Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีต้นทุน 2

การบัญชีต้นทุน 2

Published by kitthanachon01, 2022-06-14 01:46:30

Description: การบัญชีต้นทุน 2

Search

Read the Text Version

การบญั ชีต้นทนุ 2 (Cost Accounting II) รชต สวนสวสั ด์ิ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 2559

ก คานา ตาราวชิ า การบญั ชีต้นทุน 2 ผเู้ รยี บเรียบได้เรยี บเรียงขึ้น เพื่อใช้ประกอบการสอน วิชา การบญั ชตี ้นทุน 2 ซงึ่ นกั ศึกษาทล่ี งทะเบียนเรียนวชิ านี้ ไดแ้ ก่ นักศึกษาสาขาวิชาการ บัญชี ซ่ึงเน้ือหาแบ่งเป็น 11 บท เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงข้อมูลทางการบัญชีที่นาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหาร ซ่ึงเป็นการเรียนการบัญชีต้นทุนในเชิงการบริหาร ต้นทุน เนอื้ หาในเอกสารประกอบการสอนนี้ นาเสนอข้อมลู เกยี่ วกบั การใชต้ น้ ทนุ ในลักษณะ ต่างๆ เช่น การนาเสนอข้อมูลต้นทุนเพ่ือนาไปใช้ประกอบการ วางแผน ควบคุม และ ตัดสนิ ใจ การวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตน้ ทุน ปรมิ าณ และกาไร การนาเสนองบกาไร ขาดทนุ ภายใต้ระบบต้นทนุ รวม และระบบต้นทนุ ผนั แปร ระบบต้นทนุ ตามฐานกิจกรรม การ จัดทางบประมาณ งบประมาณยืดหยุ่น ต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง การ กาหนดราคาผลิตภัณฑ์ การใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพ่ือการตัดสินใจ การประเมินผลการ ปฏบิ ตั ิงานตามศูนยค์ วามรบั ผิดชอบ ราคาโอน และการวเิ คราะหก์ ารลงทุน ขอขอบพระคุณ ผู้มีส่วนช่วยเหลือสนับสนุนให้ตาราเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณบิดา มารดา พี่ บุตรสาว และ อาจารย์ ท่ีคอยช่วยเหลือและเป็นกาลังใจ ขอขอบพระคุณ เพื่อนๆ และ ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ีไม่อาจกล่าวนามได้ทั้งหมด ท่ี เปน็ กาลังใจในการทาตาราครง้ั น้ีมาโดยตลอด ตาราเล่มนี้เหมาะสาหรบั นกั ศกึ ษาเพอ่ื ใช้ประกอบการเรียน ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน และผู้ท่ีต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุนเพื่อใช้ในการ บรหิ าร หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผู้เรียบเรียงยินดีรับฟังและจะนาไปปรับปรุงแก้ไขใน โอกาสตอ่ ไป รชต สวนสวสั ดิ์ ธนั วาคม 2559



ค สารบญั คานา หน้า สารบัญ สารบญั ภาพ (ก) สารบัญตาราง (ค) (ฌ) (ฎ) บทท่ี 1 ความรทู้ วั ่ ไปเกี่ยวกบั การใช้ข้อมลู การบญั ชีเพ่ือการตดั สินใจ 1 - 1 ขอ้ มูลทางการบญั ชี 1- 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการบญั ชตี ้นทุน 1- 3 ความหมายของการบัญชกี ารเงนิ การบญั ชีบริหารและการบัญชตี ้นทนุ 1- 4 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการบญั ชกี ารเงนิ การบัญชบี รหิ าร และ 1- 6 การบญั ชตี น้ ทุน 1 - 12 1 - 13 ลกั ษณะเชิงคุณภาพของข้อมลู บัญชบี รหิ าร 1 - 15 หน้าท่ีหลกั ของผบู้ ริหาร 1 - 16 ความหมายของตน้ ทนุ การจาแนกประเภทของต้นทนุ สรปุ 1 - 31 แบบฝึกหดั 1 - 33 บทที่ 2 พฤติกรรมต้นทนุ และการประมาณต้นทุน 2- 1 2- 2 รูปแบบของพฤติกรรมตน้ ทนุ 2- 3 การจาแนกประเภทต้นทนุ ตามพฤตกิ รรมตน้ ทนุ 2 - 13 การวิเคราะห์ตน้ ทุนผสม 2 - 18 การประมาณคา่ ตน้ ทุน 2 - 27 สรุป 2 - 28 แบบฝกึ หัด

ง สารบญั (ต่อ) หน้า บทที่ 3 การวิเคราะหต์ ้นทุน ปริมาณและกาไร 3- 1 ความหมายของการวิเคราะหต์ น้ ทนุ ปริมาณและกาไร 3- 1 กาไรส่วนเกนิ 3- 2 การนาเสนองบการเงินแบบแสดงกาไรส่วนเกนิ 3- 8 3- 9 การวเิ คราะหจ์ ดุ ค้มุ ทุน 3 - 17 การเปล่ยี นแปลงตัวแปรท่ีมีผลตอ่ การวเิ คราะหต์ น้ ทุน ปริมาณและกาไร 3 - 21 การวางแผนกาไรทีต่ ้องการ 3 - 25 การวางแผนกาไรท่ีต้องการ กรณมี ภี าษเี งินไดม้ าเกยี่ วข้อง สว่ นเกินทป่ี ลอดภยั 3 - 29 การวิเคราะหจ์ ดุ คุ้มทนุ สาหรับกจิ การทข่ี ายสินคา้ หลายชนดิ 3 - 31 ผลกระทบทเี่ กดิ จากความแตกต่างของโครงสรา้ งต้นทุน สรปุ 3 - 33 แบบฝกึ หัด 3 - 36 3 - 37 บทท่ี 4 ระบบต้นทนุ เตม็ และระบบต้นทุนผนั แปร 4- 1 4- 1 การคานวณตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ ความแตกต่างระหว่างการคานวณต้นทนุ ผลิตภณั ฑภ์ ายใต้ระบบ 4- 3 ตน้ ทนุ เต็มและระบบตน้ ทุนผันแปร 4- 3 การนาเสนอรายงานทางการเงนิ ตามระบบตน้ ทนุ เตม็ และ 4 - 11 ระบบต้นทุนผันแปร 4 - 17 ความแตกตา่ งระหว่างผลกาไรจากการดาเนนิ งานภายใต้ระบบ 4 - 24 4 - 30 ตน้ ทุนเต็มและระบบต้นทุนผนั แปร 4 - 32 ผลต่างกาลงั การผลิต การรายงานของสว่ นงาน สรุป แบบฝกึ หดั

สารบญั (ต่อ) จ บทท่ี 5 ระบบต้นทนุ ฐานกิจกรรม หน้า แนวคดิ ของการปนั สว่ นตน้ ทุน 5- 1 วัตถปุ ระสงค์ของการปันส่วนตน้ ทุน 5- 2 องคป์ ระกอบของการปันส่วนต้นทนุ 5- 3 การปันส่วนคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตเปน็ ตน้ ทนุ ผลติ ภณั ฑ์ 5- 6 ขน้ั ตอนการคานวณต้นทนุ ตามระบบต้นทุนตามกิจกรรม 5- 8 ประเภทของกจิ กรรม 5 - 11 การคานวณตน้ ทุนผลติ ภัณฑ์ตอ่ หน่วย 5 - 16 ประโยชน์ของระบบตน้ ทนุ กจิ กรรม 5 - 18 สรุป 5 - 31 แบบฝึกหดั 5 - 31 5 - 33 บทที่ 6 งบประมาณ 6- 1 ความหมายของงบประมาณ 6- 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดทางบประมาณ 6- 2 ประโยชนข์ องงบประมาณ 6- 4 ประเภทของงบประมาณ 6- 5 ความสมั พันธข์ องงบประมาณหลักประเภทตา่ งๆ 6- 9 การจดั ทางบประมาณสาหรบั ธุรกิจผลติ สนิ ค้า 6 - 12 การจัดทางบประมาณสาหรับธรุ กจิ ทีไ่ มไ่ ด้ผลิตสินค้า 6 - 38 สรุป 6 - 40 แบบฝกึ หดั 6 - 41

สารบญั (ต่อ) ฉ บทท่ี 7 งบประมาณยืดหย่นุ ต้นทุนมาตรฐานและ หน้า การวิเคราะหผ์ ลต่าง 7- 1 งบประมาณคงท่ี 7- 2 งบประมาณยืดหยนุ่ 7- 4 การจดั ทางบประมาณยดื หยนุ่ 7- 7 ความหมายของตน้ ทนุ มาตรฐาน 7 - 12 การกาหนดตน้ ทนุ มาตรฐาน 7 - 13 การวเิ คราะหผ์ ลต่าง 7 - 20 สรปุ 7 - 34 แบบฝกึ หัด 7 - 35 บทท่ี 8 การกาหนดราคาผลิตภณั ฑ์ 8- 1 8- 1 ปัจจัยท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การกาหนดราคาผลติ ภณั ฑ์ 8- 3 แนวคิดพน้ื ฐานในการกาหนดราคาผลติ ภณั ฑ์ 8- 5 ประเด็นสาคัญที่มีผลกระทบตอ่ การกาหนดราคาผลติ ภัณฑ์ 8 - 12 วิธกี ารกาหนดราคาผลติ ภัณฑ์ 8 - 24 ต้นทุนตามเป้าหมาย 8 - 26 การกาหนดราคาตามคาสัง่ ซอ้ื พเิ ศษ 8 - 28 สรปุ 8 - 29 แบบฝึกหัด

ช สารบญั (ต่อ) บทที่ 9 การใช้ข้อมลู ทางการบญั ชีเพ่ือการตดั สินใจ หน้า ขนั้ ตอนการตดั สนิ ใจ 9- 1 ลกั ษณะขอ้ มลู ทน่ี ามาใช้ประกอบการตัดสนิ ใจ 9- 2 รูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลต้นทนุ เพื่อการตดั สนิ ใจ 9- 4 ประเดน็ ปญั หาของการใชข้ ้อมูลทางการบญั ชีเพ่ือการตดั สนิ ใจ 9- 8 9 - 12 การตัดสนิ ใจเก่ียวกับการรับคาสงั่ ซ้ือพิเศษ 9 - 12 การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ผลิตเองหรอื ซอื้ จากบคุ คลภายนอก 9 - 14 การตัดสนิ ใจเกยี่ วกับการเพ่ิมหรอื การยกเลิกส่วนงาน หรอื สายผลติ ภัณฑ์ 9 - 16 การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั การจาหนา่ ยหรือผลติ ตอ่ ของผลติ ภัณฑร์ ว่ ม 9 - 19 การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การใชป้ ัจจัยการผลิตทีม่ อี ยอู่ ย่างจากดั 9 - 21 การตดั สนิ ใจปดิ โรงงานชวั่ คราว 9 - 29 9 - 32 สรุป 9 - 33 แบบฝึกหดั 10 - 1 10 - 2 บทท่ี 10 การบญั ชีตามความรบั ผิดชอบ และการกาหนดราคาโอน 10 - 14 ประเภทของศนู ยค์ วามรับผิดชอบ 10 - 14 การกาหนดราคาโอน ความสาคญั ของราคาโอน 10 - 15 วิธีการกาหนดราคาโอน สรุป 10 - 22 แบบฝกึ หดั 10 - 23

สารบญั (ต่อ) ซ บทท่ี 11 การวิเคราะหก์ ารลงทุน หน้า 11 - 1 ความหมายของการลงทนุ 11 - 2 ประเภทของการลงทนุ 11 - 2 ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์การลงทนุ 11 - 4 ข้อมลู ในการวเิ คราะห์การลงทนุ 11 - 6 สรปุ 11 - 28 ตารางคา่ ปัจจุบันและคา่ อนาคต 11 - 29 แบบฝึกหดั 11 - 32 บรรณานุกรม

ฌ สารบญั ภาพ ภาพท่ี 1.1 สรปุ การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ทแี่ ละจาแนกเพอื่ จัดทารายงาน หน้า ทางการเงนิ ภาพที่ 1.2 1 - 20 ความสมั พันธข์ องตน้ ทุนผลิตภณั ฑแ์ ละตน้ ทนุ ประจางวดและ ภาพท่ี 1.3 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทนุ 1 - 21 ภาพท่ี 1.4 สาหรับธุรกิจซอื้ ขายสินคา้ 1 - 23 ความสมั พันธข์ องตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑแ์ ละตน้ ทนุ ประจางวด ภาพที่ 2.1 1 - 26 ภาพที่ 2.2 และการแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทนุ 2- 6 ภาพที่ 2.3 สาหรับธรุ กิจผลิตสนิ ค้า 2- 6 ภาพที่ 2.4 ความสมั พนั ธข์ องตน้ ทนุ การบริการและต้นทนุ ประจางวดและ 2- 8 ภาพท่ี 2.5 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทนุ 2- 9 ภาพท่ี 2.6 2 - 10 ภาพที่ 2.7 สาหรับธรุ กจิ บรกิ าร 2 - 12 ภาพที 3.1 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทุนผันแปรรวม 2 - 20 ภาพท่ี 3.2 แสดงพฤตกิ รรมของตน้ ทุนผนั แปรต่อหน่วย 3 - 15 ภาพที่ 5.1 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทุนคงท่รี วม 3 - 17 ภาพที่ 5.2 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทนุ คงทีต่ อ่ หน่วย 5- 7 ภาพที่ 5.3 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทุนกงึ่ คงท่ี 5 - 10 ภาพที่ 5.4 5 - 12 ภาพที่ 6.1 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทุนผสม 5 - 13 ภาพท่ี 6.2 แสดงพฤติกรรมของตน้ ทุนผสม โดยใช้วิธแี ผนภมู กิ ระจาย 6 - 11 ภาพท่ี 6.3 กราฟตน้ ทนุ ปริมาณและกาไร 6 - 38 กราฟกาไร 6 - 39 แสดงองคป์ ระกอบของการปันส่วนตน้ ทุน แสดงการปนั สว่ นตน้ ทุนโดยใช้ระบบตน้ ทุนตามฐานกิจกรรม ขั้นตอนของการคานวณตน้ ทนุ ภายใต้ระบบต้นทุนตามฐานกิจกรรม ข้นั ตอนการคานวณตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑโ์ ดยใชว้ ธิ ีตน้ ทุนตามฐานกิจกรรม ความสมั พันธข์ องงบประมาณประเภทตา่ งๆ สาหรบั ธรุ กจิ ผลติ สนิ ค้า ความสมั พันธข์ องงบประมาณประเภทตา่ งๆ สาหรับธรุ กจิ ซอ้ื ขายสินค้า ความสมั พันธข์ องงบประมาณประเภทตา่ งๆ สาหรบั ธุรกจิ การใหบ้ รกิ าร

สารบญั ภาพ (ต่อ) ญ ภาพท่ี 7.1 การกาหนดตน้ ทนุ การผลติ มาตรฐาน หน้า ภาพท่ี 7.2 ความสมั พนั ธข์ องผลต่างแยกตามสว่ นประกอบของตน้ ทนุ การผลติ 7 - 20 ภาพท่ี 9.1 ขนั้ ตอนการตดั สนิ ใจ 7 - 22 ภาพที่ 11.1 ขั้นตอนการวเิ คราะห์การลงทุน 9- 4 11 - 5

ฎ สารบญั ตาราง หน้า ตารางท่ี 1.1 เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างการบญั ชีการเงินและ การบัญชตี ้นทนุ (เพ่อื การบรหิ าร) 1 - 10 ตารางที่ 2.1 ตน้ ทุนผันแปรแยกตามประเภทของธุรกจิ และสาเหตุของ การเกดิ ตน้ ทุน 2-4 ตารางท่ี 2.2 แสดงการคานวณตน้ ทุนวัตถดุ บิ ทางตรงท่ีใช้ในการผลิต 2-5 ตารางที่ 2.3 ต้นทนุ คงที่แยกตามประเภทของธรุ กิจ 2-7 ตารางที่ 2.4 ต้นทนุ ผสมแยกตามประเภทของธุรกจิ 2 - 10 ตารางที่ 4.1 การจาแนกตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์และตน้ ทนุ ประจางวดตามวิธี ตน้ ทนุ เต็มและต้นทุนผนั แปร 4-2 ตารางท่ี 4.2 แสดงความแตกตา่ งระหว่างการนาเสนอรายการในงบ กาไรขาดทนุ (บางสว่ น) โดยใช้ระบบตน้ ทนุ เต็มและระบบ ต้นทนุ ผนั แปร 4-5 ตารางท่ี 4.3 สรุปความแตกต่างของกาไรสทุ ธภิ ายใตว้ ิธีต้นทนุ เตม็ และ ตน้ ทนุ ผนั แปร 4 - 14 ตารางที่ 4.4 สรุปความแตกต่างของผลตา่ งกาลงั การผลิต และการปรบั ผลตา่ งกาลังการผลิต 4 - 19 ตารางท่ี 5.1 ความหมายของกจิ กรรม กลมุ่ หรือศนู ยก์ จิ กรรม ตวั ผลักดนั ตน้ ทุน 5 - 10 ตารางท่ี 5.2 ตารางแสดงกจิ กรรม ตวั ผลักดนั ต้นทุน ค่าใช้จา่ ยการผลติ จานวนตวั ผลกั ดันต้นทุน และอตั ราค่าใช้จา่ ยการผลิตต่อหน่วย ของตัวผลกั ดันตน้ ทุน 5 - 14 ตารางท่ี 5.3 ตารางแสดงกจิ กรรม จานวนตวั ผลกั ดันต้นทุน อัตราคา่ ใชจ้ า่ ย การผลิตต่อหนว่ ยของตัวผลักดนั ตน้ ทุนและคา่ ใช้จ่ายการผลติ ของผลติ ภณั ฑ์ A 5 - 15 ตารางท่ี 5.4 ตารางแสดงกจิ กรรม จานวนตัวผลกั ดันตน้ ทนุ อตั ราค่าใช้จา่ ย การผลิตตอ่ หน่วยของตวั ผลกั ดนั ตน้ ทุนและคา่ ใช้จ่ายการผลติ ของผลติ ภณั ฑ์ B 5 - 16 ตารางที่ 5.5 ตัวอยา่ งกจิ กรรมแตล่ ะระดบั และตวั ผลักดันตน้ ทุน 5 - 17 ตารางที่ 5.6 ตัวอยา่ งการคานวณอัตราคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตประจาแตล่ ะแผนก 5 - 22 ตารางท่ี 6.1 งบประมาณหลกั แยกตามประเภทของธุรกิจ 6- 8

ฏ สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 8.1 ส่วนประกอบของต้นทนุ ผลติ ภัณฑ์ 8-8 ตารางที่ 8.2 การจาแนกตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์และตน้ ทุนประจางวด 8 - 19 ตารางท่ี 11.2 Present Value of $1 Due at the End of n periods (PVIFi,n) 11 - 5 ตารางที่ 11.3 Present Value of an Annuity of $1 per period for 11 - 29 n Periods (PVIFAi,n) 11 - 31 ตารางท่ี 11.3 Present Value of an Annuity of $1 per period for n Periods (PVIFAi,n)

บทท่ี 1 ความร้ทู วั่ ไปเก่ียวกบั การใช้ขอ้ มูลทางการบญั ชีเพอ่ื การตดั สินใจ ขอ้ มลู ทางการบญั ชถี อื เป็นขอ้ มลู ทมี่ คี วามสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ การท่ีผู้บริหารจะ ประสบความสาเร็จในการบริหารองค์กร จาเป็นอย่างย่ิงที่ผู้บริหารจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้และ ความชานาญเก่ียวกับการนาเอาขอ้ มลู ทางการบญั ชมี าประยุกต์และนาข้อมูลทม่ี มี าประกอบการ ตดั สินใจ และใช้สาหรบั การวางแผน การควบคุมและตัดสินใจในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนิน ธุรกิจ ทาให้บริษัทได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมที่บริษัทมี ความเกี่ยวข้อง เม่ือเปรียบเทียบกับคู่แข่งโดยเฉพาะอย่างย่ิงในตลาดยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีการ เปล่ียนแปลงเทคโนโลยีอยตู่ ลอดเวลา ดงั เช่นในยคุ ปัจจุบัน ขอ้ มลู ต้นทุนทไี่ ดจ้ ากการบัญชถี อื เป็นส่วนหน่ึงท่ีมีความสาคัญในกระบวนการของการ บริหารจัดการองคก์ ร เนอ่ื งจากการที่ผู้บริหารจะทาการวางแผนและการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง นนั้ ข้อมลู ที่นามาประกอบการตดั สนิ ใจควรทจี่ ะมีความเกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาหรือการตัดสินใจของ ผู้บริหาร (Relevance) และท่ีสาคัญข้อมูลต้องมีความถูกต้อง (Accuracy) เช่ือถือได้ (Reliability) และมคี วามรวดเรว็ ทันต่อความต้องการของผ้บู ริหาร (Timeliness) ดงั นน้ั นักบัญชีต้นทุน หรือนักบัญชีบริหาร จึงมีความสาคัญต่อองค์กร เพราะเป็นผู้ท่ี นาเสนอข้อมูลเก่ียวกับการบัญชีบริหารต่อผู้บริหารของธุรกิจ เพื่อผู้บริหารจะได้นาข้อมูล ทางการบัญชีไปใช้ในการวางแผนและกาหนดกลยุทธ์หรือนโยบายต่างๆ ต่อไป โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในตลาดยคุ ปจั จุบันซง่ึ มีการแขง่ ขันกันคอ่ นขา้ งสูง การประกอบธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกจิ บริการ ธุรกจิ ซื้อขายสินค้า หรือธุรกิจผลิตสิน้า ซึ่ง อาจจะมรี ูปแบบของการประกอบธรุ กจิ ทีห่ ลากหลายประเภท ได้แก่ กจิ การเจ้าของคนเดียว หา้ ง หุ้นส่วน และบริษัทจากัด เป็นต้น โดยท่ัวไปธุรกิจมักจะมีเป้าหมายเพ่ือเพิ่มผลกาไรให้กับ องค์กร โดยการเพ่ิมรายได้จากการดาเนินธุรกิจ แต่อาจจะล้มเหลวในการทาความเข้าใจ เก่ยี วกับการบริหารจัดการต้นทุนให้เหมาะสม อาจมีผลทาให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของธุรกิจก็ เปน็ ได้ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าข้อมูลทางการบัญชีมีความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ เพราะการ บัญชีเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทางการบัญชีซ่ึงเก่ียวข้องกับธุรกิจแต่ละแห่ง โดยมีการจด บันทึกรายการค้าหรือเหตุการณ์ต่างๆ ให้เป็นหมวดหมู่ สรุปผลและจัดทาเป็นรายงานทาง การเงินเสนอต่อบุคคลท้ังภายนอกและภายในกิจการ เพ่ือนาข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ ประกอบการตดั สนิ ใจของแตล่ ะฝ่ายซึง่ มีความแตกต่างกนั สาหรับบุคคลภายนอก เช่น ผู้ลงทุน ต้องการข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ตัดสินใจเกี่ยวกับผลตอบแทนท่ีได้รับจากการลงทุน เป็นต้น

1 - 2 การบัญชตี ้นทนุ 2 ส่วนบุคคลภายใน เช่น ผู้บริหารและพนักงานต่างๆ จะนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ควบคุม และใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาต่างๆ จากการดาเนินงาน ดังนั้น จึงมีการ จาแนกประเภทการบัญชเี ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ การบญั ชีการเงนิ การบัญชบี รหิ ารและการบัญชี ต้นทุน ซึ่งการบัญชีแต่ละประเภทมีลักษณะ หรือความหมายที่แตกต่างกัน และการนาข้อมูล ทางการบัญชีมาใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจก็มคี วามแตกต่างกันเชน่ กัน ข้อมลู ทางการบญั ชี ข้อมลู ทางการบญั ชี (Accounting Information) หมายถึง ขอ้ มลู ท่ีเกิดจากการจัดเก็บ รวบรวมได้จากหลักฐานอันเทยี่ งธรรมทม่ี ีความเชือ่ ถือได้ ซ่งึ เป็นขอ้ มูลทเี่ กดิ ขึน้ ทั้งในอดีตและท่ี คาดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคต ซึง่ ขอ้ มลู ทางการบญั ชี สามารถจาแนกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั นี้ การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นการบัญชีที่จัดทาขึ้นโดยมีกระบวนการ จัดเก็บและรวบรวมข้อมูล บันทึก จาแนกประเภทข้อมูลทางการบัญชี และสรุปผลท่ีเก่ียวกับ เหตกุ ารณท์ างเศรษฐกิจในรูปของรายงานทางเงินเพ่ือเสนอข้อมูลเก่ียวกับฐานะการเงินและผล การดาเนินงานในอดีตตอ่ บคุ คลภายนอกกจิ การ หรือผูม้ ีสว่ นได้เสยี กับกิจการ เชน่ เจ้าหนี้ ผถู้ ือ หนุ้ หนว่ ยงานรฐั บาล เช่น กรมสรรพากร หรือผูท้ ่ีสนใจข้อมูลคนอื่น ๆ เป็นต้น โดยท่ัวไป การ บัญชีการเงินมีหลักการบัญชี และวิธีปฏิบัติทางการบัญชีโดยใช้หลักการบัญชีที่รับรองกัน โดยท่วั ไป (Generally Accepted Accounting Principle: GAAP) เป็นหลักการบัญชีท่ีใช้ในการ จดั ทางบการเงิน เพ่อื เสนอขอ้ มลู ให้กับบุคคลภายนอกให้ได้ข้อมูลครบถ้วน และนาข้อมูลไปใช้ ประกอบการตัดสนิ ใจ (สมนึก เอือ้ จิระพงศ์พนั ธ์, 2552) การบัญชีบริหาร หรือ การบัญชีเพ่ือการจัดการ (Managerial Accounting) เป็นการ บญั ชที ีจ่ ัดทาขึ้นโดยมวี ตั ถปุ ระสงค์หลักเพื่อเสนอขอ้ มลู การบัญชีให้กับผู้บริหารหรือบุคคลอื่นๆ ทตี่ อ้ งการข้อมูลเพ่ือนาไปใช้ในการวางแผน การกากับ การควบคุม และการตัดสินใจ (สมนึก เอ้ือจิระพงศ์พันธ์, 2552) ซ่ึงในการจัดทารายงานทางการเงินและการบัญชีในลักษณะและ รูปแบบต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับความต้องการของฝ่ายจัดการหรือผู้บริหารในระดับต่างๆ ข้อมูล ดังกล่าวอาจนาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆ ทั้งท่ีเกิดขึ้นเป็นประจาหรือเป็นกรณี พเิ ศษ (ดวงมณี โกมารทัต, 2559) การบัญชีตน้ ทนุ (Cost Accounting) เป็นการบัญชีท่ีบนั ทกึ และจัดทารายงานการวัดค่า ของต้นทุนในการผลิตสินค้าและการบริการ ขอบเขตงานของการบัญชีต้นทุนจึงได้แก่การ รวบรวมข้อมูลต้นทุน บันทึก แยกประเภท แบ่งสรรหรือปันส่วน สะสมและจัดทารายงาน เกี่ยวกบั ต้นทุนในลักษณะต่างๆ ตามความประสงค์ของฝ่ายจัดการ (ดวงมณี โกมารทตั , 2559) จากขอ้ มลู ขา้ งต้น จะเห็นไดว้ า่ ข้อมูลทางการบัญชีมาจากหลายแหล่งอาจเป็นข้อมูลท่ี ได้จากหลักการบัญชีการเงิน การบัญชีบริหาร หรือ การบัญชีต้นทุน ดังนั้น การท่ีธุรกิจจะ

บทที่ 1 ความรูท้ ่วั ไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมลู ทางการบัญชเี พื่อการตดั สินใจ 1 - 3 ประสบความสาเรจ็ ไดห้ รอื อยู่รอดไดใ้ นตลาดท่ีมีการแข่งขนั กันอย่างรุนแรงเช่นปัจจุบัน กิจการ ควรมีความเข้าใจเก่ียวกับข้อมูลทางการบัญชีเพ่ือนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจ และนาไปใช้ ประโยชนใ์ นการบรหิ ารจดั การต้นทนุ (Cost Management) ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากที่สดุ ดังนัน้ ในบทน้ีจึงอธิบายรายละเอียดเนื้อหาท่ีเก่ียวกับวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน ความหมายของการบญั ชกี ารเงนิ การบญั ชีบรหิ าร และ การบัญชีต้นทุน ความสัมพันธ์ระหว่าง การบัญชที ง้ั สามลกั ษณะ นอกจากนยี้ ังอธิบายถึงความสาคัญของการบัญชีในการบริหารธุรกิจ ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับต้นทุน การจาแนกประเภทต้นทุน ซึ่งข้อมูลต้นทุนแต่ละประเภทมี วัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลท่ีแตกต่างกัน หรือเป็นข้อมูลที่นาไปใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อ ประกอบการตัดสินใจใหก้ ับผู้บรหิ าร วตั ถปุ ระสงคข์ องการบญั ชีต้นทนุ โดยทว่ั ไปการบัญชีตน้ ทนุ เปน็ การนาเสนอข้อมลู ทางการบัญชีให้กับผบู้ รหิ ารหรือบุคคล อื่นทเี่ ก่ียวข้องกับการตัดสินใจ โดยข้อมูลดังกล่าวประกอบด้วยข้อมูลที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ ความต้องการของผู้บริหาร และวัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลนั้น ตัวอย่างข้อมูลการบัญชีที่ นาไปใช้ในการตัดสนิ ใจ ตวั อยา่ งเช่น 1. ข้อมูลต้นทุนที่เก่ียวข้องกับการผลิต และค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน เพ่ือจัดทางบ การเงินไม่ว่าจะเป็นงบต้นทุนการผลิต และงบกาไรขาดทุน เพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินให้กับ บุคคลภายนอกและภายในประกอบการตัดสินใจ 2. ข้อมูลตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์ต่อหนว่ ย เพ่ือใช้ในการกาหนดราคาขายของผลติ ภัณฑ์ 3. ข้อมูลค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานต่างๆของธุรกิจบริการ เพ่ือใช้ในการกาหนดอัตรา ค่าบรกิ ารของธรุ กจิ นั้นๆ 4. ข้อมูลต้นทุนซึ่งแบ่งไปตามพฤติกรรมต้นทุน ได้แก่ ต้นทุนคงท่ี ต้นทุนผันแปร หรือ ต้นทุนผสม เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนและควบคุม รวมไ ปถึงใช้ในการวิเคราะห์หา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งต้นทุน ปริมาณ และกาไร เชน่ การคานวณหาจดุ คุ้มทุน หรือการวางแผน กาไรของธรุ กจิ 5. ขอ้ มลู ตน้ ทุนที่เกดิ ข้นึ แลว้ ถึงแมว้ ่าจะเปลี่ยนแปลงขอ้ มลู ไม่ไดแ้ ต่สามารถนาข้อมูลใน อดีตมาใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นแนวโน้มในการจัดทางบประมาณ ใชป้ ระกอบการวางแผนกาไรใน อนาคต 6. ขอ้ มูลตน้ ทนุ การผลิตไมว่ า่ จะเปน็ ตน้ ทนุ ทเี่ ก่ียวกบั วัตถดุ บิ ทางตรง คา่ แรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต เพื่อกาหนดเป็นต้นทุนมาตรฐานใช้ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน

1 - 4 การบญั ชตี ้นทนุ 2 7. ข้อมูลต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในอดีต เพื่อนาไปใช้ในการ วิเคราะห์ แนวโน้มของตน้ ทนุ หรือค่าใช้จ่ายต่างๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต กาหนดเป็นกลยุทธ์ของ ธุรกิจเพ่ือใชใ้ นการแขง่ ขนั กับคู่แข่งต่อไป 8. ข้อมูลอน่ื ๆ ท่ีมคี วามเก่ียวขอ้ ง ท่นี อกเหนือจากทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ เช่น ขอ้ มูลที่ เกี่ยวกับสภาพทางเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี รวมไปถึง นโยบาย และกลยุทธ์ต่างๆ ของธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นกลยุทธ์ทางการตลาด กลยุทธ์การผลิต ใช้ เปน็ ข้อมูลพน้ื ฐานสาหรับกาหนดกลยทุ ธท์ างธุรกิจเพอ่ื จัดทาแผนธรุ กิจ และใช้ในการแข่งขันกับ ค่แู ขง่ ต่อไป ดงั นน้ั จะเหน็ ได้ว่าบทบาทของขอ้ มลู การบญั ชตี น้ ทนุ และการบญั ชบี ริหารมีความสาคญั ต่อธุรกจิ แต่ละประเภทไมว่ ่าจะเปน็ ธุรกิจบรกิ าร ธุรกจิ ซ้ือขายสินค้า และธุรกิจอุตสาหกรรม ซ่ึง กิจการมีความจาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลการบัญชีบริหารแทบท้ังส้ิน เพราะถ้าผู้บริหารไม่มีข้อมูล ดังกล่าว ผู้บริหารอาจตดั สนิ ใจลา่ ช้า หรืออาจเกดิ ข้อผิดพลาดได้ ความหมายของการบญั ชีการเงิน การบญั ชีบริหารและการบญั ชีต้นทนุ ขอบเขตของหลักการบัญชีได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ การบัญชีการเงิน การ บัญชีต้นทุน และการบญั ชบี ริหาร ซึง่ การบัญชีการเงินมีความหมายและขอบเขตค่อนข้างกว้าง เนื่องจากเปน็ หลักการทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการจัดทางบการเงนิ เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสามารถของ กิจการในภาพรวมเสนอตอ่ บุคคลภายนอก งบการเงินตอ้ งจดั ทาข้ึนตามหลกั การบัญชีที่ยอมรับ กันโดยท่วั ไป ขอ้ มลู ท่ปี รากฏอยู่ในงบการเงินจงึ เนน้ ไปท่เี หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต มีหลักฐาน อา้ งองิ ท่ีชัดเจน ถูกตอ้ ง และมคี วามเชอ่ื ถือได้ สว่ นการบญั ชีตน้ ทุน เป็นหลักการบัญชที เี่ กย่ี วกบั การสะสมตน้ ทุนและการวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางการบัญชีเพอ่ื การตัดสินใจของผู้บริหาร ใช้เพ่ือการ วางแผน ควบคุม และการตัดสินใจเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ดังน้ันข้อมูลทางด้านต้นทุนจึงมีทั้ง ข้อมลู ท่ีเกดิ ขน้ึ แลว้ ในอดีตเพื่อคานวณหาต้นทุนผลิตภัณฑ์ รวมถึงข้อมูลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนใน อนาคตเพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจ หรือจัดทาแผนธุรกิจเพ่ือแข่งขันกับคู่แข่งในอนาคต จึง กล่าวได้วา่ การบญั ชีต้นทุนถือเปน็ ส่วนหน่ึงของการบัญชีบริหาร ดังน้ัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในความหมายของการบัญชีทั้งสามประเภทมากยิ่งขึ้น จึงขออธิบายความหมายของการบัญชี การเงิน การบัญชตี ้นทนุ และ การบัญชีบริหาร ซ่งึ สามารถสรุปไดด้ ังนี้

บทที่ 1 ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมลู ทางการบัญชเี พอื่ การตัดสนิ ใจ 1 - 5 1. การบญั ชีการเงิน การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) หมายถึง กระบวนการทางการบัญชีท่ี เกีย่ วกับการจัดเก็บรวบรวม จาแนก และรายงานขอ้ มูลทางการเงินของกิจการที่เกิดข้ึนในอดีต ของกจิ การให้แก่บคุ คลภายนอก (External users) ท่ีต้องการใช้ข้อมูลทางการเงินน้ัน เช่น นัก ลงทุน ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ และหน่วยงานของรัฐบาล เป็นต้น ดังน้ัน เพื่อเป็นการป้องกันความ ผิดพลาดจากการใช้ข้อมูลทางการเงินของบุคคลภายนอก และเพื่อให้การเสนอข้อมูลทาง การเงินของกิจการต่างๆ ให้มีมาตรฐานเดียวกัน การบัญชีการเงินจึงถูกจัดทาขึ้นภายใต้ หลักการบัญชีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principle: GAAP) (สมนึก เอื้อจิระพงศ์พันธ์, 2552) ซึ่งการบัญชีการเงินเป็นการเน้นที่ข้อมูลทางการเงินในอดีต เพ่ือเตรียมและนาเสนอข้อมูลการบัญชีในรูปของงบการเงิน เพ่ือรายงานข้อมูลเก่ียวกับฐานะ การเงนิ และผลการดาเนนิ งานของกจิ การ เพอื่ ปกป้องและรกั ษาผลประโยชนข์ องผู้ใชง้ บการเงิน ภายนอก (ดวงมณี โกมารทัต, 2559) 2. การบญั ชีต้นทุน การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นหลักการบัญชีท่ีเกี่ยวกับการสะสมและ วเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ือการตดั สินใจของฝ่ายบรหิ าร เพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจใน เรื่องอ่ืนๆ โดยปกติ การบัญชตี ้นทนุ มหี นา้ ทหี่ ลกั ในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูล ที่เกิดขึ้นในอดีต เพื่อคานวณหาต้นุทนผลิตภัณฑ์รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ นอกจากน้ี การบญั ชีต้นทุนยงั เป็นส่วนท่เี กี่ยวข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนท่ีจะ เกิดขึ้นในอนาคตเพ่ือการตัดสินใจอีกด้วย (สมนึก เอื้อจิระพงศ์พันธ์, 2552) นอกจากนี้ การ บัญชีต้นทุนยังเป็นการบัญชีท่ีบันทึกและจัดทารายงานการวัดค่าของต้นทุนในการผลิตสินค้า รวมถงึ ตน้ ทนุ การให้บรกิ าร ขอบเขตงานของการบัญชีต้นทุนจึงได้แก่การรวบรวมข้อมูลต้นทุน บันทึกแยกประเภท แบ่งสรรหรือปันส่วน สะสมและจัดทารายงานเกี่ยวกับต้นทุนในลักษณะ ต่างๆ ตามความประสงคข์ องฝ่ายจดั การ (ดวงมณี โกมารทตั , 2559) 3. การบญั ชีบริหาร การบัญชบี รหิ าร หรือ การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) ถือเป็นการ บญั ชีแขนงหนึง่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งการกระบวนการทางการบัญชี ซึ่งเริ่มต้งั แต่การแจกแจง การวัด การ วิเคราะห์ การแปลผล และการส่ือสารข้อมูลที่มีความเก่ียวข้องกับการบัญชี เพ่ือให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ ข้อมูลท่ีได้จากการบัญชีบริหารเป็นข้อมูลท่ีมีความจาเป็นต่อผู้บริหาร หรอื บุคคลอนื่ ที่มหี น้าทใี่ นการวางแผน การกากบั ดแู ล การควบคุม การตัดสินใจ และรวมไปถึง การประเมินผลการปฏิบัติงานในองค์กร (ศศิวิมล มีอาพล, 2558) ซึ่งการบัญชีบริหาร จะเน้น

1 - 6 การบญั ชีตน้ ทนุ 2 การนาเสนอข้อมลู การบญั ชีให้กับบุคคลภายในองคก์ ร (Internal users) เช่น ผู้บริหาร ผจู้ ัดการ ของบริษัท ซึง่ การบัญชบี ริหารเปรียบเสมือนเคร่ืองมือทางการบญั ชีที่ผบู้ รหิ ารใช้ในการประกอบ ธุรกิจ ซ่ึงข้อมูลทางการบัญชีบริหารจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารเพ่ือนาไปใช้ประกอบการ ตัดสินใจ (Horngren et al., 2012) อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ทรัพยากรของ กิจการ รวมทั้งมคี วามรับผิดชอบในการบรหิ ารทม่ี ีต่อเจ้าของกจิ การ นอกจากน้ี ยังมีหน้าที่และ ความรับผดิ ชอบต่อการเสนอรายงานของมลู ทางการเงินท่ไี มใ่ ชก่ ลุ่มผ้บู ริหารของกจิ การ (สมนกึ เอ้ือจิระพงศ์พันธ์, 2552) ดังน้ัน การบัญชีบริหารจะเกี่ยวข้องกับการบัญชีที่นามาใช้ในการ วางแผน ควบคุม รวมไปถึงการตัดสินใจในประเด็นตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้องกับผู้บริหาร ข้อมูลที่ใช้จึง ไม่จาเป็นตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั การบญั ชีท่ีรับรองโดยทั่วไป (GAAP) และไม่มีมาตรฐานรายงาน ทางการเงินเปน็ ขอ้ บังคบั แตข่ ้อมลู ทีน่ าเสนอเปน็ ไปตามความต้องการของผู้บริหาร ดงั น้ัน จากความหมายของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุนและการบัญชีบริหาร จะ เหน็ ไดว้ า่ การบัญชีทั้งสามประเภท มีความเหมือนและความแตกต่างกันในบางประเด็น ซึ่งจะ อธบิ ายรายละเอียดในหัวข้อถัดไป ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการบญั ชีการเงิน การบญั ชีบริหาร และการบญั ชีต้นทุน จากความหมายของการบัญชีการเงนิ การบญั ชีตน้ ทนุ และการบัญชบี ริหาร ดงั ไดก้ ล่าว ไว้ในหวั ขอ้ กอ่ นหนา้ จะเห็นไดว้ ่าการบัญชีทงั้ สามประเภท มคี วามเหมือนและความแตกต่างกนั ในบางประเดน็ ซ่งึ สามารถสรปุ ความสมั พนั ธอ์ อกเปน็ 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง การบัญชตี น้ ทุนและการบญั ชกี ารเงิน ความสมั พันธร์ ะหว่างการบัญชีตน้ ทนุ และการบัญชบี รหิ าร และความสัมพันธร์ ะหวา่ งการบญั ชีการเงินและการบัญชีบรหิ าร ซงึ่ แตล่ ะความสมั พนั ธ์สามารถ อธิบายรายละเอยี ด ได้ดังน้ี 1. การบญั ชีต้นทุนและการบญั ชีการเงิน โดยทั่วไปการบัญชีต้นทุนจะเป็นการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์ ซ่ึงเป็น ฐานขอ้ มลู ทีใ่ ชส้ นับสนนุ หลกั การบญั ชีการเงนิ และการบญั ชีบริหาร เพราะการบนั ทึกบัญชตี ้นทนุ เพอ่ื จัดทางบการเงินเพื่อเสนอข้อมูลต้นทุนให้กับบุคคลภายนอกต้องใช้หลักการบัญชีการเงิน เช่น การบันทึกต้นทุนผลิตภัณฑ์ ซ่ึงประกอบด้วย ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต จะต้องใช้ต้นทุนจริงในการบันทึกบัญชี ซึ่งเป็นข้อมูลท่ีเกิดขึ้นในอดีต

บทที่ 1 ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกับการใช้ขอ้ มลู ทางการบัญชเี พ่ือการตัดสินใจ 1 - 7 เมื่อคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยใช้ระบบต้นทุนรวม หรือต้นทุนเต็ม (Full Costing หรือ Absorption Costing) ซึ่งเป็นไปตามหลักการบัญชีท่ีรับรองโดยทั่วไป ซ่ึงเป็นหลักการของกร บัญชีการเงิน แต่ถ้าหากนักบัญชีต้องการนาเสนอข้อมูลต้นทุนเพ่ือนาเสนอในรูปของรายงาน ต่างๆ ต่อผู้บริหารขององค์กร ผู้บริหารแต่ละระดับจะมีความต้องการข้อมูลท่ีแตกต่างกัน ทั้ง รูปแบบการนาเสนอ ระยะเวลา และลกั ษณะของขอ้ มลู เปน็ ต้น นอกจากน้ี ในปจั จุบันสภาพการ แขง่ ขันทางธรุ กจิ มีความรนุ แรงมากขน้ึ และมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีตลอดเวลา ดังนั้น การบัญชีต้นทุนมีการพฒั นาไปในทางการบัญชบี รหิ ารมากข้นึ หรือเรียกว่า การบัญชตี ้นทุนเพ่ือ การบริหาร (Cost Management) ดังน้ัน เพื่อให้ข้อมูลมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ท่ี เปล่ียนแปลง นักบญั ชีจงึ ไม่จาเปน็ ตอ้ งยดึ หลกั การบญั ชีที่รบั รองโดยทั่วไป อาจมีการคาดคะเน หรือการพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต เชน่ พยากรณ์ยอดขาย ประมาณการค่าใช้จ่ายจากการ ดาเนินงานต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการนาเสนอข้อมูลในลักษณะนี้ ไม่จาเป็นต้องเป็นข้อมูลทาง การเงนิ อาจเปน็ ขอ้ มลู ทไ่ี มเ่ กี่ยวข้องกับเงิน เชน่ คณุ ภาพของสินค้า กาลังการผลิต สภาพทาง เศรษฐกจิ การเมือง เปน็ ต้น 2. การบญั ชีต้นทุนและการบญั ชีบริหาร เม่ือพิจารณาข้อแตกต่างระหว่างการบัญชีต้นทุนและการบัญชีบริหาร จากตาราการ บัญชีต้นทุนและการบัญชีบริหารหลายเล่ม จะเห็นได้ว่าการบัญชีต้นทุนเป็นส่วนหน่ึงของการ บัญชีบริหาร เพราะต่างมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอในรูปของรายงานต่างๆ เพ่ือเสนอข้อมูล ให้กับผู้บรหิ ารนาไปใชป้ ระกอบการตดั สินใจ แต่ถ้าเน้นที่วัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี การ บญั ชตี น้ ทุนเนน้ ไปทกี่ ารประมวลผล และการประเมินค่าของข้อมูลต้นทุนในการผลิตสินค้าและ การบรกิ าร ตลอดจนตน้ ทุนต่างๆ ทเี่ กิดขนึ้ จากการดาเนินงาน ในขณะทกี่ ารบัญชบี ริหารจะเน้น ไปท่ีการวิเคราะห์และการใช้ข้อมูลต้นทุนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือสาหรับการบริหารธุรกิจ เพราะ วิธีการประมวลผล การประเมนิ ค่าและการใช้ประโยชน์มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกัน (ดวงมณี โกมารทัต, 2559) ดงั นนั้ จึงเป็นการยากท่ีจะแยกเนื้อหาระหว่างการบัญชีต้นทุน และ การบัญชีบริหารออกจากกัน แต่สาหรับตาราเล่มนี้ วิชาการบัญชีต้นทุน 2 เนื้อหาจะเน้นไปที่ การใช้ข้อมูลการบัญชีต้นทุนเพื่อใช้สาหรับการวางแผน ควบคุม หรือนาไปใช้สาหรับ ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร ดังนั้น ตาราเล่มนี้จึงเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารต้นทุน หรอื เน้ือหาจะเน้นไปท่กี ารบญั ชีต้นทนุ เพ่อื การบรหิ าร นั่นเอง

1 - 8 การบัญชีตน้ ทนุ 2 3. การบญั ชีการเงินและการบญั ชีบริหาร จากความหมายของการบญั ชีการเงนิ และการบญั ชีบริหาร จะเหน็ ได้ว่ามคี วามเก่ียวขอ้ ง กันในบางประเด็น เช่น การจัดทาข้อมูลบัญชีเพ่ือนามาใช้ในการวางแผนและการบริหาร นัก บัญชีจาเป็นต้องจัดทาข้อมูลทางการบัญชีตามหลักการบัญชีท่ีได้รับการรับรองโดยท่ัวไป (General Accepted Accounting Principle: GAAP) และต้องให้เป็นไปตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน (International Financial Reporting Standards: IFRS) รวมไปถึงการ จัดทางบการเงินต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อมูล ทางการเงินที่ได้นาเสนอไว้ในงบการเงินดังกล่าวข้างต้น ทาให้ผู้บริหารและผู้ท่ีต้องการข้อมูล สามารถนาเอาข้อมลู ทางการบญั ชที ีไ่ ด้ตามหลกั การบญั ชกี ารเงินมาใช้ประกอบการตัดสินใจได้ อย่างถูกต้อง ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการบัญชีการเงินมีความเกี่ยวข้องกับก ารนาเสนอข้อมูล ทางการบญั ชเี พอื่ นาไปใชใ้ นการวางแผนและการจดั การ นัน่ เอง จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าการบัญชีการเงินและการบัญชีต้นทุนเพื่อการบริหาร หรอื ในท่ีนี่ คอื การบัญชีบริหาร นัน่ เอง มีความแตกต่างกนั ในบางประเดน็ ดงั แสดงรายละเอียด ในแต่ละหัวข้อ ซ่ึงประกอบด้วย เรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ข้อมูล รูปแบบของการนาเสนอข้อมูล ระยะเวลาในการนาเสนอ วัตถุประสงคก์ ารนาเสนอ ลักษณะของข้อมูลที่นาเสนอ กระบวนการ ตรวจสอบ การวัดผลการดาเนินงาน ดังรายละเอียดแยกตามประเด็นต่างๆ ดังนี้ 3.1. ผใู้ ช้ข้อมลู ผู้ใช้ข้อมูลของการบัญชีการเงินจะมีทั้งบุคคลภายนอก ซึ่งได้แก่ ผู้ลงทุน เจ้าหน้ี กรมสรรพากร หรอื หน่วยงานราชการ เป็นต้น และบคุ คลภายในองค์กร เช่น ผูบ้ ริหาร พนักงาน เป็นต้น ส่วนผู้ใช้ข้อมูลการบัญชีต้นทุนเพ่ือการบริหาร ส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลภายในองค์กร ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหาร และผู้ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การวางแผนและการตดั สนิ ใจ 3.2. รปู แบบของการนาเสนอขอ้ มูล การนาเสนอข้อมลู การบัญชีการเงนิ จะถูกจัดทาข้นึ ตามหลกั การบัญชีท่ไี ด้รบั การรบั รอง โดยท่วั ไป (Generally Accepted Accounting Principle: GAAP) และเป็นไปตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน (International Financial Reporting Standard: IFRS) ส่วนการนาเสนอ ขอ้ มลู การบญั ชีต้นทุนเพอื่ การบรหิ าร ไม่จาเป็นตอ้ งเป็นไปตามหลักการบัญชีที่ไดร้ ับการรับรอง

บทท่ี 1 ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกับการใชข้ ้อมูลทางการบญั ชเี พ่อื การตัดสนิ ใจ 1 - 9 โดยทว่ั ไป (GAAP) หรือตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (IFRS) แต่ให้เป็นไปตามความ ตอ้ งการของผ้บู รหิ าร 3.3. ระยะเวลาในการนาเสนอ ช่วงเวลาการนาเสนอข้อมูลการบัญชีการเงินจะถูกกาหนดไว้แน่นอน ซึ่งข้ึนอยู่กับการ กาหนดรอบระยะเวลาบญั ชขี องแต่ละกจิ การ ซ่ึงอาจจะกาหนดเป็นรายไตรมาส รายคร่ึงปี และ รายปี แต่เมอื่ กาหนดเปน็ แบบใดตอ้ งนาเสนอเป็นประจาตามทีก่ าหนด ส่วนการบัญชีต้นทุนเพื่อ การบริหาร การนาเสนอข้อมลู ไม่ได้กาหนดไว้แน่นอน อาจเป็นรายสัปดาห์ รายเดือนหรือราย ไตรมาส ท้ังน้ขี ึ้นอย่กู บั ความต้องการของผูบ้ ริหาร 3.4. วตั ถปุ ระสงคก์ ารนาเสนอ การนาเสนอข้อมูลการบัญชีการเงินจะเป็นการแสดงข้อมลู ทางการบญั ชใี นภาพรวมของ ทง้ั องคก์ ร ที่มีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ เช่น งบกาไรขาดทนุ ของท้งั บริษทั ท่ีมกี ารนาเสนอตามรปู แบบของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สว่ นการนาเสนอข้อมูล การบัญชีบริหาร จะนาเสนอเป็นรายละเอียด แยกตามแผนกหรือส่วนงานย่อยที่อยู่ในบริษัท เพ่ือสนองต่อความต้องการของผู้บริหาร เช่น งบกาไรขาดทุนแยกตามแผนก หรือสาย ผลติ ภัณฑ์ หรอื แยกตามเขตการขาย หรอื ส่วนงานย่อยของบรษิ ทั นัน้ ๆ เปน็ ตน้ 3.5. ลกั ษณะของขอ้ มูลท่ีนาเสนอ การนาเสนอข้อมูลท่ีได้จากหลักการบัญชีการเงินจะเป็นในรูปตัวเงิน ซ่ึงเป็นข้อมูลที่ เกิดขึ้นแล้วในอดีต เช่น ข้อมูลต่างๆท่ีอยู่ในงบการเงิน ไม่ว่าจะเป็นงบแสดงฐานะการเงิน งบ กาไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแสเงินสด เป็นต้น ส่วนข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากหลักการบัญชีตน้ ทุนเพอื่ การบรหิ าร จะเป็นการนาเสนอข้อมูลท่เี ปน็ ท้งั ขอ้ มูล ในรปู ของตัวเงนิ และไม่ใชต่ วั เงิน และเปน็ ขอ้ มลู ท่มี กี ารบนั ทกึ รายการท้ังในอดีตและส่ิงที่คาดว่า จะเกิดข้นึ ในอนาคต เช่น ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สภาพการแข่งขนั ในอตุ สาหกรรม แนวโนม้ ของตลาดใน อนาคต การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีท่มี ีผลต่อธุรกิจ เปน็ ต้น

1 - 10 การบัญชีต้นทุน 2 3.6. กระบวนการตรวจสอบ ข้อมูลที่ได้จากการบัญชีการเงิน ต้องได้รับการตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบบัญชีรับ อนุญาต (Certified Public Accountant: CPA) หรือผู้สอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor: TA) แต่สาหรับข้อมูลการบัญชีต้นทุนเพ่ือการบริหารไม่จาเป็นต้องได้รับการตรวจสอบโดยผู้ ตรวจสอบบัญชรี บั อนญุ าต หรอื ผ้สู อบบญั ชีภาษีอากร เพียงแตข่ ้อมลู น้นั สามารถสนองต่อความ ตอ้ งการของผบู้ ริหาร ผู้บริหารได้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง เก่ียวข้องหรือสามารถนาข้อมูลไปใช้ ประกอบการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งทันทว่ งที ก็ถอื วา่ เพยี งพอแล้ว 3.7. การวดั ผลการดาเนินงาน การวัดผลการดาเนินงานจากกระบวนการของการบญั ชกี ารเงนิ จะพิจารณาจากข้อมลู ที่ เป็นตวั เงินเทา่ นน้ั เช่น พิจารณาตัวเลขกาไรหรอื ขาดทุน โดยการเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ปีก่อนกับปี ปัจจบุ ันว่ามผี ลกาไรหรอื ขาดทนุ สงู หรอื ต่ากว่าปที ่ีผา่ นมา เป็นตน้ สว่ นการวัดผลการดาเนนิ งาน ข้อมูลทนี่ าไปใช้เพ่อื การจัดการ จะพิจารณาท้งั ข้อมูลท่ีเปน็ ตวั เงินและไม่ใช่ตัวเงนิ เช่น คุณภาพ ของสินค้าและการบริการ นโยบายขององค์กรว่ามีการคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม ซงึ่ จะส่งผลต่อภาพลักษณ์ของธรุ กิจในระยะยาว ทาให้ลกู ค้ามีความเช่ือถือ และซื้อ สินคา้ กบั บริษัทต่อเน่ืองยาวนาน เป็นต้น จากขอ้ มลู ทอ่ี ธิบายขา้ งตน้ เพอื่ ให้เข้าใจมากยิ่งขนึ้ สามารถสรุปประเดน็ ความแตกตา่ ง กันในแตล่ ะหัวขอ้ ดังแสดงในตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งการบญั ชกี ารเงนิ และการบัญชีต้นทนุ (เพ่ือการ บรหิ าร) หวั ข้อ การบญั ชีการเงิน การบญั ชีต้นทุน (เพือ่ การบริหาร) 1.ผู้ใชข้ อ้ มลู บคุ คลทง้ั ภายนอก เชน่ นกั ลงทุน บุคคลภายในองคก์ ร เช่น ผู้บริหาร 2.รปู แบบของการ นาเสนอ เจา้ หนี้ ธนาคาร กรมสรรพากร พนักงานในองคก์ ร ผ้ขู ายสนิ คา้ เปน็ ต้น เปน็ ไปตามหลกั การบัญชีทไ่ี ด้รับ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั การ การรบั รองโดยทัว่ ไป (GAAP) และ บญั ชีทรี่ บั รองโดยท่ัวไป (GAAP) เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน หรอื ตามมาตรฐานการรายงานทาง ทางการเงนิ (IFRS) การเงิน (IFRS) แตใ่ หเ้ ป็นไปตาม ความต้องการของผู้บรหิ าร

บทท่ี 1 ความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ วกับการใช้ขอ้ มลู ทางการบัญชเี พือ่ การตัดสนิ ใจ 1 - 11 หวั ขอ้ การบญั ชีการเงิน การบญั ชีต้นทุน (เพื่อการบริหาร) 3.ระยะเวลาในการ ระยะเวลาของการนาเสนอขอ้ มลู จะ ระยะเวลาของการนาเสนอขอ้ มลู นาเสนอ ถกู กาหนดไว้แนน่ อน รายเดอื น ไม่ไดก้ าหนดไว้แนน่ อน จะนาเสนอ รายไตรมาส และรายปี แต่เมอ่ื ข้อมลู ตามความต้องการของ กาหนดเปน็ แบบใดต้องนาเสนอ ผูบ้ ริหาร อาจเปน็ รายสปั ดาห์ ราย เป็นประจาตามช่วงระยะเวลานนั้ เดอื นหรอื รายไตรมาสกไ็ ด้ 4.วัตถปุ ระสงคก์ าร แสดงขอ้ มลู ทางการบญั ชีใน จะนาเสนอเปน็ รายละเอียด แยกตาม นาเสนอ ภาพรวมของทง้ั องคก์ ร ทมี่ ีความ แผนกหรือส่วนงานยอ่ ยทอี่ ยใู่ น สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการ บริษทั เพื่อใหผ้ ู้บรหิ ารนาขอ้ มูลไปใช้ รายงานทางการเงนิ ประกอบการตดั สนิ ใจ 5.ลกั ษณะของ การนาเสนอข้อมลู จะเป็นในรปู ของ การนาเสนอขอ้ มูลจะมีทั้งทแี่ สดง ขอ้ มลู ทน่ี าเสนอ ของตัวเงนิ ซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู ที่เกดิ ขน้ึ เปน็ ในรูปของตวั เงนิ และไม่ใช่ตัวเงนิ แล้วในอดีต เชน่ ขอ้ มูลตา่ งๆทอ่ี ยู่ เปน็ ขอ้ มูลทั้งในอดตี และคาดว่าจะ ในงบการเงนิ ไมว่ า่ จะเปน็ งบแสดง เกดิ ขนึ้ ในอนาคต เชน่ ขอ้ มลู ใน ฐานะการเงนิ งบกาไรขาดทุน งบ งบประมาณประเภทต่างๆ ข้อมูล แสดงการเปล่ียนแปลงสว่ นของผู้ เก่ียวกับสภาพการแขง่ ขนั ใน ถอื ห้นุ และงบกระแสเงนิ สด อุตสาหกรรม แนวโนม้ ของตลาดใน เป็นตน้ อนาคต การเปล่ยี นแปลงทาง เทคโนโลยีทม่ี ีผลตอ่ ธุรกิจ เป็นตน้ 6.กระบวนการ ตรวจสอบโดยผตู้ รวจสอบบัญชรี บั ไม่มกี ารตรวจสอบโดยผ้ตู รวจสอบ ตรวจสอบ อนญุ าต หรือ ผูส้ อบบญั ชีภาษี บญั ชรี บั อนญุ าต หรือ ผูส้ อบบัญชี อากร ภาษีอากร เพียงแตข่ อ้ มูลนนั้ สนองต่อความ ต้องการของผู้บริหาร กถ็ ือวา่ เพยี งพอแลว้ 7.การวัดผลการ การวดั ผลการดาเนินงานจะ การวัดผลการดาเนินงานจะพจิ ารณา ดาเนินงาน พิจารณาจากข้อมูลทเี่ ปน็ ตวั เงิน ท้งั ขอ้ มูลทเ่ี ป็นตวั เงนิ และไม่ใช่ตัว เท่านัน้ เงิน ท่มี า : (ปรบั ปรงุ จากศศิวมิ ล มีอาพล, 2558 : 1 - 4)

1 - 12 การบัญชีต้นทุน 2 ลกั ษณะเชิงคณุ ภาพของข้อมูลบญั ชีบริหาร ข้อมูลทางการบัญชีบริหาร เป็นข้อมูลสาคัญที่นามาใช้ประกอบการตัดสินใจของ ผู้บริหาร ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวควรมีคุณลักษณะเชิงคุณภาพที่สาคัญ 4 ประการ คือ ความ เกยี่ วขอ้ งกบั การตัดสนิ ใจ (Relevance) ความเชือ่ ถือได้ (Reliability) ความรวดเร็วและทันต่อ เวลา (Timeliness) และการคานึงถึงต้นทุนท่ีเสียไปและผลตอบแทนท่ีได้รับ (Costs and Benefits) ซึ่งลกั ษณะเชิงคณุ ภาพแต่ละลักษณะมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ความเก่ยี วขอ้ งกบั การตดั สินใจ ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารต้องเป็นข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance) และช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้ง่ายขึ้น ซ่ึงข้อมูลทางการบัญชีจะประกอบด้วย ข้อมลู ทงั้ ทเ่ี กิดจากเหตกุ ารณ์ในอดตี ปัจจบุ ัน รวมไปถึงตวั เลขทีเ่ กิดจากการประมาณการ ตาม แผนงานในอนาคต ตัวอย่างข้อมลู ทางการบัญชีที่มีความเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ เช่น ข้อมูล เกีย่ วกบั สินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของผู้ถือหุ้น ที่ถูกนาเสนอในงบแสดงฐานะการเงิน เพื่อให้ ผู้บริหารทราบว่า กิจการมีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น รายการใดบ้าง และแต่ละ รายการมมี ลู คา่ คงเหลือจานวนเท่าใด หรือ ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ และค่าใช้จ่าย ที่ถูกนาเสนอ ขอ้ มูลในงบกาไรขาดทุน เพือ่ แสดงใหท้ ราบว่ากิจการมผี ลการดาเนินงานเป็นกาไรหรือขาดทุน สทุ ธิจานวนเทา่ ใด ซงึ่ ข้อมูลเหลา่ นส้ี ามารถนาไปวางแผนกาไรในอนาคตได้ 2. ความเชื่อถอื ได้ ลักษณะของขอ้ มลู ท่จี ะนามาใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจตอ้ งมีความน่าเช่ือถือ (Reliability) ถูกตอ้ ง ปราศจากความผิดพลาดอย่างมีนัยสาคัญ และความลาเอียง เพราะถ้าหากข้อมูลขาด ความถูกตอ้ ง หรอื ผิดพลาดอย่างมนี ัยสาคัญแลว้ อาจจะมผี ลทาใหก้ ารตัดสินใจผิดพลาดไปดว้ ย ดังนั้น ในทางปฏิบตั ิบริษทั ต้องแสดงหรอื เปิดเผยรายการทางบญั ชีต่างๆ รวมไปถึงเหตุการณ์ท่ี มีผลต่อการตัดสินใจในงบการเงิน หรืออธิบายเพ่ิมเติมไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินให้ ครบถว้ น เพือ่ แสดงการเป็นตวั แทนอนั เทย่ี งธรรมของข้อมูล ไม่ว่าจะเก่ียวกบั ข้อมูลทางการเงิน และไม่เกยี่ วกบั ทางการเงนิ กต็ าม 3. ความรวดเรว็ และทนั ต่อเวลา ข้อมูลท่ีผู้บริหารนามาใช้ประกอบการตัดสินใจนอกเหนือจากความเก่ียวข้องกับการ ตัดสินใจและมีความเชื่อถือได้แล้ว สิ่งสาคัญอีกประเด็นหนึ่งก็คือ ข้อมูลน้ันต้องมีความทันต่อ เวลา (Timeliness) เปน็ ขอ้ มูลปจั จบุ นั และมปี รับเปลีย่ นแกไ้ ขไปตามสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลง อย่ตู ลอดเวลา ถ้าหากเปน็ ข้อมูลท่ีไม่ได้รับการแก้ไข หรือเป็นข้อมูลท่ีล้าสมัย ข้อมูลท่ีเสนอต่อ

บทที่ 1 ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั การใช้ขอ้ มูลทางการบัญชเี พื่อการตดั สนิ ใจ 1 - 13 ผู้บริหารอาจทาให้ผู้บริหารตัดสินใจผิดพลาดได้ นอกจากน้ี การท่ีผู้บริหารได้รับข้อมูลที่ช้า เกินไป ทาให้กิจการไม่สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้อย่างทันท่วงที ไม่มีความได้เปรียบในเชิง ของการแข่งขัน เพราะในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าเป็นยุคของการแข่งขันด้านข้อมูล (Information era) ธุรกิจใดได้รับข้อมูลท่ีรวดเร็วกว่า ผู้บริหารนาข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจได้อย่าง รวดเร็วเท่าไหร่ยิ่งทาให้ส่งผลต่อธุรกิจน้ันมากย่ิงขึ้น ทาให้มีความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน มากกว่าคู่แข่งรายอ่ืน 4. การคานึงถึงต้นทนุ ที่เสียไปและผลตอบแทนท่ีได้รบั โดยทวั่ ไปกิจการต้องคานงึ ถงึ ตน้ ทนุ หรอื ค่าใชจ้ ่ายทเี่ สียไปและประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั (Costs and Benefits) เพือ่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ ขอ้ มลู ท่ีนามาใช้ประกอบการตดั สินใจ การจะใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ีมีความ ถูกต้องและเช่ือถือได้ เพื่อนาไปใช้ประกอบการวางแผนธุรกิจ รวมไปถึงการตัดสินใจในเรื่อง ตา่ งๆท่เี กีย่ วข้อง อาจต้องจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยที่คอ่ นข้างสงู เช่น บรษิ ทั อาจต้องซอ้ื โปรแกรมสาเร็จรูป เพ่ือใช้สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างเช่น โปรแกรมเพ่ือใช้วิเคราะห์ข้อมูลรายงานทาง การเงนิ เป็นตน้ แต่ในทางปฏิบัติโปรแกรมท่ีสามารถนามาใช้วิเคราะห์ข้อมูลมีหลายหลาย ไม่ จาเป็นต้องจ่ายค่าใช้จ่ายที่แพงเกินไป ดังน้ัน ผู้บริหารจึงควรคานึงถึงต้นทุนที่เสียไปร่วมกับ ผลประโยชน์ท่ีกจิ การได้รบั ซง่ึ โดยท่วั ไปตน้ ทนุ หรือคา่ ใช้จา่ ยไมค่ วรจะสูงเกนิ ไปซ่ึงอาจจะไม่คมุ้ กบั การไดม้ าซ่ึงขอ้ มูลดงั กลา่ ว หน้าที่หลกั ของผบู้ ริหาร ผูบ้ รหิ ารในแตล่ ะระดบั ของแต่ละองคก์ ร ไมว่ า่ จะเป็นผ้บู รหิ ารระดับสงู หรือระดบั กลางมี หน้าที่สาคัญอยู่ 4 หน้าที่ ได้แก่ การวางแผน (Planning) การกากับ (Directing) การควบคุม (Controlling) และการตดั สนิ ใจ (Decision Making) โดยแต่ละหนา้ ท่ีหลักของผบู้ รหิ าร สามารถ อธิบายไดด้ ังน้ี 1. การวางแผน หน้าที่หลักของผู้บริหารเร่ิมตั้งแต่การวางแผนธุรกิจ (Planning) กาหนดวัตถุประสงค์ หลกั ของการดาเนินธุรกิจ กาหนดแนวทางในการบริหารจัดการ ของแต่ละแผนก และกาหนด นโยบายรวมไปถึงวางแผนกลยุทธ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์หลักขององค์กร เช่น บรษิ ทั ต้องการเพ่มิ ยอดขาย หรือเพ่ิมส่วนแบ่งทางการตลาด โดยการเพ่ิมสายผลิตภัณฑ์ หรือ ขยายฐานลูกค้า เพ่ือเพิ่มยอดขายให้มีจานวนมากข้ึน นอกจากน้ี ธุรกิจอาจมีการเพิ่ม ภาพลักษณ์ขององค์กร โดยการกาหนดนโยบายที่เก่ียวข้องกับการช่วยเหลือสังคมและการ

1 - 14 การบัญชีตน้ ทุน 2 อนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อม เพอ่ื ให้บริษัทมีชอื่ เสยี งทีด่ ขี ึ้น ในสายตาของผบู้ รโิ ภค ซงึ่ จะส่งผลกระทบต่อ การเพิม่ ยอดขาย และมีผลต่อกาไรของกจิ การในระยะยาวได้ 2. การกากบั ดแู ลและการสงั่ การ หลังจากที่ผู้บริหารได้ทาการวางแผนแล้ว เพื่อให้แผนธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมายที่ ผ้บู รหิ ารวางไว้ ดงั นนั้ หนา้ ทห่ี นง่ึ ที่มีความสาคัญคือ การกากับดูแลและการสั่งการ (Directing) เพื่อให้การดาเนินงานในแต่ละวันขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์และให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ กจิ การ ตวั อยา่ งหนา้ ที่การกากบั ดูแลและการสั่งการของผ้บู ริหาร เชน่ ผจู้ ัดการฝา่ ยขายมหี นา้ ที่ วางแผนการขายผลิตภัณฑ์ในแต่ละเดือน ข้อมูลท่ีผู้จัดการฝ่ายขายต้องการคือ ข้อมูลจานวน สินคา้ ท่ขี ายไดใ้ นแต่ละวนั ดังนัน้ พนกั งานขายตอ้ งมีการเก็บข้อมูลจานวนสินค้าท่ีขายได้ในแต่ ละวัน รวมไปถึงยอดขายเพ่ือเสนอให้กับผู้จัดการ เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นๆทีเ่ ก่ียวข้องตอ่ ไป เช่น ขอ้ มูลแผนปริมาณการขายจากฝ่ายขาย จะถูกส่งต่อ ให้กับผู้จัดการฝ่ายผลิต เพ่ือจะได้ทราบว่าปริมาณสินค้าท่ีแผนกหรือโรงงานจะต้องผลิตมี จานวนเท่าใด เป็นต้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่า แต่ละฝ่ายในองค์กรหน่ึงๆ มีความเกี่ยวข้องกันอยู่ ตลอดเวลา แนวทางหรือขนั้ ตอนการปฏิบัติงานจึงต้องมีการกาหนดแนวทางการปฏิบัติงานใน แตล่ ะข้นั ตอนให้ละเอียดเพ่ือให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้ง่าย และมีความเข้าใจในงานที่ เกีย่ วข้องกบั งานของตน 3. การควบคมุ เม่ือผู้บริหารได้วางแผนการปฏิบัติงานโดยการจัดทางบประมาณการดาเนินงาน ตัวอย่างเชน่ งบประมาณการขาย งบประมาณการผลติ งบประมาณตน้ ทุนการผลิต งบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน เป็นต้น ส่ิงที่จาเป็นตามมาคือ การควบคุม (Controlling) ถ้าไม่มี การควบคุมให้เป็นไปตามแผนท่กี าหนดไวล้ ่วงหน้า สง่ิ ที่ผูบ้ ริหารวางแผนไว้จะไม่สามารถบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ได้ ซ่ึงจะส่งผลต่อผลการดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร ผู้ท่ีมีหน้าท่ีเก็บ และรวบรวมข้อมูลการใช้ทรัพยากรท่ีเกิดข้ึนจริง ส่วนใหญ่จะเป็นนักบัญชีหรือบุคคลที่อยู่ใน แผนกนัน้ ๆ แล้วนาข้อมลู ตน้ ทุนท่เี กดิ ขนึ้ จรงิ มาเปรียบเทียบกับตัวเลขที่อยู่ในแผนงบประมาณ ดงั กลา่ วข้างตน้ การเปรียบเทียบตวั เลขตามแผนงบประมาณกบั ตวั เลขจริงทเี่ กิดขึ้น เป็นเหมอื น การควบคุมใหธ้ ุรกิจทาได้ตามเป้าหมาย จะนาเสนอในลักษณะเป็นรายงานผลการดาเนินงาน (Performance Reports) ในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการประเมินผลการ ดาเนนิ งานของแตล่ ะแผนกว่าเปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนดหรือไม่ ดังนั้นการควบคุมจึงถือว่าเป็น หน้าท่ีที่มีความสาคัญท่ีขาดไม่ได้ เพราะการควบคุมใช้สาหรับเป็นเคร่ืองมือในการวัดผลการ ดาเนนิ งานของผจู้ ดั การแต่ละแผนกวา่ ผลจากการปฏิบัติงานจริงเกิดผลต่างระหว่างตัวเลขตาม แผนงบประมาณกับตัวเลขของจริงท่ีเกิดขึ้นหรือไม่ เป็นผลต่างที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจ

บทที่ 1 ความรทู้ ัว่ ไปเกย่ี วกับการใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชเี พ่อื การตัดสนิ ใจ 1 - 15 หลังจากนั้นหาสาเหตุว่าถ้าหากไม่เป็นไปตามแผนเป็นเพราะเหตุใด เพื่อที่จะกาหนดเป็น แนวทางในการปรับปรุง และแกไ้ ขใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ 4. การตดั สินใจ หนา้ ท่หี ลกั ของผูบ้ ริหารคอื การตดั สินใจ (Decision Making) แต่การจะตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ ง ถูกต้องหรือไม่น้ัน ผู้บริหารจาเป็นต้องได้ข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลขและไม่ใช่ตัวเลขท่ีมีความ เกี่ยวข้องกบั ปญั หา ความถกู ตอ้ ง ความเช่อื ถือได้ รวมไปถงึ ขอ้ มูลตอ้ งรวดเรว็ ทันตอ่ เหตุการณ์ เพื่อใชใ้ นการตัดสินใจ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว แต่อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารต้องคานึงถึงต้นทุน และผลตอบแทนท่ีได้รับด้วยเช่นกัน ตัวอย่างการตัดสินใจระยะสั้นของผู้บริหาร เช่น การ ตัดสินใจรับคาสั่งซื้อพิเศษจากลูกค้า การตัดสินใจผลิตสินค้าเองหรือซื้อสินค้าจาก บุคคลภายนอก หรือการตัดสินใจยกเลิกหรือจาหน่ายผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง ตัวอย่าง ประเดน็ การตดั สนิ ใจระยะยาวของผบู้ ริหาร เชน่ การตดั สินใจลงทุนในโครงการใดโครงการหน่ึง ซึ่งต้องใช้เงินลงทุนจานวนมาก และผลตอบแทนที่จะได้รับกลับคืนต้องใช้เวลานาน เช่น การ ก่อสรา้ งอาคารพาณชิ ย์ การสร้างโครงการบ้านจัดสรรหรือโครงการคอนโดเพ่ือเป็นที่อยู่อาศัย เป็นต้น จะเห็นได้ว่า ในแต่ละประเด็นการตัดสินใจ ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการตัดสินใจมีความ แตกต่างกัน ดังนั้นการนาเสนอข้อมูลท่ีเสนอให้กับผู้บริหารต้องใช้ข้อมูลท่ีมีความแตกต่างกัน และท่ีสาคัญข้อมูลที่นามาใช้ประกอบการตัดสินใจจาเป็นต้องมีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) และข้อมูลเชิงคณุ ภาพ (ไม่เป็นตัวเลข) ประกอบการตัดสนิ ใจเสมอ ความหมายของต้นทนุ ต้นทนุ (Costs) หมายถึง เงินสดหรือสิ่งที่เทียบเทา่ เงนิ สดหรือทรพั ยากรท่กี จิ การเสยี ไป เพื่อแลกเปลี่ยนหรือให้ได้มาซ่ึงสินค้าหรือบริการ และได้นาประโยชน์มาให้กิจการในปัจจุบัน หรือในอนาคต (สมนึก เออื้ จิระพงษพ์ ันธ์, 2552; ศศิวมิ ล , 2556) แตอ่ ย่างไรก็ตามสง่ิ ทตี่ อ้ งทาความเขา้ ใจก่อนทจ่ี ะนาเอาต้นทุนหรือคา่ ใชจ้ า่ ยมาวางแผน หรือวิเคราะห์เพื่อใช้ในการตัดสินใจ คือ ทาความเข้าใจเก่ียวกับประเภทของต้นทุนก่อน ซึ่ง ตน้ ทนุ หรอื ค่าใช้จ่ายสามารถจาแนกไดห้ ลายประเภทขนึ้ อยู่กบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการนาขอ้ มลู ไป ใช้ เช่น การแบ่งประเภทเป็นต้นทุนท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตสินค้า และต้นทุนท่ีไม่เก่ียวข้องกับ การผลติ สินค้า เพ่ือวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ และคานวณหาต้นทุน หรอื ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกบั การดาเนนิ งาน ซึง่ มีผลต่อการแสดงผลกาไรหรือขาดทุนสุทธิของกิจการ เป็นต้น แต่ในความเป็นจริง การแบ่งประเภทต้นทุนมีหลากหลายลักษณะ ซ่ึงจะอธิบายโดย ละเอียดในหวั ข้อตอ่ ไป

1 - 16 การบัญชีตน้ ทุน 2 การจาแนกประเภทของต้นทุน โดยทั่วไปการบัญชีบริหารจาเป็นต้องได้รับข้อมูลทางการบัญชีท่ีมีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือและท่สี าคัญมคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั ประเด็นปญั หาหรือเร่ืองที่ผบู้ รหิ ารต้องการจะตัดสินใจ เพอื่ ใหผ้ ู้บริหารนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจได้ ให้ทันกับความต้องการ ย่ิงผบู้ ริหารได้ขอ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ ง ตรงประเด็น และได้ข้อมูลรวดเร็วเท่าไหร่หมายถึงการได้เปรียบ ในเชงิ การแข่งขันในทางธุรกิจมากเท่าน้ัน แต่ในความเป็นจริงข้อมูลต้นทุนสามารถจาแนกได้ หลากหลายประเภทตามวัตถปุ ระสงคข์ องการใชข้ ้อมลู เชน่ การจาแนกตน้ ทนุ ไปตามพฤติกรรม ของตน้ ทุน เพือ่ ใชน้ าไปใชใ้ นวางแผนและควบคุม การจาแนกต้นทุนเพ่ือจัดทางบการเงิน หรือ การจาแนกตน้ ทุนเพอ่ื ใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจาแนกประเภทของ ต้นทุนสามารถแบง่ ได้หลายประเภท ข้ึนอยกู่ ับเกณฑใ์ นการจดั แบ่ง รวมไปถึงวัตถุประสงค์ของ การใช้ขอ้ มูลจากบุคคลแต่ละฝา่ ย และการใช้ประโยชน์ของข้อมูลที่แตกต่างกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่า แต่ละฝ่ายมีความต้องการที่แตกต่างกัน ดังน้ัน การจาแนกประเภทของต้นทุนจึงแบ่งไปตาม วัตถปุ ระสงค์ต่างๆ ดงั นี้ 1. การจาแนกต้นทนุ ตามหนา้ ท่ี 2. การจาแนกตน้ ทนุ ตามแหล่งทม่ี าของต้นทนุ 3. การจาแนกต้นทุนสาหรบั การจัดทารายงานทางการเงิน 4. การจาแนกตน้ ทนุ ตามความสมั พันธ์ของตน้ ทนุ กบั หนว่ ยของต้นทนุ 5. การจาแนกตน้ ทนุ ตามพฤตกิ รรมของต้นทนุ 6. การจาแนกตน้ ทุนเพื่อใช้สาหรบั การตดั สินใจ ในแตล่ ะประเภทของตน้ ทนุ จะมีองค์ประกอบยอ่ ยอาจจะมสี ่วนทีแ่ ตกตา่ งกันหรอื บาง ประเภทอาจมีความสมั พันธก์ นั โดยจะอธิบายในรายละเอยี ดในหัวข้อถัดไป 1. การจาแนกต้นทุนตามหน้าที่ สาหรบั ธุรกิจอตุ สาหกรรม ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น กิจการสามารถแบ่งประเภท ต้นทุนไปตามหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและไม่เก่ียวข้องกับการผลิต ซ่ึงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ตน้ ทุนการผลิต (Manufacturing Costs) และตน้ ทุนท่ไี ม่เก่ียวกบั การผลิต (Non - manufacturing Costs)

บทท่ี 1 ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมูลทางการบญั ชเี พือ่ การตดั สินใจ 1 - 17 1.1. ต้นทุนการผลิต ตน้ ทุนการผลติ (Manufacturing Costs) หมายถงึ ต้นทุนต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรม การผลิตสินค้าของกิจการ ซึ่งสามารถท่ีจะให้คาตอบเกี่ยวกับมูลค่าของต้นทุนสินค้าหรือ ผลิตภณั ฑ์ทเี่ กดิ จากการแปรรูปวตั ถุดบิ ใหเ้ ปน็ สนิ คา้ สาเร็จรูปหรือกึ่งสาเร็จรูป เพ่ือจาหน่ายตาม วัตถุประสงค์ของกิจการ (สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, 2552) ต้นทุนการผลิต สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง (Direct Material) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor) และ ค่าใช้จ่ายการผลติ (Manufacturing Overhead) 1.1.1. วตั ถดุ ิบทางตรง วัตถดุ บิ ทางตรง (Direct Material) คอื วตั ถดุ ิบทกุ ชนิดท่ีเป็นวัตถหุ ลักในการผลิตสินค้า ชนิดใดชนิดหน่ึง และสามารถคิดปริมาณการใช้ และต้นทุนวัตถุดิบให้กับสินค้าน้ันได้อย่าง ชดั เจน เชน่ แปง้ ท่ใี ช้ในการทาขนมเคก้ ไมท้ ีใ่ ช้ในการผลิตเก้าอี้ ผ้าท่ีใช้ตัดเย็บกระเป๋าผ้า เป็น ต้น นอกจากน้ี ยังมีวัตถุดิบท่ีเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตสินค้าเช่นกัน แต่มูลค่าน้อยมาก ไม่มี นัยสาคัญ เช่น เกลอื ทใ่ี ชเ้ ปน็ สว่ นผสมในการทาเคก้ ตะปูทีใ่ ช้ในการประกอบเก้าอ้ี กระดุมท่ีติด กบั กระเปา๋ ผา้ ซึ่งวัตถุดบิ ดังกล่าว เมอื่ คิดตน้ ทุนแล้วจะเห็นไดว้ า่ ต้นทุนของวัตถุดิบต่ามาก ซ่ึง ถือวา่ วัตถุดิบเหล่านี้ เป็นวัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Material) หรือวัสดุในการผลิต ซึ่งวัตถุดิบ ทางออ้ ม ถอื เป็นส่วนหน่งึ ของค่าใช้จา่ ยการผลติ ชนดิ หน่ึง 1.1.2. ค่าแรงงานทางตรง ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor) เปน็ ค่าจา้ งแรงงานทีจ่ า่ ยให้กบั พนกั งานหรือคนงาน ที่มีหน้าท่ีในการผลิตสินค้าโดยตรง การจ่ายค่าแรงงานทางตรงจะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับ ปริมาณสินค้าท่ีผลิต หรือตามจานวนชั่วโมงที่คนงานทาการผลิตสินค้าชนิดน้ันๆ ดังนั้น ค่าแรงงานทางตรงจึงสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่ามีต้นทุนเท่าใด แผนกท่ีเกี่ยวข้องกับการ ผลิต เช่น คนงานในแผนกตัดเย็บเส้ือผ้า คนงานในแผนกประกอบช้ินส่วนในโรงงานผลิต รถยนต์ เปน็ ต้น นอกจากน้ี ยังมีค่าแรงงานหรือค่าจ้างท่ีจ่ายให้กับพนักงานท่ีอยู่ในโรงงาน แต่ไม่ได้ เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตสนิ ค้า เชน่ พนักงานทาความสะอาดโรงงาน ยามท่ีดูแลความเรียบร้อยใน โรงงาน เปน็ ต้น ซง่ึ คา่ แรงงานเหล่าน้ี เปน็ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนในโรงงาน แต่ไม่ถือว่า เปน็ ตน้ ทุนในการแปรสภาพวตั ถดุ บิ ใหเ้ ปล่ยี นเปน็ สนิ คา้ สาเร็จรปู หรอื ไม่เก่ียวกับการผลิตสินค้า โดยตรง โดยค่าแรงงานในลักษณะนี้ จะถือวา่ เป็น คา่ แรงงานทางอ้อม (Indirect Labor) ซ่ึงเป็น สว่ นหนึง่ ของค่าใช้จา่ ยการผลิต เช่นเดียวกบั วตั ถุดบิ ทางอ้อมนนั่ เอง

1 - 18 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 1.1.3. ค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จา่ ยการผลิต (Manufacturing Overhead) เป็นต้นทุนหรือคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ การผลเิ ตอ่นื ๆ ทนี่ อกเหนือจากวัตถดุ บิ ทางตรงและค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น วตั ถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าสาธารณปู โภค คา่ เส่อื มราคาเครอ่ื งจักร ค่าเช่าโรงงาน ค่าเบ้ยี ประกนั ภัยโรงงาน เงนิ เดอื นผู้จัดการโรงงาน เป็นต้น โดยค่าใช้จ่ายการผลิตเหล่าน้ีต้อง เป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขนึ้ ในบรเิ วณโรงงานหรอื สถานทีท่ ี่เก่ียวขอ้ งกบั การผลติ สนิ คา้ หรอื คา่ ใชจ้ า่ ย การผลิตนอี้ าจถกู เรยี กวา่ ค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead) 1.2. ต้นทนุ ที่ไม่เก่ียวกบั การผลิต ต้นทุนทไ่ี ม่เก่ียวกับการผลิตสินค้า (Non - manufacturing Costs) หรือในท่ีน้ีหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการดาเนินธุรกิจอื่นๆท่ีนอกเหนือจากกระบวนการผลิต ซึ่งน่ันก็คือ คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ งาน นั่นเอง คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินงาน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการ ขาย (Selling Expenses) และค่าใช้จ่ายในการบรหิ ารงาน (Administrative Expenses) 1.2.1. ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใชจ้ า่ ยในการขาย (Selling Expenses) คือ คา่ ใช้จ่ายต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับกิจกรรมการ ขายสินคา้ หรอื เปน็ การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อเพ่มิ ยอดขาย เช่น ค่าโฆษณา ค่านายหน้า เงินเดือน พนกั งานขาย ค่าเช่าสานักงานขาย ค่าสาธารณูปโภคของแผนกขาย ค่ารับรอง ค่าขนส่งออก ค่าเสอ่ื มราคาอปุ กรณส์ านกั งานของแผนกขาย เปน็ ตน้ 1.2.2. ค่าใช้จา่ ยในการบริหารงาน ค่าใช้จา่ ยในการบริหารงาน (Administrative Expenses) คือ ค่าใช้จา่ ยอ่ืนๆทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กับกจิ กรรมการบริหารงาน ที่นอกเหนือจากกิจกรรมการผลิตและกิจกรรมการขายสินค้า เช่น เงนิ เดือนฝ่ายบรหิ าร เงินเดอื นพนักงานแผนกบัญชี ค่าเสอื่ มราคาอาคาร คา่ เสื่อมราคาอุปกรณ์ สานักงาน คา่ สาธารณปู โภคของสานักงาน เป็นตน้ เพอ่ื ให้เขา้ ใจมากยงิ่ ขึ้น การจาแนกประเภท ตน้ ทนุ หรือคา่ ใชจ้ ่ายตามหน้าทโี่ ดยสรปุ ไดแ้ สดงไว้ในภาพท่ี 1.1

บทท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั การใชข้ อ้ มลู ทางการบญั ชเี พือ่ การตัดสินใจ 1 - 19 2. การจาแนกต้นทุนตามแหล่งท่ีมาของต้นทนุ ต้นทุนท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตสินค้า ซ่ึงประกอบไปด้วย วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงาน ทางตรงและคา่ ใช้จา่ ยการผลิต อาจนาเอาต้นทนุ การผลิตบางประเภทเข้าด้วยกัน โดยพิจารณา จากกระบวนการผลิตขั้นตอนแรกของการผลิต จนกระท่ังถึงข้ันตอนของการผลิตเป็นสินค้า สาเร็จรูป ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ต้นทุนข้ันต้น (Prime Costs) และต้นทุน แปรสภาพ (Conversion Costs) 2.1. ต้นทุนขนั้ ต้น ต้นทุนข้ันต้น (Prime Costs) เป็นการรวมต้นทุนการผลิตในส่วนของวัตถุดิบทางตรง และคา่ แรงงานทางตรง ซ่ึงถือเป็นข้ันตอนแรกของกระบวนการผลิตสินค้า โดยการแปรสภาพ วตั ถดุ ิบทางตรงเข้าสู่กระบวนการผลติ โดยมแี รงงานคนมาคอยแปรสภาพวตั ถุดบิ นน้ั 2.2. ต้นทุนแปรสภาพ ต้นทุนแปรสภาพ (Conversion Costs) เป็นการรวมต้นทุนการผลิตในส่วนของ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใชจ้ ่ายการผลิต เป็นกระบวนการผลิตท่ีต่อเนื่องจากข้ันตอนแรกเพ่ือ แปรสภาพวตั ถดุ บิ ทางตรงให้เปน็ สินคา้ สาเรจ็ รปู 3. การจาแนกต้นทนุ สาหรบั การจดั ทารายงานทางการเงิน การจาแนกต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายเพื่อใชใ้ นการจดั ทารายงานทางการเงนิ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ต้นทนุ ผลติ ภัณฑ์ และต้นทนุ ประจางวด โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 3.1. ต้นทุนผลิตภณั ฑ์ ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Costs) เป็นต้นทุนของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ยังคงอยู่ใน กจิ การ ถา้ ยงั ไม่มกี ารขายสนิ คา้ ให้กบั ลกู คา้ ตน้ ทนุ สินคา้ จะถอื วา่ เป็นต้นทุนของสินค้าคงเหลือ ท่ีปรากฏอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) สาหรับธุรกิจ อุตสาหกรรม ต้นทุนผลิตภัณฑ์จะประกอบไปด้วย วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงและ คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต หรอื หมายถงึ ต้นทนุ การผลติ นนั่ เอง แต่เมอ่ื กิจการมกี ารขายสินค้านนั้ ให้กบั ลูกค้า ตน้ ทุนสนิ คา้ จะกลายเป็นต้นทุนของสินคา้ ท่ีขายได้ หรือเรียกว่า ต้นทุนสินค้าท่ีขายได้ หรือต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold) ซ่ึงถือว่า เป็นค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ในงวดท่มี ีการขายหรอื ต้นทุนประจางวดนนั่ เอง

1 - 20 การบญั ชีต้นทนุ 2 3.2. ต้นทุนประจางวด ต้นทุนประจางวด หรือ ต้นทุนงวดเวลา (Period Costs) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ รายได้ทง้ั ทางตรงและทางอ้อมในช่วงระยะเวลาหน่ึง ค่าใช้จ่ายประเภทน้ีจะนาไปหัก ออกจากรายไดใ้ นรอบระยะเวลาบญั ชที ่รี ายไดน้ นั้ เกิดขึ้น ต้นทุนประจางวดคือค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงานที่เกิดขึ้นในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ซ่ึงประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการขายและ คา่ ใช้จา่ ยในการบริหารงาน ซ่ึงต้นทุนประจางวด ก็คือ ค่าใช้จ่ายท่ีไม่ได้เก่ียวข้องกับการผลิต น่ันเอง โดยปกติต้นทุนประจางวดหรือค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จะปรากฏอยู่ในงบกาไร ขาดทนุ (Statement of Financial Position) การจาแนกประเภทต้นทุนเพ่ือจัดทาเป็นรายงานทางการเงินของธุรกิจแต่ละประเภท ไมว่ า่ จะเป็นธุรกิจผลติ สินค้า ธุรกจิ ซ้ือขายสินค้า รวมไปถึงธุรกิจบริการ จะมีความแตกต่างกัน ดงั นน้ั เพือ่ ให้เข้าใจมากย่ิงขึน้ การจาแนกประเภทตน้ ทนุ สาหรับการจัดทารายงานทางการเงิน ได้แสดงไวใ้ นภาพที่ 1.1 ตน้ ทนุ การผลิต หรอื ตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ วัตถดุ บิ ทางตรง คา่ แรงงานทางตรง คา่ ใช้จ่ายการผลิต ต้นทนุ ขนั้ ตน้ ตน้ ทุนแปรสภาพ ตน้ ทนุ ท่ไี ม่เกย่ี วกบั การผลิต หรือ ต้นทนุ ประจางวด ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารงาน ภาพที่ 1.1 สรุปการจาแนกต้นทนุ ตามหน้าที่และจาแนกเพอื่ จัดทารายงานทางการเงนิ

บทท่ี 1 ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั การใช้ขอ้ มลู ทางการบัญชเี พือ่ การตดั สนิ ใจ 1 - 21 3.3. การนาเสนอขอ้ มลู ต้นทุนผลิตภณั ฑแ์ ละต้นทนุ ประจางวดในงบการเงิน ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การนาเสนอข้อมูลต้นทนุ ผลติ ภณั ฑ์และตน้ ทนุ ประจางวดในงบการเงินที่เกี่ยวข้อง โดย จาแนกตามประเภทของธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจซื้อขายสินค้า ธุรกิจผลิตสินค้า และ ธุรกิจบริการ สามารถแสดงรายละเอียด แต่ละประเภทไดด้ ังนี้ 3.3.1. ธรุ กิจซือ้ ขายสินค้า การจาแนกต้นทุนเพ่ือจัดทารายงานทางการเงิน หากลักษณะของธุรกิจเป็นธุรกิจซ้ือ ขายสนิ คา้ ต้นทนุ ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยต้นทุนจากการซ้ือสินค้าสุทธิ (ซื้อสินค้า + ค่าขนส่ง เข้า – (สง่ คืนสนิ คา้ + สว่ นลดรบั )) การนาเสนอข้อมูลในงบการเงนิ ในส่วนของตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ จะนาไปใชใ้ นการคานวณมลู คา่ ของสนิ คา้ คงเหลอื ซ่ึงจะแสดงรายการสินคา้ คงเหลือในงบแสดง ฐานะการเงนิ เมอื่ กจิ การมกี ารขายสินค้า ต้นทุนสินค้าคงเหลือจะกลายเป็นตน้ ทุนขาย ซึ่งจะไป ปรากฏอยใู่ นงบกาไรขาดทุน ส่วนค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงานจะเป็นต้นทุนประจางวด ดังแสดง ไวใ้ นภาพท่ี 1.2 งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทนุ ต้นทุน ตน้ ทนุ ซ้ือสนิ คา้ สินค้าคงเหลอื ขายสินคา้ ผลิตภณั ฑ์ (สทุ ธ)ิ หัก ต้นทุนประจางวด ตน้ ทนุ ขาย เทา่ กับ กาไรขนั้ ตน้ หกั ค่าใช้จ่ายในการขาย และการบริหาร เทา่ กับ กาไรจากการดาเนินงาน ภาพที่ 1.2 ความสัมพันธข์ องตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑแ์ ละตน้ ทนุ ประจางวดและการแสดงรายการ ในงบแสดงฐานะการเงินและงบกาไรขาดทุนสาหรบั ธรุ กิจซอื้ ขายสนิ คา้ ตวั อยา่ งของต้นทนุ ผลติ ภณั ฑ์และต้นทนุ ประจางวดของธุรกิจประเภทซอื้ ขายสนิ คา้ สามารถนาเสนอในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทนุ ได้ดังนี้

1 - 22 การบญั ชตี ้นทนุ 2 ธรุ กจิ ซื้อขายสินคา้ งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 หน่วย: บาท สินทรพั ย์ สนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น เงินสด 150,000 ลกู หนี้การคา้ 200,000 สินคา้ คงเหลอื 300,000 รวมสินทรัพยห์ มนุ เวียน 650,000 ธรุ กิจซ้ือขายสินคา้ งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สุด วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 ขายสนิ คา้ หน่วย: บาท 1,200,000 หัก ต้นทนุ ขาย สนิ ค้าคงเหลอื ตน้ งวด 250,000 บวก ซือ้ สุทธิ 550,000 ตน้ ทุนสินคา้ ทมี่ ไี วเ้ พอื่ ขาย 800,000 หกั สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด 300,000 500,000 กาไรขน้ั ต้น 700,000 หกั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ งาน คา่ ใช้จา่ ยในการขาย 180,000 ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร 165,000 345,000 กาไรจากการดาเนนิ งาน 355,000 หัก ภาษีเงินได้ (20%) 71,000 กาไรสุทธิ 284,000

บทที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชเี พือ่ การตดั สินใจ 1 - 23 3.3.2. ธรุ กิจผลิตสินค้า หากกิจการเป็นธุรกิจผลิตสินค้า ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง คา่ แรงงานทางตรง และค่าใช้จา่ ยการผลติ ข้อมูลตน้ ทุนเหลา่ น้ี จะแสดงไว้ในงบต้นทุนการผลิต สนิ คา้ คงเหลอื ของธรุ กจิ อตุ สาหกรรม ประกอบด้วย วัตถุดิบคงเหลอื งานระหว่างทาคงเหลือและ สนิ ค้าสาเรจ็ รปู คงเหลือ ส่วนต้นทุนประจางวด หรือค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ซ่ึงประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายใน การขาย และคา่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารงาน จะแสดงเป็นคา่ ใช้จา่ ยหกั ออกจากรายได้ ซ่งึ ปรากฏอยู่ ในงบกาไรขาดทุน ของธุรกิจแตล่ ะประเภท ดังแสดงในแผนภาพดา้ นลา่ ง งบการเงินท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับธรุ กิจผลติ สินคา้ ดงั แสดงไว้ในภาพท่ี 1.3 งบต้นทุนการผลิต งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน วัตถดุ บิ ทางตรง ขายสินค้า หัก ต้นทุน คา่ แรงงานทางตรง งานระหวา่ งทา สินคา้ คงเหลือ ผลิตภณั ฑ์ คา่ ใช้จ่ายการผลติ คงเหลือ ตน้ ทุนขาย ต้นทุนประจางวด เทา่ กับ กาไรขน้ั ตน้ หัก คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย และการบริหาร เท่ากบั กาไรจากการดาเนินงาน ภาพที่ 1.3 ความสัมพันธ์ของต้นทนุ ผลิตภณั ฑแ์ ละตน้ ทุนประจางวดและการแสดงรายการ ในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทุนสาหรับธุรกจิ ผลติ สนิ คา้ ตัวอย่างของต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์และตน้ ทนุ ประจางวดของธุรกิจประเภทผลติ สนิ ค้า สามารถนาเสนอในงบต้นทนุ การผลิต งบแสดงฐานะการเงิน และงบกาไรขาดทุน ไดด้ งั น้ี

1 - 24 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 ธรุ กจิ ผลิตสินคา้ งบตน้ ทุนการผลติ สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท3ี่ 1 ธันวาคม 25x1 วตั ถดุ ิบทางตรงใช้ไป 50,000 หนว่ ย: บาท วัตถุดบิ คงเหลือต้นงวด บวก ซอื้ สุทธ:ิ 120,000 117,000 ซ้อื วตั ถุดิบ 50,000 250,000 บวก ค่าขนสง่ เขา้ 170,000 182,000 วัตถดุ บิ ที่มีไวใ้ ช้ในการผลิต 549,000 100,000 หัก สง่ คืนวตั ถดุ ิบ 15,000 649,000 120,000 ส่วนลดรบั 8,000 23,000 147,000 529,000 197,000 ต้นทุนวตั ถดุ ิบท่ีมไี วใ้ ชใ้ นการผลติ 80,000 หกั วตั ถดุ บิ คงเหลือปลายงวด 80,000 12,000 ตน้ ทนุ วัตถดุ ิบทางตรงใชไ้ ป 20,000 ค่าแรงงานทางตรง 15,000 ค่าใช้จา่ ยการผลิต 25,000 เงนิ เดือนผ้จู ดั การโรงงาน 30,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม คา่ สาธารณปู โภค ค่าเส่อื มราคาเครอ่ื งจกั ร คา่ เชา่ โรงงาน ค่าเบยี้ ประกันภยั โรงงาน รวมตน้ ทุนการผลิต บวก งานระหวา่ งทาต้นงวด ตน้ ทุนสนิ ค้าระหว่างผลิต หกั งานระหว่างทาปลายงวด ตน้ ทุนสินค้าทผ่ี ลติ เสรจ็

บทท่ี 1 ความรู้ทัว่ ไปเกยี่ วกับการใช้ขอ้ มูลทางการบญั ชเี พอื่ การตัดสนิ ใจ 1 - 25 ธุรกจิ ผลติ สนิ คา้ งบแสดงฐานะการเงิน (บางสว่ น) ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น สินทรพั ย์ หน่วย: บาท เงนิ สด ลกู หน้กี ารคา้ 200,000 500,000 สินคา้ คงเหลอื : 120,000 125,000 80,000 สนิ คา้ สาเรจ็ รูปคงเหลือ 400,000 งานระหวา่ งทาคงเหลือ 1,025,000 วัตถดุ บิ คงเหลือ รวมสนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น ธุรกจิ ผลติ สนิ ค้า งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 ปี สนิ้ สดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 ขายสนิ ค้า หน่วย: บาท 1,500,000 หัก ตน้ ทนุ ขาย สินค้าสาเร็จรปู คงเหลือตน้ งวด 180,000 บวก ต้นทนุ สนิ คา้ ท่ผี ลิตเสร็จ 529,000 ต้นทุนสินค้าทมี่ ีไว้เพอ่ื ขาย 709,000 หกั สนิ ค้าสาเรจ็ รปู คงเหลอื ปลายงวด 200,000 509,000 กาไรขน้ั ต้น 991,000 หัก คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย 275,000 ค่าใช้จ่ายในการบรหิ าร 220,000 495,000 กาไรจากการดาเนินงาน 496,000 หกั ภาษีเงนิ ได้ (20%) 99,200 กาไรสุทธิ 396,800

1 - 26 การบญั ชีตน้ ทุน 2 3.3.3. ธรุ กิจบริการ หากกจิ การเปน็ ธรุ กิจบรกิ าร ธุรกิจลกั ษณะนจ้ี ะให้บริการลกู คา้ จงึ ไมม่ ีผลติ ภัณฑ์ ดงั นั้น ต้นทุนผลิตภัณฑ์ไม่มี แต่มีเฉพาะส่วนที่เป็นต้นทุนการให้บริการ ซึ่งได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการ ดาเนนิ งาน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารเท่านั้น ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่าน้ี ถือ เปน็ ตน้ ทุนประจางวด และจะแสดงเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยหักออกจากรายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร ซึ่งปรากฏ อย่ใู นงบกาไรขาดทุน งบการเงินทเี่ กี่ยวข้องสาหรบั ธุรกิจบริการ ดงั แสดงไว้ในภาพที่ 1.4 งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทนุ รายได้จากการบริการ สินทรัพย์ในการบรกิ าร หกั ต้นทุนในการให้บริการ ต้นทุนประจางวด หรือคา่ ใชจ้ ่ายในการ ดาเนินงาน เทา่ กบั กาไรจากการดาเนินงาน ภาพท่ี 1.4 ความสัมพนั ธ์ของตน้ ทนุ การบรกิ ารและต้นทุนประจางวดและการแสดงรายการ ในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทนุ สาหรับธรุ กจิ บริการ ตัวอยา่ งของต้นทนุ ประจางวดของธุรกจิ ประเภทให้บริการ สามารถนาเสนอในงบกาไร ขาดทนุ ได้ดงั น้ี ธุรกจิ บริการ งบกาไรขาดทนุ สาหรบั งวด 1 ปี ส้นิ สุด วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 หน่วย: บาท รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการ 500,000 หัก ตน้ ทนุ จากการบริการ หรือ ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ งาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย 125,000 ค่าใชจ้ ่ายในการบริหาร 120,000 245,000 กาไรจากการดาเนนิ งาน 255,000 หัก ภาษีเงนิ ได้ (20%) 51,000 กาไรสุทธิ 204,000

บทที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมลู ทางการบัญชเี พื่อการตัดสินใจ 1 - 27 4. การจาแนกต้นทนุ ตามความสมั พนั ธข์ องต้นทนุ กบั แหล่งที่เกิดของต้นทนุ การจาแนกต้นทุนตามความสัมพันธ์ของต้นทุนกับแหล่งท่ีเกิดต้นทุน โดยพิจารณาว่า ต้นทุนนั้นๆ สามารถจาแนกหรือระบุได้ว่าเป็นของหน่วยต้นทุนใด (Cost Object) หรือต้นทุน นนั้ มาจากแหลง่ ใด ซึ่งหน่วยตน้ ทุน อาจเป็นชนดิ ของผลติ ภัณฑ์ สาขา แผนก หรือเขตการขาย ก็ได้ การแบ่งต้นทุนในลักษณะนี้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ต้นทุนทางตรง (Direct Costs) และต้นทุนทางอ้อม (Indirect Costs) 4.1. ต้นทุนทางตรง ต้นทุนทางตรง (Direct Costs) เป็นต้นทุนทีส่ ามารถจาแนกได้โดยตรงหรือคานวณได้ อย่างชัดเจนและง่ายดายวา่ เปน็ ของหน่วยต้นทนุ ใดหน่วยต้นทุนหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น ถ้าหน่วย ต้นทุนเป็นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ถือเป็นต้นทุน ทางตรงของสินคา้ หรือผลิตภัณฑ์นั้นๆ หรือถ้าหน่วยต้นทุนคือแผนก เงินเดือนผู้จัดการแผนก บัญชี ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สานักงานของแผนกบัญชี ถือเป็นต้นทุนทางตรงของแผนกบัญชี หรือถ้าหนว่ ยต้นทนุ เปน็ เขตการขาย ค่าใชจ้ า่ ยในการส่งเสริมการขาย ค่านายหน้า ค่าโฆษณา คา่ รับรอง ถอื เป็นต้นทนุ ทางตรงของเขตการขายใดเขตการขายหนึง่ เป็นตน้ 4.2. ต้นทุนทางอ้อม ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Costs) เป็นต้นทุนท่ียากต่อการจาแนกหรือหรือระบุว่าเป็น ต้นทุนของหน่วยต้นทุนใดหน่วยต้นทุนหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เงินเดือนผู้บริหาร ถือเป็นต้นทุน ทางอ้อมของแผนกขาย เน่ืองจากผู้บรหิ ารมีหนา้ ทว่ี างแผน ควบคมุ และตดั สินใจปัญหาหรือเรื่อง อ่ืนๆท่ีเก่ยี วกับธรุ กจิ ซึง่ ไมส่ ามารถระบุได้ว่าเปน็ ค่าใชจ้ ่ายของแผนกขายเทา่ ใด เปน็ ต้น ต้นทุน ทางอ้อม บางคร้ังถูกเรียกว่า ต้นทุนร่วม (Common Cost or Joint Cost) โดยปกติ การคิด ต้นทุนทางอ้อมหรือต้นทุนร่วมให้กับหน่วยต้นทุน จะใช้วิธีการจัดสรรหรือปันส่วนต้นทุนตาม วิธีการทเ่ี หมาะสม และยตุ ธิ รรมมากทส่ี ดุ การจาแนกตน้ ทุนตามความสัมพนั ธข์ องหนว่ ยตน้ ทนุ หรือแหล่งท่ีเกดิ ของต้นทุน จะเปน็ ต้นทุนทางตรงหรือต้นทุนทางอ้อมได้นั้น ส่ิงท่ีต้องพิจารณาอันดับแรกคือ หน่วยต้นทุนหรือ แหล่งของต้นทุนคืออะไร นักบัญชีหรือผู้นาเสนอข้อมูลแก่ผู้บริหารจะได้คิดต้นทุนได้อย่าง ถูกต้อง ซ่งึ การแบง่ ประเภทตน้ ทนุ ในลักษณะเชน่ นี้ เพื่อประโยชน์ในแงท่ ีว่ า่ ใครเป็นผูร้ ับผิดชอบ ในต้นทุนท่ีเก่ียวข้องน้ัน ซ่ึงสามารถนาไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมนั่นเอง

1 - 28 การบญั ชีต้นทนุ 2 5. การจาแนกต้นทนุ ตามพฤติกรรมของต้นทุน การจาแนกตน้ ทนุ อกี ลักษณะหน่ึงซึ่งพิจารณาจากการเปล่ียนแปลงของระดับกิจกรรม ระดับของกิจกรรม เช่น ปริมาณการขายสินค้า ช่ัวโมงแรงงานทางตรง ชั่วโมงการเครื่องจักร เปน็ ต้น ซึ่งการเปลย่ี นแปลงของระดับกิจกรรม จะมีผลตอ่ ต้นทุนหรือคา่ ใช้จา่ ย ซึ่งอาจจะเพ่มิ ขึ้น ถา้ ระดบั กจิ กรรมเพ่ิมขนึ้ หรืออาจจะลดลงถ้าระดับกิจกรรมลดลง การจาแนกต้นทุนตามพฤติกรรมตน้ ทุน มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ นาขอ้ มูลต้นทุนไปใช้ในการ วางแผนและการควบคมุ ซง่ึ แบ่งประเภทต้นทนุ เปน็ 3 ประเภท ได้แก่ ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) ตน้ ทุนกง่ึ คงท่ี (Semi - Fixed Costs) และต้นทุนผสมหรือ ตน้ ทุนกึง่ ผนั แปร (Mixed Costs or Semi – Variable Costs) ซึง่ จะอธบิ ายในรายละเอียดดงั นี้ 5.1. ต้นทุนผนั แปร ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายใดๆท่ีลักษณะของ ต้นทุนรวม (Total Cost) จะเปล่ียนแปลงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการเปล่ียนแปลงตามปริมาณ ของกิจกรรม หรือสาเหตุของการเกิดต้นทุน ซึ่งเรียกวา่ ตวั ผลักดันต้นทุน (Cost Driver) นั่นคือ ต้นทุนผันแปรรวมจะมีจานวนมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับปริมาณของกิจกรรม แต่เมื่อพิจารณา ตน้ ทนุ ผันแปรในสว่ นของตน้ ทุนผันแปรตอ่ หน่วย (Variable Cost Per Unit) ในอีกประเด็นหน่ึง ซง่ึ ลกั ษณะของต้นทุนผันแปรต่อหน่วยจะไม่มีการเปล่ียนแปลงหรือต้นทุนผันแปรต่อหน่วยจะ คงที่ เพื่อให้เข้าใจย่ิงขึ้น จะแสดงตัวอย่างต้นทุนผันแปรรวมและต้นทุนผันแปรต่อหน่วย เช่น ผลิตภัณฑ์กาแฟ 10 แก้ว จะมีต้นทุนเมล็ดกาแฟรวมเท่ากับ 100 บาท แต่ถ้าหากขายได้ 20 แก้ว ตน้ ทุนกาแฟรวมจะเทา่ กับ 200 บาท แตต่ ้นทุนกาแฟตอ่ แก้วจะเทา่ กบั 10 บาท เปน็ ตน้ 5.2. ต้นทุนคงที่ ต้นทุนคงท่ี (Fixed Costs) คือ ต้นทุนชนิดท่ีต้นทุนรวมจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือ เท่ากันตลอดช่วงของกิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง (Relevant Range) หรือหมายถึงต้นทุนที่ไม่ เปล่ียนแปลงถึงแม้ว่าระดับของกิจกรรมมีการเปล่ียนแปลงก็ตาม แต่ทั้งนี้ต้นทุนคงที่จะไม่ เปล่ยี นแปลงภายในช่วงของกิจกรรมหน่ึงเท่าน้ัน นอกจากจะพิจารณาจากต้นทุนคงท่ีรวมแล้ว ยงั สามารถพจิ ารณาในสว่ นของตน้ ทุนคงที่ต่อหนว่ ย (Fixed Cost Per Unit) ไดเ้ ชน่ กัน ลักษณะ ของต้นทนุ คงที่ตอ่ หนว่ ยจะมีการเปลยี่ นแปลงไปในทศิ ทางตรงข้ามกบั ระดับของกิจกรรม นัน่ คอื ยง่ิ มปี รมิ าณของกจิ กรรมมาก จะยงิ่ ทาใหต้ น้ ทนุ คงที่ตอ่ หนว่ ยจะยิ่งลดลง ในทางตรงกันข้าม ถ้า ย่งิ มปี ริมาณของกจิ กรรมนอ้ ย ต้นทนุ คงทต่ี อ่ หนว่ ยจะย่ิงสูงข้ึน

บทที่ 1 ความรทู้ ั่วไปเกยี่ วกับการใช้ข้อมูลทางการบัญชเี พื่อการตดั สนิ ใจ 1 - 29 5.3. ต้นทนุ กึ่งคงที่ ตน้ ทุนกึ่งคงที่ (Semi - Fixed Costs) เป็นตน้ ทนุ หรือค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทีจ่ ะคงที่ ณ ช่วง ของระดับกิจกรรมหน่ึงๆ หรืออยู่ในช่วงของการตัดสินใจ (Relevant Range) แต่เมื่อมีการ เปล่ียนระดับของกิจกรรม ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายน้ันจะเปลี่ยนแปลง และจะคงท่ีอยู่เช่นเดิม จนกระทั่งมีการเปล่ียนระดับของกิจกรรมเพิ่มข้ึนอีกระดับหน่ึง เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมงานท่ี บรษิ ทั จ่ายให้กบั หวั หนา้ งาน ซึ่งหวั หน้างาน 1 คน สามารถควบคมุ ระดับของปรมิ าณการผลติ ได้ ไม่เกิน 10,000 หน่วย จ่ายเงินเดือน 15,000 บาท ดังน้ัน ถ้าบริษัทมีการผลิตสินค้า จานวน 8,000 หน่วย บริษัทต้องจ่ายเงินเดือนให้กับหัวหน้างาน จานวน 15,000 บาท แต่ถ้าระดับ ปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้นเป็น 20,000 หน่วย ต้องจ้างหัวหน้างาน 2 คน ทาให้บริษัทต้องจ่าย เงนิ เดือนหัวหนา้ งาน จานวน 30,000 บาท ถา้ กจิ การเพมิ่ ระดบั การผลิต เป็น 25,000 หน่วย ต้องจ้างหวั หนา้ งาน 3 คน เงินเดือนทจ่ี า่ ยให้กับหัวหน้างาน จะเท่ากับ 45,000 บาท ดงั นั้น จะเห็นไดว้ ่า ต้นทุนก่งึ คงท่ี จะมลี ักษณะคงทีใ่ นช่วงของการผลิตหน่ึง ๆ เท่าน้ัน แต่เม่อื เปล่ียนระดับกิจกรรมหรือเปล่ยี นชว่ งของการผลิต ตน้ ทนุ คงที่อาจจะเปล่ียนแปลง แต่จะ คงทอี่ ยู่ ณ ระดบั การผลิตนน้ั ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เป็นข้ันๆ คล้ายกับขั้นบันได ดังน้ัน ต้นทุน ก่งึ คงท่ี สามารถเรียกอกี ชอ่ื หนงึ่ วา่ ตน้ ทุนคงที่แบบข้นั บันได (Step - Fixed Costs) 5.4. ต้นทุนผสมหรอื ต้นทนุ กงึ่ ผนั แปร ต้นทุนผสม หรือต้นทุนก่ึงผันแปร (Mixed Costs or Semi – Variable Costs) เป็น ต้นทุนท่ีรวมกันระหวา่ งต้นทนุ ผนั แปรและต้นทุนคงทเ่ี ขา้ ดว้ ยกนั ดังนั้น ลกั ษณะของตน้ ทนุ ผสม จงึ มลี ักษณะพฤตกิ รรมตน้ ทนุ ที่เป็นของตน้ ทนุ ผันแปรและตน้ ทุนคงทรี่ วมกนั นั่นคือ ตน้ ทนุ สว่ น หน่ึงจะเปลี่ยนแปลงไปตามระดับของกิจกรรมหรือข้ึนอยู่กับตัวผลักดันต้นทุน (Cost Drivers) แต่ก ารเปลี่ยนแปลงน้ันไ ม่เป็นสัดส่วนเดียวกันกับการเปลี่ยนแปล งของระดับของกิจก รรม เชน่ เดยี วกับลักษณะของตน้ ทุนผนั แปร ตัวอย่างของต้นทุนผสมหรือต้นทุนกึ่งผนั แปร การจาแนกตน้ ทุนตามพฤติกรรมตน้ ทนุ จะอธิบายโดยละเอียดในบทที่ 2 ซึ่งจะกล่าวถึง ลักษณะของต้นทนุ รวมไปถึงการวิเคราะห์ขอ้ มลู ต้นทนุ อกี ครัง้ หนงึ่

1 - 30 การบัญชตี ้นทุน 2 6. การจาแนกต้นทุนเพื่อนาไปใช้ในการตดั สินใจ การดาเนินธุรกิจ ผู้บริหารมีหน้าที่หลักๆ ได้แก่การวางแผน กากากับ การจูงใจ การ ควบคุมและการตัดสินใจ ซ่ึงการท่ีผู้บริหารจะตัดสินใจได้อย่างถูกต้องหรือไม่น้ัน ข้อมูลที่ นาเสนอแกผ่ ้บู ริหารต้องมีลักษณะท่ีสาคญั คอื ต้องมคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ประเด็นปญั หาหรอื เรื่องที่ ต้องการจะตัดสนิ ใจ ขอ้ มลู ตอ้ งมีความถกู ต้อง น่าเช่อื ถือ ได้ขอ้ มูลทนั ตอ่ เวลา และมคี วามคุ้มค่า เม่ือเปรียบเทียบระหวา่ งตน้ ทนุ หรือค่าใช้จ่ายกับผลประโยชนท์ ่ไี ด้รับ ดังได้กล่าวไว้แล้วในบทที่ 1 ดงั นน้ั ข้อมูลทีน่ ามาใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงมหี ลายลกั ษณะ ดังน้ี 6.1. ต้นทุนท่ีควบคมุ ได้ ต้นทุนท่ีควบคุมได้ (Controllable Costs) หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ผู้จัดการ แผนกน้ันมีอานาจ หน้าท่ีในการควบคุม ส่ังการหรือบริหารจัดการได้ เช่น เงินเดือนของ พนักงานแผนกขาย ถอื เป็นตน้ ทนุ ทค่ี วบคมุ ได้ของผูจ้ ัดการแผนกขาย เพราะผจู้ ัดการแผนกน้ัน มีอานาจหน้าที่ในการเพ่ิมหรือลดเงินเดือนหรือจานวนพนักงานในแผนกขายได้ เพ่ือให้การ ทางานของแผนกเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ หรือตามแผนท่ีกาหนด 6.2. ต้นทนุ ท่ีควบคมุ ไม่ได้ ตน้ ทุนทีค่ วบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Costs)หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายใดๆท่ีอยู่ นอกเหนืออานาจหน้าท่ี หรือการควบคุม การบริหารจัดการของผู้จัดการแผนกน้ันๆ เช่น เงินเดือนของพนักงานขาย ถือว่าเป็นต้นทุนท่ีผู้จัดการแผนกบัญชีควบคุมไม่ได้ เนื่องจาก ผู้จัดการแผนกบัญชี ไม่มีอานาจ หน้าท่ีในการสั่งการเพิ่มหรือลดเงินเดือนหรือจานวนของ พนักงานท่อี ยแู่ ผนกขายได้ เป็นต้น 6.3. ต้นทนุ ค่าเสียโอกาส ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) หมายถึง ผลประโยชนหรือรายได้ท่ีกิจการ สญู เสยี ไปจากการทไี่ มเ่ ลือกทางเลือกหนึ่ง แต่กิจการไปเลือกทางเลือกอ่ืนท่ีอาจเหมาะสมกว่า หรือให้ผลตอบแทนสูงกว่าทางเลือกน้ัน เช่น กิจการมีเคร่ืองจักรที่สามารถจะนามาใช้ในการ ผลิตสินค้าได้ หรอื กจิ การสามารถเลอื กทีจ่ ะนาเอาเครื่องจักรเครื่องนี้ไปใหเ้ ชา่ ทาใหไ้ ด้รับคา่ เช่า เช่น รายได้ค่าเช่า 50,000 บาท ถ้าผู้บริหารเลือกท่ีจะใช้เครื่องจักรเครื่องนี้ไปใช้ในการผลิต สินคา้ ดังนัน้ ทาใหก้ ิจการสญู เสยี โอกาสทจ่ี ะไดร้ บั คา่ เช่าจานวน 50,000 บาท ซึง่ ถอื วา่ รายไดท้ ่ี สูญเสียไปจากการตัดสินใจเชน่ นี้ เปน็ ต้นทนุ ค่าเสียโอกาสของกิจการ

บทท่ี 1 ความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกับการใชข้ อ้ มลู ทางการบัญชเี พ่อื การตดั สินใจ 1 - 31 6.4. ต้นทนุ จม ต้นทนุ จม (Sunk Cost) หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายใดๆ ที่เกิดข้ึนจากการตัดสินใจ ในอดีต เช่น การซ้ือเครื่องจักร ทาให้มีการคิดค่าเส่ือมราคาของเครื่องจักร หรือ ค่าเช่า สานักงานที่มีการทาสัญญาระยะยาว เป็นต้น ค่าใช้จ่ายเหล่านี้เป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนแล้ว ไม่ สามารถเปลยี่ นแปลงคา่ ใช้จา่ ยเหล่านี้ให้ลดลงได้ ถอื เป็นต้นทุนจม นอกจากน้ีต้นทุนจมจะไม่มี ผลกระทบต่อการตัดสินใจใดๆของผบู้ รหิ ารในสถานการณ์ปัจจุบัน ดังนั้น ในการตัดสินใจเลือก ทางเลือกท่เี หมาะสม ตน้ ทุนหรือค่าใช้จ่ายนี้ ไม่จาเป็นตอ้ งนามาพจิ ารณาประกอบการตัดสินใจ ก็ได้ 6.5. ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoidable Cost) หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายใดๆ ท่ีจะไม่ เกิดข้ึน ถ้ากิจการไม่เลือกทางเลือกน้ัน เช่น กิจการกาลังตัดสินใจว่าจะยกเลิกการผลิตสินค้า ชนิดหนงึ่ ทาใหแ้ ผนกผลิตสนิ ค้าชนิดน้ันลดค่าใชจ้ ่ายบางสว่ นลงได้ เช่น วตั ถดุ ิบทางตรงทีใ่ ช้ใน การผลิตสินค้านั้น รวมไปถึงค่าแรงงานท่ีจ่ายให้กับพนักงานในแผนกนั้น เป็นต้น ดั งนั้น โดยทว่ั ไป วตั ถดุ ิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง ซ่ึงเป็นต้นทุนผันแปร จะถือว่าเป็นต้นทุนที่ หลกี เล่ียงไดข้ องกิจการนัน้ 6.6. ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (Unavoidable Cost) หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายใดๆ ที่ เกดิ ข้นึ ไมว่ ่าจะเลอื กหรือไม่เลือกทางเลือกนัน้ กต็ าม โดยส่วนใหญ่ตน้ ทนุ ท่หี ลกี เลยี่ งไม่ได้มักจะ เป็นต้นทนุ คงท่ี เช่น เงินเดอื นผูบ้ รหิ าร ค่าเส่ือมราคาเครื่องจักร ค่าเช่าอาคาร เป็นต้น หรือใน บางครั้ง ต้นทนุ ท่หี ลีกเล่ยี งไมได้ ถูกเรยี กว่า ต้นทุนจม สรปุ โดยทวั่ ไปขอ้ มลู ทางการบญั ชี สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ การบัญชีการเงิน การบญั ชีบรหิ าร และการบญั ชตี ้นทนุ ทงั้ สามลกั ษณะมีความเก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั คอื เปน็ ข้อมลู ที่เก่ียวกับรายการค้าที่เกิดข้ึนของธุรกิจและนาเสนอในรูปแบบของงบการเงินท่ีเป็นรูปแบบ มาตรฐาน และมีการใช้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกัน แต่ในขณะเดียวกันการบัญชีการเงินการบัญชี บริหารและการบัญชีต้นทุน ก็มีความแตกต่างกันในประเด็นต่างๆ คือ ผู้ใช้ข้อมูล รูปแบบของ

1 - 32 การบญั ชีต้นทุน 2 การนาเสนอข้อมูล ระยะเวลาในการนาเสนอ วัตถุประสงค์การนาเสนอ ลักษณะของข้อมูลท่ี นาเสนอ กระบวนการตรวจสอบ การวดั ผลการดาเนนิ งาน เปน็ ต้น การบญั ชกี ารเงนิ เป็นการนาเสนอให้กบั บคุ คลภายนอกองคก์ ร ดังนั้น ข้อมูลท่ีนาเสนอ จาเป็นต้องเปน็ ไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และเป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ส่วนการบญั ชีบริหาร เป็นการเสนอข้อมูลที่มีความจาเป็นต่อผู้บริหารเพื่อนาไปใช้ ในการวางแผน การกากบั ดูแลและการสง่ั การ การควบคุม และการตดั สนิ ใจ ดงั น้ัน การนาเสนอ ข้อมูล จงึ ไม่จะเป็นต้องเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด แต่ขอ้ มูลทเี่ สนอต้องเป็นข้อมูลที่มีความ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ มีความเชื่อถือได้ ได้ข้อมูลรวดเร็วและทันต่อความต้องการของ ผู้บริหาร แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ผบู้ รหิ ารก็ควรคานงึ ถงึ ตน้ ทนุ ที่เสียไป เปรียบเทียบกับผลประโยชน์ หรอื ผลตอบแทนท่ไี ดร้ บั เพือ่ ให้ไดข้ ้อมูลมาเชน่ กนั การนาข้อมลู ต้นทุนมาใชป้ ระกอบการตดั สินใจ จะเห็นได้ว่า มีต้นทุนอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทก็นามาใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้บริหารหรือผู้ใช้ ขอ้ มูล ตัวอยา่ งประเภทของต้นทุน เช่น การแบ่งประเภทต้นทุนไปตามหน้าที่ สามารถแบ่งได้ เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ ตน้ ทนุ ทเ่ี กีย่ วกับการผลิต และต้นทุนทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกับการผลิต หรือแบ่ง ต้นทนุ เพ่อื จัดทารายงานทางการเงนิ หรือแบง่ เพอื่ ใช้ในการวางแผนและการควบคุม รวมไปถึง การแบ่งต้นทุนเพื่อนาไปใช้ในการตัดสินใจ เป็นต้น ดังน้ัน การจะใช้ข้อมูลในลักษณะใด ต้อง พจิ ารณาดูการจัดประเภทของขอ้ มลู ให้ตรงกบั วัตถปุ ระสงคข์ องผใู้ ชข้ อ้ มลู

บทที่ 1 ความรทู้ ั่วไปเกยี่ วกบั การใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชเี พ่ือการตดั สนิ ใจ 1 - 33 แบบฝึ กหดั ขอ้ 1. จงอธบิ ายความหมายของการบญั ชเี พ่อื การจดั การ ขอ้ 2. จงอธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งการบญั ชกี ารเงนิ และการบญั ชเี พอ่ื การจดั การ ขอ้ 3. หลกั การบญั ชที ย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไป (Generally Accepted Accounting Principles) คอื อะไร และมคี วามสาคญั ตอ่ ขอ้ มูลทางการบญั ชขี ององคก์ รอยา่ งไร ข้อ 4. หน้าทห่ี ลกั ของผบู้ รหิ าร ประกอบดว้ ยหน้าทอ่ี ะไรบา้ ง ขอ้ 5. ลกั ษณะของเชงิ คณุ ภาพของขอ้ มูลการบญั ชเี พอ่ื การจดั การ มลี กั ษณะเป็นอย่างไร ขอ้ 6. ความหมายของต้นทุน (Cost) ตาม พรบ.วชิ าชีพการบญั ชี พ.ศ.2543 มีความหมายวา่ อยา่ งไร ข้อ 7. วัตถปุ ระสงคข์ องการบัญชตี น้ ทนุ (Cost Accounting) ขอ้ 8. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการบญั ชีตน้ ทุน การบญั ชีบรหิ ารและการบัญชกี ารเงนิ ข้อ 9. การแบ่งประเภทต้นทนุ ไปตามลกั ษณะหนา้ ที่ สามารถแบ่งได้ ก่ีประเภท อะไรบา้ ง ข้อ 10. จงขีดเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งวา่ งในขอ้ ท่ีถกู ต้องเกยี่ วกับตน้ ทนุ การผลติ แตล่ ะประเภท ขอ้ ช่ือบญั ชี ต้นทนุ การผลิต 1 เงินเดือนผูจ้ ดั การโรงงาน วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่าย 2 แป้งที่ใช้ในการผลิตเค้ก ทางตรง ทางตรง การผลิต 3 ค่าแรงทจี่ า่ ยใหก้ บั พนักงานนวดแปง้ 4 คา่ น้า ค่าไฟ ในโรงงาน 5 ผงฟูที่ใชผ้ สมเพอื่ ทาเคก้ 6 ค่าเบยี้ ประกนั ภัยโรงงาน 7 คา่ เสื่อมราคาเครอื่ งอบขนม 8 สีผสมครมี เพื่อทาเคก้ 9 ค่าซอ่ มแซมเครอ่ื งอบขนมเคก้ 10 ค่าจา้ งท่ีจ่ายใหก้ ับพนกั งานแต่งหน้าเคก้ 11 ค่าโทรศพั ท์โรงงาน 12 ค่าเสื่อมราคาเครอื่ งจักร 13 ไม้สกั ท่ีใช้ทาเก้าอ้ี 14 คา่ จ้างท่จี า่ ยใหก้ ับยามประจาโรงงาน

1 - 34 การบัญชีตน้ ทุน 2 ต้นทนุ การผลิต ขอ้ ช่ือบญั ชี วตั ถดุ ิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่าย ทางตรง ทางตรง การผลิต 15 ค่าแรงทจี่ ่ายใหก้ ับช่างทาเฟอร์นเิ จอร์ 16 แลคเกอรท์ ใ่ี ชท้ าสีเกา้ อ้ี 17 คา่ ภาษขี าเข้าวัตถุดิบทีส่ ง่ั มาจาก ต่างประเทศ 18 คา่ ขนสง่ เมอื่ ซ้ือวัตถดุ ิบ 19 ค่าซ่อมแซมเครอ่ื งจักร 20 ตะปทู ใ่ี ช้ทาโต๊ะ ขอ้ 11. จงขดี เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งวา่ งในขอ้ ทถ่ี ูกตอ้ ง ข้อ ชื่อบญั ชี ต้นทุนท่ีเกี่ยวข้อง ต้นทนุ ท่ีไม่เกี่ยว กบั การผลิต กบั การผลิต 1 เงนิ เดือนผู้บรหิ าร 2 คา่ รับรองลูกคา้ DM DL MOH ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายใน 3 เมล็ดกาแฟทน่ี ามาชงกาแฟ ในการขาย การบริหาร 4 ค่าจา้ งพนกั งานหนา้ ร้าน 5 ค่าน้าค่าไฟสานกั งาน 6 คา่ แรงของพนกั งานแผนก ประกอบช้นิ สว่ น 7 คา่ โฆษณา 8 คา่ เสอื่ มราคาอปุ กรณ์ สานกั งาน 9 เงินเดอื นพนกั งานขาย 10 คา่ จา้ งยามทเ่ี ฝา้ โรงงาน 11 เงินเดอื นพนกั งานบัญชีที่ โรงงาน 12 ค่าเสือ่ มราคา – รถยนต์

บทท่ี 1 ความร้ทู ัว่ ไปเกยี่ วกับการใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชเี พอ่ื การตัดสนิ ใจ 1 - 35 ข้อ ชื่อบญั ชี ต้นทุนท่ีเกี่ยวข้อง ต้นทุนที่ไม่เกี่ยว กบั การผลิต กบั การผลิต 13 แป้งที่ใช้ทาคกุ้ กี้ 14 ค่าโทรศัพท์โรงงาน DM DL MOH ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายใน 15 เงนิ เดือนพนกั งานบัญชี ในการขาย การบริหาร 16 ค่าเชา่ โรงงาน 17 ค่าแรงทจี่ ่ายใหก้ บั ยาม ประจาโรงงาน 18 คา่ เบ้ยี ประกนั ภยั โรงงาน 19 คา่ ทาบญั ชี 20 ค่าสอบบญั ชี ขอ้ 12. ข้อมลู ต่อไปนีเ้ ปน็ ขอ้ มูลต้นทนุ หรอื ค่าใชจ้ ่ายทเ่ี กดิ ข้ึนในบริษทั อดุ รการค้า จากดั (หน่วย: บาท) วัตถุดิบทางตรง 250,000 วตั ถุดบิ ทางอ้อม 57,000 ค่าแรงงานทางตรง 300,000 ค่าแรงงานทางออ้ ม 27,000 ค่าสาธารณูปโภค-โรงงาน 89,000 คา่ สาธารณปู โภค-สานักงาน 78,000 ค่าเบ้ยี ประกนั ภัย-โรงงาน 55,000 ค่าเบ้ยี ประกนั ภัย-สานักงาน 36,000 ค่าเส่ือมราคา-โรงงาน 48,000 ค่าเสอ่ื มราคา-เครื่องจกั ร 50,000 ค่าเช่าสานกั งาน 20,000 คา่ เสอื่ มราคา-อปุ กรณ์สานกั งาน 24,000 เงินเดือนผจู้ ัดการโรงงาน 150,000 เงนิ เดือนพนกั งานฝา่ ยขาย 30,000 เงินเดอื นพนกั งานฝา่ ยบัญชี 24,000 คา่ ขนสง่ ออก 33,000 คา่ โฆษณา 87,000

1 - 36 การบัญชีตน้ ทนุ 2 ให้ทา คานวณตน้ ทนุ หรือค่าใชจ้ า่ ยต่างๆ แยกตามการจาแนกประเภทของตน้ ทนุ ดงั นี้ 1. คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ 2. ต้นทนุ ขัน้ ตน้ 3. ตน้ ทนุ แปรสภาพ 4. ตน้ ทนุ การผลติ 5. คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย 6. ค่าใชจ้ ่ายในการบริหารงาน 7. ตน้ ทนุ ประจางวด ข้อ 13. จงขดี เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งว่างในขอ้ ทถ่ี ูกต้องเกย่ี วกบั ประเภทของต้นทุนที่ เก่ยี วขอ้ ง ขอ้ ช่ือบญั ชี ต้นทนุ ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ ประจางวด 1 ค่านายหนา้ 2 ค่าออกแบบรถยนต์ 3 คา่ ขนสง่ ออก 4 ค่าเส่อื มราคาเครอ่ื งจกั ร 5 ค่าแรงงานของพนกั งานแผนกประกอบชิ้นส่วน 6 ค่ารบั รองลกู คา้ 7 เงนิ เดือนพนกั งานแผนกบัญชี 8 ค่าโฆษณา 9 ค่าสาธารณปู โภคในโรงงาน 10 เหล็กทนี่ ามาใช้ในการผลิตรถยนต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook