกั รโดยประมาณ 10 ปี มลู คา่ ทค่ี าดวา่ จะขายได้เมอื่ ครบอายกุ ารใชง้ าน 50,000 บาท
11 - 8 การบญั ชีตน้ ทนุ 2 250,000 บาท 100,000 บาท กระแสเงินสดสทุ ธิรายปี โดยประมาณ กระแสเงนิ สดรบั 150,000 บาท กระแสเงนิ สดจ่าย กระแสเงนิ สดสุทธิรายปี ตวั อย่างที่ 11.2 บริษัท อุดรอุตสาหกรรม จากัด กาลังพิจารณาลงทุนในโครงการผลิตสินค้าชนิดใหม่ ออกสู่ตลาด ซึ่งมีมูลค่า 800,000 บาท โดยประมาณการว่าจะมีรายได้และค่าใช้จ่าย โดยประมาณตลอดอายขุ องการดาเนินโครงการ ดงั นี้ 200,000 บาท ขายสนิ คา้ ขายเคร่ืองจกั รเกา่ 120,000 บาท กูย้ ืมเงนิ ระยะยาว 100,000 บาท ซอ้ื สินคา้ 80,000 บาท จา่ ยคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ งานตา่ งๆ 25,000 บาท ซอ้ื เครอื่ งจักรใหม่ 200,000 บาท จ่ายชาระหนเ้ี งินกยู้ มื ระยะยาว 50,000 บาท จากขอ้ มูลข้างต้น สามารถจาแนกกระแสเงนิ สดสทุ ธจิ ากกจิ กรรมทงั้ 3 กิจกรรม ไดด้ งั น้ี หนว่ ย : บาท กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมการดาเนินงาน : ขายสนิ ค้า 200,000 ซือ้ สินคา้ (80,000) จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งานตา่ งๆ (25,000) กระแสเงินสดสุทธจิ ากกจิ กรรมการดาเนินงาน 95,000 กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมการลงทนุ : ขายเครอื่ งจกั รเก่า 120,000 ซื้อเครอื่ งจักรใหม่ (200,000) กระแสเงนิ สดสทุ ธจิ ากกจิ กรรมการลงทุน (80,000) กระแสเงินสดจากกจิ กรรมการจดั หาเงิน : กู้ยมื เงนิ ระยะยาว 100,000 จ่ายชาระหนเ้ี งนิ กยู้ ืมระยะยาว (50,000) กระแสเงินสดสทุ ธจิ ากกจิ กรรมการจัดหาเงนิ 50,000 กระแสเงินสดสุทธิ 60,000
บทท่ี 11 การวเิ คราะหก์ ารลงทุน 11 - 9 2. มูลค่าของเงินตามเวลา ข้อมูลท่ีนามาใชป้ ระกอบการตัดสินใจเก่ียวกบั การลงทนุ นอกจากกระแสเงินสดสทุ ธิ ดัง ได้กล่าวแล้วข้างต้น ยังมีข้อมูลที่สาคัญอีกประการหนึ่งท่ีควรคานึงถึง คือ มูลค่าของเงินตาม เวลา (Time Value of Money) เน่อื งจากการลงทุนในสินทรัพย์ดาเนินงานหรือโครงการ มักจะ เปน็ การลงทนุ ในระยะยาว กจิ การจะไดร้ บั ผลตอบแทนกลับคืนมานั้น อาจต้องใช้เวลานานเกิน กวา่ หน่ึงปขี ้ึนไป ดังน้ัน ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับในแต่ละปีอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ซ่งึ เป็นการพิจารณาผลตอบแทนเป็นช่วงๆ อีกทั้ง มูลค่าของเงินของแต่ละช่วงเวลามีมูลค่าไม่ เท่ากนั การไดร้ บั เงนิ 100 บาทในวนั น้ี ย่อมดีกว่าจะไดร้ ับเงิน 100 บาท ในวันข้างหน้า เพราะ กิจการสามารถใช้ประโยชน์จากเงินจานวน 100 บาทได้ทันที ซ่ึงมูลค่าของเงินที่มีความ แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา เรียกว่า มูลค่าของเงินตามเวลา ซ่ึงมูลค่าของเงินตามเวลา สามารถพจิ ารณาได้ 2 ลักษณะ คือ 1) มูลค่าปัจจุบัน และ 2) มูลค่าในอนาคต เพื่อให้เข้าใจใน เรอ่ื งมูลคา่ ของเงนิ ตามเวลา จะขออธบิ ายรายละเอยี ดแต่ละหัวข้อตามลาดบั ดังน้ี 2.1. มูลค่าปัจจบุ นั มลู คา่ ปัจจุบัน (Present Value) หมายถงึ มูลค่าของเงนิ ทีค่ าดว่าจะได้รับในอนาคต ถ้า ขอรับเงินในวันนี้หรอื ปัจจบุ นั กิจการจะได้รับเงนิ จานวนเท่าใด นนั่ คือ ถ้าเงินทกี่ จิ การคาดว่าจะ ได้รับในอีก 5 ปีข้างหน้าเท่ากับ 1 บาท จานวนเงินท่ีจะได้รับในวันนี้มีมูลค่าเท่ากับเท่าใด โดยทว่ั ไปเงนิ ทีไ่ ดร้ บั ในวันนี้ยอ่ มมีมูลค่าท่ีน้อยกว่า 1 บาท ซึ่งสามารถคานวณโดยใช้สูตรการ คานวณหามลู คา่ ปัจจบุ นั ได้ดังน้ี มูลคา่ ปจั จุบนั (PV) = Fn หรือ Fn 1 (1 + r)n (1 + r)n โดยที่ คือ มลู คา่ ปจั จบุ ันของเงิน PV คือ จานวนเงนิ ทไี่ ด้รบั ในอนาคต หรือ มูลค่าในอนาคตของเงนิ Fn คอื อัตราดอกเบย้ี ต่อปี r คือ จานวนปี หรอื จานวนงวด n เพื่อให้มีความเข้าใจเก่ียวกับการคานวณมูลค่าปัจจุบันของเงิน จะขอยกตัวอย่างการ คานวณมูลคา่ ปจั จุบนั ดงั แสดงในตัวอย่างที่ 11.3 ดังน้ี
11 - 10 การบัญชีตน้ ทนุ 2 ตวั อย่างที่ 11.3 ในวันท่ี 1 มกราคม 25X1 นาย อเนก ไดน้ าเงนิ ไปฝากธนาคารเป็นเงนิ ฝากประจาอัตรา ดอกเบีย้ 5 % ต่อปี โดยเมื่อสิน้ ปนี ายอเนกไดร้ บั เงนิ ตอนสนิ้ ปี จานวน 52,500 บาท จากขอ้ มลู นถี้ า้ ตอ้ งการทราบวา่ นายอเนกนาเงินไปฝากธนาคารจานวนเทา่ ใด จากขอ้ มูลขา้ งตน้ สามารถแสดงการคานวณมลู คา่ ปัจจุบันของเงนิ ไดด้ งั น้ี มูลคา่ ปัจจุบัน (PV) = Fn = (1 + r)n 52,500 (1 + 0.05)1 = 50,000 บาท ดงั นน้ั จานวนเงินทนี่ ายอเนกฝากธนาคารในวนั ท่ี 1 มกราคม 25X1 คดิ เปน็ เงนิ 50,000 บาท ตวั อยา่ งท่ี 11.4 ในวันท่ี 1 มกราคม 25X1 นาย อเนก ไดน้ าเงนิ ไปฝากธนาคารเปน็ เงนิ ฝากประจาอตั รา ดอกเบ้ีย 5 % ตอ่ ปี โดยเม่ือสิ้นปีที่ 5 นายอเนกไดร้ บั เงนิ ตอนส้นิ ปี 25X5 จานวน 52,500 บาท ถ้าต้องการคานวณว่าเงินท่ีนายอเนกฝากในตอนต้นปี 25X1 จากข้อมูลน้ีถ้าต้องการทราบว่า นายอเนกนาเงนิ ไปฝากธนาคารจานวนเทา่ ใดในวนั ท่ี 1 มกราคม 25X1 จากขอ้ มูลขา้ งต้น สามารถแสดงการคานวณได้ดังนี้ มลู ค่าปจั จุบัน (PV) = Fn (1 + r)n = 63,816 (1 + 0.05)5 = 63,816 1.2763* = 50,000.78 บาท *หมายเหตุ (1 + 0.05)5 มาจากการเปิดตาราง 11.4 (FVIF i=5%, n=5) เทา่ กับ 1.2763 ซึ่ง เป็นมลู คา่ ของเงนิ ในอนาคตของเงนิ 1 บาท สาหรบั ระยะเวลา 5 ปี อตั ราดอกเบยี้ 5% ตอ่ ปี
บทท่ี 11 การวิเคราะห์การลงทุน 11 - 11 จากตวั อยา่ งท่ี 11.4 สามารถคานวณหามลู ค่าปจั จบุ นั ไดอ้ ีกวธิ หี นงึ่ ดงั นี้ มูลคา่ ปัจจบุ นั (PV) = Fn 1 (1 + r)n = 63,816 1 (1 + 0.05)5 = 63,816 (0.7835*) = 49,999.84 บาท *หมายเหตุ 1/(1 + 0.05)5 มาจากการเปดิ ตาราง 11.2 (PVIF i=5%, n=5) เท่ากบั 0.7835 ซงึ่ เปน็ มลู คา่ ปจั จุบันของเงนิ 1 บาท สาหรับระยะเวลา 5 ปี อัตราคิดลด 5% ต่อปี 2.2. มูลค่าในอนาคต มลู ค่าในอนาคต (Future Value) หมายถงึ มูลค่าของเงนิ ปัจจุบันทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ใน อนาคตเมอื่ รวมกับผลตอบแทนที่นาไปลงทุนวา่ ควรจะมีจานวนเงินเทา่ กับเทา่ ใด หรือเงนิ ท่ี ไดร้ บั 100 บาทในวันน้ี เมือ่ สนิ้ ปหี รอื อกี 5 ปขี า้ งหน้า จะมคี ่ามากกว่า 100 บาทในอนาคต ซงึ่ สามารถคานวณมูลคา่ ในอนาคต ไดด้ ังน้ี มลู ค่าในอนาคต (FV) = P(1 + r)n โดยท่ี คือ จานวนเงนิ ท่ีได้รบั ในอนาคต หรอื มลู ค่าในอนาคตของเงิน Fn คือ จานวนเงินในปจั จุบัน หรอื มลู ค่าปัจจุบนั ของเงนิ P คือ อัตราดอกเบยี้ ตอ่ ปี r คอื จานวนปี หรือ จานวนงวด n เพอื่ ให้มีความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การคานวณมูลค่าในอนาคตของเงนิ จะขอยกตัวอย่างการ คานวณมลู คา่ ในอนาคตของเงิน ดงั แสดงในตวั อย่างที่ 11.5 ดงั นี้
11 - 12 การบัญชตี น้ ทุน 2 ตวั อย่างท่ี 11.5 บริษัท อุดรการค้า จากัด นาเงินของกิจการไปลงทุนซื้อหุ้นในวันท่ี 1 มกราคม 25X1 จานวน 500,000 บาท โดยมอี ัตราผลตอบแทนเท่ากับ 10% ตอ่ ปี ใหค้ านวณหามูลคา่ ในอนาคต ของเงนิ พร้อมผลตอบแทนทีบ่ รษิ ทั ไดร้ ับในตอนส้ินปี จะได้รบั เงนิ ต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นจานวน เงนิ เท่ากับเทา่ ใด จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สามารถแสดงการคานวณไดด้ งั น้ี มูลคา่ ในอนาคต (FV) = P(1 + r)n = 500,000 (1 + 0.10)1 = 550,000 บาท ดังน้นั บริษัท อุดรการค้า จากัด จะได้รับเงินต้นพร้อมผลตอบแทนในวันสิ้นปี เท่ากับ 550,000 บาท ตวั อยา่ งท่ี 11.6 บริษัท อุดรการค้า จากัด นาเงินของกิจการไปลงทุนซ้ือหุ้นในวันท่ี 1 มกราคม 25X1 จานวน 500,000 บาท โดยมอี ัตราผลตอบแทนเทา่ กบั 10% ต่อปี ให้คานวณหามลู คา่ ในอนาคต ของเงินพร้อมผลตอบแทนท่ีบริษัทได้รับในตอนส้ินปี 25X5 จะได้รับเงินต้นพร้อมดอกเบ้ีย จานวนเงินเท่ากบั เท่าใด มลู ค่าในอนาคต (FV) = P(1 + r)n = 500,000 (1 + 0.10)5 = 500,000 (1.6105*) = 805,250 บาท ดงั น้ัน บริษัท อุดรการค้า จากัด จะได้รับเงินต้นพร้อมผลตอบแทนในวันสิ้นปี เท่ากับ 805,250 บาท *หมายเหตุ 1 + 0.10)5 มาจากการเปดิ ตาราง 11.4 (FVIF i=10%, n=5) เท่ากบั 1.6105 ซึ่ง เป็นมลู คา่ ในอนาคตของเงนิ 1 บาท สาหรบั ระยะเวลา 5 ปี อัตราดอกเบ้ยี 10% ต่อปี
บทที่ 11 การวิเคราะหก์ ารลงทนุ 11 - 13 เคร่ืองมือในการวิเคราะหก์ ารลงทุน การตดั สนิ ใจของผู้บริหารที่เกย่ี วกับการวิเคราะห์การลงทุน จาเป็นต้องมีเครื่องมือที่ใช้ สาหรับการวิเคราะห์การลงทุนท่ีใช้พิจารณาสาหรับการลงทุนในสินทรัพย์หรือโครงการท่ีมี ผลตอบแทนหรือกระแสเงินสดสุทธิท่ีได้รับกลับคืน โดยระยะเวลาที่ได้รับผลตอบแทนจะใช้ เวลานานกวา่ หนง่ึ ปตี ลอดอายุของโครงการท่ลี งทนุ หรือเพื่อเปน็ ข้อมลู วิเคราะห์เปรียบเทียบว่า โครงการใดใหผ้ ลตอบแทนของแต่ละโครงการดหี รอื เหมาะสมท่ีสดุ ซงึ่ เครื่องมือในการวิเคราะห์ การลงทุน สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) เคร่ืองมือวิเคราะห์ที่ไม่คานึงถึงมูลค่าปัจจุบัน และ 2) เคร่ืองมือวิเคราะห์ที่คานึงถึงมูลค่าปัจจุบัน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือท่ีใช้ในการ วเิ คราะห์การลงทุน สามารถอธิบายรายละเอยี ดแตล่ ะวธิ ตี ามลาดับ ดังนี้ 1. เครอ่ื งมือวิเคราะหท์ ่ีไม่คานึงถึงมูลค่าปัจจบุ นั การวิเคราะห์การลงทนุ แบบไม่ได้คานึงถึงมูลค่าปจั จุบัน เปน็ วธิ ีการคานวณท่ีไม่ยุ่งยาก พิจารณาจากกระแสเงินสดรบั สุทธิ และกาไรสทุ ธิทางบญั ชกี ส็ ามารถตัดสนิ ใจไดว้ ่าควรลงทุนใน โครงการนน้ั หรือไม่ ซ่ึงไม่ตอ้ งคานงึ ถงึ ค่าของเงนิ ตามเวลา เครอ่ื งมือในลกั ษณะน้ีเหมาะกับการ ประเมนิ โครงการทีม่ ีการดาเนินงานช่วงเวลาสน้ั ๆ เครื่องมือท่ีใช้วิเคราะห์การลงทุนวิธีนี้ ได้แก่ อตั ราผลตอบแทนถัวเฉลยี่ และ ระยะเวลาคืนทนุ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทุน โดยใช้อัตราผลตอบแทนถัว เฉลย่ี และระยะเวลาคืนทนุ สามารถอธบิ ายและแสดงตวั อย่างการคานวณแต่ละวธิ ี ตามลาดับ 1.1. อตั ราผลตอบแทนถวั เฉลี่ย วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมูลโครงการลงทุนโดยใช้อัตราผลตอบแทนถัวเฉล่ีย (Average Rate of Return : ARR) เป็นการพิจารณากาไรสุทธิถัวเฉลี่ยของกิจการเทียบกับเงินลงทุนถัวเฉลี่ย หรอื เงินลงทุนในสนิ ทรัพยถ์ ัวเฉลี่ย ซ่ึงวิธีน้ีไม่ต้องคานึงถึงกระแสเงินสดสุทธิของกิจการ หรือ วธิ ีนีเ้ รียกอีกอย่างหน่ึงว่า อัตราผลตอบแทนทางบัญชี (Accounting Rate of Return) สามารถ คานวณ โดยใช้สูตร ดังนี้ อัตราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ = กาไรสทุ ธถิ วั เฉลยี่ X100 เงินลงทุนถัวเฉล่ีย โดยท่ี เงนิ ลงทนุ ถัวเฉลยี่ สามารถคานวณไดด้ งั นี้ เงินลงทนุ ถวั เฉลย่ี = เงินลงทนุ คงเหลือต้นงวด + เงนิ ลงทนุ คงเหลอื ปลายงวด 2
11 - 14 การบญั ชตี น้ ทุน 2 เกณฑก์ ารตดั สินใจ กจิ การควรตัดสนิ ใจเลอื กลงทุนในโครงการทมี่ อี ตั ราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ สงู ทส่ี ดุ หรอื มี อตั ราผลตอบแทนถัวเฉลย่ี สงู กวา่ อัตราผลตอบแทนข้ันต่าทต่ี อ้ งการ ขอ้ ดี : อัตราผลตอบแทนถวั เฉลยี่ 1. งา่ ยต่อการคานวณ ไม่ซบั ซ้อนจงึ คานวณได้อยา่ งรวดเร็ว 2. เป็นที่นยิ มใชใ้ นการคานวณ เนอ่ื งจากใช้กาไรสทุ ธิทางการบัญชีในการคานวณ ข้อเสีย : อตั ราผลตอบแทนถวั เฉล่ีย 1. ไม่คานงึ ถงึ มลู ค่าของเงนิ ตามเวลา 2. ไมน่ าข้อมูลกระแสเงนิ สดมาพิจารณา เพราะใช้เพยี งขอ้ มลู ทางการบญั ชี ซึ่งอาจไม่ เพียงพอตอ่ การตดั สนิ ใจ เพ่อื ใหเ้ ข้าเกี่ยวกับการคานวณอตั ราผลตอบแทนถัวเฉลยี่ จะขอยกตวั อย่างการคานวณ ดงั แสดงในตวั อย่างที่ 11.7 ดงั นี้ ตวั อยา่ งท่ี 11.7 บริษทั อนันตพ์ าณิช จากดั กาลงั ตดั สนิ ใจลงทนุ ในโครงการหนง่ึ โดยมขี อ้ มลู ดังน้ี เงนิ ลงทนุ ในโครงการ 1,000,000 บาท อายุของโครงการ 10 ปี กาไรสทุ ธิถวั เฉล่ยี ต่อปี 200,000 บาท อตั ราผลตอบแทนขน้ั ต่า 15 % จากขอ้ มูลขา้ งต้น สามารถคานวณหาอัตราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ ได้ดงั นี้ อัตราผลตอบแทนถวั เฉลี่ย = กาไรสทุ ธิถัวเฉลยี่ เงนิ ลงทุนถวั เฉลย่ี X100 = 200,000 1,000,000 X100 = 20 %
บทที่ 11 การวเิ คราะห์การลงทุน 11 - 15 จากขอ้ มูลอตั ราผลตอบแทนถัวเฉลี่ยของบริษทั มีค่าเทา่ กับ 20 % ซงึ่ เมอื่ พิจารณาแลว้ มี ค่าท่สี ูงกว่าอัตราผลตอบแทนขัน้ ตา่ ทต่ี อ้ งการ ดังน้นั กิจการควรยอมรับโครงการลงทุนน้ี 1.2. ระยะเวลาคืนทุน การพิจารณาว่าโครงการควรลงทุนหรือไม่นั้น อาจพิจารณาจากระยะเวลาคืนทุน (Payback Period : PP) ของโครงการท่ีกิจการลงทุน เพื่อหาว่ากิจการจะได้รับผลตอบแทน กลับคนื มาเพื่อให้เทา่ กับเงนิ ทลี่ งทุนไปเริ่มแรก หรือเป็นการพิจารณาว่าเมื่อไรท่ีกระแสเงินสด สทุ ธิทีค่ าดว่าจะได้รบั เทา่ กบั เงินลงทนุ ที่ลงทุนไปคร้ังแรก โดยในการคานวณระยะเวลาคืนทุน นั้นถ้ากระแสเงินสดที่ได้รับแต่ละปีเท่ากันหรืออาจไม่เท่ากันก็ได้ ดังน้ันการคานวณระยะเวลา คืนทุนจึงแยกเปน็ 2 กรณี คือ กรณกี ระแสเงนิ สดรับสุทธเิ ท่ากันทุกปี และกรณีกระแสเงินสดรับ สทุ ธแิ ต่ละปีไม่เทา่ กนั 1.2.1. กรณกี ระแสเงินสดรบั สุทธเิ ท่ากันทุกปี กจิ การสามารถแสดงการคานวณ ระยะเวลาคืนทนุ ไดด้ ังนี้ ระยะเวลาคนื ทนุ (PP) = เงินลงทุนเรม่ิ แรก กระแสเงนิ สดทไ่ี ดร้ ับแต่ละปี เกณฑก์ ารตดั สินใจ กิจการควรตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการที่มีระยะเวลาการคืนทุนท่ีใช้ระยะเวลาสั้น ท่ีสุด เนื่องจากโครงการใดที่มีระยะเวลาคืนทุนเร็วแสดงว่าหลังจากน้ันกิจการจะได้รับ ผลตอบแทนกลับคืนมาเร็วขึน้ นั่นเอง ข้อดี : ระยะเวลาคืนทนุ 1) เข้าใจงา่ ย และงา่ ยต่อการคานวณ 2) ทาใหล้ ดความเสย่ี งในการตดั สินใจลงทนุ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ข้อเสีย : ระยะเวลาคืนทนุ 1) ไม่คานึงถงึ มูลคา่ ของเงนิ ตามเวลา 2) ไมไ่ ดค้ านึงถึงกระแสเงนิ สดสทุ ธทิ กี่ จิ การไดร้ ับจากโครงการลงทุนหลังจากพ้น ระยะเวลาคืนทนุ ซึ่งจรงิ ๆแลว้ กระแสเงนิ สดทไ่ี ด้รบั หลังจากนเ้ี ปน็ ขอ้ มลู ที่มคี วามสาคัญต่อการ พิจารณาถึงความสามารถของการทากาไรของกิจการด้วยเช่นกนั
11 - 16 การบัญชตี น้ ทุน 2 เพอื่ ให้เขา้ เกยี่ วกบั การคานวณระยะเวลาคืนทนุ จะขอยกตวั อย่างการคานวณดงั แสดง ในตัวอยา่ งท่ี 11.8 ดังน้ี ตวั อยา่ งท่ี 11.8 บริษัท แสนสิริ จากัด ลงทุนในโครงการหนึ่งซึ่งต้องการเงินลงทุน 3,000,000 บาท โดยคาดว่าจะให้กระแสเงินสดสุทธิแต่ละปีเท่ากบั 500,000 บาท ใหค้ านวณหาระยะเวลาคนื ทุน สาหรับโครงการน้ี ระยะเวลาคืนทนุ = เงินลงทุนเร่ิมแรก กระแสเงินสดสุทธิทไี ด้รบั ตอ่ ปี = 3,000,000 500,000 = 6 ปี ดังนั้น โครงการน้ีจะมรี ะยะเวลาคืนทุนภายใน 5 ปี ตวั อย่างที่ 11.9 ตอ่ ไปนี้เปน็ ข้อมูลของบริษัท แสนสริ ิ จากดั กาลังพิจารณาว่าจะลงทุนในโครงการบ้าน จัดสรร 2 โครงการ โดยมขี อ้ มูลเงนิ ลงทุนเรม่ิ แรกและกระแสเงินสดท่คี าดวา่ จะไดร้ บั แตล่ ะปี เปน็ ดงั น้ี โครงการ A โครงการ B เงินลงทนุ เร่มิ แรก 1,500,000 2,100,000 กระแสเงินสดทคี่ าดว่าจะไดร้ ับตอ่ ปี 150,000 300,000 จากขอ้ มูลขา้ งตน้ สามารถคานวณระยะเวลาคนื ทนุ ของแต่ละโครงการ ไดด้ ังนี้ ระยะเวลาคนื ทนุ = เงนิ ลงทุนเริ่มแรก กระแสเงินสดทไี ดร้ ับตอ่ ปี
บทท่ี 11 การวเิ คราะห์การลงทุน 11 - 17 ระยะเวลาคนื ทนุ โครงการ A โครงการ B (Payback Period) = 1,500,000 = 2,100,000 150,000 300,000 = 10 ปี = 7 ปี จากการคานวณระยะเวลาคืนทุนของโครงการท้ังสอง แสดงให้เห็นว่า บริษัทควร ตดั สินใจเลอื กโครงการ B เพราะมีระยะเวลาคนื ทุนเพียง 7 ปี ซึง่ เรว็ กว่าโครงการ A 1.2.2. กรณีกระแสเงนิ สดรบั สุทธิแต่ละปไี มเ่ ทา่ กัน การคานวณระยะเวลาคนื ทนุ ในกรณที กี่ จิ การไดร้ ับกระแสเงินสดรบั สทุ ธแิ ตล่ ะปไี ม่ เทา่ กนั ต้องพิจารณาแต่ละปีวา่ กจิ การมีกระแสเงินสดรบั จานวนเท่าใด แล้วพิจารณาวา่ ปีใดทท่ี า ใหก้ ิจการไดร้ ับผลตอบแทนสะสมเท่ากบั เงนิ ลงทนุ เริม่ แรก เพอ่ื ใหเ้ ข้าเกย่ี วกบั การคานวณระยะเวลาคนื ทนุ จะขอยกตัวอยา่ งการคานวณดังแสดง ในตวั อยา่ งที่ 11.10 ดงั นี้ ตวั อย่างท่ี 11.10 บรษิ ทั ศุภาลัย จากดั ลงทุนในโครงการหนงึ่ ซงึ่ ตอ้ งการเงนิ ลงทนุ 1,500,000 บาท โดยคาดวา่ จะใหก้ ระแสเงินสดสุทธิแตล่ ะปีเป็นดังน้ี เงินลงทุนเริม่ แรก 1,500,000 บาท กระแสเงินสดสทุ ธิ ปที ่ี 1 400,000 บาท ปีท่ี 2 450,000 บาท ปีท่ี 3 500,000 บาท ปีที่ 4 600,000 บาท ปีที่ 5 650,000 บาท อัตราผลตอบแทนขนั้ ตา่ ที่ตอ้ งการ 10 %
11 - 18 การบัญชตี ้นทนุ 2 จากขอ้ มลู ขา้ งต้น สามารถคานวณระยะเวลาคนื ทุนของโครงการนี้ ไดด้ งั นี้ ปีที่ 1 400,000 ปีท่ี 2 450,000 ปที ่ี 3 500,000 150,00015x01,0200= 3 เดือน* 3 เดอื นในปที ี่ 4 150,000 รวม 1,500,000 บาท 600,000 *ในปีที่ 4 บริษัทจะไดร้ ับคืนทนุ บางส่วน 150,000 บาท จากทั้งหมด 600,000 บาท ดังนน้ั จากการคานวณขา้ งต้น ระยะเวลาคืนทนุ ของโครงการน้จี ะใช้เวลาคนื ทุนเทา่ กับ 3 ปี 3 เดือน 2. เครือ่ งมอื วิเคราะหท์ ี่คานึงถึงมูลค่าปัจจบุ นั การวิเคราะห์โครงการลงทุนแบบที่คานึงถึงมูลค่าปัจจุบัน เป็นการคานวณที่พิจารณา การประมาณการกระแสเงนิ สดสทุ ธิที่โครงการได้รับตลอดระยะเวลาของโครงการ โดยคานึงถึง มูลค่าของเงินตามเวลาประกอบดว้ ย ซ่ึงถือวา่ เป็นวิธีทีม่ ีความเหมาะสมสาหรับโครงการที่ได้รับ ผลตอบแทนคนื นานหลายปี เพราะถอื วา่ กระแสเงนิ สดที่เกิดขึ้นก่อนจะมีค่ามากกว่ากระแสเงิน สดในอนาคต หรือเงิน 100 บาทในวันนี้ จะมีมูลค่ามากกว่าเงิน 100 บาทในอนาคต ซ่ึงการ วเิ คราะห์โครงการลงทุนโดยคานึงถึงมูลค่าปัจจุบัน สามารถคานวณโดยใช้เครื่องมือ ได้แก่ 1) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 2) อัตราผลตอบแทนภายใน และ 3) ดัชนีความสามารถในการทากาไร ซึ่ง เครื่องมอื วิเคราะหแ์ ตล่ ะวิธสี ามารถอธิบายรายละเอียดแต่ละวธิ ี ดงั นี้ 2.1. มูลค่าปัจจบุ นั สทุ ธิ การวิเคราะห์โครงการลงทุนโดยใช้มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) เปน็ การคานวณหามูลคา่ ปจั จบุ ันรวมของกระแสเงนิ สดสุทธิตลอดอายุของโครงการท่ีกิจการไป ลงทุน และนาไปเทยี บกบั เงนิ ลงทุนเริ่มแรก ซึ่งวิธีการน้ีเป็นการคิดลดมูลค่าของเงินในอนาคต สามารถแยกพจิ ารณาได้ 2 กรณี ดังนี้ กรณีท่ีกระแสเงินสดสุทธิเท่ากันทุกปี และกรณีท่ีกระแส เงินสดสุทธิไมเ่ ทา่ กันในแตล่ ะปี 2.1.1. กรณที กี่ ระแสเงนิ สดสุทธิเทา่ กันทกุ ปี สามารถคานวณโดยใชส้ ูตร ดังน้ี มลู ค่าปัจจุบันสทุ ธิ (NPV) = มลู คา่ ปัจจบุ นั รวม – เงินลงทุนเรมิ่ แรก
บทท่ี 11 การวเิ คราะห์การลงทนุ 11 - 19 เกณฑก์ ารตดั สินใจ กิจการควรตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการที่มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็นบวกหรือเท่ากับ ศูนย์ แต่ถา้ หากมลู ค่าปัจจบุ ันสทุ ธเิ ป็นลบแสดงวา่ มูลคา่ ปจั จุบนั รวมท่ีกิจการจะได้รับมีน้อยกว่า เงินลงทุนเรมิ่ แรก ถ้าเป็นเช่นน้ี กจิ การไม่ควรเลือกลงทุนในโครงการนี้ ขอ้ ดี : มลู คา่ ปัจจุบนั สทุ ธิ วิธีนี้เปน็ วิธที ่คี านงึ ถึงมูลคา่ ของเงนิ ตามเวลาซง่ึ เปน็ ประโยชนต์ ่อการตัดสนิ ใจ ขอ้ เสีย : มูลคา่ ปจั จบุ ันสทุ ธิ 1) วิธีนี้ตอ้ งคานึงถึงการประมาณกระแสเงินสดสุทธิในอนาคตระยะยาว จึงอาจมี ความผิดพลาดเน่ืองจากการพยากรณไ์ ด้ 2) มวี ธิ ีการคานวณที่ยงุ่ ยากกวา่ กรณที ี่ไมค่ านงึ ถงึ มลู คา่ ของเงนิ ตามเวลา เพ่ือให้เข้าเก่ียวกบั การคานวณมลู ค่าปัจจุบนั สทุ ธิจะขอยกตัวอย่างการคานวณดงั แสดง ในตวั อย่างที่ 11.11 ดังนี้ ตวั อยา่ งที่ 11.11 ตอ่ ไปน้ีเปน็ ขอ้ มูลการลงทุนในโครงการหนึ่ง ของบริษทั ศภุ าลยั จากัด โดยมขี ้อมลู ที่ เกย่ี วกบั การลงทนุ ดังน้ี เงนิ ลงทนุ เร่ิมแรก 1,200,000 บาท อายโุ ครงการ 5 ปี กระแสเงินสดสทุ ธิตอ่ ปี 400,000 บาท อัตราผลตอบแทนขน้ั ต่าที่ตอ้ งการ 8% จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สามารถคานวณมูลค่าปัจจุบนั สุทธิ ไดด้ งั น้ี มลู ค่าปจั จบุ นั สุทธิ (NPV) = มลู คา่ ปจั จุบันรวม – เงินลงทุนเรม่ิ แรก = (400,000 x 3.9927*) - 1,200,000 = 1,597,000 - 1,200,000 = 397,080 บาท *จาการเปิดตาราง 11.3 (PVIFA i=8%, n=5) ค่าทไ่ี ด้เทา่ กบั 3.9927 เป็นมูลคา่ ปัจจุบันของ เงนิ 1 บาท สาหรบั ระยะเวลา 5 ปี อตั ราคดิ ลด 8% ต่อปรี วม
11 - 20 การบญั ชีตน้ ทุน 2 ดงั นั้น จากการคานวณจะเห็นได้ว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิของบริษัทมีค่าเป็นบวก นั่นคือ เท่ากับ 397,080 บาท แสดงว่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการน้ีเหมาะสม ควรท่ีกิจการจะ ลงทนุ 2.1.2. กรณที ่ีกระแสเงนิ สดสุทธิไม่เท่ากันในแตล่ ะปี ถ้าหากกระแสเงินสดสุทธิท่ีได้รับแต่ละปีไม่เท่ากัน ต้องคานวณหามูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดสุทธิแต่ละปี แล้วนามารวมกัน หลังจากน้ันค่อยนามาหักออกจากเงินลงทุน เรมิ่ แรก เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจในการคานวณมากขนึ้ สามารถแสดงการคานวณในตวั อยา่ งท่ี 11.12 ดังนี้ ตวั อย่างท่ี 11.12 บริษัท ขนสง่ โลจิสติก จากัด กาลังพิจารณาลงทุนซ้ือรถบรรทุกเพ่ือขนส่งสินค้า ราคา รถบรรทุกเท่ากับ 1,500,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี อัตราคิดลด 10% และเม่ือนาเอา รถบรรทุกมาใช้ดาเนนิ งานคาดว่าจะมกี ระแสเงินสดสุทธิแตล่ ะปี ดงั นี้ ปีที่ กระแสเงินสดสทุ ธิ 1 250,000 2 300,000 3 320,000 4 350,000 5 400,000 จากขอ้ มูลข้างตน้ สามารถแสดงการคานวณหามูลคา่ ปจั จุบันสทุ ธขิ องโครงการ ไดด้ งั นี้ ปี ที่ กระแสเงินสดสทุ ธิ ค่าเงินปัจจบุ นั มลู ค่าปัจจบุ นั 1 250,000 ของเงิน 1 บาท* 227,275 2 300,000 0.9091 247,920 3 320,000 0.8264 240,416 4 350,000 0.7513 239,050 5 400,000 0.6830 248,360 0.6209 1,203,021
บทที่ 11 การวเิ คราะห์การลงทุน 11 - 21 *มูลค่าปจั จุบนั ของเงนิ 1 บาทในแต่ละปี อตั ราคิดลด 10 % ตอ่ ปี ตามตาราง 11.2 (PVIF) = มูลคา่ ปจั จบุ ันรวม – เงนิ ลงทุนเรมิ่ แรก มูลคา่ ปจั จุบันสุทธิ (NPV) = 1,203,021 - 1,500,000 = - 296,979 บาท จากการคานวณขา้ งต้น จะเห็นได้ว่า มูลคา่ ปัจจุบันสุทธิของการลงทุนในรถบรรทกุ มคี า่ เป็นลบ เทา่ กบั 296,976 บาท แสดงว่ามลู คา่ ปจั จบุ นั ของกระแสเงินสดสุทธิมีนอ้ ยกวา่ เงินลงทนุ เร่มิ แรก ดังนนั้ บรษิ ทั จงึ ไมค่ วรลงทนุ ซอื้ รถบรรทกุ คนั น้ี 2.2. อตั ราผลตอบแทนภายใน การวิเคราะห์โครงการลงทุนโดยใช้อัตราผลตอบแทนท่ีได้รับตลอดอายุของโครงการ ลงทุน (Internal Rate of Return : IRR) โดยค่าที่ได้จะมีค่าเท่ากับอัตราคิดลดที่ทาให้มูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดรับ เท่ากับกระแสเงินสดจ่าย หรืออัตราคิดลดจะเป็นตัวทาให้มูลค่า ปจั จุบนั สุทธิของโครงการเทา่ กบั ศนู ย์ ดังนั้น อตั ราผลตอบแทนภายใน อาจเรยี กอีกอย่างหนึ่งวา่ อัตราผลตอบแทนคิดลด (Discounted Rate of Return) การวิเคราะห์การลงทุนวิธีน้ี สามารถ แยกพจิ ารณาได้ 2 กรณี ดังน้ี 2.2.1. กรณีท่ีกระแสเงนิ สดสทุ ธิเทา่ กนั ทกุ ปี ถ้ากิจการมีกระแสเงินสดสุทธิแต่ละปีเท่ากัน จะสามารถคานวณอัตราผลตอบแทน ภายในของโครงการลงทนุ ได้ดังน้ี ปจั จัยของอัตราผลตอบแทนภายใน = เงนิ ลงทนุ เริ่มแรก กระแสเงินสดสุทธแิ ต่ละปี เกณฑก์ ารตดั สินใจ กิจการควรตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการที่มีอัตราผลตอบแทนภายในมีค่ามากกว่า อัตราผลตอบแทนขนั้ ต่าทตี่ ้องการ หรือมากกว่าตน้ ทนุ ของเงินลงทุน ขอ้ ดีของการใช้อตั ราผลตอบแทนภายใน 1) เป็นวธิ ที ี่คานงึ ถึงมูลคา่ ของเงนิ ตามเวลา 2) หาอัตราผลตอบแทนของเงินลงทนุ ได้
11 - 22 การบญั ชีตน้ ทุน 2 ขอ้ เสียของการใช้อตั ราผลตอบแทนภายใน 1) โครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนและเงินลงทุนไม่เท่ากัน จะไม่สามารถนามา วเิ คราะหเ์ พื่อลงทุนได้ 2) เสยี เวลาในการคานวณค่อนข้างมาก ถา้ หากกิจการมีกระแสเงินสดสุทธิแต่ละปี ไม่เท่ากัน ต้องใช้วิธีการทดลองคานวณเพื่อหาอัตราผลตอบแทนภายในท่ีเหมาะสมท่ีทาให้ มลู คา่ ปัจจบุ นั สทุ ธิเป็นศูนย์ ซงึ่ ตอ้ งใชเ้ วลานาน เพื่อให้เข้าเกี่ยวกับการคานวณปัจจัยของอัตราผลตอบแทนภายใน ในกรณีที่กิจการมี กระแสเงินสดสุทธเิ ท่ากนั ทุกปี จะขอยกตัวอย่างการคานวณดังแสดงในตวั อยา่ งท่ี 11.13 ดังน้ี ตวั อยา่ งท่ี 11.13 โรงงานแห่งหนง่ึ มกี ารตัดสินใจทจ่ี ะลงทนุ ซ้อื เคร่ืองจักร มูลค่า 565,000 บาท มอี ายกุ าร ใช้งาน 10 ปี และถ้าเครื่องจกั รเครอ่ื งนสี้ ามารถทาให้ต้นทนุ การผลิตลดลงได้ปีละ 100,000 บาท บริษัทตอ้ งการอตั ราผลตอบแทนขนั้ ต่าทต่ี อ้ งการเทา่ กับ 8% กจิ การจะสามารถคานวณอตั ราผลตอบแทนภายในของการลงทุนซอ้ื เครอ่ื งจักร ไดด้ งั น้ี ปจั จยั ของอตั ราผลตอบแทนภายใน = เงนิ ลงทนุ เรมิ่ แรก กระแสเงนิ สดสทุ ธิแต่ละปี = 565,000 100,000 = 5.65 จากการคานวณข้างต้น แสดงให้เหน็ ว่า ปัจจัยของอัตราผลตอบแทนภายในมีคา่ เท่ากับ 5.65 จากนั้นนาข้อมูลไปหาคา่ ปัจจยั ท่ี 5.65 โดยเปดิ ตารางมลู ค่าปจั จบุ ันของเงิน 1 บาท โดยดู ที่ n = 10 พบวา่ คา่ ทไ่ี ด้จะเท่ากบั อัตราผลตอบแทนภายในท่ี 10 % ซ่ึงถ้ากิจการมีการกาหนด อัตราผลตอบแทนข้ันต่าท่ีต้องการ 8% ผู้บริหารของบริษัทควรตัดสินใจลงทุนในโครงการนี้ เนื่องจากอตั ราผลตอบแทนภายในสูงกวา่ อัตราผลตอบแทนข้ันตา่ ท่ตี อ้ งการ
บทที่ 11 การวิเคราะห์การลงทนุ 11 - 23 ตวั อยา่ งท่ี 11.14 บรษิ ัท มีการตดั สินใจท่ีจะลงทุนซื้อเคร่ืองจกั ร มูลคา่ 650,000 บาท มอี ายกุ ารใช้งาน 10 ปี และถา้ เคร่ืองจักรเครอื่ งนสี้ ามารถทาใหต้ น้ ทนุ การผลิตลดลงได้ปีละ 100,000 บาท บรษิ ทั ต้องการอตั ราผลตอบแทนขนั้ ตา่ ทีต่ ้องการเทา่ กับ 10% กจิ การจะสามารถคานวณอัตราผลตอบแทนภายในของการลงทนุ ซอ้ื เครื่องจักร ไดด้ งั น้ี ปัจจยั ของอตั ราผลตอบแทนภายใน = เงนิ ลงทนุ เรมิ่ แรก กระแสเงนิ สดสทุ ธแิ ต่ละปี = 650,000 100,000 = 6.50 จากการคานวณข้างต้น แสดงใหเ้ หน็ วา่ ปจั จยั ของอัตราผลตอบแทนภายในมคี ่าเทา่ กับ 6.50 จากนัน้ นาขอ้ มลู ไปหาคา่ ปัจจัยท่ี 6.50 โดยเปิดตารางมูลค่าปัจจุบันของเงิน 1 บาท ไม่มี ค่าปัจจัยนี้ จึงไปดูที่อัตราผลตอบแทนที่ใกล้เคียง ที่ระยะเวลา (n) เท่ากับ 10 ปี ซ่ึงอัตรา ผลตอบแทนภายในจะอยู่ระหว่าง 8% และ 9% การคานวณอตั ราผลตอบแทนภายในจึงสามารถ คานวณได้ดงั นี้ ปัจจยั ของอตั ราผลตอบแทนภายใน (จากการเปิดตาราง PVIFA) อัตราผลตอบแทนภายใน 8% 6.7101 6.7101 อตั ราผลตอบแทนภายใน 9% 6.4177 อัตราท่คี านวณได้ 6.5000 ผลตา่ ง 0.2924 0.2101 อตั ราผลตอบแทนภายใน = 8% + 0.2101 0.2924 = 8.7185 % หรอื ประมาณ 8.72% จากการคานวณข้างตน้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการนี้จะมคี า่ เท่ากบั 8.72% ซง่ึ มคี ่าต่ากวา่ อัตราผลตอบแทนขั้นต่าที่ต้องการ ดังนั้น บริษัทไม่ควรตัดสินใจ ลงทุนในเครอ่ื งจกั รเครอ่ื งนี้
11 - 24 การบญั ชีตน้ ทุน 2 2.2.2. กรณีที่กระแสเงนิ สดสทุ ธิไมเ่ ทา่ กนั ในแตล่ ะปี การคานวณอัตราผลตอบแทนภายในในกรณีที่กิจการมีกระแสเงินสดสุทธิไม่เท่ากันใน แต่ละปี มีลักษณะการคานวณที่เหมือนกันกับกรณีท่ีมีกระแสเงินสดสุทธิเท่ากันทุกปี เพียงแต่ หามลู คา่ ปัจจบุ ันของกระแสเงนิ สดสทุ ธขิ องแตล่ ะปี แล้วใชว้ ิธกี ารทดลองคานวณจนกระทง่ั ทาให้ มลู คา่ ปจั จบุ นั เปน็ ศนู ยห์ รือใกลเ้ คียงมากท่ีสุด จงึ จะถือว่าจุดน้ันเป็นอัตราผลตอบแทนภายในที่ เหมาะสมของโครงการนัน้ ๆ เพอื่ ใหเ้ ขา้ เกย่ี วกับการคานวณปัจจัยของอัตราผลตอบแทนภายใน ในกรณีที่กิจการมี กระแสเงินสดสทุ ธเิ ท่ากันทกุ ปี จะขอยกตวั อย่างการคานวณดังแสดงในตวั อยา่ งที่ 11.15 ดงั นี้ ตวั อย่างท่ี 11.15 บริษทั ลอ้ มดาว จากดั มขี อ้ มลู เกี่ยวกับการลงทนุ ซ้ือเคร่อื งถา่ ยเอกสารยี่ห้อหนึง่ ซง่ึ มี ขอ้ มูลเกยี่ วกับการลงทุนในสินทรพั ยด์ ังกล่าว ดงั นี้ เงนิ ลงทุนเริม่ แรก 190,000 บาท อายกุ ารใชง้ าน 5 ปี อตั ราผลตอบแทนขนั้ ตา่ ที่ตอ้ งการ 10 % กระแสเงนิ สดสุทธแิ ต่ละปี มีดังน้ี กระแสเงินสดสทุ ธิ ปี ท่ี 50,000 1 55,000 60,000 2 45,000 50,000 3 4 5 จากขอ้ มูลข้างต้น สามารถแสดงการคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ ไดด้ งั นี้
บทท่ี 11 การวเิ คราะห์การลงทุน 11 - 25 ปี ท่ี กระแสเงินสดสทุ ธิ ค่าเงินปัจจบุ นั มูลค่าปัจจบุ นั 1 50,000 ของเงิน 1 บาท* 45,455 2 55,000 0.9091 45,452 3 60,000 0.8264 45,078 4 45,000 0.7513 30,735 5 50,000 0.6830 31,045 0.6209 197,765 *มลู คา่ ปัจจุบันของเงนิ 1 บาทในแตล่ ะปี อตั ราคดิ ลด 10% ตอ่ ปี ตามตารางที่ 11.2 มลู คา่ ปัจจุบนั สทุ ธิ = มูลค่าปัจจบุ นั รวม – เงนิ ลงทนุ เรมิ่ แรก = 197,765 - 190,000 = 7,765 บาท จากการคานวณขา้ งต้น จะเห็นได้วา่ มลู คา่ ปัจจบุ ันสทุ ธิเทา่ กบั 7,765 บาท ซึง่ มคี ่าเปน็ บวกอย่คู อ่ นขา้ งมาก แสดงวา่ อตั ราผลตอบแทนภายในจากการลงทนุ ในโครงการตอ้ งมคี า่ ทส่ี งู กวา่ 10 % ดงั นนั้ จงึ ทดลองเพ่อื หามลู คา่ ปัจจบุ นั สทุ ธิใหม่ โดยใชอ้ ตั ราคดิ ลด 12 % ปี ท่ี กระแสเงินสดสทุ ธิ ค่าเงินปัจจบุ นั มลู ค่าปัจจบุ นั ของเงิน 1 บาท* 1 50,000 44,645 2 55,000 0.8929 43,846 3 60,000 42,708 4 45,000 0.7972 28,598 5 50,000 28,370 0.7118 188,167 0.6355 0.5674 *มลู คา่ ปัจจบุ นั ของเงนิ 1 บาทในแต่ละปี อตั ราคดิ ลด 12% ตอ่ ปี ตามตารางท่ี 11.2 มูลค่าปัจจบุ นั สุทธิ = มลู คา่ ปัจจุบันรวม – เงินลงทนุ เรม่ิ แรก = 188,167 - 190,000 = - 1,833 บาท
11 - 26 การบัญชีต้นทุน 2 จากการคานวณข้างต้น จะเห็นได้ว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ - 1,833 บาท ซ่ึงมีค่า เปน็ ลบ แสดงวา่ อัตราผลตอบแทนภายในจากการลงทุนในโครงการต้องมคี ่านอ้ ยกวา่ 12% นนั่ คอื ค่าท่ถี ูกตอ้ งจะอยู่ระหว่าง 10 % ถึง 12% ซึ่งมีวิธีการคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายใน ไดด้ ังน้ี อตั ราคิดลด มูลค่าปัจจบุ นั รวม 10 % 197,765 12% 188,167 ผลตา่ ง 2% 9,598 มลู ค่าปัจจบุ นั รวมตา่ งกนั 9,598 บาท อตั ราคดิ ลดต่างกนั 2% ถ้ามลู ค่าปจั จุบนั ตา่ งกนั (197,765 - 190,000) อตั ราคิดลดตา่ งกนั = 2% x 7,765 = 7,765 บาท 9,598 = 1.62 % ดงั นนั้ อตั ราผลตอบแทนภายในของโครงการลงทุนเท่ากับ 11.62% (10 % + 1.62 %) เมอื่ ไปเทยี บกับอัตราผลตอบแทนขั้นต่าท่ีต้องการแล้ว จะเห็นได้ว่า อัตราผลตอบแทนภายใน ของโครงการน้ีจะมคี ่าเทา่ กบั 11.62% ซึ่งมีค่าสูงกว่าอัตราผลตอบแทนข้ันต่าท่ีต้องการ ดังน้ัน บรษิ ัทควรตดั สินใจลงทนุ ซอื้ อปุ กรณส์ านกั งานชนดิ น้ี 2.3. ดชั นีความสามารถในการทากาไร เคร่อื งมือท่ีนามาใชว้ ิเคราะห์การลงทุนอีกเคร่ืองมือหนึ่ง คือ ดัชนีความสามารถในการ ทากาไร (Profitability Index : PI) ซึ่งคานวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิรวม ตลอดอายุโครงการแลว้ หารด้วยเงินลงทนุ เริม่ แรก ซ่งึ สามารถคานวณโดยใชส้ ตู รดังนี้ ดัชนีความสามารถในการทากาไร = มูลคา่ ปจั จบุ นั ของกระแสเงนิ สดสทุ ธิรวม เงนิ ลงทนุ เรม่ิ แรก เกณฑก์ ารตดั สินใจ กิจการควรตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการท่ีมีดัชนีความสามารถในการทากาไรมีค่า มากกว่า 1 ซึ่งหมายความว่า กิจการมีมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิรวมมากกว่าเงิน ลงทนุ เร่มิ แรก
บทที่ 11 การวเิ คราะห์การลงทนุ 11 - 27 ขอ้ ดี : ดัชนคี วามสามารถในการทากาไร วธิ ดี ชั นีความสามารถในการทากาไรเปน็ วธิ ีทคี่ านึงถงึ มลู ค่าของเงนิ ตามเวลา ขอ้ เสีย : ดชั นคี วามสามารถในการทากาไร วิธีน้ีต้องคานึงถึงการประมาณกระแสเงินสดสุทธิในอนาคตระยะยาว จึงอาจมี ความผดิ พลาดเนอื่ งจากการพยากรณไ์ ด้ เพอื่ ใหเ้ ข้าเกีย่ วกบั การคานวณดัชนคี วามสามารถในการทากาไร จะขอยกตัวอย่างการ คานวณดงั แสดงในตัวอย่างที่ 11.16 ดังน้ี ตวั อยา่ งท่ี 11.16 จากขอ้ มูลในตวั อยา่ งท่ี 11.15 บรษิ ัท ลอ้ มดาว จากดั มมี ลู ค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด สุทธิรวมเท่ากับ 197,765 บาท เงินลงทุนเร่ิมแรกเท่ากับ 190,000 บาท ดังน้ัน สามารถ คานวณหาดัชนีความสามารถในการทากาไร ได้ดงั น้ี ดัชนีความสามารถในการทากาไร = มูลค่าปัจจบุ นั ของกระแสเงนิ สดสทุ ธิรวม เงินลงทุนเริ่มแรก = 197,765 190,000 = 1.04 จากการคานวณขา้ งต้น จะเห็นไดว้ ่า ค่าดัชนีความสามารถในการทากาไรเท่ากับ 1.04 ซึง่ มีคา่ มากกว่า 1 แสดงว่ากิจการควรตัดสินใจเลือกซ้ือเครื่องถ่ายเอกสารเพ่ือนามาใช้ในการ ดาเนนิ งาน
11 - 28 การบัญชตี ้นทุน 2 สรปุ การวเิ คราะหก์ ารลงทุนเปน็ การตดั สินใจทสี่ าคญั ของผู้บริหาร ซง่ึ มที ัง้ การตัดสนิ ใจระยะ ส้ันและระยะยาว จึงเป็นส่ิงท่ีผู้บริหารจาเป็นต้องวางแผนการลงทุนอย่างรอบคอบ และ ระมัดระวัง เพราะการลงทุนในสินทรัพย์และโครงการลงทุนต่างๆ ต้องใช้เงินจานวน คอ่ นขา้ งมาก และผลตอบแทนหรือกระแสเงินสดสุทธิท่ีได้รับนั้นจะใช้เวลานาน ดังน้ัน เพื่อให้ การตัดสินใจเก่ียวกบั การลงทุนให้ผลประโยชนแ์ ละผลตอบแทนท่เี หมาะสมทีส่ ดุ และเปน็ การลด ความเส่ียงในการลงทุนที่อาจจะเกิดขึ้น ขั้นตอนและเคร่ืองมือท่ีนามาใช้ในการวิเคราะห์การ ลงทนุ จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ขั้นตอนการวิเคราะห์การลงทุน เริ่มต้ังแต่การประมาณกระแส เงินสดสุทธิที่จะได้รับในอนาคต การประเมินความเสี่ยงของกระแสเงินสดสุทธิท่ีจะได้รับ การ กาหนดอัตราผลตอบแทนข้ันตา่ ทตี่ ้องการ การประมาณจานวนเงินทตี่ อ้ งจ่ายลงทนุ เริม่ แรก และ การคานวณเพื่อวิเคราะห์การลงทุนในสินทรัพย์และโครงการลงทุน ที่กิจการต้องการลงทุนมี ความคุ้มคา่ น่าลงทุนหรือไม่ ซึ่งเครื่องมือต่างๆ ท่ีนามาใช้ในการวิเคราะห์การลงทุน สามารถ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ คอื เครอื่ งมอื วิเคราะห์ท่ีไมค่ านึงถึงมลู คา่ ปัจจบุ ัน ซ่ึงประกอบด้วย 2 วิธี ไดแ้ ก่ อัตราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ และระยะเวลาคืนทุน และเคร่ืองมือวิเคราะห์ท่ีคานึงถึงมูลค่า ปจั จุบัน ประกอบดว้ ย 4 วิธี ได้แก่ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนภายใน ระยะเวลาคืน ทนุ และ ดชั นคี วามสามารถในการทากาไร ซึง่ แตล่ ะวิธีกม็ ขี ้อดแี ละขอ้ เสียแตกต่างกันข้ึนอยู่กับ ความเหมาะสมของประเภทการลงทุนหรอื ระยะเวลาของการลงทุนน้นั ๆ
ตารางที่ 11.2 Present Value of $1 Due at the End of n periods ((PVIFi,n)
11ต-า2รางทกา่ี ร1บ1ัญ.3ชีตP้นทreุนse2nt Value of an Annuity of $1 per period for n Periods
(PVIFAi,n)
ตารางที่ 11.4 Future Value of $1 at the end of n Periodบsทท(F่ี 1V1IFกาi,nร)วเิ คราะหก์ า
ารลงทุน 11 - 3
แบบฝึ กหดั ข้อ 1. นางสาวรชตซอื้ กองทุนระยะยาวเมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 25X1 จานวน 200,000 บาท โดยมี อัตราผลตอบแทนเท่ากับ 8% ตอ่ ปี อยากทราบว่านายธนาจะได้รบั เงนิ ต้นพร้อมดอกเบี้ยจานวน เทา่ กับเทา่ ใด ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X1 ให้ทา แสดงการคานวณจานวนเงนิ ทจ่ี ะได้รบั ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 ขอ้ 2. นายณฐั นาเงินไปฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากประจาเม่ือวนั ที่ 1 มกราคม 25X1 จานวน 500,000 บาท โดยมีอัตราดอกเบ้ียเท่ากับ 4.5 % ต่อปี อยากทราบว่านายณัฐจะได้รับเงินต้น พรอ้ มดอกเบ้ียจานวนเทา่ กับเทา่ ใด ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X5 ให้ทา แสดงการคานวณจานวนเงินทจ่ี ะได้รบั ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X5 ข้อ 3. นายอเนกนาเงนิ ไปฝากธนาคารโดยในอกี 5 ปีขา้ งหนา้ จะไดร้ ับเงินเทา่ กับ 450,000 บาท โดยธนาคารแห่งน้ีมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 3.5% ต่อปี อยากทราบว่าเงินท่ีนายเอนกขอรับใน วันนจ้ี ะเปน็ เงนิ จานวนเทา่ ใด ให้ทา แสดงการคานวณเพือ่ หาจานวนเงินทจี่ ะได้รบั ในวันน้ี ข้อ 4. นายประชานาเงนิ ไปลงทุนซอื้ หุน้ โดยในอีก 10 ปขี ้างหน้าจะไดร้ บั เงนิ เท่ากบั 1,500,000 บาท โดยอัตราผลตอบแทนถัวเฉล่ยี จากการลงทุนในหนุ้ เท่ากับ 12% ต่อปี อยากทราบว่าเงินที่ นายเอนกขอรับในวนั นีจ้ ะเป็นเงนิ จานวนเทา่ ใด ให้ทา แสดงการคานวณเพื่อหาจานวนเงนิ ท่ีจะได้รบั ในวันนี้
บทที่ 11 การวเิ คราะห์การลงทนุ 11 - 33 ขอ้ 5. บริษทั หอมหมนื่ ลี้ จากดั กาลังตัดสนิ ใจวา่ จะซอ้ื เคร่อื งจกั รเพอ่ื นามาใช้ผลิตสนิ ค้า ซงึ่ เครือ่ งจกั รนสี้ ามารถนามาใช้แทนแรงงานคนได้ โดยมรี าคาทุน 250,000 บาท ประมาณอายุการ ใชง้ าน 5 ปี เมอื่ สิ้นสดุ อายกุ ารใช้งานแลว้ คาดว่าจะขายได้ 20,000 บาท บรษิ ทั คานวณคา่ เสอื่ ม ราคาโดยใชว้ ธิ ีเส้นตรง และคาดว่าจะมีรายได้และต้นทุนการผลติ สาหรบั โครงการลงทนุ นี้ ดงั นี้ หน่วย : บาท รายได้ 500,000 หัก ตน้ ทนุ ขาย 170,000 กาไรขน้ั ต้น 330,000 หัก คา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหาร คา่ ใช้จ่ายในการขายและบริหาร 55,000 ค่าเสอ่ื มราคา 12,000 67,000 กาไรจากการดาเนินงานก่อนหักภาษี 263,000 หัก ภาษีเงินได้ 20% 52,600 กาไรสทุ ธิ 210,400 ให้ทา คานวณหาอัตราผลตอบแทนถวั เฉลย่ี (ARR) ขอ้ 6. ต่อไปนเ้ี ป็นข้อมูลเกย่ี วกบั การตดั สนิ ใจลงทนุ ของบรษิ ัท ฟา้ คราม จากดั เงนิ ลงทนุ ตามโครงการ 300,000 บาท อายขุ องโครงการ 5 ปี กาไรสทุ ธถิ วั เฉล่ยี ต่อปี 85,000 บาท มูลคา่ คงเหลอื 10,000 บาท อตั ราผลตอบแทนขน้ั ตา่ 12 % ให้ทา คานวณหาอัตราผลตอบแทนถัวเฉลยี่ พรอ้ มวิเคราะหค์ วามเปน็ ไปไดข้ องโครงการน้ี
11 - 34 การบัญชตี น้ ทุน 2 ขอ้ 7. ต่อไปนี้เปน็ ขอ้ มูลเกย่ี วกับการตดั สินใจลงทนุ ของบริษัท ฟา้ ใส จากดั เงนิ ลงทนุ เรมิ่ แรกสาหรบั อุปกรณก์ ารดาเนินงาน 100,000 บาท อายุการใช้งาน 10 ปี กระแสเงนิ สดที่คาดว่าจะไดร้ ับแต่ละปตี ลอดอายกุ ารใช้งาน 20,000 บาท อัตราผลตอบแทนขนั้ ตา่ ท่ตี อ้ งการเทา่ กบั 10% ให้ทา บริษทั ควรตดั สินใจซ้อื อุปกรณ์ชนิดน้หี รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด โดยพิจารณาจากเครอ่ื งมือที่ ใชใ้ นการวิเคราะห์การลงทนุ ดงั น้ี 1. ระยะเวลาคนื ทนุ 2. มูลค่าปัจจบุ นั สทุ ธิ 3. อัตราผลตอบแทนจากการลงทนุ ข้อ 8. บริษัท สายน้า จากัด กาลังพิจารณาเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการซ้ือเคร่ืองจักรเพื่อ นามาใชใ้ นการผลิตสินคา้ ชนิดใหม่ ซึ่งตอ้ งใชเ้ งินลงทุนเร่ิมแรก 2,000,000 บาท และคาดวา่ จะมี กระแสเงินสดรับสุทธิตลอดอายุโครงการปีละ 400,000 บาท เป็นระยะเวลา 8 ปี บริษัทมี นโยบายการใชว้ ิธีคิดค่าเสอื่ มราคาแบบเสน้ ตรง ให้ทา 1. ระยะเวลาคนื ทนุ 2. มลู คา่ ปัจจบุ นั สุทธิ 3. อัตราผลตอบแทนถัวเฉล่ยี 4. อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน ขอ้ 9. บริษทั อดุ รขนส่งโลจิสตกิ จากดั กาลงั พิจารณาลงทุนซื้อรถบรรทุกเพ่ือขนสง่ สินคา้ ราคา รถบรรทุกเท่ากับ 1,200,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี มูลคา่ ซาก 200,000 บาท และเมือ่ นาเอา รถบรรทกุ มาใชด้ าเนินงานคาดว่าจะมกี ระแสเงนิ สดสุทธแิ ตล่ ะปี ดงั นี้ ปี ที่ กระแสเงินสดสทุ ธิ (บาท) 1 250,000 2 300,000 3 320,000 4 350,000 5 400,000
บทท่ี 11 การวิเคราะหก์ ารลงทนุ 11 - 35 ให้ทา 1. คานวณมลู คา่ ปัจจุบนั สทุ ธขิ องรถบรรทุก 2. คานวณอตั ราผลตอบแทนภายใน 3. บริษัทควรเลือกลงทุนซื้อรถบรรทุกนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้าบริษัทต้องการ ผลตอบแทนขัน้ ต่า 20 % จากการพจิ ารณาเครื่องมือที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ ลงทุนขา้ งตน้ ขอ้ 10. ตอ่ ไปนีเ้ ป็นข้อมูลของบริษทั อเนกอนนั ต์ จากดั เงินลงทุนเรม่ิ แรก 550,000 บาท อายุโครงการ 5 ปี อัตราคิดลด 10% กระแสเงินสดสทุ ธิแต่ละปี ปที ่ี 1 180,000 บาท ปีท่ี 2 200,000 บาท ปที ่ี 3 220,000 บาท ปที ี่ 4 250,000 บาท ปีที่ 5 270,000 บาท ให้ทา 1. คานวณหาอตั ราผลตอบแทนภายในของโครงการ 2. คานวณหาดัชนกี ารทากาไรสาหรบั โครงการ 3. จงวเิ คราะหว์ ่าโครงการนเ้ี หมาะสมทีบ่ ริษทั ควรจะลงทนุ หรอื ไม่ ขอ้ 11. บรษิ ทั พระนคร จากดั กาลงั พิจารณาที่จะเลอื กลงทุนในโครงการ A และ โครงการ B โดยใช้ดชั นีการทากาไรสาหรับโครงการท้ังสองโครงการ โดยมีขอ้ มูลเงนิ ลงทนุ กระแสเงินสด สุทธแิ ละมลู คา่ ปัจจุบันสทุ ธิ ของแต่ละโครงการดังน้ี (หนว่ ย : บาท) โครงการ A โครงการ B เงนิ ลงทุนเริม่ แรก 400,000 400,000 มลู ค่าปจั จบุ ันกระแสเงนิ สดสทุ ธิรวม 500,000 600,000 มูลคา่ ปัจจบุ ันสุทธิ 100,000 200,000
11 - 36 การบัญชตี ้นทนุ 2 ให้ทา 1. คานวณหาดัชนกี ารทากาไรสาหรับแตล่ ะโครงการ 2. จงวิเคราะห์และอธิบายเหตุผลของการเลอื กลงทนุ ของแตล่ ะโครงการ ขอ้ 12. รา้ นหอมกรนุ่ กาลังพิจารณาที่จะเลอื กลงทนุ ในเค้กแบบใหม่ 2 แบบ คอื เคก้ ดอกไม้ และเค้กตุ๊กตา ซงึ่ มขี อ้ มูลเก่ยี วกับการประมาณการลงทนุ แตล่ ะเภท ดังนี้ เงนิ ลงทนุ เริ่มแรก เค้กดอกไม้ เค้กตกุ๊ ตา กระแสเงินสดสุทธิ 50,000 80,000 ปที ่ี 1 20,000 18,000 ปีท่ี 2 22,000 20,000 ปีท่ี 3 25,000 21,000 ปีท่ี 4 27,000 25,000 ปที ี่ 5 29,000 27,000 อัตราผลตอบแทนท่ีตอ้ งการ 10% 10% กาไรสุทธถิ ัวเฉล่ีย 35,000 45,000 มลู คา่ คงเหลอื 0 0 ให้ทา 1. จงคานวณหาคา่ ตอ่ ไปนีข้ องแตล่ ะโครงการ 1.1. อตั ราผลตอบแทนถัวเฉล่ีย 1.2. ระยะเวลาคืนทนุ 1.3. มลู คา่ ปจั จุบันสุทธิ 1.4. ดัชนกี ารทากาไร 2. จงวเิ คราะห์และอธบิ ายเหตุผลวา่ กจิ การควรเลอื กลงทุนในสนิ คา้ ชนดิ ใด เพราะเหตุใด
การบัญชีตน้ ทุน 2 บรรณานุกรม กชกร เฉลิมกาญจนา. (2557). การบญั ชีบริหาร (การบญั ชีต้นทุน 2). (พิมพค์ รง้ั ท่ี 5). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ดวงมณี โกมารทัต. (2558). การบญั ชีต้นทนุ . (พิมพค์ รง้ั ที่ 15). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . เบญจมาศ อภิสิทธภิ์ ิญโญ, และคณะ. (2550). การบญั ชีเพือ่ การจดั การ. กรุงเทพ ฯ : ไอเดยี ซอฟทแ์ วร์เทคโนโลย.ี เบญญาภา โสอุบล. (2557). การบญั ชีเพื่อการจดั การ. พมิ พ์ครั้งท่ี 1 กรุงเทพ ฯ : ว.ี อาร.์ พริ้นติง้ . ประภากรณ์ เกียรตกิ ุลวฒั นา. (2558). การบญั ชีต้นทุน. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 กรุงเทพ ฯ : จนู พบั ลิชช่งิ . วรรณี เตโชโยธนิ , สมชาย สภุ ัทรกุล, และ มนวกิ า ผดงุ สทิ ธ.ิ์ (2558). การบริหารต้นทนุ . พิมพค์ รงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : ฟิสิกส์เซน็ เตอร.์ ศศิวิมล มอี าพล. (2552). การบญั ชีเพ่อื การจดั การ. พิมพค์ รงั้ ท่ี 22 กรงุ เทพมหานคร : อนิ โฟไมนิ่ง. สมนึก เอือ้ จิระพงษพ์ ันธ์. (2552). การบญั ชีบริหาร. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2 กรงุ เทพมหานคร : แมคกรอ-ฮลิ .
การบญั ชีตน้ ทุน 2 บรรณานุกรม (ต่อ) Garrison, R.H., Noreen, E.W., Brewer, P.C., Cheng, N.S., and Yuen K.C.K. (2013). Managerial Accounting. (13th ed). Singapore : McGraw-Hill. Horngren, C.T., Datar, S.M., and Rajan, M.V. (2015). Cost Accounting A Managerial Emphasis. (15th ed). England : Pearson Education. Horngren, C.T., Harrison, W.T., and Oliver, M.S. (2012). Accounting. (9thed.). England : Pearson Education.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 451
Pages: