บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 39 2. ธรุ กิจการให้บริการ การจัดทางบประมาณสาหรับธุรกิจการให้บริการ จะจัดทางบประมาณเพื่อใช้ในการ วางแผน ควบคุม และการตัดสินใจเก่ียวกับการดาเนินธุรกิจการให้บริการ แต่ประเภทของ งบประมาณท่ีจัดทาจะมีความแตกต่างจากธุรกิจผลิตสินค้า และธุรกิจซื้อขายสินค้า เน่ืองจาก ธุรกิจการให้บริการไม่มีสินค้าสาเร็จรูปเช่นเดียวกับธุรกิจซ้ือขายสินค้า และไม่มีกระบวนการ ผลิตสนิ ค้าเช่นเดียวกับธรุ กิจผลติ สินคา้ มเี พียงแต่การให้บริการแก่ลูกค้า ดังน้ัน งบประมาณที่ จัดทา จะเร่ิมต้นจากการจัดทางบประมาณรายได้จากการให้บริการ หลังจากน้ัน จะจัดทา งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน ซ่ึงประกอบด้วย งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหาร หลังจากน้นั จัดทางบประมาณเงินสด งบประมาณกาไรขาดทุน และงบประมาณแสดง ฐานะการเงนิ ตามลาดบั เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของงบประมาณแต่ละประเภท สาหรับธุรกิจซ้ือขายสินค้า สามารถสรปุ ความสัมพันธง์ บประมาณแต่ละเภท ดงั แสดงในภาพที่ 6.3 งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย งบประมาณรายได้ ในการขายและบริหาร จากการใหบ้ ริการ งบประมาณกาไรขาดทุน งบประมาณเงนิ สด งบประมาณแสดฐานะการเงิน ภาพท่ี 6.3 ความสมั พนั ธ์ของงบประมาณประเภทตา่ งๆ สาหรบั ธรุ กิจการให้บริการ
6 - 40 การบัญชตี น้ ทนุ 2 สรปุ งบประมาณหลกั เป็นงบประมาณทค่ี รอบคลุมแผนตา่ งๆ ขององคก์ รในช่วงเวลาใดเวลา หน่ึง งบประมาณหลัก ประกอบด้วย งบประมาณดาเนินงานและงบประมาณการเงิน ซึ่ง งบประมาณดาเนินงานของธุรกิจแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกัน เนื่องจากมีลักษณะการ ดาเนินงานที่แตกต่างกัน สาหรับงบประมาณของกิจการที่ทาการผลิตสินค้าประกอบด้วย งบประมาณการขาย งบประมาณการผลิต งบประมาณการซ้ือวัตถุดิบ งบประมาณค่าแรงงาน ทางตรง งบประมาณคา่ ใช้จ่ายการผลิต งบประมาณต้นทุนการผลิต งบประมาณสินค้าคงเหลือ งบประมาณต้นทุนขาย งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และ งบกาไรขาดทุน โดยประมาณ ส่วนกิจการซ้ือขายสินค้า และธุรกิจบริการ จะไม่มีงบประมาณที่เก่ียวกับต้นทุน การผลิต เช่น งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณค่าแรงงานทางตรง งบประมาณ ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ และงบประมาณตน้ ทนุ การผลิต ข้อมูลจากงบประมาณการดาเนนิ งานจะมคี วามสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยงกับงบประมาณการเงิน ซึง่ งบประมาณการเงินเป็นงบประมาณท่ีเน้นแหล่งที่มาของเงินทุน เพื่อรองรับการดาเนินงาน ของกจิ การ งบประมาณการเงิน เช่น งบประมาณเงินสด จะแสดงรายการรบั และจ่ายเงนิ สดของ กิจการ เช่น การรับเงินจากการขายสินค้าและรับชาระหน้ีจากลูกหน้ี และการจ่ายเงินเพื่อซ้ือ ขายสินค้าคงเหลอื คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานต่างๆ รวมถึงการจัดหาเงิน งบประมาณสาหรับ กิจกรรมเหล่านี้จะเก่ียวข้องกับสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ ดังนั้น งบประมาณ การเงนิ จะทาใหก้ ิจการสามารถจดั ทางบประมาณแสดงฐานะการเงินได้
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 41 แบบฝึ กหดั ข้อ 1. บริษัท รกั ษ์โลก จากัด ทาการผลิตและจาหนา่ ยอาหารเสริมบารุงร่างกาย บริษัทต้องการ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางการตลาด เพี่อจัดเตรียมข้อมูลสาหรับทาการพยากรณ์ยอดขายของบริษัท ซงึ่ นักวิเคราะหข์ ้อมลู ทางการตลาดของบริษัทพบว่า ปจั จยั สาคญั ที่มผี ลกระทบต่อยอดขายของ บริษัทคือรายได้รวมของลูกค้า นักวิเคราะห์สถิติของบริษัทได้ทาการคานวณสมการแนวโน้ม ยอดขายของบรษิ ัทโดยใชว้ ิธสี มการถดถอย (Simple Regression Analysis) ได้สมการดังนี้ ยอดขายรวมของกิจการ = 500,000 + 0.0035 รายได้รวมของลกู คา้ โดยในปี 25X2 คาดวา่ ลกู คา้ มีรายได้รวม ทง้ั สน้ิ 2,500 ลา้ นบาท ให้ทา พยากรณย์ อดขายของบริษทั รักษ์สุขภาพ จากดั ถ้ามกี ารประมาณการโดยใช้วิธีการทาง สถติ ชิ ่วยในการประมาณการ ข้อ 2. บริษัท รักษ์สุขภาพ จากัด ทาการผลิตและจาหน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพ บริษัทต้องการ วิเคราะหข์ อ้ มลู ทางการตลาด เพี่อจัดเตรียมข้อมูลสาหรับทาการพยากรณ์ยอดขายของบริษัท สาหรับปถี ัดไป ซ่ึงผู้จัดการฝ่ายขายได้พยากรณ์ยอดขาย เพื่อเสนอข้อมูลให้กับผู้บริหาร โดย คานงึ ถึงสภาวะการแขง่ ขนั ปจั จยั ตา่ งๆ ที่กระทบกบั ยอดขายของบริษทั และนโยบายราคาของ บรษิ ัทท่คี าดวา่ จะขายในปีหน้า โดยมขี อ้ มูลปรมิ าณการขายของสนิ คา้ แตล่ ะชนดิ ดังนี้ วิตามินบารงุ สขุ ภาพ อาหารเสริมสขุ ภาพ (ราคาขายต่อหนว่ ย 40 บาท) (ราคาขายตอ่ หน่วย 80 บาท) ปริมาณท่ีคาดวา่ ความนา่ จะเปน็ ปริมาณทีค่ าดวา่ ความนา่ จะเปน็ จะขายได้ (หนว่ ย) จะขายได(้ หน่วย) 185,000 40% 50,000 10% 180,000 30% 45,000 20% 170,000 20% 40,000 30% 165,000 10% 35,000 40% นอกจากนี้ ขอ้ มูลการพยากรณ์ยอดขายของสินค้าท้ังสองชนิด ทั้งปริมาณและจานวน เงิน โดยมสี ัดสว่ นการขายแยกตามรายไตรมาส ดงั น้ี
6 - 42 การบัญชตี ้นทนุ 2 ไตรมาส วิตามินบารงุ สขุ ภาพ อาหารเสริมสขุ ภาพ ไตรมาสที่ 1 15% 10% 20% 20% ไตรมาสท่ี 2 25% 30% ไตรมาสที่ 3 40% 40% ไตรมาสท่ี 4 ให้ทา 1. คานวณหายอดขายโดยประมาณจากจากขอ้ มูลขา้ งต้น (2 คะแนน) 2. พยากรณ์ยอดขายแยกตามรายไตรมาส ของปี 2561 โดยพิจารณาจากยอดขายท่ี พยากรณ์จากผจู้ ัดการเขตการขาย (3 คะแนน) ข้อ 2. บรษิ ทั อุดรการคา้ จากดั มกี ารจาหนา่ ยสนิ คา้ 2 ประเภท ได้แก่ สนิ คา้ X และ สินคา้ Y โดยสินคา้ ทัง้ สองชนิดมีการจาหนา่ ยสนิ คา้ 2 เขต คือ เขตภาคเหนอื และภาคกลาง โดยทงั้ สอง เขตมขี อ้ มลู การขายและคา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั การขายของสนิ คา้ ทง้ั สองชนิด โดยประมาณ ดงั นี้ 1. ยอดขายโดยประมาณ (หน่วย) สินค้า X สินค้า Y ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคกลาง ไตรมาสท่ี 1 1,000 2,500 5,000 7,500 ไตรมาสท่ี 2 1,200 3,000 4,500 6,800 ไตรมาสท่ี 3 1,500 3,300 3,700 5,700 ไตรมาสท่ี 4 2,000 4,200 3,200 4,900 รวม 5,700 13,000 16,400 24,900 2. ราคาขายสนิ ค้าแตล่ ะชนิด 2.1. สนิ ค้า X 2.1.1. ภาคเหนอื ราคาขายตอ่ หนว่ ย 15 บาท 2.1.2. ภาคกลาง ราคาขายตอ่ หน่วย 17 บาท 2.2. สนิ ค้า Y 2.2.1. ภาคเหนือ ราคาขายต่อหน่วย 5 บาท 2.2.2. ภาคกลาง ราคาขายตอ่ หน่วย 8 บาท
บทที่ 6 งบประมาณ 6 - 43 3. รับคืนสนิ ค้าและสว่ นลดจา่ ย 3.1. สนิ ค้า X 2 % ของยอดขาย 3.2. สนิ คา้ Y 3 % ของยอดขาย ให้ทา 1. เติมข้อมลู ในตารางดังต่อไปน้ี 1.1. ตารางที่ 1 แผนการตลาด แยกตามเขตการขาย ชนดิ สนิ คา้ และเวลา 1.2. ตารางท่ี 2 สรุปแผนการตลาด แยกตามยอดขาย ปรมิ าณการขายและเขตการขาย ตารางท่ี 1 แผนการตลาด แยกตามเขตการขาย ชนิดสนิ ค้า และเวลา หน่วย: บาท ภาคเหนื อ ภาคกลาง จานวน ไตรมาส สินค้า X สินค้า Y สินค้า X สินค้า Y เงินรวม ไตรมาส 1 ปรมิ าณ จานวน ปริมาณ จานวน ปริมาณ จานวน ปริมาณ จานวน ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เงนิ เงนิ เงิน เงิน ไตรมาส 4 รวม หัก รับคืน ขายสทุ ธิ ตารางท่ี 2 สรปุ แผนการตลาด แยกตามยอดขาย ปรมิ าณการขาย และเขตการขาย หน่วย: บาท ไตรมาส ยอดขายรวม ปริมาณสินค้า (หน่วย) ไตรมาส 1 ภาคเหนื อ ภาคกลาง รวม (บาท) ภาคเหนื อ ภาคกลาง ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6 - 44 การบัญชตี น้ ทนุ 2 ขอ้ 3. บริษัท รงุ่ เรอื ง จากดั ไดท้ าการผลติ และจาหนา่ ยผลติ ภัณฑช์ นดิ หนงึ่ โดยกิจการได้ จัดทางบประมาณการขายเพ่อื วางแผนและควบคุม โดยมขี อ้ มลู ทเี่ กี่ยวขอ้ งดงั น้ี 1. ข้อมลู เกย่ี วกบั การประมาณการยอดขายและราคาขายของผลิตภัณฑ์ชนดิ นใ้ี นช่วงไตร มาสที่ 2 ปี 25X4 มดี งั น้ี เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม ปรมิ าณการขาย (หน่วย) 2,000 2,500 2,800 2,300 โดยกิจการไดก้ าหนดราคาขายของผลติ ภัณฑ์ชนดิ นเ้ี ทา่ กับ 100 บาทตอ่ หน่วย 2. ข้อมลู สนิ ค้าคงเหลือโดยประมาณ ปี 25X4 2.1. สนิ ค้าคงเหลอื ต้นงวด เดือนเมษายน 800 หนว่ ย 2.2. นโยบายสารองสนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวดเทา่ กับ 50% ของยอดขายเดือนถัดไป เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สนิ ค้าคงเหลอื ตน้ งวด (กลอ่ ง) ………… …………. …………. ………… สินค้าคงเหลอื ปลายงวด (กลอ่ ง) ………… …………. …………. …………. ให้ทา 1. งบประมาณขาย สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดอื น ส้ินสดุ วนั ท่ี 31 มถิ นุ ายน 25X4 2. งบประมาณการผลติ สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดือน สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 มถิ ุนายน 25X4 ข้อ 4. บริษทั สายฟ้า จากดั ไดท้ าการผลิตและจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑช์ นิดหนง่ึ โดยกจิ การได้ จดั ทางบประมาณการขายเพือ่ วางแผนและควบคุม โดยมีขอ้ มลู ที่เก่ยี วขอ้ งดงั นี้ 1. ขอ้ มูลเก่ยี วกับการประมาณการยอดขายและราคาขายของผลติ ภณั ฑช์ นดิ นใ้ี นชว่ ง ไตรมาสที่ 2 ปี 25X4 มดี ังน้ี เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม ปรมิ าณการขาย (หน่วย) 5,000 5,500 5,800 5,300 โดยกจิ การไดก้ าหนดราคาขายของผลิตภัณฑ์ชนดิ น้ีเทา่ กับ 100 บาทตอ่ หน่วย 2. ขอ้ มลู สนิ ค้าคงเหลอื โดยประมาณ ปี 25X4 2.1. สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด เดือนเมษายน 890 หนว่ ย 2.2.นโยบายสารองสินค้าคงเหลือปลายงวดเทา่ กับ 30% ของยอดขายเดอื นถัดไป
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 45 ให้ทา 1. งบประมาณขาย สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดือน ส้ินสุดวันท่ี 30 มิถนุ ายน 25X4 2. งบประมาณการผลิต สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดอื น สิ้นสดุ วันที่ 30 มิถุนายน 25X4 ข้อ 5. บรษิ ทั ขนมไทย จากดั ไดท้ าการผลติ และจาหนา่ ยขนมไทยชนิดหน่งึ กจิ การได้จดั ทา งบประมาณการขายเพ่อื วางแผนและควบคมุ โดยมขี อ้ มูลทเี่ กย่ี วขอ้ งดงั น้ี 1. ข้อมลู เกีย่ วกับการประมาณการยอดขายและราคาขายของผลติ ภณั ฑใ์ นปี 25X5 มี ดังนี้ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ปรมิ าณการขาย (กล่อง) 18,000 20,000 22,000 25,000 โดยกจิ การไดก้ าหนดราคาขายของผลิตภณั ฑ์ชนดิ นีเ้ ท่ากบั 50 บาทตอ่ กลอ่ ง 2. ขอ้ มลู สนิ ค้าคงเหลอื โดยประมาณ ปี 25X5 คดิ เป็น 30% ของปรมิ าณการขายเดอื น ถดั ไป ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 สินค้าคงเหลอื ตน้ งวด (กลอ่ ง) 7,000 ………… …………. …………. สินค้าคงเหลอื ปลายงวด (กล่อง) …........ ………… …………. 6,000 ให้ทา 1. งบประมาณขาย สาหรับปี ส้ินสดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25X5 2. งบประมาณการผลติ สาหรบั ปี สนิ้ สดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X5 ขอ้ 6. บริษัท เทพพทิ กั ษ์ จากัด ผลติ สินคา้ ซ่ึงใช้วตั ถุดบิ X และ Y มีนโยบายท่เี กีย่ วกบั วัตถดุ บิ ดังนี้ 1. นโยบายในการจัดเกบ็ วัตถดุ ิบคงเหลือ ดงั นี้ วัตถุดิบ X = 10% ของการใชใ้ นงวดนนั้ ๆ วตั ถุดบิ Y = 20% ของการใช้ในงวดนนั้ ๆ 2. อตั ราการใช้วัตถดุ บิ ตอ่ หน่วย วัตถุดบิ X มีอัตราการใชต้ อ่ หนว่ ยที่ผลติ เทา่ กบั 1.5 หน่วย วตั ถดุ ิบ Y มีอตั ราการใชต้ ่อหน่วยทีผ่ ลติ เท่ากับ 2 หนว่ ย
6 - 46 การบัญชตี ้นทุน 2 ไตรมาสที่ 1 ปริมาณผลิต (หน่วย) 10,000 ไตรมาสท่ี 2 20,000 ไตรมาสท่ี 3 30,000 ไตรมาสที่ 4 40,000 ให้ทา 1. งบประมาณวตั ถุดิบคงเหลือ 2. งบประมาณวตั ถุดบิ ทใี่ ช้ในการผลติ ข้อ 7. บรษิ ทั เอกราช จากดั มแี ผนการจา้ งคนงานเพ่อื ใช้ในการผลติ สนิ คา้ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ รถจักรยานเสอื ภเู ขา และรถจักรยานเสอื หมอบ โดยสนิ คา้ ทง้ั สองชนดิ นีผ้ า่ นกระบวนการผลติ ใน แผนกท่ี 1 2 และ 3 ดงั แสดงในตารางการผลติ เวลามาตรฐานท่ใี ชใ้ นการผลติ และอัตราค่าจา้ ง แรงงานทางตรงของสนิ คา้ ท้งั 2 ชนิด มดี ังน้ี ประเภทของสินค้า ไตรมาส รวม 1 2 3 4 (คนั ) รถจกั รยานเสือภเู ขา ปริมาณการผลติ (คนั ) 1,200 1,350 1,500 2,000 รถจกั รยานเสือหมอบ 500 750 650 800 ปรมิ าณการผลติ (คนั ) แผนกผลิต ชวั่ โมงแรงงานมาตรฐาน อตั ราค่าแรงงาน ทางตรงถวั เฉล่ียต่อ 1 รถจกั รยานเสือภเู ขา รถจกั รยานเสือ 2 หมอบ ชวั่ โมง 3 1.3 1.2 100 150 1.2 1.4 200 1.5 ให้ทา 1. งบประมาณช่ัวโมงแรงงานทางตรงทใี่ ชใ้ นการผลิตสินคา้ ทงั้ สองชนดิ โดยประมาณการ ปริมาณการผลิต ดังแสดงในตาราง (เฉพาะแผนกที่ 1) 2. งบประมาณคา่ แรงงานทางตรงทใ่ี ช้ในการผลติ สนิ คา้ ทงั้ สองชนดิ (เฉพาะแผนกที่ 1)
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 47 ขอ้ 8. บริษัท ABC จากดั ทาการผลิตและจาหนา่ ยขนมคกุ ก้ี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ คกุ ก้ีเนย และคกุ กี้ เฮลตี้ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายสาขาอดุ รธานี กาลังจัดทางบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบริหาร ของสินค้าทงั้ สองชนดิ โดยมีขอ้ มูลคา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ าร ดังนี้ ยอดขาย (บาท) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี ค่าใช้จา่ ยในการขาย 4 ผนั แปร 250,000 300,000 420,000 550,000 คา่ นายหน้า (5%จากยอดขาย) ค่ารบั รอง (10%จากยอดขาย) 30,000 30,000 30,000 30,000 50,000 50,000 50,000 50,000 คงที่ เงนิ เดอื นพนักงานขาย 25,000 27,000 30,000 45,000 ค่าโฆษณา 70,000 70,000 70,000 70,000 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 15,000 15,000 15,000 15,000 ผนั แปร คา่ น้าคา่ ไฟ คา่ โทรศพั ท์ คงที่ เงินเดอื น คา่ เสอื่ มราคาอุปกรณส์ านกั งาน ให้ทา งบประมาณคา่ ใช้จ่ายในการขายและบริหาร ประจาปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X1 ข้อ 9. บรษิ ทั แมคโครอาหารกระปอ๋ ง จากัด ทาการผลติ และจาหนา่ ยผลไม้กระปอ๋ ง ฝ่ายขาย กาลงั วางแผนคา่ ใช้จา่ ยในการขายเกยี่ วกบั สนิ คา้ ทบ่ี รษิ ทั คาดวา่ จะจาหนา่ ยในแตล่ ะเดอื นของปี 25x1 โดยมขี อ้ มลู รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายท่เี กย่ี วขอ้ งแยกตามชนดิ ของผลิตภัณฑ์ทขี่ าย ดังนี้ 1. ประมาณการปรมิ าณการขายและราคาขายต่อหน่วยของผลติ ภณั ฑแ์ ตล่ ะชนดิ ดังนี้ สบั ปะรดกระป๋ อง เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน ปริมาณการขาย (กระป๋อง) 15,000 17,000 20,000 ราคาขายต่อกระปอ๋ ง 40 บาท
6 - 48 การบัญชีตน้ ทนุ 2 12,000 18,000 22,000 เงาะกระป๋ อง ปริมาณการขาย (กระปอ๋ ง) ราคาขายต่อตอ่ กระปอ๋ ง 50 บาท 2. คา่ ใช้จา่ ยในการขายและส่งเสรมิ การขายต่อไตรมาส (ผูจ้ ัดการฝ่ายขายของสินคา้ แต่ ละชนดิ ไม่สามารถควบคมุ ได)้ มดี ังน้ี สบั ปะรดกระป๋ อง เงาะกระป๋ อง ค่าโฆษณา 75,000 81,000 16,500 คา่ ใช้จ่ายในการส่งเสรมิ การขาย 24,000 3. ค่าใชจ้ ่ายในการขายแยกตามชนิดของผลติ ภณั ฑ์ สามารถแยกได้ดังนี้ ชนิดของผลิตภณั ฑ์ เมษายน เดือน มิถนุ ายน พฤษภาคม สบั ปะรดกระป๋ อง ค่าพาหนะและคา่ รบั รอง 50,000 ลดลงจากเดือน เพ่มิ ขนึ้ จากเดือน เมษายน 10% เมษายน 5% ค่านายหนา้ 5%จากยอดขาย 5%จากยอดขาย คา่ ขนสง่ ออก 2 บาทตอ่ กระป๋อง 5%จากยอดขาย เงาะกระป๋ อง 2 บาทต่อกระปอ๋ ง ค่าพาหนะและคา่ รบั รอง 2 บาทตอ่ กระป๋อง คา่ นายหนา้ 75,000 ลดลงจากเดือน เพ่มิ ขนึ้ จากเดอื น คา่ ขนสง่ ออก เมษายน 5% เมษายน 10% 7%จากยอดขาย 3 บาทตอ่ กระปอ๋ ง 7%จากยอดขาย 7%จากยอดขาย 3 บาทต่อกระป๋อง 3 บาทตอ่ กระปอ๋ ง ให้ทา งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการขาย สาหรับปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 30 มถิ ุนายน 25x1
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 49 ข้อ 10. บรษิ ัท กนก จากดั แบง่ การบริหารงานออกเปน็ 3 แผนก ไดแ้ ก่ แผนกบรหิ าร แผนก บัญชี แผนกการเงิน โดยมคี ่าใชจ้ า่ ยผนั แปรและคงที่ ดงั นี้ ค่าใช้จา่ ยผนั แปร (บาท) ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 แผนกบริหาร 2,000 2,500 2,300 2,700 วัสดุสานกั งานใช้ไป 5,000 6,000 5,800 4,800 คา่ สาธารณปู โภค แผนกบญั ชี 3,000 3,700 3,400 3,900 วัสดสุ านักงานใช้ไป 8,000 9,500 8,800 7,800 ค่าสาธารณปู โภค แผนกการเงิน 2,500 2,800 2,400 2,100 วสั ดสุ านักงานใช้ไป 6,000 8,000 7,200 7,800 ค่าสาธารณปู โภค ค่าใช้จา่ ยคงที่ (บาท) แผนกบริหาร แผนกบญั ชี แผนกการเงิน 80,000 120,000 100,000 ค่าใช้จา่ ยรายปี 84,000 50,000 40,000 เงินเดือน 20,000 20,000 ค่ารับรอง 20,000 80,000 100,000 ค่าเสือ่ มราคา 52,000 48,000 40,000 ค่าเบ้ียประกนั ภัย คา่ ภาษี 40,000 - - คา่ สอบบัญชี 60,000 ค่าท่ีปรึกษากฎหมาย - - 20,000 ให้ทา งบประมาณค่าใช้จา่ ยในการบริหาร สาหรับปี สนิ้ สุดวันที่ 31 ธนั วาคม 2561 แยกตาม หนว่ ยงานและแยกตามรายไตรมาส
6 - 50 การบัญชตี ้นทุน 2 ข้อ 11. กิจการต้องการจะประมาณการซอ้ื วัตถุดบิ เพื่อนามาใช้ในการผลติ ผลิตภัณฑ์ โดยมี ข้อมลู เก่ียวกบั ปรมิ าณการผลติ และวัตถดุ บิ ดังนี้ 1. ปรมิ าณการผลิตแต่ละเดือน มดี งั นี้ เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม ปรมิ าณการผลติ ทต่ี ้องการ (หนว่ ย) 1,500 2,000 2,800 3,000 2. วัตถุดิบทใี่ ชใ้ นการผลิตสนิ ค้า โดยใชว้ ตั ถุดบิ หลักเพยี งชนดิ เดยี ว ในการผลิต มขี อ้ มูล การใช้วตั ถุดิบและปรมิ าณวตั ถดุ ิบคงเหลือตน้ งวดและปลายงวดดงั น้ี 2.1. ในการผลติ สนิ ค้า 1 หน่วย ใชว้ ตั ถุดิบ A จานวน 2 หน่วย มตี ้นทุนต่อหน่วย หน่วยละ 10 บาท 2.2. วตั ถุดบิ A มยี อดคงเหลอื ต้นงวดเดือนเมษายน จานวน 500 หน่วย และมีนโยบาย สารองวัตถุดบิ คงเหลือปลายงวดเท่ากับ 20% ของปรมิ าณการใชว้ ตั ถดุ บิ ในเดือนถัดไป เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม วัตถดุ ิบคงเหลือต้นงวด (หนว่ ย) ……….. ………… ………… ……….. วตั ถดุ บิ คงเหลือปลายงวด (หน่วย) ……….. ………… ………… ……….. 3. ข้อมลู เกี่ยวกบั คา่ แรงงานทางตรง มีดังน้ี ในการผลิตสินคา้ 1 หนว่ ย ใชช้ ่วั โมงแรงงานทางตรง จานวน 1.5 ช่วั โมง และจ่าย คา่ จา้ งแรงงานเทา่ กบั 12 บาท ตอ่ ช่วั โมงแรงงานทางตรง 4. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ค่าใชจ้ ่ายการผลติ ดงั น้ี ค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปร ค่าใช้จา่ ยการผลิตต่อชวั ่ โมง วัตถดุ บิ ทางอ้อม 1.5 ค่าแรงงานทางออ้ ม 2.5 คา่ น้า คา่ ไฟ 3.0 คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงที่ ในแต่ละไตรมาส โดยประมาณ มดี งั น้ี เงินเดือนผูค้ วบคมุ โรงงาน 9,000 บาท ค่าเช่าโรงงาน 15,000 บาท ค่าเบ้ียประกันภัย 7,500 บาท คา่ ภาษีทรัพย์สนิ 12,000 บาท ค่าบารงุ รักษา 4,500 บาท
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 51 คา่ เส่ือมราคา – เคร่ืองจกั ร 6,750 บาท คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ๆ ในโรงงาน 6,000 บาท 5. ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยในการขายผันแปรในแตล่ ะเดือน 10% จากยอดขายเดอื นนน้ั ๆ 6. ประมาณการค่าใช้จา่ ยในการขายและบรหิ ารคงท่แี ต่ละเดือน 10,000 บาท ให้ทา 1. งบประมาณซอื้ วตั ถดุ บิ สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดือน ส้ินสดุ วันที่ 30 มิถุนายน 25X5 2. งบประมาณค่าแรงงานทางตรง สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดอื น สนิ้ สดุ วันที่ 30 มิถนุ ายน 25X5 3. งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยการผลิต สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดอื น ส้นิ สดุ วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 25X5 4. งบประมาณตน้ ทุนการผลติ สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดือน สนิ้ สดุ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 25X5 และคานวณตน้ ทนุ การผลิตต่อหน่วย 5. งบประมาณสินค้าคงเหลอื สาหรับรอบระยะเวลา 3 เดอื น สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 25X5 6. งบประมาณตน้ ทนุ ขาย สาหรบั รอบระยะเวลา 3 เดอื น สิ้นสดุ วันท่ี 30 มถิ ุนายน 25X5 7. งบกาไรขาดทนุ โดยประมาณ สาหรบั รอบระยะเวลา 3 เดือน สนิ้ สดุ วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 25X5 ข้อ 12. กิจการแหง่ หนง่ึ ต้องการจะประมาณการซื้อวัตถดุ ิบ เพื่อนามาใชใ้ นการผลติ ขนมคกุ้ ก้ี โดยมขี อ้ มลู เก่ยี วกบั วตั ถดุ บิ ดงั น้ี 1. วัตถดุ บิ ท่ีใช้ในการผลิตคกุ้ ก้ี โดยใชว้ ัตถุดบิ หลกั เพียงชนดิ เดยี ว คอื วัตถุดิบ A ในการ ผลิต มีขอ้ มูลการใชว้ ัตถดุ บิ และปริมาณวตั ถดุ ิบคงเหลอื ตน้ งวดและปลายงวดดังนี้ 1.1. ในการผลติ คกุ้ กี้ 1 กล่อง ใช้วัตถุดิบ A จานวน 3 หน่วย มีตน้ ทุนตอ่ หน่วยหนว่ ยละ 20 บาท 1.2. วัตถดุ บิ A มยี อดคงเหลอื ตน้ งวดจานวน 4,000 .หน่วย และประมาณการวา่ จะมี วตั ถดุ ิบคงเหลอื ปลายงวด ในแตล่ ะไตรมาสของปี 25X6 มีดังนี้
6 - 52 การบัญชตี น้ ทุน 2 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ปรมิ าณการผลติ (กลอ่ ง) 4,000 4,200 5,000 5,500 ………… ………… วัตถุดิบคงเหลือตน้ งวด (หนว่ ย) 4,000 ……….. 3,000 7,000 วัตถุดบิ คงเหลือปลายงวด (หน่วย) 5,000 6,000 2. ข้อมูลเก่ยี วกบั คา่ แรงงานทางตรง มดี งั นี้ ในการผลติ คกุ้ กี้ 1 กลอ่ ง ใชช้ ั่วโมงแรงงานทางตรง จานวน 2 ชว่ั โมง และจา่ ยคา่ จ้าง แรงงานเทา่ กบั 15 บาท ตอ่ ชว่ั โมงแรงงานทางตรง 3. ข้อมูลเกี่ยวกับคา่ ใช้จา่ ยการผลิต ดงั นี้ ค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชวั ่ โมง 2 ค่าใช้จ่ายการผลิตผนั แปร วัตถุดิบทางออ้ ม 3 ค่าแรงงานทางออ้ ม 5 ค่าน้า ค่าไฟ คา่ ใช้จ่ายการผลิตคงท่ี ในแต่ละไตรมาส โดยประมาณ มีดงั นี้ เงินเดือนผู้ควบคมุ โรงงาน 10,000 บาท คา่ เช่าโรงงาน 15,000 บาท คา่ เบย้ี ประกันภยั 9,000 บาท ค่าภาษีทรพั ย์สิน 12,000 บาท คา่ บารุงรักษา 8,000 บาท คา่ เส่อื มราคา – เคร่ืองจกั ร 5,000 บาท ให้ทา 1. งบประมาณซอ้ื วัตถุดิบ สาหรับไตรมาส ส้ินสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X6 2. งบประมาณค่าแรงงานทางตรง สาหรับไตรมาส สน้ิ สดุ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 3. งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลิต สาหรบั ไตรมาส สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X6 4. งบประมาณต้นทนุ การผลติ สาหรบั ไตรมาส สน้ิ สุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 25X6 และ คานวณต้นทนุ การผลติ ต่อหนว่ ย 5. งบประมาณสินค้าคงเหลอื สาหรับไตรมาส สิ้นสุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X6 6. งบประมาณตน้ ทุนขาย สาหรับไตรมาส สนิ้ สดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25X6
บทท่ี 6 งบประมาณ 6 - 53 ข้อ 13. บริษทั ฟ้าครามการผลิต จากดั ซง่ึ เปน็ ผู้ผลิตผา้ ฝา้ ยย้อมคราม ใหก้ บั วสิ าหกจิ ชมุ ชน โดยบรษิ ัทมปี รมิ าณการขายสาหรบั ระยะเวลา 4 เดอื น ของปี 25X6 ดังนี้ เดือน ปริมาณ (หน่วย) มกราคม 550 กุมภาพันธ์ 400 มีนาคม 500 เมษายน 600 ข้อมลู ตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การผลิต การขายและการบริหาร มดี ังนี้ 1. สินค้าสาเร็จรปู คงเหลือในวนั ที่ 1 มกราคม 25X6 มจี านวน 240 หนว่ ย และบริษทั ตอ้ งการสนิ คา้ คงเหลอื 25% ของปริมาณการขายในเดอื นถดั ไป และวางแผนการขายในเดอื น พฤษภาคม 2559 จานวน 800 หน่วย 2. ข้อมลู เก่ยี วกับการใชว้ ตั ถดุ บิ ทางตรง (ผ้าฝ้าย) 2.1. การผลิตกระเปา๋ ถอื 1 ใบ ใชผ้ า้ ฝา้ ยที่ถอื เปน็ วตั ถดุ บิ ทางตรง 0.5 เมตร 2.2. ราคาของวตั ถุดบิ ทางตรงเมตรละ 500 บาท 2.3. กาหนดนโยบายวตั ถุดบิ ทางตรงใหม้ คี งเหลือปลายงวด 20% ของวัตถุดิบทาง ตรงทีต่ ้องการใช้ในเดอื นถัดไป 3. วัตถุดิบทางตรงมยี อดคงเหลอื ในวันท่ี 1 มกราคม 25X6 จานวน 100 หนว่ ย และใน เดอื นพฤษภาคม 25X6 จานนวน 100 หนว่ ย 4. การผลิตกระเป๋า 1 ใบ ใชแ้ รงงานทางตรง 2 ชว่ั โมง อตั ราคา่ จ้างตอ่ ชัว่ โมง 30 บาท 5. ค่าใช้จ่ายการผลิต ในแต่ละเดอื นประมาณการโดยใช้ช่วั โมงแรงงานทางตรงเปน็ เกณฑ์ ในการจดั สรร ซงึ่ ประกอบดว้ ย ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ คงที่ และค่าใชจ้ ่ายการผลิตผันแปร ดังน้ี 5.1. ค่าใชจ้ า่ ยการผลิตผนั แปรตอ่ ช่ัวโมง 6 บาท 5.2. ค่าใช้จ่ายการผลตคิ งท่ีรวมต่อเดือน ค่าเชา่ โรงงาน 10,000 บาท ค่าเสื่อมราคาอปุ กรณ์โรงงาน 2,000 บาท เงินเดอื นหวั หนา้ ผู้ควบคมุ งาน 20,000 บาท
6 - 54 การบญั ชตี ้นทนุ 2 6. ค่าใช้จ่ายการขายและบริหาร ในแต่ละเดอื นประมาณการโดยใชป้ ริมาณหน่วยขายเป็น เกณฑใ์ นการจดั สรร ซงึ่ ประกอบดว้ ย คา่ ใชจ้ ่ายการขายและบรหิ ารคงท่ี และคา่ ใชจ้ า่ ยการขาย และบริหารผนั แปร ดังนี้ 6.1. ค่านายหนา้ และค่าขนสง่ ตอ่ หนว่ ย 5 บาท 6.2. คา่ ใช้จา่ ยการขายและบริหารคงทร่ี วม 25,000 บาท 6.3. เงนิ เดอื นสานกั งาน 1,000 บาท 6.4. ค่าเสื่อมราคาเครอื่ งใชส้ านกั งาน 8,000 บาท 7. ราคาขายต่อหนว่ ยของกระเปา๋ ผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามเท่ากบั 1200 บาท 8. บรษิ ทั มีนโยบายการซ้ือและการขายเปน็ เงินสด เงินสดคงเหลือยกมา วันที่ 1 มกราคม 25x1 จานวน 100,000 บาท และต้องการเงินสดคงเหลือข้ันต่า 50,000 บาท ส่วนการกู้เพื่อ ชดเชยเงนิ สดขาดจะกู้ในวันแรกของเดือนและต้องกู้เป็นจานวนเต็มหลัก 5,000 บาท ในอัตรา ดอกเบี้ย 10% ต่อปี การจา่ ยคนื เงินกู้จะคืนพร้อมดอกเบยี้ ในตอนสน้ิ เดือน ถัดจากเดือนที่มีการ ก้ยู มื ให้ทา 1. งบประมาณขาย สาหรบั ไตรมาส สนิ้ สุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 25X6 2. งบประมาณการผลติ สาหรับไตรมาส ส้นิ สดุ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X6 3. งบประมาณซ้ือวตั ถดุ บิ สาหรับไตรมาส สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25X6 4. งบประมาณคา่ แรงงานทางตรง สาหรบั ไตรมาส ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X6 5. งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต สาหรบั ไตรมาส ส้นิ สุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 25X6 6. งบประมาณต้นทนุ การผลิต สาหรบั ไตรมาส สิน้ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 25X6 และ คานวณต้นทนุ การผลิตต่อหนว่ ย 7. งบประมาณสนิ คา้ คงเหลอื สาหรบั ไตรมาส สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X6 8. งบประมาณต้นทนุ ขาย สาหรบั ไตรมาส สน้ิ สดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X6 9. งบกาไรขาดทนุ โดยประมาณ (บางส่วน) สาหรบั ไตรสาม ส้ินสดุ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6
บทท่ี 7 งบประมาณยืดหย่นุ ต้นทนุ มาตรฐานและการวิเคราะหผ์ ลต่าง งบประมาณเปน็ เคร่อื งมอื ทางการเงนิ ชนิดหนง่ึ ทีม่ คี วามสาคัญสาหรับผู้บริหารเพ่ือใช้ ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ ซ่ึงงบประมาณเป็นแผนการดาเนินงานท่ีเป็น การนาเสนอขอ้ มูลการประมาณการในรปู ของตวั เลข โดยงบประมาณจะเป็นเครือ่ งมอื ทีผ่ ู้บริหาร ใช้เพ่ือการวางแผน ควบคุม กากับ และการตัดสินใจ ซ่ึงผู้บริหารจะประมาณการข้อมูลต่างๆ เปน็ การล่วงหน้าภายใต้ปัจจัยต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์กร เช่น สภาพทางเศรษฐกิจ การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี หรือปัจจัยภายใน เช่น นโยบายของบริษัท เป้าหมายหลักขององค์กร เป็นต้น ซึ่งการจัดทางบประมาณอยู่ภายใต้ความแน่นอน ดังน้ัน งบประมาณที่จัดทาเอาไว้ อาจมีการเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา เม่ือสถานการณ์มีการ เปลี่ยนแปลง กิจการอาจจัดทาระดับการผลิตใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของ องค์การ การใชป้ ระโยชนจ์ ากงบประมาณคอื การนาเอาแผนท่ีจดั ทาขนึ้ ล่วงหน้าไปเปรียบเทยี บ กบั ผลการดาเนนิ ท่เี กิดขึน้ จรงิ ซง่ึ ผลต่างท่ีเกิดข้ึนนั้นอาจเป็นได้ทั้งผลต่างท่ีน่าพอใจและไม่น่า พอใจ ซ่ึงผู้บริหารต้องนาผลต่างทั้งสองกรณีมาทาการวิเคราะห์เพิ่มเติมว่าเกิดจากสาเหตุใด เพื่อทาการแก้ไข และปรับปรุงแผนงานในปีถัดไป รวมท้ังนามาใช้ในการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานใดหน่วยงานหน่ึง เพ่ือนาไปสู่การตัดสินใจในหลายๆ เร่ือง เช่น การ วางแผนงานล่วงหนา้ เพ่ือเป็นแนวทางให้ผูบ้ ริหารและพนักงานแต่ละระดบั สามารถปฏิบัตไิ ดง้ ่าย ขึน้ ใชส้ าหรบั การประเมินผลงานของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง การกระตนุ้ ใหแ้ ตล่ ะสว่ นงานเกดิ การ ระสานงานระหว่างหน่วยงาน และใช้เป็นเคร่ืองมือในการสร้างจูงในในการทางาน ส่วนงานท่ี ทางานไดต้ ามเปา้ หมายจะมีการใหร้ างวลั เปน็ ตน้ จากงบประมาณทีไ่ ดศ้ กึ ษามาแลว้ ในบทที่ 6 เน้ือหาจะเก่ียวกับการจัดทางบประมาณ หลกั (Master Budget) ซ่ึงเป็นแผนงานการดาเนินงานของธุรกิจที่ฝ่ายบริหารได้คาดการณ์ไว้ ล่วงหน้า โดยงบประมาณหลักจะประกอบด้วย งบประมาณย่อยๆ หลายงบประมาณที่แต่ละ แผนกท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั งบประมาณน้ันๆจัดทาขน้ึ ซ่งึ งบประมาณประกอบด้วยงบประมาณย่อยใด นั้นข้ึนอยู่กับประเภทของธุรกิจดังได้กล่าวไว้แล้วในบทก่อน ซ่ึงในงบประมาณย่อยๆ ทุก งบประมาณที่ประกอบกันเป็นงบประมาณหลัก ส่วนใหญ่จะจัดทาเป็นงบประมาณคงที่ (Static Budget หรือ Fixed Budget) แต่เมื่อสถานการณ์มีการเปล่ียนแปลง งบประมาณคงท่ีอาจ นามาใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติไม่ได้ ดังนั้น จึงต้องมีประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายต่างๆ แต่ละระดบั ของกิจกรรม ซงึ่ การจดั ทางบประมาณแบบนี้ เรียกว่า การจดั ทางบประมาณยดื หยุ่น (Flexible Budget หรอื Variable Budget)
7 - 2 การบัญชีตน้ ทุน 2 งบประมาณคงที่ งบประมาณคงที่ (Static Budget หรือ Fixed Budget) เป็นงบประมาณที่ได้จัดทาข้ึน ณ ระดบั กิจกรรมเพียงระดับเดียว เช่น ณ ปริมาณขายที่ 1,000 หน่วย หรือ ณ ปริมาณผลิตที่ 2,000 หน่วย เป็นตน้ ดังนัน้ เม่อื มีการนาผลการปฏบิ ัติงานจรงิ มาเปรยี บเทยี บกับงบประมาณที่ ได้จดั ทาไวน้ ั้นกจ็ ะเปรยี บเทยี บในระดับกิจกรรมท่ีได้จัดทางบประมาณไว้โดยไม่คานึงถึงว่าจะ เป็นการเปรยี บเทียบทร่ี ะดบั กจิ กรรมเดียวกนั หรอื ไม่ ดังนั้น การวิเคราะห์ผลต่างที่เกิดข้ึน อาจ แสดงผลของความแตกตา่ งไม่ถูกต้อง ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดตรงประเด็น เพราะใช้ ระดับของกจิ กรรมท่มี าเปรยี บเทยี บไมเ่ หมาะสมน่นั เอง เพื่อใหเ้ ข้าใจเก่ียวกับงบประมาณคงท่ี จะแสดงในตัวอย่างเป็นการจัดทางบประมาณ ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead Budget) ของบริษัทชัยอนันต์ จากัด โดยจัดทา เป็นงบประมาณคงที่ ตวั อยา่ งท่ี 7.1 บรษิ ทั ชัยอนันต์ จากัด ได้จัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต สาหรับไตรมาสที่ 1 โดย จดั ทาท่ี ณ ระดบั การผลิต 4,000 หนว่ ย โดยงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ เป็นความรับผิดชอบ ของแผนกผลิต คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตโดยประมาณ มีดังนี้ บริษัท ชัยอนันต์ จากัด งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต สาหรับไตรมาสท่ี 1 สนิ้ สดุ วนั ที่ 31 มนี าคม 25x1 ปริมาณการผลิตตามงบประมาณ 4,000 หนว่ ย งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลติ วัตถุดบิ ทางอ้อม 54,000 คา่ แรงงานทางออ้ ม 64,000 ค่าน้าค่าไฟ 12,000 ค่าเส่อื มราคา-โรงงาน 8,400 เงนิ เดอื นผู้จัดการโรงงาน 6,000 รวมค่าใช้จา่ ยการผลติ 144,000 บาท ในระหวา่ งปี 25X1 ความต้องการสินค้าของลูกค้ามีมากข้ึนทาให้บริษัท ชัยอนันต์ จากดั ต้องทาการผลติ สินค้าเพ่ิมขนึ้ จากเดิม เป็น 5,000 หน่วย ทาใหข้ อ้ มูลต้นทุนที่เกิดข้ึนจริง ดังแสดงรายการ ดังนี้
บทที่ 7 งบประมาณยืดหย่นุ ต้นทุนมาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลตา่ ง 7 - 3 ค่าใช้จ่ายการผลิตจริงท่ีเกิดขึ้น ในปี 25X1 เป็นดังน้ี (ณ ระดับการผลิตจริง 5,000 หน่วย) ค่าใช้จ่ายการผลิตจริง จานวนเงิน (บาท) วตั ถดุ ิบทางอ้อม 68,000 แรงงานทางออ้ ม 72,000 ค่าน้าคา่ ไฟ 17,000 คา่ เสื่อมราคา-โรงงาน 8,400 เงินเดือนผ้จู ดั การโรงงาน 6,000 รวม 171,400 ผบู้ ริหารตอ้ งการเปรียบเทยี บผลการปฏิบัติงานจริงกับงบประมาณท่ีได้จัดทาไว้ เพื่อ นาข้อมูลไปใช้ประเมินผลการปฏิบัติงานของแผนกผลิต สามารถจัดทารายงานเปรียบเทียบ งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ กบั ผลการปฏบิ ตั ิงานจริง ไดด้ ังน้ี บริษทั ชัยอนนั ต์ จากดั รายงานการเปรยี บเทียบงบประมาณคา่ ใช้จ่ายการผลติ กบั ผลการปฏิบตั ิงานจริง สาหรับไตรมาสท่ี 1 สน้ิ สดุ วันที่ 31 มนี าคม 25x1 หนว่ ย : บาท ผลต่าง* งบประมาณ ผลการ ปฏิบตั ิงานจริง จานวนหนว่ ยผลิต (หน่วย) 4,000 5,000 ค่าใช้จ่ายการผลติ : วัตถุดบิ ทางอ้อม 54,000 68,000 14,000 U คา่ แรงงานทางอ้อม 64,000 72,000 8,000 U ค่าน้าค่าไฟ 12,000 17,000 5,000 U คา่ เสอื่ มราคา-โรงงาน 8,400 8400 -0- เงินเดือนผู้จดั การโรงงาน 6,000 6,000 -0- รวม 144,400 171,400 27,000 U หมายเหตุ * F หมายถงึ ผลต่างไมน่ า่ พอใจ (Favorable Variance) U หมายถึง ผลตา่ งทีน่ า่ พอใจ (Unfavorable Variance)
7 - 4 การบญั ชีต้นทนุ 2 จากข้อมลู ข้างต้น จะเห็นวา่ ค่าใช้จ่ายการผลิตตามงบประมาณกับผลการปฏิบัติงาน จริง มคี วามแตกต่างกัน เม่ือพจิ ารณาทลี ะรายการพบว่า วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม และค่าน้าค่าไฟ มีผลต่างไม่น่าพอใจ เพราะค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจริงสูงกว่าค่าใช้จ่ายตาม งบประมาณ ดังแสดงในรายงานการเปรียบเทียบงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตกับผลการ ปฏบิ ัตงิ านจริง แสดงวา่ ผู้จดั การแผนกผลติ ไมม่ กี ารควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยการผลติ ท่ีเกิดข้ึนในแผนก ทาให้ค่าใช้จ่าย 3 รายการ จากทั้งหมด 5 รายการ มีตัวเลขท่ีสูงกว่าท่ีประมาณการไว้ ซ่ึงเม่ือ เทยี บผลตา่ ง จะเทา่ กับ 18.70% ของงบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลิต (27,000/144,400) แสดงว่า การปฏิบัติงานของผู้จัดการฝ่ายผลิตไม่มีประสิทธิภาพ แต่ในความเป็นจริง จะพบว่า การ เปรียบเทียบผลการดาเนินงาน ณ ระดับการผลิตไม่ถูกต้อง เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายการผลิตตาม งบประมาณอยู่ภายใต้ระดับการผลิตที่ 4,000 หน่วย แต่ผลการปฏิบัติงานจริง ผลิต 5,000 หนว่ ย นน่ั หมายความว่า คา่ ใช้จ่ายการผลิตสามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท คือ ต้นทุนผันแปร และ ตน้ ทนุ คงท่ี ส่วนทเ่ี ป็นตน้ ทนุ ผันแปร ซ่งึ ไดแ้ ก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม และ ค่าน้า คา่ ไฟ จะแปรไปตามระดบั ของกิจกรรม นนั่ คอื ถ้าผลิตมากต้นทุนผันแปรจะมีจานวนที่มากข้ึน สว่ นต้นทุนคงท่ี จะไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลง ดังนั้น จากการเปลี่ยนระดับของการผลิต จาก 4,000 หน่วย เปน็ 5,000 หนว่ ย จะมีผลทาใหต้ ้นทุนมกี ารเปลี่ยนแปลงในทางทเ่ี พม่ิ ขน้ึ นน่ั หมายความ ว่า การเปรยี บเทยี บผลการปฏิบัติงานจริง ณ ระดับการผลิต 5,000 หน่วย กับงบประมาณคงท่ี ณ ระดบั การผลติ 4,000 หนว่ ย ไม่สามารถจะนามาใช้ในทางปฏบิ ตั ไิ ด้ จากคาอธิบายข้างต้น จะเห็นได้ว่างบประมาณคงที่มีข้อจากัด งบประมาณคงท่ีจะใช้ กบั ผลการปฏิบัตงิ านจรงิ ทเี่ ทา่ กับหรือใกล้เคียงกับระดับกิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ในงบประมาณ คงที่ ที่เคยทาไว้เท่าน้ัน แต่ถ้าต้นทุนมีลักษณะเป็นต้นทุนผันแปร ต้องมีการเปล่ียนระดับของ กิจกรรมเพ่ือปรับตัวเลขก่อนท่ีจะทาการเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน ซ่ึงวิธีการจัดทา งบประมาณหลายระดบั เรียกวา่ งบประมาณยดื หย่นุ (Flexible or Variable Budget) งบประมาณยืดหย่นุ งบประมาณยืดหยุ่น (Flexible or Variable Budget) เป็นงบประมาณที่จัดทาข้ึน ภายใต้ระดับกิจกรรมท่ีแตกต่างกัน หรือเป็นการนาเอางบประมาณคงท่ีมาจัดทาในระดับ กิจกรรมแต่ละระดับ ซึ่งงบประมาณยืดหยุ่นจะสามารถลดปัญหาของงบประมาณคงท่ีได้ เนอ่ื งจาก ถึงแม้ว่าระดบั กจิ กรรมของผลการปฏิบตั ิงานจริงจะเปลยี่ นแปลงไปอย่างไรกต็ าม การ จดั ทางบประมาณยดื หย่นุ ก็สามารถจัดทาในทุกงบประมาณย่อยๆ ท่ีปรากฏอยู่ในงบประมาณ หลัก โดยหลักการจัดทางบประมาณยืดหยุ่น จะนาข้อมูลทีไ่ ด้จากงบประมาณคงทีม่ าเป็นเกณฑ์ หรือฐานในการคานวณ ซ่ึงจะต้องพิจารณาว่าค่าใช้จ่ายต่างๆ นั้น เป็นต้นทุนท่ีมีลักษณะเป็น อย่างไร เป็นต้นทุนคงที่หรือต้นทุนผันแปร เน่ืองจากตามหลักการแล้วต้นทุนคงท่ีจะไม่
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยุ่น ต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลตา่ ง 7 - 5 เปล่ียนแปลงตามระดบั กจิ กรรมในช่วงทเ่ี กีย่ วข้อง (Relevant Range) แต่สาหรับต้นทุนผันแปร จะเปล่ียนแปลงเป็นสดั สว่ นโดยตรงตามระดับของกจิ กรรม ดงั นน้ั การจัดทางบประมาณยดื หยุ่น จึงตอ้ งคานวณหาตน้ ทนุ ผันแปรต่อหนว่ ย เพอ่ื จะไดน้ าขอ้ มลู นี้ ไปใช้ในการคานวณหาตน้ ทนุ ผัน แปรรวมและนาไปเปรยี บเทยี บได้ เพื่อให้เขา้ ใจเกย่ี วกับการจัดทางบประมาณยดื หยุน่ จะแสดงการคานวณและตัวอย่าง การจดั ทางบประมาณยดื หยนุ่ ดังแสดงในตวั อย่างที่ 7.2 ตวั อย่างท่ี 7.2 จากข้อมูลของบริษัท ชัยอนันต์ จากัด ในตัวอย่างที่ 7.1 เม่ือต้องจัดทางบประมาณ ยดื หยุ่น กจิ การตอ้ งนารายการคา่ ใช้จ่ายตา่ งๆ มาพจิ ารณาวา่ ต้นทุนหรอื คา่ ใช้จา่ ยแตล่ ะรายการ เป็นต้นทุนประเภทต้นทุนคงท่ีหรือต้นทุนผันแปร จากข้อมูลในงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต ของบรษิ ัท ชยั อนนั ต์ จากัด จะเห็นวา่ ค่าใช้จ่ายที่จัดเป็นต้นทุนผันแปร ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม คา่ แรงงานทางออ้ ม และค่านา้ ค่าไฟ สาหรับต้นทุนทีเ่ ป็นตน้ ทุนคงที่ ไดแ้ ก่ ค่าเส่อื มราคาโรงงาน และเงนิ เดอื นผ้จู ดั การโรงงาน ดังน้ัน จากขอ้ มูลในงบประมาณคงที่ จากตวั อยา่ งที่ 7.1 ภายใต้ระดับการผลิต 4,000 หนว่ ย สามารถคานวณหาต้นทุนผันแปรตอ่ หนว่ ย ไดด้ งั นี้ ต้นทุนรวม (4,000 หน่วย) ต้นทุนผนั แปรต่อหน่วย รายการ วตั ถุดบิ ทางอ้อม 54,000 / 4,000 13.50 ค่าแรงงานทางออ้ ม 64,000 / 4,000 16.00 คา่ นา้ -ค่าไฟ 12,000 /4,000 3.00 รวม 130,000/4,000 32.50 จากข้อมูลต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ถ้าหากกิจการผลิตสินค้าจานวน 5000 หน่วย จะมี ตน้ ทนุ ผนั แปรรวม ดังน้ี หน่วยผลิต ต้นทนุ ผนั แปร รายการ ต่อหน่วย ต้นทนุ รวม (หนว่ ย) (บาท) วตั ถดุ ิบทางออ้ ม 5,000 13.50 67,500 คา่ แรงงานทางอ้อม 5,000 16.00 80,000 คา่ น้า-ค่าไฟ 5,000 3.00 15,000 รวม 32.50 162,500
7 - 6 การบัญชตี ้นทุน 2 สาหรับต้นทุนคงที่จะไม่เปลี่ยนแปลงตามระดับกิจกรรม ภายในช่วงที่เกี่ยวข้อง (Relevant Range) ดงั น้นั การเปรียบเทียบในระดับกิจกรรมเดียวกับที่ปฏิบัติงานจริงสามารถ แสดงรายงานการเปรยี บเทียบงบประมาณค่าใช้จา่ ยการผลติ กับผลการปฏบิ ัติงานจรงิ ของ บรษิ ัท ชยั อนนั ต์ จากัด ณ ระดับการผลติ 5000 หน่วย ไดด้ งั น้ี บรษิ ัท ชยั อนนั ต์ จากัด รายงานการเปรียบเทยี บงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ กับผลการปฏิบตั งิ านจรงิ สาหรับไตรมาสที่ 1 สนิ้ สดุ วันที่ 31 มนี าคม 25x1 หน่วย : บาท งบประมาณ ผลการดาเนนิ จริง ผลต่าง* ยืดหยนุ่ จานวนหน่วยผลิต (หนว่ ย) 5,000 5,000 ต้นทนุ ผนั แปร วตั ถุดบิ ทางออ้ ม 67,500 68,000 500 U แรงงานทางออ้ ม 80,000 72,000 8,000 F คา่ น้าค่าไฟ 15,000 17,000 2,000 U รวมต้นทนุ ผนั แปร 162,500 157,000 5,500 F ตน้ ทุนคงที่ ค่าเสื่อมราคโรงงาน 8,400 8400 -0- เงินเดอื นผจู้ ดั การโรงงาน 6,000 6000 -0- รวมต้นทนุ คงที่ 14,400 14400 -0- รวมต้นทนุ ท้งั ส้ิน 176,900 171,400 5,500 F *หมายเหตุ F หมายถงึ ผลตา่ งท่ีนา่ พอใจ U หมายถงึ ผลตา่ งทไ่ี มน่ ่าพอใจ จากการรายงานการเปรียบเทียบผลปฏิบัติงานจริงกับงบประมาณยืดหยุ่น ณ ระดับ การผลิตที่ 5,000 หน่วย จะเห็นได้ว่าค่าใช้จ่ายการผลิตของบริษัท ชัยอนันต์ จากัด นั้นเป็น ผลต่างที่น่าพอใจ (F) คือเท่ากับ 5,500 บาท ซ่ึงเม่ือพิจารณาจากผลการเปรียบเทียบใน ตัวอย่างท่ี 7.1 เม่ือเปรียบเทยี บงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตท่ี 4,000 หน่วยกับผลปฏิบัติงาน จริงที่ 5,000 หน่วย พบว่าผลตา่ งเปน็ ผลต่างท่ีไม่น่าพอใจ (U) เท่ากับ 27,000 บาท ซ่ึงจะเห็น ไดว้ ่าเม่ือทาการเปรียบเทยี บผลปฏบิ ัตงิ านจรงิ กบั งบประมาณท่ีระดับการผลิตท่ีเท่ากันจะทาให้
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หยนุ่ ตน้ ทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง 7 - 7 การเปรียบเทียบผลปฏิบัติงานมีความถูกต้องมากกว่าการเปรียบเทียบใน ระดับกิจกรรมท่ีมี ความแตกต่างกนั การจดั ทางบประมาณยืดหย่นุ งบประมาณยดื หยุน่ เปน็ งบประมาณท่จี ดั ทาขน้ึ โดยใชข้ ้อมลู จากงบประมาณคงที่เป็น ฐานเพื่อจัดทางบประมาณในระดับทีแ่ ตกต่างกัน โดยมขี ัน้ ตอนการจัดทาดังน้ี (ปรับปรุงจาก ธนภร เอกเผ่าพันธ์, 2554 และ ศศวิ ิมล มอี าพล, 2556) 1. วิเคราะห์และจาแนกประเภทต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายแต่ละรายการตามพฤติกรรม ต้นทุน โดยแบ่งเป็นต้นทุนคงท่ี ต้นทุนผันแปร หรือ ต้นทุนผสม ถ้าหากเป็นต้นทุนผสมให้ วิเคราะห์แยกต้นทุนผสมว่าเปน็ ต้นทุนผนั แปรต่อหน่วยเท่าใด และเป็นตน้ ทนุ คงที่เท่าใด ซ่ึงสาร มารถใช้วิธีการประมาณต้นทุนโดยตรง วิธีหาจุดสูงสุดและต่าสุด (High – Low Method) หรือ วธิ ีการทางสถติ ิ (Statistical Analysis Method) ช่วยในการวเิ คราะห์ต้นทุนดงั กลา่ ว 2. เลือกหน่วยวัดปริมาณงาน หรือฐานกิจกรรม (Activity Index) หรือระดับของ กิจกรรมท่ีต้องการคานวณ และช่วงของกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (Relevant Range) โดยฐาน กิจกรรมท่ีนามาคานวณนั้นต้องเป็นฐานกิจกรรมท่ีมีความสัมพันธ์กับต้นทุนแต่ละประเภทให้ มากที่สดุ ฐานกิจกรรม เช่น ปริมาณการผลิต ปริมาณการขาย จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรง จานวนช่วั โมงเคร่อื งจักร น้าหนักเป็นกิโลกรัม ระยะทางเป็นกโิ ลเมตร เปน็ ต้น 3. ต้นทุนที่มีพฤติกรรมเป็นต้นทุนผันแปรให้คานวณหาต้นทุนผันแปรต่อหน่วยและ ต้นทุนท่ีมีพฤติกรรมเป็นต้นทุนคงท่ีให้แสดงจานวนต้นทุนคงท่ีรวมของแต่ละรายการใน งบประมาณ ซ่งึ ต้นทนุ ผนั แปรต่อหน่วย สามารถคานวณไดด้ งั นี้ ตน้ ทนุ ผนั แปรตอ่ หน่วยตามงบประมาณ = ตน้ ทนุ ผนั แปรรวมของค่าใชจ้ า่ ยนน้ั ระดบั ของกิจกรรมตามงบประมาณคงที่ สว่ นต้นทุนคงที่ ถ้าระดับของกจิ กรรมอย่ใู นช่วงของกิจกรรมทเี่ ก่ยี วข้อง ตน้ ทุนคงทจี่ ะ ไม่เปล่ียนแปลง หรือเทา่ กบั ตน้ ทนุ ทีอ่ ยู่ในงบประมาณคงท่ี 4. จัดเตรียมข้อมูลสาหรบั จัดทางบประมาณยดื หยนุ่ สาหรับระดับกิจกรรมแต่ละระดับ ในชว่ งกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วข้องโดยการนาเสนองบประมาณยืดหยนุ่ ในระดับกิจกรรมต่างๆ นั้น การ ท่ีจะเลือกว่าจะใช้ระดับกิจกรรมใด ขึ้นอยู่กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดเตรียมงบประมาณ โดยเรียงลาดับจากระดับกิจกรรมน้อยท่ีสุดไปหาระดับกิจกรรมากท่ีสุดตามลาดับ ซึ่งระดับ กิจกรรมดังกลา่ วจะต้องอยูใ่ นชว่ งกจิ กรรมทเี่ กย่ี วข้องเทา่ นนั้ เช่น จดั ทางบประมาณยืดหยุ่น ณ
7 - 8 การบญั ชตี ้นทุน 2 ระดับปริมาณการผลิต 1,000 หน่วย 2,000 หน่วย และ 3,000 หน่วย โดยแยกต้นทุนใน งบประมาณเปน็ ผันแปรและคงท่ี ณ ระดบั การผลิตดงั กลา่ ว เป็นต้น เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจเกี่ยวกับการจัดทางบประมาณยืดหยุ่น จะอธิบายและแสดงการคานวณ ตน้ ทนุ แตล่ ะประเภทเพือ่ จัดทางบประมาณยืดหยุน่ ดงั แสดงในตัวอย่างที่ 7.3 ดังนี้ ตวั อยา่ งท่ี 7.3 ต่อไปนี้เป็นข้อมูลของบริษัท ฟ้าประทาน จากัด โดยหัวหน้าฝ่ายงบประมาณกาลัง เตรียมข้อมลู คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ เพ่อื จัดทางบประมาณคงที่สาหรับค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนก ผลิต เป็นข้อมูลสาหรับระยะยาว 1 ปี ระดับของกิจกรรมท่ีนามาใช้เป็นฐานคือ จานวนช่ัวโมง แรงงานทางตรงที่ 264,000 ชั่วโมงต่อปี (โดยช่วงกิจกรรมที่เก่ียวข้อง อยู่ระหว่าง 20,000 - 24,000 ชวั่ โมง) โดยมีข้อมูลค่าใช้จ่ายการผลิต ดังน้ี คา่ ใชก้ ารผลิตตอ่ ปี ประกอบด้วย 396,000 1) ต้นทนุ ผนั แปร (บาท) 528,000 158,400 วตั ถดุ ิบทางออ้ ม 184,800 ค่าแรงงานทางออ้ ม 1,267,200 คา่ สาธารณูปโภค คา่ บารงุ รกั ษาเครอื่ งจักร 240,000 720,000 รวม 940,000 2) ตน้ ทุนคงท่ี (บาท) ค่าเสอ่ื มราคาโรงงาน เงนิ เดอื นผจู้ ัดการโรงงาน รวม การจดั เตรยี มงบประมาณยดื หยนุ่ สามารถจัดเตรยี มตามขัน้ ตอน ไดด้ ังนี้ 1. วิเคราะห์และจาแนกประเภทต้นทุน จากข้อมูลข้างต้น บริษัทมีต้นทุนผันแปร 4 รายการ ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าบารุงรักษาเครื่องจักร และ ค่า สาธารณูปโภค ส่วนต้นทุนคงที่ มี 2 รายการ ไดแ้ ก่ คา่ เส่อื มราคาโรงงาน และเงินเดือนผจู้ ัดการ โรงงาน 2. เลอื กหน่วยวดั ปรมิ าณงาน หรอื ฐานกจิ กรรมและชว่ งกิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง โดยฐาน กิจกรรมในท่ีนี้ คือ จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรง และช่วงกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง อยู่ระหว่าง 20,000 - 24,000 ช่ัวโมงแรงงานทางตรงต่อเดอื น
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยุน่ ตน้ ทุนมาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลต่าง 7 - 9 3. คานวณตน้ ทุนผนั แปรตอ่ หนว่ ยและระบุต้นทุนคงที่ 3.1. คานวณต้นทุนผันแปรต่อหนว่ ย ในการคานวณต้นทุนผันแปรต่อหน่วยสาหรับแต่ละรายการน้ันจะนา ต้นทุนผันแปร รวมของแตล่ ะรายการหารด้วยจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงต่อปีที่ใช้เป็นฐานกิจกรรมในการ จดั ทางบประมาณคงท่ี คอื 264,000 ชว่ั โมงแรงงานทางตรง ต้นทุนผนั แปรต่อชวั ่ โมง ต้นทนุ ผนั แปร การคานวณ แรงงานทางตรง (บาท) วตั ถุดิบทางออ้ ม 396,000/264,000 1.5 คา่ แรงงานทางอ้อม 528,000/264,000 2.0 คา่ สาธารณูปโภค 158,400/264,000 0.6 ค่าบารุงรักษาเคร่อื งจักร 184,800/264,000 0.7 รวม 4.8 3.2. คานวณตน้ ทุนคงท่ี การจัดทางบประมาณยืดหย่นุ ผูบ้ รหิ ารควรแสดงรายละเอียดเป็นรายเดือน เพอ่ื ให้ ง่ายตอ่ การปฏิบัตงิ าน ดงั นั้น ต้นทุนคงที่ต่อเดือน จะคานวณไดด้ งั น้ี ต้นทนุ คงท่ี การคานวณ ต้นทนุ คงท่ีต่อเดือน (บาท) คา่ เส่อื มราคา-โรงงาน 240,000/12 20,000 เงนิ เดือนผ้จู ดั การ 720,000/12 60,000 4. จัดเตรยี มงบประมาณยดื หยุ่น โดยในการนาเสนอ ณ ระดับกิจกรรมต่างๆ ในช่วง กิจกรรมที่เก่ียวข้อง ซึ่งบริษัทมีการกาหนดระดับกิจกรรมที่เก่ียวข้องไว้ระหว่าง 20,000 – 24,000 ช่วั โมงแรงงานทางตรง ดังนัน้ สามารถจดั เตรยี มงบประมาณยืดหยุ่น ได้ดังนี้
7 - 10 การบัญชตี น้ ทุน 2 บริษทั ฟา้ ประทาน จากัด งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ยืดหยุน่ สาหรบั ระยะเวลา 1 เดอื น สิ้นสดุ วันที่ 31 มกราคม 25X5 หนว่ ย : บาท ระดับกจิ กรรม 20,000 21,000 22,000 23,000 24,000 (ช่วั โมงแรงงานทางตรง) ต้นทนุ ผันแปร : วัตถดุ ิบทางออ้ ม 1.5 30,000 31,500 33,000 34,500 36,000 คา่ แรงงานทางอ้อม 2.0 40,000 42,000 44,000 46,000 48,000 ค่าสาธารณูปโภค 0.6 12,000 12,600 13,200 13,800 14,400 ค่าบารงุ รกั ษา เครอื่ งจักร 0.7 14,000 14,700 15,400 16,100 16,800 รวม 4.8 96,000 100,800 105,600 110,400 115,200 ต้นทุนคงท่ี : คา่ เสื่อมราคา-โรงงาน 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 เงนิ เดอื นผูจ้ ดั การโรงงาน 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 รวม 80,000 80,000 80,000 80,000 80,000 ตน้ ทนุ รวม 176,000 180,800 185,600 190,400 195,200 จากงบประมาณยืดหยุ่นขา้ งตน้ สามารถแสดงการคานวณต้นทนุ รวม ไดด้ งั นี้ ต้นทุนรวมตามงบประมาณ = ตน้ ทนุ คงทรี่ วมตามงบประมาณ + ตน้ ทนุ ผนั แปรรวมตามงบประมาณ โดยที่ ตน้ ทุนผันแปรตามงบประมาณ สามารถคานวณได้ดังน้ี ต้นทนุ ผันแปรรวมตามงบประมาณ = ต้นทุนผนั แปรตอ่ หนว่ ย x ระดับของกิจกรรม เมื่ อผ ลปฏิบั ติง าน จริ งเ กิด ขึ้น แล้ วก็ จะ นา เอ าค่ าใ ช้จ่ าย กา รผ ลิต จริ งท่ี เกิ ดข้ึ น ไ ป เปรยี บเทียบกับงบประมาณยืดหยุ่นที่ได้ทาไว้ล่วงหน้า เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผล การปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง
บทท่ี 7 งบประมาณยืดหย่นุ ตน้ ทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลตา่ ง 7 - 11 ตวั อยา่ งท่ี 7.4 จากข้อมูลงบประมาณยืดหยุ่น ของบริษัท ฟ้าประทาน จากัด ตามตัวอย่างท่ี 7.3 ผู้จัดการฝ่ายการผลิตมีการจัดทางบประมาณหลักของปี 25X5 ณ ระดับการผลิตที่ 21,000 ชั่วโมงไวต้ ง้ั แต่เมื่อปี 25X4 สมมตใิ ห้แผนกผลติ มีการใชช้ ว่ั โมงแรงงานทางตรงจริงของปี 25X5 เท่ากับ 23,000 ชั่วโมง โดยมีค่าใช้จ่ายการผลิตจริง ดังแสดงในรายการดังต่อไปน้ี ผู้บริหาร ต้องการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริงกับงบประมาณยืดหยุ่น ณ ระดับกิจกรรม หรือ จานวนชวั่ โมงแรงงานทางตรงที่ระดับการผลติ ท่ีเหมาะสม เพ่ือนาไปประเมินผลการปฏิบัติงาน ของแผนผลิต ดังน้ัน จากข้อมลู งบประมาณยืดหยุ่นหัวหน้าฝ่ายงบประมาณได้จัดทาไว้ (ตามตัวอย่างที่ 7.3) ท่ีสามารถแสดงการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริงกับค่าใช้จ่ายการผลิต ณ ระดับ 23,000 ชวั่ โมง ได้ดังน้ี บริษทั ฟ้าประทาน จากดั รายงานการเปรียบเทยี บงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยการผลิตกบั ผลปฏิบตั งิ านจรงิ สาหรบั ระยะเวลา 1 เดือน สิน้ สดุ วนั ที่ 31 มกราคม 25X5 งบประมาณ ผลการ ผลต่าง ยืดหย่นุ ปฏิบตั ิงานจริง จานวนช่วั โมงแรงงานทางตรง ตน้ ทนุ ผันแปร : 23,000 ชวั่ โมง 23,000 ช่ัวโมง วัตถดุ บิ ทางอ้อม ค่าแรงงานทางออ้ ม 34,500 37,000 2,500 U ค่าสาธารณูปโภค 46,000 48,000 2,000 U ค่าบารงุ รักษา 13,800 12,000 1,800 F เครื่องจักร 16,100 15,000 1,100 F รวม 110,400 112,000 1,600 U ตน้ ทุนคงที่ : 20,000 20,000 0 ค่าเสื่อมราคา-โรงงาน 60,000 60,000 0 เงนิ เดอื นผจู้ ดั การโรงงาน 80,000 80,000 0 รวม 190,400 192000 1,600 U ต้นทนุ รวม
7 - 12 การบัญชตี น้ ทนุ 2 จากขอ้ มลู รายงานการเปรยี บเทยี บงบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตกบั ผลการปฏิบัตงิ าน จริง จะพบวา่ ในด้านการควบคมุ การผลติ น้นั ในงบประมาณหลักประมาณช่ัวโมงแรงงานทางตรง เท่ากับ 21,000 ชั่วโมง แต่ผลการปฏิบัติงานจริงใช้ช่ัวโมงแรงงานทางตรงเท่ากับ 23,000 ช่ัวโมง ซึ่งแสดงถงึ ผลต่างที่ไม่น่าพอใจด้านการผลิต จานวน 2,000 ชั่วโมงแรงงานทางตรง เน่ืองจากแผนกผลิตประมาณการว่าจะมีการใช้จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงเท่ากับ 21000 ช่วั โมง แตช่ ว่ั โมงการทางานจริงเท่ากับ 23,000 ชั่วโมง ส่วนผลต่างของต้นทุนรวม ที่มีผลต่างเท่ากับ 1,600 บาท เป็นผลต่างไม่น่าพอใจ ในทางปฏบิ ตั ิ ผู้บริหารต้องวเิ คราะห์เพ่อื หาสาเหตุของความแตกต่างน้ันต่อไป ซ่ึงอาจเกิดจาก ผลตา่ งด้านปริมาณการใชว้ ตั ถุดิบ หรอื ผลตา่ งดา้ นราคาของวัตถุดิบ หรือเป็นเพราะการทางาน ไม่มีประสิทธิภาพ หรือ อาจเกิดจากปัจจัยภายนอกอ่ืนๆ ที่กิจการไม่สามารถควบคุมได้ ประเดน็ สาเหตอุ าจเกิดจากสาเหตุได้หลากหลายสาเหตุ ซึ่งจะกล่าวในหวั ข้อถัดไป ความหมายของต้นทนุ มาตรฐาน ต้นทุนมาตรฐาน (Standard Costs) หมายถึง ต้นทุนท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้าอย่างมี หลักเกณฑ์ โดยอยู่ภายใต้การผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ และจะใช้ต้นทุนมาตรฐานน้ีคิดเข้ากับ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ปกติจะบันทึกไว้ในสมุดบัญชีเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการบันทึก ตน้ ทุนการผลติ คานวณต้นทุนของคงเหลือและวัดผลปฏิบัติงานในงวดหนึ่งๆ ตลอดจนใช้เป็น เครอื่ งมอื ในการวางแผนควบคุม และตัดสินใจในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดาเนินงาน (ดวง มณี โกมารทตั , 2559 : 392) นอกจากน้ี ไพบูลย์ ผจงวงศ์ (2554 : 122) ได้เพิ่มเติมความหมายของต้นทุน มาตรฐานในประเด็นของ ต้นทุนมาตรฐานเป็นต้นทุนที่ถูกกาหนดขึ้นมาสาหรับการผลิตสินค้า หรือเป็นการกาหนดตน้ ทุนตอ่ 1 หน่งึ หน่วยผลิตภัณฑ์ การคานวณตน้ ทุนมาตรฐานน้ันตอนสิ้น งวดก็จะมีการเปรียบเทียบระหว่างต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐาน เพื่อหาผลต่างรายงานต่อ ผู้บริหารเพ่ือหาผู้รับผดิ ชอบและปรบั ปรงุ ความไม่มปี ระสิทธิภาพในการทางานให้ดีขึ้น ดังน้ัน ต้นทุนมาตรฐาน หมายถึง ต้นทุนท่ีถูกกาหนดไว้ล่วงหน้าอย่างมีหลักเกณฑ์ ภายใตก้ ารผลิตทม่ี ปี ระสิทธิภาพ การกาหนดต้นทุนจะเป็นการกาหนดมาตรฐานสาหรบั การผลติ สินคา้ สาเร็จรูปต่อ 1 หน่วย สามารถนาข้อมูลต้นทุนมาตรฐานไปเปรียบเทียบกับต้นทุนจริงท่ี เกิดขน้ึ เพอ่ื หาผลตา่ ง และวิเคราะหห์ าสาเหตุ เพื่อใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ในการวัดและประเมินผลการ ปฏบิ ัติงาน รวมถงึ ใชใ้ นการวางแผน ควบคมุ และตดั สนิ ใจในปญั หาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดาเนนิ งาน
บทท่ี 7 งบประมาณยืดหยุ่น ต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลตา่ ง 7 - 13 การกาหนดต้นทุนมาตรฐาน การนาต้นทนุ มาตรฐานเพอื่ ใชเ้ ป็นเครื่องมอื ในการประเมินผลการดาเนินงานน้ัน การ กาหนดต้นทุนมาตรฐานสาหรับผลิตภัณฑ์ต่อหน่ึงหน่วย จาเป็นต้องกาหนดต้นทุนการผลิตที่ เกี่ยวข้องทุกรายการท่ีอยู่ในกระบวนการผลิตทั้งหมด ได้ แก่ ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใชจ้ ่ายการผลติ ซึง่ การกาหนดต้นทุนมาตรฐาน อาจต้องให้บุคคลที่ เกี่ยวขอ้ งหลายฝ่ายมาชว่ ย และต้องใช้ความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์โดยตรงเกี่ยวกับ เรอื่ งนน้ั ๆ เช่น หวั หน้าหรอื ผู้จัดการฝ่ายผลติ จะเป็นท่ีมีความเชี่ยวชาญในกระบวนการผลิต จะ สามารถกาหนดจานวนชั่วโมงที่ใช้ในการผลิตสินค้าได้ หัวหน้าฝ่ายจัดซื้อ เป็นผู้ท่ีมีความ ชานาญในการหาแหลง่ วัตถุดิบในราคาท่ีเหมาะสม สามารถกาหนดราคาวัตถดุ บิ มาตรฐานได้ว่า ต้นทุนวัตถดุ บิ มาตรฐานจะเทา่ กบั เทา่ ใด เป็นต้น ดังนน้ั กรกาหนดต้นทนุ มาตรฐานจะเก่ียวข้อง ทัง้ ราคามาตรฐาน (Standard Price) และปริมาณท่ีใช้มาตรฐาน (Standard Quantity) ซึ่ง แต่ละรายการสามารถแสดงรายละเอยี ด ได้ดงั นี้ 1. วตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐาน การกาหนดต้นทุนวัตถุดิบทางตรง มาตรฐาน (Direct Material Standards) สามารถ แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ การกาหนดราคาวัตถุดิบทางตรงมาตรฐาน และการกาหนด ปรมิ าณการใชว้ ตั ถุดิบทางตรงมาตรฐาน ซ่งึ แตล่ ะลกั ษณะสามารถอธบิ าย ได้ดังน้ี 1.1. ราคาวตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐาน ราคาวัตถุดิบทางตรงมาตรฐาน (Direct Material Price Standard) หมายถึง ราคา ซ้ือสุทธิหรือต้นทุนต่อหน่วยของวัตถุดิบทางตรง ซึ่งเกณฑ์ในการกาหนดราคามาตรฐานของ วัตถุดิบทางตรง จะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ราคาตลาด ราคาท่ีเคยซื้อในอดีต สภาพ เศรษฐกจิ จานวนผขู้ าย จานวนวตั ถุดิบท่ีมใี นท้องตลาด คู่แข่ง เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการ กาหนดราคามาตรฐานของวัตถุดิบทางตรงน้ันจะประกอบด้วยต้นทุนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ จัดหาและเก็บรักษาวัตถุดิบทางตรงรวมเข้าไปด้วย เช่น ค่าขนส่งเม่ือซ้ือหรือค่าขนส่งเข้า ค่าใชจ้ ่ายในการเก็บรกั ษาวัตถุดิบ คา่ ใชจ้ ่ายในการตรวจรบั ของ เปน็ ตน้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจเก่ียวกบั ต้นทุนวัตถดุ บิ มาตรฐาน จึงขอยกตวั อย่างเพ่อื แสดงการคานวณ ต้นทนุ วตั ถดุ บิ มาตรฐาน ดงั แสดงในตวั อย่างที่ 7.5 ตวั อยา่ งท่ี 7.5 บรษิ ทั รกั ษ์ไทย จากัด เป็นบริษัทผลิตและจาหน่ายกระเป๋าผ้าพ้ืนเมือง โดยมีข้อมูล เก่ียวกับผ้าพ้ืนเมือง ดังนี้ บริษัทซ้ือผ้าจานวน 150 เมตร กระเป๋าหนึ่งใบใช้ผ้าในการผลิต จานวน 1.5 เมตร (ซ่ึงผ้า 150 เมตรนามาผลิตกระเป๋าได้ 100 ใบ)โดยบริษัทซื้อผ้าราคารวม
7 - 14 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 ทั้งส้ิน 7,500 บาท ค่าขนส่งเม่ือซ้ือ 5 บาทต่อเมตร และมีต้นทุนในการเก็บรักษา 10 บาทต่อ เมตร ดงั นนั้ ตน้ ทุนวัตถดุ บิ ทางตรงมาตรฐานต่อหน่วย สามารถคานวณไดด้ งั นี้ รายการ ราคา ราคาซอื้ สุทธิ (หลงั หกั สว่ นลดตา่ งๆ แล้ว) 50 บาทต่อเมตร ตน้ ทุนคา่ ขนสง่ เมอ่ื ซ้อื 5 บาทตอ่ เมตร ตน้ ทุนในการเกบ็ รกั ษา 10 บาทต่อเมตร ราคามาตรฐานตอ่ หน่วยของวตั ถุดิบทางตรง 60 บาทตอ่ เมตร 1.2.ปริมาณการใช้วตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐาน ปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials Quantity Standard) หมายถึง การ กาหนดปริมาณท่ีควรจะใช้ของวัตถดุ ิบทางตรงสาหรับการผลติ สนิ คา้ หนึ่งหนว่ ยภายใต้การผลิต อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยปริมาณมาตรฐานของวัตถดุ บิ ทางตรงนัน้ จะแสดงอยู่ในรูปของหน่วย วัด เชน่ เมตร ชิน้ กิโลกรัม เป็นต้น ซง่ึ การกาหนดปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรงมาตรฐาน นอกจากจะพิจารณาด้วยปริมาณแล้ว ควรพิจารณาด้านคุณภาพของวัตถุดิบทางตรง ประกอบการกาหนดปริมาณมาตรฐานดว้ ย นอกจากนีก้ ารกาหนดมาตรฐานสาหรับปริมาณการ ใชค้ วรจะคานงึ ถึงการสารองเผอ่ื การเสียหายรว่ มด้วย เพ่ือให้เข้าใจเกี่ยวกับการกาหนดปริมาณมาตรฐานต่อหน่วยของวัตถุดิบทางตรงจะ แสดงการคานวณ ดังแสดงในตัวอย่างที่ 7.6 ตวั อย่างท่ี 7.6 จากตวั อย่างที่ 7.5 สมมตบิ รษิ ัท รักษ์ไทย จากัด แสดงการกาหนดปริมาณมาตรฐาน ของวตั ถดุ บิ ทางตรงสาหรับการผลิตกระเป๋าหนึ่งหน่วย จานวนหน่วย (เมตร) รายการ 1.2 วัตถดุ บิ ทางตรงทตี่ อ้ งการใช้ การสารองเผ่อื การเสยี หาย 0.3 ปริมาณวตั ถดุ บิ ทางตรงมาตรฐาน 1.5 เม่ือกาหนดราคาวัตถุดิบทางตรงมาตรฐานต่อหน่วยและปริมาณวัตถุดิบทางตรง มาตรฐานต่อหนว่ ยผลิตแลว้ จะนามาใช้ในการคานวณต้นทุนวัตถุดิบทางตรงมาตรฐานต่อการ ผลิตสินค้าหนึ่งหน่วยผลิต (Direct Materials Standard Cost per Unit) ซ่ึงสามารถคานวณ ได้ดงั น้ี
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยนุ่ ตน้ ทนุ มาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง 7 - 15 ตน้ ทุนวัตถุดิบทางตรงมาตรฐานต่อหนึ่งหน่วยผลิต = ราคาวตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐานต่อหน่วย ปริมาณการใช้วตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐาน ต่อหน่งึ หน่วยผลิต จากขอ้ มลู ราคาวตั ถดุ บิ ทางตรงมาตรฐานตัวอย่างท่ี 7.5 และปริมาณการใช้วัตถุดิบ ทางตรงมาตรฐาน ตามตัวอย่างท่ี 7.6 ทาให้สามารถกาหนดต้นทุนวัตถุดิบทางตรงมาตรฐาน ต่อหนึ่งหน่วยของกระเป๋า ได้ดงั นี้ ราคาวัตถุดบิ ทางตรงมาตรฐาน 60 บาทตอ่ เมตร ปริมาณการใชว้ ตั ถดุ ิบทางตรงมาตรฐาน 1.5 เมตรต่อใบ ตน้ ทนุ วัตถดุ บิ ทางตรงมาตรฐาน 90 บาทต่อใบ 2. ค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน การกาหนดค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ การ กาหนดอัตราค่าแรงทางตรงมาตรฐาน และจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน ซ่ึงแต่ละ ลกั ษณะ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดไดด้ งั นี้ 2.1. อตั ราค่าแรงทางตรงมาตรฐาน การกาหนดอัตราค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน ( Direct Labor Price Standard) คือ การกาหนดอัตราค่าแรงงานทางตรงมาตรฐานต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง ซึ่งจะคานึงถึงปัจจัย หลาย ๆ ดา้ น เช่น อตั ราค่าแรงในตลาด อัตราคา่ แรงข้ันต่าท่ีถูกกาหนดโดยรัฐบาล หรือกลุ่ม ของสหภาพ และสภาพเศรษฐกิจ เปน็ ต้น ซ่งึ โดยปกติตอ้ งรวมผลประโยชน์และสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ รวมทงั้ ภาษีทเ่ี ก่ยี วขอ้ งด้วยในอัตราคา่ แรงงานทางตรงมาตรฐาน เพื่อให้เข้าใจเกย่ี วกับการกาหนดอตั ราคา่ แรงทางตรงมาตรฐาน จะแสดงการคานวณ ดงั ตวั อย่างท่ี 7.7
7 - 16 การบัญชตี ้นทนุ 2 ตวั อย่างที่ 7.7 บรษิ ัท รักษไ์ ทย จากดั ได้จ่ายคา่ แรงงานให้กบั พนกั งานตามอัตราค่าแรงขน้ั ต่า คือ เท่ากับ 310 บาทต่อวัน โดยคนงานทางาน 8 ชั่วโมงต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทมีการจ่ายค่า สวัสดิการค่ารถประจาทางให้กับพนักงานคนละ 10 บาท ดังน้ัน บริษัทสามารถกาหนดอัตรา คา่ แรงงานทางตรงมาตรฐานตอ่ ช่วั โมง ไดด้ งั น้ี รายการ อตั ราค่าแรง (บาท) อตั ราคา่ แรงข้ันตา่ (310 บาท/8 ชั่วโมง) 38.75 สวสั ดกิ ารต่าง ๆ (10 บาท/8 ชั่วโมง) 1.25 อัตราค่าแรงมาตรฐานตอ่ ช่ัวโมง 40.00 2.2 จานวนชวั่ โมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน (Direct Labor Efficiency Standard) เป็นการ กาหนดจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงท่คี วรจะใช้ในการผลิตสินค้าหนึ่งหน่วย ซึ่งควรคานึงถึง ปัจจัยอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับแรงงานทางตรงด้วย เช่น เวลาในการเตรียมความพร้อมของ เครือ่ งจักร สารองเวลาเมื่อเครื่องจกั รมกี ารซ่อมบารุง เปน็ ต้น เพื่อให้เข้าใจเก่ียวกับการกาหนดจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน สามารถ แสดงการคานวณจานวนชว่ั โมงแรงงานมาตรฐาน ดงั แสดงในตัวอยา่ งที่ 7.8 ตวั อยา่ งที่ 7.8 จากขอ้ มูลตามตวั อย่างที่ 7.7 บรษิ ทั รกั ษ์ไทย จากัด มกี ารกาหนดจานวนช่ัวโมง แรงงานทางตรงทใ่ี ชใ้ นการผลิตสินค้าหน่งึ หนว่ ย แสดงการกาหนดจานวนชั่วโมงมาตรฐานของ แรงงานทางตรงตอ่ หนึ่งหน่วยผลติ รายการ จานวนชวั่ โมง (ช่วั โมง) ช่วั โมงแรงงานทางตรงที่ใช้ในการผลติ 1.5 สารองเวลาในการเตรียมเคร่ืองจกั ร 0.2 สารองเวลาอนื่ ๆ 0.1 จานวนชัว่ โมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน 1.8 เมื่อสามารถกาหนดอตั ราคา่ แรงงานทางตรงมาตรฐานต่อชั่วโมง และจานวนช่ัวโมง แรงงานทางตรงมาตรฐานต่อหน่วยแล้ว จะนามาใช้ในการคานวณต้นทุนแรงงานทางตรง มาตรฐานต่อหน่งึ หน่วย (of Direct Labor Standard Cost per Unit) ดังน้ี ต้นทุนแรงงานทางตรงมาตรฐานต่อหนึ่งหนว่ ย = อัตราคา่ แรงมาตรฐานตอ่ ช่วั โมง จานวนชว่ั โมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน
บทที่ 7 งบประมาณยดื หย่นุ ตน้ ทนุ มาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลตา่ ง 7 - 17 จากข้อมูลในตวั อย่างท่ี 7.7 และ 7.8 ซึ่งแสดงการกาหนดอัตราค่าแรงมาตรฐานต่อ ช่ัวโมงและจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงมาตรฐานต่อหน่ึงหน่วย จะสามารถแสดงต้นทุน แรงงานทางตรงมาตรฐานตอ่ หน่วยของบรษิ ทั รกั ษ์ไทย จากดั ได้ดังน้ี อัตราค่าแรงมาตรฐานต่อชัว่ โมง 40 บาทตอ่ ชัว่ โมง จานวนชว่ั โมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน 1.8 ชั่วโมงตอ่ หน่วย ต้นทุนค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน 72 บาทต่อใบ 3. ค่าใช้จา่ ยการผลิตมาตรฐาน การกาหนดคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตมาตรฐาน จะเกิดจากการประมาณค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ท่ี คาดว่าจะเกิดขึ้นในงวดหน้า โดยการประมาณค่าต้นทุนสามารถใช้วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนมา ช่วยในการประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต ซึ่งค่าใช้จ่ายการผลิต จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ต้นทุนผันแปร และต้นทุนคงท่ี หรือไดจ้ ากข้อมลู ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ จากงบประมาณยืดหยุ่นที่ได้ ทาไว้ ณ ระดบั กิจกรรมตา่ งๆ หลงั จากทปี่ ระมาณค่าใช้จ่ายการผลติ ทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้นึ ไดแ้ ล้ว ข้ันต่อไปจะใช้อัตรา คา่ ใช้จา่ ยกาคอื เลือกระดับของกจิ การทค่ี าดว่าจะผลิตในงวดหน้า หรอื อาจใชก้ าลังการผลิตปกติ ก็ได้ เพื่อมากาหนดค่าใช้จ่ายการผลิตมาตรฐาน หรือเรียกว่า อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร (Manufacturing Overhead Application Rate) หรือ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ล่วงหน้า (Predetermined Manufacturing Overhead Standard Rate) โดยคานวณจาก ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมตามงบประมาณ หารด้วยจานวนของกิจกรรม (Activity Base) ที่ เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายการผลิตนั้น ซึ่งฐานกิจกรรมที่จะนามาใช้เป็นฐานในการคานวณอัตรา ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ต้องเป็นฐานกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายการผลิตให้มาก ท่ีสดุ เช่น จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรง จานวนช่ัวโมงเคร่อื งจกั ร จานวนหนว่ ยสินคา้ ท่ีผลิต เป็นตน้ ซ่ึงฐานกิจกรรมท่ีจะนามาใช้ในการคานวณอาจใช้เพียงฐานกิจกรรมเดียว หรือใช้ฐาน กิจกรรมมากกว่าหนึง่ ฐานมาใชใ้ นการคานวณกไ็ ด้ ขึ้นอยู่กับว่าบริษัทมีนโยบายในการกาหนด อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตโดยใช้วิธีใด บริษัทอาจใช้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตแบบอัตราเดียวทั้ง โรงงาน หรอื ใช้อตั ราค่าใช้จ่ายการผลิตแยกแต่ละแผนก หรือใช้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตโดยใช้ ระบบต้นทุนตามฐานกจิ กรรม ก็ได้ ดังอธบิ ายรายละเอียดในบทท่ี 5 แล้ว ดังนั้น กล่าวโดยสรุป อตั ราคา่ ใช้จ่ายการผลติ จดั สรร สามารถคานวณได้ดงั นี้ อัตราค่าใชจ้ ่ายการผลติ จัดสรร = คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตรวมตามงบประมาณ จานวนฐานกจิ กรรม
7 - 18 การบัญชตี น้ ทนุ 2 หรอื อตั ราค่าใช้จา่ ยการผลติ จดั สรร = คา่ ใช้จ่ายการผลติ รวมตามงบประมาณ เกณฑ์ทีใ่ ชใ้ นการจัดสรร และ นาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ไปคานวณหาค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ซ่ึง สามารถแสดงการคานวณได้ดงั น้ี คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ จดั สรร = อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร x ระดบั ของกจิ กรรมทใ่ี ช้ในการผลิตสนิ ค้า 1 หน่วย เพ่อื ให้เข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ เก่ียวกับการกาหนดคา่ ใช้จ่ายการผลิตมาตรฐาน จะแสดงการ คานวณดังแสดงในตัวอยา่ งท่ี 7.9 ตวั อย่างท่ี 7.9 สมมติบริษัท รักษ์ไทย จากัด ใช้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรในการประมาณ คา่ ใช้จา่ ยการผลติ โดยใชช้ ว่ั โมงแรงงานทางตรงเป็นฐานกิจกรรมในการคานวณอตั ราค่าใชจ้ ่าย การผลิต โดยบริษัทคาดว่าในปีหน้าจะผลิตกระเป๋าจานวน 20,000 ใบ ซ่ึงจากการกาหนด จานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรงมาตรฐานต่อหน่ึงหน่วยผลิตเท่ากับ 1.8 ชั่วโมง ดังนั้นจานวน ช่ัวโมงมาตรฐานของแรงงานทางตรงรวม สาหรับปีหน้าคาดว่าเท่ากับ 36,000 ช่ัวโมง (20,000 หน่วย × 1.8 ช่ัวโมง) นอกจากน้ีค่าใช้จ่ายการผลิตรวมตามงบประมาณปีหน้า ประมาณการเท่ากับ 720,000 บาท โดยจาแนกเป็นต้นทุนคงที่ได้เท่ากับ 288,000 บาท และต้นทนุ ผันแปรได้เทา่ กับ 432,000 บาท โดยอตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ จัดสรร สามารถแสดง การคานวณ ไดด้ ังน้ี จานวนชว่ั โมง อตั ราค่าใช้จา่ ย ต้นทนุ ตาม แรงงานทางตรง การผลิตต่อชั่วโมง แรงงานทางตรง งบประมาณ ตามมาตรฐาน (บาท) ค่าใชจ้ า่ ย (บาท) (ช่ัวโมง) (2) (1)/(2) การผลติ (1) ผนั แปร 432,000 36,000 12 คงที่ 288,000 36,000 8 รวม 720,000 20
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หยุ่น ต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง 7 - 19 โดยค่าใชจ้ า่ ยการผลิตมาตรฐานตอ่ หนง่ึ หนว่ ยผลิต จะคานวณโดยนาอัตราค่าใช้จ่าย การผลิตจัดสรร คูณด้วยจานวนฐานกิจกรรมตามมาตรฐาน ซ่ึงสามารถสรุปการคานวณ ค่าใช้จ่ายมาตรฐานต่อหนึง่ หน่วยผลติ ไดด้ ังนี้ คา่ ใช้จา่ ยการผลติ มาตรฐานต่อหนึง่ หน่วย = อัตราค่าใชจ้ ่ายการผลติ จัดสรร ปริมาณฐานกจิ กรรมตามมาตรฐาน ดงั นั้นจากข้อมูลของบรษิ ัท รกั ษ์ไทย จากดั สามารถนามาคานวณค่าใชจ้ ่ายการผลิต มาตรฐานของตอ่ หน่ึงหนว่ ย ไดด้ งั น้ี คา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ผันแปรมาตรฐาน = 12 บาท x 1.8 ช่วั โมง = 21.60 บาทต่อหนว่ ย คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ คงท่มี าตรฐาน = 8 บาท x 1.8 ชั่วโมง = 14.40 บาทตอ่ หนว่ ย ค่าใชจ้ า่ ยการผลิตรวมมาตรฐาน = 20 บาท x 1.8 ชว่ั โมง = 36 บาทตอ่ หน่วย ตวั อย่างที่ 7.10 จากข้อมูลต้นทุนมาตรฐานของบริษัท รักษ์ไทย จากัด สาหรับการผลิตกระเป๋าผ้า พ้นื เมืองหนงึ่ ใบ สามารถคานวณต้นทุนการผลิตมาตรฐาน ได้ดงั นี้ วตั ถุดบิ ทางตรงมาตรฐาน 90 บาทตอ่ หน่วย ค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน 72 บาทต่อหน่วย ค่าใช้จา่ ยการผลิตมาตรฐาน 36 บาทต่อหนว่ ย รวม 198 บาทตอ่ หน่วย
7 - 20 การบญั ชตี น้ ทนุ 2 จากขอ้ มลู ต้นทุนมาตรฐาน สามารถสรปุ ตน้ ทนุ มาตรฐาน ได้เปน็ 3 ลักษณะ ดงั แสดงใน ภาพที่ 7.1 ดงั นี้ ต้นทุนการผลติ มาตรฐาน วตั ถุดิบทางตรง คา่ แรงงานทางตรง คา่ ใช้จ่ายการผลติ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน ราคาวตั ถุดิบ ปริมาณการใช้ อัตราคา่ แรง จานวนชั่วโมง แรงงานทางตรง อัตราคา่ ใชจ้ า่ ย ระดบั กิจกรรม การผลิตจดั สรร ภาพท่ี 7.1 การกาหนดตน้ ทนุ การผลติ มาตรฐาน การวิเคราะหผ์ ลต่าง การดาเนินงานของธรุ กจิ จะดาเนนิ งานไปอยา่ งตอ่ เน่ืองจนกระทง่ั ถงึ ส้นิ รอบระยะเวลา บัญชี และกิจการจะทราบต้นทุนท่ีเกิดข้ึนจริง หลังจากนั้น กิจการจะทาการวิเคราะห์ข้อมูล ต้นทุนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และทาการควบคุม โดยเปรียบเทียบข้อมูลต้นทุนจริงกับต้นทุน มาตรฐานที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ ฝ่ายผลิตทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพหรือไม่ ฝ่ายจัดซื้อมีการซื้อวัตถุดิบในราคาที่กาหนด หรือไม่ แตถ่ า้ หากเมอื่ เปรียบเทียบตน้ ทนุ จรงิ ทีเ่ กดิ ขึน้ กับต้นทุนมาตรฐานแลว้ เห็นว่าไม่เปน็ ไป ตามแผนท่ีกาหนดไว้ อาจจะมากหรือน้อยกว่าต้นทุนมาตรฐาน ให้วิเคราะห์และหาสาเหตุว่า เป็นเพราะอะไร เพ่ือทาการปรับปรุงและแก้ไขในประเด็นปัญหาท่ีเก่ียวข้อง การเปรียบเทียบ ตน้ ทนุ ทเ่ี กิดขึ้นจริงกับต้นทุนมาตรฐาน เรียกว่า ผลต่าง (Variance) ซ่ึงผลต่างน้ีสามารถแบ่ง ได้เป็น 2 ประเภท คือ ผลต่างที่น่าพอใจ (Favorable Variance) และผลต่างท่ีไม่น่าพอใจ (Unfavorable Variance) นั่นคือ ถ้าต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงน้อยกว่าต้นทุนมาตรฐาน จะถือว่าเป็น
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หยนุ่ ตน้ ทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง 7 - 21 ผลต่างท่นี า่ พอใจ แตถ่ ้าในกรณีตรงกันข้าม ต้นทนุ ที่เกดิ ขึน้ จริงมากกวา่ ต้นทุนมาตรฐาน จะถือ ว่าเปน็ ผลตา่ งท่ีไมน่ า่ พอใจ โดยกิจการตอ้ งมาทาการวเิ คราะหผ์ ลต่าง ต่อไปวา่ ผลต่างท้งั สองกรณี ดังกล่าวเกดิ จากสาเหตใุ ด เน่ืองจากการวิเคราะห์ผลต่าง (Variance Analysis) เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง ต้นทุนจริงกับต้นทุนมาตรฐาน ซ่ึงมีต้นทุนมาตรฐานของวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต ดังนั้น การวิเคราะห์ผลต่างจึงสามารถแยกได้เช่นเดียวกับการกาหนด ต้นทุนมาตรฐาน คือ ผลต่างวัตถุดิบทางตรง ผลต่างค่าแรงงานทางตรง และผลต่างค่าใช้จ่าย การผลติ ผลต่างแต่ละประเภทก็เกิดจากสาเหตุทแี่ ตกตา่ งกนั ดังจะอธบิ ายรายละเอียดในหัวข้อ ถดั ไป เพ่ือให้เข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลต่างมากขึ้น จะขอยกตัวอย่างเพื่ออธิบายและ แสดงการคานวณผลต่าง ดงั แสดงในตัวอย่างท่ี 7.11 ตวั อยา่ งที่ 7.11 จากข้อมูลต้นทุนมาตรฐานของบริษัท รักษ์ไทย จากัด ต้นทุนการผลิตมาตรฐาน สาหรับการผลิตกระเป๋าผ้าพื้นเมือง เท่ากับ 198 บาทต่อใบ ถ้าในปีที่ผ่านมาบริษัทมีการผลิต กระเป๋า18,000 ใบ มีต้นทุนการผลิตจริงรวมท้ังส้ิน 3,816,000 บาท ผู้บริหารต้องการ เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริงกับต้นทุนมาตรฐาน เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนและ ควบคมุ ต่อไป จากข้อมูลต้นทุนมาตรฐานต่อหนว่ ยทคี่ านวณได้จากตัวอยา่ งที่ 7.10 จะสามารถนามา คานวณต้นทนุ การผลติ มาตรฐานรวม ณ ระดับการผลิตจรงิ ไดด้ งั น้ี ตน้ ทุนมาตรฐานตอ่ ต้นทนุ มาตรฐานรวม หนว่ ย (บาทต่อหน่วย) (บาท) ปริมาณการผลติ จริง 18,000 ใบ วัตถุดบิ ทางตรงมาตรฐาน 90 1,620,000 คา่ แรงงานทางตรงมาตรฐาน 72 1,296,000 ค่าใช้จา่ ยการผลิตมาตรฐาน 36 648,000 198 3,564,000 ดังนน้ั ผลต่างของตน้ ทุนการผลติ จะคานวณไดด้ ังนี้ ผลต่างต้นทนุ การผลิตรวม = ตน้ ทนุ การผลติ ทเ่ี กิดข้นึ จรงิ – ต้นทุนการผลติ มาตรฐาน = 3,816,000 - 3,564,000 = 252,000 บาท (เป็นผลตา่ งไม่นา่ พอใจ)
7 - 22 การบัญชตี ้นทุน 2 จากข้อมูลข้างต้น บริษัทมีผลต่างรวม เท่ากับ 252,000 บาท ซึ่งเป็นผลต่างที่ไม่น่า พอใจ เพราะต้นทุนการผลิตจริงที่เกิดข้ึนสูงกว่าท่ีกาหนดต้นทุนการผลิตมาตรฐานไว้ ซ่ึง ผ้บู ริหารตอ้ งมาทาการวิเคราะหต์ อ่ ไปว่า ผลต่างดังกลา่ วเกิดจากสาเหตุใด ซึ่งการเกิดผลต่างท่ี ไม่น่าพอใจ อาจเปน็ เพราะมตี น้ ทนุ การผลิตรายการใดรายการหนึ่ง หรือหลายรายการท่ีกิจการ จ่ายสูงกวา่ ทม่ี าตรฐานกาหนด หรือการนาวัตถดุ บิ ทางตรงท่ีไม่มีคณุ ภาพมาใช้ในการผลิต หรือ เป็นเพราะการกาหนดมาตรฐานสูงหรือต่าเกินไป หรืออาจเกิดจากการทางานที่ไม่มี ประสิทธิภาพ ดงั น้นั ผบู้ รหิ ารตอ้ งมาวิเคราะห์หาสาเหตุของผลตา่ งให้ชัดเจนว่าเป็นเพราะอะไร เพอื่ นาไปใช้ในการกาหนดมาตรฐานสาหรับงวดต่อไป รวมถึงนาไปประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานและกระบวนการทางานต่อไป การวเิ คราะห์หาสาเหตุของผลตา่ ง ต้องแยกวเิ คราะห์ทีละรายการของต้นทุนการผลิต ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น ดังน้ัน การวิเคราะห์ผลต่าง จึงสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ ผลต่างวัตถุดิบทางตรง ผลต่างค่าแรงงานทางตรง และผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต และแต่ละ ประเภท จะเกิดจากประเด็นการพิจารณาใน 2 ประเด็น ได้แก่ 1) ผลต่างด้านราคา (Price Variance) และ 2) ผลต่างดา้ นปริมาณ (Quantity Variance) ดังแสดงความสมั พันธข์ องผลต่าง แยกตามส่วนประกอบของตน้ ทนุ การผลติ แต่ละประเภท ตามภาพที่ 7.2 ผลต่างต้นทุนการผลิตรวม ผลตา่ งวัตถดุ บิ ทางตรงรวม ผลต่างคา่ แรงงานทางตรงรวม ผลต่างคา่ ใช้จ่ายการผลติ รวม ผลตา่ ง ผลต่าง ผลตา่ งอตั รา ผลตา่ ง 1 ผลตา่ ง 2 ผลต่าง ราคา ปริมาณ ค่าแรง ประสิทธิภาพ การทางาน ภาพท่ี 7.2 ความสมั พนั ธข์ องผลตา่ งแยกตามสว่ นประกอบของตน้ ทนุ การผลิต
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หย่นุ ต้นทนุ มาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลตา่ ง 7 - 23 จากภาพท่ี 7.2 จะเห็นได้ว่า การวิเคราะห์ผลต่างที่เกิดข้ึนจะสามารถแยกได้ตาม ประเภทของปจั จัยการผลติ ทเี่ ปน็ ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต ซึ่งประกอบดว้ ย 1. ผลต่างวัตถดุ ิบทางตรง 2. ผลตา่ งคา่ แรงงานทางตรง 3. ผลต่างคา่ ใช้จา่ ยการผลติ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจในการวเิ คราะห์ผลตา่ งทัง้ สามประเภท จะขออธบิ ายและแสดงการคานวณ ประกอบ ในแตล่ ะหัวขอ้ ตามลาดบั ดังน้ี 1. ผลต่างวตั ถดุ ิบทางตรง ผลตา่ งวัตถุดบิ ทางตรงรวม (Direct Material Variances) เปน็ ผลตา่ งต้นทุนวตั ถดุ บิ ทาง ตรงที่เกิดข้ึนจริงกับต้นทุนวัตถุดิบมาตรฐาน ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ด้าน คือ ผลต่างราคา วัตถดุ ิบทางตรง และผลต่างปริมาณการใช้วตั ถดุ บิ ทางตรง เพือ่ ให้เข้าใจในการวิเคราะห์ผลต่าง และทราบสาเหตุของผลต่างและนาข้อมูลไปใช้ในการประเมินผลการทางานของฝ่ายผลิตและ ฝ่ายจัดซื้อได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเป็นธรรม จะขออธิบายสาเหตุของการเกิดผลต่างทั้งสอง ด้าน ดังนี้ 1.1.ผลต่างราคาวตั ถดุ ิบทางตรง ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials Price Variance) เป็นผลต่างซ่ึงเกิด จากความแตกตา่ งกันของราคาตอ่ หน่วยของวตั ถุดบิ ทางตรงทซ่ี อื้ มาจริง กับราคาต่อหน่วยของ วัตถุดิบทางตรงมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้า คูณกับปริมาณท่ีซ้ือมาจริงในงวดนั้นๆ ดังน้ัน ฝา่ ยจดั ซอ้ื จะเปน็ ผูร้ บั ผิดชอบ ถา้ หากฝ่ายจดั ซ้อื วตั ถุดิบมาในราคาที่สูงกว่าที่กาหนดมาตรฐาน เอาไว้ ดังนน้ั ผลตา่ งราคาวตั ถุดิบทางตรง สามารถคานวณไดด้ งั น้ี ผลตา่ งราคาวตั ถดุ ิบทางตรง = (ราคาซอ้ื จรงิ ตอ่ หน่วย – ราคามาตรฐานต่อหน่วย) × ปริมาณซื้อจริง เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจในการคานวณผลต่างราคาวตั ถุดบิ ทางตรง สามารถแสดงรายละเอยี ดการ คานวณ ดังแสดงในตวั อยา่ งที่ 7.12
7 - 24 การบัญชตี ้นทนุ 2 ตวั อยา่ งที่ 7.12 จากขอ้ มูลของบรษิ ทั รกั ษ์ไทย จากดั (จากตวั อยา่ งท่ี 7.5 – 7.10) ภายใต้กาลงั การ ผลิตปกติท่ี 20,000 ใบ หรอื คดิ เป็นจานวนชัว่ โมงแรงงานมาตรฐานเทา่ กับ 36,000 ชั่วโมง โดย มีขอ้ มลู ต้นทุนมาตรฐานและตน้ ทนุ ท่ีเกดิ ขึน้ จรงิ โดยสรุป ดังน้ี ต้นทุนมาตรฐานต่อหนว่ ย: บาท วตั ถุดบิ ทางตรง (ผ้าฝา้ ยท่ีใช้ในการผลติ ตอ่ ใบ 1.5 เมตรเมตรละ 60 บาท) 90.00 คา่ แรงงานทางตรง (จานวนชั่วโมงท่ีใชต้ ่อใบ 1.8 ช่วั โมงช่ัวโมงละ 40 บาท) 72.00 ค่าใชจ้ า่ ยการผลติ ผนั แปร (จานวนชว่ั โมงทใี่ ชต้ อ่ ใบ 1.8 ช่วั โมง ชว่ั โมงละ 12 บาท) 21.60 คงที่ (จานวนชว่ั โมงที่ใช้ต่อใบ 1.8 ช่วั โมง ชว่ั โมงละ 8 บาท) 14.40 รวมต้นทนุ ผลิตภัณฑต์ ่อหนว่ ย 198.00 ข้อมลู ต้นทุนจรงิ ทเี่ กิดขนึ้ ระหวา่ งปี 1) บริษทั ผลติ กระเป๋าผ้าพ้นื เมือง จานวน 18,000 ใบ 2) บริษทั ซอ้ื ผ้าฝ้าย จานวน 28,800 เมตร ราคาเมตรละ 58 บาท เบกิ ใช้ใน กระบวนการผลิต จานวน 27,500 เมตร 3) จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงใช้ไปจรงิ จานวน 34,200 ช่ัวโมง โดยจา่ ย ค่าแรงงานงานทางตรงจานวน 1,402,200 บาท 4) คา่ ใชจ้ ่ายการผลติ ทีเ่ กดิ ขนึ้ จรงิ 612,000 ประกอบดว้ ย คา่ ใช้จา่ ยการผลติ ผันแปร จานวน 352,800 บาท คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตคงที่ จานวน 259,200 บาท จากขอ้ มูลขา้ งต้น บรษิ ัท รักษไ์ ทย จากัด สามารถคานวณหาผลตา่ งราคาวตั ถดุ บิ ทางตรงมาตรฐาน ไดด้ ังนี้ ผลตา่ งราคาวตั ถุดบิ ทางตรง = (ราคาซือ้ จรงิ ตอ่ หน่วย – ราคามาตรฐานตอ่ หนว่ ย) × ปรมิ าณซ้ือจรงิ = (58 – 60) x 28,800 = 57,600 บาท (เปน็ ผลตา่ งทีน่ า่ พอใจ) จากการวิเคราะห์ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง จะเห็นว่า บริษัทมีผลต่างที่น่าพอใจ เท่ากบั 57,600 บาท เน่อื งจากราคาซ้ือของวตั ถดุ ิบทางตรง ต่ากวา่ ราคามาตรฐานของวัตถุดิบ นน้ั แสดงวา่ ฝา่ ยจัดซอื้ มกี ารจดั หาและซื้อวัตถุดิบมาใช้ในการผลิตท่ีต่ากว่าราคามาตรฐาน แต่
บทท่ี 7 งบประมาณยืดหยนุ่ ต้นทนุ มาตรฐานและการวิเคราะห์ผลตา่ ง 7 - 25 ตอ้ งพจิ ารณาในส่วนของคณุ ภาพของวัตถุดิบด้วยว่า มีคุณภาพตามที่ฝ่ายผลิตต้องการหรือไม่ ถา้ มคี ณุ ภาพดีตามทีต่ อ้ งการ แสดงวา่ ฝ่ายจดั ซอื้ ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.ผลต่างปริมาณวตั ถดุ ิบทางตรง ผลต่างปริมาณวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials Quantity Variance) จะแสดง ผลต่างท่เี กิดจากปริมาณการใชว้ ตั ถุดิบจรงิ กับปริมาณการใช้วตั ถดุ บิ ทางตรงตามมาตรฐานของ คูณกับราคาของวัตถุดิบทางตรงมาตรฐานต่อหน่วย ดังนั้นผลต่างปริมาณการใช้วัตถุดิบ ทางตรง จะคานวณได้ดังน้ี ผลต่างปรมิ าณการใช้วตั ถดุ ิบทางตรง = (ปริมาณใชจ้ รงิ - ปรมิ าณการใช้มาตรฐาน ) × ราคามาตรฐานตอ่ หนว่ ย ตวั อย่างที่ 7.13 จากขอ้ มลู ของบริษัท รักษไ์ ทย จากัด ตามตวั อย่างที่ 7.12 สามารถคานวณผลต่าง ปริมาณการใชว้ ตั ถุดิบทางตรงไดด้ ังน้ี ผลตา่ งปรมิ าณการใช้วตั ถุดบิ ทางตรง = (ปริมาณใชจ้ รงิ - ปริมาณการใชม้ าตรฐาน* ) × ราคามาตรฐานตอ่ หน่วย = (27,500 – 27,000) x 60 = 500 X 60 = 30,000 บาท (เป็นผลตา่ งทไี่ ม่นา่ พอใจ) *ปรมิ าณการใช้วัตถดุ บิ ทางตรงมาตรฐาน = 18,000 ใบ X 1.5 เมตร = 27,000 เมตร จากการวเิ คราะห์ผลตา่ งปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง จะเห็นว่า บริษัทมีผลต่างที่ไม่ นา่ พอใจ เท่ากบั 30,000 บาท เนื่องจากปริมาณการใช้จริงของวัตถุดิบทางตรง สูงว่า ปริมาณ การใช้มาตรฐานของวัตถุดิบน้ัน แสดงว่าผู้จัดการฝ่ายผลิตไม่มีการควบคุมปริมาณการใช้ วัตถดุ บิ ซงึ่ แสดงถึงความไม่มีประสิทธิภาพของการทางาน หรือใช้อาจเป็นเพราะคนงานไม่มี ความชานาญในงาน หรือเคร่ืองจักรเก่า ล้าสมัย ทาให้มีวัตถุดิบสูญหายระหว่างกระบวนการ ผลิต จึงทาใหม้ ีการใชว้ ัตถุดบิ ส้ินเปลือง ดังน้นั ผ้บู ริหารควรควบคมุ การใชว้ ัตถุดิบ ไม่ให้ใช้มาก
7 - 26 การบัญชีต้นทนุ 2 เกินไป อาจต้องมีการฝึกอบรมพนักงานก่อนทาการผลิต และตรวจสอบความพร้อมของ เครอ่ื งจกั ร เพื่อปอ้ งกันการสญู หายของวตั ถดุ บิ ทใ่ี ชใ้ นการผลติ จากการวิเคราะห์ผลตา่ งราคาวตั ถุดิบทางตรงและผลตา่ งปริมาณการใชว้ ตั ถุดิบทางตรง สามารถคานวณหาผลต่างวตั ถุดบิ ทางตรงรวม ไดด้ ังน้ี ผลตา่ งวตั ถุดบิ ทางตรงรวม ประกอบด้วย ผลต่างราคาวตั ถุดบิ ทางตรง 57,600 บาท (F) ผลตา่ งปรมิ าณการใช้วัตถุดิบทางตรง 30,000 บาท (U) รวม 27,600 บาท (F) F = ผลต่างน่าพอใจ (Favorable Variance) U = ผลต่างไมน่ า่ พอใจ (Unfavorable Variance) 2. ผลต่างค่าแรงงานทางตรง การคานวณผลต่างค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor Variance) เปน็ การหาผลตา่ งของ ค่าแรงงานทางตรงที่เกิดข้ึนจริงกับค่าแรงงานทางตรงมาตรฐาน ซึ่งในการวิเคราะห์หาสาเหตุ ของผลต่าง จะเหมอื นกบั การวเิ คราะหผ์ ลต่างของวัตถดุ ิบทางตรง เพยี งแต่เรยี กชอื่ แตล่ ะผลตา่ ง ต่างกันออกไป ซ่ึงสามารถจาแนกได้เป็น 2 ด้าน คือ 1) ผลต่างราคา เรียกว่า ผลต่างอัตรา คา่ แรงงานทางตรง และ 2) ผลต่างปริมาณ เรยี กวา่ ผลต่างประสทิ ธภิ าพการทางานของแรงงาน ทางตรง เพือ่ ให้เข้าใจสาเหตุของผลต่างค่าแรงงงานทางตรงทั้งสองด้าน สามารถอธิบายและ แสดงการคานวณในหัวข้อถดั ไป 2.1.ผลต่างอตั ราค่าแรงงานทางตรง ผลต่างอตั ราคา่ แรงงานทางตรง (Direct Labor Rate Variance) เป็นการหาผลต่าง ระหวา่ งอตั ราคา่ แรงจรงิ ตอ่ ช่วั โมงกับอตั ราคา่ แรงมาตรฐาน คูณกบั จานวนช่วั โมงแรงงานทีใ่ ชใ้ น การผลิตจรงิ โดยสามารถแสดงการคานวณ ไดด้ ังนี้ ผลต่างอัตราค่าแรง = (อัตราค่าแรงจรงิ ต่อชวั่ โมง – อตั ราคา่ แรงมาตรฐานตอ่ ช่ัวโมง) x จานวนช่วั โมงแรงงานทเ่ี กิดขึ้นจริง
บทที่ 7 งบประมาณยดื หยุ่น ตน้ ทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่าง 7 - 27 ตวั อยา่ งท่ี 7.14 จากขอ้ มูลของบรษิ ัท รักษ์ไทย จากัด ตามตวั อยา่ งที่ 7.12 สามารถคานวณผลตา่ ง อัตราค่าแรงงานทางตรงไดด้ งั น้ี ผลต่างอัตราค่าแรง = (อตั ราคา่ แรงจริงต่อชวั่ โมง* – อัตราคา่ แรงมาตรฐาน) x จานวนชั่วโมงแรงงานทเ่ี กิดข้นึ จริง = (41 – 40) x 34,200 ชว่ั โมง = 34,200 บาท (เป็นผลตา่ งไม่นา่ พอใจ) *อตั ราค่าแรงจริงตอ่ ชัว่ โมง = 1,402,200 บาท /34,200 ชัว่ โมง = 41 บาทตอ่ ชว่ั โมง จากการวิเคราะห์ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง จะเห็นว่า บริษัทมีผลต่างที่ไม่น่า พอใจ เทา่ กบั 34,200 บาท เนอื่ งจากอัตราค่าแรงจรงิ สงู ว่า อตั ราค่าแรงมาตรฐาน อาจมสี าเหตุ เน่ืองจากรัฐบาลมีการกาหนดอัตราค่าจ้างข้ันต่าใหม่ ให้เพิ่มสูงข้ึน หรือการเรียกร้องการเพิ่ม อัตราค่าแรงของสหภาพแรงงาน หรอื ผ้บู รหิ ารมีนโยบายเพ่มิ ค่าแรง เป็นต้น 2.2.ผลต่างประสิทธิภาพการทางานของแรงงานทางตรง การคานวณผลต่างประสิทธิภาพการทางานของแรงงานทางตรง (Direct Labor Quantity Variance หรือ Direct Labor Efficiency Variance) จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ การทางานในกระบวนการผลิต สาหรับการใช้จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงว่าแตกต่างจาก มาตรฐานหรือไม่ โดยแสดงการคานวณได้ดงั นี้ ผลต่างประสทิ ธิภาพการทางาน = (จานวนช่วั โมงแรงงานจรงิ – จานวนชัว่ โมงแรงงานมาตรฐาน) x อตั ราค่าแรงมาตรฐาน
7 - 28 การบญั ชีต้นทนุ 2 ตวั อย่างท่ี 7.15 จากขอ้ มลู ของบรษิ ัท รกั ษไ์ ทย จากัด สามารถคานวณผลตา่ งประสิทธิภาพการทางาน ของแรงงานทางตรง ไดด้ งั นี้ ผลต่างประสทิ ธภิ าพการทางาน = (จานวนชวั่ โมงจรงิ – จานวนชวั่ โมงมาตรฐาน*) x อัตราคา่ แรงมาตรฐาน = (34,200 – 32,400) x 40 = 72,000 บาท (เปน็ ผลต่างทไี่ ม่นา่ พอใจ) *จานวนช่ัวโมงมาตรฐาน = 18,000 ใบ x 1.8 ชว่ั โมง จากการวิเคราะห์ผลต่างประสิทธิภาพการทางานของแรงงานทางตรง จะเห็นว่า บรษิ ทั มผี ลตา่ งท่ไี มน่ ่าพอใจ เทา่ กับ 72,000 บาท บาท เนือ่ งจากจานวนช่ัวโมงที่ใช้ในการผลิต จริง สูงว่า จานวนช่วั โมงมาตรฐาน ซง่ึ อาจมสี าเหตุเนอื่ งจากการทางานทไี่ มม่ ีประสิทธิภาพของ พนักงาน คนงานขาดความชานาญ หรือทักษะในการทางาน ทาให้ใช้เวลาในการผลิตสูงกว่า มาตรฐาน มีการเปล่ียนแปลงแบบการผลิต หรือผู้จัดการไม่มีการควบคุมการทางานของ พนักงาน เปน็ ตน้ จากการวิเคราะห์ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรงและผลต่างประสิทธิภาพการทางาน ของแรงงานทางตรง สามารถคานวณหาผลต่างค่าแรงงานทางตรงรวม ได้ดังนี้ ผลต่างค่าแรงงานทางตรงรวม ประกอบด้วย ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง 34,200 บาท (U) ผลตา่ งประสิทธิภาพการทางาน 72,000 บาท (U) รวม 106,200 บาท (U) F = ผลต่างน่าพอใจ (Favorable Variance) U = ผลตา่ งไมน่ า่ พอใจ (Unfavorable Variance)
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หยุ่น ตน้ ทนุ มาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลต่าง 7 - 29 3. ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead Variance) เป็นผลต่างท่ีเกิด จากความแตกต่างกันระหว่างค่าใช้จ่ายการผลติ จรงิ และค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรรวม โดยการ วิเคราะห์ผลต่าง ส่วนท่ีเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร จะใช้หลักการเดียวกับการวิเคราะห์ ผลตา่ งวัตถุดบิ ทางตรงรวม และผลต่างค่าแรงงานทางตรงรวม การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลติ รวม สามารถพิจารณา ได้ 4 ลักษณะ คือ การ วิเคราะห์ค่าใช้จา่ ยการผลิตแบบ 1 ผลต่าง 2 ผลตา่ ง 3 ผลต่าง และ 4 ผลตา่ ง ซ่ึงสาหรบั บทนจ้ี ะ กล่าวถงึ เฉพาะ การวเิ คราะหแ์ บบ 1 ผลตา่ ง และ 2 ผลต่างเท่านั้น ดังน้ัน ผลต่างค่าใช้จ่ายการ ผลิต สามารถวิเคราะห์ ได้ 2 แบบ คือ 1) ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบผลต่างเดียว และ 2) ผลตา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลิตแบบสองผลต่าง เพ่ือให้เข้าใจเกี่ยวกับการหาผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งสองแบบ จะอธิบาย รายละเอียด แต่ละหัวขอ้ ตามลาดบั 3.1.ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบผลต่างเดียว การวเิ คราะหผ์ ลต่างคา่ ใชจ้ ่ายการผลติ แบบผลต่างเดยี ว (One Way Analysis) เปน็ การ หาผลตา่ งระหวา่ งระหว่างคา่ ใช้จ่ายการผลิตทีเ่ กิดขนึ้ จริง และค่าใชจ้ ่ายการผลิตมาตรฐานหรอื ท่ี เรียกวา่ ค่าใช้จ่ายการผลติ จัดสรรรวม เป็นการวเิ คราะห์ในภาพรวม เป็นการอยา่ งง่าย ไมม่ ี ความย่งุ ยาก สามารถแสดงการคานวณ ไดด้ งั นี้ ผลต่างค่าใชจ้ ่ายการผลติ = ค่าใช้จ่ายการผลติ จรงิ – คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตจัดสรร โดยท่ี คา่ ใชจ้ ่ายการผลิตจดั สรร สามารถคานวณ ได้ดังน้ี ค่าใชจ้ ่ายการผลิตจัดสรร = อตั ราค่าใชจ้ า่ ยการผลิตจัดสรร x จานวนระดบั กจิ กรรมมาตรฐาน เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจเกย่ี วกบั การหาผลตา่ งคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตแบบผลต่างเดียว จะขอแสดงการ คานวณและยกตวั อยา่ งประกอบ ดังแสดงในตัวอยา่ งท่ี 7.16
7 - 30 การบญั ชีต้นทนุ 2 ตวั อยา่ งที่ 7.16 จากขอ้ มลู ตามตัวอยา่ งท่ี 7.9 และ 7.12 บรษิ ัท รักษไ์ ทย จากดั สามารถวิเคราะห์ ผลตา่ งค่าใช้จ่ายการผลติ แบบผลตา่ งเดียว ได้ดงั นี้ ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลติ = ค่าใชจ้ ่ายการผลิตจริง – คา่ ใชจ้ า่ ยการผลิตจัดสรร* = (352,800 + 259,200) – 648,000 = 36,000 บาท (เปน็ ผลต่างทน่ี า่ พอใจ) *คา่ ใช้จ่ายการผลิตจัดสรร= อตั ราคา่ ใช้จา่ ยการผลิตจดั สรร x จานวนระดับกิจกรรมมาตรฐาน = (720,000 / 36,000 ชว่ั โมง) x 34,200 = 20 บาทตอ่ ชว่ั โมง x 34,200 = 648,000 บาท จากการวิเคราะห์ผลตา่ งค่าใช้จ่ายการผลิต จะเหน็ ว่า บริษทั มผี ลตา่ งทนี่ ่าพอใจ เท่ากับ 36,000 บาท บาท เน่ืองจากค่าใช้จ่ายการผลิตจริงท้ังส่วนท่ีเป็นผันแปรและคงท่ี ต่ากว่า ค่าใช้จ่ายการผลิตมาตรฐาน แสดงว่าผู้บริหารมีการควบคุมค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดข้ึนไม่ให้ เกินจากทว่ี างแผนเอาไว้ แตอ่ ย่างไรก็ตาม สิ่งทผ่ี ู้บริหารควรพจิ ารณาคือ การกาหนดมาตรฐาน อาจจะต่ากวา่ ทคี่ วรจะเปน็ ก็เปน็ ได้ 3.2.ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลิตแบบ 2 ผลต่าง การวเิ คราะหค์ า่ ใช้จา่ ยการผลติ แบบ 2 ผลตา่ ง เปน็ การจาแนกผลต่างออกเปน็ 2 ลักษณะ คอื ผลต่างคา่ ใช้จ่ายการผลิตด้านงบประมาณ และผลตา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลิตดา้ นกาลัง การผลิต สามารถอธิบายแตล่ ะดา้ น ไดด้ งั น้ี
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยนุ่ ตน้ ทุนมาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลต่าง 7 - 31 3.2.1. ผลตา่ งคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตดา้ นงบประมาณ ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตด้านงบประมาณ (Budget Variance) เป็นผลต่างระหว่าง ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้นจริงกับค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนตามงบประมาณยืดหยุ่น ณ ปริมาณการ ผลิตที่วางแผนไว้ หรือเรียกว่า งบประมาณยืดหยุ่น ณ ระดับการผลิตมาตรฐาน การคานวณ ผลต่างคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ด้านงบประมาณ สามารถคานวณไดด้ งั น้ี ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลิตดา้ นงบประมาณ = ค่าใช้จา่ ยการผลติ จริง – งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลติ ตามช่ัวโมงมาตรฐาน ณ ระดบั การผลิตจรงิ เพ่อื ให้เขา้ ใจในการคานวณผลตา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลติ ด้านงบประมาณ จะขอยกตัวอย่าง และแสดงการคานวณ ดงั แสดงในตัวอยา่ งที่ 7.17 ตวั อย่างที่ 7.17 จากขอ้ มูลตามตัวอยา่ งท่ี 7.12 บริษทั รกั ษ์ไทย จากดั มกี าลังการผลติ ปกตเิ ทา่ กบั 20,000 ใบ หรอื คดิ เปน็ จานวนชว่ั โมงแรงงานทางตรงเท่ากบั 36,000 ช่ัวโมง ในขณะท่มี จี านวน ชวั่ โมงจรงิ ท่ีเกดิ ขน้ึ เทา่ กบั 34,200 ช่ัวโมง และช่ัวโมงแรงงานมาตรฐาน เท่ากับ 32,400 ชว่ั โมง ดงั น้ัน สามารถจดั ทางบประมาณยดื หยุน่ แตล่ ะระดับกจิ กรรม ไดด้ งั น้ี บริษทั รักษไ์ ทย จากดั งบประมาณค่าใชจ้ ่ายการผลติ ยดื หยนุ่ ประจาเดือน…………………….25X1 หนว่ ย : บาท ระดบั กจิ กรรม ต้นทุนตอ่ ระดบั การ ระดับการ ระดับการ หน่วย ผลิต ผลติ จริง ผลติ ปกติ มาตรฐาน ชั่วโมงแรงงานทางตรง (ชวั่ โมง) 32,400 34,200* 36,000 ค่าใชจ้ ่ายการผลิต :- คา่ ใช้จา่ ยการผลิตผนั แปร @12 388,800 352,800 432,000 คา่ ใช้จา่ ยการผลติ คงที่ 288,000 259,200 288,000 676,800 612,000 720,000
7 - 32 การบัญชตี น้ ทุน 2 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ บรษิ ทั รักษไ์ ทย จากดั สามารถคานวณหาผลต่างคา่ ใช้จ่ายการผลติ ดา้ นงบประมาณ ได้ดงั นี้ ผลต่างค่าใชจ้ ่ายการผลิตดา้ นงบประมาณ = ค่าใช้จา่ ยการผลติ จริง – งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายการผลิตตามช่วั โมงมาตรฐาน ณ ระดับการผลิตจรงิ = 612,000 – 676,800* = 64,800 บาท (ผลต่างทนี่ ่าพอใจ) *มาจากงบประมาณยดื หยุน่ ณ ระดับชว่ั โมงแรงงานทางตรง 34,200 ชั่วโมง จากการวิเคราะหผ์ ลตา่ งคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต จะเห็นว่า บรษิ ัทมผี ลตา่ งท่นี ่าพอใจ เท่ากบั 64,800 บาท เนอื่ งจากค่าใชจ้ ่ายการผลิตจริงทัง้ ส่วนทเี่ ปน็ ผันแปรและคงท่ี ตา่ กว่า คา่ ใช้จา่ ย การผลิต ณ ระดับชวั่ โมงแรงงานทางตรงมาตรฐาน 34,200 ช่วั โมง 3.2.2. ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลติ ดา้ นกาลงั การผลติ ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตด้านกาลังการผลิต (Production Volume Variance) เป็น ผลตา่ งระหว่างจานวนช่ัวโมงแรงงาน ณ กาลังการผลิตปกติ กับจานวนช่ัวโมงแรงงานทางตรง มาตรฐาน ณ ระดับการผลิตจริง คณู ด้วยอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่จัดสรร ซึ่งในส่วนนี้จะทา ให้ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ตามที่บริษัทจัดสรรไว้มีจานวนน้อยกว่าหรือมากกว่างบประมาณ ค่าใช้จ่ายการผลิต ณ กาลังการผลิตปกติ การคานวณผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตด้านกาลังการ ผลิต สามารถคานวณได้ดังนี้ ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตดา้ นกาลังการผลิต = จานวนชัว่ โมงแรงงาน ณ กาลงั การผลติ ปกติ – จานวนชว่ั โมงแรงงาน ทางตรงมาตรฐาน ณ ระดบั การผลิตจรงิ x อัตราค่าใช้จา่ ยการผลิตคงทจี่ ดั สรร เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจในการคานวณผลตา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลิตด้านกาลังการผลติ จะขอ ยกตวั อยา่ งและแสดงการคานวณ ดังแสดงในตวั อย่างที่ 7.18
บทท่ี 7 งบประมาณยดื หยนุ่ ต้นทุนมาตรฐานและการวเิ คราะห์ผลตา่ ง 7 - 33 ตวั อย่างที่ 7.18 จากขอ้ มูล บรษิ ัท รกั ษไ์ ทย จากัด มกี าลังการผลติ ปกติเทา่ กับ 20,000 ใบ หรอื คดิ เป็น จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงเทา่ กบั 36,000 ชัว่ โมง ในขณะที่มจี านวนช่วั โมงจรงิ ทีเ่ กิดขน้ึ เทา่ กับ 34,200 ช่ัวโมง และชวั่ โมงแรงงานมาตรฐาน เท่ากับ 32,400 ชั่วโมง ดงั นนั้ จะสามารถคานวณผลตา่ งค่าใช้จ่ายการผลิตด้านกาลังการผลิต ไดด้ งั นี้ ผลต่างค่าใชจ้ ่ายการผลติ ดา้ นกาลงั การผลติ = จานวนชวั่ โมงแรงงาน ณ กาลังการผลติ ปกติ – จานวนช่วั โมงแรงงาน มาตรฐาน ณ ระดบั การผลิตจรงิ x อตั ราค่าใชจ้ า่ ยการผลติ คงที่จัดสรร = (36,000 – 32,400) x 8 = 28,800 บาท (เป็นผลต่างไมน่ า่ พอใจ) จากการวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลติ ดา้ นกาลงั การผลติ จะเห็นวา่ บรษิ ทั มผี ลต่าง ท่ีไมน่ า่ พอใจ เทา่ กบั 28,800 บาท เนอื่ งจากบรษิ ัทผลติ กระเป๋าต่ากว่ากาลังการผลิตปกติ หรือ เปน็ ใช้กาลังการผลติ ของเครอื่ งจักรที่มีอยู่ไม่เต็มท่ี จึงทาให้เกิดกาลังการผลิตว่างเปล่าเกิดขึ้น แสดงวา่ มีการใชป้ ระโยชนข์ องเครือ่ งจักรนอ้ ยกว่าท่คี วรจะเป็น จากการวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตด้านงบประมาณ และผลต่างค่าใช้จ่ายการ ผลิตดา้ นกาลงั การผลิต สามารถคานวณหาผลต่างค่าใชจ้ า่ ยการผลติ รวม ได้ดังนี้ ผลต่างค่าใช้จา่ ยการผลติ รวม ประกอบดว้ ย ผลต่างค่าใชจ้ ่ายการผลิตด้านงบประมาณ 64,800 บาท (F) ผลต่างคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ดา้ นกาลังการผลติ 28,800 บาท (U) รวม 36,000 บาท (F) F = ผลต่างน่าพอใจ (Favorable Variance) U = ผลต่างไมน่ า่ พอใจ (Unfavorable Variance) ข้อสังเกต : จากการวิเคราะหผ์ ลตา่ งค่าใช้จา่ ยการผลติ แบบสองผลตา่ ง คอื ผลตา่ งดา้ นงบประมาณ และผลต่างดา้ นกาลงั การผลิต แต่เมอื่ รวมกนั แลว้ จะเท่ากบั ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลติ แบบ ผลต่างเดียวเสมอ
7 - 34 การบัญชีต้นทนุ 2 สรปุ งบประมาณยืดหยุน่ เปน็ งบประมาณท่ีจัดทาขนึ้ สาหรับหลายระดับของฐานกจิ กรรมเพื่อ จะได้นาข้อมลู ไปใช้ในการเปรยี บเทยี บกับผลการดาเนินงานจรงิ การจัดทางบประมาณยืดหยุ่น จะมคี วามสัมพันธก์ บั การกาหนดตน้ ทุนมาตรฐาน ซ่งึ การกาหนดตน้ ทุนมาตรฐานเป็นประโยชน์ ในดา้ นการวางแผนสาหรับผู้บริหาร ช่วยในการกาหนดราคาสินค้า สามารถคานวหาต้นทุนต่อ หน่วยได้ ถึงแม้จะยังไม่มีการผลิตก็ตาม ช่วยในเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงาน และใช้ใน การควบคุม เปน็ ตน้ ในการกาหนดต้นทนุ มาตรฐานนั้น กจิ การจะกาหนดสาหรบั รายการต้นทุน การผลิตทุกรายการ ได้แก่ ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง มาตรฐาน ต้นทุนค่าแรงงานทางตรง มาตรฐาน และคา่ ใช้จ่ายการผลติ มาตรฐาน การกาหนดต้นทุนมาตรฐาน ต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างเพื่อประกอบการกาหนด ต้นทุนมาตรฐาน เพ่ือไม่ให้สูงหรือต่าเกินไป เนื่องจากต้นทุนมาตรฐาน จะต้องนาไปใช้ใน เปรียบเทียบกบั ผลการดาเนินงานจรงิ วา่ เกดิ ผลตา่ งในลกั ษณะใด อาจเปน็ ผลตา่ งท่ีน่าพอใจ (F) หรือ ผลต่างท่ีไมน่ า่ พอใจ (U) ถา้ เปน็ ผลตา่ งที่น่าพอใจแสดงวา่ ต้นทนุ จริงเกิดขึน้ นอ้ ยกว่าตน้ ทนุ มาตรฐาน แต่ในทางตรงกันขา้ มถ้าเป็นผลต่างท่ีไม่น่าพอใจ แสดงว่าต้นทุนจริงมากกว่าต้นทุน มาตรฐาน อยา่ งไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นผลต่างประเภทใด ผู้บริหารต้องนามาวิเคราะห์หาสาเหตุ ของผลต่างในทกุ กรณี ซึ่งผลต่างของต้นทุนการผลิต จะสามารถแบ่งได้เป็น 3 ผลต่าง ได้แก่ ผลต่างวัตถุดิบ ทางตรง ผลต่างคา่ แรงงานทางตรง และผลตา่ งคา่ ใช้จ่ายการผลิต ซ่ึงแต่ละผลต่างสามารถแยก ได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ ผลตา่ งด้านราคา และผลตา่ งดา้ นปรมิ าณ แตส่ าหรบั ผลตา่ งค่าใชจ้ ่ายการผลิต อาจคานวณหาผลต่างได้ หลายแบบ อาจเป็นการ หาผลต่างแบบผลต่างเดียว หรือ สองผลต่าง น่ันคือ มีผลต่างด้านงบประมาณและผลต่างด้าน กาลังการผลิต เม่ือกิจการทราบวา่ มผี ลต่างเกี่ยวกับปจั จัยการผลิตดา้ นใดบ้าง กจิ การกส็ ามารถ นาข้อมลู ทไ่ี ดไ้ ปวางแผนและทาการแกไ้ ข หรอื ปรบั ปรุงการทางาน และหาคนรบั ผิดชอบ และนา ข้อมลู เหล่านี้ไปใช้ในการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 451
Pages: