Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Description: Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

วสิ ยั ทัศน์ทางการเมอื ง (Political Vision) 399 กระบวนการสอ่ื สาร ถ้าเราจะมองไปรอบ ๆ ตัวเราจะเห็นว่า กระบวนการสื่อสารนั้นเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เช่น การพดู การส่ันศีรษะ หรอื การโอบบา่ คนอน่ื แม้แตก่ ารท่เี ราไดย้ ินเสยี งตา่ ง ๆ จากวิทยุหรอื ภาพยนตร์ อ่านหนังสือหรือโปสเตอร์ ฯลฯ สิ่งเหล่าน้ีได้ก่อให้เกิดกระบวนการสื่อสารข้ึนทั้งนั้น เนื่องจากว่าเรามี ความจ�ำเป็นที่จะต้องติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น นับต้ังแต่บุคคลในครอบครัว กลุ่มบุคคลและองค์การหรือ สังคมขนาดใหญ่ขน้ึ ไป และในทำ� นองเดียวกันบคุ คลอนื่ ก็มีความจำ� เปน็ ทีจ่ ะตอ้ งติดต่อกับเรา เราได้ใช้ รูปแบบหลายอย่างในกระบวนการของการแลกเปล่ียนติดต่อสื่อสาร เช่น การพูด การฟัง การเขียน การอา่ น กริ ยิ าทา่ ทางต่าง ๆ แต่วธิ กี ารท่เี ราใช้มากทีส่ ุดในการส่ือสารเหน็ จะได้แก่การพูด การฟัง และ การใช้กิริยาท่าทางต่าง ๆ เราจะเห็นได้ว่ากระบวนการสื่อสารจะเกิดขึ้นได้ย่อมประกอบด้วย องค์ประกอบ ๓ อย่างคือ ผู้ส่งสาร สาร และผู้รับสาร ในกระบวนการท่ีง่ายที่สุดของการส่ือสารน้ีเรา อาจพดู ได้วา่ การสอื่ สาร คือ การสง่ สารจากแหล่งหน่งึ ไปยังอกี แหลง่ หนึ่ง นน่ั เอง หนา้ ที่ของการส่อื สาร ๑. หนา้ ทดี่ า้ นขา่ วสาร หมายถงึ การรายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ หรอื สง่ิ แวดลอ้ มทว่ั ไปใหบ้ คุ คล อกี ฝา่ ยหนง่ึ รบั ทราบลกั ษณะของสารทสี่ ง่ ออกไปเปน็ การบรรยายเหตกุ ารณห์ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ แบบตรงไป ตรงมา เพื่อให้ฝ่ายผู้รับสารสามารถทราบเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ผู้ส่ือสาร พยายามละเว้นการแทรกความเห็น หรอื แปลความหมายลงไปในเนื้อของข่าวสารนน้ั หน้าที่การเสนอข่าวสารเป็นกระบวนการอย่างหน่ึงซ่ึงจะสัมฤทธ์ิผลได้น้ัน ต้องประกอบด้วย ขน้ั ตอนต่อไปนี้ คือ ข่าวสารนน้ั ต้องถงึ ดงึ ดูดความสนใจและเป็นทย่ี อมรับของผ้รู บั สาร นอกจากนั้นยัง ตอ้ งง่ายแกก่ ารแปลความหมายและจดจำ� ไว้เพื่ออ้างอิงภายหลัง ๒. หน้าที่ด้านความเห็นหรือการชักจูง ในทางตรงกันข้ามกับหน้าท่ีด้านข่าวสารท่ีเป็นการ รายงานเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนตรงไปตรงมา หน้าท่ีด้านความเห็นนั้นอธิบายความหมาย หรือเสนอความ เหน็ เกยี่ วกบั เหตกุ ารณห์ รอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั สารคลอ้ ยตาม หรอื เปน็ เพยี งการเสนอแนะ ให้ผู้รับสารตัดสินใจเองก็ได้ เป้าหมายส�ำคัญอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงความเช่ือ ทัศนคติ หรือพฤติกรรม ของผรู้ บั สาร กระบวนการชักจูงนี้ มีลักษณะคล้ายคลึงกับการเสนอข่าวสารท่ีกล่าวแล้ว คือเร่ิมจากการ อธิบายข้อเท็จจริงเพื่อให้ผู้รับสารตระหนักหรือรับทราบถึงสภาวะสิ่งแวดล้อมหรือเหตุการณ์ท่ี เปลยี่ นแปลงไป จากนนั้ ผรู้ บั สารจะพจิ ารณาทบทวนความตอ้ งการตลอดจนความเชอ่ื และทศั นคตขิ อง ตนว่าสอดคล้องกับเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมภายนอกอย่างไร ในขณะเดียวกันก็จะหาวิธีสนองความ ต้องการ หรือพยายามปรับความเชื่อ ทศั นคติ หรอื พฤตกิ รรมและส่งิ แวดล้อมให้สอดคลอ้ งกนั

400 รฐั ศาสตร์เบอื้ งต้น ๓. หน้าท่ีด้านสาระความรู้หรือการศึกษา หน้าท่ีด้านสาระความรู้หรือการศึกษานี้คล้ายคลึง กันมากกับหน้าที่ด้านข่าวสาร เพราะต่างก็มุ่งเสนอข้อเท็จจริง หรือสาระเรื่องราวที่เป็นประโยชน์แก่ ผู้รับสารเพื่อประกอบการตัดสินใจในชีวิตประจ�ำวัน แต่มีข้อแตกต่างตรงที่ว่า หน้าท่ีด้านการศึกษานี้ เน้นการสรา้ งบรรยากาศ หรือกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หเ้ กิดข้นึ กบั ผรู้ บั สาร มิใชแ่ ตเ่ สนอรายงานขา่ วอย่าง ตรงไปตรงมา ๔. หน้าท่ีด้านบันเทิง แม้หน้าท่ีด้านข่าวสาร ความเห็นและสาระความรู้จะถือเป็นหน้าท่ีพื้น ฐานส�ำคัญของการส่ือสารในทุกสังคมก็ตาม หน้าท่ีในการให้บริการบันเทิง ได้ทวีความส�ำเร็จและเป็น ท่ียอมรับกันแพร่หลายมากในสังคมสมัยใหม่ หน้าท่ีบันเทิงนี้แตกต่างจากหน้าที่ท้ังหมดท่ีกล่าวแล้ว ทงั้ ในแงเ่ นอื้ หา และผลของการสอื่ สาร แทนทจี่ ะเปน็ การเสนอขา่ วสารอยา่ งตรงไป ตรงมา และอธบิ าย ความเห็นอย่างชัดแจ้ง และมีสาระประโยชน์เน้ือหาของการสื่อสารเพ่ือการบันเทิงอาจมุ่งเน้นให้ผู้รับ สารเกิดความสงสยั คลมุ เครอื ตลกขบขัน หรือวาดมโนภาพไปต่าง ๆ นานา การศึกษาสือ่ สารประเภท นม้ี งุ่ เรา้ ความรสู้ กึ และอารมณข์ องผรู้ บั สารเสยี มากกวา่ จะเรา้ ทร่ี ะบบความคดิ และพฤตกิ รรม ดว้ ยเหตนุ ี้ ผลที่เกิดข้ึนกับผู้รับสารจึงมักเน้นผลระยะสั้น คือ รู้สึกตลกขบขัน หรือเศร้าเสียใจช่ัวคร้ังช่ัวคราวแล้ว ก็หายไป ไม่ใชผ่ ลระยะยาว เชน่ การเปลีย่ นแปลง ทศั นคติ และพฤติกรรม หรือการเรียนรอู้ ันเกิดจาก หนา้ ที่ดา้ นส่ือสาร ชกั จงู และสาระความร้ตู ามทีก่ ล่าวแล้ว การเปลี่ยนแปลงข่าวสาร ค�ำว่า “Information” ซึ่งอาจแปลว่า “ข่าวสาร” หรือ “สารสนเทศ” คือ ความสัมพันธ์ อันมีแบบแผนระหว่างเหตุการณ์ต่าง ๆ ข่าวสารน้ันมีลักษณะเป็นสารอย่างหนึ่งท่ีส่งมาตามสื่อต่าง ๆ ในรูปแบบของสัญลักษณ์ หรือสัญญาณ จึงเป็นลักษณะเน้ือหาของส่ือท่ีใช้ในการสื่อสาร ข่าวสารช่วย ลดความไมแ่ น่นอน หมายความวา่ การท่ีคนเราตดั สนิ ใจรบั รหู้ รือยอมรับเหตกุ ารณ์ หรือแนวความคดิ ใดสกั ประการหนง่ึ นนั้ ขนึ้ อยกู่ บั ขา่ วสารทเ่ี ราไดร้ บั ถา้ หากเราไดข้ า่ วสารทเี่ ปน็ ประโยชนม์ าก กส็ ามารถ ตัดสนิ ใจรับร้หู รอื ยอมรับงา่ ยเข้า ความไม่แน่นอนกล็ ดนอ้ ยลงไป กรณีตรงข้ามถา้ เราขาดข่าวสารเกี่ยว กับเหตุการณห์ รือแนวความคดิ นน้ั ความไม่แน่นอนกม็ ีมาก ทำ� ใหย้ ากที่จะตดั สินใจรบั รหู้ รอื ยอมรบั ได้ จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าการส่ือสารน้ัน ก่อให้เกิดการเข้าถึงข่าวสารของผู้รับ สาร ซงึ่ ถา้ หากไดร้ บั ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชนม์ ากกส็ ามารถตดั สนิ ใจรบั รหู้ รอื ยอมรบั งา่ ย ความไมแ่ นน่ อน กล็ ดนอ้ ยลงไป ในทางตรงกนั ขา้ มถา้ หากขาดขา่ วสารเกยี่ วกบั เหตกุ ารณ์ หรอื แนวคดิ นน้ั ความไมแ่ นน่ อน ก็มีมาก ทำ� ให้ยากทจ่ี ะตดั สนิ ใจรบั ร้หู รือยอมรับได้

วิสัยทัศนท์ างการเมือง (Political Vision) 401 ดังน้ัน หากพิจารณาในแง่ของการส่ือสาร การเมืองและการปกครองเป็นกระบวนการ ชี้น�ำ และสร้างความร่วมมือระหว่างประชาชนในชาติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ กลไก ที่ส�ำคัญใน กระบวนการชีน้ �ำและสร้างความร่วมมือนี้ ไดแ้ ก่ การตดั สินใจ ด้วยเหตุน้ี จงึ มีนกั รฐั ศาสตรจ์ ำ� นวนไม่ นอ้ ยทสี่ นใจศกึ ษากระบวนการการตดั สนิ ใจในแงม่ มุ ของกระบวนการสอ่ื สาร คารล์ ดอยช์ นกั รฐั ศาสตร์ ผู้มีชื่อเสียงในด้านการส่ือสารทางการเมือง ได้เสนอตัวแบบของการตัดสินใจของบุคคลในแง่ของการ ส่ือสารไว้ดังนี้ คือ ตามกรอบแนวคิดของ คาร์ล ดอยช์ ระบบต่าง ๆ จากส่ิงแวดล้อมท้ังภายในและ ภายนอกของระบบ ผ้รู บั สารของระบบจะรบั รู้ เลือก และรับเอาขา่ วสารทต่ี อ้ งการ ตอ่ จากนัน้ กจ็ ะนำ� เอาขา่ วสารไปประมวล ตามกรอบอา้ งองิ ของแตล่ ะบคุ คล แลว้ ขา่ วสารสว่ นหนงึ่ จะถกู สง่ ไปยงั ศนู ยก์ าร ตดั สนิ ใจโดยไมผ่ า่ นหนว่ ยกรองขา่ วสาร แตข่ า่ วสารอกี สว่ นหนงึ่ จะถกู สง่ ผา่ นเขา้ ไปยงั ศนู ยค์ วามจำ� และ คา่ นยิ มกอ่ นสง่ ตอ่ ไปยงั ศนู ยก์ ารตดั สนิ ใจ ศนู ยค์ วามจำ� จะตรวจสอบความเกย่ี วขอ้ งของขา่ วสารทไ่ี ดร้ บั กบั ประสบการณท์ ่มี ีอยู่ โดยเฉพาะพิจารณาในแงข่ องกระบวนการและผลทจ่ี ะเกดิ ข้นึ จากการท่บี ุคคล จะปฏบิ ตั ติ อ่ ขา่ วสารนนั้ สว่ นคา่ นยิ มทอี่ ยใู่ นหนว่ ยเดยี วกนั น้ี จะกระทำ� หนา้ ทใ่ี นการกำ� หนดความชอบ ไม่ชอบต่อข่าวสารนั้น จากน้ันจึงส่งข่าวสารน้ีไปยังศูนย์การตัดสินใจ ตัดสินใจด�ำเนินการอย่างใด อย่างหนง่ึ ซ่ึงจะมผี ลกระทบเกดิ ขน้ึ และในทส่ี ุดขา่ วสารกจ็ ะถูกปอ้ นกลบั เข้าสรู่ ะบบอีกครง้ั หน่งึ กล่าวโดยสรุป จาการศึกษาแนวความคิดเก่ียวกับการเข้าถึงข่าวสารทางการเมืองท่ีกล่าวมา ขา้ งตน้ ในการวจิ ยั น้ี เหน็ วา่ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารทางการเมอื งเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหบ้ คุ คลเกดิ วิสัยทัศน์ เพราะข้อมูลข่าวสารเป็นส่ือพ้ืนฐานที่ปัจเจกชนรับและน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์และตีความ ปรากฏการณท์ างการเมอื ง การเขา้ ถงึ ขา่ วสารอาจมาจากหลายแหลง่ ดว้ ยกนั อาจมาจากสอ่ื สารมวลชน ทงั้ การอา่ นหนงั สอื่ พมิ พ์ ฟงั วทิ ยุ หรอื ดโู ทรทศั น์ อาจมาจากการเขา้ รว่ มฟงั สมั มนาและอภปิ รายโดยตรง จากมหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ หรือจากการจัดปราศรยั ของนักการเมือง อาจมาจากค�ำบอกเล่าของผู้นำ� ทาง ความคิดในชุมชน อย่างไรก็ตาม ในการตีความข้อมูลข่าวสารต่อประเด็นต่าง ๆ อาจเป็นไปได้ท้ังเชิง บวกหรือลบ ซง่ึ ข้ึนกับลกั ษณะของขอ้ มลู ข่าวสารที่เขาได้รบั กล่าวในเชงิ สมมตฐิ านการวิจัย การเข้าถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารมสี หสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั การเกดิ วสิ ยั ทศั น์ และลกั ษณะของขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ขาไดร้ บั กย็ อ่ ม มคี วามสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ลกั ษณะของวสิ ยั ทศั นเ์ ชน่ เดยี วกนั นน่ั หมายความวา่ หากเขาไดร้ บั รดู้ า้ นดขี อง รฐั ธรรมนญู และกลไกและกตกิ าตา่ ง ๆ เขายอ่ มมวี สิ ยั ทศั นใ์ นเชงิ บวกตอ่ การกา้ วสกู่ ารเปน็ รฐั บาลธรรมรฐั

402 รัฐศาสตร์เบ้อื งตน้ มโนทศั นเ์ กี่ยวกบั การบม่ เพาะทางการเมอื ง (Political Orientation) ความหมายของการบ่มเพาะทางการเมอื ง (Meaning of Political Orientation) การทบี่ คุ คลไดร้ บั การศกึ ษาทงั้ ในระบบและนอกระบบ จดั เปน็ การอบรมบม่ เพาะทางการเมอื ง และการผ่านการอบรมบ่มเพาะทางการเมืองนี้ ย่อมท�ำให้บุคคลมีศักยภาพทางการเมืองสามารถ วิเคราะห์การเมืองได้ใกล้เคียงความจริง และท�ำให้มีวิสัยทัศน์ทางการเมืองมากกว่าคนท่ัวไป และเม่ือ ถูกอบรมขัดเกลาบ่อยเข้า บุคคลก็จะให้การสนับสนุนระบอบการปกครองของตนเอง และสร้างความ รว่ มมอื ในระบบการเมอื งมากขนึ้ ในทางตรงกนั ขา้ ม หากเกดิ ความไมต่ อ่ เนอื่ งของการอบรมกลอ่ มเกลา ทางการเมอื ง การปฏบิ ตั งิ านของผนู้ ำ� ทางการเมอื งจะประสบความยงุ่ ยากอยา่ งยงิ่ อาจจะนำ� มาซงึ่ การ เปลย่ี นแปลงทสี่ ำ� คญั ในระบบการเมอื ง การผา่ นการอบรมบม่ เพาะทางการเมอื ง ไดม้ ผี คู้ ำ� นยิ ามไวห้ ลาย นัยด้วยกัน ดงั น้ี The Oxford English Reference Dictionary (๑๙๙๕ : ๒๐๒๒) ได้ให้ความหมายวา่ การ บม่ เพาะทางการเมอื ง หมายถงึ การตงั้ ใจทำ� อะไรบางอยา่ งการทำ� ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณข์ องบคุ คล หรือการรับต�ำแหน่งที่ล่วงรู้อยู่ก่อนหน้า หรือความประพฤติของบุคคลหรือการจัดการให้เข้ากับ สถานการณท์ ่ีเปน็ อยู่ Victor H. Hissmon (๑๙๖๖ : ๖๔) กลา่ ววา่ การอบรมบม่ เพาะทางการเมือง เปน็ การเรียน รูใ้ นสิ่งทถ่ี า่ ยทอดจากสงั คมเรม่ิ ตน้ ตัง้ แต่ระยะเริ่มต้นในสถาบนั ครอบครวั ซง่ึ ต่อเนือ่ งมาถึงสถาบันการ ศึกษา เชน่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย สมาคมอาสาสมัคร พรรคการเมอื ง หรือสถาบันต่าง ๆ ของรฐั Jarol B. Manheim (๑๙๗๕ : ๔๘) กล่าวว่า การอบรมบ่มเพาะทางการเมือง หมายถึง กระบวนการซึ่งได้ความรู้ และการเรยี นรู้เกยี่ วกับชีวติ ทางสังคมการเมือง Jame S. Coleman (๑๙๖๕ : ๑๖-๑๗) กล่าววา่ การศกึ ษาท�ำให้มีความรเู้ ร่อื งการเมอื งและ มคี วามเชอื่ มนั่ สงู ในบทบาททางการเมอื งของตน สถานศกึ ษามบี ทบาทอยา่ งสำ� คญั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ทศั นคติ คา่ นยิ มและบคุ ลกิ ภาพของผทู้ เ่ี ขา้ ศกึ ษาและกอ่ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมทางการเมอื งทแี่ ตกตา่ งไปจาก บคุ คลท่มี ีการศกึ ษาตำ่� เช่น บุคคลทมี่ ีการศึกษาสูงย่อมจะมคี วามสนใจทางการเมือง และเขา้ ไปมสี ว่ น ร่วมทางการเมอื งอยา่ งเหน็ ได้ชัด สุทธิพงษ์ จุลเจริญ๒๙๔ ได้ให้ความหมายการบ่มเพาะทางการเมืองไว้ว่าเป็นการสร้างสภาวะ การรับรู้หรือความตระหนัก ทุกแง่ทุกมุม ท้ังทางการรับรู้และการได้รับความรู้และการสร้างความพึง ๒๙๔ สทุ ธพิ งษ์ จลุ เจรญิ . “บทบาทของปลดั อำ� เภอกบั การอบรมกลอ่ มเกลาทางการเมอื งในประชาธปิ ไตย”. วทิ ยานพิ นธร์ ฐั ศาสตร์ มหาบณั ฑิต ภาควชิ าการปกครองจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓

วิสยั ทัศน์ทางการเมอื ง (Political Vision) 403 พอใจ ท้ังทางด้านความรู้สึกและทัศนคติ ตลอดท้ังการสร้างความสามารถในการประเมินผล ท้ังทาง ดา้ นค่านยิ ม และปทัสถานใหเ้ กิดแกบ่ ุคคลในสว่ นท่ีจะต้องมีสัมพนั ธ์กับผ้อู ืน่ ในสังคม พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว๒๙๕ การบ่มเพาะทางการเมืองหรืออาจจะเรียกว่าความคุ้นเคยทางการเมือง เช่น ความรู้ด้านทัศนคติ และความคิดหวังในอนาคตทางการเมืองหรือความโน้มเอียงอันเกิดขึ้นจาก ความคนุ้ เคยทางการเมอื งของแตล่ ะบุคคลอันเป็นฐานของการปฏิสมั พนั ธท์ างการเมืองโดยรวม จากการทีไ่ ด้คน้ คว้ารวบรวมแนวคิดตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วกับการเรียนรู้ทางการเมือง ในศกึ ษาคร้ังนี้ สามารถแบ่งออกเปน็ ๒ ประการ ดงั น้ี ประการที่ ๑ หมายถงึ การเรยี นรโู้ ดยผา่ นสงั คมประกติ ทางการเมอื ง (Political Socialization) หมายถงึ ประสบการณ์ และการไดเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางการเมอื งโดยตรง หรอื จากการไดร้ บั การเรียนรู้ จากการรับฟัง สนทนา หรือการแลกเปลย่ี นความคดิ ทางการเมอื ง ประการท่ี ๒ หมายถงึ การผา่ นการบม่ เพาะทางการเมอื ง (Political Orientation) หมายความ วา่ เปน็ การเรียนรู้ทางการเมืองโดยต่างจากสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ หรอื จากพรรคการเมอื ง ดงั นนั้ การเขา้ ถงึ ขา่ วสารทางการเมอื งนนั้ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหป้ ระชาชนเกดิ วสิ ยั ทศั น์ (Vision) เพราะข้อมูลข่าวสารเป็นพ้ืนฐานท่ีปัจเจกชนรับ และน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์ และตีความ ปรากฏการณ์ทางการเมืองร่วมกัน การรับรู้ข่าวสารมาจากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่าน หนงั สอื พมิ พ์ ฟงั วทิ ยุ ดโู ทรทศั น์ และจากการสมั มนา หรอื การอภปิ รายโดยตรง จากสถาบนั ตา่ ง ๆ และ ในการตีความข้อมูลข่าวสารประเด็นต่าง ๆ หรือจากการจัดปราศรัยของ นักการเมือง อาจมาจาก ค�ำบอกเล่าของผู้น�ำทางความคิดในชุมชน อย่างไรก็ตามการตีความข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ กล่าวในเชิง สมมติฐานการวิจัย การรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีสหสัมพันธ์เชิงบวกกับลักษณะของ วิสัยทัศน์เช่นเดียวกัน น่นั หมายความวา่ หากไดร้ บั รู้ กล่าวโดยสรุป การผ่านการบ่มเพาะทางการเมือง (Political Orientation) หมายถึง การที่ บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ ไดร้ บั การศกึ ษาทางการเมอื งทง้ั ในระบบและนอกระบบ ผา่ นการอบรมจากสถาบนั ใดสถาบนั หนึง่ ทางการเมอื ง ซ่งึ อาจเป็นโรงเรยี น มหาวิทยาลัย พรรคการเมือง หรอื กลุ่มทางการเมอื ง ตา่ ง ๆ การอบรมบม่ เพาะยอ่ มเพ่มิ พูนศักยภาพในการวิเคราะห์ และการตคี วามปรากฏการณ์ทางการ เมืองยิ่งผ่านกระบวนการน้ีมากเท่าไร ก็ย่ิงท�ำให้เขามีวิสัยทัศน์มากยิ่งขึ้น การบ่มเพาะทางการเมืองมี สหสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั การมวี สิ ยั ทศั นท์ างการเมอื งเสมอ ดงั นน้ั การบม่ เพาะทางการเมอื งจงึ เปน็ ตวั แปร ส�ำคญั ในการศึกษา ๒๙๕ พรศักดิ์ ผอ่ งแผว้ รฐั ศาสตร์เชงิ ประจกั ษ์ กรุงเทพมหานคร : ธนวชิ ชก์ ารพิมพ์ ๒๕๒๖, ๒๕๓๑ หนา้ ๖๐

404 รัฐศาสตรเ์ บอ้ื งต้น มโนทัศนเ์ ก่ยี วกบั สงั คมประกิตทางการเมอื ง (Political Socialization) ความหมายของสงั คมประกิตทางการเมือง (Meaning of Political Socialization) ในการศึกษานี้ จะน�ำเสนอแนวความคดิ สังคมประกิตทางการเมอื งดงั นี้ สงั คมประกติ ทางการเมือง เป็นคำ� ที่นักวชิ าการทางรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไวแ้ ตกต่างกัน หลายความหมาย ซึ่งผวู้ ิจัยได้รวบรวมและสงั เคราะห์ความหมายไวด้ ังน้ี Dawson and Prewitt.๒๙๖ ให้ความหมายไว้ว่า กระบวนการสังคมประกติ ทางการเมืองเกิด ขนึ้ ในสองระดบั คอื ระดบั ตวั บคุ คลและระดบั ชมุ ชน ณ ทรี่ ะดบั ชมุ ชน กระบวนการสงั คมประกติ ทางการ เมอื งเปน็ กระบวนการทค่ี นรนุ่ หนง่ึ ถา่ ยทอดมาตรฐานและความเชอื่ มนั่ ทางการเมอื งไปสคู่ นรนุ่ ตอ่ ไป ณ ท่ีระดบั ตัวบคุ คลคอื กระบวนการท่บี คุ คลได้มาซึง่ ทศั น์ ค่านิยมและทักษะทางการเมอื งของตน หรืออีก นัยหนึง่ คอื การก่อสภาพของการเป็นตวั ตนทางการเมอื งมากขน้ึ Groenstetm (๑๙๗๕)๒๙๗ ได้ให้ความหมายเก่ียวกับสังคมประกิตทางการเมืองว่า เป็นการ อบรมให้บุคคลมีความเชื่อและค่านิยมทางการเมืองแบบใดแบบหน่ึง โดยเอเย่นต์ท่ีได้รับมอบหมาย หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบอยา่ งเปน็ ทางการ ในความหมายทก่ี วา้ ง สงั คมประกติ ทางการเมอื งครอบคลมุ การเรยี น รทู้ กุ อยา่ งเกยี่ วกบั เหตกุ ารณป์ ญั หาและบคุ ลกิ ภาพทางการเมอื งไมว่ า่ จะโดยทางตรงหรอื ทางออ้ มกต็ าม Micheal Ruch และ Phillip Athoff (๑๙๖๗) กล่าวถงึ สังคมประกติ ทางการเมอื งวา่ เป็นกระ บวนการทบี่ คุ คลแตล่ ะคนเกดิ ความตระหนกั หรอื มปี ฏกิ ริ ยิ าตอ่ ปรากฏการณท์ างการเมอื งทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก สภาพแวดล้อมของสังคมท่ีสังคมนั้นอยู่ และบังเกิดจากการพบปะสังสรรค์ของบุคลิกภาพและ ประสบการณข์ องแต่ละบุคคลนน้ั ด้วย Jarol B. Manheim (๑๙๗๕) ได้ให้ความหมายของสังคมประกิตทางการเมืองว่า คือ กระบวนการท่ไี ดร้ ับมาซึ่งความรแู้ ละการเรียนรเู้ กี่ยวกับชวี ติ ทางสังคมทางการเมือง วิสุทธ์ิ โพธิ์แท่น๒๙๘ ได้ให้ความหมายของสังคมประกิตทางการเมืองไว้ว่า คือการให้ความรู้ ทางการเมอื ง ๒๙๖ ธงชยั วงศส์ วุ รรณ. “ทศั นคตทิ างการเมอื งของนกั ศกึ ษา : การศกึ ษาเชงิ ประจกั ษใ์ นกระบวนการ สงั คมประกติ ทางการเมอื ง”. เอกสารหมายเลข ๑๘ : สถาบันไทยคดีศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร, ๒๕๒๖ ๒๙๗ ธงชัย วงศ์สุวรรณ. เรื่อง ๒๕๒๖ ๒๙๘ วิสุทธ์ิ โพธ์ิแทน. ประชาธิปไตย : แนวความคิดและตัวแบบประชาธิปไตยในอุดมคติ. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ ๒๕๔๒ หน้า ๓๒

วสิ ยั ทัศน์ทางการเมอื ง (Political Vision) 405 ทินพันธ์ นาคะตะ๒๙๙ ได้ให้ข้อคิดเห็นว่าการเรียนรู้โดยท่ัวไปแล้ว เป็นการพัฒนา พฤติกรรม ของบคุ คลซงึ่ มกี ารกระทำ� ตอ่ กนั เปน็ การถา่ ยทอดวฒั นธรรมทางการเมอื งอกี ดว้ ย ซงึ่ อาจเปน็ การเรยี น รทู้ ง้ั เรอื่ งเกย่ี วกบั การเมอื ง และไมเ่ กยี่ วกบั การเมอื ง ทมี่ ผี ลตอ่ ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมทางการเมอื ง ตลอด จนการเรยี นรทู้ ัศนคติและบุคลกิ ภาพทางการเมือง ธงชยั วงศ์ชัยสวุ รรณ๓๐๐ (๒๕๒๖) ให้ความหมาย กระบวนการทางสงั คมประกิตทางการเมอื ง หรือการเรียนรู้และการขัดเกลาทางการเมือง ว่าหมายถึงการได้มาซึ่งทัศนคติทางการเมืองและการมี พฤติกรรมทางการเมืองแบบใดแบบหน่ึงเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการสังคมประกิตทางการเมืองหรือ การเรยี นรู้และการขดั เกลาทางการเมือง การเข้าไปมีประสบการณโ์ ดยตรงทางการเมอื ง เป็นกระบวน การในการสังคมประกิตทางการเมอื ง หรอื การเรียนรู้และการขดั เกลาประเภทหนง่ึ ซึ่งอาจมีผลตอ่ การ ไดม้ าหรอื การเปลีย่ นแปลงในคา่ นยิ มหรือทศั นคติทางการเมอื งทส่ี ำ� คัญบางประการ จากความหมายของค�ำว่า “สังคมประกิตทางการเมือง” (Political Socialization) ของ นกั วชิ าการตา่ ง ๆ ทร่ี วบรวมประมวลมาได้ พอสรปุ ไดว้ า่ สงั คมประกติ ทางการเมอื ง หมายถงึ การเรยี น รู้ทางการเมืองจากประสบการณ์ในกระบวนการของการพัฒนาท่ีบุคคลแต่ละคนจะได้มาซ่ึงโลกทัศน์ ทางการเมือง Dawson and Preitt๓๐๑ ได้ให้ทศั นะว่า สงั คมประกติ ทางการเมอื งของบุคคล สามารถแบง่ ได้ ๒ วธิ ี คอื สงั คมประกติ โดยตรง และสงั คมประกติ โดยออ้ ม ๑. สังคมประกิตโดยตรง แบง่ ได้ ๔ รูปแบบ คือ ๑.๑ การเรียนรู้แบบเป็นการใช้ค่านิยมของบุคคลอื่นเป็นตัววัด และน�ำมาเป็นของ ตนเอง ซงึ่ เปน็ วธิ ที ใี่ ชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวาง ไมว่ า่ จะอยใู่ นวยั เดก็ หรอื ผใู้ หญ่ ซงึ่ อาจเปน็ ไปดว้ ยความสมคั ร ใจหรือโดยไม่ได้ตั้งใจก็ได้ ๑.๒ การเรียนรู้โดยการคาดการณล์ ่วงหนา้ (Anticipatory Socialization) เกิดจาก การทค่ี นเราคาดหวังท่จี ะได้งานที่ดี หรือมฐี านะทางสังคมท่ดี ี จึงเรมิ่ ฝึกเอาคา่ นิยมและพฤตกิ รรมของ คนท่ีมงี านดี หรืออยู่ในฐานะทางสงั คมทด่ี แี ล้วมาเปน็ ของตนก่อนทจี่ ะได้งาน หรอื อยู่ในสถานะน้ัน ๑.๓ การศึกษาทางการเมือง หรือการเรียนรู้ โดยผ่านองค์กรหรือสถาบันฝึกอบรม โรงเรียน หน่วยงานของรฐั หรอื พรรคการเมืองเปน็ ผูจ้ ดั ดำ� เนนิ การ ๒๙๙ ทนิ พันธ์ นาคะตะ. “วฒั นธรรมทางการเมืองกบั การเรียนรูท้ างสังคมของนิสิตนักศกึ ษาไทย”. มปท. ๒๕๒๕ ๓๐๐ ธงชัย วงศช์ ยั สุวรรณ. เร่ืองเดมิ ๒๕๒๖ หน้า ๑๙ ๓๐๑ Dawson, Richard E. and Presitt Kenneth. Political Socialization Boston : Little Brown ๑๙๖๙ p. ๖๓ - ๘๐

406 รฐั ศาสตรเ์ บือ้ งตน้ ๑.๔ ประสบการณ์ทางการเมืองโดยตรงโดยผ่านการเรียนรู้ด้วยการติดต่อมีความ สมั พนั ธก์ บั นกั การเมอื งโดยตรง ๒. สงั คมประกติ โดยทางออ้ ม แบ่งได้เปน็ ๓ รูปแบบ คือ ๒.๑ การถ่ายโอนระหว่างบุคคล (Interpersonal Transference) คือการเรียนรู้ท่ี เกดิ ขน้ึ เมอื่ ไดม้ ปี ระสบการณจ์ ากการตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ บั บคุ คลในครอบครวั และในโรงเรยี น เมอ่ื เดก็ โตขนึ้ ก็จะยึดเอาประสบการณ์น้ันเป็นหลัก หากเด็กได้รับการอบรมจากครอบครัวท่ีมีลักษณะอ�ำนาจนิยม ไม่ให้โอกาสแกเ่ ดก็ ในการแสดงความคิดเห็นหรอื ตดั สินใจใด ๆ เมอื่ เด็กโตขึ้นกจ็ ะมีพฤติกรรมโนม้ เอยี ง ไปทางอ�ำนาจนยิ ม ๒.๒ การฝกึ หดั อบรม (Apprenticeships) เปน็ การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ คลา้ ยกบั แบบแรก คือเกิดจากพฤติกรรมและประสบการณ์ท่ีไม่ใช่เรื่องการเมือง แต่ท�ำให้บุคคลมีทักษะและค่านิยม ซง่ึ สามารถใชใ้ นแวดวงการเมืองได้ เนือ่ งจากองค์กรหรอื สถาบันฝึกอบรมเดก็ สอนให้เดก็ รจู้ ัก แขง่ ขัน กันโดยเคารพกตกิ าการเลือกผูน้ �ำโดยเสียงขา้ งมาก ซ่ึงองคก์ รทำ� นองนไี้ ดแ้ ก่กล่มุ ลูกเสอื หรอื ชมรมใน สถาบนั ตา่ ง ๆ ๒.๓ ระบบความเชอ่ื คา่ นยิ มโดยทวั่ ไป ซง่ึ มผี ลกระทบตอ่ พฤตกิ รรมทางการเมอื งของ บุคคล ในรายงานการวจิ ยั จะเนน้ สงั คมประกติ ทางการเมอื ง ในความหมายเฉพาะทเี่ ปน็ สงั คมประกติ โดยตรง ส่วนสังคมประกิตโดยออ้ ม จะเปน็ เรื่องการบ่มเพาะทางการเมอื ง กล่าวโดยสรุป การผา่ นสงั คมประกติ ทางการเมือง (Political Socialization) ในรายงานการ วิจัยนี้ หมายถึง การท่ีปัจเจกชนเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง ในระดับใดระดับหน่ึง เช่นการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง การรณรงค์หาเสียงให้กับพรรคหรือนักการเมือง การเข้าร่วมใน กระบวนการตอ่ สหู่ รอื การประทว้ งทางการเมอื ง บคุ คลเหลา่ นกี้ ลา่ วไดว้ า่ เปน็ ผมู้ สี ว่ นรว่ มไดเ้ สยี โดยตรง กับรฐั ธรรมนูญและกติกาใหม่ ๆ ย่ิงบทเรยี นตา่ ง ๆ ที่คนเหล่านไ้ี ด้รับมีมาก ก็ยง่ิ ทำ� ใหพ้ วกเขาเกดิ วิสยั ทัศน์ทางการเมืองข้ึนมา อย่างไรก็ตามลักษณะวิสัยทัศน์ของพวกเขาต่อการเป็นรัฐบาลธรรมรัฐน้ัน อาจเปน็ ไดท้ ง้ั ในแงด่ แี ละแงร่ า้ ย ขนึ้ อยกู่ บั วา่ พวกเขาผา่ นกระบวนการสงั คมประกติ มาในลกั ษณะอยา่ งไร

วิสัยทัศน์ทางการเมือง (Political Vision) 407 มโนทศั นเ์ กยี่ วกบั อดุ มการณ์ประชาธปิ ไตย (Democratic Ideology) แนวความคดิ เก่ยี วกับประชาธิปไตย ประชาธิปไตย มีต้นก�ำเนิดจากภาษากรีก เป็นท่ีรู้จักกันในหมู่ชาวกรีกโบราณ เมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ กวา่ ปี หมายถงึ การปกครองโดยชนหรอื ประชาชน การปกครองแบบนตี้ รงกบั คำ� ภาษาองั กฤษ คือ Democracy ส�ำหรับภาษาไทย “ประชาธิปไตย” มาจากค�ำว่า ประชา หมายถึง ประชาชน “อธิปไตย” หมายถึง อ�ำนาจสูงสุดของแผ่นดิน เม่ือน�ำมารวมกันจึงหมายถึง การ ปกครองท่ีอ�ำนาจ สูงสุดเปน็ ของประชาชนหรอื มาจากประชาชน (สมพงศ์ และจรูญ, ๕๒ : ๒๕๒๐) อบั ราฮัม ลนิ คอล์น (อา้ งจาก เปรอ่ื งวิทย์ : ๑๑-๑๒, ๒๕๒๐) ไดก้ ลา่ วสนุ ทรพจน์ที่ เมืองเกต ติสบอร์ด สหรัฐอเมริกา ว่า “การปกครองระบอบประชาธิปไตย คือ การปกครองของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน” (The Government of the People by the People and for the People) เป็นวิธกี ารทีใ่ ช้การปกครองประชาชนในนครรฐั ของกรกี โบราณ ซงึ่ เปน็ การปกครองซ่ึง ประชาชนใช้อ�ำนาจในการปกครองตนเองโดยตรง (Direct Democracy) ท่ีเรยี กวา่ “รัฐบาล” ความหมายของประชาธิปไตย ท่ีใช้กันในภายหลังนั้น อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท (สมพงศ์ และจรูญ , ๒๕๒๐ : ๕๓) คอื ความหมายแคบกับความหมายกวา้ ง ความหมายแคบ หมายถึง การทป่ี ระชาชนมอี ำ� นาจปกครองตนเอง ความหมายกว้าง หมายถงึ ประชาธิปไตย เป็นวิถชี ีวติ แบบหนงึ่ ซึ่งมีแบบแผน แห่งพฤติกรรม ในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม ฉะนั้น ประชาธิปไตย จึงมีความหมายทั้งในรูปแบบและหลักการปกครอง รวมตลอดถึงการ ดำ� รงชวี ติ รว่ มกนั ของมนษุ ย์ การทป่ี ระเทศใดจะมกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยไดน้ น้ั ประชาชน ภายในประเทศตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจ ความเช่ือ และทศั นคตทิ างการเมอื งท่ีจำ� แนกเป็น ๓ ลกั ษณะ คอื ๑. ประชาธิปไตยในฐานะแนวความคิดทางการเมอื ง เป็นแนวความคดิ ทีม่ ีความเชอื่ ว่ามนษุ ย์ เปน็ ผู้มเี หตุผล และเป็นผรู้ ู้ดีทสี่ ดุ คอื ความตอ้ งการหรอื ผลประโยชนข์ องตนเอง มอี สิ ระ เสรภี าพ และ มคี วามเทา่ เทยี มกนั ในสทิ ธแิ ละโอกาส การไดม้ าซงึ่ อำ� นาจผปู้ กครองจะตอ้ งมาจากความยนิ ยอมพรอ้ มใจ กันของประชาชน และความต้องการของประชาชน (กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, ๒๕๒๑) และ Daniel White (๑๙๕๓) ได้กล่าวถงึ คำ� นยิ มประชาธปิ ไตยว่า มพี ื้นฐานประกอบได้ด้วยหลกั การส�ำคัญ ๔ ประการ คอื

408 รฐั ศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ๑.๑ มีคา่ นยิ มทดี่ ีต่อความเป็นมนษุ ย์ โดยเชือ่ ว่า มคี วามสามารถทจ่ี ะปกครองตนเอง ไดแ้ ละเป็นผูม้ เี หตผุ ล ๑.๒ มคี วามเชอื่ วา่ รฐั บาลและรฐั นนั้ เปน็ เครอื่ งมอื ของสงั คม และตอ้ งตอบสนองความ ต้องการของปจั เจกชน ๑.๓ มคี วามเช่ือในความเปน็ ปัจเจกชนและเสรภี าพของบุคคล ๑.๔ มีความเชื่อในลัทธิ และอ�ำนาจของประชาชนท่ีสามารถต่อต้านผู้ปกครองได้ใน กรณีท่ไี มส่ ามารถปกครองตอบสนองเจตนารมณข์ องประชาชน ๒. ประชาธปิ ไตยในฐานะทเ่ี ปน็ ระบบการเมอื ง ประชาธปิ ไตย คอื ระบบการเมอื งการ ปกครอง ท่ีผู้ปกครองมาจากการเลือกต้ังอยา่ งเสรี และมขี น้ึ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ เพ่ือใหม้ กี ารสับเปล่ยี นตัวผู้ปกครอง ประเทศ ตามความตอ้ งการของประชาชน (กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, ๒๕๒๑) ไดแ้ ยกลักษณะ ต่าง ๆ ของประชาธิปไตยในฐานะระบบการปกครองดังน้ี คอื ๒.๑ การเลือกตั้งเสรีรัฐบาลต้องมาจากการยินยอมของประชาชน (Representative Government) ๒.๒ เสรีภาพ ประชาชนมีเสรีภาพทางการเมือง ร่างกาย ทรัพย์สิน เว้นแต่เป็นการ ด�ำเนินการทไี่ ม่ถูกตอ้ งตามกฎหมาย ๒.๓ ความเทา่ เทยี มกนั รฐั บาลจะตอ้ งดำ� เนนิ การตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหท้ กุ คนมโี อกาสเทา่ เทยี มกนั ๒.๔ การปกครองโดยยึดหลักกฎหมาย หมายถึง กฎหมายต่าง ๆ ท่ีออกมาโดย กระบวนการท่ีถูกต้อง ๒.๕ เป็นระบบการเมืองท่ีใช้เสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ แต่ในขณะเดียวกันจะต้องมีการ ปกปอ้ งเสียงข้างนอ้ ย ๓. ประชาธิปไตยในฐานะวิถีชีวิต วิถีชีวิตประชาธิปไตยมีความเก่ียวข้องกับบุคลิกภาพ ประชาธปิ ไตยโดยตรง บคุ คลทมี่ บี คุ ลกิ ภาพทเี่ ปน็ ประชาธปิ ไตยนนั้ ไดแ้ กบ่ คุ คล ซงึ่ มลี กั ษณะตอ่ ไปนี้ ๓๐๒ ๓.๑ มคี วามเหน็ เป็นของตนเอง ๓.๒ เปน็ คนทปี่ รับตัวใหเ้ ขา้ กบั สภาพใหม่ ๆ ได้ง่าย ๓๐๒ ชัยอนันต์ สมุทวณิช. “ทฤษฎีระบบการเมืองไทย : กรอบการวิเคราะห์ไตรลักษณ์รัฐ ปาฐกถาในโครงการเฉลิมพระเกียรติ เนอ่ื งในวโรกาสสมโภช ๖๐ ชนั ษา องคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ”. คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตลุ าคม, ๒๕๓๐

วิสัยทัศนท์ างการเมอื ง (Political Vision) 409 ๓.๓ มคี วามรบั ผิดชอบผูกพันในสิ่งที่เขาไดต้ ัดสนิ ใจกระท�ำลงไป ๓.๔ ไมม่ อี คติตอ่ ผทู้ ม่ี ีความแตกตา่ งไปจากตน เชน่ ศาสนาอ่ืน ๓.๕ คดิ ถงึ บุคคลอน่ื ในฐานะคนผ้นู ้นั เปน็ ตัวของตวั ของเขาเองไมใ่ ช่จดั ประเภทใหเ้ ขา ๓.๖ มองโลกในแงด่ อี ยเู่ สมอ มศี รัทธา และความหวังต่อชีวติ ๓.๗ ยอมรับอ�ำนาจ เมื่ออ�ำนาจนนั้ มีเหตุผลและชอบธรรม สรุปแนวความคิดทางทฤษฎีที่กล่าวมาน้ี เป็นปัจจัยแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลต่อวิสัยทัศน์ทางการ เมืองของพระสงฆ์ในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการก้าวสู่ภาพลักษณ์ของรัฐบาลธรรมรัฐ ภายใต้กลไก และกตกิ าเลอื กตงั้ ตามรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปฏริ ปู การเมอื งพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ ซงึ่ เปน็ ผนู้ ำ� ทางจติ วญิ ญาณ และเป็นผู้ช้ีแนะทางสังคม จะแสดงออกมาในรูปแบบของการมีส่วนร่วมกิจกรรมของสังคม Cohen และ Uphoff (๑๙๘๐) ได้สร้างกรอบพ้ืนฐานเพื่อการอธิบายและวิเคราะห์การมีส่วนร่วมในรูปแบบ (ชนดิ ) ของการมสี ่วนร่วมได้ โดยแบ่งออกเป็น ๔ รูปแบบ คอื ๑. การมสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ (Decision - Making) ซง่ึ อาจเปน็ การตดั สนิ ใจตง้ั แตใ่ นระยะ เร่มิ การตัดสินใจช่วงของกิจกรรมและการตัดสินใจในการด�ำเนนิ งาน ๒. การมีส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรม (Implementation) ซึ่งอาจเป็นไปในรูปแบบของ การเข้าร่วม โดยการให้มีการสนับสนุนทางด้านทรัพยากร การเข้าร่วมในการบริหาร และการร่วมมือ ท้ังการเขา้ รว่ มในการร่วมแรงรว่ มใจ ๓. การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (Benefits) ซึ่งอาจจะเป็นผลประโยชน์ทางวัตถุ ทางสงั คม และโดยส่วนตัว ๔. การมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผล (Evaluation) ซง่ึ นับเป็นการควบคุมและตรวจสอบการ ด�ำเนินกิจกรรมท้ังหมด และเปน็ การแสดงถงึ การปรบั ตัวในการมสี ่วนรว่ มต่อไป จรูญ สุภาพ (๒๕๒๔ : ๒๕) ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับประชาธิปไตยไว้หลายประการ เช่น ประชาธิปไตย หมายถึง ๑. ลักษณะการดำ� รงชีวติ เพ่อื ความสุขร่วมกนั ของประชาชน ดว้ ยเจตนารมณ์ของ ประชาชน ส่วนรวมเป็นหลักการและพ้ืนฐาน ๒. วถิ ีชีวติ และรปู การปกครองท่วี างอย่บู นหลกั การแห่งเสรภี าพ ๓. ความมุ่งมาดปรารถนาที่มนุษย์ต้องการรักษาความส�ำคัญของตนเอง และความเท่าเทียม กันทางเศรษฐกิจและสงั คม

410 รฐั ศาสตรเ์ บื้องต้น ๔. การทปี่ ระชาชนมีโอกาสดำ� เนินการร่วมกนั โดยที่แต่ละคนยังคงมีเสรีภาพของตนเอง ๕. เปน็ การปกครองของประชาชนโดยประชาชนเพือ่ ประชาชน ๖. เป็นรปู การปกครองทใ่ี ชห้ ลักนติ ธิ รรม ๗. เปน็ การปกครองที่ยอมรบั เสยี งขา้ งมาก โดยไม่ทำ� ลายสิทธิเสรภี าพของฝ่ายข้างนอ้ ย ๘. เปน็ รปู แบบของการปกครองทถ่ี อื เอาเสยี งของประชาชน เปน็ เสมอื นสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธเิ์ ปรยี บดงั เสยี งสวรรค์ ๙. เป็นการปกครองทร่ี ฐั บาลมอี �ำนาจจำ� กัด จรูญ สุภาพ (การเมืองการปกครอง , ๒๕๒๔ : ๒๖) กล่าวไว้ว่า โดยสรุปความหมายของ ประชาธปิ ไตย จงึ มที งั้ ความหมายกวา้ งและความหมายเฉพาะ ประชาธปิ ไตยในความหมายเฉพาะ หมายถงึ ลักษณะหลักเกณฑ์ และรูปแบบการปกครองท่ียึดอ�ำนาจ และเสรีภาพของประชาชนท่ีจะเข้ามีส่วน ก�ำหนดวิถที างและนโยบายต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม ส่วนประชาธิปไตยในความหมายกว้าง หมายถึง วิถีชีวิตของมนุษย์ท่ีกอปรด้วยเสรีภาพ การให้ความสัมพันธ์และการเคารพประโยชน์ซ่ึงกันและกัน โดยการใช้หลักเหตุผลเป็นเคร่ืองก�ำหนด และตดั สนิ หรอื เปน็ เครอื่ งมอื ในการหาขอ้ ยตุ ิ แตท่ ง้ั น้ี จะตอ้ งกอ่ ใหเ้ กดิ ความผาสกุ รว่ มกนั ระหวา่ งมนษุ ย์ ในชุมชนนนั้ ๆ ศ.นพ.ประเวศ วะสี (ประชาธปิ ไตย, ๒๕๓๕) ได้ใหค้ วามหมายประชาธิปไตยไว้ดงั นี้ ๑. ประชาธปิ ไตยตอ้ งเปน็ สจั จะหรอื ความจรงิ กลา่ วคอื ประชาชนมสี ทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐานและมกี าร กระจายอ�ำนาจ ๒. ประชาธปิ ไตย แปลว่า อธปิ ไตยหรอื อำ� นาจโดยประชาชน ประชาชนตอ้ งสรา้ งอ�ำนาจขนึ้ มาเอง พลัง ๓ ของประชาชน คือ ๑. พลังปัญญา ๒. พลังทางสังคม หรือการรวมตัวกันกระท�ำการ ๓. พลงั ความถกู ตอ้ ง ๓. ประชาธปิ ไตย คอื ธรรมะ คือความถูกต้อง, การบรรลุอสิ รภาพจากการถูกบีบค้ันทางกาย (ความยากจน การไมม่ ีที่ท�ำกิน และขาดท่ีอยอู่ าศัย) ทางสงั คม (เผด็จการขาดประชาธปิ ไตย ขาดการ กระจายอ�ำนาจ ขาดการมีส่วนร่วม ขาดความเสมอภาค) ทางจิต (กิเลสบีบคั้นตนเองและผู้อ่ืน) และ ทางปญั ญา (ความไมร่ ู้ ไม่มีปัญญา ถกู หลอก) ๔. ประชาธปิ ไตย คอื การลดอำ� นาจรฐั ทที่ ำ� กบั ประชาชน และ การเพม่ิ อำ� นาจของ ประชาชน ในการก�ำกับรฐั

วสิ ยั ทศั น์ทางการเมอื ง (Political Vision) 411 ลอร์ด ไปร์ซ (อ้างจาก กมล สมวิเชียร , ๒๕๒๐ : ๑-๑๓) กล่าวว่า ประชาธิปไตย คือ การปกครอง ซ่ึงเจตจ�ำนงของบคุ คลทเ่ี ป็นเสยี งส่วนใหญม่ อี �ำนาจสูงสดุ เสยี งส่วนใหญ่น้ี ประกอบด้วย บุคคลท่ีเหมาะสมรวมกันมีจ�ำนวนอย่างน้อย ๓ ใน ๔ ของทั้งหมด ซ่ึงจะท�ำให้พลังของมวลชน เหล่า นัน้ ได้สดั ส่วนกบั คะแนนเสยี งของเขา ธานนิ ทร์ กรยั วเิ ชยี ร (ระบอบประชาธปิ ไตย, ๒๕๑๘ : ๑-๒) ไดใ้ หค้ วามหมายคำ� วา่ ประชาธปิ ไตย ไว้ คอื ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองประเทศระบอบหน่ึง ซ่ึงเป็นการปกครองของ ประชาชน โดยประชาชนและเพ่ือประชาชน โดยมรี ากฐานสืบเน่อื งมาจากศีลธรรม คือเคารพในความ เปน็ ธรรม (Justice), เหตผุ ล (Reason), เมตตาธรรม (Compassion), ความศรทั ธาในมนษุ ยชาติ (Faith in man), และความเคารพในเกียรติภมู แิ หง่ มนุษยชน (Human dignity) พนื้ ฐานสำ� หรับแนวความคดิ ประชาธปิ ไตย (ชัยอนนั ต์ สมุทวณชิ , ๒๕๑๙ : ๑๙) ๑. การศกึ ษาในความสามารถของมนษุ ยใ์ นสตปิ ญั ญา การรจู้ กั ใชเ้ หตผุ ลดว้ ยวธิ ที ดสอบคน้ ควา้ ตามแบบวทิ ยาศาสตร์ ตลอดจนการมองมนษุ ยใ์ นแงท่ ด่ี กี วา่ สามารถรว่ มมอื กนั ทำ� งานเพอ่ื ความสขุ สว่ น รวมได้ ๒. ความเช่ือในความเปน็ อสิ ระและเสรภี าพของมนุษย์ ความเปน็ อสิ ระ หมายถงึ ความสามารถเราจะเลอื กใชช้ วี ติ กระทำ� การหรอื ไมก่ ระทำ� การอยา่ ง หน่ึงอย่างใดได้ด้วยตนเอง โดยไม่ตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจบงการของบุคคลอ่ืน เนื่องจากมนุษย์มีความ สามารถทีจ่ ะใช้เหตผุ ลในการเลือกตดั สินใจน้ี ย่อมหมายถงึ การที่ทำ� ใหค้ นเราตอ้ งผูกพันรบั ผิดชอบใน สิ่งที่ไดก้ ระท�ำลงไปดว้ ย วธิ กี ารหาขอ้ เทจ็ จรงิ โดยถอื หลกั การคน้ ควา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ทำ� ใหเ้ กดิ การสนบั สนนุ ทจี่ ะยอม ให้ทุกคนทุกฝ่ายที่เก่ยี วขอ้ งกบั ปัญหาท่ีก�ำลังพจิ ารณาอยู่ เสนอข้อเทจ็ จรงิ เหตุผล และความเหน็ สว่ น ตวั อยา่ งเตม็ ทกี่ อ่ นทจี่ ะมกี ารรว่ มตดั สนิ ใจในปญั หานน้ั ๆ จากหลกั ขอ้ น้ี จงึ เกดิ ความคดิ สนบั สนนุ เสรภี าพ ทางด้านต่าง ๆ เช่น เสรภี าพในการเลือกใชช้ วี ิต เสรีภาพทางการแสดงความคดิ เหน็ ทางการพูด พมิ พ์ โฆษณา การรวมกลมุ่ จดั ตงั้ เปน็ สมาคม ฯลฯ เสรภี าพในความเหน็ ของ Rousseau เปน็ ธาตแุ ทข้ องความ เปน็ คนดังที่ Rousseau เขียนไวใ้ นหนงั สือ The Social Contract วา่ “การสละเสรภี าพเทา่ กบั เปน็ การสละทงั้ ความเปน็ คน เทา่ กบั การยอมเสยี สทิ ธขิ องมนษุ ยแ์ ละ แม้แต่หน้าท่ีของเรา... การสละทิ้ง เช่นน้ีเป็นการขัดต่อธรรมชาติของมนุษย์ การท่ีน�ำเอาเสรีภาพ ท้ังหลายออกไปจากเจตจ�ำนงของคนเทา่ กับการเอาศลี ธรรมออกไปจากการกระทำ� ของคนน้นั เอง”

412 รฐั ศาสตรเ์ บ้ืองตน้ ๓. การยอมรับให้ความเทา่ เทียมกนั ความเท่าเทียมกันหรือความเสมอภาคนี้ ไม่ได้หมายถึงความเท่าเทียมของสติปัญญาหรือ กายภาพ แต่เป็นความเสมอภาคตามกฎหมายโดยเท่าเทียมกัน ควรมีสิทธิเสรีภาพทางการเมืองและ โอกาสต่าง ๆ ท่ีจะใช้ชวี ิตในสังคมอย่างเทา่ เทยี มกันโดยไมแ่ บ่งแยกเชือ้ ชาติ ก�ำเนิด เพศ หรือฐานะทาง เศรษฐกิจและสังคม ความเสมอภาคนี้ หมายถึง การได้รับโอกาสในการแสวงหาการศึกษาและการ ทำ� งานเท่าเทียมกนั ด้วย ๔. อำ� นาจสงู สดุ ในการปกครองในการตดั สนิ ปญั หาสำ� คญั ของสงั คมอยทู่ ปี่ ระชาชนมาจากปวง ชน เมอ่ื มกี ารเสนอความคดิ เหน็ ทวี่ า่ อำ� นาจอธปิ ไตยเปน็ ของปวงชนยอ่ มจะมคี วามหมายวา่ ประชาชน มาจากปวงชนนั่นเอง แตก่ ็ไม่ได้หมายความวา่ คนทกุ คนจะตอ้ งตัดสินปัญหาทกุ ๆ เรอ่ื งโดยตรง แต่มี การมอบอ�ำนาจให้กบั ตัวแทน เจ้าหนา้ ที่ของรัฐ คอื องคก์ าร เชน่ ศาลเป็นผใู้ ช้อำ� นาจนั้นโดยประชาชน เป็นคนก�ำหนดขอบเขตของการใช้อ�ำนาจนั้นว่า เรื่องใดบางท่ีตัวแทนจะกระท�ำได้เร่ืองใดท่ีท�ำไม่ได้ สถาบันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นกลไกของรัฐรวมอยู่ เพ่ือรับใช้บุคคลที่มารวมกันอยู่ใน สงั คมและการทร่ี ฐั บาลปกครองประเทศ โดยอาศยั หลกั เกณฑบ์ างอยา่ ง ซง่ึ ไดม้ กี ารตกลงยอมรบั เทา่ กบั เปน็ การขีดวงจำ� กดั อ�ำนาจรัฐบาล เชน่ นี้เรียกว่า เปน็ การปกครองโดยหลกั กฎหมายไม่ใชโ่ ดยบุคคล ๕. อ�ำนาจอันชอบธรรมในการปกครองของรัฐบาลเกิดจากความยินยอม (Consent) ของ ประชาชน อำ� นาจทางการปกครองของรฐั บาลเกดิ ขน้ึ จากการใหค้ วามยนิ ยอมของประชาชนผถู้ กู ปกครอง การใหค้ วามยนิ ยอมเท่ากนั เปน็ การสรา้ งความชอบธรรมในการใช้ก�ำลัง (Force) หรืออ�ำนาจ (Power) อ�ำนาจอนั ชอบธรรม (Authority) จึงเป็นสิทธทิ ีจ่ ะออกค�ำสัง่ และสทิ ธทิ ี่จะได้รับการเช่ือฟงั ด้วย ซึง่ ต่าง จากอำ� นาจ (Power) ซึ่งหมายถึง ความสามารถทจ่ี ะบงั คบั ใหย้ อมทำ� ตามไมว่ า่ ด้วยวิธใี ชก้ �ำลังหรอื ขู่วา่ จะใชก้ ำ� ลงั เปน็ การยอมทำ� ตามคำ� สง่ั นนั้ โดยไมม่ ที างเลอื ก และโดยไมส่ มคั รใจ แตก่ ารไดร้ บั ความยนิ ยอม จากผอู้ ยู่ใตป้ กครองเท่ากับเพ่ิมสิทธิให้ผูป้ กครองท่ีจะออกค�ำสงั่ ๖. สทิ ธใิ นการคัดค้านและลบลา้ งรัฐบาล เนื่องจากรัฐเป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยให้คนในสังคมบรรลุถึงความสุขสมบูรณ์และรัฐอยู่ได้โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ในการคุ้มครองชวี ติ ทรพั ย์สนิ และช่วยให้คนสามารถแสวงหาความสุข ดงั นนั้ ประชาชน จึงมีสิทธิในการต่อต้านรัฐบาลที่ไม่ปฏิบัติตามจุดหมายดังกล่าว ดังท่ี ล็อค กล่าวว่า “เมื่อใดท่ีผู้ออก กฎหมายพยายามที่จะแย่งและท�ำลายสิทธิของประชาชนเท่ากับว่าผู้ออกกฎหมายน้ัน น�ำตัวเข้าไปสู่ สภาพสงครามกับประชาชน ซงึ่ เม่ือเปน็ เชน่ นี้ ประชาชนก็จะไมใ่ ห้ความเช่อื ฟังอีกตอ่ ไป และสทิ ธทิ ี่จะ

วสิ ยั ทศั น์ทางการเมือง (Political Vision) 413 น�ำเสรีภาพดังเดิมของเขากลับคืนใหม่ตามท่ีเห็นสมควร เพื่อให้ความ มั่นคงและปลอดภัย ซึ่งเป็นจุด หมายในการเขา้ มาอยู่ร่วมกนั ในสงั คม” อุดมการณ์ประชาธิปไตย (Democratic Ideology) ประชาธปิ ไตย คอื การปกครองโดยผถู้ กู ปกครอง (Rule by the ruled) หรอื การปกครองโดย ประชาชน (Government by the people) การปกครองระบอบประชาธิปไตยจงึ ถือวา่ อ�ำนาจทช่ี อบ ธรรมในการปกครองประเทศจะต้องมาจากหรือไดร้ ับความยนิ ยอมจากประชาชน ชยั อนนั ต์ สมทุ วณิช๓๐๓ เหน็ ว่า อุดมการณ์ หมายถงึ การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ทางการเมอื งได้ ๔ ลักษณะ คอื ๑. เปน็ การนำ� อดุ มการณ์มาใช้เพอื่ ปกครองและยึดกลมุ่ เขา้ ไว้ดว้ ยกนั ๒. เปน็ การใชอ้ ดุ มการณ์ เพอื่ ประโยชนใ์ นการชกั จงู ใหค้ นมาเสยี สละ เพอื่ เปา้ หมายรวม หรือเพ่ืออุดมการณ์ ซ่ึงมักจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อผู้น�ำทางการเมืองมากกว่าต่อตัวประชาชนโดย ท่วั ๆ ไป ประชาชนถูกเรยี กรอ้ งใหเ้ สียสละมอบการถวายชวี ิตเพอ่ื อดุ มการณ์ ๓. เปน็ การใช้อุดมการณ์เพ่ือประโยชน์ในการขยายอ�ำนาจของรัฐบาล ๔. เปน็ การใชอ้ ดุ มการณภ์ ายในพรรคหรอื องคก์ ารอนื่ ๆ โดยผทู้ ตี่ อ้ งการเขา้ ไปยดึ อำ� นาจ หรอื เมอ่ื ยึดอ�ำนาจไดแ้ ลว้ เพอ่ื รกั ษาอำ� นาจนั้นไว้ เนอ่ื งการจากอดุ มการณท์ างการเมอื งบางอยา่ งเปน็ แบบฉบบั ของความคดิ ทม่ี คี วาม เครง่ ครดั อยู่มาก จึงมีแนวโน้มท่ีจะเอื้ออ�ำนวยต่อการปกครองระบบเบ็ดเสร็จ อุดมการณ์ทางการเมือง เช่น อดุ มการณค์ อมมวิ นสิ ต์ มลี กั ษณะเครง่ ครดั และเชอื่ วา่ ความคดิ ความเชอื่ และการอธบิ ายประวตั ศิ าสตร์ และปรากฏการณท์ างสงั คมตามแนวของมารก์ เปน็ ความจรงิ ทใี่ ครแยง้ ไมไ่ ด้ ดงั นนั้ อดุ มการณท์ างการ เมืองจึงอาจแบง่ เป็นลกั ษณะใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประการคือ ๑. อดุ มการณป์ ระเภททเ่ี ครง่ ครดั ยดึ มน่ั ในอดุ มการณท์ างการเมอื งนนั้ วา่ เปน็ ปรมตั ถธรรม ท่ีใครจะตง้ั ข้อสงสัยไม่ได้ ซึ่งไดแ้ ก่ อดุ มการณ์คอมมวิ นสิ ต์ อุดมการณ์ประเภทที่มีขอบเขตกว้างขวาง ไม่ยึดมั่นต่อหลักการใดโดยเฉพาะ แต่มีลักษณะ พเิ ศษคือการยอมใหม้ ขี ้อสงสยั ทา้ ทายอุดมการณน์ ั้นได้ เชน่ อดุ มการณ์เสรนี ยิ ม ๓๐๓ ชัยอนนั ต์ สมุทวณชิ . เรื่องเดิม. ๒๕๑๗ หน้า ๕๕

414 รฐั ศาสตร์เบ้ืองตน้ อุดมการณ์ประชาธิปไตย หมายความถึง ความเชื่อในหลักการหรือแนวทางท่ีประชาชนน�ำ เอาการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยประกอบไปดว้ ยหลักการทส่ี �ำคญั คือ ๑. ความศรัทธาในสติปัญญาและความสามารถของมนุษย์ หลกั ความเชอื่ มน่ั ในสตปิ ญั ญาและความสามารถของมนษุ ยเ์ ปน็ หลกั การทสี่ ำ� คญั ประการหนงึ่ ของอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย เพราะเปน็ หลกั การทมี่ งุ่ เนน้ ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ประชาชนทกุ คนวา่ เขาเปน็ ผู้มีความสามารถ มีสติปัญญา รู้จักการใช้เหตุผลเพ่ือแสวงหาสิ่งท่ีดีงาม นอกจากจะเป็นการน�ำมาซ่ึง ความรู้อันไม่สิ้นสุดแล้วยังสามารถให้เหตุผล เพ่ือบรรลุซ่ึงวัตถุประสงค์ของตนเองประชาชนจึงควรมี โอกาสที่จะปกครองตนเอง เพอ่ื ให้ความสามารถทมี่ อี ยนู่ ำ� สิง่ ท่ดี ีทีส่ ดุ แกเ่ ขาเอง๓๐๔ ๒. เสรีภาพ เสรีภาพจึงเป็นหลักการส�ำคัญประการหน่ึงของอุดมการณ์ประชาธิปไตย ซึ่งสังคมท่ีเป็น ประชาธิปไตยจะต้องสร้างเสริม รักษาเสรีภาพให้เป็นไปอย่างกว้างขวาง แต่เสรีภาพในระบอบ ประชาธิปไตยไม่ได้หมายความว่า ใครจะท�ำอะไรก็ได้ เพราะถ้าหากยินยอมให้ทุกคนท�ำตามท่ีตน ปรารถนาแล้ว ยอ่ มทจี่ ะมีการละเมิดซึ่งเสรีภาพของบุคคลอ่นื เสรภี าพในระบอบประชาธปิ ไตยจึงเป็น ความสามารถของบุคคลท่ีจะกระท�ำ หรืองดเว้นการกระทำ� การส่ิงหนึ่งส่ิงใดก็ตามท่ีกฎหมายก�ำหนด และกฎหมายน้ันออกโดยได้รับความยินยอมเห็นชอบจากประชาชน (Consent of the people) ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม เมื่อเป็นเช่นน้ีรัฐบาลจึงมีหน้าที่ที่จะต้องปกป้องรักษาซึ่งเสรีภาพของ ประชาชนทกุ คนไวอ้ ย่างดีท่สี ุด ไม่ให้มีการละเมิดซ่ึงกันและกัน ในสงั คมประชาธปิ ไตย เสรภี าพทสี่ ำ� คญั จะตอ้ งมหี ลกั เกณฑห์ รอื หลกั ประกนั ทแี่ นน่ อน เพอ่ื จะ ไม่ให้มีการละเมิดซ่ึงเสรีภาพน้ัน หลักประกันน้ีมักจะแสดงออกมาในรูปของเอกสารท่ีส�ำคัญก็ได้แก่ รัฐธรรมนูญของรัฐ เสรีภาพท่ีส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีหลักประกัน ได้แก่ เสรีภาพในดา้ นตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ ๒.๑ เสรีภาพในการพูดและแสดงความคิดเห็น เสรีภาพน้ีถือว่าเป็นหลักของเสรีภาพ ทั้งปวง เพราะเป็นการเปิดโอกาสให้มนุษย์ได้แสดงความคิดเห็น ความต้องการของตนเอง และขณะ เดียวกันนอกจากบุคคลท่ีจะให้เสรีภาพน้ีโดยการแสดงความคิดเห็นของตนแต่ฝ่ายเดียว ยังจะต้องรับ ฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่นดว้ ย ๒.๒ เสรภี าพในการพมิ พแ์ ละโฆษณา การพมิ พแ์ ละโฆษณาเปน็ สอื่ ของการแสดงความ คิดเห็นที่กว้างขวางทั้งปริมาณและขอบเขต ซ่ึงจะมีอิทธิพลกระทบต่อประชาชนท่ัวไปสามารถสร้าง ๓๐๔ ชัยอนันต์ สมทุ วณชิ . เรอ่ื งเดิม. ๒๕๑๗ หนา้ ๕๕

วสิ ัยทศั นท์ างการเมอื ง (Political Vision) 415 มติมหาชน การใช้เสรีภาพน้ีจึงต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการละเมิดซ่ึงสิทธิเสรีภาพของบุคคลอ่ืนหรือ ท�ำใหเ้ กิดความเสียหาย หรือกระทบกระเทือนตอ่ ความสงบเรียบร้อยของ ประชาชน ๒.๓ เสรีภาพในการชุมนุม และการรวมตัวเป็นสมาคม เสรีภาพนี้เป็นการเปิดโอกาส ให้ประชาชนสามารถรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นได้ หรือบางครั้งก็สามารถแสดงความ ปรารถนาหรือเรียกร้องให้รัฐบาลกระท�ำการหรืองดเว้นกระท�ำการในกิจการใดกิจการหน่ึงที่เห็นว่าจะ เกดิ ประโยชน์ หรอื เกดิ โทษตอ่ ประชาชน ซง่ึ การรวมกลมุ่ หรอื ชมุ นมุ กนั นจ้ี ะสามารถทำ� ไดโ้ ดยสงบและ ปราศจากการใชก้ ำ� ลงั รนุ แรง อนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความไมส่ งบสขุ เรยี บรอ้ ย หรอื รบกวนซง่ึ เสรภี าพของบคุ คลอน่ื ๒.๔ เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา เสรีภาพน้ีเปน็ การเปดิ โอกาสให้ประชาชนมอี สิ ระท่ี จะเลอื กนบั ถอื ศาสนาใดศาสนาหนงึ่ หรอื ไมน่ บั ถอื ศาสนาใด ๆ กไ็ ด้ ตราบเทา่ ทก่ี ารนบั ถอื หรอื ไมน่ บั ถอื นนั้ ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสยี หายแก่ผ้อู ืน่ ซ่งึ การใช้เสรีภาพนีจ้ ะรวมถงึ การประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาที่ ตนเองนบั ถือดว้ ย ๒.๕ เสรีภาพท่ีจะได้รับการปฏิบัติคุ้มครองตามหลักนิติธรรม เนื่องจากหลักการของ เสรีภาพน้ีจะข้ึนอยู่กับกฎหมายอันเป็นประชาธิปไตย ประชาชนทุกคนจะต้องได้รับหลักประกันว่าจะ ได้รับการคุ้มครองทางกฎหมายจากรัฐโดยทัดเทียมกัน ไม่ว่าบุคคลนี้จะมีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอย่างไร ซึ่งเสรีภาพน้ีจะเป็นการให้การคุ้มครองแก่ผู้กล่าวหาว่าถูกกระท�ำผิด การได้รับการ ตัดสินคดีเป็นไปตามครรลองของกฎหมาย การไม่ถูกจับกุมคุมขังโดยปราศจากหลักฐานและเหตุผล เป็นตน้ ๒.๖ เสรภี าพในเรอื่ งส่วนตัวอ่นื ๆ ของบุคคล ซึง่ จะมีหลกั อยู่ว่าประชาชนแตล่ ะคนจะ ตอ้ งมีเสรีภาพในการตัดสินใจเร่อื งความเป็นอยู่ของตวั เองตามที่เขาประสงค์ ซงึ่ การตัดสินใจเพอ่ื การก ระทำ� ของเขากจ็ ะตอ้ งไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื ละเมดิ ซงึ่ สทิ ธขิ องผอู้ น่ื เสรภี าพเหลา่ นี้ เชน่ เสรภี าพ ในการเลอื กประกอบอาชีพ เสรภี าพในการเคล่อื นยา้ ยถนิ่ ท่ีอยู่ เสรีภาพในการแสวงหาและรักษาไวซ้ ่งึ ทรัพยส์ ินของตนเอง เปน็ ตน้ ๓. ความเสมอภาค อุดมการณ์ประชาธิปไตยถือว่าความเสมอภาคเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญย่ิง ซ่ึงจากแนวความคิด ประชาธิปไตยถือว่ามนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน ความเสมอภาคจึงเป็นหลักปรัชญาเบ้ืองต้นของ ความเป็นประชาธิปไตย หลักความเสมอภาคน้ีไม่ได้หมายความถึงว่ามนุษย์จะต้องเหมือนกันหรือเท่า เทียมกันในทุก ๆ ด้าน เพราะการที่จะมีความเท่าเทียมกันในทุกด้านย่อมเป็นไปไม่ได้ เน่ืองจากอย่าง น้อยที่สุดลักษณะทางธรรมชาติทางกายวิภาคของมนุษย์ก็มีความแตกต่างกัน ความเสมอภาคนี้จึงจะ ต้องเป็นความเสมอภาคท่ีบุคคลทุก ๆ คนสามารถที่จะเท่าเทียมกันได้ และจะต้องให้มีความยุติธรรม

416 รฐั ศาสตร์เบ้อื งตน้ ต่อบุคคลทุก ๆ คน ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยจึงจะต้องประกอบด้วยความเสมอภาค ท้ังทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ระบอบประชาธิปไตยจึงควรมีหลักเกณฑ์ของความเสมอภาพ ดังต่อไปน๓ี้ ๐๕ ๓.๑ ความเสมอภาคทางการเมือง ความเสมอภาคทางการเมอื ง นจี้ ะเปน็ การใหห้ ลกั ประกนั แกป่ ระชาชนวา่ จะไดร้ บั สทิ ธิ และหลกั ประกนั จากการปฏบิ ตั ขิ องเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั บาลในประเดน็ ตา่ ง ๆ ทางการเมอื งทเ่ี ทา่ เทยี มกนั ซง่ึ ความเสมอภาคทางการเมอื งท่ีสำ� คัญคอื การมีส่วนรว่ มทางการเมืองของประชาชนหลักความเสมอ ภาคนี้จะเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองได้เท่าเทียมกัน โดยมีข้อจ�ำกัด ตา่ ง ๆ นอ้ ยทส่ี ดุ เชน่ สทิ ธใิ์ นการออกเสยี งเลอื กตง้ั จะตอ้ งเปน็ สทิ ธทิ วั่ ไป ถา้ จะจำ� กดั กจ็ ะตอ้ งนอ้ ยท่ี เชน่ อายขุ น้ั ตำ�่ ทมี่ สี ทิ ธใ์ิ นการลงคะแนนเสยี ง เปน็ ตน้ ซง่ึ ความเสมอภาคทางการเมอื งนจ้ี ะเปน็ การเปดิ โอกาส ใหใ้ ชเ้ สรภี าพท่ปี ระชาชนมีอยู่ โดยประชาชนจะไดร้ ับการคุ้มครองให้สามารถใช้เสรภี าพต่าง ๆ ทเี่ ขามี อยู่ได้เท่าเทียมกัน ไม่ใช่มีการเลือกปฏิบัติว่าบุคคลบางคนหรือบางกลุ่ม จึงมีสิทธ์ิที่จะใช้ซึ่งเสรีภาพ ตา่ ง ๆ ทีม่ อี ยู่ ๓.๒ ความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ ความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ (Economic equality) ไมใ่ ชเ่ ปน็ การทป่ี ระชาชนทกุ คน จะมีรายได้ ทรัพย์สินหรือฐานะทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน แต่เป็นการกระจายความม่ังคั่งไปสู่ส่วน ตา่ ง ๆ ของสงั คมโดยเท่าเทยี มกนั และก่อให้เกิดโอกาสในทางเศรษฐกจิ ท่เี ท่าเทียมกนั และสามารถที่ จะมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซ่ึงการประกันทางเศรษฐกิจจึงเท่ากับเป็นการให้หลักประกันว่าสมาชิกของ สงั คมสามารถดำ� รงชีวติ ได้อยา่ งมีความสุขตามอัตภาพของแตล่ ะบุคคล ๓.๓ ความเสมอภาคทางกฎหมาย หลักเกณฑ์นี้ หมายถึงการที่ประชาชนทุกคนของประเทศจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย อยา่ งเดยี วกนั ทกุ คน และไดร้ บั การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายเชน่ เดยี วกนั ซง่ึ กฎหมายนจ้ี ะตอ้ งมลี กั ษณะของ ความเปน็ สากล คอื เปน็ กฎหมายทใี่ ชไ้ ดก้ บั ทกุ คนโดยทวั่ ไป ไมว่ า่ จะมสี ถานภาพใดในสงั คม ประชาชน ไม่ว่าจะมีฐานะใดจะต้องได้รับการคุ้มครองจากฎหมายโดยเท่าเทียมกัน และถ้าละเมิดซ่ึงกฎหมายจะ ต้องไดร้ บั การพจิ ารณาโดยกระบวนการยตุ ธิ รรมในแบบอย่างเดยี วกนั ๓๐๕ วสิ ุทธ์ิ โพธิแ์ ทน. เรอื่ งเดมิ . ๒๕๓๔ หนา้ ๙๖

วสิ ัยทัศน์ทางการเมือง (Political Vision) 417 ๓.๔ ความเสมอภาคในโอกาส ความเสมอภาคในโอกาสเป็นการที่ท�ำให้ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสในด้านต่าง ๆ อย่าง เดยี วกนั เช่น การท�ำงาน การศกึ ษา การด�ำรงชวี ติ เป็นตน้ ซงึ่ เป็นการแสดงถึงการที่ปราศจากระบบ เส้นสาย หรอื ระบบอปุ ถมั ภใ์ นการกระทำ� ตา่ ง ๆ หลักการมีศรัทธาในสติปัญญาและความสามารถของมนุษย์ หลักการเสรีภาพและหลักการ เสมอภาคของอุดมการณ์ประชาธิปไตยจะน�ำไปสู่หลักการของอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่ส�ำคัญ อีกประการหน่ึง คอื หลักการปกครองตนเองของประชาชน (Self - government) โดยใหป้ ระชาชน ซงึ่ เป็นสมาชกิ ของสงั คมน้ันได้มโี อกาสเขา้ มามีสว่ นร่วมในการก�ำหนดนโยบายต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา อันกระทบตอ่ ส่วนรวมหรอื สร้างความผาสกุ ร่วมกนั หลักการปกครองตนเองของประชาชน จึงเป็นหลักการที่มีความส�ำคัญประการหน่ึงของ อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย เพราะเปน็ การแสดงถงึ ความสำ� คญั ของสตปิ ญั ญาและความสามารถของมนษุ ย์ อกี ท้ังแสดงซึง่ เสรภี าพในการกำ� หนดวิถีชวี ติ ด้วยตนเอง และความเท่าเทียมกันของมนษุ ย์ ประชาธิปไตยในฐานะท่ีเป็นอุดมการณ์จึงมีหลักการท่ีส�ำคัญอยู่ คือหลักความศรัทธาในสติ ปัญญา และความสามารถของมนุษย์ในอันที่จะใช้เหตุผล ซ่ึงจะน�ำมาซ่ึงการเลือกวิถีชีวิตและบรรลุถึง วัตถุประสงค์ของตนเองอันน�ำไปสู่หลักการเสรีภาพ ซึ่งเป็นการให้หลักประกันแก่ประชาชนทุกคนใน อนั ทจ่ี ะใชค้ วามสามารถทม่ี อี ยใู่ นการกระทำ� และการเลอื กใชช้ วี ติ ของตวั เอง นอกจากนี้ หลกั เสมอภาค จะเป็นการให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนทุกคน ในอันทจ่ี ะดำ� เนินชวี ิตอยใู่ นสังคมทกุ ด้าน ว่าจะได้รบั การปฏบิ ัตจิ ากรัฐ โดยเทา่ เทียมกนั ไม่มีการเลือกปฏิบัติ Willam S. Smith (อา้ งในมนสั ชยั ชน่ื ชโลมแสน, (๒๕๓๗ : ๒๒)) ไดใ้ หค้ วามหมาย อดุ มการณ์ ประชาธปิ ไตยวา่ ประชาธปิ ไตยในลกั ษณะของการดำ� เนนิ ชวี ติ เปน็ กระบวนการของประชาชน ซง่ึ ดำ� เนนิ การโดยใช้กระบวนการประชาธิปไตย มิใช่เป็นแต่เพียงแต่การปกครองเท่านั้น แต่เป็นการด�ำเนินชีวิต และวิถีทางไปสู่เป้าหมายเพื่อท�ำให้รู้ถึงการด�ำเนินชีวิตดังกล่าว ดังนั้น ตามความเป็นจริงแล้วเร่ือง ประชาธปิ ไตย จงึ เปน็ เร่ืองท่คี นธรรมดาสามญั จะพงึ รู้ หรือเขา้ ใจโดยอาศัยแนวความคิด ความเช่ือของ มนุษย์ผูม้ ีใจกว้างทีจ่ ะแสวงหาความสขุ ในการด�ำเนนิ ชีวติ รว่ มกันน่นั เอง จากประสบการณ์อันยาวนาน ของมนษุ ย์ที่มคี วามมุง่ มั่นในอุดมการณ์ของการด�ำเนนิ ชวี ิตทด่ี ี ได้มกี ารสรา้ งหลกั การอันถือว่ามีคุณคา่ แกก่ ารยอมรบั ของมหาชน หลกั การตา่ ง ๆ จงึ กลายเปน็ คา่ นยิ มประชาธปิ ไตยซง่ึ ถอื เปน็ ฐานคตทิ สี่ ำ� คญั ของอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยในการด�ำรงชวี ติ ของมนษุ ยร์ ่วมกันในสังคมดงั นี้ ๑. แนวความคิดในการมองโลกในแง่ดี แนวความคิดน้ีเป็นรากฐานส�ำคัญของประชาธิปไตย ที่ท้ังผู้บริหารประเทศและประชาชนจะต้องมีความเชื่อว่าสมาชิกในสังคมประชาชนทั้งหลายเป็นคนดี

418 รฐั ศาสตร์เบ้ืองตน้ มเี หตผุ ล สามารถใชว้ จิ ารณญาณกำ� หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวความคดิ ในการ ปกครองตนเองไดโ้ อกาส ทจ่ี ะให้ประชาชนมสี ่วนรว่ มในการปกครองจงึ เกิดข้นึ ได้ ๒. ความเชอื่ ในทฤษฎที วี่ า่ รฐั หรอื รฐั บาลหรอื ขา้ ราชการเปน็ อปุ กรณ์ (Means) ของสงั คมและ ประชาชน เพอ่ื สรา้ งความเจรญิ และความผาสกุ ใหส้ งั คมหรอื ชมุ ชน คอื ถอื เอาประโยชนส์ ขุ ของประชาชน เป็นเป้าหมาย (Ends) ตามแนวคิดน้ีรัฐ รัฐบาลและราชการจึงเป็นผู้บริการ ประชาชนมิใช่นายของ ประชาชน ๓. ความเช่ือในแนวคิดที่ว่า สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลพึงได้รับการส่งเสริม และความเช่ือ ขอ้ นเี้ ปน็ อดุ มการณอ์ นั จะกอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เพราะบคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธท์ิ ไี่ ด้ รับการยกยอ่ งนบั ถือเสมอหนา้ กนั ตลอดจนสทิ ธขิ องบคุ คลที่จะแสดงความคิดเหน็ หรือคัดค้าน ก็พึงได้ รับความเคารพ คุ้มครอง และสง่ เสริมเชน่ กัน ๔. ความเช่ือในแนวคิดที่ว่า การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารประเทศ คือ การไม่สนับสนุนให้มีการ ผูกขาดอ�ำนาจบริหาร เพราะการผูกขาดอ�ำนาจบริหาร จะเป็นช่องทางให้เกิดการกดข่ีข่มเหงให้ ประชาชนอยใู่ นอำ� นาจตลอดกาล ดงั นนั้ โดยวธิ ที างโดยระบอบประชาธปิ ไตยแลว้ ประชาชนยอ่ มมสี ทิ ธิ คัดค้านรัฐบาลที่ไม่ได้อ�ำนวยประโยชน์สุขให้แก่ประชาชน และต้องมีวิถีทางที่จะท�ำให้รัฐบาลดังกล่าว พ้นจากอ�ำนาจไปโดยวิถีทางที่เหมาะสม และชอบธรรมตามวิธีการ หรือหลักการ และกฎเกณฑ์ของ กระบวนการปกครองท่ีได้ก�ำหนดข้ึนไว้อย่างเคร่งครัดแล้ว ท�ำการเลือกตั้งรัฐบาลที่คาดว่าจะอ�ำนวย ประโยชนส์ ขุ ใหแ้ กป่ ระชาชนขนึ้ มาแทน (มนัสชยั ชน่ื ชโลมแสน, ๒๕๓๗ : ๒๒) ชัยอนันต์ สมุทวณิช๓๐๖ กล่าวไว้ว่า อุดมการณ์ประชาธิปไตยเป็นแนวความคิดทางเสรีนิยม ซง่ึ มพี น้ื ฐานมาจากอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยแบบตะวนั ตก โดยมคี วามเชอื่ วา่ ความคดิ สว่ นตวั ของบคุ คล มคี วามสำ� คญั ยงิ่ กวา่ อำ� นาจของรฐั เสรนี ยิ มใหค้ วามสำ� คญั แกก่ ารเชอื่ มน่ั ในหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารหาเหตุ ผลแบบวทิ ยาศาสตรม์ ากกวา่ แบบความเช่ือทางศาสนา แนวความคิดแบบเสรนี ิยม ไดเ้ ปน็ พน้ื ฐานของ อุดมการณ์ทางการเมืองประเภทหน่ึงคือ อุดมการณ์ประชาธิปไตย ลักษณะส�ำคัญของอุดมการณ์ ประชาธิปไตยมีดังนี้ ๑. รากฐานส�ำคัญย่ิงของอุดมการณ์ประชาธิปไตย ได้แก่การมีศรัทธาในความสามารถของ มนุษย์ มีศรัทธาในสติปัญญา ในการที่มนุษย์สามารถร่วมมือกันได้ และท่ีส�ำคัญได้แก่การรู้จักเหตุผล การยึดหลักเหตุผลด้วยวิธีการทดลองค้นหาตามแบบวิทยาศาสตร์ ความคิดในเร่ืองเหตุผลน้ีเกิดจาก ๓๐๖ ชัยอนนั ต์ สมุทวณชิ . เรื่องเดมิ . ๒๕๑๗ : ๑๒ – ๑๓

วิสยั ทัศนท์ างการเมอื ง (Political Vision) 419 ขอ้ คดิ ของ จอห์น ลอ็ ค ที่วา่ ความร้ทู ง้ั หลายทัง้ ปวงของคนเราได้จากประสบการณ์ในโลกนี้ ไมม่ ีความ จริงอันเดียว แต่เรียกความจริงนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ มีลักษณะชั่วคราวและขึ้นอยู่กับการตรวจ สอบดูว่าเปน็ ความจรงิ หรือไม่ มใิ ชย่ ึดมัน่ อยูว่ า่ ความจรงิ นัน้ จะตอ้ งเป็นความจรงิ ตลอดกาล ๒. จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ทำ� ใหอ้ ุดมการณป์ ระชาธิปไตยเชื่อในสิทธเิ สรภี าพทจี่ ะแสดง ความคิดเห็น เนื่องจากวิธีการหาข้อเท็จจริงตามอุดมการณ์ประชาธิปไตยถือหลักค้นคว้าทาง วิทยาศาสตร์ จึงเชื่อว่าการยอมให้ทุกฝ่ายเสนอข้อเท็จจริง เหตุผล และความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่ ก�ำลังพิจารณาอยู่ให้หมดเสียก่อนแล้ว จึงร่วมกันตัดสินใจจะเป็นวิธีการที่ดีท่ีสุด จากหลักการข้อน้ี จงึ เกดิ สภาพทางการพดู ทางการพิมพเ์ ผยแพร่ ทางการประชุมและเสรภี าพในการรวมกลมุ่ ตง้ั สมาคม ตลอดจนถึงพรรคการเมอื งดว้ ย ๓. อุดมการณ์ประชาธปิ ไตย เช่อื ว่า มนุษย์ทุกคนมคี วามเทา่ เทียมกัน ความเท่าเทียมกันหรือ เสมอภาคกนั น้ี ไมไ่ ดห้ มายความถงึ ความเทา่ เทยี มกนั ทางสตปิ ญั ญา หรอื ทางกายภาพแตเ่ ปน็ ความเสมอ ภาพตามกฎหมายและทางการเมือง คนทุกคนได้รับการปฏิบัติจากเจ้าหน้าท่ีของรัฐและกฎหมายโดย เท่าเทียมกัน โดยไม่แยกแยะว่าเป็นเพศใด มีก�ำเนิดอย่างไรมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างไร ความเสมอภาคนี้ หมายถงึ การได้รบั โอกาสในการแสวงหาการศกึ ษาการท�ำงานที่เทา่ เทยี มกนั ดว้ ย ๔. อดุ มการณป์ ระชาธิปไตย เช่อื วา่ อ�ำนาจทางการปกครองของรัฐบาลเกดิ จากความยนิ ยอม ของประชาชน การใหค้ วามยนิ ยอมเท่ากบั เปน็ การสรา้ งความชอบธรรมให้กบั กำ� ลงั หรืออำ� นาจ ดงั นัน้ รัฐบาลที่ชอบธรรมจงึ เปน็ รฐั บาลท่ีเป็นตวั แทนของประชาชน ๕. อุดมการณ์ประชาธิปไตยเช่ือว่าสถาบันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมท่ีเป็นกลไกของ รัฐน้ัน มีอยู่เพื่อรับใช้ในสังคม คนเข้ามาอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลเพราะคิดว่ารัฐบาลจะเป็น เครื่องมอื ในการชว่ ยให้เขามชี วี ติ ทีด่ กี วา่ แตเ่ สรภี าพ ความม่นั คงปลอดภยั ซงึ่ ตรงกนั ข้ามกับความคิด แบบคอมมิวนสิ ต์ ถือวา่ รัฐเป็นนาย ประชาชนต้องคอยรับใชร้ ัฐ อุดมการณป์ ระชาธปิ ไตย มีรากฐานอยู่ บนความเช่ือแบบเสรีนิยม ที่รักเสรีภาพส่วนบุคคล และสิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคลเหนือสิ่งอ่ืนใด เมอื่ รฐั มบี ทบาทเชน่ นอ้ี ำ� นาจของรฐั กค็ วรอยอู่ ยา่ งจำ� กดั เชน่ กนั อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยเหน็ วา่ รฐั ควร ปล่อยให้เอกชนท�ำกิจการและด�ำเนินชีวิตด้านต่าง ๆ เอง โดยเข้าแทรกแซงน้อยที่สุด รัฐจะเข้าไป แทรกแซงในวิถชี ีวิตและการจดั ระเบียบสงั คมก็ตอ่ เมื่อกิจการน้ันเอกชนไม่สามารถทำ� เองได้ ๖. อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยเชอื่ วา่ เนอื่ งจากรฐั เปน็ เพยี งอปุ กรณท์ ชี่ ว่ ยใหค้ นในสงั คมบรรลถุ งึ ความสมบูรณ์ และรัฐอยู่ได้ด้วยเป้าหมายที่คุ้มครองชีวิตทรัพย์สิน ดังน้ันประชาชนมีสิทธิ์ที่ท�ำการต่อ ต้านรัฐบาลทไ่ี มป่ ฏิบตั ิตามจดุ มุ่งหมายดังกลา่ ว หรือขจัดรฐั บาลน้ันเสยี แล้วตงั้ รัฐบาลใหม่ ซงึ่ มีพน้ื ฐาน อนั สำ� คญั ตามหลักการดังกล่าว

420 รัฐศาสตรเ์ บอื้ งต้น วิสุทธ์ิ โพธ์ิแท่น๓๐๗ กล่าวว่า อุดมการณ์ประชาธิปไตยเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างหน่ึง หมายถึง ระบบความเชื่อท่ีมุ่งหมายจะอธิบายและสนับสนุนให้เห็นว่า ระเบียบทางการเมืองอย่างใด อยา่ งหน่ึงเปน็ ท่พี งึ ประสงค์สำ� หรบั สงั คมทม่ี ีอยู่แลว้ หรือเสนอให้มขี น้ึ ใหม่ โดยมแี นวทางหรอื วธิ กี ารไป สวู่ ตั ถปุ ระสงคข์ องอดุ มการณน์ นั้ ไวด้ ว้ ย นน่ั คอื อดุ มการณท์ างการเมอื งทว่ี างไวเ้ ปน็ แบบแผน เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางทจี่ ะใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามโดยมเี ปา้ หมายทจ่ี ะบรรลดุ ว้ ย อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยกเ็ ชน่ เดยี วกนั กับอุดมการณ์ทางการเมืองอ่ืน ๆ ท่ีมุ่งสร้างระบอบการ ปกครองท่ีน�ำไปสู่สังคมที่เจริญรุ่งเรือง เป็นระเบียบเรียบร้อย และสงบสุขอันเป็นเป้าหมายบ้ันปลาย แต่อุดมการณ์ประชาธิปไตยมีแนวทาง อนั เปน็ กฎเกณฑแ์ ตกตา่ งจากอดุ มการณท์ างการเมอื งอน่ื ๆ อนั เปน็ ลกั ษณะจำ� เพาะของประชาธปิ ไตยดงั นี้ ๑. คนส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในประเทศจะต้องมีความต้องการประชาธิปไตย เพราะไม่มีหลัก ประกันอันใดในการรักษาระบอบประชาธิปไตยไว้ได้ดีเท่ากับการที่คนส่วนใหญ่หรือทั้งหมดต้องการ หลักอันน้ีถือว่าเป็นเงื่อนไขที่ส�ำคัญที่สุดของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ถ้าขาดหลักการอัน นแี้ ลว้ ไมเ่ พยี งแตจ่ ะสรา้ งประชาธปิ ไตยไมไ่ ดเ้ ทา่ นนั้ แมจ้ ะสรา้ งไดก้ เ็ ปน็ ประชาธปิ ไตยทขี่ าดเสถยี รภาพ และอาจคงความเป็นประชาธปิ ไตยไว้ไม่ได้ ๒. คนสว่ นใหญห่ รอื ทงั้ หมดในสงั คม มโี อกาสเขา้ มสี ว่ นรว่ มในกจิ การของสงั คมอยา่ งกวา้ งขวาง ทัง้ ในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสังคม เน่อื งจากประชาชนเป็นหวั ใจส�ำคญั ของประชาธิปไตย การมี ส่วนรว่ มของประชาชนในกิจกรรมส่วนร่วมของสงั คมในดา้ นต่าง ๆ จึงส�ำคญั มาก หลักการส�ำคัญขอ้ นี้ มีอยู่ว่า “ประชาชนจ�ำต้องมีส่วนร่วมไม่ทางใดก็ทางหน่ึง ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในกระบวนการ ตดั สินใจที่มีผลกระทบตอ่ คนท้ังหลายในสงั คม” ๓. การยึดหลักปกครองโดยเสียงข้างมากที่เคารพสิทธขิ องเสียงขา้ งน้อย ๔. คนในสังคมมีเสรีภาพในระดบั หน่ึง ๕. คนในสังคมมคี วามเสมอภาคในระดับหน่งึ จากแนวคดิ ดงั กลา่ ว อดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย (Democratic Ideology) สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี ๑. ประชาชนควรมีสทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคเทา่ เทียมกัน ๒. ปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ ในสงั คม ควรแกไ้ ขยุตดิ ้วยเสียงส่วนใหญ่ ๓. คนเราควรมีจติ ใจเปดิ กว้างรบั ฟงั ความคิดเหน็ และเหตผุ ลของผูอ้ น่ื ๔. คนเราควรเคารพกฎระเบยี บและกตกิ าทใ่ี ช้สำ� หรับอยรู่ ่วมกนั ในสังคม ๕. คนเราควรให้เกยี รติซึ่งกันและกนั ในฐานะท่ีทุกคนมีศักดข์ิ องความเปน็ มนุษย์ ๓๐๗ วิสุทธิ์ โพธแ์ิ ทน. เร่ืองเดิม. 2534 หน้า 53-56

วสิ ยั ทศั น์ทางการเมอื ง (Political Vision) 421 ดังน้ัน อุดมการณ์ประชาธิปไตย (Democratic Ideology) สามารถสรุปความหมายใน รายงานการวิจยั ได้ดังน้ี อุดมการณ์ประชาธปิ ไตย หมายถึง การเชอื่ ในหลกั สิทธิเสรีภาพและเสมอภาค ของปจั เจกชนทางสงั คม รวมทง้ั การเชอ่ื ในเรอื่ งความมเี หตผุ ล เชอ่ื ในหลกั การปกครองโดยเสยี งขา้ งมาก และการปกครองโดยใช้กฎระเบียบและกฎหมายเป็นหลัก โดยที่รัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ และพระ ราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้ง ๓ ฉบับ มีการก่อเกิดจากกระบวนการปฏิรูปการเมืองที่มุ่งแก้ไข ปัญหาการซ้ือเสียงและคอรัปช่ัน รวมท้ังการขยายสิทธิต่าง ๆ ของประชาชนทางการเมือง หรือกล่าว อีกนยั หนึ่ง สง่ิ ตา่ ง ๆ เหลา่ นี้เปน็ การพัฒนาของระบอบประชาธปิ ไตย ดงั นน้ั ยอ่ มเปน็ ไปไดส้ งู ทีป่ ัจเจก ชนซ่งึ มอี ดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตยย่อมท่ีจะตอบสนองในด้านหน่ึง



บทที่ ๑๖ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) บทนำ� รัฐประศาสนศาสตร์มาจากภาษาอังกฤษ คือ Public Administration หมายถึงสาขาวิชาที่ ศึกษาเก่ียวข้องกับการบริหารงานของรัฐที่เน้นในเรื่องระบบราชการ หรืองานท่ีรัฐบาลเข้าไปมีส่วน เกย่ี วขอ้ ง แตถ่ า้ หากเปน็ กจิ กรรมการบรหิ ารของรฐั หรอื การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในภาษาไทยจะใช้ ค�ำว่า บริหารรัฐกิจ ซึ่งแปลมาจากภาษาอังกฤษคือ Public administration น่ันคือหากเป็นไปในแง่ ของสาขาวิชา (Discipline) หรอื การศึกษา (Study) จะใช้คำ� วา่ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Admin- istration) ในเรื่องของช่ือในภาษาไทยน้ีมีนักวิชาการของไทยได้เสนอให้ใช้ค�ำว่า สาธารณประศาสน ศาสตร์ แทน ค�ำว่า รฐั ประศาสนศาสตร์ และคำ� วา่ การบรหิ ารสาธารณกจิ แทนค�ำวา่ บรหิ ารรัฐกิจ๓๐๘ อย่างไรก็ดี เม่ือพิจารณาจากหลักสูตรการเรียนการสอนของไทยในสถาบันการศึกษาที่มีสาขาวิชา รฐั ประศาสนศาสตรก์ บั สาขาการบรหิ ารรฐั กจิ จะพบวา่ ทง้ั สองสาขาในแตล่ ะสถาบนั มกี ารเรยี นการสอน ท่ีเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน ส�ำหรับขอบเขตของวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะมีครอบคลุมถึงเรื่องนโยบายสาธารณะ พฤติกรรมองค์กร เศรษฐศาสตร์และการเมือง วิทยาการจัดการ และการบริหารเปรียบเทียบ โดยมี วัตถุประสงค์ที่จะผลิตนักบริหารท่ัวไปท่ีมีแนวคิดและมีความเข้าใจรัฐประศาสนศาสตร์ในแง่ท่ีเป็น สังคมศาสตร์ประยุกต์ กล่าวคือน�ำผลของศาสตร์มาประยุกต์ให้เกิดผลต่อสังคมกับมุ่งความสนใจท่ีจะ สรา้ งคา่ นยิ มทเี่ หมาะกบั คา่ นยิ มของสถาบนั หรอื องคก์ ารทตี่ นเปน็ สว่ นหนง่ึ ใหส้ อดคลอ้ ง ไมแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั ซ่งึ จะต้องเปน็ ผลจากการทีส่ ามารถเรยี นรจู้ ากตนเอง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สามารถเขา้ ใจตัวของ ตัวเองในฐานะท่ีเป็นผู้บริหารท่ีจะต้องท�ำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งต่อค่านิยมหลากหลายที่มีอยู่ในสังคม หรอื องค์กร แล้วปรับค่านยิ มทง้ั ของตนเองและของผอู้ น่ื โดยใช้ศาสตรต์ า่ งๆ เป็นเครื่องมอื ในการด�ำรง ไวซ้ ึง่ ความอยู่รอดขององคก์ ร๓๐๙ ๓๐๘ รายละเอยี ดใน สรอ้ ยตระกลู (ตวิ ยานนท)์ อรรถมานะ, สาธารณบรหิ ารศาสตร.์ (กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๓๙), น.๓๒๑-๓๓๐ ๓๐๙ Robert T.Golembkiewiki, Perspectives on Public Management. (Cases and Loaming Designs : Peacock Publishers, Inc, ๑๙๖๙, p.๔ อา้ งใน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, เอกสารการสอนชดุ วชิ าหลกั รฐั ศาสตรแ์ ละการบรหิ าร. พิมพ์ครงั้ ที่ ๓ (นนทบุร:ี ,มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช). ๒๕๓๓, น. ๒๘-๒๙.

424 รฐั ศาสตร์เบอื้ งตน้ รัฐประศาสนศาสตร์มีการจัดการเป็นระบบการศึกษาในฐานะองค์ความรู้สาขาหน่ึงของวิชา รฐั ศาสตร์ในชว่ งศตวรรษท่ี ๑๘ โดยในแถบประเทศทางยุโรปมี แมก็ เวปเบอร์ (Max Weber) เป็นผู้ให้ ความสนใจและมผี ลงานในสาขาวชิ านเ้ี ปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะระบบราชการ (Bureaucracy) จนถอื วา่ เป็นบดิ าแหง่ วิชารฐั ประศาสนศาสตร์ในแถบยุโรป สว่ นในประเทศอเมรกิ ามี วลู โรว์วนิ สัน (Woodrow Willson) ที่เขียนหนังสือ The Study of Administration ในปี ค.ศ. ๑๘๘๗ ซ่ึงถือว่าเป็นบิดาของ สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ในสหรฐั อเมริกา วิวฒั นาการของรฐั ประศาสนศาสตร์ ก�ำเนิดแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ คือ วิชารัฐศาสตร์ แต่เพราะเป้าหมายแห่งการศึกษาท่ีแตก ต่างกันท�ำให้รัฐประศาสนศาสตร์แยกตัวออกจากรัฐศาสตร์เป็นองค์ความรู้ท่ีเป็นสาขาวิชาของตัวเอง โดยรัฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่มุ่งศึกษาเพื่อการอธิบายและท�ำนายอนาคตแห่งสังคมทางการเมือง พยายามทจี่ ะสรา้ งสาขาวชิ าของตนเองใหเ้ ปน็ ศาสตรท์ บี่ รสิ ทุ ธ์ิ มกี ระบวนการและวธิ กี ารเพอื่ การคน้ หา และอธบิ ายปรากฏการณท์ างสงั คมทง้ั ในอดตี และแนวโนม้ ในอนาคต แตร่ ฐั ประศาสนศาสตรม์ เี ปา้ หมาย แหง่ การศกึ ษาเพอ่ื หาวถิ ที างและการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมเพอื่ ใหค้ วามเปน็ อยขู่ องสงั คมดขี นึ้ จงึ ตอ้ ง มีการนำ� เอาศาสตรใ์ นสาขาอืน่ ๆ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ อนั เป็นเปา้ หมายของ สาขาวิชา เพราะต้องน�ำศาสตร์ในสาขาอ่ืนเข้ามาเก่ียวข้องในการศึกษา ท�ำให้รัฐประศาสนศาสตร์ไม่ สามารถเป็นศาสตรบ์ รสิ ทุ ธไ์ิ ด้ พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral science) เป็นอีกศาสตร์หน่ึงนอกเหนือจากรัฐศาสตร์ท่ี รฐั ประศาสนศาสตรน์ ำ� มาใชเ้ ปน็ อยา่ งมากเพอ่ื ความเขา้ ใจในพฤตกิ รรมขององคก์ าร และทำ� ใหน้ กั บรหิ าร สามารถเขา้ ใจถงึ แรงจงู ใจตา่ งๆ เชน่ หากผบู้ รหิ ารไดม้ สี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจบรหิ าร กจ็ ะตอ้ งพยายาม อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะกระทำ� การเพอ่ื บรรลตุ ามทต่ี นเชอ่ื อนั ถอื เปน็ แรงจงู ใจทส่ี ำ� คญั ในการสง่ ผลถงึ การตดั สนิ ใจ ของผบู้ รหิ าร๒๑๐ นอกจากรฐั ศาสตรแ์ ละพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ลว้ ยงั มศี าสตรแ์ หง่ การบรหิ ารอกี สาขาหนงึ่ ท่มี ีบทบาทต่อรฐั ประศาสนศาสตร์เปน็ อยา่ งมาก รัฐประศาสนศาสตร์ในยคุ ก่อนสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ (ค.ศ. ๑๘๘๗ – ๑๙๔๔) ในชว่ งระหวา่ ง ค.ศ. ๑๘๗๐ – ๑๙๑๗ ในสหรรฐั อเมรกิ าไดเ้ กดิ ขบวนการปฏริ ปู ระบบราชการ พลเรอื นของสหรฐั อเมรกิ า (Civil Service Reform League) และขบวนการเพื่อความกา้ วหนา้ (Pro- gressive Movement) เพ่อื เรยี กรอ้ งใหม้ ีการปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลงการบรหิ ารงานของรฐั บาล วดู โรว์ ๓๑๐ Emest Data, Management Theory and Practice.4th ed. (Tokyo: McGraw Hill Kogakusha, ๑๙๗๘),อp ๑๔๐

รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 425 วินสัน (Woodrow Willson) ซึ่งเป็นสมาชิกของทั้งสองขบวนการ ได้เขียนหนังสือ The Study of Administration๓๑๑ ในปี ค.ศ. ๑๘๘๗ ซ่ึงเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ระบบการเมืองและการบริหารงาน ของอเมรกิ าวา่ เตม็ ไปดว้ ยระบบทเี่ สอื่ มเสยี (Spoil system) และมกี ารฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวงกนั อยา่ งมาก สาเหตแุ หง่ ความเสอ่ื มเสยี ของระบบเกดิ จากการทนี่ กั การเมอื งเขา้ ไปกา้ วกา่ ยการบรหิ ารของขา้ ราชการ ประจ�ำมากเกินไป ส่วนข้าราชการประจ�ำก็จะมีหน้าที่ปฏิบัติตามนโยบายท่ีรับมาจากนักการเมืองท่ี เข้าไปเป็นรัฐบาลเท่านั้น วินสันเสนอให้มีการแบ่งแยกอ�ำนาจการเมืองออกจากอ�ำนาจบริหารให้เด็ด ขาด (Politics and Administration Dichotomy) และเนน้ ความเปน็ กลางทางการเมอื ง (Political Neutrality) เพราะเชอื่ วา่ หากนำ� การเมอื งมายงุ่ เกยี่ วกบั การบรหิ ารจะทำ� ใหก้ ารศกึ ษาดา้ นการบรหิ าร เป็นไปอย่างไร้เหตุผลจนไม่สามารถเกิดเป็นศาสตร์แห่งการบริหารได้ นอกจากน้ัน ยังเสนอแนะให้น�ำ เอาหลักการบริหารจัดการของภาคธุรกิจมาใช้กับการบริหารงานของรัฐบาลด้วย เพื่อให้เกิด ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลใหม้ ากทส่ี ดุ จากแนวความคดิ ของวนิ สนั ทำ� ใหเ้ กดิ นกั คดิ ทสี่ นบั สนนุ แนว การบรหิ ารงานรฐั โดยการปรบั ปรงุ การบรหิ ารงานบคุ คลจากระบบอปุ ถมั ภ์ (Patronage system) เปน็ ระบบคณุ ธรรม (Merit system) ทเี่ นน้ ความเปน็ กลางทางการเมอื ง (Political neutrality) ของบคุ คล เป็นเกณฑ์ในการับบคุ ลากรเข้ามาปฏบิ ัตงิ าน๓๑๒ และใชร้ ะบบการจำ� แนกตำ� แหน่ง (Position classifi- cation) เพ่ือเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดอัตราค่าจ้างให้เกิดความเป็นธรรมให้มากท่ีสุด นอกจากน้ียังมี การนำ� เอาหลักการทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในการประเมนิ คุณภาพ และผลงานของบุคลากรอกี ดว้ ย แมกซเ์ วบเบอร์ (Max Weber) นกั สงั คมวทิ ยาชาวเยอรมนั ไดเ้ สนอแนวคดิ เกย่ี วกบั พฤตกิ รรม การบรหิ ารในประเทศแถบยโุ รปวา่ ระบบราชการ (Bureaucracy) หรอื องคก์ ารขนาดใหญท่ เี่ ตม็ ไปดว้ ย กฎเกณฑ์ (Lerge - Scale Complex Organization : LSCO) เป็นระบบที่มีการบริหารงานอย่างมี เหตุผล (reasonable) มีการแบ่งงานกันตามความช�ำนาญเฉพาะด้าน (Specialization) มีสายงาน บงั คบั บญั ชา (Hierarchy) มกี ารบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร มกี ฎระเบยี บขอ้ บงั คบั เปน็ หลักในการปฏิบัตงิ าน (Rule) ถอื กฎหมายเปน็ ธรรม บรหิ ารงานอยา่ งไมค่ ำ� นึงถงึ เรื่องส่วนตวั (Imper- sonality) การปฏิบัตงิ านเปน็ ไปตามความรคู้ วามสามารถ (Technical competence) และใหค้ วาม ส�ำคัญในการฝกึ อบรมแกผ่ ู้ปฏิบตั งิ าน (Training) เวบเบอร์ เช่ือว่า ระบบราชการจะเป็นระบบท่ที ำ� ให้ การดำ� เนนิ งานขององคก์ ารสามารถเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหร้ ฐั ประศาสนศาสตรใ์ นยคุ นยี้ ดึ ถอื กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ข้าราชการตามความคิดของเวบเบอร์จะต้องวางตัวเป็นกลางทางการเมือง โดยมหี นา้ ทรี่ บั คำ� สง่ั หรอื นโยบายจากผมู้ อี ำ� นาจปฏบิ ตั ใิ หบ้ รรลผุ ลแมว้ า่ ตนจะมคี วามรสู้ กึ เปน็ ปฏปิ กั ษ์ ๓๑๑ Woodrow Willson, “The Study of Administration” Political Science Quarterly๒ . (June ๑๘๘๗), pp.๑๙๗ – ๒๒๒, reprinted in ๕๖ (December ๑๙๔๑), pp.๔๘๑ – ๕๐๖. ๓๑๒ รายละเอยี ดใน เพ็ญศรี วายวานนท์, “ระบบคณุ ธรรม” ในการบริหารงานบุคคลในประเทศไทย. (กรุงเทพฯ : สถาบัน บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๒๔) น. ๙๙-๑๑๐

426 รัฐศาสตรเ์ บือ้ งต้น ตอ่ คำ� สง่ั นนั้ กต็ าม ขา้ ราชการจงึ จะตอ้ งมคี วามเทย่ี งธรรมในการบรหิ าร (Administrative impartiality) ความเช่ือในเร่ืองการวางตัวเป็นกลางทางการเมืองของข้าราชการนั้น มีมาตั้งแต่สมัยท่ีมีการปกครอง ระบบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์จนกระทงั่ มีการเปลี่ยนแปลงสู่ระบบประชาธปิ ไตยในประเทศตะวนั ตก สิ่งท่ีน่าสนใจอีกประการหนึ่งก็คือ ในยุคนี้ได้มีการเกิดข้ึนของแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการ ศกึ ษาทมี่ กี ารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) โดยนักคดิ ระดบั แนวหน้าของกลมุ่ คือ เฟรเดอริก ดับบลิว เทเลอร์ (Frederick W. Taylor)๓๑๓ ผู้ได้รับสมญานามว่า เป็นบิดาแห่งการ จดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ เสนอวธิ กี ารจดั การทใี่ ชเ้ หตผุ ลและเทคโนโลยสี มยั ใหมช่ ว่ ยในการทำ� งานใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ การเนน้ ทอ่ี งคก์ าร โครงสรา้ งและเทคนคิ ตา่ งๆ ซงึ่ ลว้ นแตเ่ ปน็ สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ทเี่ ปน็ เชน่ นเี้ พราะ เทเลอร์ เปน็ วศิ กร จงึ สนใจในหลกั การของความช�ำนาญเฉพาะดา้ น (Principle of special- ization) และไดเ้ สนอวธิ ที างทดี่ ที สี่ ดุ (The one best way) ทเี่ นน้ ถงึ เหตผุ ลทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยเฉพาะ ในเร่อื งของเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำ� งาน (Time and Motion study) รวมถึงระบบการจา่ ย คา่ จา้ งรายชน้ิ (Piece rate system) เปน็ การจงู ใจในอตั ราคา่ จา้ งสงู สดุ สำ� หรบั คนงานทผ่ี ลติ ไดจ้ ำ� นวน สงู สดุ ภายในเวลาทก่ี ำ� หนด แตท่ ง้ั นกี้ ใ็ ชว่ า่ เทเลอรจ์ ะปฏเิ สธความสำ� คญั ของมนษุ ยเ์ สยี เลยทเี ดยี ว เพราะ เทเลอรย์ งั คงใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การฝกึ อบรมและพฒั นาทกั ษะของมนษุ ย์ เพยี งแตป่ จั เจกบคุ คลไมใ่ ชจ่ ดุ เน้นทส่ี ดุ ของการจัดการแบบวิทยาศาสตรต์ ามความคดิ ของเทเลอร์ แตแ่ นวคดิ เชงิ วทิ ยาศาสตรข์ องเทเลอรก์ ไ็ มส่ ามารถเขา้ ถงึ การทำ� งานขององคก์ ารไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ เพราะการจดั การแบบวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ ทฤษฎที มี่ ององคก์ ารในบางแงม่ มุ เทา่ นนั้ ตอ่ มาไดม้ กี ารใหค้ วาม สนใจไปในเรอ่ื งมนุษยส์ ัมพันธ์ (Human Relations) โดยเอลตนั เมโย (Elton Meyo)๓๑๔ ผูไ้ ดร้ บั การ ขนานนามว่า เป็นบิดาแห่งมนุษย์สัมพันธ์ การศึกษาในแง่น้ีจะให้ความส�ำคัญกับปัจจัยด้านมนุษย์ มากกวา่ องคก์ ารหรอื เทคนคิ ทางวทิ ยาศาสตร์ เมโย กลา่ ววา่ มนษุ ยเ์ ปน็ สตั วส์ งั คม (Social man) ไมใ่ ช่ สตั วเ์ ศรษฐกจิ (Economic man) เพราะฉะนน้ั การใหค้ า่ จา้ งทส่ี งู ขนึ้ เพยี งอยา่ งเดยี วจงึ ไมส่ ามารถสรา้ ง แรงจูงใจในการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพได้ แต่การให้รางวัลและการลงโทษทางสังคมจะมีอิทธิพลต่อ การจูงใจให้มนุษย์ปฏิบัตงิ านอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากกว่าค่าตอบแทนที่เป็นเงนิ อย่างไรก็ตามในภาพ รวมของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในยุคก่อนสงครามโลกครั้งท่ีสอง จะมีลักษณะการศึกษาเกี่ยว กับการบริหารงานภาคราชการที่ยึดหลักหรือกฎระเบียบและมักศึกษาโดยใช้ข้อมูลทางกฎหมาย จุดเน้นจะอยู่บนหลักการของการจัดการที่แยกออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด จุดมุ่งหมายของ รัฐประศาสนศาสตร์ยุคนีค้ อื ความมีประสิทธิภาพและการประหยดั งบประมาณ ๓๑๓ รายละเอยี ดใน F.W. Taylor, Scientific Management. (New York : Harper and Bros, ๑๙๗๔). ๓๑๔ รายละเอียดใน Elton Meyo, The Human Problems of an Indrustril Civilization. (New York : Macmillan Company, ๑๙๓๓).

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 427 รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคหลังสงครามโลกครั้งทสี่ อง ถึง ค.ศ. ๑๙๖๙ ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ทส่ี อง แนวคดิ เดมิ ทพี่ ยายามแยกอำ� นาจการเมอื งออกจากการบรหิ าร ได้ถูกท้าทายและโจมตีจากนักคิดในยุคหลังสงครามโลกคร้ังที่สอง เพราะความรู้เก่ียวกับการบริหารท่ี มีมาแต่เดิมนั้นมีไม่เพียงพอที่จะตอบค�ำถามและน�ำไปปรับใช้กับสภาพสังคมของประเทศต่าง ๆ ได้ นักคิดหลังสงครามโลกครั้งท่ีสองจึงมีการเสนอให้นำ� ค่านิยมของกลุ่มบุคคลและการเมืองมาพิจารณา ร่วมในงานบรหิ ารด้วย นน่ั คือ การบรหิ ารกับการเมืองเป็นเรอ่ื งทไี่ ม่สามารถแยกออกจากกนั อย่างเด็ด ขาดได้ แต่จะต้องมีลักษณะซ�้ำซ้อนเก่ียวข้องกัน การบริหารจะเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของประชาชน (Participation) อย่างกว้างขวาง และมีการกระจายอ�ำนาจมากกว่าการรวมศูนย์อ�ำนาจเพ่ือเน้นถึง ประสิทธิภาพเหมือนการบริหารในยุคก่อน โรเบิร์ต เอ. ดาห์ล(Robert A. Dahl) ได้เขียนหนังสือ The Science of Public Administration : Three Problems๓๑๕ เพ่ือโจมตีการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ท่ีมุ่งสู่การศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะท่ีผ่านมาเป็นการศึกษาที่ ละเวน้ และไมไ่ ด้ใหค้ วามสนใจเรื่องคา่ นยิ ม (Value) บุคลิกภาพของสว่ นบคุ คล (Individuals Person- ality) และการศึกษาสังคมทั้งระบบ (Social Framework) และสิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social environment) ท�ำให้รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีความสมบูรณ์ท้ังในแง่ทัศนคติและการอธิบาย ดาห์ล โจมตกี ารบรหิ ารทม่ี งุ่ แตป่ ระสทิ ธผิ ลของการบรหิ ารโดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ความเปน็ มนษุ ยข์ องบคุ คลากรทเี่ ปน็ สมาชกิ ขององคก์ าร ในยคุ นนี้ กั คดิ สว่ นใหญม่ แี นวคดิ วา่ การบรหิ ารมคี วามสมั พนั ธก์ บั การเมอื งอยา่ งยงิ่ จึงมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง มีการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ไปใน แนวทางของการเมืองค�ำนึงถึงความเสมอภาค ความยุติธรรม และเคารพสิทธิส่วนบุคคลมากข้ึน การบรหิ ารจงึ มใิ ชเ่ พยี งการบงั คบั บญั ชาและยดึ หลกั เหตผุ ลเพอ่ื มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการ บรหิ ารงานเทา่ นนั้ แตจ่ ะหมายถงึ การตอ่ รองและยดึ หลกั ความตอ้ งการของกลมุ่ อนั หมายถงึ การแขง่ ขนั ต่อรองระหวา่ งกลมุ่ ผลประโยชน์ในสงั คมอีกด้วย การแยกการบริหารออกจากการเมืองตามความเชื่อในยุคเก่าที่ไม่สามารถเป็นไปได้ เพราะ อยา่ งนอ้ ย จะตอ้ งประสบปญั หาสามประการคอื ประการแรก เรอื่ งสทิ ธใิ นฐานะพลเมอื งหรอื ประชาชน ของประเทศ เม่ือก�ำหนดให้ข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลางทางการเมืองจึงเป็นการจ�ำกัดสิทธิและ เสรภี าพทางการเมอื งของขา้ ราชการ แมจ้ ะมกี ารกลา่ วอา้ งถงึ เหตผุ ลวา่ ขา้ ราชการตอ้ งวางตวั เปน็ กลาง ทางการเมืองเพื่อรักษาลักษณะส�ำคัญของราชการไว้ และการที่บุคคลมีอาชีพเป็นข้าราชการก็ถือว่า เป็นการยอมรับสภาพที่จะต้องถูกลิดรอนสิทธิเสรีภาพทางการเมืองที่พึงมีในฐานะสามัญชน หากไม่ ๓๑๕ Robert A. Dahl, “The Science of Public Administration : Three Problems.” In Public Administration Rewiew ๗ . (Winter, ๑๙๔๗), pp. ๑ – ๑๑.

428 รัฐศาสตรเ์ บอื้ งตน้ ยอมรับที่จะสละสิทธิเสรีภาพตรงนั้น ก็ไม่ควรมารับราชการ แต่ข้ออ้างข้างต้นก็ยังเป็นปัญหาถกเถียง กันอยู่ว่า การห้ามข้าราชการยุ่งเกี่ยวกับการเมืองน้ันเป็นส่ิงที่ถูกต้องหรือไม่ ปัญหาประการท่ีสองคือ ข้าราชการท่ีถูกก�ำหนดโดยข้อบังคับไห้วางตัวเป็นกลางทางการเมืองและจ�ำยอมที่จะต้องรับนโยบาย มาปฏิบัติตามที่ฝ่ายการเมืองมองหมายนั้น มีความเป็นกลางทางการเมืองจริงหรือ แม้หลักการ ข้าราชการจะไม่มีสิทธิท่ีจะต่อต้นหรือปฏิเสธนโยบายจากฝ่ายการเมือง แต่หากข้าราชการไม่เห็นด้วย การปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการจะตอ้ งสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของงานทขี่ า้ ราชการนำ� ไป ปฏบิ ตั อิ ยา่ งยากทจ่ี ะหลกี เลยี่ ง ประการสดุ ทา้ ย ผลจากสงครามโลกครง้ั ทสี่ อง และการชว่ ยเหลอื ประเทศ ดว้ ยพฒั นาของสหรฐั อเมรกิ าไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามความเชอ่ื เดมิ ทวี่ า่ หากแยกการบรหิ ารออกจากการเมอื ง แล้วจะส่งผลให้เกิดผลงานทีมี่ประสิทธิภาพ แต่เม่ือพิจารณาผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการน�ำความเช่ือข้างต้น ไปปฏบิ ตั ิในแงร่ ูปธรรมจะพบวา่ การแยกการบริหารออกจากการเมืองกบั ประสบความลม้ เหลวเพราะ ในความจรงิ ฝา่ ยบรหิ ารมใิ ชเ่ พยี งฝา่ ยทร่ี บั นโยบายไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งเดยี วโดยปราศจากการตดั สนิ ใจหรอื ก�ำหนดนโยบาย จากปัญหาอย่างน้อยสามประการดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้รัฐประศาสนศาสตร์ต้อง สงั เคราะห์กรอบความคดิ แนวใหมเ่ พอ่ื ให้สอดคลอ้ งและนำ� ไปปฏิบัติได้อยา่ งเปน็ รูปธรรม ระบบราชการทเี่ วบเบอรน์ ำ� เสนอไดถ้ กู โจมตอี ยา่ งมากในยคุ นวี้ า่ เปน็ การเพอ้ ฝนั ทไ่ี มอ่ าจเปน็ จริงได้ กฎระเบยี บที่เครง่ ครัดของระบบราชการน�ำมาซ่ึงปัญหาความล่าช้า (Red – Tape) ไม่มคี วาม ยืดหยุ่น อีกทั้งยังมีปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง (Corruption) จึงกลางเป็นปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อ การบรหิ ารงานที่ดี และไม่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทเี่ กดิ ข้นึ เพราะฉะน้ัน เพื่อใหเ้ กดิ ความคล่อง ตัวในการบริหาร การศึกษาในเร่ืองเกี่ยวกับการตัดสินใจจึงเป็นประเด็นท่ีได้รับความสนใจมากขึ้น ทศิ ทางการศกึ ษารฐั ประศาสนศาสตรจ์ งึ มงุ่ เนน้ ไปทกี่ ารสรา้ งความรนู้ อกเหนอื ไปจากแงม่ มุ ทางกฎหมาย มกี ารยอมรบั ถงึ ความเกยี่ วพนั ระหวา่ งรฐั ประศาสนศาสตรก์ บั การเมอื งและพฤตกิ รรมศาสตร์ (Behav- ioral Sciences) รวมถงึ การศกึ ษาแบบระบบ (Systems Approach) นั่นคือ การบริหารกบั การเมือง คอื การกำ� หนดเปา้ หมายของ การปฏบิ ตั งิ าน (Ends) สว่ นภารกจิ ของฝา่ ยบรหิ ารกค็ อื จะตอ้ งหาหนทาง เพอื่ การปฏบิ ตั ใิ นเชงิ รปู ธรรมเพอ่ื ไปสเู่ ปา้ หมายตามทฝี่ า่ ยการเมอื งตงั้ ไว้ หรอื อาจเรยี กไดว้ า่ ฝา่ ยบรหิ าร มภี ารกิจเกย่ี วกับเรื่องของมรรควธิ ี (Means) นน่ั เอง รฐั ประศาสนศาสตร์ในยุคปัจจุบนั (ค.ศ. ๑๙๗๐ – ปัจจบุ นั ) ช่วงปลายทศวรรษที่ ๑๙๖๐ ถงึ ต้นศตวรรษที่ ๑๙๗๐ ได้เกิดเหตุการณ์ทีท่ ้าทายกระบวนการ ศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เช่น ปัญหาการแบ่งสีผิว ปัญหาความยากจน และปัญหาสงครามเย็น ทำ� ใหน้ กั รฐั ประศาสนศาสตรใ์ นยคุ นเ้ี รม่ิ ตระหนกั ถงึ จดุ อบั แหง่ รฐั ประศาสนศาสตรท์ ตี่ ง้ั อยบู่ นความคดิ พ้ืนฐานว่าการบริหารเป็นส่วนหน่ึงของการเมือง ทั้งน้ีเพราะแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ที่ผ่าน มามุ่งท่ีพัฒนาการสาขาวิชาไปสู่วิทยาศาสตร์มากกว่าการพัฒนาเพ่ือน�ำไปใช้ในการแก้ปัญหาของ

รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 429 ประเทศ ภายหลังการจัดประชุมของนักรัฐประศาสนศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย Sysracuse ในปี ค.ศ. ๑๙๘๖ ท�ำให้นักรัฐประศาสนศาสตร์มุ่งความสนใจไปท่ีการแสวงหาวิธีการต่างๆ เพ่ือแก้ปัญหาให้แก่ สงั คมมากยงิ่ ขน้ึ และโตแ้ ยง้ แนวการศกึ ษาดง้ั เดมิ แบบพฤตกิ รรมศาสตรใ์ นแงข่ องวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทไ่ี มไ่ ดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั คา่ นยิ มทางการเมอื งและสงั คม (Social – Political value) รฐั ประศาสนศาสตร์ ยคุ ใหมเ่ ชอื่ วา่ การบรหิ ารงานของรฐั จะตอ้ งมเี ปา้ หมาย เพมิ่ เตมิ ในเรอื่ งความยตุ ธิ รรมในสงั คม (Social equity) นอกเหนือไปจากการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารงาน การบริหารมิใช่เพียง การนำ� นโยบายจากฝา่ ยการเมอื งไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ รปู ธรรมเทา่ นนั้ แตจ่ ะตอ้ งพยายามเขา้ ไปมบี ทบาทใน การกำ� หนดนโยบายรว่ มกบั ฝา่ ยการเมอื งดว้ ย การศกึ ษารฐั ประศาสนศาสตรจ์ งึ มกี ารเนน้ ในเรอ่ื งนโยบาย สาธารณะ เพอื่ เปน็ เครอ่ื งมอื ยนื ยนั ถงึ ความยตุ ธรรมในสงั คม และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของ สมาชกิ ในสงั คมไดอ้ ย่างถูกต้องตรงตามเปา้ หมาย ในเรอื่ งระบบราชการไดเ้ กดิ งานเขยี นทแี่ สดงถงึ การจดั องคก์ ารหลงั ยคุ ราชการ (Post bureau- cratic organization) ท่ีเช่ือว่า ในอนาคตประเทศท่ีเจริญแล้วจะไม่รู้จักหรือไม่จ�ำเป็นต้องมีระบบ ราชการอยเู่ ลย อีกนยั หนง่ึ กค็ อื ระบบราชการจะสลายตวั ลงไปเองในประเทศทเี่ จรญิ แล้ว เพราะระบบ ราชการไมม่ คี วามยดื หยนุ่ ทเี่ หมาะสมกบั สงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นและเปลยี่ นแปลง ไปอยา่ งรวดเร็ว รปู แบบขององคก์ ารจะเปลี่ยนจากสายบงั คบั บญั ชาทีล่ ดหลั่นกนั ลงมาอันเปน็ ลกั ษณะ การบังคับบัญชาในแนวด่ิงมาเป็นแนวราบที่มีการแก้ไปปัญหาร่วมกันในสมาชิกภายในองค์การ ท�ำให้ เกิดความคล่องตัวและรวดเรว็ กวา่ การบรหิ ารในยคุ กอ่ นๆ ทผี่ า่ นมา ทฤษฎเี ก่ียวกับวิชารัฐประศาสนศาสตร์ การน�ำเสนอแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วยความ หมายของของรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และความเป็นสห วิทยาการของรฐั ประศาสนศาสตร์ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนีค้ วามหมายของรฐั ประศาสนศาสตร์ อทุ ยั เลาหวเิ ชียร๓๑๖ ไดอ้ ธิบายถึงค�ำดังกล่าววา่ มีนยั ส�ำคัญอยู่ที่การข้ึนต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์ เลก็ และตวั พมิ พใ์ หญ่ กลา่ วคอื Public Administration อกั ษรตวั P และ A เปน็ ตวั พมิ พใ์ หญ่ หมายถงึ ศาสตรห์ รือสาขาวชิ า (As a field of study) หรือจะเรยี กว่าเป็นช่ือวิชากไ็ ด้ (As a discipline) เช่น วชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชาหรอื โปรแกรมวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ เปน็ ต้น และส�ำหรบั Public Administration มตี วั อกั ษร p และ a เปน็ ตวั พมิ พเ์ ลก็ นนั้ หมายถงึ เปน็ กจิ กรรมหนง่ึ (As an activity) โดยแปลวา่ การบริหารงานของรัฐ (การบริหารราชการ) หรือเรียกอีกอยา่ งว่า การบริหารรฐั กจิ ๓๑๖ อุทัย เลาหวิเชียร. รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์ที พี เอ็น เพรส. (๒๕๔๓, หน้า ๘)

430 รฐั ศาสตร์เบอ้ื งตน้ ส�ำหรับในประเทศไทยมีการใช้ค�ำนี้ค่อนข้างสับสน กล่าวคือ ค�ำว่า รัฐประศาสนศาสตร์ คนสว่ นใหญม่ กั เขา้ ใจวา่ เปน็ รฐั ศาสตรห์ รอื สว่ นหนง่ึ ของรฐั ศาสตร์ ซงึ่ เปน็ ความเขา้ ใจทผ่ี ดิ พลาด ในขณะ เดียวกัน ก็จะพบว่า มีการเรียกชื่อภาควิชาที่แตกต่างกัน อาทิมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ใช้ชื่อว่า ภาค วชิ าบรหิ ารรฐั กจิ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสบั สนเขา้ ใจวา่ รฐั ประศาสนศาสตรแ์ ละบรหิ ารรฐั กจิ เปน็ คนละวชิ ากนั อย่างไรกต็ าม ค�ำว่า รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) นั้น แทนความหมายในทางวชิ า หรอื วชิ าการ ส่วนบริหารรฐั กิจ (Public administration) หมายถงึ ภาคปฏบิ ัตินัน่ เอง ตนิ ปรชั ญพฤทธ๓ิ์ ๑๗ กลา่ ววา่ รฐั ประศาสนศาสตร์ เปน็ สาขาวชิ าและ/หรอื กจิ กรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กบั การบรหิ ารงานภาครฐั บาลในภาษาองั กฤษ คำ� วา่ Public Administration (ตวั พมิ พใ์ หญ)่ หมายถงึ สาขาวิชาการบรหิ ารงานภาครฐั ส่วน public administration (ตัวพิมพเ์ ลก็ ) หมายถงึ กจิ กรรมหรือ กระบวนการ หรือพฤติกรรมการบริหารงานภาครัฐบาล ในภาษาไทยน้ัน ค�ำว่า รัฐประศาสนศาสตร์ มักจะหมายถึงสาขาวิชาการบริหารงานของรัฐ ส่วนการบริหารรัฐกิจ มักจะหมายถึง กิจกรรมหรือ กระบวนการเกี่ยวกบั การบริหารงานของรัฐ วนิ ติ ทรงประทมุ ๓๑๘กลา่ ววา่ รฐั ประศาสนศาสตร์ หมายถงึ การศกึ ษาการบรหิ ารราชการ และ การกระท�ำ หรือกิจกรรมการบรหิ ารราชการ เพราะความหมายท้งั สอง คอื การศึกษา และการกระท�ำ ทางดา้ นการบรหิ ารราชการนนั้ เกี่ยวข้องสมั พนั ธก์ ันอยา่ งใกลช้ ดิ ปฐม มณโี รจน์๓๑๙ (๒๕๒๓, หน้า ๔๕) กล่าวว่า Public Administration มคี วามหมายเป็น ๒ นยั คอื (๑) กจิ กรรมการบรหิ ารงานสาธารณะ ซง่ึ อาจครอบคลมุ ทงั้ การบรหิ ารราชการและรฐั วสิ าหกจิ (๒) คอื สาขาวิชาการบริหารหรอื ทรี่ จู้ กั กนั โดยทวั่ ไป คือ รฐั ประศาสนศาสตร์ Henry๓๒๐ เสนอว่า “วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ เพราะมีความแตกต่างจากวิชา รัฐศาสตร์ท่ีว่าเป็นวิชาที่ให้ความสนใจต่อการศึกษาโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการรวม ๓๑๗ ตนิ ปรชั ญพฤทธ.ิ์ รฐั ประศาสนศาสตรเ์ ปรยี บเทยี บ: เครอื่ งมอื ในการบรหิ ารประเทศ (พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒). กรงุ เทพมหานคร: สำ� นกั พมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (๒๕๓๕, หนา้ ๑) ๓๑๘ วินิต ทรงประทุม. (๒๕๓๙). ความยากและความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์. ใน วินิตทรง ประทุม และวรเดช จันทรศร (บรรณาธิการ), การประสานแนวคดิ และขอบขา่ ยของรฐั ประศาสนศาสตร์ (พมิ พ์ครั้งท่ี ๒, หน้า ๒๕-๔๕). กรุงเทพมหานคร: สำ� นกั พิมพ์สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์. (๒๕๓๙, หนา้ ๑๗) ๓๑๙ ปฐม มณีโรจน์. ขอบข่ายและสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์: พิจารณาในทัศนะวิชาชีพ. ใน อุทัย เลาหวิเชียร ปรัชญา เวสารัชช์ และเฉลิมพล ศรีหงษ์ (บรรณาธิการ), รัฐประศาสนศาสตร์: ขอบข่าย สถานภาพ และพัฒนาการในประเทศไทย (พิมพ์ครงั้ ท่ี ๒) กรุงเทพมหานคร: สำ� นกั พิมพแ์ สงร้งุ การพมิ พ์.(๒๕๒๓) , หน้า ๕๘-๗๙). ๓๒๐ Henry, N. Public administration and public affairs (๒nd ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. (๑๙๘๐, pp. ๒๖-๖๐)

รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 431 ทงั้ เป็นศาสตรท์ ีม่ ีระเบยี บวธิ ีการศกึ ษาเปน็ ของตนเอง” วิชารฐั ประศาสนศาสตรย์ ังแยกความแตกตา่ ง จากศาสตร์การบริหารในแง่ท่ีว่าเป็นวิชาท่ีศึกษาเรื่องขององค์การรัฐซ่ึงมิได้มุ่งแสวงหาก�ำไรดังเช่น องค์การเอกชน แต่จากสถานการณ์ปัจจุบันองค์การของรัฐมีความจ�ำเป็นต้องบริหารงานองค์การเพื่อ แสวงหากำ� ไรแตจ่ ะนำ� กำ� ไรกลบั มาชว่ ยเหลอื ตอ่ สว่ นรวม เชน่ องคก์ ารของมลู นธิ ิ นอกจากนย้ี งั เปน็ วชิ า ท่ีสนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกในการตัดสินใจท่ีสามารถเกื้อกูลต่อการให้บริการ สาธารณะ Vocino and Rabin๓๒๑ เสนอว่า “วชิ ารฐั ประศาสนศาสตรเ์ ป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎแี ละวิธี การปฏบิ ตั งิ านในเรอื่ งเกย่ี วกบั องคก์ าร การตดั สนิ ใจ และบคุ ลากร เพอ่ื นำ� มาสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาสาธารณะ และมีความแตกตา่ งจากการบริหารงานภาคเอกชน Nigro and Nigro๓๒๒ กล่าวว่า วิชารฐั ประศาสนศาสตร์เปน็ วิชาทศ่ี กึ ษาถึงเร่ืองดงั ต่อไปนี้ ๑. ความพยายามรว่ มกันของกลุม่ ชนสาธารณะ ๒. กิจกรรมของฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญตั ิ และฝา่ ยตลุ าการ ๓. เป็นเรอ่ื งของการเมอื งและการกำ� หนดนโยบายสาธารณะ ซง่ึ เปน็ ส่วนหน่ึงของการกำ� หนด นโยบาย ๔. บทบาทของเอกชนและบุคคลหลายฝา่ ยทีม่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารชมุ ชน จากความหมายของค�ำว่า รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถสรุปได้ว่า เป็นการด�ำเนินงานของ ระบบราชการ โดยท่ีมุ่งเน้นในเรื่องของการด�ำเนินงานในระบบราชการและโครงสร้างของหน่วยงาน ราชการ และการจดั กจิ กรรมของรฐั ทไ่ี ดก้ ำ� หนดขนึ้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหบ้ รกิ ารประชาชนดว้ ยความ เสมอภาคและยุติธรรม ส�ำหรับส่ิงที่ผู้เรียนจะต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษส�ำหรับการศึกษาวิชา รฐั ประศาสนศาสตร์ นอกจากการมงุ่ เนน้ ในเรอ่ื งของการศกึ ษาทางระบบราชการ โครงสรา้ งของหน่วย งานราชการหรือการจัดท�ำกิจกรรมของรัฐแล้วนั้น นักรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคปัจจุบันจะต้องมีวิสัย ทัศน์ในการปฏิบัติงานให้กว้างไกลเพ่ือท่ีจะสามารถบริหารหรือท�ำการพัฒนาหน่วยงานของรัฐให้มี ประสทิ ธภิ าพมากกวา่ ทเ่ี ปน็ อยโู่ ดยเฉพาะการรจู้ กั การสรา้ งความเปน็ เอกภาพในการบรหิ ารงานภายใน ๓๒๑ Vocino, T. & Rabin, J. (๑๙๘๑). Contemporary public administration. New York: Harcourt Brace Jovanovich. (๑๙๘๑, p. ๔) ๓๒๒ Nigro, F. A., & Nigro, L. G. (๑๙๘๔). Modern public administration (๖th ed.). New York: Harper & Row. (๑๙๘๔, p. ๑๑)

432 รฐั ศาสตร์เบอ้ื งต้น หน่วยงานแต่ละหน่วยงาน นักรัฐประศาสนศาสตร์จ�ำเป็นต้องรู้จักการพึ่งพาตนเองให้มากท่ีสุดในการ ที่จะขอความสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการส่วนกลาง เพราะถ้าการบริหารงานของหน่วย งานราชการยังด�ำเนินการบริหารในรูปแบบเดิม ๆ การพัฒนาในหน่วยงานก็จะไม่เกิดข้ึนอีกท้ังหน่วย งานราชการก็จะไม่สามารถด�ำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เงื่อนไขที่จ�ำกัด ในสถานการณ์ ปัจจบุ นั การบริหารงานภายในหน่วยงานและเจา้ หนา้ ที่ของรฐั จะต้องมีความรวดเรว็ ถูกต้อง และเสมอ ภาคตอ่ การใหบ้ รกิ ารประชาชน ทง้ั นจ้ี ะประสบความสำ� เรจ็ ไดจ้ ะตอ้ งอาศยั ทกั ษะความรคู้ วามสามารถ ของบุคลากรในหนว่ ยงานเข้ามามีส่วนเสรมิ สร้างต่อการพัฒนาการบรหิ าร จากความหมายในขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ รฐั ประศาสนศาสตรม์ ขี อบเขตทก่ี วา้ งขวางในการศกึ ษา และต้องอาศัยศาสตร์ต่าง ๆ มาอธิบาย ตลอดจนแก้ปัญหาเพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของแต่ละ กิจกรรม ซงึ่ ถอื เป็นความจำ� เปน็ และความพยายามท�ำใหเ้ กิดความสมบูรณ์ในทางรฐั ประศาสนศาสตร์ ขอบขา่ ยของการศึกษาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ควรจะต้องมีการน�ำเอาความรู้จากศาสตร์สาขาอื่น ๆ เข้า มาชว่ ยในการวเิ คราะหใ์ นเรอื่ งของการบรหิ ารงาน เพราะศาสตรส์ าขาอน่ื ๆ มคี วามกา้ วหนา้ เพยี งพอที่ จะชว่ ยใหว้ ชิ ารฐั ประศาสนศาสตรม์ เี อกลกั ษณท์ ช่ี ดั เจนมากยงิ่ ขน้ึ ในการศกึ ษา โดยเฉพาะเมอื่ ไดน้ ำ� เอา ความรมู้ าจากศาสตรท์ แี่ ตกตา่ งกนั เชน่ วชิ าเศรษฐศาสตรบ์ รหิ ารธรุ กจิ หรอื สงั คมวทิ ยา มาประยกุ ตใ์ ช้ ก็จะท�ำใหผ้ ้ศู กึ ษาสามารถมีขอ้ มูลท่ีมากขึน้ เพือ่ ทำ� การตดั สินใจและหาวธิ ีทางท่ที ำ� ให้ สามารถตดั สินใจ ได้อย่างมีเหตุผลภายใต้ข้อจ�ำกัดต่าง ๆ โดยได้มีนักวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ได้กล่าวถึง ศาสตร์ท่เี กยี่ วขอ้ งทางรฐั ประศาสนศาสตรไ์ ว้อย่างครอบคลุม ดงั นี้ กมล อดลุ พนั ธ๓์ ๒๓ เหน็ วา่ ศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ มดี งั ตอ่ ไปน้ี ๑. สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ วชิ ารฐั ศาสตรแ์ ละวชิ ารฐั ประศาสนศาสตรเ์ ปน็ ศาสตรท์ ไ่ี มส่ ามารถแยก ออกจากกนั ได้ เพราะวชิ ารฐั ประศาสนศาสตรม์ วี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการศกึ ษาถงึ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารบรหิ าร งานเป็นไปตามนโยบายของรัฐที่ก�ำหนดไว้ กล่าวคือ วิชารัฐศาสตร์จะถูกใช้โดยฝ่ายปกครองหรือฝ่าย การเมือง ส่วนวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์จะถกู ใชโ้ ดยฝา่ ยข้าราชการ แตท่ งั้ นี้ เปน็ เร่ืองทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการ ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน สามารถเขา้ ใจไดว้ า่ การศกึ ษาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ โดยปราศจากการศกึ ษา วชิ ารฐั ศาสตรด์ จู ะเปน็ เรื่องท่ียากทีจ่ ะทำ� ให้การศึกษาวิชารฐั ประศาสนศาสตรม์ คี วามสมบรณู ์ ๓๒๓ กมล อดลุ พันธ์ การบริหารรฐั กิจเบ้ืองตน้ . กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพมิ พ์มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง.(๒๕๓๘, หนา้ ๓๒-๓๗)

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 433 ๒. สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ ในการบรหิ ารงานบา้ นเมอื งมคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งมกี ฎหมาย รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายมาปกครองประเทศ ทั้งน้ี เพื่อรองรับการกระท�ำของประชาชนในรูปแบบ ตา่ ง ๆ การบริหารงานบา้ นเมอื งทด่ี นี นั้ จึงมคี วามจ�ำเป็นทจี่ ะต้องอาศัยหลักนติ ศิ าสตร์เข้ามาเกี่ยวขอ้ ง ท้ังน้ี เพ่อื ให้การบรหิ ารงานไดเ้ ปน็ ไปตามระเบียบวิธปี ฏบิ ัติอยา่ งถูกต้องชดั เจนและไมเ่ กิดข้อผิดพลาด ส�ำหรับความสัมพันธ์ระหว่างวิชานิติศาสตร์กับวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้มีส่วนเก่ียวข้องกัน คือ การท่ีนักรัฐประศาสนศาสตร์หรือข้าราชการจ�ำต้องมีหลักนิติศาสตร์ในการบริหารงานอยู่เสมอเพราะ ในการปฏบิ ตั ริ าชการนน้ั ขา้ ราชการจะตอ้ งยดึ กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด รวมถงึ การ ปฏิบัติราชการตามนโยบาย ระเบียบแบบแผนและค�ำส่ังต่าง ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาส่ังการแต่การส่ัง การจะตอ้ งไมข่ ดั ตอ่ ข้อกฎหมายของประเทศ ๓. สาขาวิชาบริหารธุรกจิ ดงั ท่กี ล่าวแลว้ วชิ ารัฐประศาสนศาสตร์กับวชิ าบรหิ ารธุรกิจมคี วาม คลา้ ยคลงึ กัน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การนำ� ศาสตร์ทางสาขาวิชาบริหารธุรกจิ มาประยุกต์ใชใ้ นการบริหาร งานภาครัฐศาสตร์ในการทางบริหารธุรกิจได้อธิบายถึงความเป็นจริงในการบริหารงานได้อย่างชัดเจน และถกู ตอ้ ง โดยเฉพาะการใหค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั เรอื่ งพฤตกิ รรมของมนษุ ยภ์ ายในองคก์ าร เทคนคิ การ บริหาร การวางแผนการปฏิบัติงาน การจัดระเบียบภายในองค์การหรือแม้กระทั่งการควบคุมงบ การเงิน เป็นต้นจึงเป็นส่ิงท่ีดีที่ผู้ศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะได้น�ำความรู้ เทคนิค ข้อมูลใหม่ ๆ มาทำ� การศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรงุ เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั การบรหิ ารภาครฐั อทิ ธพิ ลของศาสตรท์ างการ บริหารธุรกิจได้เข้ามามีบทบาทในการปรับปรุงหลักการบริหารงานภาครัฐ โดยเฉพาะหลักการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific management) ที่ม่งุ เนน้ การบริหารจัดการในองค์การไดด้ �ำเนินการไป ตามแบบพลวตั (Dynamic group) โดยอาศยั ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั งิ านจากบคุ ลากรภายในองคก์ าร เปน็ ส�ำคัญ ๔. สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม การบริหารงานภายในองค์การไม่สามารถหลีกเลี่ยงการบริหาร มนุษย์ได้ ทฤษฎจี ิตวิทยาสังคมมีสว่ นส�ำคญั ในการให้ความร้คู วามเข้าใจของนกั รัฐประศาสนศาสตร์ใน เร่ืองของการท�ำความเข้าใจต่อผู้ปฏิบัติงานซึ่งอยู่ในฐานะผู้ร่วมองค์การเดียวกัน วิชาจิตวิทยาสังคมจะ ช่วยให้ทราบถึงแนวทางการศึกษาเรื่องคนของแต่ละคน เช่น ลักษณะของความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วม งานภายในองค์การ การดูพ้ืนฐานภูมิหลังของแต่ละคน หรือแม้กระท่ังการดูความปกติและความผิด ปกติของแต่ละบุคคลในองค์การ การศึกษาพฤติกรรมของคนในองค์การจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถ ทำ� ความเขา้ ใจตอ่ สภาพของบคุ คลภายในองคก์ ารได้ เพอ่ื ทผี่ บู้ รหิ ารจะสามารถหาวธิ กี ารใด ๆ ทเี่ หมาะ สมกบั สภาพของแต่ละบุคคล ทงั้ นี้ เพอื่ ให้การทำ� งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากทสี่ ุด ๕. สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวชิ าเศรษฐศาสตรแ์ ละวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ มีส่วนเกี่ยวข้องในส่วนของการวางแผนพัฒนาประเทศ โดยที่นักรัฐประศาสนศาสตร์จะต้องมีความรู้

434 รฐั ศาสตรเ์ บอ้ื งต้น ทางด้านสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นอย่างมากเพราะเป็นสาขาวิชาที่ท�ำให้เกิดการวางแผนที่เกี่ยวข้อง กบั การพฒั นารปู แบบเศรษฐกจิ ขน้ั พืน้ ฐานของประเทศ ๖. สาขาวิชาตรรกวิทยา สาขาวิชาตรรกวิทยาเป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเพื่อหาเหตุและผล ตามความจรงิ ทป่ี รากฏขนึ้ การบรหิ ารนน้ั จำ� ตอ้ งมกี ารตดั สนิ ใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ โดยการตดั สนิ ใจในแตล่ ะ คร้ังจะใช้ความเป็นเหตุผลที่สามารถพิสูจน์ทราบได้เข้ามามีส่วนช่วยในการตัดสินใจ การตัดสินใจโดย การใช้อารมณ์หรือความเชื่อควรเป็นส่ิงท่ีจะหลีกเลี่ยงเพราะการตัดสินใจด้วยความเชื่อหรือใช้อารมณ์ เปน็ สงิ่ ทไ่ี มแ่ นน่ อนและไมเ่ ปน็ ทร่ี บั รชู้ ดั เจนของบคุ คลโดยทวั่ ไป สำ� หรบั การตดั สนิ ใจทางตรรกวทิ ยาจะ มสี ่วนทำ� ใหล้ ดการสูญเสยี ของทรพั ยากรบริหารและสามารถเพ่มิ ความมน่ั ใจใหแ้ กผ่ ูร้ ว่ มงานได้ ๗. สาขาวิชาสังคมวิทยา สาขาวิชาสังคมวิทยามีประโยชน์ต่อนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ เปน็ การศกึ ษาถงึ สงิ่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การบรหิ ารภาครฐั โดยเฉพาะการทำ� ความเขา้ ใจและ ท�ำการศึกษาเก่ียวกับขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในสังคมเพราะขนบธรรมเนียมประเพณี มีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมอย่างยิ่งถ้าหากทางราชการได้ละเลยในส่วนนี้แล้ว อาจส่งผลต่อการด�ำเนินกิจกรรมของรัฐไม่ประสบความส�ำเร็จได้ นอกจากน้ีแล้ว วิชาสังคมวิทยายัง สามารถอธบิ ายถงึ รปู แบบการบรหิ ารงานภายในหนว่ ยงานราชการได้ ในการออกแบบของรปู แบบการ บรหิ ารงานภายในหนว่ ยงานราชการ ผบู้ รหิ ารจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาถงึ วฒั นธรรมหรอื ประเพณภี ายในหนว่ ย งานนั้น ๆ กอ่ น เชน่ การศกึ ษาถึงแบบแผนในการตดิ ต่อสอ่ื สารของบุคคลภายในองคก์ าร การศกึ ษาถึง ความเชอื่ ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ่ ผนู้ ำ� ในองคก์ าร การทำ� ความเขา้ ใจแบบนจ้ี ะชว่ ยใหก้ ารบรหิ ารงานภายใน องคก์ ารมีความสงบและความเรียบรอ้ ย อุทัย เลาหวิเชยี ร๓๒๔ เห็นว่า ศาสตรท์ ่เี กย่ี วข้องกับการศกึ ษาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ มีดงั ต่อ ไปน้ี ๑. การเมืองและนโยบายสาธารณะ โดยมสี าระสำ� คญั ครอบคลมุ ๓ เรื่องด้วยกัน คอื ๑.๑ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเมืองกับการบรหิ าร ๑.๒ นโยบายสาธารณะ ๑.๓ ค่านยิ ม ๓๒๔ อทุ ยั เลาหวเิ ชยี ร. รฐั ประศาสนศาสตร์: ลักษณะวชิ าและมติ ติ า่ ง ๆ (พมิ พ์ครงั้ ที่ ๖). กรงุ เทพมหานคร : สำ� นักพิมพท์ ี พี เอ็น เพรส.( ๒๕๔๓, หน้า ๓๘-๔๒)

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 435 กรณคี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเมอื งกบั การบรหิ ารนน้ั ไดช้ ใี้ หเ้ หน็ ถงึ การนำ� ปจั จยั การเมอื งเขา้ มาพิจารณาประกอบ เนื่องจากลักษณะเฉพาะของการบริหารรัฐกิจจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับระบบ ยอ่ ยของระบบการเมอื ง เชน่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั กิ บั ฝา่ ยบรหิ าร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ฝ่ายตุลาการกบั ฝา่ ยบริหาร ความสัมพันธร์ ะหว่างพรรคการเมืองกบั ฝา่ ยบริหาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง กล่มุ ผลประโยชนก์ บั ฝ่ายบรหิ าร ความสมั พันธร์ ะหวา่ งนักการเมอื งกบั ขา้ ราชการประจ�ำ เปน็ ต้น กรณีประเด็นนโยบายสาธารณะ ก็คือ การศึกษากระบวนการนโยบายสาธารณะเพ่ือน�ำไปสู่ การนำ� นโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การประเมนิ ผลนโยบายหรอื การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ปอ้ นกลบั ทม่ี คี วามสำ� คญั ต่อการก�ำหนดนโยบาย และรวมถึงการศึกษาในเรื่องของ“ค่านิยม” เพื่อน�ำไปสู่การก�ำหนดแนวทาง ตดั สินใจ ซ่ึงจำ� เป็นอย่างย่ิงสำ� หรบั นกั บรหิ าร โดยมีค่านิยมที่ส�ำคัญ ๆ เช่น ประสิทธิภาพ ประโยชน์สาธารณะ คุณธรรมของนักบริหาร จรยิ ธรรม ประชาธปิ ไตย ความเสมอภาคทางสังคม ความรับผดิ ชอบ การตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ความซ่อื สัตย์สุจริต และการรักษาความลับของทางราชการ เปน็ ตน้ ๒. ทฤษฎอี งคก์ าร โดยถอื เป็นวชิ าที่ตอ้ งอาศัยความรจู้ ากพฤตกิ รรมศาสตรซ์ ึ่งหมายถงึ การมี วิชาสังคมวิทยา จิตวิทยาสังคม และมานุษยวิทยาเป็นวิชาพื้นฐาน ท้ังน้ีกรอบทฤษฎีองค์การสามารถ แยกออกได้เปน็ กล่มุ ทฤษฎใี หญ่ ๓ กลุม่ คอื ๒.๑ กลมุ่ ทฤษฎที อี่ าศยั การใชห้ ลกั เหตผุ ล ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย สำ� นกั องคก์ ารขนาดใหญ่ ทม่ี แี บบแผน และสำ� นกั กระบวนการบรหิ ารและการใชเ้ กณฑใ์ นการบรหิ ารรวมถงึ สำ� นกั การวนิ จิ ฉยั สง่ั การ โดยกลุม่ น้อี าศัยโครงสรา้ งและความเปน็ เหตุเป็นผล ๒.๒ กลุ่มทฤษฎีเก่ียวกับพฤติกรรมของคน ซ่ึงประกอบไปด้วย ส�ำนักมนุษย์สัมพันธ์ และสำ� นักมนษุ ยน์ ยิ ม ทงั้ สองสำ� นักน้ีเน้นความส�ำคัญของตัวแปรท่ีเกี่ยวขอ้ งในปจั จยั เรือ่ งของ “คน” ๒.๓ กลมุ่ ทฤษฎรี ะบบเปดิ ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย สำ� นกั ระบบ และสำ� นกั ทฤษฎสี ถานการณ์ โดยในส�ำนักน้ีเน้นในเรื่องของสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับส่ิงแวดล้อมและความ สัมพนั ธข์ องระบบย่อยต่าง ๆ เปน็ ต้น ๓. เทคนคิ การบรหิ าร เทคนคิ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารรฐั กจิ สว่ นหนงึ่ มาจากวทิ ยาการจดั การ (management science) โดยทั่วไปเป็นเทคนิคที่อาศัยคณิตศาสตร์ สถิติเศรษฐศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ เป็นเทคนิคท่ีไม่มีเร่ืองคนเข้ามาเก่ียวข้อง มีความเป็นวิทยาศาสตร์สูง เช่น การวิจัย ปฏบิ ัตกิ าร (Operations research) การวิเคราะห์ระบบ (Systems analysis) การวิเคราะหข์ ่ายงาน (Network analysis) การวินิจฉัยสั่งการ (Decision-making) ทฤษฎีเกี่ยวกับคิว (Queing theory) สถานการณจ์ ำ� ลอง (Simulation) การวเิ คราะห์ต้นทนุ และกำ� ไร (Cost-benefit analysis) เป็นตน้

436 รัฐศาสตรเ์ บือ้ งตน้ วรเดช จันทรศร๓๒๕ เห็นว่า ศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีดังต่อ ไปนี้ ๑. วิชาวิทยาการจัดการ โดยถือเป็นวิชาท่ีน�ำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์เพื่อใช้ วเิ คราะห์และควบคุมการทำ� งานใหเ้ ปน็ ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพโดยเนน้ เทคนิคตา่ ง ๆ เชน่ (Opera- tions research) การวเิ คราะหร์ ะบบ (Systems analysis) การวเิ คราะหข์ า่ ยงาน (Network analysis) การวนิ จิ ฉยั สงั่ การ (Decision-making) เป็นต้น ๒. วิชาพฤติกรรมองค์การ เป็นวิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับทฤษฎีองค์การ และมนุษย์พฤติกรรม โดยพิจารณาตัวแปร ๔ ตัว ดังน้ี (๑) บุคคล (๒) ระบบสังคมขององค์การ (๓) องค์การอรูปนัย และ (๔) สภาพแวดล้อม โดยมีจุดเน้นที่การศึกษาปัญหาในระบบราชการเพ่ือน�ำไปสู่การปรับปรุง พัฒนา องค์การอยา่ งมีแบบแผน ๓. วชิ าการบรหิ ารรฐั กจิ เปรยี บเทยี บ และการบรหิ ารการพฒั นา การบรหิ ารรฐั กจิ เปรยี บเทยี บ คือ การศึกษาการบริหารภาครัฐบนพ้ืนฐานของการเปรียบเทียบ ไม่ว่าจะเน้นด้านพฤติกรรมหรือ กิจกรรมของรัฐในแงต่ ่าง ๆ รวมถงึ วฒั นธรรมหรือปรากฏการณท์ างการบริหาร ในขณะทก่ี ารบรหิ ารการพฒั นา เปน็ การบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงทไ่ี ดม้ กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ หรอื เปน็ เรอื่ งของการบรหิ ารนโยบาย แผนงาน และโครงการ เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการพฒั นา โดยเนน้ การเปล่ียนแปลง ผลลพั ธ์ ความสามารถในการวดั การมสี ่วนรว่ ม และความสัมพนั ธ์เปน็ หลกั ๔. วชิ าวเิ คราะห์นโยบายสาธารณะโดยมีขอบข่ายในองคป์ ระกอบท้งั ๔ ด้าน คอื ๔.๑ การกำ� หนดนโยบาย โดยวเิ คราะห์ ๒ แนวทาง คือ ๔.๑.๑ หลักเหตผุ ล (Rational comprehensive analysis) ๔.๑.๒ แบบปรับส่วน (Incremental analysis) ๔.๒ การนำ� นโยบายไปปฏบิ ตั ิ โดยศกึ ษากลไกสำ� คญั ในการทำ� ใหน้ โยบายบรรลเุ ปา้ หมาย ๔.๓ การประเมนิ ผลนโยบาย โดยน�ำข้อมูลไปพฒั นา ปรับปรุงแก้ไขนโยบายต่อ ๆ ไป ๔.๔ การวิเคราะห์ผลสะทอ้ นกลบั ของนโยบาย ๓๒๕ วรเดช จนั ทรศร. รฐั ประศาสนศาสตร์ ทฤษฎแี ละการประยกุ ต์ (พมิ พ์คร้ังท่ี ๓). กรงุ เทพมหานคร: ส�ำนักพมิ พส์ ถาบนั บณั ฑิต พฒั นบรหิ ารศาสตร์. (๒๕๓๘, หนา้ ๗ - ๙)

รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 437 ๕. วิชาทางเลือกสาธารณะ ในความหมายอย่างกว้าง เป็นการน�ำหลักเศรษฐศาสตร์มาใช้ใน การศึกษาการวินิจฉัยสั่งการในภาครัฐ ในความหมายอย่างแคบ คือ วิชาที่มุ่งเอาความรู้เก่ียวกับ พฤติกรรมของตลาดอธิบายถึงพฤติกรรมการตัดสินใจที่เกิดข้ึนในส่วนของภาครัฐ ตลอดจนมุ่งท่ีจะน�ำ กลไกตลาดมาปรับปรงุ เพ่อื ให้การตดั สินใจภาครฐั เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ ทั้งนี้ ขอบขา่ ยของวิชา ดงั กลา่ ว ครอบคลมุ การศกึ ษา ๓ เรอื่ ง คือ ๕.๑ พฤติกรรมของกลุ่มผลประโยชน์ ๕.๒ พฤติกรรมของหนว่ ยงานในการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ ๕.๓ การแสวงหาวธิ กี ารทางการบรหิ าร หรอื โครงสรา้ งทเี่ หมาะสมสำ� หรบั การใหบ้ รกิ าร สาธารณะ ความพยายามในการน�ำเอาศาสตร์ต่าง ๆ มาอธิบายโดยบูรณาการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ และทำ� ใหเ้ กดิ ความครอบคลมุ ทางการบรหิ ารจงึ เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการทำ� ให้ รฐั ประศาสนศาสตรม์ คี วาม เป็นสหวทิ ยาการสูง ซง่ึ ลักษณะดงั กลา่ วสามารถอธิบายได้ ความเป็นสหวทิ ยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะท่ีส�ำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วย ศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในทาง รัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler๓๒๖ เหน็ ว่า ควรประกอบไปดว้ ย วิชารัฐศาสตร์ วิชา เศรษฐศาสตร์ วชิ าวทิ ยาการจดั การ วชิ าการบรหิ ารธรุ กจิ วชิ าสงั คมวทิ ยา วชิ าจติ วทิ ยา วชิ ามนษุ ยศาสตร์ และวชิ านติ ศิ าสตร์ ซึ่งจะมคี วามสมบูรณ์ครอบคลมุ ในการศึกษา ในขณะที่ McCurdy๓๒๗ เห็นวา่ จากพฒั นาการทางรฐั ประศาสนศาสตรส์ ามารถอธิบายไดว้ า่ พื้นฐานแนวคิดหลกั ในการศกึ ษาประกอบไปด้วย ๔ สำ� นักด้วยกนั คอื ๑. ส�ำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและ ปรับใช้ในเร่ืองของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยน�ำมาใช้ในการ ปฏริ ปู ระบบ ๒. สำ� นกั ทสี่ นใจศกึ ษาในเชงิ พฤตกิ รรม โดยนำ� มาใชศ้ กึ ษาถงึ ระบบราชการทฤษฎอี งคก์ าร การ บริหารรฐั กิจเปรยี บเทียบ และการพฒั นาองคก์ าร ๓๒๖ Chandler, R. C. Public administration pedagogy: Evolutionary paradigms in theory and practice in handbook of public administration. New York: Marcel Dekker. (๑๙๘๙, pp. ๖๓๙-๖๔๑) ๓๒๗ McCurdy, H. E. (๑๙๘๖). Public administration: A bibliographic guide to the literature. New York: Marcel Dekker. (๑๙๘๖, pp. ๑๗ - ๒๑)

438 รฐั ศาสตร์เบื้องต้น ๓. ส�ำนกั ทีส่ นใจศกึ ษาในเชงิ เหตุผลนิยม โดยน�ำวชิ าเศรษฐศาสตร์และการบรหิ ารธรุ กจิ มาใช้ ศกึ ษาในเรือ่ งของการวิเคราะห์นโยบาย และการจดั การ ๔. ส�ำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาใน การนำ� นโยบายไปปฏบิ ตั ิ การบรหิ ารงานบคุ คลในระบบราชการ การจดั ทำ� งบประมาณ และการบรหิ าร งานในท้องถน่ิ จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการน�ำความรู้ที่หลากหลายมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นวชิ าของตนเอง หรอื นำ� วชิ าเหลา่ นน้ั มาประกอบเขา้ กนั เปน็ ลกั ษณะของ สหวทิ ยาการ และ ถอื วา่ เปน็ สงั คมศาสตรป์ ระยกุ ต์ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื การนำ� ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปรบั ปรงุ และ พัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพ่ิมข้ึน ท้ังนี้ การเป็นสหวิทยาการของ รัฐประศาสนศาสตร์ท�ำให้จ�ำเป็นต้องน�ำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของ การศกึ ษาวชิ าทางรฐั ประศาสนศาสตร์ ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาในศาสตรอ์ นื่ ๆ เพม่ิ เตมิ เชน่ ภมู ศิ าสตร์ ประชากรศาสตรค์ ณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแมก้ ระท่ังการตลาด และการประชาสัมพันธ์ รวมถงึ ในปจั จบุ นั มคี วามสนใจอยา่ งยง่ิ ในเรอ่ื งของจรยิ ธรรมและคณุ ธรรมภายในวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ การด�ำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ ารนน้ั รฐั ประศาสนศาสตรจ์ งึ ตอ้ งนำ� เอาสาขาวชิ าอน่ื ๆ มาประยกุ ตใ์ ช้ และมขี อบเขตทกี่ วา้ งขวางตามความเหมาะสม และกลบั จะเปน็ การเปลา่ ประโยชนถ์ า้ หากจะมงุ่ พจิ ารณา ความสมั พนั ธข์ องรฐั ประศาสนศาสตร์กบั สาขาวิชาใดวชิ าหนง่ึ เท่าน้นั ทงั้ น้ี ในความจรงิ แล้วสาขาวิชา ต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำ� การวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วชิ ารฐั ประศาสนศาสตรจ์ งึ ตอ้ งใชค้ วามรรู้ ะหวา่ งศาสตรว์ ชิ าตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ หรอื ทเี่ รยี กวา่ สหวทิ ยาการ (Inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากน้ีในทางปฏิบัติแล้ว รัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอ่ืน ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นติ ิศาสตร์ เป็นต้น ดว้ ยเหตุน้รี ัฐประศาสนศาสตร์จงึ มคี วามสมั พันธ์กบั สาขาวิชาตา่ ง ๆ ท่ีกล่าวมา และ นอกจากน้ีการศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง แล้ว ส่ิงที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และ พฤตกิ รรม ทรี่ บั ผิดชอบตอ่ สงั คมต่อ ๆ ไป การศกึ ษาทมี่ คี วามหลากหลายและเกดิ เปน็ พฒั นาการทางรฐั ประศาสนศาสตรจ์ นเปน็ ศาสตร์ ที่ได้รับการยอมรับและเป็นท่ีนิยมทั่วไป ท�ำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ท�ำการศึกษา พัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจ�ำแนกล�ำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้าง ขวางและมีความหลากหลายข้ึนอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำ� คัญในมิติใด ตัวอย่างเช่น พิทยา

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 439 บวรวฒั นา๓๒๘ ไดเ้ สนอว่า พัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย ช่วงเวลาที่ส�ำคญั ๔ ชว่ ง คือ (๑) สมัยทฤษฎดี ัง้ เดมิ (ค.ศ. ๑๘๘๗-๑๙๕๐) ได้แก่ ทฤษฎแี ละแนวการศึกษาเรือ่ ง การบรหิ ารแยก ออกจากการเมือง ระบบราชการ วทิ ยาศาสตร์การจดั การ และหลกั การบริหาร (๒) สมยั ทฤษฎีท้าทาย หรอื วกิ ฤตกิ ารณด์ า้ นเอกลกั ษณ์ (ค.ศ. ๑๙๕๐-๑๙๗๐) ไดแ้ ก่ ทฤษฎแี ละแนวการศกึ ษาเรอื่ ง การบรหิ าร คือ การเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ แนวคิดกลุ่มมนุษย์สัมพันธ์และศาสตร์การบริหาร (๓) สมยั วกิ ฤติการณด์ ้านเอกลักษณ์ครงั้ ท่สี อง (ค.ศ. ๑๙๖๐-๑๙๗๐) หมายถงึ แนวคิดทางพฤตกิ รรม ศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ และ (๔) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. ๑๙๗๐ - ปัจจุบัน) โดยครอบคลุมถึงแนวการศึกษาเร่ืองนโยบาย สาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน การจัดการแบบประหยัด การออกแบบองค์การสมัยใหม่และการวิจัยเร่ืององค์การ ในขณะที่ อุทัย เลาหวิเชียร๓๒๙ เสนอว่า วิวัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์แบ่งออกเป็น ๓ สมัยด้วยกัน คือ (๑) ช่วงของ Wilson ถงึ สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ (๒) ตง้ั แตห่ ลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี ๒ จนถงึ ค.ศ. ๑๙๗๐ และ (๓) ชว่ งค.ศ. ๑๙๗๐ จนถึงปัจจุบัน และตามทัศนะของ ติน ปรัชญพฤทธ๓์ิ ๓๐ (๒๕๕๑, หน้า ๑-๘) เห็นว่ามุมมองข้างต้นท่ี กลา่ วมานั้นเป็นการศึกษาถงึ พฒั นาการทางรฐั ประศาสนศาสตร์ของกลุ่มสมัยใหมน่ ยิ ม (Modernism) ทเี่ นน้ ในเรอ่ื งของไซเบอรเ์ นตกิ ส์ (Cybernetics) ทฤษฎเี กมส์ (Game theory) ทฤษฎรี ะบบ (Systems theory) พร้อมกับการศึกษาในเชิงประจักษ์ (Empirical study) เพ่ือสามารถบรรยาย อธิบาย และ พยากรณ์ปรากฏการณ์และพฤติกรรมได้เพียงหน่ึงในสามของประเด็นที่ศึกษา คือ ระดับจิตส�ำนึก (Conscious level) เทา่ นนั้ ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ มกี ารศกึ ษาพฒั นาการของวชิ ารฐั ประศาสนศาสตรใ์ หมล่ า่ สดุ คือ การศึกษาแนวภายหลังโครงสร้างนิยม (Post-structuralism) และภายหลังสมัยใหม่ (Post- modernism) เข้ามาท้าทายกลุ่มสมัยใหม่นิยม (Modernism) ข้างต้น โดยมุ่งบรรยาย อธิบาย และพยากรณ์ปรากฏการณ์และพฤติกรรม และอีกสองในสามส่วนที่เหลืออยู่ คือ ระดับจิตใต้ส�ำนึก (Sub-conscious level) และระดับวฒั นธรรมหรอื ระดบั จติ ไรส้ ำ� นึก (Cultural or unconscious level) ในขณะท่ีมีแนวทางการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ท่ีมีการเรียกอีกช่ือหน่ึง คือ พัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์เชิงกระบวนทัศน์ โดยถือเป็นเน้ือหาที่นิยมกันในการเรียน การสอนทางรฐั ประศาสนศาสตร์ ๓๒๘ พิทยา บวรวัฒนา. รัฐประศาสนศาสตร์: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (ค.ศ. ๑๘๘๗ - ค.ศ. ๑๙๗๐) (พิมพ์คร้ังที่ ๕). กรงุ เทพมหานคร: สำ� นกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (๒๕๔๑, หนา้ ๙) ๓๒๙ อทุ ยั เลาหวิเชยี ร. (๒๕๔๓). รัฐประศาสนศาสตร์: ลกั ษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครงั้ ท่ี ๖). กรงุ เทพมหานคร: สำ� นักพิมพ์ ที พี เอน็ เพรส. (๒๕๔๓, หนา้ ๑๗-๓๖) ๓๓๐ ติน ปรชั ญพฤทธิ.์ เรื่องเดิม (๒๕๕๑, หนา้ ๑ - ๘)

440 รัฐศาสตร์เบอ้ื งตน้ การศึกษารฐั ประศาสนศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ มีวธิ ีการศกึ ษาที่อาจแยกออกเป็นกรอบกวา้ งๆ ได้ ๔ แนวทางคอื ๑. ศกึ ษาในแนวพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral approach) เปน็ การศกึ ษาทเี่ นน้ หนกั ไปทางพฤตกิ รรมของคน เนอื่ งจากรากฐานความเชอื่ ทวี่ า่ องคก์ ารจะ สามารถด�ำเนินกิจการไปในทิศทางใดและมีประสิทธิภาพเพียงใดน้ัน เป็นผลมาจากพฤติกรรมของคน ทเี่ ปน็ สมาชกิ ในองคก์ ารนน้ั วธิ กี ารศกึ ษามกั ใชร้ ะเบยี บวธิ กี ารศกึ ษา (Methodology) เชงิ วทิ ยาศาสตร์ ที่มกี ารแยกข้อเทจ็ จริง (Fact) ออกจากค่านิยม (Value) แตจ่ ะอย่างไรก็ดวี ธิ ีการศกึ ษาแนวพฤติกรรม ศาสตร์ได้รับการโต้แย้งว่าเป็นการศึกษาที่ให้ความส�ำคัญแก่พฤติกรรมของคนมากจนละเลยบทบาท ความสำ� คญั ขององคก์ ร (Man without organization) หรอื ทเี่ รยี กวา่ แนวการศกึ ษามนษุ ยท์ ป่ี ราศจาก องค์การ (People without organization) หรือท่ีเรียกว่าแนวการศึกษามนุษย์ท่ีปราศจากองค์การ (People without Organization Approach) การศึกษาแนวทางพฤติกรรมศาสตร์อาจแบ่งออกได้ เป็น ๓ แนวทางย่อยคอื ก. ทฤษฎอี งคก์ าร (Organization theory) การศกึ ษาทฤษฎอี งคก์ ารจะมลี กั ษณะการศกึ ษาทป่ี ระกอบไปดว้ ย สว่ นของโครงสรา้ ง (Struc- ture) ทม่ี งุ่ จดั การโครงสรา้ งขององคก์ ารใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ จากการใชท้ รพั ยากรอยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ สว่ น ที่สองเป็นส่วนของระบบชั้นยศ (Ranking systems) ภายในโครงสร้างขององค์การกล่าวถึงอ�ำนาจ หน้าที่ สายงานบังคับบัญชาและสัดส่วนท่ีเหมาะสมของอ�ำนาจกับความรับผิดชอบ ส่วนท่ีสามว่าด้วย ระบบของบรรทัดฐานทางสังคม (System of norms)ซ่ึงเป็นสิ่งที่คอยควบคุมพฤติกรรมของคนใน องคก์ ารใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั หรอื มคี วามแตกตา่ งกนั ไมม่ ากนกั สว่ นทสี่ ว่ี า่ ดว้ ยบทบาท (Roles) ของบุคคลแต่ละบุคคลท่ีมีจะมีความช�ำนาญเฉพาะด้าน (Specialization) แตกต่างกันไป และส่วน สดุ ทา้ ยวา่ ดว้ ยการควบคมุ ทางสงั คม (Social control) ซงึ่ เปน็ ไปในทศิ ทางการใหร้ างวลั และการลงโทษ ทางสังคม เพื่อใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการกำ� หนดใหส้ มาชิกในองคก์ ารยอมปฏิบตั ติ นใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางที่ ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับขององค์การ ซ่ึงการควบคุมทางสังคมนี้เป็นอีกมาตรการหน่ึงในการก�ำหนด พฤตกิ รรมของบคุ คลนอกเหนอื ไปจากบรรทดั ฐานทางสังคมโดยทวั่ ไป ข. พฤตกิ รรมองค์การ (Organization behavior) เป็นการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ที่เน้นไปท่ีพฤติกรรมของบุคคลในองค์การในด้านความ สัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล กลุ่มบุคคล และองคก์ าร นอกจากน้ียงั ศกึ ษาครอบคลมุ ไปถึงการตดิ ต่อ ส่อื สาร การประสานงาน การตัดสินใจ การจูงใจ มนุษย์สัมพันธ์ เพื่อเป้าหมายในการสร้างประโยชน์สูงสุดให้ แกอ่ งคก์ าร

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 441 ค. การพฒั นาองค์การ (Organization development) มุ่งศึกษาถึงการเปล่ียนแปลงในลักษณะท่ีเป็นการพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่าขององค์การ โดยการ เปลยี่ นแปลงทางการบริหารควบคู่ไปกับการเปลย่ี นแปลงในเรือ่ งอืน่ ๆ รวมถึงทศั นะคตขิ องบุคคลและ โครงสร้างขององค์การ ๒. ศกึ ษาในแนวกระบวนการบริหาร (Process approach) เป็นการศึกษาท่เี นน้ ไปทแ่ี นวทางของกระบวนการบริหารองค์การ เพื่อใหป้ ระสบความส�ำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคห์ รอื เปา้ หมายขององคก์ าร ซงึ่ นบั วา่ เปน็ วธิ กี ารศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การยอมรบั กนั อยา่ งกวา้ ง ขวาง ดังจะเห็นได้จากแนวคดิ ของ ลเู ทอร์ กลู กิ และ ลินดอลเออร์วคิ (Luther Gulick and Lyndal- lUrwick) ทไี่ ดส้ รปุ กระบวนการบรหิ ารขององคก์ ารเพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพไวเ้ ปน็ ค�ำยอ่ ว่า POSDCORB๓๓๑ ดงั มีรายละเอยี ดคือ P : Planning คือ การวางแผนงานหรอื เค้าโครงกิจกรรมและวธิ กี ารทจ่ี ะตอ้ งปฏิบัติเพ่ือบรรลุ เปา้ หมายขององคก์ ารทวี่ างไว้ อนั เปน็ การคาดเหตกุ ารณใ์ นอนาคตจงึ เปน็ เรอ่ื งของการใหค้ วามรใู้ นทาง วิทยาการและวิจารณญาณในการวินิจฉัยเหตุการณ์ในอนาคต การวางแผนเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนก่อนการ ลงมือปฏิบัติงานเป็นเรื่องของการก�ำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย และแนวทางหรือวิธีการที่จะน�ำ ไปสู่เปา้ หมายขององค์การที่ตั้งไว้ การวางแผนมที งั้ แผนระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว มีทง้ั แผน ในเชิงรกุ และเชิงรับ แต่ท้ังนกี้ จ็ ะตอ้ งมวี ัตถุประสงค์ของแผนในแต่ละแผนเสมอ O : Organizing คอื การจัดการองคก์ ารทั้งหมด เช่น การก�ำหนดอำ� นาจหน้าท่ี และความรับ ผดิ ชอบของบคุ ลากร การบงั คบั บญั ชาตามสายงาน และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลมุ่ ในองคก์ ารและนอก องคก์ าร สว่ นรายละเอยี ดของการจดั การองคก์ ารกเ็ ปน็ ไปตามแนวนโยบายขององคก์ ารจากการวางแผน เพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายของแตล่ ะองค์การซึ่งอาจมีความเหมอื นหรอื แตกต่างกันกไ็ ด้ S : Staffing คือ การจัดบุคคลการเข้าท�ำงานในองค์การ หรือท่ีเรียกว่า การบริหารบุคคล ซ่ึงในเรื่องจะครอบคลุมต้ังแต่การวางแผนการรับบุคคลเข้าท�ำงานไปตลอดถึงการเลิกจ้างหรือปลด เกษียณตามอายุงานของบุคคล นั่นหมายถึงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากร เช่น การว่าจ้าง การบริหาร ค่าจ้าง สวัสดิการ การพัฒนาบุคลากร แรงงานสัมพันธ์ และการจูงใจบุคคลเหล่าน้ันให้ปฏิบัติงานได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เปน็ ตน้ ๓๓๑ Luther Gulick and LyndallUrwick, Papers on the Science of Administration. (New York : Institute of Public Administration, ๑๙๓๗), passim.

442 รฐั ศาสตร์เบื้องตน้ System Output Input Feedback D : Directing คอื การอำ� นวยการ หรอื การบงั คบั บญั ชาสง่ั การจากผบู้ งั คบั บญั ชาใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาปฏบิ ตั งิ ามตามแนวทางทมี่ กี ารวางแผนเพอ่ื เปา้ หมายขององคก์ าร และมกี ารตดิ ตามผลภายหลงั จากการให้งานไปแล้ว เพ่ือจะได้ทราบว่าผู้ใต้บังคับบัญชาได้ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ไม่ หากมกี ารปฏบิ ตั ทิ แ่ี ตกตา่ งหรอื ผดิ พลาดจะไดม้ กี ารแกไ้ ขปรบั ปรงุ อยา่ งทนั การณ์ เพ่ือป้องกันความผิดพลาดท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานไม่ตรงตามเจตนารมณ์หรือเป้าหมายขององค์การ เปน็ เหตกุ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื หากเกดิ ความเสยี หายกจ็ ะไดเ้ กดิ ผลเสยี หายนอ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ CO : Co-ordinating คอื การประสานงาน ซง่ึ หมายถงึ การประสานงานทง้ั ภายในและภายนอก องค์การ เพราะการประสานงานท่ีดีจะน�ำมาซ่ึงความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ การประสานงานทด่ี จี ะชว่ ยลดการทำ� งานซำ�้ ซอ้ นและการกา้ วกา่ ยงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อกี ทง้ั ยงั เปน็ การสรา้ งความเขา้ ใจแก่บุคคลากรในองค์การเป็นอย่างยิง่ R : Reporting คือ การรายงานผลของการปฏบิ ัติงานท่ไี ด้กระท�ำตอ่ ผูบ้ งั คบั บัญชา วา่ งานที่ ไดร้ บั มอบหมายใหไ้ ปปฏบิ ตั นิ น้ั มคี วามกา้ วหนา้ สำ� เรจ็ ลลุ ว่ งหรอื ประสบกบั ปญั หาและอปุ สรรคหรอื ไม่ อย่างไร เพือ่ ใหผ้ ู้บังคบั บัญชาไดท้ ราบถงึ ปญั หา อุปสรรค และความก้าวหน้าของงานอนั เปน็ ประโยชน์ อย่างยิ่งในการน�ำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนและบริหารองค์การ ท้ังยังรวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ (Public relations) ท่จี ะแจง้ ใหป้ ระชาชนไดท้ ราบข้อเทจ็ จรงิ ด้วย B : Budgeting คือ การงบประมาณ ซึ่งถือว่าเป็นอีกส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญต่อองค์การเป็นอย่าง มาก เพราะการงบประมาณเปน็ เรอ่ื งของการจดั สรรทรพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ใหเ้ กดิ ผลประโยชนม์ าก ท่ีสุด หรอื อกี นัยหน่ึงก็คือจะต้องจัดสรรทรพั ยากร คืองบประมาณอยา่ งไรทจ่ี ะส้นิ เปลืองนอ้ ยทส่ี ุดเพอ่ื กอ่ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ แกอ่ งค์การ การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์แนวกระบวนการบริหารมใิ ชม่ เี พียง POSDCORB เท่าน้นั เช่น PAPOSDCORB๓๓๒ POSDC๓๓๓ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถศึกษาในรายละเอียดได้จากงานเขียนวิชา ๓๓๒ มีการเพ่ิมส่วนประกอบนอกเหนือจาก POSDCORB มาอีกสองส่วนคือ P: Policy อันหมายถึง นโยบายที่ก�ำหนดวิธีการ ปฏบิ ัตงิ านไว้อย่างกวา้ งๆ เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ กบั A: Authority ทหี่ มายถึง อำ� นาจหน้าท่ขี องผปู้ ฏิบตั ิ งานตามความรบั ผิดชอบทีม่ ตี ่อผ้บู ังคับบัญชา ๓๓๓ Planning : การวางแผน Organizing : การจดั การองคก์ าร Staffing : การจัดคนเข้าทำ� งาน Directing : การอำ� นวยการ และ Controlling : การควบคุม

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 443 รฐั ประศาสนศาสตรแ์ นวกระบวนการบรหิ าร หรอื หนา้ ทก่ี ารบรหิ าร สำ� หรบั หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะไมข่ อกลา่ ว ในประเด็นรายละเอียดเพราะอยู่นอกเหนือวัตถุประสงค์ของหนังสือความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับวิชา รัฐศาสตร์ ๓. ศึกษาในแนวระบบ (Systems approach) การศึกษาแนวระบบได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากวิทยาศาสตร์สาขาชีววิทยาท่ีมองว่า องค์การเป็นระบบท่ีเปรียบเทียบลักษณะได้คล้ายกับสิ่งที่มีชีวิตที่ประกอบด้วยหน่วยทางชีวภาพ หรอื อวัยวะทที่ กุ สว่ นของระบบจะมคี วามสมั พันธก์ บั ส่วนอน่ื ๆ นน่ั คือ การมองว่าองค์การและรา่ งกาย ของสิ่งมีชีวิตมีลักษณะที่เหมือนหรือคล้ายกัน โดยเฉพาะในส่วนของการมีกฎเกณฑ์ในปฏิสัมพันธ์ของ ส่วนต่าง ๆ ในร่างกายสิ่งมีชีวิต การเกิดข้ึน การปรับตัวเองเพ่ือการด�ำรงอยู่ การเส่ือมสลาย การมี ปฏิกิริยาต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกระบบก็เป็นอีกประการหน่ึงท่ีองค์การมีวัฏจักรไม่แตก ตา่ งไปจากรา่ งกายของสงิ่ มชี วี ติ เพราะฉะนนั้ การเปลย่ี นแปลงในแงใ่ ดแงห่ นง่ึ ของสว่ นใดในระบบกจ็ ะ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงแบบพลวัตร (Demonic) ในสว่ นอืน่ ๆ ของระบบดว้ ย จากหลกั การขา้ ง ตน้ ทำ� ใหน้ กั รฐั ประศาสนศาสตรแ์ นวระบบมคี วามเชอ่ื วา่ การศกึ ษาองคก์ ารใหเ้ ขา้ ใจไดอ้ ยา่ งถอ่ งแทจ้ ะ ตอ้ งทำ� การศกึ ษาทงั้ ระบบ มใิ ชศ่ กึ ษาเพยี งสว่ นหนง่ึ สว่ นใดเทา่ นน้ั การศกึ ษาแนวระบบจงึ เปน็ การศกึ ษา ทุกส่วนหรือท่ีเรียกว่า ตัวแปรทั้งหลายที่มีปฏิสัมพันธ์กันและกันในองค์การนั้น ๆ และรวมถึงการมี ปฏกิ ริ ยิ าตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ในแงก่ ารไดร้ บั ผลกระทบจากสง่ิ แวดลอ้ มและการสง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ือความเข้าใจองค์การทั้งระบบอันเป็นลักษณะของระบบเปิด (Open system) การใช้กรอบระบบ ศึกษาองค์การในองค์การใดองค์การหนึ่ง สิ่งที่ถือว่าเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญในประการแรกคือ การก�ำหนด ขอบเขตของระบบเพอื่ ใช้ในการแยกระบบออกากสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของระบบจะต้องมีส่วนท่ีส�ำคัญอย่างน้อย ๔ สว่ นด้วยกันคือ ๑. ปัจจัยน�ำเข้า (Input) ซึ่งเป็นตัวป้อนปัจจัยเข้าท่ีเปรียบเสมือนวัตถุดิบไปในระบบ เช่น ทรพั ยากร พลังงาน ความต้องการ ปญั หาการบรหิ าร ข้อมลู ข่าวสาร เป็นต้น ๒. ตัวระบบ (System) ในท่ีนี้หมายถึงองค์การบริหาร (Administrative Organization) ท่ีท�ำหน้าที่ในการแปรสภาพปัจจัยน�ำเข้าตามกระบวนการการท�ำงานขององค์การ (Conversion Process) ๓. ปัจจัยน�ำออก (Output) เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการแปรสภาพปัจจัยน�ำเข้าตาม กระบวนการขององค์การ เช่น สินคา้ บริหาร นโยบาย เป็นต้น

444 รัฐศาสตรเ์ บื้องต้น ๔. ปจั จยั ปอ้ นกลบั (Feedback) เปน็ สงิ่ ทแี่ สดงถงึ ผลจากการปจั จยั นำ� ออกมาแลว้ ปจั จยั ปอ้ น กลับจะย้อนสู่ระบบใหมโ่ ดยเป็นปจั จัยนำ� เข้าสูร่ ะบบอกี ครง้ั หนึง่ ๔. ศกึ ษาในแนวปรมิ าณ (Quantitative approach) หมายถงึ การศึกษารัฐประศาสนศาสตรท์ ใ่ี ช้วิชาทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิตเิ ป็นองค์ประกอบท่ี สำ� คญั เพอื่ ชว่ ยในการตดั สนิ ใจปฏบิ ตั งิ านใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพประสทิ ธผิ ลใหม้ ากทสี่ ดุ อทิ ธพิ ลของวชิ าการ ทางวิทยาศาสตร์ที่มีการทดลองและค�ำนวณออกมาเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ, มีอิทธิพลต่อแนวความคิด ในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์แนวปริมาณเป็นอย่างมาก การตัดสินใจในการก�ำหนดนโยบายหรือ การปฏิบัติงานจึงผ่านกระบวนการทางปริมาณเพื่อแปลงข้อมูลเป็นตัวเลขก่อนที่จะน�ำไปเป็นข้อมูล สำ� คญั ในการกำ� หนดนโยบาย วธิ กี ารเชงิ ปรมิ าณทถี่ กู ใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายในสาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ไดแ้ ก่ การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การวเิ คราะหโ์ ครงขา่ ยปฏบิ ตั กิ าร การบรหิ ารขอ้ มลู และการควบคมุ ขอ้ มลู ขา่ วสาร แตอ่ ย่างไรก็ดี เทคนคิ ตา่ ง ๆ ที่น�ำมาใชจ้ ะตอ้ งมลี กั ษณะร่วมกันอย่างนอ้ ย ๔ ประการคอื ๑. การสรา้ งแบบจำ� ลอง (Model) ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา อันรวมถึงความครอบคลุมในกรอบของปัจจยั ที่ส่งผลกระทบต่อเร่ืองที่เราก�ำลงั จะศึกษาน้นั ด้วย ๒. การกำ� หนดมาตรฐานหรอื เกณฑบ์ ง่ ชเ้ี พอ่ื เปน็ เครอื่ งตดั สนิ ใจวา่ มาตรฐานแคไ่ หน เพยี ง ใดท่คี วรจะเลอื กกระทำ� และมาตรฐานใดท่ีไมค่ วรเลอื กกระทำ� ๓. การวเิ คราะหป์ ญั หาในการศกึ ษา โดยการศกึ ษาจากผลลพั ธท์ ไี่ ดเ้ พอื่ โยงไปหาขอ้ สรปุ ของโจทย์ทีเ่ ราต้งั ไวก้ ่อนการศกึ ษาเชิงปรมิ าณ ๔. กระบวนการตดั สนิ ใจ หรอื การเลอื กแนวทางในการปฏบิ ตั ิ โดยยดึ หลกั ประโยชนส์ งู สดุ ของทุกระบบเปน็ เกณฑ์ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรัฐประศาสนศาสตรก์ บั สาขาวิชาอืน่ ศาสตรท์ ่ีมีความสมั พันธเ์ ก่ยี วขอ้ งกบั รัฐประศาสนศาสตรม์ ีมากมายหลายสาขา เช่น ๑. รฐั ศาสตร์ (Political Science) รัฐศาสตร์ถือเป็นวิชาแม่บทแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ โดเฉพาะในช่วงท่ีมีการยอมรับกันว่า ไมว่ ่าการบรหิ ารราชการใด ๆ ที่ปลอดจากการเมือง (Public administration never Exists in po- litical vacuum) แต่ต่อมาท้งั สองวชิ าได้แยกออกจากกันเน่ืองจากรฐั ศาสตร์มงุ่ หาค�ำตอบท่จี ะอธิบาย ปรากฏการณ์ทางสังคมโดยเฉพาะทางการเมืองการปกครอง และพยายามมุ่งแสวงหาองค์ความรู้และ

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) 445 ทฤษฎีของสาขาตนโดยไม่ได้สนใจในแง่การประยุกต์ในการน�ำความรู้ไปปรับใช้ในทางปฏิบัติ แต่รัฐประศาสนศาสตร์มุ่งค้นหาและเสริมสร้างองค์ความรู้เพื่อการน�ำไปปฏิบัติในลักษณะของ สงั คมศาสตรป์ ระยกุ ตม์ ากกวา่ ทจ่ี ะมงุ่ พฒั นาไปสศู่ าสตรบ์ รสิ ทุ ธ์ิ หรอื อกี นยั หนงึ่ กค็ อื รฐั ประศาสนศาสตร์ อยใู่ นฐานะเปน็ วชิ าชพี อนั มขี อบเขตการศกึ ษาทข่ี ยายออกไปอยา่ งกวา้ งขวางมากกวา่ เดมิ และมากกวา่ รัฐศาสตร์แม่บท อย่างไรก็ดีหากผู้ศึกษาวิชา๓๓๔ รัฐประศาสนศาสตร์โดยปราศจากความรู้ความเข้าใจ ในสาขารัฐศาสตร์เป็นพ้ืนฐานแล้วจะเป็นการยากยิ่งที่ผู้ศึกษาจะสามารถเข้าใจในรัฐประศาสนศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้และสมบรู ณ์ ๒. สงั คมวทิ ยา (Sociology) ลักษณะของวิชาสังคมวิทยาท่ีศึกษาเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ สาเหตุและผลกระทบจากปัญหา ตา่ ง ๆ ในสังคมมนษุ ยท์ ำ� ให้วิชาสงั คมวิทยาเปน็ ประโยชนแ์ ละมคี วามสัมพันธก์ บั รฐั ประศาสนศาสตร์ เปน็ อยา่ งยง่ิ ซงึ่ การศกึ ษารฐั ประศาสนศาสตรแ์ ละนำ� ความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการบรหิ ารมคี วามจำ� เปน็ ทจี่ ะ ต้องทราบเกี่ยวกับองค์การทั้งท่ีเป็นทางการ (Formal organization) และองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Infernal organization) เพราะในระบบราชการจะมีองค์การท่ีไม่เป็นทางการซ้อนองค์การที่เป็น ทางการอยเู่ สมอ การใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจพฤตกิ รรมของมนษุ ยจ์ ากวชิ าสงั คมวทิ ยาจงึ ถอื เปน็ สงิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ ในการช่วยให้เกิดความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์จากวิชาสังคมวิทยาจึงถือเป็นส่ิงที่จ�ำเป็นในการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจองค์การมากย่ิงขึ้น เน่ืองจากการบริหารเป็นพฤติกรรมอย่างหน่ึงของมนุษย์ซึ่ง ยอ่ มไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากสภาพแวดลอ้ มหรอื สงั คมอยา่ งหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ หากผศู้ กึ ษารฐั ประศาสนศาสตร์ มีความเข้าใจในประเด็นอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมท่ีจะส่งผลถึงค่านิยมของมนุษย์แล้ว ก็จะสามารถน�ำ ความรู้ไปปรับปรุงเพ่ือแสวงหาระบบการบริหารให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมขององค์การในแต่ละ สงั คมได้เป็นอย่างดี ๓. จิตวทิ ยา (Psychology) จติ วทิ ยาเปน็ สาขาวชิ าทมี่ งุ่ ศกึ ษาเพอื่ ทำ� ความเขา้ ใจในปจั เจกบคุ คล ซงึ่ สาขาวชิ ารฐั ประศาสนา ศาสตรไ์ ดน้ ำ� วธิ กี ารศกึ ษาและความรทู้ างจติ วทิ ยามาประยกุ ตเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในแงพ่ ฤตกิ รรมของ มนษุ ยใ์ นองคก์ ารไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เพราะปจั เจกบคุ คลอนั เปน็ หนว่ ยพน้ื ฐานทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ของระบบราชการ หากผศู้ กึ ษารฐั ประศาสนศาสตรข์ าดความรพู้ นื้ ฐานในเรอื่ งจติ วทิ ยากเ็ ปน็ การยากทจี่ ะทำ� ความเขา้ ใจใน ประเด็นขา้ งตน้ โดยเฉพาะในเรอื่ ง มนษุ ย์สมั พนั ธ์ (Human relation) ทฤษฎีการจงู ใจ (Motivation) การรบั รู้ (Perception) และบคุ ลิกภาพ (Personality) ๓๓๔ ปฐม มณีโรจน์, “ขอบข่ายและสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ : พิจารณาในทัศนะวิชาชีพ”, ในรัฐประศาสนศาสตร์ : ขอบข่าย

446 รฐั ศาสตรเ์ บื้องตน้ ๔. เศรษฐศาสตร์ (Economic) การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์กับการศึกษาท่ีเป็นเร่ืองเกี่ยวพันกันจนแทบจะกล่าวได้ว่าเป็น เรอื่ งเดยี วกนั เชน่ การคลงั การงบประมาณ การบรหิ ารการเงนิ อกี ทง้ั การทร่ี ฐั ประศาสนศาสตรไ์ ดห้ ยบิ ยมื วธิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู มาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กส่ าขาวชิ าใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ การบรหิ าร การเรยี นรซู้ งึ่ กนั และกันระหว่างสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์รับเศรษฐศาสตร์ดูจะแนบแน่นมากข้ึนโดยเฉพาะ รฐั ประศาสนศาสตรใ์ นปจั จบุ นั ทใ่ี หค้ วามสนใจเรอ่ื งเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง (Political economy) เปน็ อย่างมาก ๕. นติ ิศาสตร์ (Jurisprudence) การศกึ ษาองคก์ ารในอดตี ทผ่ี า่ นมาเปน็ การศกึ ษาระเบยี บตา่ ง ๆ อนั รวมทงั้ การศกึ ษากฎหมาย ปกครองด้วย แม้การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันเองก็ยังมีความเก่ียวข้องกับสาขาวิชา นิติศาสตร์อย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ เพราะระบบบริหารราชการแผ่นดินจะต้องปฏิบัติให้สอดคล้อง เป็นไปตามแนวทางที่ก�ำหนดขึ้นโดยกฎหมาย การบริหารงานของรัฐไม่สามารถที่จะหลักหนีข้อบังคับ หรอื กฎเกณฑแ์ หง่ กฎหมายได้ การศกึ ษารฐั ประศาสนศาสตรจ์ งึ ตอ้ งใหค้ วามสนใจตอ่ สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ เพอื่ การเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งและสามารถนำ� ความรทู้ างรฐั ประศาสนศาสตรอ์ อกไปปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ ง ตามกฎหมายที่กำ� หนดกรอบของระบบราชการ

บรรณานุกรม กมล อดุลพันธ์. การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามคำ� แหง. (๒๕๓๘, หนา้ ๓๒-๓๗) กรมอนามยั . โครงการศกึ ษารปู แบบการพฒั นาระบบการแบบมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในงาน ภารกิจกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๕๐) กรรณกิ าร์ ชมด.ี การมีสว่ นรว่ มของประชาชนท่มี ีตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ : ศกึ ษาเฉพาะกรณี โครงการสารภี ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ ศาสตรมหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ (๒๕๒๔) หนา้ ๕ การศาสนา, กรม., กระทรวงศึกษาธิการ, พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง (กรุงเทพฯ, โรงพมิ พก์ ารศาสนา : ๒๕๒๕) เล่มที่ ๑๑ หน้า ๖๑ -๗๔ การศาสนา, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง (กรุงเทพฯ โรงพิมพ์การศาสนา : ๒๕๒๕) เลม่ ที่ ๒๐, หนา้ ๑๘๖ เกษม อทุ ยานนิ , รัฐศาสตร์ .พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๒.(กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๖), น. ๓๘. โกวทิ ย์ พวงงาม. การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน. ม.ป.ท. (๒๕๔๕). หน้า ๘ จรญู สุภาพ “หลกั รัฐศาสตร์” (ฉบับปรับปรุงแก้ไขใหม่ ครัง้ ที่ ๒) (กรุงเทพฯ, บริษัทโรงพมิ พ์ ไทยวัฒนาพานชิ จำ� กดั : ๒๕๒๒) หนา้ ๒ จรญู สภุ าพ. หลกั รฐั ศาสตรฉ์ บบั พน้ื ฐาน.พมิ พค์ รงั้ ที่ ๓. (กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๗). น. ๑๕๖ – ๑๖๐. จรญู สภุ าพ. ลทั ธกิ ารเมอื งและเศรษฐกจิ เปรยี บเทยี บ. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. (กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๘). น. ๑๘. จรญู สภุ าพ, ลทั ธกิ ารเมอื งและเศรษฐกจิ เปรยี บเทยี บ. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, (กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๘). น. ๓๑. จรญู สภุ าพ, ลทั ธกิ ารเมอื งและเศรษฐกจิ เปรยี บเทยี บ. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, (กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๘), น. ๑๑๖. จรญู สภุ าพ, ระบบการเมืองเปรยี บเทียบ และหลักวเิ คราะหก์ ารเมืองแบบใหม่. (กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๙), น. ๘.

จรูญ สุภาพ, ศ., “พัฒนาการเมืองการปกครอง” (เอกสารทางวิชาการประกอบค�ำบรรยาย โครงการพฒั นาการเมอื งการปกครอง, ภาควชิ าการปกครอง, คณะรฐั ศาสตร,์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั : ๒๕๒๕) หน้า ๑๑ – ๑๒. จรูญ สภุ าพ. ศ., “สารานกุ รมรฐั สภา” (กรงุ เทพฯ, บรษิ ทั สำ� นกั พมิ พไ์ ทยวฒั นาพานิชจ�ำกัด : ๒๕๓๓) หน้า ๑๕๒. จรญู สภุ าพ, หลกั รฐั ศาสตรแ์ บบพน้ื ฐาน. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๓, (กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๗), น. ๓๑๐. จนั ทนา สทุ ธจิ าร.ี “การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน” ในการเมอื งการปกครองไทยตามรฐั ธรรมนญู ฉบบั ประชาชน. กรุงเทพฯ, ๒๕๔๔ หนา้ ๔๑๐. จิรโชค (บรรพต) วีระสัย, ดร., สุรพล ราชภัณฑารักษ์, ดร., และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ์, ผศ., “รัฐศาสตร์ทัว่ ไป” (กรงุ เทพฯ, สำ� นกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง : ๒๕๓๘) หนา้ ๔. จิรโชค (บรรพต) วีระสัย, ดร., สุรพล ราชภัณฑารักษ์, ดร., และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ์, ผศ., “รัฐศาสตร์ท่ัวไป (ฉบับแก้ไขปรับปรุง” (กรุงเทพฯ, บริษัทวิคเตอรีเพาเวอร์พอยท์จ�ำกัด : ๒๕๒๔) หนา้ ๙ -๑๕. ฉตั รทิพย์ นาถสภุ า, ลัทธเิ ศรษฐกิจการเมอื ง. (กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๓๙), น. ๑๔๗ ฉนั ทมิ า ออ่ งสรุ กั ษ์ (แปล), วเิ คราะหล์ ทั ธคิ อมมวิ นสิ ต.์ พมิ พค์ รงั้ ทส่ี อง (กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๒๖), น. ๑๓๙. ชัยชนะ อิงตะวัน, วิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบ. (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง, ๒๕๓๑), น. ๑๑๐ -๑๑๑. ชยั อนนั ต์ สมทุ วณชิ , การเมอื งเปรยี บเทยี บ : ทฤษฎแี ละแนวความคดิ . (กรงุ เทพฯ : เจา้ พระยา การพมิ พ์, ๒๕๒๖), น.๑๑๓. ชิต นิลพานิช และกุลธน ธนาพงศธร. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา ชนบท. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้ท่ัวไปส�ำหรับการพัฒนาระดับต�ำบล หมู่บ้าน (พิมพ์ครั้งที่ ๓, หน่วยท่ี ๘). นนทบรุ :ี โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. (๒๕๓๒) หนา้ ๓๕๐ ชิต นิลพานิช และกุลธน ธนาพงศธร. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา ชนบท. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้ทั่วไปส�ำหรับการพัฒนาระดับต�ำบล หมู่บ้าน (พิมพ์ครั้งท่ี ๓, หนว่ ยท่ี ๘) .นนทบรุ ี: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. (๒๕๓๒). หน้า ๓๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook