Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Description: Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

สถาบันทางการเมือง (Political Institution) 249 ข้อดีของรัฐธรรมนูญท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรคือ สามารถค้นคว้าและอ้างอิงถึงบทบัญญัติ ตา่ ง ๆ ในการปกครองประเทศไดส้ ะดวกและถกู ต้อง และเปน็ หลักประกนั ในความม่ันคงและเคร่งครดั ในรัฐธรรมนูญ เพราะรัฐธรรมนูญประเภทน้ีจะท�ำการเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกได้ยาก แต่นั่นก็ เป็นข้อเสียเช่นกัน เพราะหากต้องการปรับปรุง เปล่ียนแปลง หรือแก้ไขรัฐธรรมนูญเพ่ือให้เกิดความ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนไปอาจกระท�ำได้ไม่ทันการณ์ เพราะความยุ่งยากในขั้นตอนและ กระบวนการแก้ไข ข้อสงั เกตในรูปแบบรฐั ธรรมนญู ของประเทศต่าง ๆ พบว่าจะมที งั้ รูปแบบท่ีไม่เปน็ ลายลักษณ์ อกั ษรและรฐั ธรรมนญู ทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรเสมอ ทเ่ี ปน็ เชน่ นเ้ี พราะผรู้ า่ งรฐั ธรรมนญู ทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณ์ อกั ษรกไ็ มส่ ามารถจะบรรจทุ กุ สงิ่ ทกุ อยา่ งไวค้ รบถว้ นในรฐั ธรรมนญู ดงั นน้ั ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ริ ฐั ธรรมนญู จงึ การเปน็ สว่ นประกอบของรฐั ธรรมนญู ทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรดว้ ยเชน่ กนั และในรฐั ธรรมนญู ทไ่ี มเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรกต็ อ้ งมบี ทบญั ญตั ใิ นสว่ นทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรอยดู่ ว้ ยเสมอ เพราะฉะนนั้ ในขอ้ เทจ็ จริงแล้วไม่มีประเทศใดท่ีมีรัฐธรรมนูญในรูปแบบเดียวโดยเฉพาะ แต่จะมีลักษณะปะปนแทรกกันอยู่ บา้ งเสมอ๑๖๒ วิธรี า่ งรัฐธรรมนูญแบบลายลักษณ์อักษร นกั รฐั ศาสตรบ์ างทา่ นไดจ้ ำ� แนกวธิ จี ดั ทำ� รฐั ธรรมนญู แบบลายลกั ษณอ์ กั ษรออกเปน็ หลายแบบ คอื ๑. แบบประชาธปิ ไตย ๒. แบบทไ่ี ม่เปน็ ประชาธิปไตย ๓. แบบผสม ๑. แบบท่เี ป็นประชาธิปไตย การยกรา่ งรฐั ธรรมนญู ในลกั ษณะน้อี าจประมวลได้ ๓ วธิ ี คือ ก. ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้ง เช่น การร่างรัฐธรรมนูญของฝรั่งเศส ปี ค.ศ. ๑๗๙๑ และการร่างรัฐธรรมนญู ของสหรัฐอเมรกิ า ปี ค.ศ. ๑๗๘๗ ข. รา่ งโดยสภาของประชาชนเป็นแบบประชาธปิ ไตยโดยตรง ซง่ึ วธิ ีการนใี้ นทางปฏิบตั ิเป็นไป ไดย้ าก ค. โดยวิธีประชาธิปไตยเกือบโดยตรง กล่าวคือ ให้ประชาชนเป็นผู้ออกเสียงประชามติว่าจะ รบั รา่ งรฐั ธรรมนญู ซง่ึ ยกรา่ งโดยสภาทมี่ าจากการเลอื กตง้ั หรอื ไม่ เชน่ รฐั ธรรมนญู ฝรงั่ เศส ค.ศ. ๑๙๔๖ ๑๖๒ รจุ ริ า เตชางกรู , หลกั รัฐธรรมนูญและสถาบนั การเมือง. (กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง, ๒๕๒๙), น. ๓๗ – ๓๘.

250 รฐั ศาสตร์เบื้องต้น ๒. แบบท่ีไม่เป็นประชาธิปไตย ในกรณีน้ีรัฐธรรมนูญถือก�ำเนิดมาจากบุคคลเพียงคนเดียว ซ่งึ อาจเป็นพระมหากษตั รยิ ์ หรอื เป็นประมขุ ของรฐั เชน่ เปน็ ประธานาธิบดี ฯลฯ กไ็ ด้ ผเู้ ผดจ็ การหรือ คณะบคุ คล ซ่ึงได้อ�ำนาจรฐั มาโดยการปฏวิ ัติรฐั ประหารกอ็ าจให้มีรฐั ธรรมนูญดว้ ยวธิ ีการน้ี มีข้อน่าสังเกตว่า รัฐธรรมนูญที่ร่างข้ึนจากสถาบันท่ียอมรับว่าถูกต้องตามหลักวิชาของ รฐั ธรรมนญู เชน่ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๑) ซึ่งเปน็ รัฐธรรมนูญฉบบั ที่ ๘ ของไทย ร่างข้ึนโดย “สภาร่างรัฐธรรมนูญ” ซ่ึงจัดต้ังขึ้นตามธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร (รัฐธรรมนญู ฉบบั ท่ี ๗) กไ็ มอ่ าจถือว่าเป็นการรา่ งดว้ ยวิธปี ระชาธิปไตย เพราะ “สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ” มใิ ชส่ ภาท่ีราษฎรเลือกตั้งขน้ึ มา ๓. แบบผสม วิธีร่างรัฐธรรมนูญแบบผสม คือการยกร่างรัฐธรรมนูญโดยบุคคลคนเดียวหรือ โดยคณะบคุ คลท่มี ีอำ� นาจเดด็ ขาดในการปกครองประเทศ เมือ่ ยกร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้วกจ็ ะน�ำรา่ ง รฐั ธรรมนญู นนั้ ไปใหป้ ระชาชนลงมติ จะยอมรบั เปน็ กฎหมายสงู สดุ เพอ่ื ใชใ้ นการปกครองประเทศหรอื ไม่ วิธีน้ีเรียกว่า แบบเซซาริสม์ ซ่ึงพระเจ้านโปเลียนที่ ๑ และพระเจ้านโปเลียนที่ ๓ น�ำมาใช้กับประเทศ ฝรงั่ เศส หรอื ออกมาในรปู ของการตกลงระหวา่ งประมขุ ของรฐั กบั รฐั สภา หรอื ผทู้ อี่ ยใู่ นฐานะเปน็ ตวั แทน ของชาตใิ นขณะนน้ั เชน่ การตกลงกนั ระหวา่ งพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กบั คณะราษฎร ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ รฐั ธรรมนญู ท่ีถอื กำ� เนินแบบน้ี เรียกวา่ แบบสญั ญา (Paste) รฐั ธรรมนญู แบบลายลกั ษณ์อักษร แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ก. รฐั ธรรมนูญกษตั รยิ ์และรฐั ธรรมนูญสาธารณรัฐ ข. รฐั ธรรมนญู รัฐเดย่ี วและรัฐธรรมนูญรัฐรวม ก. รัฐธรรมนูญกษัตริยแ์ ละรัฐสาธารณรัฐ๑๖๓ เปน็ การแบง่ ประเภทของรฐั ธรรมนญู โดยเอาตำ� แหนง่ ของประมขุ ของประเทศเปน็ หลกั กลา่ ว คือถ้ารัฐธรรมนูญของประเทศใดให้ประมุขของรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญฉบับนั้นก็ได้ช่ือว่า เป็นรัฐธรรมนูญกษัตริย์ แต่ในกรณีท่ีรัฐธรรมนูญของประเทศใดบัญญัติให้ประมุขของรัฐเป็น ประธานาธิบดี รัฐธรรมนูญฉบบั นน้ั ก็ไดช้ ือ่ วา่ เป็นรฐั ธรรมนูญสาธารณรัฐ ๑๖๓ อานนท์ อาภาภิรม, เร่ืองเดมิ , หนา้ ๖๑ – ๖๒.

สถาบนั ทางการเมือง (Political Institution) 251 ส�ำหรับรัฐธรรมนูญกษตั ริย์อาจแบง่ ออกได้เป็น ๒ แบบดงั นี้ ๑. พระมหากษตั รยิ ท์ รงมอี ำ� นาจเดด็ ขาด (Absolute Monarchy) คอื พระมหากษตั รยิ ท์ รงอยู่ เหนือกฎหมาย ถึงแม้ว่าจะมีรัฐธรรมนูญ มีคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศก็ตาม แต่อ�ำนาจการ บริหารที่แท้จริงอยู่ที่พระมหากษัตริย์ ประเทศที่ใช้การปกครองแบบน้ีได้แก่ จอร์แดน และ ซาอดุ ิอาระเบยี เป็นต้น ๒. พระมหากษัตริยอ์ ยู่ภายใต้รฐั ธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) กล่าวคอื พระมหา กษัตริย์ไม่ทรงมีพระราชอ�ำนาจในการบริหารประเทศแต่ประการใด พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเพียง ประมขุ ของประเทศ เปน็ จดุ รวมนำ�้ ใจความสมคั รสมานสามคั ครี ะหวา่ งคนในชาติ และไมท่ รงตอ้ งรบั ผดิ ชอบในการบริหารประเทศ เพราะอำ� นาจการบรหิ ารอยู่ทค่ี ณะรฐั มนตรี อำ� นาจนติ ิบญั ญตั ิอยทู่ ี่รฐั สภา และอำ� นาจตลุ าการอยทู่ ศ่ี าลยตุ ธิ รรม ประเทศทมี่ รี ฐั ธรรมนญู ซง่ึ พระมหากษตั รยิ อ์ ยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ไดแ้ ก่ องั กฤษ สวีเดน ญี่ปนุ่ และไทย ส่วนรฐั ธรรมนูญสาธารณรัฐนน้ั แบ่งไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คอื ๑. ประธานาธิบดีทำ� หน้าทเี่ ปน็ เพียงประมขุ ของรฐั รฐั ธรรมนูญสาธารณรฐั ประเภทนีก้ ำ� หนด ใหอ้ ำ� นาจบรหิ ารอยทู่ ค่ี ณะรฐั มนตรี อำ� นาจนติ บิ ญั ญตั อิ ยทู่ รี่ ฐั สภา และอำ� นาจตลุ าการอยทู่ ศี่ าลยตุ ธิ รรม ส�ำหรับประธานาธิบดีไม่มีอ�ำนาจท้ัง ๓ แต่ประการใด ประธานาธิบดีเป็นเพียงประมุขและสัญลักษณ์ ของประเทศ ๒. ประธานาธิบดีเป็นท้ังประมุขของรัฐและเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร กล่าวคือประธานาธิบดี ด�ำรงต�ำแหน่งในฐานะประมุขของรัฐและผู้น�ำของฝ่ายบริหารหรือนายกรัฐมนตรีในเวลาเดียวกัน ประเทศทใ่ี ช้รัฐธรรมนญู แบบน้ี ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมรกิ า เป็นตน้ ข. รัฐธรรมนญู รัฐเดี่ยวและรัฐธรรมนูญรฐั รวม รัฐเดี่ยวได้แก่รัฐท่ีมีฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการอยู่ท่ีรัฐบาลกลาง มีอ�ำนาจในการ บริหาร ออกกฎหมาย และพพิ ากษาคดที ั่วประเทศ รัฐเดยี่ วจะใชร้ ัฐธรรมนูญทเี่ รยี กวา่ รัฐธรรมนญู รฐั เด่ยี ว ในปัจจุบนั น้ปี ระเทศที่มรี ฐั ธรรมนูญรฐั เดีย่ ว ไดแ้ ก่ องั กฤษ ญีป่ ่นุ สงิ คโปร์ และไทย เป็นตน้ สว่ นรัฐรวมนั้นไดแ้ กร่ ัฐทีม่ ีรฐั บาลกลางและรฐั บาลทอ้ งถนิ่ รฐั ธรรมนญู รฐั รวมจะมีบทบัญญัติ ก�ำหนดให้อ�ำนาจบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการของท้ังรัฐบาลกลางและรัฐบาลส่วนท้องถ่ินซ่ึงเป็น อสิ ระไมข่ นึ้ ตอ่ กนั รฐั บาลกลางและรฐั บาลสว่ นทอ้ งถน่ิ มอี ำ� นาจหนา้ ทเี่ ฉพาะในสว่ นและขอบเขตของตน ภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญของรัฐรวม ประเทศท่ีใช้รัฐธรรมนูญรวม ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และ สวติ เซอร์แลนด์ เปน็ ต้น

252 รัฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ เน้ือหาสาระของรฐั ธรรมนูญ : ปญั จสาระ รฐั ธรรมนญู ประเภทลายลกั ษณอ์ กั ษรมลี กั ษณะตา่ ง ๆ กนั บางฉบบั มคี วามยาวมาก บางฉบบั สน้ั บางฉบบั มวี ธิ กี ารเขยี นอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ แตกตา่ งจากฉบบั อนื่ ๆ และการแบง่ มาตรากแ็ ตกตา่ งกนั ได้ เนอื้ หา สาระมักมี ๕ ประการ หรือปัญจสาระดังต่อไปน้ี ๑) การอ้างสาเหตุและอ�ำนาจแห่งการประกาศใช้ รฐั ธรรมนญู ๒) โครงสร้างของรัฐบาล ๓) การแบ่งอำ� นาจสทิ ธิของบุคคล ๔) พันธกรณีของรัฐบาล และ ๕) การเปล่ียนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฯลฯ ก) สาระของรฐั ธรรมนูญเรอื่ งท่ี ๑ : บทน�ำหรืออารมั ภบท (Preamble) เกี่ยวกับสาเหตุและ อำ� นาจในการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู (Enacting Clause) ขอ้ ความนม้ี กั อยภู่ าคตน้ ของรฐั ธรรมนญู เพอ่ื แสดงให้เห็นถึงสาเหตุแห่งเจตน์จ�ำนงและท่ีมาแห่งอ�ำนาจในการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ส�ำหรับท่ีมา แห่งอำ� นาจในการประกาศใชน้ นั้ มกั อา้ งเจตนจ์ ำ� นงของราษฎร ข) สาระของรฐั ธรรมนญู เรอื่ งที่ ๒ : โครงสรา้ งของรัฐบาล รัฐธรรมนูญลายลกั ษณ์อักษรมกั ระบโุ ครงสรา้ งของรฐั บาลวา่ เปน็ อยา่ งไร และกลไกหลกั ของรฐั บาลเปน็ อยา่ งไร โครงสรา้ งทสี่ ำ� คญั ทมี่ กั อยู่ในรัฐธรรมนญู คอื ๑) รูปแบบของรัฐ ๒) รูปแบบของรัฐบาล ๓) องคก์ รของรฐั บาล ๔) เจา้ หน้าท่ี ของรัฐ ๕) การไดม้ าและพน้ จากตำ� แหน่ง ๖) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองค์กร ค) สาระของรัฐธรรมนูญเรื่องท่ี ๓ : การให้และก�ำหนดขอบเขตแห่งอ�ำนาจ รัฐธรรมนูญ เป็นเอกสารทางการเมืองและ “การเมือง”ย่อมเกี่ยวกับการใช้อ�ำนาจ ดังนั้นจึงมีการระบุเรื่องการให้ และการก�ำหนดขอบเขตแห่งอ�ำนาจ (Grant and Restriction of Powers) อ�ำนาจท่ีมีระบุไว้ใน รฐั ธรรมนญู ได้แก่ อำ� นาจในหน่วยหรือองคก์ รของรฐั บาล เชน่ ฝา่ ยบรหิ าร นิติบัญญัติ และอ�ำนาจแบ่ง ออกเปน็ ระดบั เช่น ระดบั รัฐและท้องถิ่น ง) สาระของรฐั ธรรมนญู เรอ่ื งท่ี ๔ : สทิ ธขิ องบคุ คลและพนั ธกรณขี องรฐั ในเรอื่ งสทิ ธบิ คุ คล หรือเอกชน รัฐธรรมนูญมกั กำ� หนด ๑) ขอบเขตแห่งอำ� นาจของรัฐบาล และ ๒) พันธกรณขี องรัฐบาล โดยปกติ อ�ำนาจขององค์การเมืองในระดับรฐั (รัฐ – ประชาชาต)ิ มกั ครอบคลมุ เรื่องตา่ ง ๆ อยา่ งกวา้ ง ขวาง ดังนั้น รัฐธรรมนูญในระบบประชาธิปไตยจึงก�ำหนดวงกรอบอ�ำนาจของรัฐ ตัวอย่างได้แก่ รฐั ธรรมนญู ของสหรฐั อเมรกิ ามปี ระกาศไวว้ า่ รฐั บาลไมม่ อี ำ� นาจในการทจี่ ะจำ� กดั สทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คล ในสว่ นทเี่ กยี่ วกบั การแสดงออกซงึ่ ความคดิ เหน็ ดว้ ยวาจา ในการพมิ พโ์ ฆษณา หรอื ในการนบั ถอื ศาสนา รัฐธรรมนญู บางฉบับก�ำหนดพันธกรณี (Obligations) ของรัฐบาลไวด้ ว้ ยพันธกรณี คอื หนา้ ท่ี ซง่ึ รฐั บาลรบั ผดิ ชอบตอ่ ราษฎร พนั ธกรณที กี่ ำ� หนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู มกั เกยี่ วกบั การทร่ี ฐั จะตอ้ งพยายาม ให้พลเมืองมีงานท�ำ ให้ได้รับการศึกษา ให้ได้รับสวัสดิการเม่ือเจ็บป่วยหรือชรา และรวมถึงความ ผาสุกในชีวิตครอบครัว เช่น รัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์ ปี ค.ศ. ๑๙๓๗ (พ.ศ. ๒๔๘๐) ตราไว้ในเรื่อง

สถาบันทางการเมือง (Political Institution) 253 พนั ธกรณขี องรฐั บาลวา่ “รฐั จะตอ้ งพยายามไมใ่ หแ้ มบ่ า้ นตอ้ งไปทำ� งานนอกบา้ นจนทำ� ใหไ้ มไ่ ดด้ แู ลบา้ น ชอ่ ง” ขอ้ กำ� หนดนแ้ี สดงถงึ ความหว่ งใยตอ่ ชวี ติ ภายในครอบครวั ของคนไอรชิ ดว้ ย และรฐั ธรรมนญู ของ อิตาลี ปี ค.ศ. ๑๙๔๘ ระบุไว้ว่า “สาธารณรัฐอิตาลีจะพยายามส่งเสริมให้ครอบครัวคงอยู่ ได้ด้วย มาตรฐานทางเศรษฐกจิ และอ่ืน ๆ” จ) สาระของรฐั ธรรมนูญเรอื่ งท่ี ๕ : การแก้ไขเปลีย่ นแปลงรฐั ธรรมนูญ โดยปกตกิ ารแกไ้ ข เปล่ียนแปลงรัฐธรรมนูญมักท�ำได้ยากกว่ากฎหมายธรรมดา (ยกเว้นในบางประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ อังกฤษ ซ่ึงการแก้ไขรัฐธรรมนูญกระท�ำได้ไม่ยากนักเพราะไม่มีรัฐธรรมนูญประเภทลายลักษณ์อักษร) กระบวนการหรือขั้นตอนแห่งการแก้ไขรัฐธรรมนูญมีหลายวิธี เช่น โดย ๑) รัฐสภา ๒) ประชามติ ๓) โดยสภารา่ งรฐั ธรรมนูญ ๔) การปฏวิ ัติหรอื รัฐประหาร และ ๕) วิธกี ารอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ ทีม่ าของรัฐธรรมนูญ๑๖๔ สาระส�ำคัญของรัฐธรรมนูญประเทศต่าง ๆ ย่อมแตกต่างกันออกไป ท้ังน้ีแล้วแต่สภาวะทาง ประวัติศาสตร์ สภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ รวมทั้งประเด็นหลักท่ีว่าบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลใดมี อิทธิพลในการร่างรัฐธรรมนูญนั้น ๆ ส�ำหรับการก�ำเนิดรัฐธรรมนูญท่ีกล่าวถึง ณ ท่ีนี้เป็นรัฐธรรมนูญ ประเภทท่มี กี ารรา่ งข้นึ เทา่ นั้น แหล่งที่มามตี า่ ง ๆ กนั ไดแ้ ก่ ๑) อดุ มการณ์ ๒) รฐั ธรรมนญู ฉบบั อื่น ๆ ๓) ปรชั ญาการเมือง ๔) ประวตั ิศาสตร์ ก) อุดมการณ์ ในบางกรณีมีการร่างรัฐธรรมนูญข้ึนมาเพื่อแสดงออกซ่ึงอุดมการณ์ทางการ เมอื งบางอยา่ ง ทงั้ นไ้ี มว่ า่ จะเปน็ รฐั ธรรมนญู ทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ประชาธปิ ไตยแบบเสรนี ยิ ม หรอื รฐั ธรรมนญู ทแี่ สดงอดุ มการณอ์ ำ� นาจเบด็ เสรจ็ อนั ไดแ้ ก่ รฐั ธรรมนญู แบบขวาจดั (คอื แบบฟาสซสิ ต)์ หรอื แบบซา้ ยจดั (คือแบบคอมมวิ นิสต)์ ข) รัฐธรรมนูญฉบับอ่ืนๆ เม่ือมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่มักจะมีการอาศัยบทบัญญัติเดิม ของรฐั ธรรมนูญฉบับเกา่ เชน่ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชราชอาณาจักไทยฉบับหลัง ๆ มักใช้สาระสำ� คัญบาง ส่วนของรัฐธรรมนูญฉบับก่อน ๆ รัฐธรรมนูญหลายฉบับของประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกามีการเลียน แบบสาระสำ� คญั หลายอยา่ งของรฐั ธรรมนญู อเมรกิ า และรฐั ธรรมนญู หลายฉบบั ในประเทศยโุ รปตะวนั ตก อาศัยหลกั การของรฐั ธรรมนูญอังกฤษ เปน็ ตน้ ๑๖๔ จริ โชค (บรรพต) วีระสัย, ดร., สรุ พล ราชภัณฑารกั ษ,์ ดร., และสุรพันธ์ ทบั สุวรรณ,์ ผศ., เรือ่ งเดมิ , หน้า ๑๕๕ – ๑๖๕.

254 รฐั ศาสตร์เบอ้ื งตน้ ค) ปรชั ญาการเมอื ง ความคดิ ทางการเมอื งของปราชญต์ า่ ง ๆ มกั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ผรู้ า่ งรฐั ธรรมนญู ตัวอย่างได้แก่ ๑) อิทธิพลของจอห์น ล็อค นักปรัชญาชาวอังกฤษในการร่างรัฐธรรมนูญแบบ ประชาธิปไตย และ ๒) อิทธิพลของคาร์ล มาร์กซ์ นักคิดชาวเยอรมันในการร่างรัฐธรรมนูญแบบ สงั คมนิยมคอมมวิ นสิ ต์ ง) ประวัติศาสตร์ ประสบการณ์ของคนในชาติโดยเฉพาะอันเป็นที่ตระหนักดีโดยผู้ร่าง รัฐธรรมนูญ ย่อมมีอิทธิพลต่อเน้ือหาสาระของรัฐธรรมนูญ เช่น รัฐธรรมนูญอเมริกัน ซ่ึงคณะผู้ร่าง พยายามทจ่ี ะใหม้ กี ารตรวจสอบและสรา้ งดลุ ยภาพขนึ้ ในหนว่ ยตา่ ง ๆ ของอำ� นาจอธปิ ไตย ทง้ั นเ้ี พอ่ื ปดิ กน้ั โอกาสในการรวมอำ� นาจเขา้ ณ แหลง่ ใดแหลง่ หนง่ึ หากไมม่ กี ารทำ� ใหอ้ ำ� นาจกระจาย ๑) ตามระดบั (คือด้วยการเป็นแบบสหพันธรัฐ) และกระจาย ๒) ตามฝ่าย (คือฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่าย ตลุ าการ) แลว้ กเ็ กรงกนั วา่ จะมผี นู้ ำ� บางคนใชป้ ระโยชนโ์ ดยรวบอำ� นาจเขา้ ตนเองหรอื หมคู่ ณะของตนเอง อันเปน็ การท�ำใหเ้ กิดเผดจ็ การข้นึ ได้ และผนู้ �ำกลายเป็นผูน้ �ำแบบโรมนั ท่ีเรยี กกันวา่ “ซซี าร”์ (Caesar) คอื เหลงิ ดว้ ยอำ� นาจ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั คำ� กลา่ วอนั เปน็ อมตวาทะทางรฐั ศาสตรโ์ ดยนกั วชิ าการชาวองั กฤษ ชื่อ ลอรด์ แอ้คตัน้ ทีว่ า่ “อ�ำนาจเป็นมรรคพาสชู่ ว่ั ” (Power Corrupts; Absolute Power Corrupts Absolutely” ก�ำเนิดรฐั ธรรมนูญ๑๖๕ รัฐตา่ ง ๆ ในโลกย่อมไดร้ ฐั ธรรมนญู มาโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ กัน แต่เมือ่ กลา่ วโดยสรุปกม็ อี ยู่ ๔ วิธี คือ ๑) โดยวิวัฒนาการ (Gradual Evolution) ๒) โดยการปฏิวัติหรือรัฐประหาร (Revolution or Coup d’ etat) ๓) โดยการรา่ งขึ้น (Deliberate Creation) ๔) โดยกษตั รยิ ์ประทานให้ (Grant) ๑) โดยวิวฒั นาการ (Gradual Evolution) รฐั ธรรมนญู ประเภทนเ้ี กดิ ขน้ึ โดยการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม การเมอื ง การปกครอง แบบคอ่ ย เป็นค่อยไป เกือบจะเรียกได้ว่าตามธรรมชาติของสังคมมนุษย์ซ่ึงไม่เคยหยุดนิ่ง และการเปลี่ยนแปลง ทำ� นองนกี้ นิ เวลานาน เชน่ ทฤษฎวี ิวัฒนาการของดาร์วนิ ท่ีแสดงวา่ มนษุ ยว์ ิวัฒนาการมาจากลิง โดยใช้ เวลานับพันปี ตัวอย่างรัฐธรรมนูญประเภทน้ีคือ รัฐธรรมนูญอังกฤษ ซึ่งเกิดจากการเปล่ียนทีละเล็กที ละน้อย เร่ิมจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ต่อมาจึงเปลี่ยนอ�ำนาจปกครองจากกษัตริย์ไปถึงมือ ประชาชน โดยเริ่มจากมหากฎบตั ร หรอื Magna Carta เมือ่ ปี ค.ศ. ๑๒๑๕ ซ่ึงบรรดาพระและขนุ นาง ร่วมมือกันบังคับให้พระเจ้าจอห์นลงนามในเอกสารดังกล่าวผูกมัดให้กษัตริย์เคารพต่อสิทธิของราษฎร ๑๖๕ ประสาร ทองภักด,ี พ.ท., เรอื่ งเดมิ , หนา้ ๙๒ – ๙๔.

สถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) 255 โดยรบั วา่ จะไมจ่ บั กมุ หรอื ลงโทษราษฎรจนกวา่ จะมคี ำ� พพิ ากษาวา่ มคี วามผดิ ตามกฎหมายของประเทศ และการเก็บภาษีอากรจะต้องได้รับความยินยอมจากรัฐสภาก่อน นอกจากน้ันยังได้จัดตั้งขุนนาง ๒๕ คน คอยควบคุมใหก้ ษตั รยิ ์ปฏบิ ัตติ ามสัญญาด้วย ๒) โดยการปฏิวตั ิหรอื รัฐประหาร (Revolution or Coup d’ etat) ก่อนอื่นควรทราบความหมายของค�ำ ๒ คำ� นี้ ปฏวิ ตั ิ (Revolution) หมายถึงการเปลยี่ นแปลง ระบอบการปกครองชนดิ ถอนรากถอนโคนหรอื ชนดิ หนา้ มอื เปน็ หลงั มอื โดยใชก้ ำ� ลงั บงั คบั แลว้ สถาปนา ระบอบการปกครองขนึ้ ใหม่ ส่วนรัฐประหาร (Coup d’etat) หมายความถงึ การเปล่ยี นแปลงรัฐบาล โดยใช้ก�ำลังบงั คบั แตไ่ ม่ไดเ้ ปลยี่ นระบอบการปกครอง รฐั ธรรมนญู ทเ่ี กดิ ขนึ้ ดว้ ยการปฏวิ ตั มิ หี ลายประเทศ เชน่ รฐั ธรรมนญู ของประเทศฝรง่ั เศส และ แม้แต่ของประเทศไทยที่ได้มาเม่ือปี ๒๔๗๕ ก็อยู่ในลักษณะเดียวกัน ส่วนรัฐธรรมนูญที่ได้มาโดยการ รัฐประหาร กม็ ีตวั อย่างรฐั ธรรมนญู ของประเทศไทยหลายฉบับ เชน่ ฉบับปี พ.ศ. ๒๔๙๐ เปน็ ต้น ๓) โดยการร่างข้ึน (Deliberate Creation) รฐั ธรรมนญู ประเภทนม้ี กั เกดิ ขนึ้ หลงั จากทมี่ รี ฐั ใหมเ่ กดิ ขน้ึ เชน่ ไดร้ บั เอกราชหรอื หลดุ พน้ จาก สภาพเป็นราชอาณานิคมของอีกรฐั หน่งึ เช่น ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ซ่ึงสลัดแยกปกครองจากประเทศ องั กฤษ เมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๗๗๖ และตอ่ มาใน ค.ศ. ๑๘๗๖ กไ็ ดป้ ระกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ประเทศทม่ี รี ฐั ธรรมนญู ประเภทน้มี ีหลายประเทศ เช่น อินเดยี พม่า มาเลเซีย และบรรดาประเทศในกาฬทวปี ๔) โดยกษัตรยิ ์ประทานให้ (Grant) รัฐธรรมนญู ประเภทนเ้ี กดิ ขึ้นโดยการแสดงเจตนาของพระมหากษัตรยิ ์ฝา่ ยเดียว โดยทรงเห็น ว่าประชาชนเฉลียวฉลาดพอท่ีจะปกครองตนเองได้ จึงได้พระราชทานรัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชน ก�ำหนดให้มีสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีรัฐสภา รัฐธรรมนูญประเภทน้ีเป็นเคร่ืองแสดงให้ เห็นน้�ำพระทัยของพระมหากษัตริย์ ซ่ึงทรงเห็นว่า สมบูรณาญาสิทธิราชย์จะใช้ไม่ได้อีกต่อไป เพราะบ้านเมืองเจริญเพียงพอที่ประชาชนจะปกครองตนเองได้แล้ว จึงพระราชทานรัฐธรรมนูญ เสียเอง เพ่ือหลีกเล่ียงการปฏิวัติในภายหลัง รัฐธรรมนูญประเภทนี้ท�ำให้พระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพ ย�ำเกรง เพิ่มความจงรักภักดีในราษฎรมากข้ึน รัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศญ่ีปุ่นเกิดข้ึนโดยวิธีน้ี (รฐั ธรรมนญู ฉบับที่ประกาศใช้เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๘๘๙ ตรงกบั พ.ศ. ๒๔๓๒ อยู่ในสมยั รัชกาลที่ ๕ ของไทย)

256 รฐั ศาสตร์เบ้ืองตน้ ลักษณะของรัฐธรรมนูญท่ีดี รัฐธรรมนญู ท่ีดคี วรมีลักษณะดังต่อไปน๑ี้ ๖๖ ๑. รฐั ธรรมนญู ทดี่ คี วรจะตอ้ งมขี อ้ ความทชี่ ดั เจนแนน่ อน เนอื่ งจากรฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมาย แม่บทของกฎหมายท้ังหลาย ฉะนั้นรัฐธรรมนูญท่ีดีจะต้องเป็นรัฐธรรมนูญท่ีมีข้อความชัดเจนแน่นอน กล่าวคือเม่ือทุกคนที่มีสามัญส�ำนึกที่ดีอ่านแล้วสามารถเข้าใจข้อความเหล่านั้นได้อย่างชัดแจ้ง ไม่ต้อง น�ำมาตีความกันอกี วา่ ข้อความนนั้ อาจจะมีความหมายเป็นอย่างน้ันอย่างน้ี ฉะน้ันผรู้ ่างรฐั ธรรมนูญจะ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ อยา่ งยง่ิ ในการเลอื กใชถ้ อ้ ยคำ� สำ� นวน ทมี่ คี วามชดั แจง้ และมคี วามแนน่ อนใหม้ ากทส่ี ดุ ทง้ั น้ี เพ่ือปอ้ งกันมใิ ห้เกิดความกำ� กวมในการท�ำความเขา้ ใจข้อความในรัฐธรรมนูญ ๒. รัฐธรรมนญู ที่ดจี ะตอ้ งมบี ทบัญญตั ิครบถว้ น กลา่ วคอื รัฐธรรมนูญท่ดี ีจะตอ้ งมบี ทบญั ญตั ิ เก่ียวกับการปกครองของรัฐไว้โดยครบถ้วน ซ่ึงตามหลักทั่วไปแล้วจะต้องมีบทบัญญัติว่าด้วยเร่ืองการ ใชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย การแบง่ วธิ กี ารใชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย ความสมั พนั ธข์ ององคก์ ารทใี่ ชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย และ สถาบนั การเมอื งของรฐั อนั ไดแ้ ก่ สถาบนั ของอำ� นาจบรหิ าร สถาบนั ของอำ� นาจนติ บิ ญั ญตั แิ ละสถาบนั ของอำ� นาจตุลาการ ๓. รัฐธรรมนูญท่ีดจี ะต้องมีบทบญั ญัตเิ กีย่ วกบั สทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชน ในปัจจบุ นั นไ้ี ดม้ กี ารยอมรบั ในเรอื่ งสทิ ธมิ นษุ ยชน ฉะนน้ั รฐั ธรรมนญู ทด่ี จี ะตอ้ งมบี ทบญั ญตั ใิ นการใหส้ ทิ ธเิ สรภี าพ ขน้ั มลู ฐานแกป่ ระชาชน เชน่ ในเรอ่ื งการพดู การเขยี น การประกอบอาชพี การเลอื กนบั ถอื ศาสนา และ การเลือกถ่ินท่ีอยู่อาศัย เป็นต้น รวมทั้งการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ท้ังน้ีเพื่อป้องกันมิให้ องค์การหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท�ำการลิดรอนสิทธิเสรีภาพหรือใช้อ�ำนาจเกินขอบเขต นอกเหนือไป จากท่ีก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ กล่าวคือหากรัฐออกกฎหมายฉบับใดออกมาลิดรอนสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน อนั เปน็ การขดั ตอ่ บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู กฎหมายฉบบั นนั้ ตอ้ งเปน็ โมฆะคอื ไมม่ ผี ลบงั คบั ใช้ ๔. รัฐธรรมนูญที่ดีจะต้องส้ัน หมายความว่า รัฐธรรมนูญท่ีดีจะต้องมีบทบัญญัติท่ีไม่ยาวจน เกินไป กล่าวคือ ควรจะมีบทบัญญัติเฉพาะในส่วนท่ีเกี่ยวกับการจะวางหลักการท่ีส�ำคัญและมีจ�ำเป็น เพ่ือความแน่นอนและความมั่นคงในการปกครองประเทศ ท้ังนี้เพราะหากรัฐธรรมนูญฉบับใดมี บทบญั ญตั มิ ากมายและมรี ายละเอียดเกินความจ�ำเปน็ จะท�ำให้เกดิ การขัดแยง้ ในการตีความขนึ้ ได้ ๕. รฐั ธรรมนญู ทดี่ จี ะตอ้ งมบี ทบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยวธิ กี ารแกไ้ ข ตดั ทอน หรอื เพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนญู ที่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นที่ยอมรับกันว่าสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศมีการ ๑๖๖ อานนท์ อาภาภิรม, เร่ืองเดมิ , หนา้ ๕๕ – ๕๖.

สถาบนั ทางการเมือง (Political Institution) 257 เปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอตลอดเวลา ฉะนนั้ เมอ่ื มกี ารใชร้ ฐั ธรรมนญู ไประยะหนง่ึ แลว้ สถานการณบ์ า้ นเมอื ง ภายในประเทศมีการเปลี่ยนแปลงไป จึงอาจเกิดความจ�ำเป็นที่จะต้องแก้ไข ตัดทอนหรือเพ่ิมเติม ข้อความในรัฐธรรมนูญ เพ่ือให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์หรือเจตนารมณ์ของประชาชน โดยสว่ นรวม การทม่ี บี ทบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยวธิ กี ารดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะชว่ ยทำ� ใหส้ ามารถมกี ารแกไ้ ข ตดั ทอน หรอื เพมิ่ เตมิ ขอ้ ความในรฐั ธรรมนญู ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู ได้ หากไมม่ บี ทบญั ญตั ิ ในเรอื่ งนไ้ี ว้ กอ็ าจจะเกดิ ความยงุ่ ยากในเมอื่ มคี วามจำ� เปน็ จะตอ้ งกระทำ� การดงั กลา่ ว ซง่ึ อาจจะเกดิ การ ปฏิวตั หิ รอื รัฐประหารเพ่อื ทำ� การแก้ไขรฐั ธรรมนญู ความส�ำคัญของรัฐธรรมนญู สาเหตทุ ี่รฐั จ�ำเป็นต้องมีรฐั ธรรมนูญเป็นหลกั ในการปกครองบรหิ ารประเทศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งประเทศทเี่ กดิ ใหม่หรอื ได้รบั เอกราชใหม่ หรอื ประเทศทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงการปกครองสรู่ ะบบใหม่ อนั เปน็ พฒั นาการทางการเมืองการปกครองนนั้ เนือ่ งจาก ๑. เพอ่ื แสดงถงึ แหลง่ ทม่ี าของอำ� นาจอธปิ ไตย และการใชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย ในประเดน็ นม้ี คี วาม ส�ำคัญยิ่งต่อประเทศที่เกิดใหม่ เพราะการได้มาซ่ึงเอกราชทางการเมืองน้ันไม่ใช่เป็นจุดประสงค์สูงสุด แต่การได้มาซ่ึงอำ� นาจอธิปไตยทางการเมอื งดจู ะเปน็ เปา้ หมายสงู สุดสำ� หรับการเป็นรัฐที่อิสระ และไม่ วา่ จะเปน็ ประเทศทเี่ กดิ ใหมห่ รอื ประเทศทเ่ี ปลย่ี นแปลงการปกครองกต็ ามทกี่ ารแสดงถงึ ทม่ี าของอำ� นาจ อธปิ ไตยและการใชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตยเปน็ สง่ิ ทรี่ ฐั ธรรมนญู ตอ้ งบญั ญตั ไิ วใ้ หช้ ดั เจน เพอื่ เปน็ การแสดงความ เกย่ี วพนั ระหวา่ งรฐั กับประชาชน ขอบเขตของสทิ ธิและหนา้ ทีข่ องแต่ละฝ่าย ๒. เพื่อแสดงฐานะของรัฐในการด�ำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Standing Interna- tional) และให้ได้รับการยอมรับความเป็นรัฐจากนานาประเทศ การมีรัฐธรรมนูญของตนเองเป็นการ แสดงถึงความเป็นเอกราชของรัฐอันพึงได้รับการยอมรับจากรัฐอ่ืน ซึ่งในเรื่องน้ีถือเป็นเรื่องส�ำคัญมาก ในเวทีการเมืองระดับโลก เพราะการได้รับการยอมรับจากรัฐอ่ืนแสดงถึงการบรรลุถึงขั้นสุดยอดใน ทางการเมืองของสังคมโลกท่มี คี วามชอบธรรมในการด�ำเนินความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ เพราะรัฐท่ี ไดร้ บั การยอมรับจากนานาประเทศแลว้ จะมีฐานะเป็นนติ ิบุคคลทางกฎหมายระหวา่ งประเทศ ๓. เพอื่ เป็นสัญลกั ษณ์ท่แี สดงถึงการพัฒนาทางการเมืองของรัฐ เป็นประเด็นส�ำคัญส�ำหรับรฐั ท่ีมีการพัฒนาทางการเมืองโดยการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง ไม่ว่าจะเป็นจาก สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นประชาธิปไตยหรือเผด็จการก็ตาม ซ่ึงจ�ำเป็นต้องเร่งสร้างกติกาหลักที่ใช้ใน การปกครองประเทศ น่ันก็คือรัฐธรรมนูญ จึงอาจกล่าวได้ว่า การมีรัฐธรรมนูญเป็นเสมือนสัญลักษณ์ แห่งพัฒนาการขั้นหนึ่งของการปกครองในรฐั นั้น

258 รฐั ศาสตร์เบอ้ื งตน้ รัฐธรรมนญู ของไทย รฐั ธรรมนญู ของประเทศไทยเทา่ ทเ่ี คยประกาศใชม้ ารวมทง้ั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ ซึ่งเป็นฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีจ�ำนวนรวมถึง ๑๖ ฉบับ ล�ำดับการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญของประเทศไทย มดี ังน๑ี้ ๖๗ ฉบับที่ ๑ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามช่ัวคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ (๒๗ มถิ ุนายน ๒๔๗๕) ฉบบั ที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย (๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕) ฉบบั ท่ี ๓ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (๙ พฤษภาคม ๒๔๘๙) ฉบับท่ี ๔ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับช่ัวคราว) (๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๐) ฉบบั ท่ี ๕ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (๒๓ มีนาคม ๒๔๙๓) ฉบบั ที่ ๖ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศกั ราช ๒๔๙๕ (๘ มนี าคม ๒๔๙๕) ฉบบั ท่ี ๗ ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร (๒๘ มกราคม ๒๕๐๒) ฉบับที่ ๘ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๑๑) ฉบบั ที่ ๙ ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร (๑๕ ธนั วาคม ๒๕๑๕) ฉบับท่ี ๑๐ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย (๗ ตลุ าคม ๒๕๑๗) ฉบบั ที่ ๑๑ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร (๒๒ ตุลาคม ๒๕๒๐) ฉบับที่ ๑๒ ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักรไทย (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๐) ฉบับที่ ๑๓ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (๒๒ ธันวาคม ๒๕๒๑) ฉบบั ที่ ๑๔ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย (๑ มีนาคม ๒๕๓๔) ฉบบั ที่ ๑๕ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (๙ ธันวาคม ๒๕๓๔) ฉบับท่ี ๑๖ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (๑๑ ตลุ าคม ๒๕๔๐) เมอ่ื พจิ ารณาถงึ จำ� นวนรฐั ธรรมนญู ฉบบั ตง้ั แตเ่ ปลยี่ นแปลงการปกครอง เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน เป็นต้นมา ประเทศไทยได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญมาแล้ว ๑๖ ฉบับ (แต่ถ้าจะนับรวมถึงการแก้ไข รัฐธรรมนญู แลว้ จะมีจำ� นวนเกือบ ๓๐ ฉบับ) ภายในชว่ งระยะเวลาเพียงครงึ่ ศตวรรษเศษ ไดม้ ผี ู้ต้งั ข้อ สงั เกตวา่ ประเทศไทยเปน็ ประเทศทม่ี ีรฐั ธรรมนญู จำ� นวนมากฉบับทส่ี ดุ ในโลกประเทศหนึง่ ๑๖๗ ธานนิ ทร์ กรยั วเิ ชยี ร, ระบอบประชาธิปไตย (กรงุ เทพฯ, โรงพิมพก์ รมแผนทีท่ หาร : ๒๕๑๘) หน้า ๗.

สถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) 259 สาเหตุท่ีท�ำให้ประเทศไทยเรามีความจ�ำเป็นต้องเลิกใช้รัฐธรรมนูญฉบับเก่า และประกาศใช้ รฐั ธรรมนูญฉบบั ใหม่ถงึ ๑๖ ครง้ั นน้ั มกั จะมขี อ้ อา้ งในทำ� นองเดยี วกนั ว่าเปน็ เพราะรัฐธรรมนญู ทใ่ี ชอ้ ยู่ ไม่เหมาะกับสภาวการณ์ของประเทศในขณะน้ัน เมื่อสภาวการณ์แปรเปลี่ยนไป แนวนโยบายของรัฐ ยอ่ มต้องแปรเปล่ยี นดว้ ย รฐั ธรรมนญู ซงึ่ วางรูปการปกครองของประเทศ และแนวนโยบายแห่งรัฐย่อม ต้องเปลย่ี นแปลงไปด้วย สถาบันนิตบิ ัญญัติ (Legislature) สถาบนั นติ บิ ญั ญตั เิ ปน็ สถาบนั ทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ กระบวนการบญั ญตั กิ ฎหมายเปน็ สำ� คญั โดยหาก ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยองค์กรที่ท�ำหน้าที่บัญญัติกฎหมายได้แก่ รัฐสภา (Parliament) เพราะถอื วา่ รฐั สภาเปน็ สถาบนั ท่แี สดงเจตนารมณ์ท่ัวไปของประชาชน เพราะฉะนั้น การตราพระราช บัญญัติจึงถูกก�ำหนดโดยรัฐธรรมนูญให้ผ่านกระบวนการพิจารณาและความเห็นชอบโดยรัฐสภา ถา้ รฐั สภาใหค้ วามเหน็ ชอบผา่ นรา่ งพระราชบญั ญตั ิ กเ็ ปน็ ผลใหร้ า่ งพระราชบญั ญตั นิ นั้ ไดร้ บั การตราให้ เปน็ กฎหมายออกมาบงั คบั ใช้ การกำ� หนดใหก้ ารตราพระราชบญั ญตั ติ อ้ งผา่ นกระบวนการพจิ ารณาและ เห็นชอบจากรัฐสภา อันประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพราะในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยถอื วา่ รฐั สภาเปน็ องคก์ รทแี่ สดงถงึ เจตจำ� นงของประชาชน จากหลกั การทวี่ า่ สมาชกิ ของ รัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชนที่ได้รับการยินยอมและเห็นชอบจากเสียงข้างมากของประชาชนให้ เข้ามาใช้อ�ำนาจอธิปไตยตามวิถีทางประชาธิปไตยทางอ้อม (Indirect Democracy) รวมท้ังอ�ำนาจ หนา้ ทใ่ี นกระบวนการนิติบัญญตั ดิ ้วย กระบวนการตรากฎหมายโดยสถาบันนติ ิบญั ญตั โิ ดยทว่ั ไป การปกครองระบอบประชาธิปไตยได้ก�ำหนดให้รัฐสภาเป็นองค์กรท่ีท�ำหน้าที่หลักในการ บัญญัติกฎหมาย เพราะรัฐสภาถือเป็นสถาบันที่ได้รับฉันทานุมัติจากประชาชนส่วนใหญ่ให้เข้ามาใช้ อ�ำนาจอธปิ ไตยแทนตนภายใตว้ ถิ ีทางท่กี ำ� หนดไว้ในรฐั ธรรมนญู เพราะฉะน้นั กฎหมายหรอื ข้อบังคบั ที่ จะผลต่อประชาผู้เป็นเจ้าของอธิปไตยจึงต้องผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่เพราะการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยทางออ้ มมอี ยู่สองรปู แบบใหญ่ ๆ คือ ระบบประธานาธบิ ดีกบั ระบบรฐั สภา ซึ่งใน สองระบบนม้ี วี ธิ กี ารในการตรากฎหมายทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปบา้ ง โดยจะแยกพจิ ารณาออกเปน็ หวั ขอ้ ดงั น๑ี้ ๖๘ ๑๖๘ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย. อ้างแล้ว, น. ๒๗๖ - ๒๗๙.

260 รฐั ศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ๑. ผู้เสนอรา่ งกฎหมาย กรณีระบบประธานาธิบดี : ผู้มีสิทธ์ิเสนอร่างกฎหมายคือสมาชิกรัฐสภาเท่าน้ัน เพราะหลัก การปกครองในรูปแบบนี้เป็นการแบ่งแยกอ�ำนาจหน้าที่ในการใช้อ�ำนาจอธิปไตยแบบเด็ดขาดคือฝ่าย บรหิ าร ฝา่ ยตลุ าการ และฝา่ ยนิตบิ ญั ญัติต่างปฏิบตั ิหนา้ ทีข่ องตนได้อย่างอสิ ระไม่ขนึ้ ตอ่ กัน ฉะน้ันฝ่าย บริหารจึงมีหน้าที่ในการบริหารกิจกรรมบ้านเมืองให้เป็นไปตามกฎหมายที่ตราข้ึนโดยฝ่ายนิติบัญญัติ เพราะทัง้ สองฝ่ายตา่ งก็ถือกำ� เนดิ มาจากการเลอื กต้ังของประชาชนทง้ั สนิ้ กรณรี ะบบรฐั สภา : การเสนอรา่ งกฎหมายสรู่ ฐั สภาไดแ้ ก่ สมาชกิ รฐั สภาหรอื คณะรฐั มนตรนี น่ั คืออาจเป็นฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารก็ได้แล้วแต่กรณี การให้อ�ำนาจแก่ฝ่ายบริหารด้วยนั้นเน่ือง มาจากทง้ั สองฝา่ ยมลี กั ษณะการปฏบิ ตั งิ านทร่ี ว่ มมอื กนั ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั เิ ปน็ ใหก้ ารรบั รองและสนบั สนนุ บคุ คลหนงึ่ บคุ คลใดขนึ้ เปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ าร และจากการทฝ่ี า่ ยบรหิ ารเปน็ ฝา่ ยทมี่ อี งคก์ รหรอื หนว่ ย งานทเ่ี ปน็ เสมอื นเครอื่ งมอื ของฝา่ ยบรหิ ารในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เชน่ กระทรวง ทบวง กรมตา่ ง ๆ ฉะนั้นจึงมีความใกล้ชิดและเข้าใจถึงปัญหา ความต้องการของประชาชนได้ดี จึงสมควรที่จะมีสิทธิใน การเปน็ ผูเ้ สนอรา่ งกฎหมายไดเ้ ชน่ เดียวกบั สมาชิกรัฐสภาซงึ่ เป็นฝา่ ยนิติบัญญตั ิ ๒. การพิจารณาร่างกฎหมาย กรณีระบบประธานาธิบดี : กระบวนการพิจารณาร่างกฎหมายถือเป็นภารกิจของรัฐสภาแต่ เพยี งองคก์ รเดยี ว ฝา่ ยบรหิ ารไมม่ สี ทิ ธเิ ขา้ ไปรบั ทราบหรอื ยงุ่ เกยี่ วอยา่ งเปน็ ทางการไดเ้ ลย วธิ กี ารทฝ่ี า่ ย บริหารจะเข้าไปมีบทบาทต่อกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมายอาจท�ำได้โดยวิธีการล๊อบบี้ (lobby) คอื การใชอ้ ทิ ธพิ ลในการโนม้ นา้ วสมาชกิ รฐั สภาใหเ้ หน็ คลอ้ ยตาม หรอื อกี วธิ หี นงึ่ คอื การโนม้ นา้ วในกรณี ทคี่ ณะกรรมาธกิ ารซง่ึ พจิ ารณารา่ งกฎหมายใชอ้ ำ� นาจเรยี กฝา่ ยบรหิ ารมาใหถ้ อ้ ยคำ� หรอื แถลงขอ้ เทจ็ จรงิ ให้คณะกรรมาธิการได้รบั ทราบ (Testifying) ในข้นั ตอนการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ซ่งึ จะเปน็ โอกาสที่รฐั มนตรหี รอื เจา้ หน้าท่ีฝา่ ยรฐั บาลจะไดแ้ สดงขอ้ เทจ็ จริง กรณรี ะบบรฐั สภา : จะมกี ารประชมุ ปรกึ ษาเพอ่ื พจิ ารณารา่ งกฎหมาย โดยฝา่ ยบรหิ ารสามารถ ทจ่ี ะเขา้ รว่ มประชมุ เพอื่ ชแี้ จงขอ้ มลู ในทป่ี ระชมุ สภาได้ แตส่ ทิ ธใิ นการลงคะแนนเสยี งยงั คงสงวนไวเ้ ฉพาะ สมาชิกรัฐสภาเท่าน้ัน และในขั้นตอนการพิจารณากฎหมายของคณะกรรมาธิการฝ่ายบริหารสามารถ เสนอขอใหต้ ง้ั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั โดยอาจเสนอชอื่ บคุ คลเพอื่ เปน็ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ไดต้ าม จำ� นวนทกี่ ำ� หนดไวต้ ามกฎขอ้ บงั คบั ๓. การประกาศใชก้ ฎหมายท่ีผ่านการพิจารณาแลว้ กรณีระบบประธานาธิบดี : ให้อ�ำนาจแก่ประธานาธิบดีในฐานะประมุขของประเทศเป็นผู้ลง นามประกาศใช้

สถาบันทางการเมือง (Political Institution) 261 กรณีระบบรัฐสภา : ประมุขของประเทศมักเป็นผู้ลงนาม ซึ่งอาจได้แก่ พระมหากษัตริย์หรือ ประธานาธิบดีแล้วแต่กรณีว่าประเทศน้ันมีใครเป็นประมุข ข้อสังเกตอย่างหนึ่งก็คือโดยท่ัวไปจะมีการ ใหอ้ ำ� นาจแกป่ ระมขุ ของประเทศทงั้ ในระบบประธานาธบิ ดแี ละระบบรฐั สภาในการทจี่ ะยบั ยง้ั กฎหมาย ฉบบั นั้นได้กรณีท่ไี มเ่ หน็ ดว้ ย สถาบนั บรหิ าร ( Executive) ฝ่ายบริหาร (Executive) หมายถึงบุคคล คณะบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ซ่ึงมีหน้าที่ในการน�ำ นโยบาย (Policy) ไปใชเ้ พ่อื บรรลเุ ป้าหมายตามวัตถปุ ระสงค์ของนโยบายน้ัน ๆ เช่น การใหก้ ารศึกษา การเศรษฐกิจ การคา้ เปน็ ต้น องคก์ รท่ีถูกก�ำหนดใหเ้ ป็นผใู้ ช้อ�ำนาจบริหารคอื รฐั บาลซึง่ อาจหมายถึง คณะรัฐบาล (Ministry) หรือคณะรฐั มนตรี (Cabinet) ในความหมายอยา่ งแคบส�ำหรบั ในความหมาย อย่างกว้างจะหมายถึง คณะรัฐบาล และข้าราชการทุกคน ท่ีท�ำหน้าที่ร่วมในการปกครองบริหาร ประเทศ ๑๖๙หากการบรหิ ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยรปู แบบรฐั สภา (Parliamentary Democ- racy) ก็จะมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ซ่ึงจะต้องเป็นผู้ท่ีได้รับการยอมรับจากรัฐสภา ส่วนการปกครองรูปแบบประธานาธิบดี (Presidential Democracy) มีหัวหน้าฝ่ายบริหารคือ ประธานาธบิ ดี ซงึ่ ไดร้ บั เลอื กตงั้ มาจากประชาชนโดยตรง จงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การยอมรบั จากใครหรอื องคก์ รใดอกี แตโ่ ดยทวั่ ไป เราอาจแบง่ อำ� นาจหนา้ ทข่ี องฝา่ ยบรหิ ารออกไดอ้ ยา่ งกวา้ ง ๆ ๓ ประการ คอื ๑. หนา้ ทีเ่ ก่ยี วกบั การบริหารกจิ การภายในประเทศ ๒. หน้าท่เี กีย่ วกบั การบริหารกิจการระหวา่ งประเทศ ๓. หนา้ ที่เก่ียวกับการบริหารกิจการปอ้ งกันประเทศ อย่างไรก็ดี อ�ำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหารใช่ว่าจะมีเพียง ๓ บทบาทดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เท่าน้ัน ตรงกันข้ามฝ่ายบริหารยังมีบทบาทและอ�ำนาจอื่น ๆ อีก เช่น การตราพระราชบัญญัติต่าง ๆ ซ่ึงตามความเป็นจริงเป็นภาระหน้าท่ีของฝ่ายนิติบัญญัติ แต่ส�ำหรับการปกครองแบบประชาธิปไตย ระบบรฐั สภานนั้ ฝา่ ยบรหิ ารคอื รฐั บาลซงึ่ ประกอบดว้ ยคณะรฐั มนตรี ซงึ่ กเ็ ปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในรฐั สภาอกี ดว้ ย จงึ ต้องท�ำหน้าทท่ี างฝ่ายนิติบัญญตั อิ ีกบทบาทหนึ่ง หากจะแบ่งรูปแบบของรัฐบาล เราสามารถแบ่งออกเป็นประเภทได้หลายประเภท ท้ังนี้ ขน้ึ อยกู่ บั วา่ เราจะใชอ้ ะไรเปน็ เกณฑ์ แตป่ จั จยั ทนี่ ยิ มนำ� มาใชเ้ ปน็ เกณฑจ์ ดั เปน็ แบง่ ประเภทของรฐั บาล คือ การพิจารณาท่ีจ�ำนวนของผู้ใช้อ�ำนาจอธิปไตยประการหนึ่ง การแยกอ�ำนาจ (Separation of Power) ประการหน่งึ และ การแบง่ อำ� นาจ (Division of Power) อีกประการหน่งึ ๑๖๙ Austin Renney, The Governing of Men. Third Edition , (New York Chicago : Holt-Rinchart Inc. ๑๙๙๖). pp.๒๑.

262 รัฐศาสตร์เบ้อื งตน้ ๑. การแบง่ ประเภทรฐั บาลโดยพจิ ารณาจำ� นวนผใู้ ช้อ�ำนาจอธปิ ไตย ๑.๑ รฐั บาลแบบคนเดียวใช้อำ� นาจอธปิ ไตย : เปน็ ลักษณะที่มคี นเพียงคนเดียวเปน็ ผู้ ใช้อ�ำนาจอธิปไตย รูปแบบของรัฐบาลประเภทนี้มีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบกษัตริย์ (Monarchy) ซ่ึงเป็น รปู แบบทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมากในอดตี อนั เปน็ สมยั ตน้ ๆ ของการพฒั นารฐั ทง้ั ในทวปี ยโุ รปและเอเชยี การปกครองแบบนอ้ี รสิ โตเตลิ นกั ปราชญส์ มยั กรกี ใหค้ วามเหน็ วา่ เปน็ การปกครองทด่ี ที ส่ี ดุ โดยกลา่ ววา่ กษัตริย์จะปกครองโดยมีคุณธรรมเพ่ือพสกนิกรของพระองค์ ส่วนรัฐบาลโดยคนเพียงคนเดียวอีกแบบ หนง่ึ คอื แบบทรราชย์ (Tyranny) ซง่ึ อรสิ โตเตลิ ถอื วา่ เปน็ รปู แบบการปกครองทเี่ ลวทสี่ ดุ เพราะทรราชย์ จะใช้อ�ำนาจอธิปไตยเพ่อื ตนเองโดยอำ� เภอใจไมม่ คี ณุ ธรรม ๑.๒ รฐั บาลแบบชนกลมุ่ นอ้ ยเปน็ ผใู้ ชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย : เปน็ รปู แบบการปกครองรฐั ที่ เฉพาะชนกลุ่มน้อยเท่าน้ันท่ีเข้าไปใช้อ�ำนาจอธิปไตย โดยคนส่วนใหญ่ไม่มีสิทธิเข้าไปมีส่วนร่วมในการ ปกครองประเทศ ตัวอย่างรูปแบบของรัฐบาลประเภทนี้ได้แก่ แบบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) กับ คณาธิปไตย (Olicracy) การปกครองแบบอภิชนาธิปไตยเปน็ การปกครองโดยพวกขนุ นาง ชนช้ัน สงู ของสงั คม ซงึ่ อรสิ โตเตลิ เชอ่ื วา่ เปน็ การปกครองทดี่ รี ปู แบบหนง่ึ เพราะขนุ นางหรอื ชนชน้ั สงู นน้ั มโี อกาส ไดร้ บั การศกึ ษาและคงไมก่ อบโกยผลประโยชนเ์ พอื่ ตนเองนกั อนั เนอื่ งมาจากความเปน็ ชนชน้ั สงู ทม่ี ฐี านะ ดเี พยี งพอแกต่ นเองแลว้ สว่ นการปกครองในรปู แบบคณาธปิ ไตยจะมลี กั ษณะตรงขา้ ม นนั่ คอื ผมู้ อี ำ� นาจ ปกครองมักไม่ได้มาจากกลุ่มของชนช้ันสูงในสังคม และมักได้มาซึ่งอ�ำนาจจากการใช้ก�ำลัง กลุ่มผู้น�ำ ประเภทน้จี งึ มักทำ� อะไรตามอ�ำเภอใจ ไมค่ �ำนงึ ถึงผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ในสงั คม ๑.๓ รฐั บาลแบบคนกลมุ่ ใหญเ่ ปน็ ผใู้ ชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย : จะมรี ปู แบบและวธิ กี ารทตี่ รง ขา้ มกบั รฐั บาลทปี่ กครองโดยคนสว่ นนอ้ ย นน่ั คอื รฐั บาลจะถกู ปกครองบรหิ ารโดยคนสว่ นใหญข่ องสงั คม ดังที่เกิดมาแล้วในสมัยกรีกที่มีการหมุนเวียนในประชาชนในสังคมผลัดเปลี่ยนกันไปบริหารประเทศ ซงึ่ เปน็ รูปแบบของประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy) แตป่ ัจจบุ ันไม่มีประเทศใดทส่ี ามารถ ปกครองโดยวธิ นี ไี้ ด้ เพราะประชากรของประเทศมมี ากเกนิ ไปรวมทง้ั ขนาดรฐั และสภาพสงั คมทเี่ ปลยี่ น ไปทำ� ใหต้ อ้ งใชร้ ปู แบบประชาธปิ ไตยทางออ้ ม (Indirect Democracy) ทใ่ี ชว้ ธิ กี ารเลอื กตวั แทนของคน สว่ นใหญ่ไปทำ� หนา้ ท่แี ละใชอ้ �ำนาจอธิปไตยแทนตน ๒. การแบง่ ประเภทรฐั บาลโดยพจิ ารณาการแยกอ�ำนาจอธปิ ไตย ๒.๑ รัฐบาลในรูปแบบประธานาธิบดี รูปแบบของรัฐบาลนี้ ใช้หลักการแยกอ�ำนาจ อธิปไตยออกเปน็ สัดสว่ น ใหส้ ภานิติบญั ญตั ิ บริหาร ตุลาการ เทา่ เทียมกนั แตใ่ นยังคงไว้ซงึ่ อำ� นาจของ แต่ละฝ่ายท่ีสามารถจะยับยั้งและถ่วงดุลซึ่งกันและกันได๑้ ๗๐ รูปแบบน้ีมีประธานาธิบดีซึ่งจะท�ำหน้าท่ี ๑๗๐ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, เอกสารการสอนชดุ วชิ าสถาบนั และกระบวนการทางการเมืองไทย. อ้างแลว้ , น. ๓๖๖.

สถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) 263 เปน็ ประมขุ ของประเทศและหวั หนา้ ของฝา่ ยบรหิ ารไปพรอ้ มกนั ประธานาธบิ ดจี ะทำ� หนา้ ทแ่ี ตง่ ตงั้ คณะ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของรัฐสภา เพ่ือเข้าร่วมปฏิบัติงานด้านการบริหารประเทศ การรับหน้าที่ เป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีนั้นจะปฏิบัติเสมือนว่าท�ำหน้าที่แทนตัวประธานาธิบดีในแต่ละเรื่อง๑๗๑ นโยบายของรฐั บาลไมต่ อ้ งผา่ นการยนิ ยอมเหน็ ชอบโดยรฐั สภา เพราะถอื วา่ นโยบายของฝา่ ยบรหิ ารได้ แถลงและช้ีแจงแก่ประชาชนท้ังประเทศตั้งแต่ตอนหาเสียง ส�ำหรับในเร่ืองการถ่วงดุลอ�ำนาจอธิปไตย ประธานาธิบดีสามารถยับยั้งถ่วงดุลฝ่ายนิติบัญญัติได้โดยการยับย้ังร่างกฎหมายที่ผ่านสภานิติบัญญัติ ส่วนการผลักดันของประธานาธิบดีเพ่ือให้รัฐสภาผ่านกฎหมายที่สอดคล้องกับแนวนโยบายของฝ่าย บริหารนั้น หากประธานาธิบดีเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองเดียวกันกับเสียงส่วนใหญ่ในรัฐสภา ก็สามารถใช้ความเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองของตนเพื่อให้สภาผ่านกฎหมายท่ีตนต้องการได้ แต่ถ้า รัฐสภามสี มาชกิ สว่ นใหญเ่ ปน็ คนละพรรคกบั ที่ประธานาธบิ ดีสังกัด หนทางท่ปี ระธานาธบิ ดีจะผลกั ดนั ให้สภาผ่านร่างกฎหมายที่ตนต้องการได้ก็คงต้องเป็นความสามารถของประธานาธิบดีที่จะชักจูงให้ สมาชกิ ของสภาเหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการออกกฎหมายนนั้ ๆ ซง่ึ อาจท�ำได้โดยการชีแ้ จงความส�ำคัญ และความจำ� เป็นให้สมาชิกในสภาทราบ หรือใชก้ ระแสของประชาชนทเ่ี ห็นดว้ ยกบั ตนเปน็ แรงผลักดัน หรือการใช้วิธีการล๊อบบี้ (lobby) เป็นต้น ส่วนการถ่วงดุลกับฝ่ายตุลาการอาจกระท�ำได้โดย ประธานาธบิ ดเี ปน็ ผเู้ สนอชอ่ื ผสู้ มควรด�ำรงต�ำแหน่งผพู้ ิพากษาสูงสดุ โดยความเหน็ ชอบของรฐั สภา ๒.๒ รฐั บาลในรูปแบบรัฐสภา รปู แบบของรัฐบาลแบบนี้มีนายกรฐั มนตรเี ปน็ หัวหน้า ฝ่ายบริหารนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจะต้องมาจากรัฐสภาจึงต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภาโดยตรง นโยบายของรัฐบาลจะต้องผ่านการแถลงต่อรัฐสภา วิธีการตรวจสอบและควบคุมการบริหารงานของ รัฐบาล ภายหลังท่ีคณะรัฐมนตรีได้เข้าบริหารประเทศแล้ว จะกระท�ำได้โดยการเปิดอภิปรายซ่ึงมีทั้ง การเปดิ อภปิ รายแบบมกี ารลงมตแิ ละการเปดิ อภปิ รายแบบไมม่ กี ารลงมติ ซงึ่ อาจเปดิ อภปิ รายรายบคุ คล หรอื ทงั้ คณะกไ็ ดแ้ ลว้ แตก่ รณี หากรฐั สภาเปดิ อภปิ รายแบบมกี ารลงมตแิ ลว้ มมี ตไิ มไ่ วว้ างใจ ฝา่ ยบรหิ าร หรอื คณะรฐั บาลจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบโดยมที างเลอื กสองทางคอื นายกรฐั มนตรลี าออกอนั สง่ ผลใหร้ ฐั บาล ชุดน้ันสิ้นสุดวาระลง แล้วให้ฝ่ายค้านเป็นแกนน�ำในการจัดต้ังรัฐบาลเข้ามาบริหาร หรือวิธีท่ีสองคือใช้ วธิ กี ารยบุ สภาเพื่อคนื อ�ำนาจใหก้ บั ประชาชนในการตดั สนิ ว่ารฐั สภาหรือรฐั บาลเป็นฝา่ ยถูกตอ้ งโดยถอื ผลจากการเลอื กตง้ั หากฝา่ ยรฐั บาลถกู เลอื กกลบั เขา้ มาอกี ครง้ั จนสามารถเปน็ รฐั บาลได้ กแ็ สดงวา่ ฝา่ ย รฐั บาลถกู หากฝา่ ยรฐั บาลไมถ่ กู เลอื กเขา้ มาเปน็ รฐั บาลอกี กแ็ สดงวา่ ฝา่ ยรฐั สภาเปน็ ฝา่ ยถกู แตท่ งั้ นฝ้ี า่ ย บริหารก็สามารถควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติได้เช่นกัน โดยนายกรัฐมนตรีมีอำ� นาจยุบสภาเพื่อให้เกิดการ เลือกตั้งใหม่และการเข้าไปมีอิทธิพลต่อการผ่านร่างกฎหมาย โดยผ่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ ๑๗๑ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, เอกสารการสอนชดุ วชิ าหลกั รฐั ศาสตรแื ละการบรหิ าร. อา้ งแลว้ , น. ๑๘๑.

264 รัฐศาสตร์เบ้ืองต้น พรรครัฐบาลท่ีเป็นพรรคการเมืองท่ีมีเสียงข้างมากในรัฐสภา ท�ำให้รัฐบาลสามารถท่ีจะออกกฎหมาย และผลกั ดนั ใหร้ ฐั สภาผา่ นรา่ งกฎหมายทตี่ นเหน็ วา่ มคี วามสำ� คญั และจำ� เปน็ ไดง้ า่ ยกวา่ ฝา่ ยคา้ นซงึ่ เปน็ เสยี งขา้ งนอ้ ยในรฐั สภา สว่ นฝา่ ยตลุ าการจะเปน็ ฝา่ ยทคี่ อ่ นขา้ งมอี สิ ระในการจดั การแตก่ อ็ ยภู่ ายใตแ้ นว นโยบายของฝ่ายบริหาร อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันนี้ฝ่ายบริหารในการปกครองรูปแบบรัฐสภาได้มี วิวฒั นาการในทางทจ่ี ะใหฝ้ ่ายบริหารมอี ำ� นาจเพิ่มมากขน้ึ ท้งั น้เี พื่อความม่ันคงและความมเี สถยี รภาพ ของรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีประชาชนท่ีมีความรู้และความเข้าใจในการเมืองการ ปกครอง เชน่ อังกฤษและเยอรมัน๑๗๒ สิ่งท่ีน่าสังเกตประการหนง่ึ คอื ประมขุ ของประเทศทีใ่ ช้รูปแบบ รฐั สภามักไม่ใชบ่ ุคคลเดยี วกันกับหวั หน้าฝา่ ยบรหิ าร ๓. การแบ่งประเภทรัฐบาลโดยพจิ ารณาการแบ่งอ�ำนาจอธปิ ไตย ๓.๑ รฐั บาลเดย่ี ว จะมลี กั ษณะของการรวมอำ� นาจ โดยอำ� นาจอธปิ ไตยเปน็ ของรฐั บาล กลาง เพราะฉะนั้นในเร่ืองของนโยบายต้ังแต่การก�ำหนดนโยบายจนถึงการบริหารนโยบายในการน�ำ ออกไปปฏบิ ตั ถิ อื เปน็ อำ� นาจของรฐั บาลกลางเทา่ นนั้ หนว่ ยงานอน่ื ใดจงึ มหี นา้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตาม เปา้ หมายทรี่ ฐั บาลกลางเปน็ ผกู้ ำ� หนด การปกครองในรปู แบบรฐั บาลเดยี วจงึ มขี อ้ ดอ้ ยในเรอื่ งของความ คล่องตัว และความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในทางปฏิบตั ิประเทศท่ใี ชร้ ูปแบบรฐั บาลเดยี วจึงพยายามหาทางแกไ้ ขปญั หาดงั กล่าว ทางหนง่ึ ทถี่ กู หยบิ ยกมาใชค้ อื การกระจายอำ� นาจใหก้ บั หนว่ ยงานปกครองอน่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ท้ังในแง่การกำ� หนดนโยบาย การน�ำนโยบายไปปฏิบัตหิ รือการแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ๓.๒ รัฐบาลรวม จะมีลักษณะของการแบ่งอ�ำนาจการปกครอง นั่นคือ ไม่ใช่เฉพาะ รัฐบาลกลางเท่าน้ันที่มีอ�ำนาจอธิปไตย ตรงกันข้าม ในรูปแบบน้ีจะมีการแบ่งอ�ำนาจอธิปไตยให้กับ รัฐบาลท้องถิ่น น่ันหมายความว่า ในบางเร่ืองรัฐบาลกลางก็จะมีอ�ำนาจสูงสุด และในบางเรื่องรัฐบาล ท้องถ่ินก็จะมอี ำ� นาจสูงสดุ ในรูปแบบของรฐั บาลรวมแยกออกได้ ๒ ประเภทคือ ก. สมาพนั ธรฐั รปู แบบของสมาพนั ธรฐั จะเปน็ การเขา้ รวมกนั ของรฐั ตา่ ง ๆ อยา่ งหลวม ๆ และเปน็ การชว่ั คราว เพอ่ื จดุ ประสงคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ การมารวมตวั กนั ของรฐั ตา่ ง ๆ นแี้ ตล่ ะรฐั ยงั คงไว้ซ่งึ อำ� นาจอธิปไตย นน่ั คือ เปน็ การรวมตัวทแี่ ต่ละรฐั ไม่ได้สญู เสยี อำ� นาจอธปิ ไตยให้ใคร และหาก จะแยกตัวออกจากสมาพันธ์ก็สามารถท�ำได้ไม่ยาก ประเทศท่ีใช้รูปแบบสมาพันธ์ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ในช่วงตน้ ๆ เพอ่ื ขอเอกราชจากอังกฤษ ๑๗๒ อานนท์ อาภาภริ ม, รัฐศาสตร์เบื้องต้น อา้ งแล้ว, น. ๗๔.

สถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) 265 ข. สหพันธรัฐ เป็นรูปแบบท่ีรัฐบาลมีการแบ่งอ�ำนาจการใช้อ�ำนาจอธิปไตยออกเป็น สัดส่วนรัฐบาลใดได้รับอ�ำนาจอธิปไตยในส่วนใดไปก็จะมีอ�ำนาจสูงสุดในส่วนนั้น ๆ เพราะฉะนั้น รัฐธรรมนูญของรัฐบาล แบบสหพันธรัฐจึงเป็นบทบัญญัติท่ีก�ำหนดและเป็นหลักประกันในการแบ่ง อำ� นาจอธปิ ไตยระหวา่ งรฐั บาลกลางกบั รฐั บาลทอ้ งถนิ่ วา่ ในเรอื่ งใดทรี่ ฐั บาลกลางมอี ำ� นาจสงู สดุ และใน เรอ่ื งใดทร่ี ฐั บาลทอ้ งถนิ่ มอี ำ� นาจสงู สดุ ลกั ษณะทสี่ ำ� คญั คอื รฐั บาลทอ้ งถน่ิ ไมส่ ามารถจะขอแยกตวั ออก จากสหพนั ธรฐั ได้ สถาบนั ตุลาการ (Judiciary) รัฐ เป็นองค์กรเดียวที่มีความชอบธรรมในการใช้อ�ำนาจอธิปไตย ซึ่งเป็นอ�ำนาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ แมใ้ นบางประเทศจะปกครองโดยมพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ กจ็ ะมกี ารระบวุ า่ พระ มหากษัตริย์เป็นผู้ใช้อ�ำนาจอธิปไตย แต่ในความเป็นจริงหาได้เป็นเช่นน้ันไม่ เพราะการระบุไว้เช่นน้ัน เป็นการเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย์มากกว่าจะน�ำไปใช้ปฏิบัติกันอย่างจริงจัง ในความเป็นจริงมี เพียงรัฐเท่านั้นท่ีมีความชอบธรรมในการใช้อ�ำนาจอธิปไตยท้ังในบทบาทการบัญญัติและบังคับใช้ กฎหมาย รวมถงึ การตคี วามและตัดสินคดีความอกี ดว้ ย จดุ มงุ่ หมายทส่ี ำ� คญั ประการหนง่ึ ทร่ี ฐั พงึ มตี อ่ ประชาชนกค็ อื การใหห้ ลกั ประกนั ทางดา้ นความ ยุติธรรมแก่ประชาชน ในทางปฏิบัติแล้วกลไกท่ีเป็นกรอบหรือกติกาพ้ืนฐานที่รัฐใช้เป็นแนวทางเพื่อ พิทักษ์ความยุติธรรมในสังคมก็คือ กฎหมาย๑๗๓ สถาบันตุลาการเป็นสถาบันทางการเมืองที่ใช้อ�ำนาจ อธิปไตยของปวงชนในการให้ความยุติธรรม โดยการใช้กฎหมายของรัฐเป็นเคร่ืองมือในการตัดสินคดี ความเมื่อประชาชนเกิดการขัดแย้งขึ้น หรืออีกนัยหน่ึงอาจกล่าวกล่าวได้ว่าสถาบันตุลาการมีหน้าที่ ส�ำคัญในการปกป้องเสรีภาพและเป็นท่ีพึ่งของประชาชนในกรณีท่ีเกิดการขัดแย้งหรือมีการกระท�ำผิด เกดิ ข้นึ ๑๗๔ สถาบันตุลาการ หมายถึงศาลและผู้พิพากษาท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในศาลต่าง ๆ เพราะฉะน้ัน การปฏิบัติหน้าที่ของศาลหรือผู้พิพากษาจึงเป็นการกระท�ำในนามของรัฐหรือในพระปรมาภิไธยของ พระมหากษตั รยิ ใ์ นประเทศทมี่ พี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ เพอื่ ความยตุ ธิ รรมผพู้ พิ ากษาทท่ี ำ� หนา้ ทใ่ี น การตัดคดีความก็จะต้องไม่ตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจหรืออิทธิพลของบุคคลหรือองค์กรใด ๆ และเพื่อให้ผู้ พพิ ากษามอี สิ ระในการปฏบิ ตั งิ านจงึ มกี ารแยกอำ� นาจตลุ าการออกไปจากอำ� นาจนติ บิ ญั ญตั ิ และอำ� นาจ บรหิ าร ๑๗๓ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, เอกสารการสอนชดุ วิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมอื งไทย. อ้างแล้ว, น. ๕๔๗. ๑๗๔ อานนท์ อาภาภริ ม, รัฐศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ อา้ งแลว้ , น. ๗๘.

๒๖๖ รัฐศาสตร์เบ้ืองตน้ สรปุ สถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) เป็นเสมือนสว่ นย่อย (Section) ทางการเมอื ง ทม่ี าประกอบกนั ขน้ึ เปน็ ระบบการเมอื ง นนั่ หมายความวา่ ในระบบการเมอื งทกุ ระบบไมว่ า่ จะเปน็ ระบบ เผด็จการหรือระบบประชาธิปไตย และไม่ว่าในระบบการเมืองน้ันจะมีการพัฒนาอยู่ในระดับใดก็ตาม กจ็ ะตอ้ งมโี ครงสรา้ งหรอื สถาบนั ทางการเมอื งทที่ ำ� หนา้ ทเี่ พอ่ื การดำ� รงอยขู่ องระบบการเมอื ง ซง่ึ ในบาง กรณีสถาบันทางการเมืองท่ีท�ำหน้าที่เหมือนกันอาจมีชื่อเรียกที่ต่างกันก็ได้ ข้อสังเกตอีกประการหนึ่ง คือ เราจะพบว่าในสังคมหรอื ระบบการเมืองที่มีการพัฒนาท่ตี ่างกันจะมจี ำ� นวนสถาบนั ทางการเมืองที่ แตกต่างกัน ดังจะเห็นได้จากในประเทศที่มีระบบการเมืองและระดับการพัฒนาท่ีสูงหรือม่ันคงถาวร แล้วมักจะมีสถาบันทางการเมืองที่หลากหลายหว่าในประเทศท่ีมีระบบการเมืองและระดับการพัฒนา ทต่ี �่ำกวา่ รัฐธรรมนูญได้แก่กฎหมายหลักหรือกฎหมายสูงสุดของรัฐ อันเป็นแม่บทกฎหมายท้ังหลาย ภายในรฐั ซงึ่ บญั ญตั วิ า่ ดว้ ยรปู แบบของรฐั รปู แบบของรฐั บาล ตลอดจนในการแบง่ แยกอำ� นาจอธปิ ไตย การใช้อ�ำนาจอธิปไตย และสิทธิหน้าที่ของประชาชน รัฐธรรมนูญประกาศใช้ทั้งในประเทศท่ีปกครอง ด้วยระบอบประชาธิปไตยและประเทศที่เป็นเผด็จการ โดยเฉพาะประเทศที่เป็นเผด็จการจะใช้ รฐั ธรรมนูญเป็นขอ้ อ้างความชอบธรรมในการปกครองประเทศ และเปน็ การโฆษณาชวนเช่ือ ให้นานา อารยะประเทศยอมรับการปกครองของรัฐบาลว่ามาจากประชาชนเหมือนกับประเทศประชาธิปไตย อื่น ๆ ลักษณะท่ัวไปท่ีส�ำคัญของรัฐธรรมนูญ คือเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐหรือประเทศ ก�ำหนดหลัก การเก่ียวกับจัดระเบยี บการปกครอง เป็นกฎหมายท่ปี ระกนั สิทธเิ สรภี าพของประชาชน เปล่ยี นแปลง แก้ไขได้ยากกว่ากฎหมายธรรมดา และมีผลใช้บังคับแน่นอนคงทนกว่ากฎหมายอื่น โดยทั่วไปแล้ว รัฐธรรมนูญแบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือ รัฐธรรมนูญแบบลายลักษณ์อักษรและรัฐธรรมนูญไม่เป็น ลายลกั ษณ์อักษร หรือรัฐธรรมนญู แบบจารตี ประเพณี สำ� หรับรัฐธรรมนญู ท่ีดีน้ัน จะต้องมขี อ้ ความชัดเจน แนน่ อน อ่านเข้าใจไดง้ ่าย ไม่จำ� เปน็ ต้อง ตีความ เพราะการตีความอาจจะไม่ตรงตามเจตนารมณ์ของผู้ยกร่างเดิมก็ได้ นอกจากนี้แล้ว ต้องมี บทบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองของประเทศไว้ครบถ้วน มีบทบัญญัติเก่ียวกับสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ของประชาชน ตอ้ งไมย่ าวเกนิ ไป มบี ทบญั ญตั เิ ฉพาะหลกั การสำ� คญั และจำ� เปน็ ในการปกครองรฐั และ ต้องมบี ทบัญญตั เิ กยี่ วกับวธิ ีการปรับปรงุ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ข้อความในรัฐธรรมนญู ไว้ด้วย

บทท่ี ๑๑ รัฐสภา (Parliament) บทน�ำ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย รฐั สภานับเปน็ สถาบันทสี่ �ำคัญมาก เพราะเป็นองคก์ ร สูงสุดในการแสดงเจตน์จ�ำนงของคนในชาติ การที่ประชาธิปไตยจะด�ำเนินไปด้วยดีหรือสร้างความ ศรทั ธาใหก้ บั ประชาชนขนึ้ อยกู่ บั ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของรฐั สภาสภามใิ ชน่ อ้ ย๑๗๕ และการมรี ฐั สภา กม็ ไิ ดห้ มายความวา่ ประเทศนนั้ ๆ เปน็ ประชาธปิ ไตย ประเทศทมี่ กี ารปกครองแบบเผดจ็ การกม็ รี ฐั สภา เช่นกนั เพราะวัตถปุ ระสงคใ์ นการมีรฐั สภาอาจแตกตา่ งกนั ไปตามระบบการปกครอง ประเทศทม่ี กี าร ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย การมรี ฐั สภาหมายถงึ การมโี ครงสรา้ งทางการเมอื งหรอื สถาบนั ทางการ เมอื งฝ่ายนติ ิบัญญัติ แต่การมีรัฐสภาของการปกครองแบบเผด็จการ เป็นเครือ่ งมือของฝา่ ยบริหารเพ่ือ อ้างความชอบธรรมในการบริหาร หรือการปกครองประเทศ และเพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงให้เห็นว่า ประเทศของตนมรี ัฐสภาเช่นเดยี วกบั ประเทศทัง้ หลายในโลกเทา่ น้ัน ความหมายของรัฐสภา คำ� วา่ “รัฐสภา” มีผู้ใหค้ วามหมายไว้คลา้ ย ๆกัน เชน่ Herbert M. Livine ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ ๑๗๖ “รัฐสภา ได้แก่ ทปี่ ระชมุ อันมีสภาพเปน็ ตัวแทน ซ่ึงมีบทบาทส�ำคัญในการออกกฎหมาย” พลศกั ด์ิ จริ ไกรศริ ิ ไดส้ รปุ ความหมายของรฐั สภาไวว้ า่ ๑๗๗“รฐั สภาหมายถงึ ทป่ี ระชมุ ของผแู้ ทน ปวงชนของประเทศ ซ่ึงอาจประกอบข้ึนด้วยผู้แทนท่ีได้รับการเลือกต้ังมาจากราษฎรเท่านั้น หรืออาจ ประกอบขนึ้ ดว้ ยผแู้ ทนทไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากผนู้ ำ� ทางการเมอื งลว้ น ๆ หรอื อาจจะประกอบดว้ ยผแู้ ทน ท้ังสองประเภทที่กลา่ วมาแลว้ กไ็ ด้” ๑๗๕ สุขมุ นวลสกลุ , รศ., ดร., วทิ ยา นภาศิรกิ ลุ กิจ,รศ., ดร., วศิ ษิ ฐ์ ทวีเศรษฐ, รศ.,เรอ่ื งเดิม, หน้า ๑๘๘. ๑๗๖ Herbert M. Livine, “Political Issues Debated” (N.J. Englewood – Cliffs, Prentice – Hall : ๑๙๘๒) หนา้ ๒๑๘ ๑๗๗ พลศักดิ์ จริ ไกรศิร,ิ รศ., ดร., เร่อื งเดมิ , หน้า ๙๐

268 รฐั ศาสตร์เบื้องต้น ทองทพิ วริ ยิ ะพนั ธแ์ุ ละคณะ ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ ๑๗๘ “รฐั สภา (Parliament) คำ� นม้ี าจากภาษา ฝร่งั เศสวา่ Parler หมายถึงการพดู การเจรจาต่อรอง ดังนั้น คำ� วา่ “รฐั สภา” กค็ อื สถานที่หรอื สถาบัน ทางการเมืองเพือ่ การพดู การเจรจาตอ่ รองผลประโยชนท์ ่ีเกย่ี วข้องกบั การใช้อำ� นาจรัฐนั่นเอง สุขุม นวลสกุล และคณะ (๒๕๓๑ : ๑๖๗) ได้ให้ทัศนะว่า “รัฐสภาเป็นสภาบันท่ีแสดงเจตน์ จำ� นงสงู สดุ ของประชาชน เพราะถอื วา่ เปน็ สถาบนั ทรี่ วมของผทู้ ร่ี าษฎรมอบหมายใหเ้ ปน็ ตวั แทนในการ ตดั สนิ ใจและแสดงความคดิ เหน็ เปน็ ปากเปน็ เสยี งแทน” จากความหมายดังกล่าวข้างตน้ จะเห็นไดว้ ่ารฐั สภาหมายถึงสถาบันนติ ิบญั ญตั ิ และสถาบันที่ ควบคุมการบริหารของรัฐบาล เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน อันเป็นการพิทักษ์ รกั ษาผลประโยชนข์ องคนหมมู่ าก ซง่ึ ทำ� หนา้ ทด่ี งั กลา่ วโดยการประชมุ ปรกึ ษาหารอื แสดงความคดิ เหน็ และตัดสินใจของผู้แทนปวงชนของประเทศ ประวตั ิความเปน็ มารัฐสภา๑๗๙ สถาบันรัฐสภามีมาแล้วแต่โบราณกาลในกรีซและโรมันประมาณ ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว ต่อมาใน ยคุ กลางของยโุ รปมกี ารววิ ฒั นาการจากการทมี่ คี ณะทปี่ รกึ ษาของพระมหากษตั รยิ ์ ประเทศทอ่ี าจถอื ได้ วา่ มรี ฐั สภาแบบใหมค่ อื แบบสาธารณรฐั ทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ ไดแ้ ก่ รฐั สภาของประเทศไอซแลนด์ (Iceland) ซง่ึ มีขน้ึ ตงั้ แตป่ ี ค.ศ. ๙๓๐ คอื เป็นรฐั สภาตดิ ต่อกนั มาจนถึงทกุ วนั นี้ ซง่ึ เรยี กว่า Althing ประเทศทีม่ ีการพัฒนาการทางสถาบนั รัฐสภา ที่เหน็ ไดช้ ดั แจ้งคอื ประเทศองั กฤษ ซ่ึงถือกนั วา่ เปน็ “แม่แบบแห่งรัฐสภาอื่น ๆ” (Mother of Parliament) รัฐสภาองั กฤษได้อาศยั ตวั แทนจาก ๓ ฐานนั ดร ไดแ้ ก่ ๑) ขุนนาง ๒) นักบวช และ ๓) ผู้มอี าชพี คา้ ขาย หรือชนชนั้ กลาง (บางคร้ังเรียกว่าพวก กฎมุ พี โดยแปลจาก bourgeoisie) ฐานนั ดรทง้ั สามไดถ้ วายคำ� แนะนำ� แกก่ ษตั รยิ ์ และยงั เปน็ แหลง่ เงนิ ในท้องพระคลงั ดว้ ย ในชว่ งต้น ๆ รฐั สภาอยู่ใต้อทิ ธพิ ลของเศรษฐีที่ดิน แต่ตอ่ ๆ มาอิทธพิ ลไดก้ ระจาย ไปสู่ผู้แทนของบรรดาชนชั้นกลาง จนกระท่ังทา้ ยทส่ี ุดสามญั ชนมบี ทบาทมากยงิ่ ขึ้น ชื่อเรยี กรฐั สภา รัฐสภาของแตล่ ะประเทศมีชอ่ื เรยี กต่าง ๆ กนั เชน่ ๑. ในองั กฤษ เรียกวา่ ปาร์เลียเมนต์ (Parliament) ๑๗๘ ทองทพิ วริ ยิ ะพนั ธ,์ุ ชนิ เลขา กวา้ งสถิตย,์ พัชรนิ ทร์ แขง็ แรง, เร่ืองเดมิ , หน้า ๒๖ ๑๗๙ จิรโชค (บรรพต) วรี ะสัย, ดร., สรุ พล ราชภณั ฑารักษ์, ดร., และสรุ พันธ์ ทับสวุ รรณ,์ ผศ., เรื่องเดมิ , หน้า ๓๑๖

รัฐสภา (Parliament) 269 ๒. ในฝร่งั เศศ เรยี กว่า แอสเซมบลี (Assembly) ๓. ในสหรัฐอเมรกิ า เรียก คองเกรส (Congress) ๔. ในญี่ปุ่น เรียก ไดเอ็ท (Diet) ๕. ในอิสราเอล เรยี ก คเนสเส็ท (Knesset) ๖. ในมาเลเซีย เรียก มาจลสิ (Majlis) ๗. ในไทยเรียกว่า รัฐสภา (Parliament) ๘. ในอดตี สหภาพโซเวียต เรียกวา่ ซปุ ปรีมโซเวียต (Supreme Soviet) รูปแบบของรฐั สภาโดยทว่ั ไปแบ่งเปน็ ๒ ชนิด๑๘๐ ๑. สภาเดย่ี ว คอื มีสภาเพียงสภาเดียว รปู แบบสภาเดย่ี วนไี้ มเ่ ป็นทน่ี ยิ มนัก ตวั อยา่ งประเทศ ทม่ี ีการปกครองแบสภาเดีย่ ว เช่น สวเี ดน นอรเ์ วย์ ๒. สภาคู่ (สองสภา) คือมีสองสภา รูปแบบนี้เป็นที่นิยมแพร่หลาย นอกจากน้ีระบบสภาคู่ หรอื สองสภายงั แบ่งเป็นอีก ๒ ลกั ษณะ คือ ก. สภาคู่ที่มีอ�ำนาจพอ ๆกัน ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกามีระบบ ๒ สภา เรียก คองเกรส ประกอบด้วยสภาสูงหรือวุฒิสภาอยู่ในต�ำแหน่งวาระละ ๖ ปี และสภาล่างหรือสภาผู้แทน ราษฎรจะอยูใ่ นต�ำแหน่งวาระละ ๒ ปี (มาจากการเลือกตั้งท้ัง ๒ สภา) ข. สภาค่ทู ีม่ อี ำ� นาจเน้นหนกั ทีส่ ภาเดยี ว ไดแ้ ก่ ประเทศอังกฤษ ประกอบดว้ ยสภาสูง หรือสภาขุนนาง ซ่ึงมีลักษณะเป็น “นิรันดรกาล” คือตลอดชีพไม่มีวาระเพราะไม่ใช่ต�ำแหน่งที่มาจาก การเลือกตั้ง อีกสภาหนึ่งคือสภาสามัญหรือสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งมีวาระไม่เกิน ๕ ปี ในแง่ของอำ� นาจสภาล่างมเี หนือกว่าสภาสงู สภาสงู และสภาล่างของแตล่ ะประเทศมีชื่อเรยี กต่าง ๆ กนั เชน่ ๑. องั กฤษ สภาสงู เรยี กวา่ สภาขนุ นาง (House of Lords) สภาลา่ งเรยี กวา่ สภาสามญั (House of Commons) ๒. สหรฐั อเมรกิ า สภาสงู เรยี กวา่ เซเนท (Senate) สภาลา่ งเรยี กวา่ สภาผแู้ ทนราษฎร (House of Representatives) ๑๘๐ ทองทพิ วริ ะพนั ธ,ุ์ ชนิ เลขา กวา้ งสุขสถิตย,์ พชั รินทร์ แขง็ แรง, เรอ่ื งเดมิ , หน้า ๙๖.

270 รัฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น ๓. อนิ เดีย สภาสงู เรยี กวา่ ราชยสภา (Rajya Sabha) สภาล่างเรียก โลกสภา (Lok Sabha) ๔. ญป่ี นุ่ สภาสงู เรยี กวา่ สภาแหง่ มวลสมาชกิ สภา (House of Councilors) สภาลา่ ง เรยี กวา่ “สภาผแู้ ทนราษฎร” (House of Representatives) ๕. ไทย สภาสูงเรียกว่า วุฒิสภา (Senate) สภาล่างเรียกว่า สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) ระบบสองสภาขององั กฤษ๑๘๑ เปน็ ทย่ี อมรบั กนั วา่ ประเทศองั กฤษเปน็ แบบฉบบั ของการปกครองระบบรฐั สภา และเปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ของระบบสองสภา ฉะนนั้ จงึ นา่ จะไดศ้ กึ ษาสถาบนั ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ขิ ององั กฤษในรายละเอยี ด โดย เฉพาะในเร่ืองระบบสองสภา ซง่ึ จะได้แยกอธบิ ายต่อไปดังน้ี ๑. สภาขนุ นาง กลา่ วไดว้ า่ สภาขนุ นาง (House of Lords) เปน็ สถาบนั นติ บิ ญั ญตั ทิ เี่ กา่ แกข่ อง อังกฤษ มปี ระวัติความเปน็ มาจากมหาสภา (Great Council) ในสมัยนอรม์ นั (Norman) คนองั กฤษ เรยี กสมาชกิ สภาขนุ นางวา่ “ขนุ นางแหง่ รฐั สภา” (Lords of the Parliament) สมาชกิ ภาพของขนุ นาง มลี กั ษณะนริ นั ดร (Perpetual) คอื ไมม่ วี าระของการดำ� รงตำ� แหนง่ และไมม่ กี ารยบุ สภา พระมหากษตั รยิ ์ เปน็ ผทู้ รงแตง่ ตงั้ สมาชกิ สภาขนุ นางโดยใหค้ ณะรฐั มนตรเี ปน็ ผคู้ ดั เลอื กขนุ นางและพระทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ ส�ำคัญจากกลมุ่ บคุ คล ๖ ประเภท ดงั ต่อไปนี้ ก. เจา้ ชายทส่ี บื เชือ้ สายมาจากพระมหากษตั รยิ ์ หรือพระบรมวงศานวุ งศ์ ข. ขุนนาง (Peers) ในประเทศองั กฤษ ซึง่ เปน็ กลมุ่ สมาชิกท่มี ีความสำ� คัญมาก ขนุ นางเหล่าน้ี ได้แก่ Duke, Marquis, Earl, Viscount และ Baron ค. ขนุ นางในสกอตแลนดซ์ ง่ึ บรรดาขนุ นางจะเลอื กเป็นตวั แทนของพวกตนจ�ำนวน ๑๖ คน ง. ขนุ นางทีเ่ ปน็ ตวั แทนของขุนนางในไอรแ์ ลนด์เหนือ จำ� นวน ๕ คน จ. ขนุ นางท่ีมีความรูท้ างกฎหมายจำ� นวนอย่างน้อย ๙ คน ท้งั นี้โดยเหตผุ ลท่ีวา่ สภาขนุ นางท�ำ หนา้ ท่เี ป็นศาลสงู สุด (Final Court of Appeal) ด้วย ฉ. สมาชกิ ที่เป็นพระทางศาสนาทดี่ ำ� รงต�ำแหนง่ ส�ำคญั ไดแ้ ก่ สงั ฆราช (Archbishops) และ บาทหลวง (Bishops) ๑๘๑ อานนท์ อาภาภิรม, เรือ่ งเดมิ , หน้า ๖๙ – ๗๓.

รฐั สภา (Parliament) 271 ส�ำหรับหนา้ ที่ของสภาขนุ นาง พอสรุปไดด้ ังนี้ ๑. ท�ำหน้าท่ีเป็นศาลสูงสุดทั้งในคดีแพ่งและอาญา ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นคณะตุลาการ ประกอบดว้ ยประธานสภาขนุ นาง (Lord Chancellor) และขนุ นางกฎหมาย (Lord of Appeal) จำ� นวน ๙ คน และขนุ นางผู้ที่ด�ำรงหรอื เคยด�ำรงตำ� แหนง่ ดา้ นตุลาการมาแลว้ จ�ำนวนหนง่ึ ๒. อ�ำนาจนิติบัญญัติ ในสมัยเริ่มแรกสภาขุนนางมีอำ� นาจหน่วงเหน่ียวกฎหมายที่ผ่านสภา สามัญได้ ๒ ปี แต่ภายหลังปี ค.ศ.๑๙๔๙ สภาขุนนางมีอ�ำนาจหน่วงเหนี่ยวกฎหมายไว้ได้เพียง ๑ ปี เท่านัน้ ซ่ึงแสดงวา่ ใหเ้ หน็ ว่าสภาขุนนางมีอ�ำนาจลดน้อยลงไป ๓. อำ� นาจด้านการเงนิ กอ่ นปี ค.ศ.๑๙๑๑ สภาขนุ นางมอี ำ� นาจยบั ย้งั กฎหมายเกีย่ วกับการ เงิน เช่น ร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณและการภาษีอากรได้ แต่หลังจากปี ค.ศ. ๑๙๑๑ สภาสงู ไมม่ ี อ�ำนาจยับย้ังแต่ประการใด สภาขุนนางเพียงแต่มีหน้าที่รับทราบ โดยไม่มีอ�ำนาจแก้ไขเปล่ียนแปลง แล้วน�ำข้นึ กราบบงั คมทูลพระมหากษตั รยิ ใ์ ห้ทรงลงพระปรมาภไิ ธยเทา่ นน้ั ๔. อำ� นาจด้านบรหิ าร สภาสูงไม่มีอ�ำนาจควบคมุ รัฐบาลดว้ ยการลงมตไิ มไ่ วว้ างใจ แต่ยังคงมี สทิ ธิตง้ั กระทถู้ ามและวพิ ากษว์ จิ ารณ์การบรหิ ารงานของรัฐบาลได้ ๕. อำ� นาจทางรฐั ธรรมนญู สภาขนุ นางมอี ำ� นาจในการทจี่ ะใหค้ วามยนิ ยอมในการเปลยี่ นแปลง ระยะเวลาการอยู่ในตำ� แหนง่ ของสมาชิกภาพของสภาสามัญ หากสภาขนุ นางไมใ่ ห้ความเห็นชอบกจ็ ะ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เม่อื ศกึ ษาถึงอำ� นาจของสภาขุนนางขององั กฤษแลว้ จะทราบได้ว่าอำ� นาจของสภาขุนนางลด ลงเปน็ อนั มาก เชน่ มอี ำ� นาจหนว่ งเหนย่ี วพระราชบญั ญตั ไิ ดเ้ พยี ง ๑ ปี ไมม่ สี ทิ ธยิ์ บั ยงั้ กฎหมายเกยี่ วกบั การเงิน และไม่มีอ�ำนาจควบคุมฝ่ายบริหารโดยการลงมติไม่ไว้วางใจแต่ประการใด อย่างไรก็ดีอังกฤษ กย็ งั คงรกั ษาสภาขนุ นางไว้ เพราะยงั ทำ� หนา้ ทใ่ี นฐานะทเ่ี ปน็ ศาลสงู สดุ นอกจากนน้ั สภาขนุ นางไดใ้ หข้ อ้ แนะน�ำที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขร่างกฎหมายแก่สภาสามัญ ท้ังเป็นการอนุรักษ์ภูมิหลังทาง ประวัตศิ าสตร์ของระบบรฐั สภาอีกดว้ ย ๒. สภาสามัญ ในปัจจุบันสภาสามัญ (House of Commons) ของอังกฤษเป็นสภาท่ีมี อ�ำนาจมากกว่าสภาขุนนาง และเมื่อคนอังกฤษพูดถึงรัฐสภา ก็เป็นที่เข้าใจได้ว่า เขาหมายถึง “สภาสามญั ” และในกรณที ก่ี ลา่ วถงึ สมาชกิ รฐั สภา (Members of Parliaments) ยอ่ มหมายถงึ สมาชกิ สภาสามัญ สำ� หรบั อายขุ องสมาชกิ ภาพของสภาสามญั มีกำ� หนด ๕ ปี แตร่ ัฐบาลอาจจะแนะนำ� ให้พระ มหากษตั ริยท์ รงยบุ สภาสามญั เมื่อใดกไ็ ด้ ในเมื่อมีการขดั แยง้ กนั ระหว่างรัฐบาลกับรัฐสภา หรือรัฐสภา ไม่ผา่ นพระราชบัญญตั ิ (Bill) ทส่ี �ำคัญ เชน่ พระราชบญั ญัตงิ บประมาณ หรือในกรณีท่ีรัฐบาลประเมนิ

272 รฐั ศาสตร์เบ้ืองตน้ สถานการณ์ทางการเมือง โดยรวมความแล้วเห็นว่า ประชาชนก�ำลังนิยมการบริหารงานของรัฐบาล รัฐบาลก็มักจะเสนอแนะให้พระมหากษัตริย์ทรงยุบสภาเพ่ือพรรครัฐบาลจะได้คะแนนเสียงสนับสนุน จากประชาชนในการเลอื กต้ังทว่ั ไป ทำ� ให้สมาชกิ สภาฝา่ ยรัฐบาลเพิม่ จำ� นวนมากข้นึ ในรฐั สภา สำ� หรับหนา้ ทขี่ องสภาสามัญของอังกฤษมีดงั นี้ ๑. เลือกนายกรัฐมนตรี ๒. ท�ำหน้าที่ในด้านนิตบิ ัญญตั ิ ๓. ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของฝา่ ยบรหิ าร โดยใชอ้ ำ� นาจลงมตไิ มว่ างใจรฐั มนตรเี ปน็ รายบคุ คล หรือไมไ่ ว้วางใจทัง้ คณะก็ได้ ๔. ร่วมก�ำหนดนโยบายต่างประเทศกบั ฝา่ ยบรหิ าร ๕. เป็นสอื่ กลางนำ� เจตนารมณข์ องประชาชนเสนอต่อรฐั บาลเพอ่ื น�ำไปด�ำเนินการปฏบิ ัติ ๖. เรง่ เรา้ ใหป้ ระชาชนสนใจในกจิ กรรมทางการเมอื งของประเทศ ๗. ท�ำหน้าท่ปี กปอ้ งคุ้มครองสิทธเิ สรภี าพของประชาชน ๘. รฐั สภามอี ำ� นาจตรวจสอบแสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ โดยดำ� เนนิ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการทเี่ รยี กวา่ “Select Committees” ทั้งน้ีในกรณีที่สภามีความประสงค์จะต้องการทราบข้อเท็จจริงบางประการ เพื่อน�ำมาใช้ประกอบในการพิจารณาออกกฎหมาย สภาจะเป็นผู้แต่งต้ังคณะกรรมาธิการดังกล่าวซ่ึง ประกอบดว้ ยสมาชกิ จำ� นวน ๑๕ คน และใหค้ ณะกรรมาธกิ ารดงั กลา่ วมอี ำ� นาจเชญิ รฐั มนตรี ขา้ ราชการ รวมทง้ั ประชาชนมาทำ� การสอบสวน นอกจากนนั้ คณะกรรมาธกิ ารมสี ทิ ธทิ จ่ี ะดำ� เนนิ การสอบสวนนอก สภาก็ได้ และเมื่อคณะกรรมาธิการได้ศึกษารายละเอียดข้อเท็จจริงจนเป็นที่กระจ่างแจ้งพอใจแล้ว ก็จะนำ� สง่ ในรูปขอ้ เสนอแนะตอ่ สภาสามญั และคณะรัฐมนตรเี พ่อื จกั ได้ด�ำเนนิ การต่อไป สำ� หรับในสว่ นทเ่ี กีย่ วกบั กระบวนการออกกฎหมายโดยทว่ั ไปของรฐั สภานัน้ กล่าวไดว้ ่าคณะ รัฐมนตรเี ป็นผเู้ สนอรา่ งพระราชบญั ญตั เิ สียเป็นสว่ นใหญ่ ร่างพระราชบญั ญัตทิ ีเ่ สนอโดยคณะรฐั มนตรี เรียกว่า “Public Bill” ทั้งน้ีเพราะฝ่ายบริหารย่อมจะทราบถึงความจ�ำเป็นและความต้องการของ ประชาชนไดด้ ี เพราะฝ่ายบรหิ ารเปน็ ผูป้ ฏิบัติ สว่ นสมาชกิ สภากม็ สี ทิ ธิเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิไดเ้ ช่น กัน แต่เรียกร่างพระราชบัญญัติประเภทนี้ว่า “Private members bills” หน่ึงในการพิจารณาร่าง กฎหมายของรฐั บาลนัน้ มีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้ วาระท่หี น่งึ (The First Reading) เป็นข้นั ตอนดำ� เนินการโดยการอ่านชอ่ื พระราชบญั ญตั ใิ ห้ สภาสามญั ได้ทราบเทา่ น้นั

รฐั สภา (Parliament) 273 วาระทส่ี อง (The Second Reading) เปน็ ขน้ั ตอนทเ่ี ปดิ โอกาสใหม้ กี ารอภปิ ราย โดยใหส้ มาชกิ ของรัฐสภามีสิทธิแสดงความคิดเห็น ถือได้ว่าเป็นการวางรากฐานในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การอภปิ รายในวาระทส่ี องนมี้ คี วามสำ� คญั มาก เพราะประชาชนและสอ่ื มวลชนจะตดิ ตามและใหค้ วาม สนใจ ขณะเดียวกันท้ังฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านจะเข้าไปมีส่วนในการอภิปรายอย่างกว้างขวาง การอภิปรายโดยท่ัวไปใช้เวลาไม่เกิน ๓ วัน และในกรณีที่เป็นร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยคณะ รัฐมนตรี ร่างพระราชบัญญัติก็มักจะผ่านวาระท่ีสอง เพราะรัฐบาลก็คือพรรคการเมืองท่ีคุมเสียงข้าง มากในรัฐสภาอยู่แล้ว และเม่ือร่างพระราชบัญญัติผ่านวาระที่สองแล้ว ก็จักได้น�ำเสนอต่อคณะ กรรมาธิการ (The committee Stage) ที่มีหน้าท่ีเฉพาะเร่ือง เช่น คณะกรรมาธิการคมนาคม เพอ่ื ดำ� เนนิ งานการแกไ้ ขขอ้ ความใหร้ ดั กมุ แตค่ ณะกรรมาธกิ ารไมส่ ามารถจะแกไ้ ขในหลกั การได้ เพราะ ผ่านวาระสองในขั้นรับหลักการไปแล้ว จากน้ันเป็นขั้นรายงาน (Report Stage) เป็นขั้นตอนที่สภา สามญั จะพจิ ารณาตรวจสอบผลงานทคี่ ณะกรรมาธกิ ารไดป้ ฏบิ ตั ไิ ปแลว้ และในขน้ั รายงานนส้ี มาชกิ สภา มีสิทธิในการแก้ไขข้อความในร่างกฎหมายท่ีคณะกรรมาธิการเสนอมาอีกได้ จะมีการอภิปรายกันบ้าง แต่ใช้เวลาไม่มากนัก และหากร่างพระราชบัญญัติเข้าสู่คณะกรรมาธิการทั้งสภา และไม่มีการแก้ไขแต่ ประการใด กจ็ ะไมม่ กี ารอภิปรายในขั้นรายงานโดยจะผ่านเขา้ สวู่ าระทสี่ ามไดเ้ ลย วาระท่ีสาม เป็นการเปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในสภาเป็นขั้นสุดท้าย แต่จะไม่มีการแก้ไข รา่ งพระราชบญั ญตั ฉิ บบั นนั้ และหากสภาลงมตผิ า่ นรา่ งพระราชบญั ญตั ฉิ บบั นน้ั กจ็ ะไดน้ ำ� เสนอตอ่ สภา ขุนนางต่อไป ซ่ึงสภาขุนนางจะพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับน้ันโดยใช้หลัก ๓ วาระเช่นกัน และ เมอ่ื ผา่ นขน้ั ตอนแลว้ กจ็ ะนำ� ขนึ้ กราบบงั คมทลู ใหพ้ ระมหากษตั รยิ ท์ รงลงพระปรมาภไิ ธยประกาศใชเ้ ปน็ กฎหมายต่อไป ระบบสองสภาในสหรฐั อเมรกิ า สภานิติบัญญัติของสหรัฐอเมริกาเรียกว่า “รัฐสภา” (Congress) ประกอบด้วยสภาสูงหรือ วฒุ สิ ภา (Senate) และสภาล่างหรอื สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) ยกเว้นมลรฐั เนแบรสกา (Nebraska) ซึ่งใชร้ ะบบสภาเดียว และเนอ่ื งจากสหรัฐอเมรกิ าใชร้ ะบอบการปกครองแบบ ประธานาธิบดี (Presidential Government) ฉะน้ันท้ังวุฒิสมาชิกและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต่าง ได้รับการเลือกตง้ั จากประชาชน และอ�ำนาจเท่าเทยี มกันตามที่กำ� หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ๑. สภาสูง ทุกมลรัฐทั้ง ๕๐ แห่งของสหรัฐอเมรกิ ามสี มาชิกได้ ๒ คนเทา่ กนั หมด โดยไมค่ �ำนึง วา่ รฐั ใดจะมพี นื้ ทขี่ นาดใหญห่ รอื จำ� นวนพลเมอื งมากมายสกั เพยี งใดกต็ าม ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสมอภาคกนั และยตุ ธิ รรมแกท่ กุ มลรฐั กลา่ วไดว้ า่ ศกั ดศ์ิ รขี องการเปน็ วฒุ สิ มาชกิ สงู มากกวา่ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร เพราะไดร้ บั การเลอื กตง้ั จากจำ� นวนประชากรในเขตเลอื กตง้ั ทก่ี วา้ งขวางกวา่ การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้

274 รฐั ศาสตร์เบื้องตน้ แทนราษฎร วุฒิสมาชิกอยู่ในต�ำแหน่งวาระละ ๖ ปี และหน่ึงในสามของสมาชิกจะต้องมีการเลือกต้ัง ใหมท่ กุ ๒ ปี สำ� หรบั คณุ สมบตั ขิ องผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั เปน็ วฒุ สิ มาชกิ ตอ้ งมอี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ ๓๐ ปบี รบิ รู ณ์ และเป็นพลเมืองสหรัฐอเมริกาอย่างน้อย ๙ ปี ก่อนท่ีจะมีการเลือกต้ัง (แต่ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผู้เกิดใน สหรฐั อเมรกิ า) และจะตอ้ งมีภูมลิ ำ� เนาอย่ใู นมลรฐั ที่ตนสมัครรับเลอื กตง้ั ๙๐ วนั กอ่ นการเลือกต้งั ๒. สภาผแู้ ทนราษฎร สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรของสหรฐั อเมริกามีจ�ำนวน ๔๓๕ คน ซึ่งเป็น ตัวแทนของมลรัฐต่าง ๆ ทั้ง ๕๐ มลรัฐ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอยู่ในวาระ ๒ ปี ผู้มีสทิ ธสิ มคั รรบั เลอื กตง้ั ตอ้ งมอี ายไุ มต่ ำ่� กวา่ ๒๕ ปี และตอ้ งเปน็ พลเมอื งของสหรฐั อเมรกิ าไมน่ อ้ ยกวา่ ๗ ปี ก่อนมีการเลือกตั้ง (ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นบุคคลท่ีเกิดในสหรัฐอเมริกา) และจะต้องเป็นบุคคลที่มี ภมู ิลำ� เนาอยู่ในเขตเลือกต้งั ทีต่ นจะรบั สมัครรบั เลอื กตง้ั ๙๐ วันก่อนการเลือกตง้ั ส�ำหรับหน้าทข่ี องรัฐสภาอาจสรุปไดด้ งั นี้ ๑. ทั้งสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภามอี �ำนาจในการออกกฎหมาย ๒. การแก้ไขรัฐธรรมนญู กระทำ� ได้ท้งั สองสภา ๓. วุฒิสภามีอ�ำนาจให้การรับรอง (Confirm) การแต่งต้ังข้าราชการฝ่ายบริหารของ ประธานาธบิ ดี เชน่ รัฐมนตรี และเอกอคั รราชทูต เปน็ ตน้ ๔. วุฒิสภาให้ความยินยอมในการให้สัตยาบัน (Ratification) ในสนธิสัญญาของฝ่ายบริหาร ทที่ ำ� ไว้กบั นานาประเทศ ๕. สภาผู้แทนราษฎรมีอ�ำนาจกล่าวโทษ (Impeach) ข้าราชการพลเรือนหรือตุลาการให้พ้น จากต�ำแหน่งได้ ส�ำหรับสาเหตุของโทษนั้นจะต้องมีลักษณะดังนี้คือ การเป็นขบถหรือไม่จงรักภักดีต่อ ประเทศชาติ (Treason) และการรับสินบน (Bribery) ประกอบอาชญากรรมร้ายแรง (High crime) และกระทำ� ความผดิ ทางอาญาทไี่ มเ่ กยี่ วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย (misdemeanors) สว่ นกระบวนการกลา่ ว โทษกระท�ำได้โดยผ่านขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้ ก. สภาผู้แทนราษฎรกลา่ วโทษโดยใช้คะแนนเสียง ๒ ใน ๓ ของสมาชกิ สภา ข. วฒุ สิ ภาจะทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ผสู้ อบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ลกู ขนุ พจิ ารณาคดี และการจะปลดออก ได้ (Removal) ตอ้ งใชค้ ะแนนเสยี ง ๒ ใน ๓ ของสมาชกิ วฒุ สิ ภา อนง่ึ ในกรณที ปี่ ระธานาธบิ ดถี กู กลา่ วหา ประธานศาลสงู (Supreme court) จะเป็นประธานของคณะลูกขุนพิจารณา ขอ้ ทนี่ า่ สงั เกตกค็ อื วา่ ระบบสองสภาของระบอบประธานาธบิ ดนี นั้ ทง้ั สภาลา่ งหรอื สภาผแู้ ทน ราษฎร หรือสภาสูงหรือวุฒิสภาต่างมีอ�ำนาจพอ ๆ กัน เพราะต่างได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน

รฐั สภา (Parliament) 275 แต่ในทางปฏิบัติโดยศักดิ์ศรีแล้ววุฒิสมาชิกจะมีความเหนือกว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ฉะน้ันจึงมัก ปรากฏอยู่เสมอว่า วุฒิสมาชิกหลายคนเคยผ่านการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาก่อน และผู้ท่ีจะ เปน็ ประธานาธบิ ดกี ม็ กั จะเปน็ วฒุ สิ มาชกิ มาแลว้ เชน่ กนั จนมกี ารกลา่ วกนั วา่ วฒุ สิ มาชกิ เปน็ ถนนนำ� ไป สทู่ ำ� เนยี บขาว ระบบสองสภาของไทย๑๘๒ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยระบบรฐั สภาในประเทศตา่ ง ๆ นน้ั พบวา่ มที ง้ั รปู แบบสภา เดี่ยวและสภาคู่หรือสองสภา ส�ำหรับประเทศไทยต้ังแต่มีการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เปน็ ต้นมา ก็ได้มรี ปู แบบของรฐั สภาทั้งแบบสภาเดย่ี วและสภาคู่มาแลว้ ดังนี้ คอื ๑. แบบสภาเดย่ี ว จะมสี มาชกิ ทำ� หนา้ ทน่ี ติ บิ ญั ญตั เิ พยี งสภาเดยี ว ซง่ึ ยงั แบง่ เปน็ อกี ๒ ลกั ษณะ ก. สภาเดยี่ วทปี่ ระกอบดว้ ยสมาชกิ ๒ ประเภท คอื เปน็ สมาชกิ ทม่ี าจากการแตง่ ตง้ั และเลอื กตง้ั ได้แก่ รัฐสภาในสมยั ของรัฐธรรมนญู ปี ๒๔๗๕, ๒๔๙๕ (๒๔๗๕ แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ) ข. สภาเดี่ยวที่ประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียว ซ่ึงมาจากการแต่งตั้งท้ังหมด ได้แก่รัฐสภา ในสมยั รัฐธรรมนญู ปี ๒๔๗๕ (ชวั่ คราว), ๒๕๐๒, ๒๕๑๕, ๒๕๑๙, ๒๕๒๐, ๒๕๓๔ ๒. แบบสองสภาหรอื สภาคู่ คือสภาทปี่ ระกอบด้วยวฒุ สิ ภา (แตง่ ตงั้ ) และสภาผแู้ ทนราษฎร (เลอื กตงั้ ) ไดแ้ กร่ ัฐสภาในสมยั รฐั ธรรมนูญปี ๒๔๘๙, ๒๔๙๐, ๒๔๙๒, ๒๕๑๑, ๒๕๑๗, ๒๕๒๑, ๒๕๓๔ สว่ นรฐั ธรรมนญู ปี ๒๕๔๐ ไทยมกี ารปกครองในระบบรฐั สภาเปน็ แบบสภาคหู่ รอื สองสภา คอื ทงั้ วฒุ สิ ภา และสภาผู้แทนราษฎรซ่งึ มสี มาชกิ มาจากการเลือกตง้ั โดยตรงจากประชาชน รัฐสภาของไทยตามรัฐธรรมนญู ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐๑๘๓ มาตรา ๙๐ องค์ประกอบของรฐั สภาประกอบดว้ ยสภาผ้แู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา มาตรา ๙๑ ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ ประธานรฐั สภา ประธานวฒุ สิ ภาเปน็ รองประธาน รฐั สภา ในกรณที ไ่ี มม่ ปี ระธานสภาผแู้ ทนราษฎร หรอื ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรไมอ่ ยหู่ รอื ไมส่ ามารถ ปฏิบัตหิ น้าท่ีประธานรัฐสภาได้ ใหป้ ระธานวฒุ สิ ภาท�ำหน้าทีป่ ระธานรฐั สภาแทน ๑๘๒ ทองทิพ วริ ะพนั ธุ,์ ชนิ เลขา กวา้ งสุขสถิตย์, พัชรินทร์ แข็งแรง, เรือ่ งเดิม, หน้า ๙๗. ๑๘๓ ฝ่ายผลิตเอกสารรฐั สภา, สำ� นักงานเลขาธกิ ารรฐั สภา, “รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐” (กรุงเทพฯ,นะรจุ การพมิ พ์ : ๒๕๔๑) หน้า ๓๕ – ๕๙.

276 รฐั ศาสตรเ์ บอื้ งต้น ประธานรฐั สภามอี ำ� นาจหนา้ ทตี่ ามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู นี้ และดำ� เนนิ กจิ การของรฐั สภา ในกรณีประชมุ ร่วมกนั ให้เป็นไปตามขอ้ บังคับ ประธานรฐั สภาและผูท้ ำ� หนา้ ทป่ี ระธานรฐั สภาตอ้ งวางตนเป็นกลางในการปฏิบัตหิ น้าท่ี รองประธานรัฐสภามีอ�ำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญและตามท่ีประธานสภาจะ มอบหมาย บทบัญญตั ิเก่ยี วกบั สมาชิกภาพของสมาชกิ รฐั สภา มาตรา ๙๕ บคุ คลจะเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาในขณะเดียวกนั ไม่ได้ มาตรา ๙๖ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจ�ำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของ จำ� นวนสมาชิกท้งั หมดเทา่ ท่ีมีอยู่ของแต่ละสภา มสี ทิ ธเิ ขา้ ชื่อรอ้ งต่อประธานแหง่ สภาที่ตนเปน็ สมาชกิ ว่าสมาชิกภาพของสมาชกิ คนใดคนหน่งึ แห่งสภาน้นั ส้นิ สดุ ลงตามมาตรา ๑๑๘ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) หรือ (๑๒) หรือมาตรา ๑๓๓ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๙) หรอื (๑๐) แลว้ แต่กรณี และใหป้ ระธาน แห่งสภาที่ได้รับค�ำร้องส่งค�ำร้องน้ันไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพ่ือวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกผู้นั้น สน้ิ สุดลงหรอื ไม่ เม่ือศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำวินิจฉัยแล้ว ให้ศาลรัฐธรรมนูญแจ้งค�ำวินิจฉัยนั้นไปยังประธานแห่ง สภาทีไ่ ดร้ ับคำ� รอ้ งตามวรรคหนึง่ มาตรา ๙๗ การออกจากตำ� แหน่งของสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรหรือสมาชิกวฒุ สิ ภาภายหลัง วนั ทส่ี มาชกิ ภาพสน้ิ สดุ ลง หรอื วนั ทศ่ี าลรฐั ธรรมนญู มคี ำ� วนิ จิ ฉยั วา่ สมาชกิ ภาพของสมาชกิ คนใดคนหนงึ่ ส้นิ สดุ ลง ย่อมไม่กระทบกระเทอื นกิจการทสี่ มาชกิ ผ้นู ัน้ ได้กระท�ำไปในหนา้ ท่สี มาชิก รวมทง้ั การไดร้ ับ เงินประจ�ำต�ำแหน่งหรือประโยชน์ตอบแทนอย่างอ่ืนก่อนที่สมาชิกผู้น้ันออกจากต�ำแหน่ง หรือก่อน ประธานแหง่ สภาทผี่ นู้ น้ั เปน็ สมาชกิ ไดร้ บั แจง้ คำ� วนิ จิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนญู แลว้ แตก่ รณี เวน้ แตใ่ นกรณี ที่ออกจากต�ำแหน่งเพราะเหตุท่ีผู้น้ันได้รับเลือกต้ังมาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่า ดว้ ยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วฒุ สิ ภา ใหค้ นื เงนิ ประจำ� ตำ� แหนง่ และประโยชน์ ตอบแทนอย่างอนื่ ท่ีผนู้ ัน้ ไดร้ บั เนื่องจากการดำ� รงต�ำแหนง่ ดังกลา่ ว สาระส�ำคัญของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐ มีดัง ต่อไปน้ี สภาผแู้ ทนราษฎร มาตรา ๙๘ สภาผู้แทนราษฎรประกอบสมาชิกจ�ำนวนห้าร้อยคน โดยเป็นสมาชิกซึ่งมาจาก

รัฐสภา (Parliament) 277 การเลอื กตงั้ แบบบญั ชรี ายชอ่ื ตามาตรา ๙๙ จำ� นวนหนง่ึ รอ้ ยคน และสมาชกิ ซงึ่ มาจากการเลอื กตงั้ แบบ แบ่งเขตเลอื กตงั้ ตามาตรา ๑๐๒ จำ� นวนส่รี อ้ ยคน ในกรณีที่ต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงไปไม่ว่าด้วยเหตุใด และยังมิได้มีการเลือก ตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรขน้ึ แทนตำ� แหนง่ ทว่ี า่ ง ใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชกิ สภาผแู้ ทน ราษฎรเท่าที่มี มาตรา ๙๙ การเลือกต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ผู้มีสทิ ธิเลือกตง้ั มสี ิทธิ ออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายช่ือผู้สมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองจัดท�ำขึ้น โดยให้เลือกบัญชี รายช่ือใดบัญชีรายช่ือหนึง่ เพียงบัญชเี ดยี ว และให้ถือเขตประเทศเปน็ เขตเลือกต้ัง บัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกต้ังตามวรรคหนึ่ง ให้พรรคการเมืองจัดท�ำข้ึนพรรคการเมืองละ บญั ชี ไมเ่ กนิ บญั ชลี ะหนง่ึ รอ้ ยคน และใหย้ นื่ ตอ่ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ กอ่ นวนั เปดิ รบั สมคั รรบั เลอื ก ต้ังสมาชิกซ่ึงมาจากการเลือกตัง้ แบบแบ่งเขตเลอื กตง้ั รายชอ่ื ของบุคคลในบัญชรี ายชอื่ ตามวรรคหน่งึ จะตอ้ ง (๑) ประกอบดว้ ยรายช่ือผู้สมคั รรบั เลอื กตง้ั จากภมู ิภาคตา่ ง ๆอย่างเป็นธรรม (๒) ไม่ซ้�ำกับรายชื่อในบัญชีที่พรรคการเมืองอื่นจัดท�ำขึ้น และไม่ซ�้ำกับรายช่ือของผู้สมัครรับ เลอื กตั้งแบบแบง่ เขตเลือกตง้ั ตามมาตรา ๑๐๒ และ (๓) จัดท�ำรายช่ือเรียงตามลำ� ดบั หมายเลข มาตรา ๑๐๐ บญั ชรี ายชอ่ื ของพรรคการเมอื งใดไดค้ ะแนนเสยี งนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละหา้ ของจำ� นวน คะแนนเสยี งรวมทงั้ ประเทศ ใหถ้ อื วา่ ไมม่ ผี ใู้ ดในบญั ชนี น้ั ไดร้ บั เลอื กตง้ั และมใิ หน้ ำ� คะแนนเสยี งดงั กลา่ ว มารวมค�ำนวณเพอื่ หาสัดสว่ นจำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรตามวรรคสอง วธิ คี ำ� นวณสดั สว่ นคะแนนเสยี งทบี่ ญั ชรี ายชอื่ ของพรรคการเมอื งแตล่ ะพรรคไดร้ บั อนั จะถอื วา่ บุคคลซึ่งมีรายช่ืออยู่ในบัญชีของพรรคการเมืองน้ันได้รับเลือกตั้งตามสัดส่วนที่ค�ำนวณได้ ให้เป็นตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่ก�ำหนดในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ให้ถือว่าผู้สมัครรับเลือกตั้งซ่ึงมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองได้รับเลือก ตง้ั เรยี งตามลำ� ดบั จากหมายเลขตน้ บญั ชลี งไปตามจำ� นวนสดั สว่ นของสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทค่ี ำ� นวณ ได้สำ� หรบั บญั ชีรายชอื่ น้ัน

278 รฐั ศาสตรเ์ บื้องต้น มาตรา ๑๐๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๑๙ (๑) ในกรณีท่ีมีเหตุใด ๆ ท�ำให้ในระหว่างอายุของ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรมสี มาชกิ ซงึ่ ไดร้ บั เลอื กตงั้ จากการเลอื กตง้ั แบบบญั ชรี ายชอ่ื มจี ำ� นวนไมถ่ งึ หนงึ่ รอ้ ยคน ให้สมาชกิ ซึ่งมาจากการเลือกต้งั แบบบญั ชีรายชอื่ ประกอบดว้ ยสมาชิกเท่าท่ีมีอยู่ มาตรา ๑๐๒ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรซ่งึ มาจากการเลอื กตงั้ แบบแบง่ เขตเลือก ต้ัง ให้ผู้มสี ทิ ธิเลอื กตงั้ ออกเสียงลงคะแนนเลือกต้ังผู้สมัครรบั เลอื กตัง้ ไดเ้ ขตละหนง่ึ คน การค�ำนวณเกณฑจ์ �ำนวนราษฎรตอ่ สมาชิกหน่งึ คน ใหค้ ำ� นวณจากจ�ำนวนราษฎรทง้ั ประเทศ ตามหลกั ฐานการทะเบยี นราษฎรทป่ี ระกาศในปสี ดุ ทา้ ยกอ่ นปที มี่ กี ารเลอื กตง้ั เฉลย่ี ดว้ ยจำ� นวนสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรส่ีร้อยคน จำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทแี่ ตล่ ะจงั หวดั จะพงึ มี ใหน้ ำ� จำ� นวนราษฎรตอ่ สมาชกิ หนง่ึ คน ทค่ี ำ� นวณไดต้ ามวรรคสองมาเฉลยี่ ราษฎรในจงั หวดั นนั้ จงั หวดั ใดมรี าษฎรไมถ่ งึ เกณฑจ์ ำ� นวนราษฎรตอ่ สมาชกิ หนง่ึ คนตามวรรคสอง ใหม้ สี มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในจงั หวดั นนั้ ไดห้ นงึ่ คน จงั หวดั ใดมรี าษฎร เกินเกณฑ์จ�ำนวนราษฎรต่อสมาชิกหน่งึ คน ใหม้ ีสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรในจังหวดั นน้ั เพิม่ ขึน้ อีกหนงึ่ คนทกุ จ�ำนวนราษฎรที่ถึงเกณฑ์จ�ำนวนราษฎรตอ่ สมาชิกหนง่ึ คน เมอ่ื ไดจ้ ำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรของแตล่ ะจงั หวดั ตามวรรคสามแลว้ ถา้ จำ� นวนสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบส่ีร้อยคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการค�ำนวณตามวรรคสามมากท่ีสุด ใหจ้ งั หวดั นนั้ มสี มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเพม่ิ ขน้ึ อกี หนงึ่ คน และใหเ้ พม่ิ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรตามวธิ ี การดงั กลา่ วแกจ่ งั หวดั ทม่ี เี ศษทเ่ี หลอื จากการคำ� นวณตามวรรคสามในลำ� ดบั รองลงมาตามลำ� ดบั จนครบ จำ� นวนสรี่ อ้ ยคน มาตรา ๑๐๓ จังหวัดใดมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ไม่เกินหนึ่งคน ให้ถือเขต จงั หวดั เปน็ เขตเลอื กตงั้ และจงั หวดั ใดมกี ารเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรไดเ้ กนิ หนง่ึ คน ใหแ้ บง่ เขต จังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งมีจ�ำนวนเท่าจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีพึงมี โดยจัดให้แต่ละเขต เลือกตง้ั มจี �ำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรหนึง่ คน จังหวัดใดมีการแบ่งเขตเลือกตั้งมากกว่าหน่ึงเขต ต้องแบ่งพื้นท่ีของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ ตดิ ตอ่ กนั และต้องให้จ�ำนวนราษฎรในแต่ละเขตใกลเ้ คยี งกนั มาตรา ๑๐๔ ในการเลือกต้ังท่ัวไป ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชี รายชอ่ื ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ทพี่ รรคการเมอื งจดั ทำ� ขนึ้ เพยี งบญั ชเี ดยี ว และมสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื ก ผูส้ มคั รรับเลือกตง้ั แบบแบ่งเขตเลือกตงั้ ในเขตเลอื กตั้งนัน้ ไดห้ นึง่ คน

รฐั สภา (Parliament) 279 ในการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการ เลอื กตง้ั แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ ซง่ึ วา่ งลงตามมาตรา ๑๑๙ (๒) ใหผ้ มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร มสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลือกตัง้ ผู้สมคั รรบั เลอื กต้ังในเขตเลือกตง้ั นนั้ ไดห้ นงึ่ คน การเลือกตงั้ ใหใ้ ช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ในแต่ละเขตเลือกต้ัง ให้ด�ำเนินการนับคะแนนทุกหน่วยเลือกตั้งรวมกัน และประกาศผลการ นบั คะแนนโดยเปิดเผย ทงั้ นี้ ณ สถานทแ่ี หง่ ใดแหง่ หนึง่ แตเ่ พียงแห่งเดยี วในเขตเลือกต้งั น้ันตามทคี่ ณะ กรรมการการเลือกตั้งก�ำหนด เว้นแต่กรณีท่ีมีความจ�ำเป็นเฉพาะท้องถ่ิน คณะกรรมการเลือกต้ังจะ กำ� หนดเปน็ อยา่ งอน่ื กไ็ ด้ ทง้ั นต้ี ามทบี่ ญั ญตั ใิ นกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา การนับคะแนนและการประกาศคะแนนท่ีบัญชีรายชือแต่ละบัญชีได้รับในแต่ละเขตเลือกตั้ง ตามมาตรา ๑๐๓ ให้น�ำบทบญั ญัตวิ รรคสี่มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๐๕ บุคคลผมู้ คี ุณสมบัติต่อไปนี้ เป็นผู้มีสทิ ธเิ ลอื กตง้ั (๑) มสี ญั ชาตไิ ทย แตบ่ คุ คลผมู้ สี ญั ชาตไิ ทยโดยการแปลงสญั ชาติ ตอ้ งไดร้ บั สญั ชาตไิ ทยมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าปี (๒) มอี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ สบิ แปดปีบรบิ ูรณใ์ นวนั ที่ ๑ มกราคมของปีท่ีมกี ารเลือกตั้ง และ (๓) มชี อื่ อยใู่ นทะเบยี นบา้ นในเขตเลอื กตง้ั มาแลว้ เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ เกา้ สบิ วนั นบั ถงึ วนั เลอื กตง้ั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ซงึ่ อยนู่ อกเขตเลอื กตงั้ ตามมาตรา ๑๐๓ ทต่ี นมชี อ่ื อยใู่ นทะเบยี นบา้ น หรอื มชี อ่ื อยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลอื กตง้ั เป็นเวลานอ้ ยกว่าเกา้ สิบวนั นบั ถงึ วันเลือกต้ัง หรอื มถี นิ่ ทอี่ ยนู่ อกราช อาณาจกั ร ย่อมมสี ิทธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กตง้ั ทัง้ นี้ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขทีก่ ฎหมาย ประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวฒุ ิสภา มาตรา ๑๐๖ บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปน้ีในวันเลือกต้ังเป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือก ตั้ง คือ (๑) วิกลจรติ หรอื จิตฟนั่ เฟือนไมส่ มประกอบ (๒) เป็นภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรือนกั บวช (๓) ตอ้ งคุมขงั อย่โู ดยหมายของศาลหรือโดยค�ำสั่งทช่ี อบด้วยกฎหมาย (๔) อยู่ในระหวา่ งถกู เพกิ ถอนสิทธเิ ลอื กต้ัง

280 รัฐศาสตรเ์ บือ้ งตน้ มาตรา ๑๐๗ บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปน้ี เป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎร (๑) มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกดิ (๒) มอี ายไุ มต่ �่ำกว่าย่ีสิบหา้ ปบี ริบรู ณ์ในวันเลอื กต้งั (๓) ส�ำเร็จการศึกษาไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า เว้นแต่เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรหรือสมาชกิ วฒุ ิสภา (๔) เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหน่ึงแต่เพียงพรรคเดียวนับถึงวันสมัครรับ เลือกตัง้ เปน็ เวลาติดตอ่ กันไมน่ ้อยกวา่ เก้าสบิ วัน (๕) ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั ตอ้ งมลี กั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ ดว้ ย คอื (ก) มีชื่อยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกต้ังมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่ น้อยกวา่ หนงึ่ ปนี บั ถงึ วนั สมคั รรับเลอื กตั้ง (ข) เคยเปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทส่ี มคั รรบั เลอื กตงั้ หรอื เคยเปน็ สมาชกิ สภาทอ้ ง ถน่ิ หรอื ผู้บรหิ ารท้องถ่ินในจังหวดั นั้น (ค) เปน็ บคุ คลซึ่งเกิดในจังหวดั ที่สมคั รรบั เลือกต้งั (ง) เคยศกึ ษาในสถานศกึ ษาทต่ี งั้ อยใู่ นจงั หวดั ทสี่ มคั รรบั เลอื กตงั้ เปน็ เวลาตดิ ตอ่ กนั ไม่ นอ้ ยกวา่ สองปีการศกึ ษา (จ) เคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเป็น เวลาติดต่อกันไมน่ อ้ ยกว่าสองปี มาตรา ๑๐๘ พรรคการเมืองทีส่ ง่ สมาชกิ เข้าเป็นผ้สู มคั รรบั เลอื กตัง้ ในการเลือกตั้งแบบแบ่ง เขตเลอื กตั้งในเขตเลอื กต้งั ใดจะส่งไดค้ นเดียวในเขตเลอื กตง้ั นัน้ มาตรา ๑๐๙ บคุ คลผมู้ ลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ เปน็ บคุ คลตอ้ งหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ทิ ธสิ มคั รรบั เลอื กตงั้ เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ (๑) ตดิ ยาเสพติด (๒) เป็นบุคคลลม้ ละลายซึง่ ศาลยังไมส่ ั่งให้พน้ จากคดี (๓) เป็นบุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามมาตรา ๑๐๖ (๑) (๒) หรอื (๔)

รฐั สภา (Parliament) 281 (๔) ต้องคำ� พพิ ากษาใหจ้ ำ� คกุ และถกู คมุ ขังอยโู่ ดยหมายของศาล (๕) เคยตอ้ งคำ� พพิ ากษาใหจ้ ำ� คกุ ตงั้ แตส่ องปขี นึ้ ไปโดยไดพ้ น้ โทษมายงั ไมถ่ งึ หา้ ปใี นวนั เลอื กตง้ั เวน้ แต่ในความผดิ อนั ไดก้ ระทำ� โดยประมาท (๖) เคยถกู ไลอ่ อก ปลดออก หรอื ใหอ้ อกจากราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ เพราะ ทุจรติ ตอ่ หน้าท่ีหรอื เรยี กวา่ กระท�ำการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ (๗) เคยต้องค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่�ำรวยผิด ปกติหรือมที รัพยส์ ินเพม่ิ ข้ึนผดิ ปกติ (๘) เป็นข้าราชการซึ่งมีตำ� แหนง่ หรือเงนิ เดอื นประจำ� นอกจากข้าราชการการเมอื ง (๙) เป็นสมาชกิ สภาท้องถิ่นหรอื ผ้บู ริหารทอ้ งถ่นิ (๑๐) เปน็ สมาชิกวฒุ ิสภา (๑๑) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วน ทอ้ งถ่นิ หรอื เป็นเจา้ หน้าทีอ่ ืน่ ของรฐั (๑๒) เปน็ กรรมการการเลอื กตั้ง ผตู้ รวจการแผน่ ดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่ง ชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ง ชาติ หรอื กรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ (๑๓) อยใู่ นระหวา่ งต้องห้ามมิใหด้ �ำรงตำ� แหน่งทางการเมอื ง ตามมาตรา ๒๙๕ (๑๔) เคยถกู วฒุ สิ ภามมี ตติ ามมาตรา ๓๐๗ ใหถ้ อดถอนออกจากตำ� แหนง่ และยงั ไมพ่ น้ กำ� หนด หา้ ปีนบั แตว่ นั ทว่ี ฒุ ิสภามีมตจิ นถึงวันเลอื กต้ัง มาตรา ๑๑๐ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรต้อง (๑) ไม่ด�ำรงต�ำแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือ ต�ำแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่ิน ผู้บริหารท้องถ่ิน หรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน ท้ังน้ี นอกจากข้าราชการ การเมืองอน่ื มิใชร่ ฐั มนตรี (๒) ไม่รับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเข้าเป็นคู่ สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรอื เปน็ หนุ้ สว่ นหรอื ผถู้ อื หนุ้ ในหา้ งหนุ้ สว่ นหรอื บรษิ ทั ทร่ี บั สมั ปทานหรอื เขา้ เปน็ คสู่ ญั ญาในลกั ษณะดงั กล่าว

282 รัฐศาสตร์เบ้อื งต้น (๓) ไม่รบั เงินหรอื ประโยชนใ์ ด ๆ จากหนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกจิ เป็น พิเศษนอกเหนือไปจากท่ีหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติกับบุคคลอ่ืน ๆ ใน ธรุ กจิ การงานตามปกติ บทบัญญัติมาตรานี้มิให้ใช้บังคับในกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรับเบี้ยหวัด บ�ำเหน็จ บำ� นาญ เงนิ ปพี ระบรมวงศานวุ งศ์ หรอื เงนิ อนื่ ใดในลกั ษณะเดยี วกนั และมใิ หใ้ ชบ้ งั คบั ในกรณที ส่ี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎรรับหรือด�ำรงต�ำแหน่งกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภา หรือ กรรมการที่ได้รับการแต่งต้ังในฐานะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรือกรรมการท่ีได้ รบั แตง่ ตง้ั ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในกรณที ดี่ ำ� รงตำ� แหนง่ ขา้ ราชการการเมอื งอน่ื ซง่ึ มใิ ชร่ ฐั มนตรี มาตรา ๑๑๑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องไม่ใช้สถานะหรือต�ำแหน่งการเป็นสมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎรเขา้ ไปกา้ วกา่ ยหรอื แทรกแซงการบรรจุ แตง่ ตงั้ ยา้ ย โอน เลอ่ื นตำ� แหนง่ และเลอ่ื นขน้ั เงนิ เดอื นของขา้ ราชการ ซง่ึ มตี ำ� แหนง่ หรอื เงนิ เดอื นประจำ� และมใิ ชข่ า้ ราชการการเมอื ง พนกั งานหรอื ลกู จา้ ง ของหน่วยงานของรัฐ รฐั วสิ าหกจิ หรอื ราชการส่วนท้องถิ่น หรือใหบ้ ุคคลดังกลา่ วพ้นจากตำ� แหน่ง มาตรา ๑๑๒ ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู นี้ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรและสมาชกิ วฒุ ิสภา มาตรา ๑๑๓ เพื่อให้การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นไปด้วยความสุจริตและเที่ยง ธรรม ให้รฐั สนบั สนนุ การเลอื กตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเรอื่ งดังต่อไปน้ี (๑) จัดทีป่ ดิ ประกาศและท่ตี ดิ แผน่ ปา้ ยเกี่ยวกับการเลอื กต้ังในสาธารณสถานซง่ึ เป็นของรัฐ (๒) พิมพแ์ ละจัดส่งเอกสารเกี่ยวกบั การเลือกตัง้ ไปใหผ้ ู้มีสิทธอิ อกเสียงเลือกต้งั (๓) จดั หาสถานที่หาเสยี งเลอื กต้ังใหแ้ ก่ผู้สมคั รรบั เลือกตงั้ (๔) จดั สรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั น์ให้แกพ่ รรคการเมอื ง (๕) กิจการอ่ืนที่คณะกรรมการเลือกตง้ั ประกาศก�ำหนด การด�ำเนินการตาม (๑) (๔) และ (๕) โดยผู้สมัครรับเลือกต้ัง พรรคการเมือง หรือบุคคลอื่น นอกจากรฐั จะกระทำ� มไิ ด้ หลกั เกณฑ์ เงอ่ื นไข และวธิ ดี ำ� เนนิ การตามมาตราน้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภา ซงึ่ ตอ้ งใหโ้ อกาสโดยเท่าเทียมกัน

รฐั สภา (Parliament) 283 มาตรา ๑๑๔ อายขุ องสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรมีกำ� หนดคราวละส่ปี นี ับแต่วันเลือกตง้ั มาตรา ๑๑๕ เมอื่ อายขุ องสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรสนิ้ สดุ ลง พระมหากษตั รยิ ์จะได้ทรงตรา พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกต้ังท่ัวไป ซ่ึงต้องก�ำหนด วนั เลอื กตงั้ ภายในสส่ี บิ หา้ วนั นบั แตว่ นั ทอ่ี ายขุ องสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรสนิ้ สดุ ลง และวนั เลอื กตงั้ นน้ั ต้องก�ำหนดเป็นวนั เดียวกนั ทวั่ ราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๖ พระมหากษตั รยิ ท์ รงไวซ้ ง่ึ พระราชอำ� นาจทจี่ ะยบุ สภาผแู้ ทนราษฎรเพอื่ ใหม้ กี าร เลือกต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรใหม่ การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระท�ำโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งต้องก�ำหนดวันเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกต้ังทั่วไปภายในหกสิบวัน และวันเลือกตั้งน้ันต้องก�ำหนดเป็นวัน เดยี วกันทวั่ ราชอาณาจกั ร การยบุ สภาผู้แทนราษฎรจะกระท�ำไดเ้ พยี งคร้ังเดียวในเหตุการณเ์ ดียวกนั มาตรา ๑๑๗ สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเร่ิมต้งั แต่วนั เลอื กตั้ง มาตรา ๑๑๘ สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรส้ินสุดลง เมื่อ (๑) ถงึ คราวออกตามอายุของสภาผูแ้ ทนราษฎร หรือมีการยบุ สภาผู้แทนราษฎร (๒) ตาย (๓) ลาออก (๔) ขาดคุณสมบัตติ ามมาตรา ๑๐๗ (๕) มลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรอื (๑๔) (๖) กระทำ� การอนั ต้องห้ามตามมาตรา ๑๑๐ หรอื มาตรา ๑๑๑ (๗) ได้รับแตง่ ตง้ั เป็นนายกรัฐมนตรหี รือรฐั มนตรี (๘) ลาออกจากพรรคการเมอื งท่ตี นเป็นสมาชกิ หรือพรรคการเมอื งทต่ี นเปน็ สมาชิกมมี ติดว้ ย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในส่ีของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมือง และ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรท่สี งั กัดพรรคการเมอื งน้ัน ใหพ้ ้นจากการเป็นสมาชกิ พรรคการเมืองทีต่ นเปน็ สมาชิก ในกรณีเช่นน้ี ให้ถือว่าส้ินสุดสมาชิกภาพนับแต่วันท่ีลาออกหรือพรรคการเมืองมีมติ ยกเว้น

284 รฐั ศาสตร์เบื้องตน้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรผนู้ นั้ ไดอ้ ทุ ธรณต์ อ่ ศาลรฐั ธรรมนญู ภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทพ่ี รรคการเมอื ง มมี ติ คดั คา้ นวา่ มตดิ งั กลา่ วมลี กั ษณะตามมาตรา ๔๗ วรรคสาม ใหถ้ อื วา่ สมาชกิ ภาพสน้ิ สดุ ลงนบั แตว่ นั ที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย แต่ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามติดังกล่าวมีลักษณะตามมาตรา ๔๗ วรรคสาม สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรผนู้ น้ั อาจเขา้ เปน็ สมาชกิ ของพรรคการเมอื งอน่ื ไดภ้ ายในสามสบิ วนั นับแต่วันท่ีศาลรฐั ธรรมนญู วินิจฉัย (๙) ขาดจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำส่ังยุบ พรรคการเมอื งทสี่ มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรผนู้ น้ั เปน็ สมาชกิ และไมอ่ าจเขา้ เปน็ สมาชกิ ของพรรคการเมอื ง อื่นได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำสั่ง ในกรณีเช่นน้ีให้ถือว่าส้ินสุดสมาชิกภาพนับ แต่วันถดั จากวันที่ครบก�ำหนดหกสิบวนั นน้ั (๑๐) วฒุ สิ ภามีมตติ ามมาตรา ๓๐๗ ให้ถอดถอนออกจากตำ� แหนง่ หรือศาลรัฐธรรมนญู มคี ำ� วนิ จิ ฉยั ใหพ้ น้ จากสมาชกิ ภาพตามมาตรา ๙๖ ในกรณเี ชน่ นใ้ี หถ้ อื วา่ สน้ิ สดุ สมาชกิ ภาพนบั แตว่ นั ทวี่ ฒุ สิ ภา มีมตหิ รอื ศาลรัฐธรรมนูญมคี �ำวนิ จิ ฉยั แล้วแตก่ รณี (๑๑) ขาดประชมุ เกินจำ� นวนหนงึ่ ในสข่ี องจ�ำนวนวันประชมุ ในสมัยประชุมท่มี ีกำ� หนดเวลาไม่ น้อยกวา่ หนง่ึ รอ้ ยยส่ี ิบวนั โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าตจิ ากประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร (๑๒) ถูกจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�ำคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระท�ำโดยประมาท หรอื ความผดิ ลหุโทษ การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตาม (๗) ให้มีผลในวันถัดจากวันที่ครบ สามสิบวันนับแตว่ นั ท่ีมพี ระบรมราชโองการแต่งต้ัง มาตรา ๑๑๙ เม่อื ตำ� แหน่งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรวา่ งลงเพราะเหตุอ่ืนใดนอกจากถึงคราว ออกตามอายขุ องสภาผแู้ ทนราษฎร หรือเมอื่ มีการยุบสภาผแู้ ทนราษฎรใหด้ �ำเนนิ การดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีที่ต�ำแหน่งที่ว่างเป็นต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในบัญชีรายชื่อท่ี พรรคการเมอื งใดจดั ท�ำขึ้นตามมาตรา ๙๙ ใหป้ ระธานสภาผู้แทนราษฎรประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ต�ำแหน่งน้ันว่างลง ให้ผู้มีรายช่ืออยู่ในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองน้ันใน ล�ำดบั ถดั ไป เล่อื นขึ้นมาเป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแทน (๒) ในกรณีที่ต�ำแหน่งที่ว่างเป็นต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีมาจากการเลือกต้ังแบบ แบง่ เขตเลือกตงั้ ตามมาตรา ๑๐๒ ใหม้ กี ารเลือกต้ังสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรขึน้ แทนภายในสส่ี บิ ห้าวัน นับแต่วันท่ีตำ� แหน่งน้นั วา่ ง เว้นแต่อายขุ องสภาผู้แทนราษฎรจะเหลือไม่ถงึ หนึง่ รอ้ ยแปดสบิ วนั

รฐั สภา (Parliament) 285 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนตาม (๑) ให้เร่ิมต้ังแต่วันถัดจากวันที่ผู้ เข้ามาแทนนั้นได้รับการประกาศช่ือ ส่วนสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนตาม (๒) ให้เร่ิมตั้งแต่วันเลือกตั้งแทนต�ำแหน่งท่ีว่าง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนน้ันให้อยู่ใน ตำ� แหน่งไดเ้ พียงเท่าอายุของสภาผแู้ ทนราษฎรทีเ่ หลืออยู่ มาตรา ๑๒๐ ภายหลงั ทคี่ ณะรฐั มนตรเี ขา้ บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ แลว้ พระมหากษตั รยิ จ์ ะทรง แตง่ ตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรผเู้ ปน็ หวั หนา้ พรรคการเมอื งในสภาผแู้ ทนราษฎรทส่ี มาชกิ ในสงั กดั ของ พรรคตนมิได้ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีและมีจ�ำนวนมากท่ีสุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัด มไิ ดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรี แตไ่ มน่ อ้ ยกวา่ หนง่ึ ในหา้ ของจำ� นวนสมาชกิ ทงั้ หมดเทา่ ทม่ี อี ยขู่ องสภาผแู้ ทน ราษฎรในขณะแตง่ ตั้งเป็นผู้น�ำฝา่ ยค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่ก�ำหนดไว้ตามวรรคหน่ึง ให้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับการเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรในพรรคการเมอื งทส่ี มาชกิ ในสงั กดั ของพรรคนนั้ มไิ ดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรี เปน็ ผนู้ ำ� ฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร ในกรณีทีม่ ีเสยี งสนบั สนุนเท่ากัน ให้ใชว้ ิธีจับฉลาก ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังผู้น�ำฝ่ายค้าน ในสภาผแู้ ทนราษฎร ผนู้ ำ� ฝา่ ยคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎรยอ่ มพน้ จากตำ� แหนง่ เมอื่ ขาดคณุ สมบตั ดิ งั กลา่ วในวรรคหนงึ่ หรือวรรคสองและให้น�ำบทบญั ญัติมาตรา ๑๕๒ มาใช้บังคบั โดยอนุโลม ในกรณเี ชน่ นีพ้ ระมหากษตั รยิ ์ จะได้ทรงแตง่ ตั้งผูน้ ำ� ฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎรแทนตำ� แหน่งท่วี า่ ง หนา้ ที่ของสภาผู้แทนราษฎรตามรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๑. อำ� นาจในการตรากฎหมาย ไดแ้ กก่ ารพจิ ารณาเพอื่ อนมุ ตั หิ รอื ไมอ่ นมุ ตั ริ า่ งพระราชบญั ญตั ิ ท่ีเสนอเข้าส่สู ภาโดยรัฐบาลหรือสมาชกิ สภา ตลอดจนพจิ ารณาร่างรฐั ธรรมนูญ ๒. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ รา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายเพ่มิ เติมและรา่ งพระราชบญั ญตั ิโอนงบประมาณรายจา่ ย ๓. ใหค้ วามเหน็ ชอบบคุ คลผสู้ มควรไดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ นายกรฐั มนตรี โดยสมาชกิ จำ� นวนไมน่ อ้ ย กวา่ หนง่ึ ในหา้ ของจำ� นวนสมาชกิ ทง้ั หมดของสภาผแู้ ทนราษฎรรบั รอง และมตขิ องสภาผแู้ ทนราษฎรที่ ให้ความเหน็ ชอบต้องมคี ะแนนเกินกว่ากง่ึ หนงึ่ ของสมาชกิ ท้ังหมด (มาตรา ๒๐๒) ๔. พิจารณานโยบายการบริหารราชการแผน่ ดนิ ตามท่ีรัฐบาลแถลงต่อรฐั สภา

286 รฐั ศาสตร์เบอ้ื งต้น ๕. ควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของรฐั บาลโดยตงั้ กระทถู้ ามรฐั มนตรใี นเรอื่ งใดเกย่ี วกบั งานในหน้าที่ไดต้ ามมาตรา ๑๘๔ หรอื ตง้ั กระทูส้ ดในกรณที ี่เป็นเรือ่ งเร่งดว่ น สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แจง้ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรต่อประธานสภาผแู้ ทนราษฎรก่อนประชุมในวนั น้นั วา่ จะถามนายกรฐั มนตรี หรือรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินเรื่องนั้นโดยไม่ต้องระบุค�ำถามและให้ประธาน สภาผแู้ ทนราษฎรบรรจุเรอ่ื งดงั กลา่ วไว้ในวาระการประชุมวนั นนั้ (มาตรา ๑๘๔) ๖. การเปิดอภิปรายท่วั ไปเพอื่ ลงมติไมไ่ ว้วางใจนายกรฐั มนตรีตามมาตรา ๑๘๕ ๗. การขอเปิดอภปิ รายทั่วไปเพ่ือลงมติไมไ่ ว้วางใจรฐั มนตรเี ปน็ รายบุคคล ตามมาตรา ๑๘๖ ๘. การตง้ั คณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจำ� สภาผแู้ ทนราษฎร และคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั เพอื่ กระท�ำกิจการ พจิ ารณาสอบสวน หรือศกึ ษาเรอื่ งใด ๆ อันอยู่ในอ�ำนาจหน้าท่ีของสภา (มาตรา ๑๘๙) วฒุ ิสภา มาตรา ๑๒๑ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกซึง่ ราษฎรเลอื กต้ังจ�ำนวนสองร้อยคน ในกรณีท่ีต�ำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ และยังมิได้มีการเลือกต้ังสมาชิก วฒุ ิสภาข้ึนแทนต�ำแหนง่ ทีว่ า่ ง ให้วุฒสิ ภาประกอบดว้ ยสมาชกิ วฒุ สิ ภาเท่าทีม่ อี ยู่ มาตรา ๑๒๒ การเลือกต้ังสมาชิกวุฒสิ ภาให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตงั้ การค�ำนวณเกณฑ์จ�ำนวนสมาชิกวุฒิสภาท่ีแต่ละจังหวัดจะพึงมีให้ค�ำนวณตามวิธีท่ีบัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๒๓ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครรับ เลอื กตง้ั ในเขตเลือกตั้งนั้นไดห้ นงึ่ คน การเลอื กตงั้ ให้ใช้วธิ กี ารออกเสยี งลงคะแนนโดยตรงและลับ ในกรณีท่ีจังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาได้มากว่าหน่ึงคนให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้คะแนนสูงสุด เรยี งตามลำ� ดับจนครบจำ� นวนสมาชกิ วฒุ ิสภาท่ีจะพึงมีไดใ้ นจงั หวดั น้ัน เปน็ ผูไ้ ด้รบั เลอื กตัง้ เป็นสมาชกิ วุฒิสภา มาตรา ๑๒๔ ใหน้ �ำบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๐๕ และมาตรา ๑๐๖ มาใช้บงั คบั กับคณุ สมบัตแิ ละ ลักษณะตอ้ งหา้ มของผูม้ สี ทิ ธเิ ลอื กตัง้ สมาชิกวุฒิสภาดว้ ย โดยอนุโลม

รัฐสภา (Parliament) 287 มาตรา ๑๒๕ บคุ คลผมู้ คี ณุ สมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี เปน็ ผมู้ สี ทิ ธริ บั สมคั รรบั เลอื กตง้ั เปน็ สมาชกิ วฒุ สิ ภา (๑) มสี ัญชาติไทยโดยการเกดิ (๒) มอี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ สสี่ บิ ปีบริบรู ณ์ในวนั เลือกต้งั (๓) สำ� เรจ็ การศกึ ษาไมต่ �ำ่ กว่าปริญญาตรหี รอื เทยี บเทา่ (๔) มลี กั ษณะอย่างใดอย่างหนงึ่ ตามมาตรา ๑๐๗ (๕) มาตรา ๑๒๖ บคุ คลผมู้ ลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี เปน็ บคุ คลตอ้ งหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ทิ ธสิ มคั รรบั เลอื กตงั้ เปน็ สมาชกิ วุฒสิ ภา (๑) เปน็ สมาชกิ หรือผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ อ่นื ของพรรคการเมอื ง (๒) เปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร หรือเคยเปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรและพ้นจากการเปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรมาแลว้ ยังไม่เกินหนึ่งปนี ับถึงวนั สมคั รรบั เลือกตงั้ (๓) เปน็ หรอื เคยเปน็ สมาชกิ วฒุ สิ ภาตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู นใี้ นอายขุ องวฒุ สิ ภาคราว กอ่ นการสมคั รรับเลอื กตั้ง (๔) เปน็ บคุ คลตอ้ งหา้ มมิใหใ้ ชส้ ิทธิรบั สมัครรบั เลือกต้ังตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรอื (๑๔) มาตรา ๑๒๗ สมาชกิ วุฒสิ ภาจะเป็นรฐั มนตรีหรอื ข้าราชการการเมืองอืน่ มไิ ด้ บคุ คลผเู้ คยดำ� รงตำ� แหนง่ สมาชกิ วฒุ สิ ภาและสมาชกิ ภาพสนิ้ สดุ ลงแลว้ ยงั ไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี เวน้ แต่ สมาชกิ ภาพสิ้นสดุ ลงตามมาตรา ๑๓๓ (๑) จะเปน็ รฐั มนตรีหรือข้าราชการการเมืองอน่ื มไิ ด้ มาตรา ๑๒๘ ใหน้ �ำบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๑๐ และมาตรา ๑๑๑ มาใชบ้ ังคบั การกระทำ� อันต้อง หา้ มของสมาชิกวุฒสิ ภาดว้ ยโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๒๙ ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู นี้ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเลอื กตง้ั สมาชกิ วุฒิสภาให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชกิ วุฒสิ ภา เพ่อื ประโยชนใ์ นการแนะนำ� ผูส้ มคั รรบั เลอื กตงั้ โดยเท่าเทยี มกัน ให้รัฐด�ำเนนิ การดังต่อไปนี้ (๑) จดั ใหม้ ีการปดิ ประกาศและติดแผน่ ป้ายเกี่ยวกับการเลอื กตง้ั และผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ (๒) พมิ พแ์ ละจดั สง่ เอกสารเกย่ี วกบั การเลอื กตง้ั และผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ไปใหผ้ มู้ สี ทิ ธอิ อกเสยี ง เลือกต้ัง

288 รัฐศาสตร์เบอ้ื งต้น (๓) จัดหาสถานท่ีและจัดสรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพื่อแนะนำ� ผูส้ มัครรบั เลอื กต้ัง (๔) กิจการอ่นื ทีค่ ณะกรรมการการเลอื กต้ังประกาศก�ำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการด�ำเนินการตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภา การแนะนำ� ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ โดยผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั เอง หรอื บคุ คลอนื่ จะกระทำ� ไดเ้ ฉพาะเทา่ ที่บัญญัติไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภาเทา่ นั้น มาตรา ๑๓๐ อายุของวุฒสิ ภามกี �ำหนดคราวละหกปนี บั แต่วันเลือกต้งั มาตรา ๑๓๑ เมอ่ื อายขุ องวุฒสิ ภาส้นิ สดุ ลง พระมหากษัตริยจ์ ะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกา ให้มีการเลือกตัง้ สมาชิกวฒุ ิสภาใหม่เป็นการเลือกตงั้ ทั่วไป ซง่ึ ตอ้ งก�ำหนดวนั เลือกตง้ั ภายในสามสิบวัน นับแต่วนั ทอี่ ายุของวฒุ สิ ภาส้ินสุดลง และวนั เลอื กตงั้ ตอ้ งกำ� หนดเป็นวนั เดยี วกันท่วั ราชอาณาจกั ร เพอื่ ประโยชนใ์ นการด�ำเนินการตามมาตรา ๑๖๘ ให้สมาชกิ วุฒิสภาท่ดี �ำรงต�ำแหน่งอยใู่ นวัน ทอ่ี ายขุ องวฒุ สิ ภาสนิ้ สดุ ลงตามวรรคหนงึ่ ทำ� หนา้ ทต่ี อ่ ไปจนกกวา่ สมาชกิ วฒุ สิ ภาทไี่ ดร้ บั เลอื กตงั้ ใหมจ่ ะ เขา้ รบั หน้าที่ มาตรา ๑๓๒ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒสิ ภาเรมิ่ ต้ังแตว่ นั เลอื กต้ัง มาตรา ๑๓๓ สมาชกิ ภาพของสมาชิกวฒุ สิ ภาส้ินสดุ ลง เมื่อ (๑) ถงึ คราวออกตามอายุของวุฒิสภา (๒) ตาย (๓) ลาออก (๔) ขาดคุณสมบัตติ ามมาตรา ๑๒๕ (๕) มีลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๒๖ (๖) มลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๒๗ (๗) กระท�ำการอนั ต้องห้ามตามมาตรา ๑๒๘ (๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ให้ถอดถอนออกจากต�ำแหน่ง หรือศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำ วินิจฉัยให้พ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๙๖ ในกรณีเช่นน้ี ให้ถือว่าส้ินสุดสมาชิกภาพนับแต่วันที่ วุฒิสภามมี ติหรือศาลรัฐธรรมนูญมคี ำ� วนิ จิ ฉัย แลว้ แตก่ รณี

รัฐสภา (Parliament) 289 (๙) ขาดการประชมุ เกนิ จ�ำนวนหน่งึ ในสี่ของจำ� นวนวันประชมุ ในสมัยประชมุ ท่มี กี ำ� หนดเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ หนึ่งรอ้ ยยีส่ ิบวัน โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าตจากประธานวฒุ ิสภา (๑๐) ถูกจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระท�ำโดยประมาท หรือความผิดลหโุ ทษ มาตรา ๑๓๔ เมื่อต�ำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาว่างลงเพราะเหตุอ่ืนใด นอกจากถึงคราวออกตาม อายุของวุฒิสภา ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาข้ึนแทนภายในส่ีสิบห้าวันนับแต่วันที่ต�ำแหน่งนั้น วา่ งลง เวน้ แต่อายุของวฒุ ิสภาจะเหลอื ไม่ถึงหนง่ึ ร้อยแปดสบิ วนั สมาชิกวฒุ ิสภาผ้มู าเขา้ มาแทนนั้นให้อยู่ในตำ� แหนง่ ได้เพยี งเท่าอายุของวฒุ ิสภาทเ่ี หลืออยู่ มาตรา ๑๓๕ ในการพจิ ารณาเลอื ก แตง่ ตง้ั ใหค้ ำ� แนะนำ� หรอื ใหค้ วามเหน็ ชอบ ใหบ้ คุ คลดำ� รง ต�ำแหน่งใดตามมาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๙๖ มาตรา ๑๙๙ มาตรา ๒๕๗ มาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๗๔ (๓) มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา ๒๗๙ (๓) มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๑๒ ให้วุฒิสภาแต่งต้ังคณะกรรมาธิการขึ้นคณะหน่ึง ท�ำหน้าที่ตรวจสอบประวัติและความประพฤติ ของบคุ คลผไู้ ดร้ บั เสนอชอ่ื ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ นน้ั รวมทงั้ รวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานอนั จำ� เปน็ แลว้ รายงานต่อวฒุ ิสภาเพ่อื ประกอบการพจิ ารณาตอ่ ไป การด�ำเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามวิธีการท่ีก�ำหนดในข้อ บังคับการประชมุ วฒุ สิ ภา หนา้ ท่ีของวุฒิสภา หนา้ ที่ของวุฒิสภาโดยทว่ั ไปคอื การกลน่ั กรองรา่ งพระราชบัญญัติทผ่ี า่ นการเหน็ ชอบจากสภา ผแู้ ทนราษฎรมาแล้ว รฐั ธรรมนูญบางฉบบั ใหส้ ิทธิวฒุ สิ มาชกิ เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ไิ ดร้ ัฐธรรมนญู ท่ี ใหส้ ิทธนิ ี้แกว่ ุฒิสมาชิกคือรัฐธรรมนูญฯ ๒๔๙๐ และรฐั ธรรมนญู ฯ ๒๕๑๑ รัฐธรรมนูญบางฉบับแม้จะ ให้มีวุฒิสภาแต่ไม่ได้สิทธิวุฒิสมาชิกในการที่จะลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจนโยบายของรัฐบาล และ ไม่ให้สิทธิในการท่ีจะลงมติถอดถอนรัฐบาลท้ังคณะหรือรายบุคคล รัฐธรรมนูญท่ีจ�ำกัดสิทธิของ วฒุ สิ มาชกิ ในการทจ่ี ะควบคมุ รฐั บาลคอื รฐั ธรรมนญู ฯ ๒๔๙๒ รฐั ธรรมนญู ฯ ๒๕๑๗ และรฐั ธรรมนญู ฯ ๒๕๒๑ หลงั จากยกเลิกบทเฉพาะกาล๑๘๔ ๑๘๔ สขุ มุ นวลสกลุ , รศ., ดร., วทิ ยา นภาศิรกิ ุลกิจ, รศ., ดร., วิศิษฐ์ ทวเี ศรษฐ, รศ., เรือ่ งเดิม , หนา้ ๑๗๑.

290 รัฐศาสตร์เบ้อื งต้น ส่วนรัฐธรรมนูญฯ ๒๕๔๐ นั้นก�ำหนดให้วุฒิสมาชิกมาจากการเลือกต้ัง จึงก�ำหนดสิทธิและ หน้าที่กว้างขวางกว่ารัฐธรรมนูญฉบับอ่ืน คือนอกจากอ�ำนาจในการตรากฎหมายโดยการให้ความเห็น ชอบหรอื ไมใ่ ห้ความเห็นชอบในร่างพระราชบญั ญตั ิ ร่างรฐั ธรรมนญู แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ร่างพระราชบัญญตั ิ ประกอบรัฐธรรมนูญ และพระราชกำ� หนดตา่ ง ๆ ท่ีสภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบแลว้ ยงั มหี นา้ ที่ อ่นื ๆ ทสี่ ำ� คัญคือ ๑. พจิ ารณานโยบายการบริหารราชการแผน่ ดนิ ตามทร่ี ัฐบาลแถลงต่อรฐั สภา ๒. ควบคมุ การบริหารราชการแผ่นดินโดยการ ก. ตั้งกระท้ถู ามรัฐมนตรีในเรื่องเกย่ี วกับงานในหนา้ ทไี่ ด้ (มาตรา ๑๘๓) ข. การขอเปดิ อภปิ รายทวั่ ไปในวฒุ สิ ภาเพอ่ื ใหค้ ณะรฐั มนตรแี ถลงขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ชแ้ี จง ปญั หาสำ� คญั เกี่ยวกับการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ โดยไมม่ กี ารลงมติ (มาตรา ๑๘๗) ๓. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ รา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยเพม่ิ เตมิ และรา่ งพระราชบญั ญตั โิ อนงบประมาณรายจา่ ยทส่ี ภา ผ้แู ทนราษฎรใหค้ วามเหน็ ชอบแลว้ ๔. ต้ังคณะกรรมาธิการสามัญประจ�ำวุฒิสภา และคณะกรรมาธิการวิสามัญเพ่ือท�ำกิจการ พจิ ารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อนั อยูใ่ นอ�ำนาจหนา้ ทข่ี องวฒุ ิสภา (มาตรา ๑๘๙) ๕. ให้ความเห็นชอบในการแตง่ ต้ังตามทีก่ ฎหมายกำ� หนดดงั น้ี ก. ผู้ตรวจราชการแผน่ ดนิ ของรฐั สภา ข. ศาลปกครอง ค. ศาลรัฐธรรมนูญ ง. คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ จ. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ ฉ. คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ช. คณะกรรมการการเลือกต้ัง

รฐั สภา (Parliament) 291 อ�ำนาจหน้าทข่ี องรัฐสภา รัฐสภามีอ�ำนาจหน้าที่ดังปรากฏในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ในการก�ำหนดให้มีการประชุม ร่วมกันของรัฐสภา ตามมาตรา ๑๙๓ มีดงั นคี้ อื รฐั สภาประกอบด้วยสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภาจะตอ้ งประชุมรว่ มกันในกรณีตอ่ ไปนี้ ๑. การให้ความเห็นชอบในการแตง่ ตง้ั ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ๒. การปฏญิ าณตนของผู้ส�ำเรจ็ ราชการแทนพระองคต์ อ่ รฐั สภา ๓. การรบั ทราบการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ กฎมณเฑยี รบาลวา่ ดว้ ยการสบื สนั ตตวิ งศ์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๗ ๔. การรับทราบหรอื ใหค้ วามเหน็ ชอบในการสบื ราชสมบตั ิ ๕. การปรึกษาร่างพระราชบญั ญัตหิ รือร่างพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ใหม่ ๖. การมีมติให้รัฐสภาพจิ ารณาเรื่องอืน่ ในสมยั ประชุมสามญั นิตบิ ัญญัติ ๗. การให้ความเห็นชอบในการปดิ สมยั ประชุม และการเปดิ ประชุมรฐั สภา ๘. การให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนญู ๙. การใหค้ วามเหน็ ชอบใหพ้ จิ ารณารา่ งรฐั ธรรมนญู แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ รา่ งพระราชบญั ญตั หิ รอื รา่ ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ในกรณีท่ีอายุของสภาผู้แทนราษฎรส้ินสุดลง รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ก�ำหนดให้สภาผู้แทนราษฎรมีอายุ ๔ ปี สมาชิกวุฒิสภามีอายุ ๖ ปี หรือมีการยุบสภาผู้แทน ราษฎร ภายหลังการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกต้ังท่ัวไป รัฐสภา สภาผู้แทน ราษฎร หรอื วฒุ สิ ภา แลว้ แตก่ รณจี ะพจิ ารณารา่ งรฐั ธรรมนญู แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ หรอื รา่ งพระราชบญั ญตั หิ รอื ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญท่ีรัฐสภามิได้ให้ความเห็นชอบต่อไปได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีท่ีต้ัง ขนึ้ ใหมภ่ ายหลงั การเลอื กตงั้ รอ้ งขอภายในหกสบิ วนั นบั แตว่ นั เรยี กประชมุ รฐั สภาครง้ั แรก หลงั การเลอื ก ตัง้ ท่ัวไป และรฐั สภามีมตเิ หน็ ชอบดว้ ย ถ้าคณะรฐั มนตรไี ม่ไดร้ อ้ งขอในกำ� หนดเวลาดงั กล่าวก็ให้รา่ งดัง กลา่ วเป็นอันตกไป ๑๐. ตราขอ้ บงั คบั การประชมุ รฐั สภา ๑๑. การแถลงนโยบายของรฐั บาล ๑๒. การเปดิ อภปิ รายทว่ั ไปเพอ่ื ฟงั ความคดิ เหน็ ของสมาชกิ รฐั สภา ในกรณมี ปี ญั หาสำ� คญั เกย่ี ว กับการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรีร้องขอไปยังประธานรัฐสภา ซึ่งเป็นการ อภิปรายโดยไม่ต้องลงมติ ๑๓. การใหค้ วามเหน็ ชอบในการประกาศสงคราม

292 รฐั ศาสตรเ์ บ้อื งต้น ๑๔. การให้ความเหน็ ชอบหนงั สือสญั ญา ๑๕. การแกไ้ ขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญ ข้อบังคบั ในการประชุมรฐั สภา (มาตรา ๑๙๔) การประชุมร่วมกันของรัฐสภาให้ใช้ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ในระหว่างท่ียังไม่มีข้อ บงั คับการประชุมรัฐสภา ใหใ้ ชข้ อ้ บังคบั การประชมุ สภาผู้แทนราษฎรโดยอนโุ ลม ต�ำแหนง่ ต่าง ๆ ในรฐั สภา๑๘๕ การปฏิบัติงานตามอ�ำนาจหน้าท่ีของรัฐสภา จ�ำเป็นต้องมีการจัดองค์กรภายในให้เป็นระบบ ท่ีมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับลักษณะของรัฐสภา การจัดองค์กรภายในรัฐสภามีลักษณะเฉพาะ ซ่ึงก�ำหนดขึ้น โดยมุง่ หมายทีจ่ ะให้การดำ� เนินงานของสภา เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย มปี ระสิทธิภาพ และสอดคลอ้ งกบั เจตนารมณข์ องประชาชนเจา้ ของอำ� นาจอธปิ ไตย องคก์ รทส่ี ำ� คญั ภายในรฐั สภามดี งั นี้ ๑. ประธานสภา (Speaker of the Parliament) เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชากจิ การงานในสภาทง้ั หมด เป็นประธานในท่ีประชุมสภา เป็นผู้รักษาระเบียบข้อบังคับในการประชุม จัดล�ำดับและควบคุมการ อภิปรายของสมาชิกใหม้ ีความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย ๒. รองประธานสภา (Deputy Speaker) มีอ�ำนาจหน้าที่ช่วยประธานสภาปฏิบัติหน้าที่ เป็นผ้กู ระทำ� แทนประธานเม่อื ต�ำแหนง่ ประธานว่างลง หรือประธานไม่อยู่ หรอื ไมอ่ าจปฏิบตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ ๓. เลขาธกิ ารรัฐสภา (Secretary General) มหี น้าทใี่ หบ้ ริการแก่สมาชกิ รัฐสภา เพอ่ื ใหก้ าร ท�ำหนา้ ที่ของสมาชกิ ด�ำเนนิ ไปด้วยความเรยี บร้อย เชน่ บรกิ ารด้านข่าวสาร ขอ้ มูล และเจ้าหน้าท่ีดา้ น ต่าง ๆ ๔. คณะกรรมาธกิ าร (Committee) กรรมาธกิ าร คอื บคุ คลทส่ี ภาแตง่ ตงั้ ขน้ึ ประกอบเปน็ คณะ กรรมาธกิ ารเพอื่ พจิ ารณากฎหมายหรือกระท�ำกจิ การใด ๆ ตามท่ีสภามอบหมาย กรรมาธิการของสภา เปน็ ส่ิงทีจ่ ำ� เป็นและมีความสำ� คญั ในการชว่ ยให้งานของรฐั สภาส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ชว่ ยแบ่งเบาภาระ ของสภา ท้งั ยังเปน็ เครอื่ งมืออยา่ งดที ี่จะใหส้ ภาได้รบั ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้อง เพ่ือประกอบการวนิ จิ ฉัยลงมติให้ ปัญหาต่าง ๆ โดยประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ หรือกลุ่มบุคคลเพื่อให้ได้รับข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ๑๘๕ นงเยาว์ พรี ะตานนท์, เรือ่ งเดมิ , หน้า ๑๒๑- ๑๒๘.

รัฐสภา (Parliament) 293 ทงั้ ยงั เปน็ องคก์ รทส่ี ามารถตดิ ตามผลการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของฝา่ ยบรหิ ารไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถรับทราบปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนที่ร้องเรียนมาโดยผ่านคณะกรรมาธิการชุด ตา่ ง ๆ ปจั จบุ ันน้ีในวุฒสิ ภาและสภาผแู้ ทนราษฎรต่างก็มคี ณะกรรมาธิการสามัญประจ�ำสภา ซึ่งหมาย ถงึ กรรมาธกิ ารทสี่ ภาแตง่ ตง้ั จากบคุ คลซงึ่ เปน็ สมาชกิ ของสภาเทา่ นนั้ และตง้ั ไวเ้ ปน็ การถาวรตลอดอายุ ของสภา คณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจำ� สภาจะมจี ำ� นวนคณะตามความจ�ำเป็นในกิจการของสภา นอกจากน้ี ถ้ามีเหตุผลและความจ�ำเป็นในกิจการหรือเรื่องราวท่ีจะให้ด�ำเนินการพิจารณา สอบสวนหรอื ศกึ ษาในเรอื่ งทไ่ี มอ่ ยใู่ นขอบเขตของคณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจำ� สภาชดุ ใด สภาอาจจะ ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ ซ่ึงสภาจะแต่งต้ังจากบุคคลซ่ึงเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ซงึ่ เมอ่ื คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ สรจ็ สน้ิ สมบรู ณแ์ ละเสนอรายงานตอ่ สภา พิจารณาเสรจ็ แลว้ คณะกรรมาธิการสามญั ชุดน้ีกจ็ ะสลายตัวสน้ิ สภาพไป ๕. ผนู้ ำ� ฝา่ ยคา้ นในสภา (Leader of the Opposition) เปน็ ตำ� แหนง่ ทจี่ ดั ใหม้ ขี น้ึ เพอ่ื สนบั สนนุ ระบบพรรคการเมือง และเป็นการยอมรับความสำ� คัญของฝา่ ยคา้ น ตำ� แหน่งนี้เกิดขึน้ เป็นครัง้ แรกโดย กำ� หนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู ฉบับที่ ๑๐ (ปี พ.ศ. ๒๕๑๗) ปัจจุบนั บคุ คลที่ไดร้ บั แต่งต้งั เปน็ ผนู้ �ำฝ่ายคา้ นซ่ึง มีเฉพาะในสภาผแู้ ทนเทา่ นัน้ จะต้องมคี ุณสมบตั ดิ งั นี้ คอื ๑. เปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ๒. เปน็ หวั หนา้ พรรคการเมอื ง ซงึ่ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในสงั กดั ของพรรคไมไ่ ดเ้ ปน็ รัฐมนตรี ๓. เปน็ พรรคการเมืองทม่ี ี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากทส่ี ดุ ในบรรดาพรรคการเมือง ทสี่ มาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรในสังกัดพรรคเหล่าน้ันไมไ่ ดเ้ ปน็ รฐั มนตรี ๔. เป็นพรรคท่ีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในสังกัดไม่น้อยกว่าหน่ึงในห้าของจ�ำนวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ท้ังหมดในสภาผู้แทนราษฎร ถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดมีลักษณะดังกล่าว ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีอยู่ในพรรคท่ีไม่มี สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในสงั กดั ในรัฐมนตรี เลอื กสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผเู้ ป็นหัวหนา้ พรรคคนใด คนหน่ึงในกลมุ่ ฝา่ ยค้านด้วยกัน เป็นผู้นำ� ฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร การออกกฎหมายของรฐั สภา รฐั สภาเป็นสถาบนั ที่มหี นา้ ท่โี ดยตรงในการออกกฎหมายเพ่อื ใชป้ กครองประเทศ กฎหมายท่ี จะต้องผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภามี ๒ แบบ คือ กฎหมายท่ีเรียกว่าพระราชบัญญัติและกฎหมายท่ี

294 รฐั ศาสตร์เบ้ืองต้น เรยี กวา่ พระราชกำ� หนด สว่ นกฎหมายนอกจากนแ้ี ลว้ รฐั สภาจะใหอ้ ำ� นาจองคก์ รอน่ื ๆ ออกกฎหมายได้ เช่น กระทรวงหรือองคก์ ารปกครองตนเองเป็นผอู้ อก และมีผลบงั คับใชไ้ ด้โดยไม่ต้องผา่ นการเหน็ ชอบ จากรฐั สภา พระราชบัญญัติ เป็นกฎหมายท่ีผ่านมติเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วจึงประกาศใช้ การตราพระ ราชบญั ญัติ และการพจิ ารณาพระราชบญั ญัติของรัฐสภา มวี ธิ ีการที่สำ� คัญดงั น้ี ผู้มีสิทธิและเสนอร่าง พระราชบัญญัติ เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรคือ คณะ รฐั มนตรแี ละสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สำ� หรบั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจะเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ไิ ด้ ตอ้ งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงชอ่ื รบั รองไมน่ อ้ ยว่า ๒๐ คน ถ้าเป็นพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน จะเสนอได้ต้องมีค�ำรับรองของนายกรัฐมนตรี เม่ือร่างพระราชบัญญัติน้ันเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎร แลว้ สภาผูแ้ ทนราษฎรต้องพิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั ินน้ั ๓ วาระ คือ วาระที่ ๑ เรียกว่าขั้นรับหลักการ เป็นการพิจารณาหลักการทั่วไป และลงมติว่าจะรับหลัก การหรอื ไม่รบั หลกั การ ถา้ ไมร่ บั หลกั การ พระราชบญั ญตั นิ น้ั ก็ตกไป ถา้ รบั หลกั การก็พจิ ารณาตอ่ ไป วาระท่ี ๒ ข้ันแปรญัตติ เป็นการพิจารณารายละเอียดของร่างพระราชบัญญัติ โดยต้ังคณะ กรรมาธิการข้ึนมาท�ำหน้าท่ีแปรญัตติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนใดจะเสนอค�ำแปรญัตติไปที่คณะ กรรมาธกิ ารดว้ ยกไ็ ด้ เมอื่ คณะกรรมาธกิ ารแปรญตั ตเิ สรจ็ แลว้ จะเสนอใหส้ ภาพจิ ารณาเรยี งลำ� ดบั มาตรา ซง่ึ สภาจะพจิ ารณาวา่ จะถอื เอาขอ้ ความตามรา่ งเดมิ หรอื ตามทก่ี รรมาธกิ ารแปรญตั ติ เมอ่ื พจิ ารณาหมด ทุกมาตราแล้วก็จะพจิ ารณาต่อในวาระท่ี ๓ วาระท่ี ๓ ขั้นลงมติ สภาจะพิจารณาว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ถ้าไม่เห็นชอบร่าง พระราชบัญญัตนิ ัน้ ตกไป ถา้ เหน็ ชอบก็จะส่งต่อใหว้ ฒุ ิสภา เม่ือวุฒิสภาได้รับร่างพระราชบัญญัติจากสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ก็ต้องพิจารณา ๓ วาระเช่น เดียวกับสภาผู้แทนราษฎร และต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน ถ้าเป็นร่างพระราชบัญญัติเก่ียว กับการเงินต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน ถ้าพิจารณาไม่เสร็จภายในก�ำหนดเวลาถือว่าวุฒิสภา ให้ความชอบในรา่ งพระราชบัญญัตินนั้ เม่ือร่างพระราชบัญญัติผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาแล้ว นายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้น�ำขึ้นทูล เกล้าถวายต่อพระมหากษตั ริย์ภายใน ๒๐ วัน เพื่อใหพ้ ระมหากษัตรยิ ์ทรงลงพระปรมาภไิ ธย และเม่อื ได้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คับเปน็ กฎหมายได้

รฐั สภา (Parliament) 295 การพจิ ารณาอนุมัติพระราชกำ� หนด พระราชกำ� หนดเปน็ กฎหมายทพี่ ระมหากษตั รยิ ท์ รงตราขนึ้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ เชน่ พระราชบญั ญตั ิ โดยค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรีแล้วน�ำเสนอให้รัฐสภาพิจารณาอนุมัติ ดังนั้นพระราชก�ำหนดจึงเป็น กฎหมายท่ีฝ่ายบริหารเท่านั้นเป็นผู้ออก และพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ประกาศใช้ บังคับแล้ว โดยยังไม่ผ่านการพิจารณาจากรัฐสภา ซ่ึงจะต้องผ่านการอนุมัติจากรัฐสภาภายหลัง ถ้ารัฐสภาอนุมัติพระราชก�ำหนดนั้นมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติต่อไป แต่ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติ พระราชกำ� หนดนน้ั ตกไป พระราชก�ำหนดจะแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คือ ๑. พระราชก�ำหนดท่ัวไป เป็นกฎหมายท่ีฝ่ายบริหารประกาศใช้กรณีที่มีความจ�ำเป็นรีบด่วน เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความม่ันคงทางเศรษฐกิจของประเทศ เมอ่ื ประกาศใช้แลว้ จะต้องเสนอต่อรัฐสภาโดยไมช่ ักชา้ ๒. พระราชกำ� หนดเกยี่ วกบั ภาษอี ากรหรอื เงนิ ตรา ฝา่ ยบรหิ ารจะออกไดใ้ นระหวา่ งสมยั ประชมุ กรณีมีความจ�ำเป็นรีบด่วนจ�ำต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตรา เพื่อรักษาผลประโยชน์ ของแผ่นดิน เมือ่ ประกาศใช้แลว้ ต้องน�ำเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรภายใน ๓ วนั นบั แตว่ ันประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา การพิจารณาพระราชก�ำหนดไม่จ�ำเป็นต้องพิจารณา ๓ วาระ เหมือนพิจารณาร่างพระราช บัญญัติ จะพิจารณาเพียงแต่ว่าอนุมัติหรือไม่อนุมัติเท่านั้น จะแก้ไขเปล่ียนแปลงข้อความใด ๆ ไม่ได้ การพจิ ารณาพระราชกำ� หนด แยกพจิ ารณาไดด้ งั น้ี ๑. ถา้ สภาผู้แทนราษฎรไม่อนมุ ตั พิ ระราชกำ� หนดน้นั ตกไป ๒. ถ้าสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาอนุมัติพระราชก�ำหนดน้ันจะมีผลบังคับเป็นพระราช บัญญตั ิต่อไป ๓. ถา้ สภาผแู้ ทนราษฎรอนมุ ตั แิ ตว่ ฒุ สิ ภาไมอ่ นมุ ตั ิ และสภาผแู้ ทนราษฎรยนื ยนั การอนมุ ตั ดิ ว้ ย คะแนนเสียงมากกว่าก่ึงหน่ึงของจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท้ังหมด ถือว่าพระราชก�ำหนดนั้นมี ผลบังคับใชเ้ ป็นพระราชบัญญัติต่อไป แต่ถ้าสภาผแู้ ทนราษฎรยนื ยนั การอนุมตั ดิ ้วยคะแนนไม่มากกวา่ ก่ึงหน่ึงของสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรทั้งหมด พระราชก�ำหนดนนั้ ตกไป

๒๙๖ รฐั ศาสตรเ์ บ้อื งต้น สรปุ รฐั สภาหมายถงึ ทปี่ ระชมุ อนั มสี ภาพเปน็ ตวั แทนซง่ึ มบี ทบาทในทางนติ บิ ญั ญตั ิ และเปน็ สถาบนั ทค่ี วบคมุ การบรหิ ารงานของรฐั บาล เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประชาชน โดยสมาชกิ รฐั สภา ประชมุ ปรกึ ษาหารอื แสดงความคดิ เหน็ และตดั สนิ ใจในฐานะผแู้ ทนปวงชน การมรี ฐั สภากเ็ ชน่ เดยี วกนั กบั รฐั ธรรมนญู คอื ไมไ่ ดแ้ สดงวา่ ประเทศนนั้ ๆเปน็ ประชาธปิ ไตยเสมอไป เพราะประเทศทป่ี กครองดว้ ย ระบบเผดจ็ การกม็ รี ฐั สภาเชน่ กนั รฐั สภามอี ายอุ นั ยาวนานมมี าตงั้ แตส่ มยั กรกี และโรมนั สถาบนั รฐั สภา ทเ่ี ปน็ แมแ่ บบแหง่ รฐั สภาประเทศตา่ ง ๆ คอื สถาบนั รฐั สภาของประเทศองั กฤษซงึ่ มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื งชดั เจน รูปแบบของรัฐสภาโดยทัว่ ไปแบง่ เปน็ ๒ ประเภทคือ สภาเดี่ยวและสภาคู่ ซึ่งรูปแบบของ สภาคนู่ ี้เป็นทน่ี ิยมกนั อยา่ งแพร่หลาย ส�ำหรับประเทศไทยตามรฐั ธรรมนูญฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๐ ก�ำหนด ให้มีรัฐสภาแบบสภาคู่หรือสองสภาคือวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีสมาชิกมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชนทงั้ สองสภา จะเห็นได้ว่า รัฐสภาเป็นประโยชน์ มีคุณูปการอย่างมากในการปกครองประเทศในรูปแบบ ประชาธิปไตย ถ้าให้ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ มีความเสมอภาคทางการเมืองอย่างเต็มท่ีในการมอบ อ�ำนาจให้แก่ฝ่ายบริหารโดยรัฐบาล ฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐสภา และฝ่ายตุลาการโดยศาล เพราะจะได้ ควบคุมถ่วงดุลซึ่งกันและกัน เนื่องจากการปกครองโดยเสียงข้างมากแต่ฝ่ายเดียวนั้น เป็นอันตรายใน การบริหารประเทศเป็นอย่างมาก หากไม่มีอำ� นาจอธิปไตยอ่ืนมาคอยตรวจสอบ จะท�ำให้รัฐบาลเป็น รัฐบาลเผด็จการเสียงข้างมาก รัฐสภาจะคอยตรวจสอบและถ่วงดุลซ่ึงกันและกัน ท�ำให้การบริหาร ประเทศเป็นไปในทศิ ทางทีพ่ งึ ประสงค์ เปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตแิ ละประชาชนอย่างแท้จริง

บทท่ี ๑๒ พรรคการเมอื งและกล่มุ ผลประโยชน์ (Political Party and Interest Group) บทน�ำ พรรคการเมืองมีบทบาทที่ส�ำคัญอย่างย่ิงในระบบการเมือง และยังเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ของกระบวนการทางการเมือง ทั้งนี้เพราะพรรคการเมืองมีส่วนในการเสริมสร้าง สนับสนุน หรือแม้ กระทัง่ ทำ� ลายระบอบการปกครองได้ ไม่ว่าประเทศจะมกี ารปกครองดว้ ยระบอบใด ก็มีความจ�ำเป็นที่ จะต้องมีพรรคการเมือง เพราะลักษณะการรวมกลุ่มและมีการเคล่ือนไหวของประชาชนทางการเมือง ล้วนเปน็ ลักษณะของพรรคการเมืองทงั้ ส้นิ พรรคการเมืองคือที่รวมของกลุ่มบุคคลที่มีแนวความคิดทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ คล้ายคลึงกัน รวมกันเพื่อจุดประสงค์ท่ีจะส่งบุคคลเข้าสมัครรับเลือกต้ังเพ่ือให้ได้เป็นเสียงข้างมากใน สภา เพ่ือมีโอกาสจัดต้ังรัฐบาลและบริหารประเทศตามนโยบายท่ีสอดคล้องกับอุดมการณ์ของกลุ่ม อยา่ งไรกต็ ามมไิ ดห้ มายความวา่ กลมุ่ ทเี่ รยี กกลมุ่ ตวั เองวา่ พรรคการเมอื งจะมลี กั ษณะดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทกุ กลุ่ม พรรคการเมืองท่ีจัดต้ังข้ึนในแต่ละประเทศก็อาจแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสภาพบรรยากาศ พรรคการเมืองและลักษณะของคนในชาติซึ่งไม่เหมือนกัน แต่ลักษณะข้างต้นถือเป็นลักษณะของ พรรคการเมืองในหลักการ หรือรูปแบบที่ยึดกันว่าเป็นสากล พรรคการเมืองมีความส�ำคัญต่อระบอบ ประชาธิปไตยเพราะเป็นที่สร้างพลังให้กับอุดมการณ์ เป็นท่ี ๆ อาจค้นหาเสียงส่วนใหญ่ (Majority) ของมหาชน และเป็นสถาบันที่ท�ำใช้ประชาชนต่างท้องถ่ินสามารถร่วมมือกันทางการเมืองได้ แม้ใน รปู การปกครองแบบเผดจ็ การกย็ ังให้ความส�ำคญั ตอ่ พรรคการเมือง เพราะถือวา่ เป็นกลไกส�ำคัญ “ใน การเปน็ ตวั แทนผลประโยชนข์ องประชาชน ชว่ ยสะทอ้ นความเหน็ และมตมิ หาชนทเี่ กดิ ในสงั คม”๑๘๖ พรรคการเมอื ง ในฐานะทเ่ี ปน็ สว่ นสำ� คญั ของกระบวนการทางการเมอื ง พรรคการเมอื งมสี ว่ น ส�ำคญั ย่งิ ในระบบการเมือง และกระบวนการทางการเมือง การศึกษาเรอื่ งบทบาทของพรรคการเมือง ในกิจการทางการเมือง ช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงระบบการเมืองประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบ ๑๘๖ สุขมุ นวลสกลุ , รศ.,ดร.,วทิ ยา นภาศริ ิกุลกิจ, รศ.,ดร.,วศิ ษิ ฐ์ ทวีเศรษฐ, รศ., เรือ่ งเดมิ , หน้า ๒๑๗. ๑๘๗ จรญู สภุ าพ, ศ., เรอ่ื งเดิม, หน้า ๑๔๐.

298 รฐั ศาสตรเ์ บอื้ งต้น การเมอื งประเภทเปิดหรอื ปดิ ความรู้ความเข้าใจเชน่ นท้ี ำ� ให้เกดิ ประโยชนท์ ีจ่ ะได้ เชน่ แนวทางในการ พจิ ารณาถงึ การปฏบิ ตั กิ าร การดำ� เนนิ การของพรรคการเมอื งในสงั คมแบบตา่ ง ๆ ในยคุ ปจั จบุ นั น้ี กจิ การ ของสังคมมีมาก และจะต้องปฏิบัติกันในขอบเขตที่กว้างขวาง ด้วยเหตุน้ันจึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องพึ่งพา องคก์ รขนาดใหญ่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยบคุ คลจำ� นวนมากเพอ่ื ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ใหไ้ ดผ้ ลลลุ ว่ งไปได้ พรรคการเมอื ง เป็นท่ีรวมของบุคคล ซ่ึงมีความรับผิดชอบในทางการเมือง พรรคการเมืองจึงเป็นเสมือนกุญแจไปสู่ อ�ำนาจทางการเมอื ง ไมว่ ่าจะเปน็ สงั คมประเภทใด๑๘๗ พรรคการเมอื งมบี ทบาทสำ� คญั ในระบบการเมอื งสมยั ใหม่ ซงึ่ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การจดั องคก์ าร พรรคการเมืองเป็นปรากฏการณ์ท่ีมีท้ังในระบอบประชาธิปไตยและในระบอบที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย ในยุคเร่ิมต้น เช่น ในสหรัฐอเมริกาสมัยประธานาธิบดียอร์จ วอชิงตัน ประมาณ ๒๐๐ ปีมาแล้ว พรรคการเมอื งได้ถกู มองว่ามีลักษณะเปน็ พวก (Faction) หรอื หมู่คณะทางการเมืองซง่ึ ไมน่ า่ ไวใ้ จ ในปัจจุบันพรรคการเมืองมีท้ังในประเทศท่ีพัฒนาแล้วและก�ำลังพัฒนา ในประเทศท่ีพัฒนา แลว้ พรรคการเมอื งไดล้ ดความเขม้ ขน้ ทางอตุ สาหกรรม สำ� หรบั ในประเทศกำ� ลงั พฒั นานนั้ ยอ่ มเปน็ ตาม ค�ำศัพท์ คือพรรคการเมืองยังอยู่ในช่วงพัฒนาเป็นรูปแบบซ่ึงยังไม่ทราบทิศทางแน่นอน ส�ำหรับใน ประเทศซึ่งปกครองแบบเบ็ดเสร็จน้ัน พรรคการเมืองมีหน้าท่ีแตกต่างจากพรรคในระบอบเสรี ประชาธปิ ไตย แมข้ ณะนจี้ ะมีแนวโนม้ สู่ “ทฤษฎีแหง่ การบรรจบกนั ”๑๘๘ ความหมายของพรรคการเมอื ง คำ� วา่ “พรรคการเมอื ง” ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “Political Party” ซง่ึ มรี ากศพั ทเ์ ดมิ มาจาก ภาษาละตินว่า “Pars” อันหมายถึง “ส่วน” ดังน้ันพรรคการเมืองจึงหมายถึง “ส่วน” ของราษฎร ทัง้ หมดในประเทศ กล่าวคือหมายถงึ ราษฎร แบง่ แยกออกเปน็ ส่วน ๆ ตามความคิดเหน็ และประโยชน์ ไดเ้ สียทางการเมอื ง๑๘๙ พรรคการเมืองตามความหมายของสารานุกรมรัฐศาสตร์ คือ “พรรคการเมืองเป็นกลุ่มของ เอกชนทม่ี ผี ลประโยชนค์ ลา้ ยคลงึ กนั และความตอ้ งการอยา่ งเดยี วกนั ไดร้ วมกนั ขนึ้ เพอื่ วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ จะเข้าควบคุมและก�ำหนดนโยบายของรัฐโดยการเอาชนะในการเลือกตั้ง การออกกฎหมายและการ ๑๘๗ จรูญ สภุ าพ, ศ., เรือ่ งเดมิ , หน้า ๑๔๐. ๑๘๘ จิรโชค (บรรพต) วรี ะสยั , ดร., สุรพล ราชภัณฑารักษ,์ ดร., สรุ พันธ์ ทบั สวุ รรณ,์ ผศ., เรอื่ งเดิม, หนา้ ๓๙๐. ๑๘๙ หยดุ แสงอทุ ยั , “พรรคการเมือง” (กรงุ เทพฯ, สำ� นกั พิมพ์ดวงกมล : ๒๕๑๗) หนา้ ๘.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook