Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Description: Mbu005-หนังสือรัฐศาสตร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

รัฐศาสตร์เบื้องตน้ (Introduction To Political Science) พระมหาปญั ญา ปญฺ าวุฑฺโฒ (สุขสงค)์ , ผศ. ภาควิชารฐั ศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย

รฐั ศาสตร์เบื้องต้น (Introduction To Political Science) ISBN : 978-616-208-069-2 เรียบเรียงโดย : พระมหาปัญญา ปญฺาวฑุ โฺ ฒ (สขุ สงค์), ผศ. สงวนลิขสิทธ์ิ : ตาม พ.ร.บ.ลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ พิมพ์ครั้งที่ ๑ : พฤศจิกายน ๒๕๕๖ จ�ำนวนพิมพ์ : ๕๐๐ เลม่ จัดพิมพโ์ ดย : โครงการผลิตสือ่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา ภาควชิ ารัฐศาสตรแ์ ละเศรษฐศาสตรค์ ณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ถ. ศาลายา-นครชยั ศรี ต. ศาลายา อ. พทุ ธมณฑล จ. นครปฐม ๗๓๑๐๗

ค�ำนำ� ต�ำราวิชาการ “รัฐศาสตร์เบื้องต้น” เล่มน้ี ผู้เขียน/ผู้เรียบเรียงได้ศึกษารวบรวมเรียบเรียงข้ึน ตามเจตนารมณ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ในโครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของ คณาจารย์ อน่ึง แนวทางการเขียนการเรยี บเรยี งน้นั ได้มงุ่ เนน้ เนอื้ หาท่ีเก่ียวกับหลักสูตรเพอ่ื ประกอบ การเรียนการสอนในรายวิชารัฐศาสตร์เบื้องต้น โดยอาศัยประสบการณ์ในการสอนนับต้ังแต่ผู้เขียน/ ผเู้ รยี บเรยี งไดท้ ำ� หนา้ ทอ่ี าจารยใ์ นภาควชิ ารฐั ศาสตรแ์ ละเศรษฐศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย มาโดยตลอด ในปีการศึกษา ๒๕๕๑ นี้ มหาวทิ ยาลยั มนี โยบายผลติ ผลงานทางวชิ าการ ดา้ นตำ� ราเรยี นและ เอกสารเกยี่ วกบั การสอนอน่ื ๆ ของคณะตา่ ง ๆ ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมรเิ รมิ่ ดำ� เนนิ การสนบั สนนุ คณาจารยแ์ ละ สร้างมาตรฐานผลงานทางวิชาการให้ระบบการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน รวมทั้งการส่ง เสริมให้คณาจารย์ได้มีการศึกษาค้นคว้าการผลิตต�ำราวิชาการดังท่ีกล่าวมาอย่างเป็นระบบ โดยค�ำนึง ถึงการเขียนให้ครอบคลุมเน้ือหาในรายวิชาท่ีท�ำสอนคือจ�ำนวนคาบ/หน่วยกิต โดยใช้รายละเอียดของ รายวชิ าเป็นหลัก ในอนั ทจ่ี ะเออ้ื ประโยชนต์ ่อผู้เรยี นใหม้ ากทีส่ ุด ผู้เขยี น/ผู้เรยี บเรยี งขออนุโมทนาบุญ และเจริญพรขอบคุณทา่ นเจา้ ของหนังสือ ต�ำรา เอกสาร ส�ำคัญต่าง ๆ ท่ีผู้เขียน/ผู้เรียบเรียงได้น�ำมาศึกษาค้นคว้าอ้างอิงในต�ำราวิชาการเล่มนี้ และท่ีส�ำคัญคือ มหาวทิ ยาลยั ทไี่ ดส้ นบั สนนุ ดำ� เนนิ การในการผลติ ตำ� ราวชิ านี้ เพอื่ ใชป้ ระโยชนส์ ำ� หรบั การเรยี นการสอน ในคณะสงั คมศาสตร์ โครงการผลติ ตำ� ราของมหาวทิ ยาลยั เปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทท่ี ำ� ใหผ้ เู้ ขยี นมกี ำ� ลงั ใจในการ ท�ำงาน การค้นคว้า เรียบเรียงต�ำราวิชาการเล่มน้ีจนส�ำเร็จด้วยดี หากท่านผู้รู้ ท่านผู้สนใจพบเห็น ขอ้ บกพรอ่ งประการใดในตำ� ราวชิ าการเลม่ นี้ ขอความกรณุ าแนะนำ� เพอื่ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขในครงั้ ตอ่ ไป ให้สมบูรณ์ย่ิงขน้ึ พระมหาปัญญา ปญฺาวุฑฺโฒ, ผศ. (สุขสงค์) พฤษภาคม ๒๕๕๑ ภาควชิ ารฐั ศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย



สารบญั ค�ำนำ� สารบัญ บทท่ี ๑ ความร้เู บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) ๑๗ บทน�ำ ๑๗ ความหมายของรฐั ศาสตร์ (Political Science) ๑๗ ขอบเขตของวชิ ารฐั ศาสตร์ ๒๑ การก�ำหนดขอบเขตของวชิ ารัฐศาสตร ์ ๒๖ แนวการศึกษารัฐศาสตร์ ๒๘ แนวทางในการศกึ ษาทางรฐั ศาสตร ์ ๒๙ แนวทางปรชั ญาการเมือง ๒๙ ข้อดแี ละข้อจำ� กดั ของแนวทางปรชั ญาการเมือง ๓๐ แนวทางโครงสรา้ งนิยม ๓๑ ข้อจำ� กัด ๓๓ แนวทางพฤติกรรมศาสตร์ ๓๓ ข้อดีและข้อจำ� กัดของแนวทางพฤติกรรมศาสตร์ ๓๕ ประวัตคิ วามเป็นมาของวิชารัฐศาสตร์ ๓๖ ความสัมพันธร์ ะหว่างวิชารัฐศาสตร์กับศาสตร์สาขาอน่ื ๓๘ รฐั ศาสตรใ์ นฐานะต่าง ๆ ๓๘ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งวชิ ารฐั ศาสตร์กับวิชาอื่น ๓๙ ก. ความสมั พันธ์กบั วิชาในหมวดวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural sciences) ๓๙ ข. ความสัมพันธก์ บั วิชาในหมวดสังคมศาสตร์ (Social sciences) ๔๐ ค. ความสัมพนั ธก์ ับวชิ าในหมวดมนุษยศาสตร์ (Humanities) ๔๑ ลกั ษณะของการศึกษาวชิ ารัฐศาสตร์ (Methodology) ๔๒ ความส�ำคญั ของวิชารัฐศาสตร์ ๔๔ รฐั ศาสตร์ในประเทศไทย ๔๖ สรปุ ๔๘

บทท่ี ๒ รฐั (State) ๕๑ ความหมายของค�ำวา่ “รฐั ” (State) ๕๑ วิวฒั นาการของรฐั ๕๕ เผ่าชน : กรกี ยุคโบราณหรอื ยคุ โฮเมอร์ ๕๖ นครรัฐ (Polis) ๕๖ นครรฐั ของไทย ๕๗ จกั รวรรดิ (Empire) ๕๗ จักรวรรดใิ นโลกตะวันออก (บูรพาทิศ) ๕๗ จักวรรดใิ นโลกตะวันตก ๕๘ จกั รวรรดยิ ุคใหม ่ ๕๘ ระบบศกั ดินาในยุคกลางของยุโรป ๕๙ รัฐประชาชาติ ๕๙ ลกั ษณะของรัฐ ๕๙ รูปแบบของรฐั ๖๐ องคป์ ระกอบของรฐั ๖๓ โครงสรา้ งประชากร ๖๕ ชาติหรือประชาชาติ ๖๙ การรบั รองรัฐ (Recognition) ๗๑ จดุ ประสงค์ของรัฐ ๗๓ หนา้ ที่ของรัฐ ๗๔ หนา้ ทขี่ องรัฐภายในประเทศ ๗๔ หนา้ ท่ีของรฐั ระหว่างประเทศ ๗๕ แนวความคดิ เกยี่ วกบั “รฐั โลก” (World State) ๗๕ สรปุ ๗๖ ๗๙ บทท่ี ๓ ก�ำเนดิ ของรัฐ (Origin of State) ๘๑ ทฤษฎีกำ� เนดิ ของรัฐ ๘๑ ๑. ทฤษฎีเทวสทิ ธ์ิ (The Theory of the Divine Origin of the State) ๘๓ ๒. ทฤษฎีเกีย่ วกับการแบง่ งาน (Division of Labor theory)

๓. ทฤษฎีสัญชาตญาณหรอื ทฤษฎีธรรมชาติ (Instinct or Natural theory) ๘๓ ๔. ทฤษฎสี ญั ญาประชาคม (The Social Contract Theory) ๘๔ ๕. ทฤษฎอี ภิปรชั ญา (Metaphysical Theory) ๘๘ ๖. ทฤษฎที างกฎหมาย (Legal or juristic theory) ๘๘ ๗. ทฤษฎีวิวฒั นาการ (Evolutionary Theory) ๘๙ ๘. ทฤษฎีพลกำ� ลังหรอื ทฤษฎีอำ� นาจบังคบั (Force Theory) ๙๑ ๙. ทฤษฎีอัคคัญญสตู ร (Akkhanya sutta Theory) ๙๑ พฒั นาการของรัฐ ๙๔ ๑. นครรัฐ (City – State) ๙๕ ๒. อาณาจกั รโบราณ (Ancient Empire) ๙๕ ๓. สมัยกลาง : รฐั ศักดินา (The middle Ages : Feudalism) ๙๖ ๔. รัฐราชวงศ์ (Dynastic State) ๙๖ ๕. รฐั ชาติ (Nation – State) ๙๖ รปู แบบของรฐั (Forms of state) ๙๗ ก�ำเนดิ จากววิ ฒั นาการของสงั คมมนุษย์ ๙๘ ทฤษฎีกำ� เนิดรัฐกับสงั คมไทย ๑๐๒ สรุป ๑๐๓ บทท่ี ๔ อำ� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) ๑๐๕ ความหมายของอำ� นาจอธปิ ไตย ๑๐๕ วิวัฒนาการทฤษฎวี า่ ด้วยอำ� นาจอธปิ ไตย ๑๐๖ ลักษณะของอ�ำนาจอธปิ ไตย ๑๐๘ ประเภทของอำ� นาจอธปิ ไตย ๑๑๐ ขอ้ จ�ำกดั ในการใชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตยของรัฐบาล ๑๑๔ การแสดงออกซงึ่ อ�ำนาจอธปิ ไตยของประชาชน ๑๑๔ เจ้าของอำ� นาจอธปิ ไตย ๑๑๖ ทฤษฎที ี่คัดค้านอำ� นาจอธปิ ไตย ๑๑๘ องค์กรทใ่ี ชอ้ ำ� นาจอธิปไตย ๑๒๐ อำ� นาจนติ ิบัญญัต ิ ๑๒๐

อ�ำนาจบรหิ าร (Executive) ๑๒๒ รูปแบบของรฐั บาล (Form of Government) ๑๒๒ ระบบรัฐสภา ๑๒๓ ระบบประธานาธบิ ดี ๑๒๗ ระบบก่ึงประธานาธบิ ดี ๑๒๘ อ�ำนาจหนา้ ท่ขี องฝ่ายบรหิ าร (Function) ๑๓๑ สถาบันของอำ� นาจตลุ าการ (Judicial) ๑๓๒ สรุป ๑๓๓ บทท่ี ๕ อดุ มการณ์ทางการเมอื ง (Political Ideology) ๑๓๕ ความหมายอุดมการณท์ างการเมือง (Political Ideology) ๑๓๕ ความสัมพันธร์ ะหว่างลทั ธิการเมอื งกับอุดมการณ์ทางการเมือง ๑๓๖ อรฐั นยิ ม (Anarchism) ๑๓๖ คอมมวิ นสิ ต์ (Communism) ๑๓๗ สงั คมนยิ ม (Socialism) ๑๔๑ เสรนี ยิ ม (Liberalism) ๑๔๒ ประชาธิปไตย (Democracy) ๑๔๓ อนุรกั ษน์ ิยม (Conservatism) ๑๔๕ ฟาสซสิ ม์ (Fascism) ๑๔๗ สรปุ ๑๔๘ บทที่ ๖ รูปแบบการปกครอง (Forms of Government) ๑๔๙ ความหมายของการปกครอง ๑๔๙ วิวฒั นาการของรปู แบบรฐั และการปกครอง ๑๕๐ นครรฐั ๑๕๐ รัฐศักดินา ๑๕๑ รฐั ชาต ิ ๑๕๑ รูปแบบการปกครอง ๑๕๑ รูปแบบการปกครองตามแนวคิดของอริสโตเตลิ (Aristotle) ๑๕๔ ราชาธปิ ไตย (Monarchy) ๑๕๔

ทรราชย์ (Tyranny) ๑๕๕ อภิชนาธิปไตย (Aristocracy) ๑๕๕ คณาธปิ ไตย (Oligarchy) ๑๕๕ ประชาธิปไตย (Democracy) ๑๕๕ มชั ฌิมวิถีอธปิ ไตย ๑๕๖ รปู แบบการปกครองตามแนว โรเบิร์ต แมคไอเวอร์ (Robert M.lver) ๑๕๖ รูปแบบการปกครองพิจารณาในแงก่ ารก�ำหนดบคุ คลเปน็ ผปู้ กครอง ๑๕๘ รปู แบบการปกครองพิจารณาในแงก่ ารแบ่งอำ� นาจการปกครอง ๑๕๘ รปู แบบการปกครองพจิ ารณาในแงอ่ ุดมการณท์ างการเมือง ๑๕๙ รปู แบบการปกครองในปัจจุบัน ๑๖๑ รูปแบบของประชาธปิ ไตย ๑๖๒ ระบบเผดจ็ การ (Dictatorship) ๑๖๔ ที่มาของเผด็จการ ๑๖๕ รปู รฐั บาลทเี่ กดิ จากการแบง่ สรรอำ� นาจอธิปไตย ๑๖๖ รัฐบาลท่ถี อื เอาการแบง่ แยกอ�ำนาจอธปิ ไตยเปน็ เกณฑ์ ๑๖๙ สรปุ ๑๗๒ บทท่ี ๗ การปกครองระบอบประชาธิปไตย (Democracy) ๑๗๕ ความหมายของประชาธิปไตย ๑๗๕ วิวฒั นาการประชาธิปไตย (Democracy) ๑๗๗ ทศั นะเก่ยี วกับประชาธิปไตย ๑๘๐ เนือ้ หาของประชาธปิ ไตย ๑๘๑ หลักการของประชาธิปไตย ๑๘๗ หลักการสำ� คัญของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ๑๘๘ สองรปู แบบแห่งการปกครองประชาธิปไตย ๑๘๙ ประชาธิปไตยในมิตอิ นื่ ๆ ๑๙๑ รปู แบบรัฐบาลในระบอบประชาธปิ ไตย ๑๙๒ ความเสมอภาคทางการเมือง ๑๙๖ ข้อแตกตา่ งระหว่างนักการเมืองกบั รฐั บรุ ุษ ๑๙๖

ประชาธิปไตยกบั อธปิ ไตย ๓ ประเภทในพุทธศาสนา ๑๙๗ อุดมการณป์ ระชาธปิ ไตย ๑๙๗ รฐั บาลประชาธปิ ไตย ๒๐๑ สรปุ ๒๐๓ บทที่ ๘ การปกครองระบอบเผดจ็ การ (Dictatorship) ๒๐๕ บทนำ� ๒๐๕ ความหมายการปกครองแบบเผด็จการ ๒๐๕ ประเภทของเผดจ็ การ ๒๐๗ ลักษณะบางประการของลัทธิเผด็จการเบด็ เสร็จนิยม ๒๐๙ หลักการของระบบการเมืองการปกครองแบบเผด็จการ ๒๑๐ แนวคดิ แบบการด�ำเนินชวี ติ รูปแบบการปกครองระบอบเผดจ็ การ ๒๑๑ ความแตกตา่ งระหวา่ งเผด็จการ ๒ แบบ : เผดจ็ การอำ� นาจนยิ ม ๒๑๒ กับเผดจ็ การเบ็ดเสรจ็ การปกครองแบบเผดจ็ การกับระบบเศรษฐกิจ ๒๑๓ ระบบทนุ นิยมเผดจ็ การหรอื เผด็จการทุนนิยม ๒๑๓ ระบบการเมอื งเศรษฐกจิ แบบร่วมมือ (Corporatism) ๒๑๔ ระบบสงั คมนิยมคอมมวิ นสิ ต์ หรอื สงั คมนิยมเผด็จการ หรอื เผดจ็ การคอมมวิ นิสต์ ๒๑๕ ผลดีผลเสียของเผดจ็ การ ๒๑๕ สรปุ ๒๑๖ บทท่ี ๙ คอมมิวนิสต์ (Communism) ๒๑๙ ความเป็นมาของคอมมวิ นิสต์ ๒๑๙ หลักการแห่งคอมมิวนิสต ์ ๒๒๒ ๑. หลกั การวิภาษวธิ ีทางวัตถุ (Dialectical Materialism) ๒๒๒ ๒. เศรษฐกิจการเมอื ง (Political economic) ๒๒๖ ๓. การปฏวิ ัติ (Revolution) ๒๓๐ วลาดมิ ีร์ อลี ยิช อูลยานอฟ หรอื เลนิน (ValdimirllyichUlyanov or ๒๓๒ Niclolai Lenin, ค.ศ. ๑๘๗๐ – ๑๙๒๔) เหมาเจ๋อตงุ หรอื เมาเซตงุ (Mao Tse – tung, ๑๘๙๓ – ๑๙๗๖) ๒๓๕

บทที่ ๑๐ สถาบนั ทางการเมือง (Political Institution) ๒๓๙ บทนำ� ๒๓๙ ๒๓๙ ความหมายของสถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution) ๒๔๐ เสถียรภาพของสถาบนั ทางการเมอื ง ๒๔๓ ๒๔๓ รฐั ธรรมนูญ (Constitution) ๒๔๕ ความหมายของ “รัฐธรรมนญู ” ๒๔๖ ลักษณะสำ� คัญของรัฐธรรมนญู ๒๕๒ ประเภทรฐั ธรรมนูญ ๒๕๓ เนอ้ื หาสาระของรัฐธรรมนูญ : ปญั จสาระ ๒๕๔ ทมี่ าของรฐั ธรรมนญู ๒๕๖ กำ� เนดิ รฐั ธรรมนญู ๒๕๗ ลักษณะของรัฐธรรมนูญทดี่ ี ๒๕๘ ความส�ำคัญของรฐั ธรรมนูญ ๒๕๙ รฐั ธรรมนญู ของไทย ๒๕๙ สถาบนั นิติบญั ญัติ (Legislature) ๒๖๑ กระบวนการตรากฎหมายโดยสถาบันนติ บิ ญั ญัตโิ ดยทั่วไป ๒๖๕ สถาบนั บริหาร (Executive) ๒๖๖ สถาบนั ตลุ าการ (Judiciary) ๒๖๗ สรปุ ๒๖๗ บทท่ี ๑๑ รฐั สภา (Parliament) ๒๖๗ บทนำ� ๒๖๘ ความหมายของรฐั สภา ๒๖๙ ประวตั ิความเปน็ มารัฐสภา ๒๗๐ รปู แบบของรัฐสภาโดยทวั่ ไปแบง่ เปน็ ๒ ชนดิ ๒๗๓ ระบบสองสภาขององั กฤษ ๒๗๕ ระบบสองสภาในสหรฐั อเมรกิ า ๒๗๕ ระบบสองสภาของไทย ๒๘๖ รัฐสภาของไทยตามรฐั ธรรมนูญฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒๘๙ วุฒิสภา ๒๙๑ หนา้ ที่ของวฒุ สิ ภา อ�ำนาจหน้าที่ของรัฐสภา

ตำ� แหน่งต่าง ๆ ในรฐั สภา ๒๙๒ การออกกฎหมายของรฐั สภา ๒๙๓ การพิจารณาอนุมตั ิพระราชก�ำหนด ๒๙๕ สรปุ ๒๙๖ บทท่ี ๑๒ พรรคการเมืองและกลมุ่ ผลประโยชน์ (Political Party and Interest Group) ๒๙๗ บทน�ำ ๒๙๗ ความหมายของพรรคการเมอื ง ๒๙๘ กำ� เนิดของพรรคการเมอื ง ๓๐๒ ววิ ฒั นาการของพรรคการเมอื ง ๓๐๕ การแบง่ ประเภทพรรคการเมือง ๓๐๖ ความสำ� คัญของพรรคการเมอื ง ๓๐๘ หนา้ ทขี่ องพรรคการเมอื ง ๓๐๙ บทบาทของพรรคการเมือง ๓๑๐ องค์การของพรรคการเมือง ๓๑๑ ระบบของพรรคการเมอื ง ๓๑๒ ความเป็นมาของพรรคการเมอื งไทย ๓๑๔ ปญั หาของพรรคการเมอื งไทย ๓๑๖ แนวทางการแกไ้ ข ๓๑๗ กลมุ่ ผลประโยชน์ (Interest Group) ๓๑๙ ความหมายของกลุ่มผลประโยชน ์ ๓๒๐ ความเปน็ มาของกลุม่ ผลประโยชน์ ๓๒๓ ความสมั พันธ์พรรคการเมอื งและกล่มุ ผลประโยชน์ ๓๒๔ ประเภทกล่มุ ผลประโยชน์ ๓๒๔ ความสำ� คัญของกลุ่มผลประโยชน ์ ๓๒๖ บทบาทของกลมุ่ ผลประโยชน์ ๓๒๘ หนา้ ทที่ างการเมอื งของกลุ่มผลประโยชน์ ๓๒๙ เปา้ หมายส�ำคัญของกล่มุ ผลประโยชนใ์ นสงั คมประชาธปิ ไตย ๓๓๐ วิธกี ารดำ� เนนิ การของกลุ่มผลประโยชน์ ๓๓๐ การใช้พลงั กดดนั ของกลมุ่ ผลประโยชน์ ๓๓๑ การหาเสียงสนับสนนุ ของกลมุ่ ผลประโยชน ์ ๓๓๒ กลุม่ ผลประโยชนห์ รอื กลุ่มอิทธิพลในประเทศองั กฤษ ๓๓๒

กลมุ่ ผลประโยชนห์ รือกลมุ่ อทิ ธิพลในสหรฐั อเมรกิ า ๓๓๓ กลุม่ ผลประโยชนใ์ นประเทศไทย ๓๓๔ รปู แบบของกล่มุ ผลประโยชนใ์ นประเทศไทย ๓๓๕ สรปุ ๓๓๖ บทที่ ๑๓ การพฒั นาทางการเมอื ง (Political Development) ๓๓๙ ความหมายการพฒั นาทางการเมือง ๓๓๙ การสรา้ งความทันสมยั ทางการเมือง (Political Modernization) ๓๔๔ ๓๔๖ ขน้ั ตอนของกระบวนการสร้างความทันสมยั ๓๔๗ การสร้างความทันสมยั กบั การเมืองกับเสถยี รภาพทางการเมอื ง ๓๔๘ การสร้างความทนั สมยั ทางการเมอื งกับการพฒั นาทางการเมือง ๓๕๐ ความดอ้ ยพัฒนา (Underdevelopment) ๓๕๑ ข้อวิพากษ์ ๓๕๓ บทท่ี ๑๔ การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation) ๓๕๓ ๓๕๔ บทนำ� ๓๕๕ ทฤษฎเี กย่ี วกับการมีส่วนร่วม ๓๕๕ แนวคิดการมีส่วนร่วม (Participation process approach) ๓๕๘ ๓๖๐ แนวคิดและกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ๓๖๑ ความหมายของการมีสว่ นร่วม ๓๖๓ กระบวนการมสี ่วนรว่ ม ๓๖๘ แนวคดิ ทฤษฎีเกย่ี วกบั การมสี ่วนรว่ ม ๓๖๙ ความหมายของการมสี ่วนรว่ มทางการเมอื ง (Political Participation) ๓๗๐ ขัน้ ตอนการมีสว่ นรว่ ม ๓๗๒ ระดับของการมสี ่วนร่วม ๓๗๓ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน ๓๗๓ กรรมวธิ ีในการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ๓๗๕ แบบแผนของการเข้ามสี ว่ นรว่ มทางการเมือง ๓๗๕ รูปแบบการมสี ่วนร่วมทางการเมือง ๓๗๖ ประเภทของบคุ คลในสังคม ก. กลุ่มบุคคลท่ีไม่สนใจการเมือง (Apolitical strata) ข. กล่มุ ทมี่ คี วามสนใจทางการเมือง (Political strata)

การมีส่วนร่วมทางการเมือง ๓๗๖ รูปแบบของการมสี ว่ นรว่ ม ๓๗๗ แนวคดิ เกี่ยวกับการมีสว่ นรว่ มทางการเมอื ง (Political Participation) ๓๗๘ การมีสว่ นร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ๓๘๐ บทท่ี ๑๕ วสิ ัยทศั นท์ างการเมอื ง (Political Vision) ๓๘๓ มโนทัศน์ทเ่ี ก่ยี วกบั วิสัยทัศนท์ างการเมือง (Political Vision) ๓๘๓ ความหมายของวิสัยทัศน์ (Meaning of Vision) ๓๘๓ ความหมายของวสิ ัยทัศนท์ างการเมือง (Meaning of Political Vision) ๓๘๕ มโนทัศนเ์ ก่ียวกบั ธรรมรัฐ (Good Governance) ๓๘๖ ความหมายของธรรมรัฐ (Meaning of Good Governance) ๓๘๖ มโนทศั น์เกย่ี วกับการปฏริ ูปทางการเมอื ง (Political Reform) ๓๙๒ ความหมายการปฏริ ปู ทางการเมือง (Meaning of Political Reform) ๓๙๒ มโนทัศนเ์ ก่ยี วกับการเข้าถงึ ขา่ วสารทางการเมือง ๓๙๕ (Access to Political Communication) ความหมายของการสื่อสาร (Meaning of Communication) ๓๙๕ องคป์ ระกอบของการสอื่ สาร (Elements of Communication) ๓๙๗ กระบวนการสอ่ื สาร ๓๙๙ หนา้ ท่ีของการส่อื สาร ๓๙๙ การเปล่ียนแปลงข่าวสาร ๔๐๐ มโนทัศนเ์ กี่ยวกับการบ่มเพาะทางการเมอื ง (Political Orientation) ๔๐๒ ความหมายของการบ่มเพาะทางการเมอื ง (Meaning of Political Orientation) ๔๐๒ มโนทศั นเ์ ก่ียวกับสังคมประกิตทางการเมือง (Political Socialization) ๔๐๔ ความหมายของสังคมประกิตทางการเมือง (Meaning of Political Socialization) ๔ ๐๔ มโนทัศนเ์ กยี่ วกับอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย (Democratic Ideology) ๔๐๗ แนวความคิดเกยี่ วกบั ประชาธปิ ไตย ๔๐๗ อดุ มการณป์ ระชาธิปไตย (Democratic Ideology) ๔๑๓ บทที่ ๑๖ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ๔๒๓ บทน�ำ ๔๒๓ ววิ ัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ ๔๒๔ รฐั ประศาสนศาสตรใ์ นยคุ หลังสงครามโลกครง้ั ทสี่ อง ถงึ ค.ศ. ๑๙๖๙ ๔๒๗

รฐั ประศาสนศาสตรใ์ นยุคปัจจุบนั (ค.ศ. ๑๙๗๐ – ปจั จบุ นั ) ๔๒๘ ทฤษฎีเกีย่ วกบั วิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๔๒๙ ขอบขา่ ยของการศึกษาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร ์ ๔๓๒ ความเป็นสหวทิ ยาการของรัฐประศาสนศาสตร ์ ๔๓๗ การศกึ ษารัฐประศาสนศาสตร์ ๔๔๐ ๑. ศกึ ษาในแนวพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral approach) ๔๔๐ ๔๔๑ ๒. ศึกษาในแนวกระบวนการบริหาร (Process approach) ๔๔๓ ๓. ศึกษาในแนวระบบ (Systems approach) ๔๔๔ ๔. ศกึ ษาในแนวปรมิ าณ (Quantitative approach) ๔๔๔ ความสัมพันธร์ ะหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กบั สาขาวชิ าอ่นื ๔๔๗ บรรณานกุ รม



บทที่ ๑ ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกย่ี วกบั รัฐศาสตร์ (Introduction To Political Science) บทน�ำ รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เริ่มต้นในโลกตะวันตกในสมัยกรีกโบราณ ประมาณ ๓๐๐ – ๕๐๐ ปี หรอื ปลายศตวรรษท่ี ๕ กอ่ นครสิ ต์ศกั ราช หรือประมาณ ๒๕๐๐ ปีมาแล้ว ในระยะเร่ิมแรกเป็นเพียง แนวความคดิ เชงิ รฐั ศาสตรเ์ พอ่ื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการปกครอง ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรม มกี ารดำ� รงชวี ติ ที่ดี สามารถบรรลุประโยชน์สุขร่วมกันของมนุษย์ในสังคม โดยหาวิธีในการจัดสรรอ�ำนาจ และแบ่ง ปันผลประโยชน์ที่ดีและเหมาะสมที่สุดแก่ผู้ปกครองและผู้ถูกปกครองในการบริหารและการจัดการ สังคมการเมือง แนวความคิดเชิงรัฐศาสตร์น้ีได้เร่ิมเป็นรูปแบบท่ีมีเนื้อหาสาระเชิงวิชาการทางการเมืองอย่าง มีระบบในปลายศตวรรษท่ี ๑๘ ต้นศตวรรษที่ ๑๙ น้ีเอง เป็นผลมาจากอิทธิพลของการเขียนทาง ประวัติศาสตร์ และอิทธิพลจากแนวความคิดเชิงปรัชญา ซึ่งเป็นรากฐานของวิชารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน โดยมีวิวฒั นาการอยา่ งตอ่ เน่อื งจนเปน็ ศาสตรแ์ ขนงหน่งึ ของวิชาสงั คมศาสตร์ ความหมายของรฐั ศาสตร์ (Political Science) รฐั ศาสตรเ์ ปน็ คำ� ทแี่ ปลมาจากภาษาองั กฤษ คอื คำ� วา่ “political science” ทหี่ มายถงึ ศาสตร์ แหง่ การเมือง หรอื ศาสตรท์ ว่ี า่ ด้วยรัฐ (The science of the state) เพราะรากศพั ท์ของค�ำวา่ politic มาจากภาษากรกี คอื polis๑ ทแ่ี ปลวา่ วธิ กี ารในการจดั องคก์ ารทางการเมอื ง ซงึ่ การจดั องคก์ ารทางการ เมืองของกรีกในสมัยโบราณเป็นการจัดองค์การทางการเมืองในนครรัฐเล็ก ๆ มีอาณาเขตไม่กว้าง และมีประชากรไมม่ ากนัก เม่อื นำ� political science มาแปลเปน็ ภาษาไทยจงึ ใช้ คำ� ว่า “รฐั ศาสตร”์ แตใ่ นปจั จุบนั มใิ ชเ่ พยี งการศึกษาในเรอ่ื งท่วี า่ ดว้ ยรฐั เทา่ นนั้ แต่รฐั ศาสตร์ไดใ้ ห้ความสนใจครอบคลุมไป ๑ Politic science ในภาษาอังกฤษ เกิดข้ึนเมื่อ ศตวรรษท่ี ๑๘-๑๙ ในหนังสือบางเล่มอ้างว่ามีรากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน คือ Staatswissenschaft ท่แี ปลวา่ ศาสตร์แห่งรฐั โดย staat แปลวา่ รัฐ และ wissenscaft แปลว่า วทิ ยาการ รายละเอียด ใน W.J.M Mackenzie, The Study of Political Today (London : Macmillan, ๑๙๗๑) pp ๑๑

18 รฐั ศาสตรเ์ บื้องตน้ ถึงระบบ และกระบวนการทางการเมืองอีกด้วย รัฐศาสตร์เป็นสาขาหน่ึงในวิชาทางสังคมศาสตร์ (Social Sciences) ทม่ี ่งุ ศึกษาถึงการแสวงหาอ�ำนาจ (Power – seeking) และการใชอ้ ำ� นาจ หรอื ท่ี เรียกว่า ศาสตร์แห่งอ�ำนาจ (Science of power)๒ นัน่ เอง รฐั ศาสตรต์ ามรปู ศพั ทใ์ นทางภาษาองั กฤษใชค้ ำ� วา่ Political Science มคี ำ� ทใ่ี ชเ้ ปน็ ไวพจนซ์ ง่ึ กันและกัน และมีความหมายใกล้เคียงกันคือ Politics และ Government ซึ่งแปลว่า “การเมือง” และ “การปกครอง” ศัพท์ทง้ั ๓ มีรากศพั ท์และท่ีมาแตกต่างกันดังนี้ จิรโชค (บรรพต) วรี ะสยั และคณะ๓ ได้กล่าวถงึ รากศัพทเ์ หลา่ นว้ี ่า ค�ำว่า “รัฐศาสตร์” ที่ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Political Science มาจากภาษาเยอรมัน คือ สตาตสวิสเซนชาฟต์ (STAATSWISENCHAFT) แปลตามตัวอักษรว่า “ศาสตร์แห่งรัฐ” โดยค�ำว่า “STAAT” แปลว่า “รัฐ” และ “SWISSENCHAFT” แปลว่า “วิทยาการ” ซึง่ เพ่งิ มีขึ้นในศตวรรษที่ ๑๘ และ ๑๙ คือประมาณ ๒๐๐ ปีทผ่ี า่ นมา ค�ำวา่ “POLITICS” ซง่ึ แปลว่า “การเมือง” มาจากรากศพั ท์คือ “POLIS” ซงึ่ เปน็ ภาษากรกี แปลวา่ “นครรฐั ” เป็นการรวมตัวทางการเมอื งแบบหนง่ึ ซ่งึ ใหญก่ วา่ ระดบั ครอบครัวหรือเผา่ พนั ธ์ ส่วนค�ำว่า “GOVERNMENT” มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า “KYBERNATES” แปลว่า “ผู้ถือหางเสือเรือ” โดยการเปรียบการเมืองการปกครองหรือรัฐบาลเป็นเสมือนเรือหรือ “รัฐนาวา” (SHIP OF STATE) ๒ มกี ารแบง่ ศาสตรอ์ อกเปน็ ๓ หมวดใหญ่ ๆ ตามแนวขององคก์ ารวา่ ดว้ ยวฒั นธรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละการศกึ ษาแหง่ สหประชาชาติ คอื ๑. หมวดวิทยาศาตร์ธรรมชาติ (Nature sciences) ซึ่งอาจมีการแบ่งออกเป็นวิทยาศาสตร์บริสุทธ์ิ (pure sciences) เช่น คณติ ศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ ชวี วทิ ยา เป็นตน้ กบั วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (apply sciences) เชน่ วศิ วกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ เปน็ ตน้ ๒. หมวดสังคมศาสตร์ (social sciences) ได้แก่วิชาท่ีมุ่งศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ เป็นการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างมนุษย์ และการอยูร่ ว่ มกนั ของมนุษย์ เช่น เศรษฐศาสตร์ สงั คมวทิ ยา นติ ศิ าสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น ๓. หมวดวชิ ามนษุ ยศาสตร์ (humanities) เปน็ หมวดวชิ าทศ่ี กึ ษาถงึ ความเปน็ มนษุ ย์ เชน่ วรรณคดี ปรชั ญา จรยิ ศาสตร์ เปน็ ตน้ ๓ จริ โชค (บรรพต) วรี ะสัย ดร.สรุ พล ราชภัณฑารกั ษ์ ดร.และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ์ ผศ. “รฐั ศาสตรท์ ว่ั ไป” (กรุงเทพฯ สำ� นกั พิมพ์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง:๒๕๓๘) หนา้ ๔

ความรูเ้ บ้ืองต้นเก่ียวกับรฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 19 ส่วนความหมายของ “รฐั ศาสตร”์ นน้ั มีผูใ้ ห้ความหมายไวม้ ากมาย เชน่ บรรพต วรี ะสยั และคณะ๔ ไดใ้ หค้ วามหมายไว้หลายนัย โดยใหค้ ำ� จำ� กัดความดังต่อไปนี้ การเมอื ง หรอื รฐั ศาสตร์ หมายถงึ การดำ� รงชวี ติ ทด่ี ขี องสงั คมหรอื ชมุ ชน โดยยกคำ� จำ� กดั ความ ของอรสิ โตเตลิ ผู้เป็นบดิ าแหง่ รัฐศาสตรว์ ่า “การเมือง ได้แก่ การพยายามที่จะให้ไดม้ าซึ่งการด�ำรง ชวี ติ ที่ดี (Good Life) ของสังคมหรือชุมชน” การศึกษาเร่ืองการเมืองหรือรัฐศาสตร์ ได้แก่ “การเรียนรู้เกี่ยวกับอิทธิพลและผู้มีอิทธิพล” รฐั ศาสตรศ์ กึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปกครอง คอื ในเรอื่ งการสถาปนารฐั และ การจดั ต้ังรฐั บาลขึน้ มา การเมืองศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์ในเรื่องการบังคับบัญชา และถูกบังคับบัญชา การควบคมุ และการถกู ควบคมุ การเปน็ ผู้ปกครองและถกู ปกครอง การเมอื งหรอื รฐั ศาสตร์ ศกึ ษาเกย่ี วกบั ประเดน็ ทมี่ กี ารขดั แยง้ กนั เกยี่ วกบั ผลประโยชนข์ องคน หมูม่ าก ทงั้ ในส่วนทเ่ี กยี่ วกบั กระบวนการที่เกิดขึน้ และการขจดั ขอ้ ขัดแย้งใหห้ มดไป ศาสตราจารย์โวลิน (S.S. Wolin, ๑๙๖๐: ๑๐ – ๑๑) ได้ให้ทรรศนะเก่ียวกับการเมืองหรือ รฐั ศาสตรไ์ ว้ดังนี้ การเมอื งเปน็ กจิ กรรมทมี่ จี ดุ สนใจอยทู่ ก่ี ารแสวงหาผลประโยชนด์ ว้ ยการแขง่ ขนั ในระดบั บคุ คล กลมุ่ คนต่อกล่มุ คน และสงั คมต่อสังคม การเมืองเป็นกิจกรรมซ่ึงเกิดข้ึนในสถานการณ์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและเกิดข้ึนในสภาพท่ี คอ่ นขา้ งขาดแคลน การเมืองเป็นกิจกรรมซ่ึงเกี่ยวกับการแสวงหาผลประโยชน์ อนั มีผลสะทอ้ นต่อคนหมมู่ าก ตามคำ� นิยามของศาสตราจารยโ์ วลนิ น้ี บรรพต วีระสัย และคณะ เหน็ วา่ เปน็ ค�ำจำ� กดั ความ ของการเมืองหรอื รฐั ศาสตรท์ นี่ า่ จะสมบูรณท์ ส่ี ดุ เพราะสามารถครอบคลุมได้ใน ๓ ระดับ ได้แก่ ๔ จริ โชค (บรรพต) วรี ะสัย ดร. สุรพล ราชพัณฑารักษ์ ดร.และสุรพนั ธ์ ทับสวุ รรณ์ ผศ. “รัฐศาสตร์ทัว่ ไป (ฉบบั แกไ้ ขปรับปรงุ )” (กรงุ เทพฯ บริษทั วิคเตอรีเพาเวอรพ์ อยท์ จ�ำกัด:๒๕๒๔) หนา้ ๙-๑๕

20 รัฐศาสตรเ์ บ้อื งต้น ๑. ระดับกลมุ่ ไดแ้ ก่ สมาคม หน่วยงาน สหพันธ์ สันนบิ าต องคก์ าร ชมรม ชุมชน ฯลฯ ๒. ระดับชาติ เกยี่ วกับสังคมทง้ั สังคม เช่น ในเรอื่ งการเลือกตัง้ การแตง่ ต้ังรฐั มนตรี ๓. ระดับนานาชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมหน่ึงต่ออีกสังคมหนึ่ง คือ ระดับ “การเมือง ระหว่างประเทศ” หรือการเมืองระดับโลก (World Politics) ได้แก่ การทูต การเจรจาสันติภาพ การมอี งค์การระหว่างประเทศ การสงคราม ทินพันธุ์ นาคะตะ๕ ได้สรุปความหมายของวิชารัฐศาสตร์หรือศาสตร์ทางการเมืองไว้ว่า เปน็ วชิ าทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั สง่ิ ตา่ ง ๆ หลายอยา่ ง ซงึ่ ไดแ้ ก่ รฐั สถาบนั การปกครอง อำ� นาจ การตดั สนิ ตกลงใจ หรอื นโยบายสาธารณะ ระบบการเมือง และการจดั สรรสง่ิ ที่มคี ณุ คา่ เพือ่ สังคม ปรีชา หงษไ์ กรเลศิ ๖ ไดส้ รุปความหมายไวว้ า่ การเมือง หมายถึง ผลประโยชน์ (Interest) ทั้งน้ีก็เพราะอ�ำนาจ (Power) หรืออิทธิพล (Influence) ก็คือผลประโยชน์ของมนุษย์น่ันเองโดยธรรมชาติจึงเป็นสัตว์แห่งผลประโยชน์ (Animal of Interest) และผลประโยชน์ย่อมครอบคลุมไปถึงผลประโยชน์ทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมกต็ าม การเมอื งก็คือ อำ� นาจ อทิ ธิพล และผลประโยชน์ ค�ำจ�ำกดั ความท่ีวา่ “รัฐศาสตรค์ ือการศกึ ษา ว่าดว้ ยการเมอื ง” (Political Science is the Science of Politics) จึงเท่ากบั เปน็ การศึกษาวา่ ดว้ ย อ�ำนาจ อิทธิพล และผลประโยชน์ ด้วยน่ันเอง โดยที่การเมืองเป็นคุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature) ผลประโยชน์อันย่ิงใหญ่ของมนุษยชาติก็คือการรวมตัวกันเป็นรัฐ (State) รัฐจึงประกอบด้วยกลุ่มของมนุษย์ (A Group of Human Beings) หรือประชากร (Population) อาณาเขตท่ีก�ำหนดไว้แน่นอน (A Fixed Territory) รัฐบาล (Government) และอ�ำนาจอธิปไตย (Sovereignty) ด้วยเหตุนี้ รฐั ศาสตรจ์ ึงอาจหมายถึง “ศาสตร์แหง่ รฐั ” (Science of States) และ “ศาสตร์ แห่งรฐั บาลหรอื การปกครอง” (Science of Government) อีกดว้ ย เพราะท้งั “รัฐ” และ “รฐั บาล” ลว้ นเป็นผลประโยชนข์ องมนุษยท์ ี่มารวมกนั เปน็ รฐั นนั่ เอง ๕ ทินพันธ์ นาคะตะ ดร. “รฐั ศาสตร์ ทฤษฎีความคิด ปญั หาสำ� คัญและแนวศึกษาวิเคราะห์ทางการเมือง” (กรุงเทพฯ จดั พิมพ์ โดยสมาคมรฐั ประศาสนศาสตร์ นิดา้ คร้งั ที่ ๔:๒๕๔๑) หน้า ๑๒-๑๓ ๖ ปรชี า หงษไ์ กรเลิศ รศ. ดร. “รฐั ศาตร์ ๕๐ ปี” (กรงุ เทพฯ จดั พิมพโ์ ดยคณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยมลู นิธสิ ติ เกา่ รัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั :๒๕๔๑) หน้า ๖๑๐

ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกบั รัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) 21 สขุ มุ นวลสกุล และคณะ๗ ได้ใหค้ วามหมายไว้ว่า คำ� วา่ “การเมอื ง” (Politics) และการปกครอง (Government) นน้ั มคี วามหมายทางรฐั ศาสตร์ แตกต่างกัน การเมือง หมายถึง เรื่องเกี่ยวกับการแข่งขันหรือการแสวงหาอ�ำนาจซึ่งส่งผลกระทบต่อ สังคมทั้งสังคมหรือส่วนใหญ่ของสังคม ส่วนการปกครองมีความหมายเก่ียวกับบริหารวางระเบียบ กฎเกณฑ์ส�ำหรับสังคมเพื่อให้สังคมมีความสงบสุข อย่างไรก็ตาม การเมืองและการปกครองก็มี ความเก่ียวข้องเชื่อมโยงกัน เพราะการปกครองหรือการบริหารวางระเบียบกฎเกณฑ์เพื่อให้เกิดการ บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขนั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยอ�ำนาจคือการเมืองจึงจะด�ำเนินการได้ส�ำเร็จ เพราะฉะนั้น การศึกษาเร่ืองการเมืองการปกครองจึงหมายถึงการศึกษาเก่ียวกับองค์กรท่ีใช้อ�ำนาจและระเบียบ กฎเกณฑก์ ารบริหาร จากค�ำจ�ำกัดความดังกล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่า การเมืองหรือรัฐศาสตร์น้ัน หมายถึง การแสวงหาอ�ำนาจและการได้มาซ่งึ อ�ำนาจ เพอ่ื จดั การผลประโยชน์ของคนหมูม่ ากใหบ้ รรลุเป้าหมาย แห่งการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมทุกระดับเพ่ือให้เกิดผลดีมากท่ีสุด และเกิดผลเสียหายน้อยท่ีสุด โดยใช้อ�ำนาจน้ันในรูปแบบของการปกครอง การบริหาร การจัดการ ท้ังในระดับกลุ่ม ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ วชิ ารฐั ศาสตร์ เปน็ ศาสตรท์ ว่ี า่ ดว้ ยรฐั ซง่ึ อยใู่ นหมวดวชิ าสงั คมศาสตร์ เปน็ ศาสตรท์ เี่ กา่ แกม่ าก ศาสตร์หน่ึง ที่กล่าวถึงเร่ืองราวเกี่ยวกับ รัฐ อ�ำนาจรัฐ สถาบันทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง กระบวนการทางการเมือง และพฤติกรรมทางการเมือง ฯลฯ ในภาษาไทยบางคร้ังใช้ค�ำว่า การเมือง หรอื การปกครอง ซึ่งความแตกตา่ งของคำ� ศพั ทท์ ้งั ๓ ค�ำมอี ยูบ่ ้าง แต่ในทางตะวนั ตกใชใ้ นความหมาย ทแี่ ทนกนั ได้ ขอบเขตของวชิ ารัฐศาสตร์ รัฐศาสตร์เป็นแขนงวิชาท่ีมีขอบเขตกว้างขวางมาก เพราะครอบคลุมถึงการศึกษาที่มาและ วิวัฒนาการของรัฐ การอธิบาย การวิเคราะห์และการเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ โครงร่างของรัฐบาล กระบวนการทางเมอื ง ระบบกฎหมาย บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ทใ่ี ชบ้ งั คบั บคุ คล หรอื กลมุ่ องคก์ ารธรุ กจิ ความ สัมพันธ์ในสังคม และการศึกษาพิจารณาถึงหน่วยงานและกระบวนการทางเทคนิคในการบัญญัติ กฎหมาย ใชบ้ งั คบั กฎหมาย ตคี วาม และตดั สนิ คดตี า่ ง ๆ ศกึ ษากจิ กรรมและลกั ษณะของพรรคการเมอื ง ๗ สุขุม นวลสกุล รศ. ดร. วิทยา นภาศริ กิ ลุ กิจ รศ. ดร. และวศิ ิษฐ์ ทวีเศรษฐ รศ. “การเมืองและการปกครองไทย” (กรุงเทพฯ หจก. แสงจันทร์การพมิ พ์:๒๕๓๙) หน้า ๑๑๐

22 รฐั ศาสตรเ์ บือ้ งต้น และกลมุ่ อทิ ธพิ ล วเิ คราะหล์ กั ษณะของมตมิ หาชน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั ในแงข่ องการเมอื ง เศรษฐกจิ วฒั นธรรม และอดุ มการณ์ การกำ� หนดและควบคมุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั โดยการใชก้ ฎหมายระหวา่ ง ประเทศ และองคก์ ารระหวา่ งชาติ พยายามหาขอ้ วนิ จิ ฉยั (Inferences) หรอื กฎทวั่ ไป (Generalization) หรือขอ้ สรปุ เก่ียวกบั รฐั รัฐบาล กฎหมาย และพฤตกิ รรมทางการเมือง ท้งั นี้เพ่อื วา่ อาจใช้เป็นเสมอื น สมมติฐานเพ่ือการค้นควา้ วิจยั ในอนาคต๘ ผเู้ ชยี่ วชาญองคก์ ารศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ องคก์ ารสหประชาชาติ (UNESCO) ไดก้ ำ� หนดขอบเขตของวิชารัฐศาสตรไ์ ว้ดังน๙ี้ ๑. ทฤษฎกี ารเมอื งหรอื ปรชั ญาการเมอื ง (Political Theory or political philosophy) ไดแ้ ก่ ก) ทฤษฎีการเมอื ง (Political Theory) ข) ประวัตคิ วามคดิ ทางการเมอื ง (History of political Ideas) ๒. สถาบันการเมอื ง (Political Institutions) ได้แก่ ก) รัฐธรรมนญู (Constitution) ข) รฐั บาลกลาง (National Government) ค) การปกครองทอ้ งถนิ่ (Local Government) ง) รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) จ) หน้าที่ทางเศรษฐกจิ และสงั คมของรฐั บาล (Economics and Social Function of Government) ฉ) สถาบนั การเมอื งเปรียบเทยี บหรือรฐั บาลเปรยี บเทียบ (Comparative political Institution or Comparative Government) ๓. พรรคการเมือง กล่มุ อทิ ธิพลและมตมิ หาชน (Political parties, pressure Groups and public opinion) ไดแ้ ก่ ๘ จรญู สุภาพ “หลกั รฐั ศาสตร์” (ฉบับปรับปรุงแกไ้ ขใหม่ คร้ังที่ ๒) (กรงุ เทพฯ บรษิ ัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานชิ จ�ำกัด:๒๕๒๒) หนา้ ๒ ๙ นิพนธ์ ศศธิ ร ศ. ดร. “หลกั รฐั ศาสตร์” (เชยี งใหม่ โรงพมิ พส์ ยามการพิมพ:์ ๒๕๓๑) หน้า ๖

ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกบั รัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) 23 ก) พรรคการเมอื ง (Political party) ข) กลุ่มและสมาคมต่างๆ (Groups and Association) ค) บทบาทของประชาชนในทางการเมืองและการบริหาร (Participation of the citizen in the Government and Administration) ๔. ความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ไดแ้ ก่ ก) การเมืองระหว่างประเทศ (International politics) ข) องคก์ ารและการบรหิ ารงานระหวา่ งประเทศ (International organization and Administration) ค) กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law) ส่วนสภาวิจัยแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ขอบเขตวิชารัฐศาสตร์ไว้ ดังน๑้ี ๐ ๑. ทฤษฎีการเมืองและประวัติความคิดทางการเมือง (Political Theory and History of political Thought) กลุ่มนี้วิจัยทฤษฎีต�ำราและความคิดเห็นส�ำคัญต่าง ๆ ต้ังแต่สมัยโบราณจนถึง ปจั จบุ นั เพ่ือจะทราบถงึ เหตผุ ลรวมทัง้ การต่อเนื่องกนั ของสถาบันทางการเมือง ๒. สถาบันทางการเมือง (Political Institution) กลุ่มน้ีเจาะจงวิจัยและนิยามระบบองค์ ประกอบ และอ�ำนาจของสถาบันการเมือง รวมทั้งนโยบายการจัดตั้งและโครงร่างการปกครอง ของรัฐ (รวมท้ังการปกครองส่วนท้องถิ่น และการปกครองเปรียบเทียบระหว่างรัฐ (Comparative Government) ๓. กฎหมายสาธารณะ (Public Law) ๔. พรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพลและประชามติ (Political party, pressure Groups and public opinion) กลุ่มน้ีพิจารณาถึงบทบาทจุดประสงค์การจัดตั้งและผลของพรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพลและประชามติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในความพยายามท่ีจะมีอิทธิพลต่อสถาบันการเมือง รวมทัง้ การประเมินผลการใช้ปัจจยั ทงั้ นี้โดยนกั การเมือง ๕. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือการจดั การกำ� ลังคน เงิน และวตั ถใุ น อันท่ีจะปฏิบัติให้เป็นตามเจตจ�ำนงของการปกครองของรัฐ กลุ่มนี้จึงเก่ียวข้องโดยเฉพาะอย่างย่ิงกับ ๑๐ เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์ หลกั รฐั ศาสตร์ (กรงุ เทพฯ โรงพิมพ์สมาคมสังคมสงเคราะห์แหง่ ประเทศไทย:๒๕๑๕)

24 รฐั ศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ การปฏบิ ัติ (Execution) ให้เปน็ ไปตามอดุ มคติและจุดประสงค์ของรัฐอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และไดผ้ ล มากทส่ี ุด ๖. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ (International Relations) กลมุ่ นพ้ี จิ ารณาเกย่ี วกบั นโยบาย หลกั การ และวธิ กี ารในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั แขนงวชิ าทร่ี วมอยใู่ นกลมุ่ น้ี ไดแ้ ก่ นโยบายตา่ งประเทศ การเมอื ง และการบรหิ ารประเทศ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ กฎหมายระหวา่ งประเทศ และการด�ำเนนิ งานทางการทูต ทนิ พนั ธุ์ นาคะตะ ไดเ้ ขียนไวใ้ นหนังสอื รัฐศาสตร์ ว่า รฐั ศาสตรม์ ีววิ ฒั นากรที่ต่อเนอ่ื งยาวนาน และเปน็ วชิ าทมี่ ขี อบเขตการศกึ ษากวา้ งขวางทำ� ให้ รฐั ศาสตรเ์ กดิ สาขาวชิ าเฉพะตา่ ง ๆ ขน้ึ เปน็ จำ� นวนมาก ซึง่ อาจแบง่ สาขาวชิ าเฉพาะของรัฐศาสตร์ออกเป็นกลุ่มไดด้ ังนี้ ๑. ทฤษฎีการเมืองและประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง (Political Theory and History of Political Thought) รวมถงึ ปรชั ญาการเมอื ง (Political Philosophy) ดว้ ย เปน็ การศกึ ษา เกย่ี วกบั ทฤษฎี ความคดิ และความเชอื่ ทางการเมอื งของนกั คดิ หรอื บคุ คลกลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ ในสมยั ตา่ ง ๆ ตง้ั แตอ่ ดตี ทผี่ า่ นมาจนถงึ ปจั จบุ นั ทฤษฎกี ารเมอื งเปน็ สาขาวชิ าทม่ี รี ากฐานมาจากวชิ าปรชั ญาทางสงั คม หรอื ความคิดทางการเมือง ซ่ึงกว่าจะแยกตวั ออกจากปรชั ญาทางสังคมได้กต็ ้องใช้เวลายาวนาน ท�ำให้ การศกึ ษารฐั ศาสตรไ์ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากวชิ าปรชั ญาเปน็ อยา่ งมาก โดยปกตนิ กั ปราชญส์ ว่ นมากจะมงุ่ เสนอ มาตรฐานทางศีลธรรมส�ำหรับการวิเคราะห์ปัญหาและส�ำหรับการสร้างภาพพจน์ของสังคมท่ีดี นกั ปราชญท์ างการเมอื งจงึ พยายามคดิ สรา้ งเปา้ หมายและการจดั ระเบยี บทางสงั คมเสยี ใหม่ รวมทง้ั หา ทางเสนอแนะแนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิและแนวทางในการก�ำหนดนโยบายให้แกส่ ังคม๑๑ ต่อมา ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ วิชารัฐศาสตร์ได้เริ่มก้าวไปสู่การเป็นศาสตร์สาขาหนึ่งแยกออกจากวิชา ปรัชญาและมีพฒั นาการไปส่สู าขาวชิ าทมี่ ลี ักษณะมุ่งเน้นไปท่กี ารสงั เกต เก็บข้อมูล และนำ� ขอ้ เท็จจรงิ มาโยงหาความสมั พนั ธเ์ พอื่ แสวงหาทฤษฎที างการเมอื งทจี่ ะสามารถใชอ้ ธบิ าย ตอบขอ้ สงสยั และทำ� นาย เหตกุ ารณท์ างการเมอื งทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นทกุ ภมู ภิ าค แมว้ า่ ในปจั จบุ นั จะยงั ไมม่ ที ฤษฎที างการเมอื ง ทฤษฎีใดท่ีถือว่าเป็นทฤษฎีที่แท้จริง แต่แนวคิดเพ่ือการแสวงหาทฤษฎีการเมืองก็ท�ำให้สาขาวิชา รัฐศาสตร์มีทิศทางและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้นกว่าในอดีต มีการน�ำสหวิทยาการ (Interdisciplinary) เข้ามาร่วมในการศึกษา โดยมุ่งหวังที่จะอธิบาย ตอบปัญญา และคาดการณ์ ทางรฐั ศาสตร์ให้ได้ เพอ่ื การพัฒนาไปสคู่ วามเป็นทฤษฎีทางการเมืองอยา่ งแท้จรงิ ๑๑ ทินพันธ์ นาคะตะ “รัฐศาสตร์” ใน สมบัติ จันทวงศ์ (บรรณาธิการ) รัฐศาสตร์ : สถานภาพและพัฒนาการ พิมพ์คร้ังที่ ๒ กรงุ เทพฯ:(บรรณกิจ ๒๕๒๕) น.๑๗

ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 25 ๒. การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics) เป็นสาขาวิชารัฐศาสตร์ที่เก่าแก่พอ ๆ กับสาขาทฤษฎีการเมอื ง การศกึ ษาการเมอื งเปรียบเทียบในเบ้อื งตน้ เปน็ การพรรณนาเก่ยี วกบั สถาบัน ต่าง ๆ โดยเน้นไปท่ีสถาบันที่เป็นทางการ ยึดกรอบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบตะวันตก เท่าน้ัน จึงเปน็ ไปในลักษณะการศกึ ษารัฐบาลเปรียบเทียบ (comparative government) ที่มุ่งศึกษา รัฐศาสตร์ของประเทศต่าง ๆ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบกันซึ่งมักเป็นการศึกษาท่ีมีขอบเขตเฉพาะรัฐบาล ในประเทศแถบยุโรปและสหรัฐเท่านั้น จนต่อมาภายหลังเมื่อสาขาวิชารัฐศาสตร์ได้รับอิทธิพลของ การศกึ ษาสาขาพฤตกิ รรมศาสตรม์ ากขน้ึ โดยเฉพาะในชว่ งหลงั สงครามโลกครงั้ ทส่ี องทำ� ใหค้ วามสนใจ การเมอื งเปรยี บเทยี บทเ่ี คยศกึ ษาอยใู่ นกรอบของการเปรยี บเทยี บรฐั บาลในแตล่ ะประเทศไมเ่ พยี งพอที่ จะตอบคำ� ถามของนกั รฐั ศาสตรไ์ ด้ จงึ มกี ารขยายขอบเขตการศกึ ษาการเมอื งเปรยี บเทยี บครอบคลมุ ไป ถึงระบบการเมืองทั้งในระบบท่ีการเมืองเป็นประชาธิปไตยและระบบการเมืองอ่ืน ๆ ที่แตกต่างกัน ออกไป ซึ่งการศึกษาการเมืองเปรียบเทียบในช่วงหลังเป็นการศึกษาเปรียบเทียบการเมืองท้ังระบบ รวมทงั้ สถาบนั ทเี่ ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ อกี ทง้ั มกี ระบวนการศกึ ษาทเี่ ปน็ สหวทิ ยากรมากขน้ึ เชน่ การใชเ้ ทคนคิ วธิ ใี หม่ ๆ ในการสำ� รวจและเกบ็ ขอ้ มลู ใชร้ ะบบคอมพวิ เตอรใ์ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เปน็ ตน้ ๓. รฐั ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เปน็ สาขาทศ่ี กึ ษาถงึ การบรหิ ารกจิ การของ รฐั ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณข์ องการปกครองรฐั รวมทงั้ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลใหม้ ากทส่ี ดุ เพราะรัฐบาลในยุคปัจจุบันมลี ักษณะคล้ายกับองคก์ ารธรุ กิจทมี่ ีขนาดใหญ่ จึงต้องมกี ารบรหิ ารทีด่ เี พ่ือ ให้การปฏิบัติงานบรรลุผลส�ำเร็จและได้ผลงานออกมาอย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงให้มีประสานงาน การจดั การ และการควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี ขอ้ ทน่ี า่ สงั เกตประการหนง่ึ กค็ อื แมส้ าขาวชิ า รัฐประศาสนศาสตร์จะมีต้นก�ำเนิดมาจากวิชารัฐศาสตร์ก็ตาม แต่ในช่วงหลังการศึกษาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์กลับมีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์ค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะในเร่ืองของแนวคิด และระเบยี บวธิ ใี นการศกึ ษา ในทางตรงขา้ มวชิ ารฐั ประศาสนศาสตรก์ ลบั ไปมคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ กับสาขาวิชาอื่น ท้ังน้ีอาจเพราะวิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์ท่ีต้องหยิบยืมแนวคิด และความรมู้ าจากศาสตรใ์ นสาขาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะศาสตรใ์ นกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรส์ งั คม (social science) ๔. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ (International Relations) เป็นสาขาวชิ าทศี่ ึกษาในดา้ น นโยบาย หลักการ และวธิ กี ารในการด�ำเนินกจิ การด้านความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ในช่วงแรกของ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะเป็นการศึกษาถึงประวัติการทูต และอิทธิพลหรือสิ่งจูงใจ เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จึงเป็นไปในลักษณะของการเน้นท่ีประวัติศาสตร์ นโยบาย และสถาบัน ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาไปสู่การศึกษาในเชิงพฤติกรรมศาสตรม์ ากขึน้ เช่น การศึกษาในเร่อื ง พฤติกรรมการตัดสินใจ การสร้างสันติภาพ การรวมตัวกันของประเทศประชาคม เป็นต้น สาขาวิชา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้รับความสนใจอย่างสูงภายหลังเกิดสงครามโลกครั้งที่หน่ึง สาเหตุท่ี สำ� คญั ประการหนงึ่ กค็ อื เปน็ การศกึ ษาเพอื่ การกา้ วไปสเู่ ปา้ หมายสงู สดุ ในการสรา้ งสนั ตภิ าพใหแ้ กม่ วล

26 รฐั ศาสตร์เบื้องต้น มนุษยชาติ จนในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ให้ความสนใจในด้าน การเมอื งระหวา่ งประเทศมากขนึ้ มกี ารนำ� แนวความคดิ เรอื่ งอำ� นาจมาเปน็ แนวทางทส่ี ำ� คญั ในการศกึ ษา และวิเคราะห์เพ่ือใช้ในการอธิบายเก่ียวกับการเมืองระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์แขนงน้ีจึงต้องอาศัย ความรใู้ นเชงิ สหวทิ ยาการคอื ทงั้ สาขาวชิ ารฐั ศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าอนื่ มาประกอบดว้ ย เชน่ เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และจติ วทิ ยา เป็นตน้ ๕. กฎหมายสาธารณะ หรือกฎหมายมหาชน (Public Laws) เป็นกฎหมายที่ก�ำหนดความ สัมพันธ์ระหว่างรัฐ หน่วยการปกครองของรัฐ และรัฐกับประชาชน เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายรฐั ธรรมนญู กฎหมายปกครอง เป็นต้น การศกึ ษาของกลุ่มสาขาวิชานจ้ี ึงเป็นการศึกษาเก่ยี ว กับอ�ำนาจ และขอบเขตแห่งอ�ำนาจของรัฐ การควบคุมกิจกรรมของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลโดยรัฐ รวมท้งั การแก้ไขปัญหาความขดั แยง้ ระหวา่ งบุคคลกบั รฐั กฎหมายมหาชนจงึ มรี ากฐานมาจากปรชั ญา แห่งกฎหมาย เพ่ือช่วยให้สามารถวิเคราะห์ระบบหรือแบบแผนแห่งกฎหมายได้อย่างลึกซึ้ง อันจะท�ำ เข้าใจถึงรัฐและการใช้อ�ำนาจรัฐได้ดียิ่งขึ้น เพราะกฎหมายกับรัฐเป็นสิ่งท่ีแยกออกจากกันไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากรัฐทุกรัฐต้องมีการบัญญัติกฎหมายข้ึนใช้ภายในอาณาเขตของตน อันรวมความถึง การบัญญัติกฎหมายระหว่างรัฐอีกด้วย นอกจากน้ียังศึกษาถึงปัญหาในการแบ่งแยกอ�ำนาจอธิปไตย ความสัมพันธ์ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ อ�ำนาจหน้าที่ของอ�ำนาจตุลาการ และปัญหาการบังคับใช้ กฎหมาย จึงอาจกลา่ วไดว้ า่ การศกึ ษาวิชารฐั ศาสตร์นน้ั ส่วนหนึ่งจะตอ้ งเริม่ ตน้ ดว้ ยการศกึ ษาเก่ยี วกบั กฎหมายสาธารณะหรอื กฎหมายมหาชน และในปจั จบุ นั กฎหมายสาธารณะหรอื กฎหมายมหาชนยงั คง เป็นสาขาหนึ่งของรัฐศาสตร์อีกด้วย เพราะกิจกรรมเกือบทุกอย่างของรัฐบาลย่อมจะต้องมีความ เกี่ยวขอ้ งอยู่กบั กฎหมายดว้ ยเสมอ๑๒ การกำ� หนดขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ วิวัฒนาการของวิชารัฐศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ในช่วงระหว่าง สงครามโลกคร้ังที่ ๒ ไดม้ ีการเปลีย่ นแปลงปรับปรงุ แขนงวิชาเฉพาะ (Specialization) ทางรัฐศาสตร์ โดยแบ่งวชิ ารฐั ศาสตรอ์ อกเป็น ๘ แขนงใหญ่ ๆ ดังนี้ ๑. ทฤษฎีหรอื ปรัชญาทางการเมอื ง (Political theory or philosophy) ๒. พรรคการเมอื ง มตมิ หาชน และกลมุ่ อทิ ธพิ ล ซง่ึ รวมเรยี กวา่ แขนงวชิ า political dynamics ๓. กฎหมายทีเ่ กย่ี วกบั สาธารณะ (Public Law) หรอื กฎหมายมหาชน ๔. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ๑๒ ทนิ พนั ธ์ นาคะตะ อ้างแล้วหนา้ ๒๐

ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ยี วกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 27 ๕. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ (International Relations) ซง่ึ รวมถงึ การทตู (diplomacy) การเมืองระหว่างประเทศ (International Politics) กฎหมายระหวา่ งประเทศ (International Law) องคก์ ารระหวา่ งประเทศ (International Organization) ๖. การปกครองเปรียบเทียบ (comparative government) ๗. สภานิตบิ ญั ญัติ (legislature) และการออกกฎหมาย (legislation) ๘. รัฐบาล (government) และการธุรกิจ (business) ปจั จบุ นั เปน็ ทย่ี อมรบั กนั แลว้ วา่ รฐั ศาสตรเ์ ปน็ ศาสตรท์ ศ่ี กึ ษาเกยี่ วกบั การเมอื ง ระบบการเมอื ง กระบวนการและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทมี่ ผี ลตอ่ การจดั สรรหรอื แบง่ ปนั สงิ่ ทม่ี คี ณุ คา่ เพอ่ื สงั คม เมอื่ เปน็ เชน่ น้ี ขอบข่ายของการศึกษาจึงครอบคลุมต้ังแต่เร่ืองของการศึกษาการเมืองภายในสังคมใดสังคมหน่ึง การศกึ ษาการเมอื งและระบบการเมอื งภายนอกสงั คม ไปจนกระทัง่ ถึงการศึกษาทฤษฎกี ารเมือง ๑. การเมืองภายในสังคม มุ่งให้ความสนใจต่อสถาบันและกระบวนการต่าง ๆ ของระบบ การเมือง ดังนั้นเนื้อหาสาระของการศึกษาจึงประกอบไปด้วยสถาบันการเมือง กระบวนการทาง การเมอื ง การศกึ ษาพฤตกิ รรมทางการเมอื งของบคุ คลโดยทว่ั ไป การศกึ ษาพฤตกิ รรมทางการเมอื งของ กลมุ่ การเมอื ง การปกครองทอ้ งถน่ิ กฎหมายมหาชน และรัฐประศาสนศาสตร์ ๒. การศึกษาการเมืองภายนอกสังคม ได้รวมการศึกษาการเมืองเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศเขา้ ไวด้ ้วยกัน ๓. การศกึ ษาทฤษฎกี ารเมอื ง ซงึ่ มปี ระโยชนใ์ นดา้ นการชว่ ยทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ กรอบความคดิ ทำ� ให้ เข้าใจเก่ียวกับส่ิงต่าง ๆ ที่เป็นอยู่ นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ท่ีช่วยให้เข้าใจถึงปรากฏการณ์ ตา่ ง ๆ ทางการเมอื ง การศกึ ษาทฤษฎที างการเมอื งในปจั จบุ นั ตอ้ งใหค้ วามสนใจทงั้ ทฤษฎกี ารเมอื งแบบ เก่าและแบบใหม่ เพราะทัง้ ๒ ทฤษฎีต่างมคี วามสำ� คญั และจำ� เป็นส�ำหรับความเขา้ ใจในชีวติ การเมอื ง ของมนษุ ย์ มอร์เรียน (Irish D. Morian) ได้ก�ำหนดขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ไวด้ ังน้ี ๑. การเมืองท่ัวไปประกอบด้วย พรรคการเมือง การเลือกต้ัง พฤติกรรมทางการเมืองต่าง ๆ รวมทง้ั พฤตกิ รรมทางการเมอื งเปรียบเทยี บ ๒. ทฤษฎีการเมอื ง ได้แก่ ทฤษฎีการเมอื งและปรชั ญาการเมือง ๓. การเมอื งเปรยี บเทยี บ ไดแ้ กก่ ารศกึ ษาถงึ การปกครองเปรยี บเทยี บ และการเมอื งเปรยี บเทยี บ เชน่ ศึกษาถึงสถาบนั และพฤติกรรมทางการเมืองในประเทศท่กี �ำลังพัฒนาโดยน�ำมาเปรียบเทยี บกนั

28 รัฐศาสตร์เบ้ืองตน้ ๔. การเมอื งการปกครองในประเทศ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาถงึ การเมอื งและการปกครองของประเทศ ของตนโดยเฉพาะ เชน่ การศึกษาถึงรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถ่นิ ของประเทศของตน ๕. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาถงึ กฎหมายระหวา่ งประเทศ ความสมั พนั ธ์ ระหว่างประเทศ การเมืองระหวา่ งประเทศ และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ๖. กฎหมาย ได้แก่ การศึกษาถึงกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน ประวัติกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการตา่ ง ๆ ทางกฎหมาย ๗. รัฐประศาสนศาสตร์ ได้แก่ การศึกษาถึงการพัฒนาการบริหารประเทศ การวิเคราะห์ นโยบายการคลงั ตลอดจนการศกึ ษาถึงนโยบายทางรัฐประศาสนศาสตรเ์ ปรียบเทยี บ ๘. ทว่ั ไป ไดแ้ ก่ การศกึ ษาถงึ สภาพทว่ั ไปเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กย่ี วกบั รฐั บาล หรอื การบรหิ าร งานของรัฐบาล เชน่ การขยายผงั เมือง การปกครองนคร และสงั คมวทิ ยาการเมือง เปน็ ตน้ ถึงแม้ว่า การก�ำหนดขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ตามทัศนะของนักรัฐศาสตร์แต่ละท่านจะ แตกต่างกันบ้าง แต่การก�ำหนดขอบข่ายของวิชารัฐศาสตร์น้ีก็ยังมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน เพราะจะทำ� ให้ผทู้ ีศ่ กึ ษาไดท้ ราบเนือ้ หาสาระไดเ้ ป็นอยา่ งครอบคลุมและชดั เจน แนวการศึกษารัฐศาสตร์ แนวการศึกษารัฐศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับการเมืองเร่ิมต้นเม่ือใดไม่ปรากฏแน่ชัด แต่ก็ อาจจะอนุมานไดว้ ่า รฐั ศาสตร์ไดเ้ ร่ิมตน้ มาประมาณหา้ ร้อยปีก่อนคริสต์ศักราช โดยถอื เอาผลงานของ โสเกรตีส ซง่ึ เป็นปรชั ญาเมธชี าวกรกี (๓๙๙-๔๖๙ ปกี อ่ นครสิ ตศ์ ักราช) ไดต้ ง้ั ค�ำถามท่เี กยี่ วกับอะไรคอื ความดี อะไรคือความกล้าหาญ และอะไรคือความยุติธรรม เพื่อหาค�ำตอบโดยการใช้การสนทนาเป็น แนวทางในการศึกษาเนื้อหาสาระส�ำคัญของการศึกษารัฐศาสตร์ในยุคปรัชญาการเมือง (moral philosophy) คือสาระเก่ียวกับความคิดทางการเมืองของนักปรัชญาการเมืองต่าง ๆ ซึ่งจะเก่ียวข้อง กับปรัชญาทางศีลธรรมและจริยธรรมท่ีมีลักษณะเป็นมาตรฐานสากล ได้แก่ความคิดของเพลโต อรสิ โตเตลิ จวบจนกระทัง่ คารล์ มารก์ ซ์ การมองการเมืองแบบปรัชญานี้ ได้มีการด�ำเนินต่อมาจนถึงยุคที่การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยไดก้ ำ� เนดิ ขน้ึ สถาบนั ทางการเมอื งเกดิ ขน้ึ ใหม่ รวมทงั้ สถาบนั ทางความคดิ ทางนติ ศิ าสตร์ เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดในระบอบประชาธิปไตย การศึกษาการเมือง ก็หันมาเน้นท่ีตัวบทกฎหมายซ่ึงได้แก่รัฐธรรมนูญ และการวิเคราะห์เปรียบเทียบสถาบันทางการเมือง ได้แก่ สถาบันนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ การใช้แนวการศึกษาแบบดังกล่าวนี้เรียกว่า Legal Institutional Approach และสงิ่ ทน่ี ยิ มทำ� กนั มากทสี่ ดุ กค็ อื การเปรยี บเทยี บรฐั ธรรมนญู ของประเทศ

ความรเู้ บอื้ งต้นเกย่ี วกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 29 ตา่ ง ๆ และเปรยี บเทยี บสถาบนั ทางการเมอื งทง้ั สามเพอ่ื จะดวู า่ ประเทศใดมลี กั ษณะเปน็ ประชาธปิ ไตย หรอื ไมอ่ ยา่ งไร ภายใต้การศึกษาดงั กล่าวนกี้ ็แฝงอยู่ด้วยปรัชญาของเสรนี ิยม และมจี ดุ มงุ่ หมายท่ีจะให้ มกี ารปรบั ปรุงใหส้ ังคมทัว่ ไปได้มรี ะบอบประชาธิปไตย แนวการศกึ ษาการเมอื งแนวล่าสดุ เรม่ิ เกิดเม่อื ราวปี ค.ศ. ๑๙๒๘ และไดเ้ จรญิ แพรห่ ลายยงิ่ ขนึ้ ภายหลงั สงครามโลกครงั้ ทส่ี อง เนน้ วธิ กี ารมองการเมอื ง ในแงพ่ ฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นวถิ ที างของการเมอื ง โดยใชห้ ลกั วทิ ยาศาสตรห์ รอื ทเี่ รยี กวา่ Behaviorism approach การศกึ ษารฐั ศาสตรเ์ ชงิ พฤตกิ รรมไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในวธิ กี ารศกึ ษาทางรฐั ศาสตร์ ได้น�ำเอาวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์มาประยุกต์ใชร้ วมทั้งได้น�ำเอาวธิ กี ารของศาสตรแ์ ขนงอื่น ๆ เข้ามาใช้ ประกอบในการศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางการเมือง แนวทางในการศึกษาทางรัฐศาสตร์ ความเช่ือพื้นฐานของแต่ละกลุ่มต่างก็ยึดแนวทางในการศึกษาทางรัฐศาสตร์ ท่ีแตกต่างกัน ตา่ งกพ็ ยายามอธบิ ายวา่ แนวทางของตนนน้ั เหมาะสมทสี่ ดุ และใหป้ ระโยชนม์ ากทส่ี ดุ จนทำ� ใหเ้ กดิ ความ สับสนแกผ่ ูศ้ กึ ษาอยเู่ ปน็ อันมาก นอกจากนัน้ วิชารัฐศาสตร์ก็มีขอบข่ายกวา้ งขวาง ท�ำให้การศกึ ษาถงึ ความเขา้ ใจในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ ตอ้ งใชเ้ ทคนคิ และแนวทางทเี่ หมาะสมจงึ จะสามารถทำ� ความเขา้ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง แนวทางสำ� คัญทีน่ ักรฐั ศาสตร์ใช้ศกึ ษาในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ แนวทางระบบ แนวทางอ�ำนาจ แนวทาง สื่อสาร แนวทางจิตวิทยาการเมือง แนวทางการตัดสินใจและทฤษฎีเกม แนวทางนโยบายสาธารณะ แนวทางชีวการเมือง และแนวทางภูมิรัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตาม แนวทางในการศึกษาทางรัฐศาสตร์สามารถแบ่งออกได้อย่างกว้าง ๆ เป็น ๓ แนวทางตามลักษณะที่นักรัฐศาสตร์นิยมใช้กันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในลักษณะส�ำนัก หรือกลุ่ม คือ แนวทางปรัชญาการเมือง (Classical Political Philosophy) แนวทางโครงสร้างนิยม (Structuralism) และแนวทางพฤติกรรมศาสตร์ (Behaviorism) แนวทางปรชั ญาการเมือง เปน็ แนวทางเกา่ แก่ มงุ่ ศกึ ษาธรรมชาตขิ องระบบการเมอื งทดี่ ที ส่ี ดุ เนอ้ื หาจงึ อยใู่ นลกั ษณะของ ความควรหรอื ไมค่ วร อะไรดี อะไรเลว ซง่ึ ไมส่ ามารถพสิ จู นห์ รอื ตรวจสอบไดว้ า่ อะไรดที สี่ ดุ หรอื เลวทสี่ ดุ จ�ำเป็นต้องเอามาตรการทางจริยธรรมหรือศีลธรรมเข้ามาเป็นตัวก�ำหนดไว้เป็นเน้ือหาส�ำคัญของการ ศึกษารัฐศาสตร์ควบคู่ไปกับข้อเท็จจริงโดยท่ัวไป ซึ่งนับเป็นความแตกต่างจากลักษณะของรัฐศาสตร์ ส่วนใหญใ่ นปัจจบุ นั ทเ่ี น้นการทำ� ความเขา้ ใจกับสิ่งทเ่ี ปน็ อยจู่ ริง การท่ีนักปราชญ์การเมืองโบราณถามค�ำถามอุดมคติ ก็เพื่อที่จะได้หาทางปรับการด�ำรงชีวิต ของมนษุ ย์ให้ใกลเ้ คยี งกบั อุดมคติ นอกจากนั้นตวั นักปรัชญาการเมืองโบราณกม็ ิได้ละทิ้งการตงั้ คำ� ถาม

30 รัฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น ว่าอะไรคือส่ิงท่ีเป็นอยู่จริงไปเสียหมด ดังจะเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างงานของเพลโต กับงาน ของมาเคียเวลลี เพลโต เนน้ การพจิ ารณาทีจ่ ติ ใจมนุษย์ โดยมองว่าคนเราแบ่งออกเปน็ ๓ ประเภท คอื คนท่ีมี เหตุผล คนที่มจี ิตใจม่งุ มน่ั และคนที่มแี ต่ความหิวกระหาย การปกครองทดี่ ีจะต้องท�ำเพ่ือผลประโยชน์ ของผู้ท่ีอยู่ในความปกครอง และการปกครองจะดีได้ก็ด้วยการมอบหน้าที่ให้แก่บุคคลแต่ละประเภท ตามความเหมาะสม กลา่ วคอื คนทมี่ เี หตผุ ลควรเปน็ ผปู้ กครอง คนทมี่ จี ติ ใจมงุ่ มน่ั เปน็ ผชู้ ว่ ยในการบรหิ าร ประเทศ สว่ นคนทมี่ แี ตค่ วามตอ้ งการ ควรเปน็ ผผู้ ลติ สนิ้ คา้ และบรกิ ารตา่ ง ๆ การจดั การแบง่ งานกนั ทำ� เช่นน้ี จะท�ำให้คนดีและระบบท่ีดีมาบรรจบกันพอดี จะเห็นได้ว่า ทฤษฎีของเพลโตเป็นเพียงความคิด เห็นเทา่ น้นั มไิ ด้มกี ารส�ำรวจตรวจสอบโลกแหง่ ความเป็นจรงิ ส่วนมาเคียเวลลี พูดถึงชีวิตทางการเมืองตามที่เป็นจริงจากประสบการณ์ของเขา เขาเห็นว่า แรงจูงใจเบื้องหลังพฤตกิ รรมทางการเมืองต่าง ๆ ก็คือความตอ้ งการทีจ่ ะใช้อำ� นาจ ดงั นนั้ จงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องค�ำนึงถึงศีลธรรมหรือความดีงาม การศึกษาการเมืองควรเป็นการศึกษาเก่ียวกับเทคนิคในการใช้ อำ� นาจใหไ้ ดผ้ ล มงุ่ เนน้ ทปี่ ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ ความชอบธรรม เขาเสนอวา่ คนสว่ นนอ้ ยทสี่ ามารถเปน็ ผู้ปกครองและอยู่ในอ�ำนาจได้ก็เพราะเขามีอ�ำนาจในโครงสร้างสังคม ท่ีเข้าถึงข่าวสารได้มากกว่า จึงสามารถกระท�ำตนได้อย่างมีเหตุมีผลมากกว่าคนท่ัวไปท่ียังไม่สนใจการเมือง มาเคียเวลลีใช้การ สังเกตการณ์และกรณีตัวอย่างในประวัติศาสตร์เพื่อสนับสนุนข้อสรุปของเขา เป็นการเสนอระบบ การเมืองท่ีดีจากความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นไปในความเป็นจริงมากกว่าใน ลักษณะของความถกู ความควร ข้อดแี ละข้อจำ� กัดของแนวทางปรชั ญาการเมอื ง ปรชั ญาการเมอื งซง่ึ นยิ มศกึ ษากนั ในสมยั โบราณ ไดเ้ สอ่ื มความนยิ มลงไปมากในครสิ ตศ์ ตวรรษ ท่ี ๒๐ ทงั้ นเี้ พราะนกั รฐั ศาสตรใ์ นปจั จบุ นั พบวา่ ปรชั ญาการเมอื งขาดหลกั ฐานจากการศกึ ษาเชงิ ประจกั ษ์ (Empirical Evidence) สนับสนุน แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าผิด เนื่องจากไม่สามารถทดสอบทฤษฎี จากสภาพความเป็นจริงในสังคมได้อย่างชัดเจน ท�ำให้นักรัฐศาสตร์ในปัจจุบันไม่สร้างทฤษฎีการเมือง คลาสสิกขึ้น แต่จะศึกษาปรัชญาการเมืองในแง่ประวัติศาสตร์ ความคิดการเมืองท่ีนักรัฐศาสตร์ไม่ สามารถคดิ คน้ ปรัชญาการเมืองข้นึ ไดใ้ นปจั จุบนั นั้น คอื ข้อจำ� กดั ของแนวทางปรชั ญาการเมืองน่ันเอง ส่วนข้อดีก็คือ ปรัชญาการเมืองช่วยสร้างความเข้าใจในจุดเช่ือมต่อระหว่างจริยศาสตร์กับ การเมอื ง คอื ปรชั ญาการเมอื งจะชว่ ยชแ้ี นะแนวทางในการศกึ ษาพจิ ารณาในการเผชญิ กบั ปญั หาตา่ ง ๆ เชน่ การสงคราม ปญั หาทางเชื้อชาติ ปญั หาความยากจน ปญั หาความยุติธรรม ฯลฯ

ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ียวกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 31 แนวทางโครงสร้างนยิ ม เป็นการศึกษาโครงสร้างทางการเมือง โดยเน้นที่สถาบันอันเป็นโครงสร้างทางการเมือง ซง่ึ แนวทางโครงสรา้ งนยิ ม ไดแ้ บง่ ออกเปน็ ๒ กลมุ่ คอื กลมุ่ วเิ คราะหส์ ถาบนั และกลมุ่ วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง หน้าที่ โดยกลมุ่ วิเคราะหส์ ถาบัน จะเนน้ การจดั สถาบันทางการเมืองให้ปฏิบัตหิ น้าทไี่ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม และกลุ่มวิเคราะห์โครงสร้างหน้าท่ี จะเน้นการแจกแจงโครงสร้างในอุดมคติที่จะสร้างเสถียรภาพของ ระบบ แนวการวเิ คราะห์แบบโครงสรา้ งมสี มมตฐิ านทส่ี ำ� คญั ๓ ประการ คือ ๑. การพิจารณาสังคมเป็นหน่วย (Unit) ซึ่งมีองค์ประกอบหลายส่วนท่ีต่างมีความสัมพันธ์ ต่อกัน เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีที่เฉพาะเจาะจง ส่วนต่างๆ เหล่าน้ีท�ำหน้าที่เพ่ือด�ำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพ และ ความสมดุลของระบบสังคม ดังนั้นการวิเคราะห์หน้าที่ของโครงสร้างต่าง ๆ จึงเป็นการพิจารณาถึง บทบาทท่ีเอ้ืออำ� นวยให้ระบบสงั คมอยูไ่ ด้ ๒. การพิจารณาว่า ระบบสังคมมีองค์ประกอบหลายส่วน ซ่ึงแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์ (Relation) และปฏิสมั พันธ์กัน (Interaction) มกี ารปฏิบตั หิ น้าท่เี พอื่ มุง่ ที่จะกอ่ ใหเ้ กิดเสถียรภาพของ ระบบ โดยมีกลไกในระบบ ซ่ึงคอยจัดการแก้ไขกับพฤติกรรมท่ีเบ่ียงเบนไปจากบรรทัดฐาน (norm) ทางสงั คม ดงั นนั้ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมในทศั นะของนกั คดิ ทยี่ ดึ ถอื แนวการวเิ คราะหแ์ บบโครงสรา้ ง หน้าท่ี จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป มิใช่การเปล่ียนแปลงอย่างฉับพลัน นั่นคือการ เปลย่ี นเป็นกระบวนการที่ทุกๆ ส่วนของระบบสงั คมสามารถปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสภาพการณใ์ หม่ได้ ๓. ในสังคมย่อมมีเป้าหมายกว้างๆ และหลักการซ่ึงสมาชิกในสังคมยอมรับว่าเป็นส่ิงท่ีพึง ประสงค์ ดังนั้นจึงมีการเหน็ พ้องต้องกนั ในคุณคา่ บางประการทีส่ มาชกิ ในสังคมยดึ ถอื ร่วมกัน พาร์สัน (Talcott Parsons) นักทฤษฎีสังคมวิทยาชาวอเมริกัน ซ่ึงเป็นผู้ที่พัฒนาแนวการ วเิ คราะหแ์ บบโครงสรา้ งหนา้ ท่ี กลา่ ววา่ ระบบสงั คม คอื ระบบทป่ี ระกอบไปดว้ ยการกระทำ� หลากหลาย ที่มีการปฏิสัมพันธ์กันในสภาพแวดล้อมอย่างหน่ึง ผู้กระท�ำเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะตอบสนองความ ต้องการของเขาให้มากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ และความสัมพันธ์ที่เขามีต่อกันนั้นถูกตีกรอบโดยระบบ บรรทัดฐานทเี่ ขามีรว่ มกนั หรอื ทีถ่ ูกกำ� หนดโดยวัฒนธรรม จะเหน็ ไดว้ า่ นกั สงั คมวทิ ยาสนใจการกระทำ� หรอื อยา่ งมากทส่ี ดุ ผกู้ ระทำ� การในบทบาท (Role) ใดบทบาทหน่ึง หาใช่ในบุคคล (individual) เพราะคนๆ หน่ึงอาจเป็นผู้กระท�ำการในหลายบทบาท ด้วยกนั เช่น เปน็ สามี เปน็ พอ่ เปน็ ครู ฯลฯ นักสงั คมวิทยาอาจเอาบทบาทแต่ละบทบาทมาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์กับบทบาทอื่น ท้ังท่ีบุคคลน้ันเป็นผู้แสดงและท่ีบุคคลอ่ืนเป็นผู้แสดง และจะช้ีให้เห็นว่า

32 รฐั ศาสตรเ์ บอ้ื งต้น ความสมั พนั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ งบทบาทนนั้ มแี บบแผนหรอื อยภู่ ายใตบ้ รรทดั ฐาน หรอื กฎเกณฑบ์ างอยา่ ง ซึง่ บรรทัดฐานเหลา่ น้ีทมี่ าจากการกระท�ำท�ำนองเดยี วกนั ซำ�้ ๆ มีการสืบทอดกนั ในแต่ละยคุ แต่ละสมัย จนกลายเป็นค่านิยม (Values) หรือวัฒนธรรม (Culture) ของกลุ่มนั้น สังคมน้ันซึ่งกลับมามีอิทธิพล ในฐานะขอ้ ชแ้ี นะโดยทว่ั ไปวา่ คนควรจะประพฤตอิ ยา่ งไรในสงั คม แบบอยา่ งหรอื กระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ (pattern of interaction) ทเ่ี กิดขึน้ เรียกว่า โครงสรา้ ง (Structure) โครงสร้างสังคมใดก็ตามมีวิธีการและการจัดองค์การในการที่จะบรรลุถึงจุดมุ่งหมาย มีการ ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มีการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างส่วนต่าง ๆ ภายใน หรือในการก่อให้เกิดความผสมกลมเกลียวกันในระบบ อีกท้ังในการด�ำรงรักษารูปแบบของระบบ ดังนั้น นกั สงั คมวทิ ยามคี วามเห็นพอ้ งต้องกนั วา่ ระบบสงั คมมหี น้าท่ี (functions) หลกั ๔ ประการ คอื ๑. หนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย (Goal attainment) คอื ปฏบิ ตั กิ ารใหบ้ รรลุ จดุ มงุ่ หมายของระบบ จะตอ้ งมกี ารกำ� หนดและดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลจุ ดุ มงุ่ หมายของสงั คมโดยสว่ นรวม ซง่ึ จดุ มงุ่ หมายสำ� คญั ทเ่ี ปน็ พน้ื ฐาน คอื การกระทำ� ใหส้ งั คมนนั้ อยรู่ อดได้ โครงสรา้ งหลกั ทที่ ำ� หนา้ ทน่ี คี้ อื ระบบการเมือง ๒. หน้าที่ในการปรับตัว (Adaptation) คือการปรับตัวโดยค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ในการท่ีจะดึงเอาทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมมาแปรสภาพให้เป็นผลในการ บรรลุถึงจุดมุ่งหมายของระบบในการท่ีจะปรับให้สภาพแวดล้อมไม่มีผลกระทบต่อระบบจนเกินไป โครงสร้างหลกั ท่ที ำ� หน้าทคี่ ือระบบเศรษฐกจิ ๓. การสร้างบรู ณาการ (Integration) คอื หนา้ ทีใ่ นการกอ่ ให้เกดิ ความผสมผสานกลมเกลียว กันระหว่างส่วนต่าง ๆ ของสังคม เช่น คนชาติพันธุ์ต่าง ๆ ศาสนาต่าง ๆ ฐานะต่าง ๆ หรือที่เรียกว่า บูรณาการของระบบโครงสรา้ งหลกั ทท่ี �ำหนา้ ที่ คอื ระบบวฒั นธรรม ๔. การธำ� รงรกั ษาระบบ (Pattern maintenance) คอื หนา้ ทเ่ี กย่ี วกบั การธำ� รงไวซ้ ง่ึ วฒั นธรรม คา่ นยิ ม บรรทดั ฐานตา่ ง ๆ ของสงั คม โดยการถา่ ยทอดมาตรฐานในการประพฤตสิ บื ตอ่ กนั ไป โครงสรา้ ง หลกั ทท่ี ำ� หนา้ ทนี่ ก้ี ค็ อื ครอบครวั และอาจจะมสี ถาบนั การศกึ ษาและกลมุ่ อน่ื ๆ โครงสรา้ งอนื่ เขา้ มาชว่ ยดว้ ย แนวทางโครงสร้างนยิ ม มที ้งั ขอ้ ดแี ละข้อจ�ำกดั ดังน้ี ขอ้ ดี ๑. เป็นแนวทางที่ท�ำให้สามารถศึกษาระบบการเมืองอันกว้างขวางและซับซ้อน ให้ง่ายต่อ การท�ำความเข้าใจ

ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกับรฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 33 ๒. สามารถเปรยี บเทียบระบบการเมอื ง ซึ่งแตกตา่ งกนั ในระดบั พฒั นาการของการเมอื ง หรือ แตกตา่ งกนั ดา้ นรปู แบบการปกครองได้ เชน่ เปรยี บเทยี บระบบการปกครองของรสั เซยี กบั ไทย เปน็ ตน้ ๓. สามารถช้ีต�ำแหน่งหรือสถาบันท่ีมีผลต่อปรากฏการณ์ของระบบได้ เช่น การมีสถาบัน พรรคการเมอื งอ่อนแอ ทำ� ใหเ้ กิดการเสถียรภาพทางการเมอื ง เปน็ ต้น ข้อจ�ำกดั ๑. การศึกษาแนวโครงสร้างนิยม บอกได้แต่เพียงว่าระบบการเมืองท่ีท�ำการศึกษาน้ัน มีโครงสร้างอย่างไร มีหน้าที่อย่างไร แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเจริญข้ึนหรือเส่ือมลงอย่างไร จึงกล่าวได้ วา่ ภาพทไี่ ดจ้ ากการศึกษาตามโครงสรา้ งนยิ มจงึ เปน็ ภาพนิ่งมากกวา่ ทจ่ี ะเปน็ ภาพพลวตั ร (Dynamic) ๒. แนวทางโครงสร้างนิยม ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าแต่ละโครงสร้างมีอิทธิพลต่อกันอย่างไร ไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่า ถ้าเปล่ียนโครงสร้างหรือหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วจะกระทบต่อ ระบบในส่วนใดบ้าง ๓. แนวทางโครงสร้างนิยมในส่วนที่เน้นการวิเคราะห์สถาบัน เน้นการพรรณนาถึงตัวข้อมูล ของโครงสร้าง ย่ิงกว่าที่จะน�ำเอาความคิดทางทฤษฎีมาเป็นกรอบในการพิจารณาศึกษา แต่ส่วนที่ เน้นการวิเคราะห์โครงสร้างหน้าที่ในอุดมคติ ยิ่งกว่าที่จะค�ำนึงถึงรูปแบบที่เกิดข้ึนจริง ท�ำให้ขาด ความถูกต้องและขาดการประสานสอดคล้องกันระหว่างปรากฏการณ์จริงที่เป็นรูปธรรม และกรอบ ความคิดทางทฤษฎที ี่เปน็ นามธรรม แนวทางพฤตกิ รรมศาสตร์ นับตั้งแต่ศตวรรษที่ ๒๐ เป็นต้นมา การศึกษาทางพฤติกรรมศาสตร์ของรัฐศาสตร์ได้ใช้วิธี การศกึ ษาท่ีตรงตามวิธีศึกษาทางศาสตร์ (Scientific method) อยา่ งแทจ้ รงิ หรอื ท่ีเรียกว่าการศึกษา รฐั ศาสตรเ์ ชิงพฤตกิ รรมนิยม (Behaviorism) คือมลี กั ษณะเปน็ การศึกษาเชิงวเิ คราะห์ และการศกึ ษา เชงิ ประจกั ษไ์ ปพรอ้ ม ๆ กนั ระยะเรม่ิ แรกนยิ มใชใ้ นประเทศสหรฐั อเมรกิ าโดยเฉพาะการศกึ ษาเกย่ี วกบั พฤติกรรมทางการเมืองของชาวอเมริกัน เช่น พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การมีส่วนร่วม ทางการเมือง เป็นต้น นักรัฐศาสตร์กลุ่มพฤติกรรมนิยมพยายามสร้างกฎเกณฑ์และรูปแบบของ พฤติกรรมการเมืองด้วยการตั้งสมมติฐานและทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการเชิงประจักษ์ (Empirical methods) ซ่ึงจะต้องมีทฤษฎีน�ำหรือสนับสนุน และในการศึกษารัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมน้ีจะต้องน�ำ เอาความรู้เก่ียวกับพฤติกรรมทางการเมืองของมนุษย์จากสาขาวิชาต่าง ๆ มาร่วมเข้าด้วยกัน เช่น น�ำเอาความรทู้ างจติ วทิ ยา ชีววทิ ยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ สถิติ และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ดังน้ัน จึงมีลกั ษณะเปน็ การศึกษาแบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary)

34 รัฐศาสตร์เบื้องต้น อิสตัน (David Easton) ได้สรปุ ลักษณะของการศึกษาเชงิ พฤติกรรมนยิ มไว้ ๘ ประการ ดังต่อ ไปนค้ี อื ๑. หากฎเกณฑ์ (Regularities) ตอ้ งถือว่าพฤติกรรมการเมอื งท้ังหลายมกี ฎเกณฑ์ มีระเบยี บ ในตวั ของมนั เอง เปน็ สงิ่ ทคี่ น้ พบได้ ตอ้ งพยายามศกึ ษาเพอื่ สรปุ ออกมาเปน็ ขอ้ สรปุ ทว่ั ไป (generalization) หรือทฤษฎี ซึ่งจะมีคุณค่าอย่างยิ่งในการบรรยายอธิบาย และท�ำนายพฤติกรรมทางการเมืองอื่นๆ ที่เกยี่ วข้อง ๒. ตรวจสอบได้ (Verification) ขอ้ สรุปทั่วไปทัง้ หลายต้องสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ตลอดเวลา โดยเฉพาะจากพฤติกรรมท่ีเกย่ี วขอ้ ง ๓. มีเทคนิค (Techniques) ต้องมีแนวทางหรือวิธีการที่ชัดแจ้งแน่นอนในการหาข้อมูลและ การตคี วามหมายของขอ้ มลู ไมใ่ ชเ่ ปน็ การบนั ทกึ หรอื ตคี วามหมายเอาตามความพอใจ ทง้ั นเี้ พอ่ื ใหบ้ คุ คล หนึ่งบคุ คลใดสามารถตรวจสอบขอ้ สรุปไปท่นี า่ สงสยั หรือทีเ่ ห็นว่าเปน็ ปัญหาได้ ๔. ใช้วิธีการปริมาณ (Quantification) การจัดเก็บข้อมูลต้องการความตรงและละเอียด และมีความเป็นปรนัย (Objective) การใช้วิธีการปริมาณจะช่วยในเรื่องเหล่านี้ได้ ทั้งยังจะเป็นการ ปอ้ งกนั มใิ หน้ กั วเิ คราะหแ์ ตล่ ะคนตคี วามอยา่ งหละหลวมและขาดมาตรฐาน วธิ กี ารจดั กระทำ� กบั ขอ้ มลู ดงั กล่าว ไดแ้ ก่ วธิ กี ารทางสถติ ิ ซ่งึ เป็นศาสตร์ท่ีอธิบายถึงการกระจายและการผนั แปรของขอ้ มูลในรูป ลักษณะต่าง ๆ ๕. ปราศจากค่านิยม (Value-free) ต้องแยกการประเมินค่าเชิงจริยศาสตร์ว่าอะไรเลว หรือ ควรทำ� อยา่ งไรกบั การอธบิ ายเชงิ ประจกั ษว์ า่ พฤตกิ รรมนนั้ เปน็ อยา่ งไรคอื อะไรนอกจากกนั อยา่ งเดด็ ขาด ท้งั นไี้ มไ่ ด้หมายความวา่ จะหา้ มนกั พฤตกิ รรมนิยมมิให้ศึกษาเร่อื งที่เกยี่ วขอ้ งกับจริยศาสตร์ การนำ� เอา แงม่ มุ ทางจรยิ ศาสตรเ์ ขา้ มาชน้ี ำ� แนวทางศกึ ษา หรอื เสรมิ การอธบิ ายเชงิ ประจกั ษว์ า่ สงิ่ นน้ั คอื อะไร ทำ� ให้ มีความชัดเจนข้ึนอีก ๖. เปน็ ระบบ (Systematization) การศกึ ษารฐั ศาสตรต์ อ้ งเปน็ ระบบ กลา่ วคอื ระหวา่ งทฤษฎี และความเปน็ จรงิ ตอ้ งการประสานกลมกลนื เปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั และมคี วามเปน็ ระเบยี บ แกไ้ ขเพมิ่ เติมได้โดยปราศจากความสับสน ๗. มมุ่ ความเปน็ ศาสตรบ์ รสิ ทุ ธ์ิ (Pure science) เนอื่ งจากความรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง ตอ้ งมา ก่อนการปฏิบตั ิ ดงั น้นั การศึกษาพฤติกรรมการเมืองจงึ ควรเนน้ ทีจ่ ะคน้ หาความร้เู ปน็ เป้าประสงคห์ ลกั การประยกุ ต์ไปแก้ปัญหาสงั คมน้นั เป็นเป้าประสงคถ์ ดั ไป

ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ียวกบั รัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) 35 ๘. เป็นอันหน่ึงอันเดียวกันกับศาสตร์แขนงอื่นๆ (Integration) โดยเฉพาะกับแขนงต่าง ๆ ของสงั คมศาสตร์ การไมค่ ำ� นงึ ถงึ จดุ นี้ รฐั ศาสตรจ์ ะเสยี่ งตอ่ ความเปน็ ศาสตรท์ อ่ี อ่ นแอ เพราะอาจจะไม่ สามารถยนื ยนั กบั ความรู้ทางสงั คมศาสตรแ์ ขนงอน่ื ๆ ได้ ซง่ึ กลา่ วถึงพฤติกรรมโดยสว่ นร่วมของมนุษย์ เชน่ เดยี วกัน ข้อดแี ละข้อจ�ำกัดของแนวทางพฤติกรรมศาสตร์ นบั แตส่ งครามโลกครงั้ ทส่ี องสนิ้ สดุ ลงรฐั ศาสตรไ์ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากการศกึ ษาของกลมุ่ พฤตกิ รรม นยิ มเปน็ อนั มากแตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ นกั รฐั ศาสตรท์ กุ คนยอมรบั แนวความคดิ นเี้ สยี ทงั้ หมด จากการ ส�ำรวจโดยท่ัวไปพบว่า นักรัฐศาสตร์ส่วนมากถือว่าตัวเองอยู่กึ่งกลาง คือไม่เป็นพวกหลงใหลหรือ ตอ่ ตา้ นการศกึ ษาแบบพฤตกิ รรมนยิ ม ทงั้ นเ้ี พราะนกั พฤตกิ รรมนยิ มเชอ่ื วา่ สามารถอธบิ ายพฤตกิ รรมได้ ภายใต้ข้อสันนิษฐานเฉพาะอย่าง และภายใต้สถานการณ์ท่ีควบคุมได้คือ สามารถพยากรณ์ได้ว่าถ้ามี เงื่อนไขอยู่เช่นน้ีแล้ว คนมีแนวโน้มท่ีจะมีพฤติกรรมอย่างไร ถ้าข้อสรุปรวมของนักพฤติกรรมนิยม อธบิ ายหรอื เสนอความเปน็ จรงิ เรอ่ื งทที่ ำ� การศกึ ษาในระยะเวลาหนงึ่ เทา่ นนั้ กไ็ มม่ ปี ระโยชนอ์ ะไรทจ่ี ะนำ� ความรู้น้ันไปอธิบายสถานการณ์อื่น ๆ ในระยะเวลาที่ต่างกันทั้งในอดีตและอนาคต เช่น สามารถ พยากรณ์ได้อย่างแม่นย�ำว่าผู้สมัครรับเลือกตั้งคนใดจะชนะ แต่ไม่สามารถท�ำความเข้าใจตัวแปรได้ ท้ังหมดวา่ ตวั แปรใดบ้างที่ทำ� ให้เขาชนะในการเลือกตัง้ ครงั้ นัน้ การไมร่ ูจ้ กั ตัวแปรทั้งหมด ไม่สามารถควบคมุ ตัวแปรได้ทั้งหมด ไม่สามารถอธบิ ายถงึ ลักษณะ ของตัวแปรท้ังหมด และความซับซ้อนของตัวแปรในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ล้วนแต่เป็นปัญหาในการ ประเมินหรือคาดการณ์ถึงผลที่จะเกิดขึ้นทั้งน้ีเพราะสถานการณ์จริงทางสังคม เช่น ในกระบวนการ ตัดสนิ ใจน้นั ไมม่ ีการควบคมุ เงอื่ นไขใด ๆ ดว้ ยเหตุนี้ทำ� ให้นักรฐั ศาสตร์ขาดขา่ วสาร ขอ้ มลู ท่ีเหมาะสม เพียงพอ ท�ำให้ดี ความหมายหรือพยากรณ์ผิดไปจากความจริงได้ ท�ำให้ไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ ได้อยา่ งกว้างขวาง แตใ่ นสาขาวชิ าความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ กลบั ตรงกนั ขา้ ม เพราะสาขานกี้ ลบั สรา้ งทฤษฎี ได้มากกว่าแขนงอ่ืน ๆ เช่น มีการใช้ทฤษฎีเกมการศึกษาแบบจ�ำลองสถานการณ์ (Simulation) การตัดสินใจ และทฤษฎีระบบ แต่ก็มีข้อจ�ำกัดคือเป็นการยากที่จะได้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาทดสอบ สมมติฐาน ท้ังนี้เพราะการตัดสินใจใด ๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นความลับ ท�ำให้ประสบ ปญั หาความหนักแน่นหรอื ความมัน่ คงของตวั ทฤษฎี จึงตอ้ งก�ำหนดไว้อย่างกว้าง ๆ ท�ำให้มีทฤษฎมี าก เกินกวา่ จะหาข้อมลู หรือหลักฐานมาสนับสนนุ เพียงพอ ดังน้ัน การศึกษาตามแนวทางพฤติกรรมศาสตร์จึงได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ท้งั จากกล่มุ ปรัชญาการเมอื ง และกลุม่ ซา้ ยใหม่ (New Left) เป็นต้น และจากการทถี่ กู วิพากษว์ ิจารณ์

36 รฐั ศาสตร์เบือ้ งต้น นี้ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในการศึกษาค้นคว้าทางรัฐศาสตร์ ให้มีแนวทางท่ีรัดกุมขึ้น คือ ให้เป็น เหตุผลและมีเปา้ หมาย เพอื่ ประโยชน์สขุ ของมวลมนษุ ยชาตทิ จ่ี ะได้อยรู่ ว่ มกันอย่างสันต ิ ประวัตคิ วามเปน็ มาของวิชารฐั ศาสตร๑์ ๓ ๑. สมัยกรีก แม้ว่าวิชารัฐศาสตร์จะได้วิวัฒนาการก้าวหน้าจนเป็นวิชาการท่ีมีเอกลักษณ์ของ ตนเองโดยเฉพาะ แตก่ ว่าจะถงึ ข้นั น้ไี ด้ วิชานไี้ ด้ผา่ นขนั้ ตอนการปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงตลอดระยะเวลา อนั ยาวนาน การศกึ ษาเรือ่ งรฐั และการเมืองน้ันไดเ้ รมิ่ ต้นมาตัง้ แตส่ มยั กรีกโบราณ คอื ประมาณ ๓๐๐ ถึง ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล อาจะเรียกปราชญ์ เพลโต (Plato) ได้ว่าเป็นบิดาของวิชาทฤษฎีการเมือง และปราชญ์ อริสโตเติล (Aristotle) ควรจะได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของวิชารัฐศาสตร์ ปราชญ์ ทั้งสองท่านได้พิจารณารัฐในแง่คิดของปรัชญา ซึ่งถือว่าความรู้ทุกอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหมด ตามความคิดของอริสโตเติล ศาสตร์ (Science) นั้นมี ๓ ประเภท คือ ศาสตร์ในแง่ของทฤษฎี (Theoretical) ศาสตรใ์ นแงก่ ารผลติ (Productive) และศาสตรใ์ นแงก่ ารปฏบิ ตั ิ (Practical) รฐั ศาสตร์ จดั อยู่ในประเภททีส่ าม อริสโตเตลิ เปน็ ผู้ริเริม่ การศกึ ษาโดยใช้วิชาวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษารฐั บาลด้วยวิธี สงั เกต ทดลอง (Empirical observation) แตก่ ารสังเกตของอรสิ โตเตลิ มิได้ให้หลกั การประชาธิปไตย มากมายอะไรนกั เช่น การปกครองตามอุดมคติของเพลโต (Ideal republic) จะตอ้ งปกครองดว้ ยนัก ปราชญ์ท่ีเฉลียวฉลาด และรักความยุติธรรม รัฐในอุดมคติของอริสโตเติลจะต้องยึดหลักคณาธิปไตย และประชาธิปไตย น่ันคือ การผสมผสานระหว่างความม่ังคั่ง และจ�ำนวน ทั้งอริสโตเติลและเพลโต ไมย่ อมรบั ความคดิ เรอื่ งความเสมอภาค ทงั้ นอี้ าจเนอ่ื งมาจากปญั หาของการปกครองสมยั นครรฐั เอเธนส์ น้ัน การปกครองแบบประชาธิปไตยมักจะกลายรูปเป็นการปกครองแบบฝูงชน (Monocracy) และ ลงทา้ ยดว้ ยการปกครองแบบทรราช (Tyranny) ๒. สมยั โรมนั มรดกทางรฐั ศาสตรท์ ่ีจักรวรรดโิ รมันใหก้ บั โลก ได้แก่ ความคดิ ในทางกฎหมาย หลกั นติ ศิ าสตร์ และหลักในทางรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการเหลา่ นี้มีรากฐานจากหลักปรัชญา Stoic ซ่ึงถือว่ามนุษย์ทั้งปวงมีความเสมอภาค ภราดรภาพ และที่มีมาจากพระเจ้าซ่ึงเสมือนเป็นบิดาของ มวลมนุษยชาติ มนุษย์ทุกคนจึงมีคุณค่าไม่ว่าจะอยู่ในฐานะต�่ำต้อยสักเพียงใดก็ตาม ปรัชญาของ ประชาธิปไตยที่มีหลักการว่ามนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลก็ดี มีศีลธรรมก็ดี มีความเท่าเทียมกันก็ดี ตลอดจน แนวความคิดเรื่องกฎของธรรมชาติและสิทธิตามธรรมชาติก็ดี ล้วนแล้วแต่มีที่มาจากหลักปรัชญาของ Stoicisam และ Cieero ผู้ซ่ึงได้น�ำเอาปรัชญาของส�ำนัก Stoic ผสมผสานกันเข้ากับความคิด ทางการเมืองของนักคดิ ทางซีกโลกตะวันตก ๑๓ จรูญ สภุ าพ ศ. เรอ่ื งเดมิ หน้า ๓-๔

ความร้เู บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั รัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) 37 ๓. สมัยกลาง ในสมัยกลาง รัฐมีความส�ำคัญน้อยกว่าวัด (ศาสนา) ฝ่ายศาสนจักรได้เข้ามามี อทิ ธพิ ลในทางอาณาจกั ร เชน่ การสถาปนากษตั รยิ แ์ ละการถอดถอนประมขุ ของรฐั รวมทงั้ การกำ� หนด นโยบายของประเทศ ทฤษฎกี ารเมอื งในยคุ นกี้ ลายเปน็ สาขาหนงึ่ ของศาสนศาสตร์ (Theology) ปญั หา ทางการเมืองน้ันได้รับการแก้ไขด้วยข้อวินิจฉัยในแง่ของศาสนา มิใช่ด้วยอาศัยข้อเท็จจริงหรือเหตุผล ในทางปฏิบัติ มรดกของวิชารัฐศาสตร์สมัยกลางท่ีมีอิทธิพลมาจนถึงทุกวันน้ี ได้แก่ ความคิดเรื่อง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของโลก หลักจริยธรรม และศาสนา ท่ีคอยยับย้ังการด�ำเนินการทาง การเมอื ง เชน่ ความคดิ เรอื่ งสนั ตภิ าพของพระผเู้ ปน็ เจา้ (Peace of God) คา่ จา้ งทย่ี ตุ ธิ รรม (Fair wage) ราคาที่ยตุ ิธรรม (Just price) และความคดิ ทเี่ ก่ยี วกับกฎหมายเบอื้ งสงู (Higher law) เปน็ ต้น ๔. สมัยฟ้ืนฟู ในยคุ ร้อื ฟ้นื หรือยคุ ฟน้ื ฟนู ี้ ได้มีการนำ� เอาความคดิ ของปราชญ์กรีก และโรมนั มาเป็นแนวทางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ แต่ท่ีส�ำคัญก็คือ ได้เกิดรัฐชาติ (National states) ข้ึนใน ยุโรปตะวันตก รัฐเหล่าน้ีไม่ยอมรับอ�ำนาจของสังฆราชและศาสนจักร รวมทั้งจักรพรรดิแห่งโรมัน อันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) อีกต่อไป ได้มีการปฏิรูปครั้งส�ำคัญ (Reformation) โดยให้ ศาสนจกั รอยภู่ ายใตก้ ารคมุ้ ครองควบคมุ ของกษตั รยิ ์ สรา้ งดลุ ภาพใหมร่ ะหวา่ งอำ� นาจของฝา่ ยอาณาจกั ร และศาสนจกั ร ปราชญ์ Niccolo Machiavelli ไดเ้ ปน็ ผูห้ นึ่งทร่ี เิ ร่ิมแยกการเมอื งออกจากศาสนา ยุคน้ี จึงถือเอาเอกภาพของชาติ ความม่ันคงของรัฐ และผลประโยชน์ของประเทศ อยู่เหนือความเคารพ เช่อื ฟังสังฆราช และลัทธศิ าสนา ในยุคที่มีสงครามทางศาสนาน้ัน มนุษย์เริ่มมีความสนใจท่ีจะหาค�ำอธิบายเรื่องต่าง ๆ เช่น ที่มาของรัฐ หน้าท่ีและความรับผิดชอบของราษฎร สิทธิของประชาชนที่จะปฏิวัติ ความรับผิดชอบ ที่ผู้ปกครองพึงมีต่อประชาชน ลักษณะของเสรีภาพ ได้มีการศึกษาถึงทฤษฎีสัญญาประชาคม (social contract theory) ในฐานะทเ่ี ปน็ คำ� ตอบสว่ นหนงึ่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กำ� เนดิ ของรฐั ทฤษฎนี ป้ี รากฏ ในข้อเขียนของ Cicero ปรากฏในข้อคิดของนักเขียนท่ีเป็นพวก Lutheran และ Calvinist ในตอน ปลายศตวรรษท่ี ๑๖ ในยุคต่อมาจึงได้มีความคิดทางรัฐศาสตร์ว่า หากการปกครองของประมุขของรัฐขัดต่อกฎ ของพระเจ้า (ก่อให้เกิดความอยุติธรรมและความไม่เหมาะสม) ประชาชนมีสิทธิที่จะไม่เชื่อฟัง และ ตอ่ ตา้ น รวมตลอดถึงล้มลา้ งการปกครองเพ่ือทีจ่ ะรกั ษาอำ� นาจอธปิ ไตยของปวงชนไว้ วิชารัฐศาสตร์จึงมีวิวัฒนาการสืบเนื่องติดต่อกันมานับเป็นระยะเวลาเกือบ ๒๕๐๐ ปี ตลอด ระยะเวลาดงั กลา่ วน้ี ไดม้ กี ารคดิ คน้ ศกึ ษาพจิ ารณาและการถกเถยี งกนั ถงึ เรอื่ งรฐั ในแงข่ องทม่ี า เหตผุ ล ความชอบธรรม ขอบเขต หน้าที่ กระบวนการและความรับผิดชอบ แต่ละยุคแต่ละสมัย ก็ได้มีมรดก ทางความคิดเพมิ่ พูนขน้ึ เสมอจนปจั จุบนั น้ี

38 รัฐศาสตร์เบ้ืองต้น ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิชารฐั ศาสตรก์ บั ศาสตรส์ าขาอืน่ ๑๔ เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม และมนุษย์ทั้งหลายต้องอยู่ในรัฐ และรัฐน้ันก็คือสังคม – การเมืองมหภาคของมวลมนุษย์นั่นเอง ดังนั้น ศาสตร์ที่ว่าด้วยรัฐหรือรัฐศาสตร์จึงเก่ียวกับมนุษย์ และโดยวธิ กี ารหรอื ศาสตรท์ งั้ หลายไมว่ า่ จะเปน็ วทิ ยาศาสตรท์ างสงั คม หรอื วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติ ลว้ น มีจุดหมายปลายทางอย่างเดียวกันคือ เพ่ือความเจริญก้าวหน้าและความผาสุกของมนุษย์เป็นที่ต้ัง อน่ึง การวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ทางรัฐศาสตร์ หากจะให้ได้ผลโดยสมบูรณ์แล้ว จะต้องอาศัยความรู้ จากศาสตร์สาขาอื่นๆ มาเป็นเคร่ืองประกอบด้วย ฉะน้ัน รัฐศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับศาสตร์สาขา อน่ื ๆ อย่างแยกไม่ออก วิชารัฐศาสตร์มีความสัมพันธ์กับวิชาการทางสังคมศาสตร์ (Social Science) มนุษยศาสตร์ (Humanities) และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) เป็นอย่างมาก อาทิ ความสัมพันธ์ ระหวา่ งรฐั ศาสตรก์ บั ประวตั ศิ าสตร์ (History) เศรษฐศาสตร์ (Economics) นติ ศิ าสตร์ (Law) จติ วทิ ยา (Psychology) สังคมวิทยา (Sociology) มนุษยวิทยา (Anthropology) จริยศาสตร์ (Ethics) สถิตศิ าสตร์ (Statistics) วิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ (Natural Science) ภูมศิ าสตร์ (Geography) ฯลฯ๑๕ รฐั ศาสตร์ในฐานะต่าง ๆ รัฐศาสตรไ์ ดร้ บั การยอมรบั วา่ เป็นศาสตร์ที่มหี ลายสถานะ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. รฐั ศาสตร์ในฐานะ “พฤตกิ รรมศาสตร”์ เพราะ - เนน้ เรอ่ื งปริมาณ - มักไม่สนใจประวัติศาสตร์ความเป็นมา - เน้นเร่ือง “พฤตกิ รรม” มากกวา่ ส่งิ ท่คี วรหรอื ไมค่ วร ๒. รัฐศาสตร์ในฐานะ “วิทยาศาสตรท์ างสังคม” เพราะ - เก็บรวบรวมข้อมูล - จัดข้อมูลใหเ้ ปน็ ระเบียบ หมวดหมู่ อยา่ งเปน็ ระบบ - มีการสรา้ งสมมตฐิ าน ๑๔ ประสาร ทองภกั ดี พ.ท “หลกั การปกครอง (หลกั รัฐศาสตร)์ ” (กรุงเทพฯ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ : ๒๕๒๕) ๑๕ ปรชี า หงษ์ไกรเลศิ รศ. ดร. เรอ่ื มเดมิ หน้า ๖๑๓

ความร้เู บื้องต้นเก่ยี วกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 39 - มีการทดสอบสมมตฐิ าน - สรุปข้อเท็จจรงิ ๓. รัฐศาสตร์ เปน็ “ศาสตร์แมบ่ ท” หรอื “ราชาแหง่ ศาสตร์” เพราะ - เป็นเร่อื ง “คุณภาพชีวติ ” “สภาพชีวติ ที่ด”ี “ชีวิตทีม่ ีคุณธรรม” - ท้ังขนบธรรมเนียมประเพณี กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม ซ่ึงได้รับอิทธิพล จากการเมอื งท้งั สน้ิ ๔. รัฐศาสตร์เป็น “สถาปตั ยส์ มบรู ณล์ ักษณ์” เพราะ - สงั คมประกอบดว้ ยสถาบนั ตา่ ง ๆ - ทำ� หนา้ ทตี่ ่าง ๆ ของตัวเองในการสรา้ งความสมบูรณ์ใหแ้ กส่ ถาบันสงั คม ความสัมพันธ์ระหว่างวชิ ารฐั ศาสตรก์ บั วชิ าอ่ืน วชิ ารฐั ศาสตรม์ คี วามสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ อยา่ งไมส่ ามารถหลกี เลย่ี งได้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการศกึ ษา วิชารัฐศาสตร์ในปัจจุบันเป็นการศึกษาท่ีกว้างไกลข้ามสาขาวิชา (interdisciplinary approach) นั้น คอื มกี ารหยบิ ยมื ความรแู้ ละวธิ กี ารศกึ ษามากจากสาขาวชิ าอน่ื เพอื่ ใชใ้ นการวเิ คราะห์ ทำ� ใหส้ ามารถมอง ปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาท่ีเป็นไปในลักษณะกว้างกว่าการวิเคราะห์โดยใช้กรอบความรู้ฟื้นฐานจาก สาขาวิชารัฐศาสตร์เพียงอย่างเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับวิชาในสาขาอ่ืนจึงเกิดขึ้น อยา่ งไมส่ ามารถปฏิเสธได้ เชน่ ก. ความสัมพนั ธก์ ับวิชาในหมวดวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ (Natural sciences) ๑. วิทยาศาสตร์ (Sciences) รัฐศาสตร์เป็นวิชาซึ่งเกิดขึ้นภายหลังวิชาวิทยาศาสตร์จึงได้รับ อิทธพิ ลจากวิชาวทิ ยาศาสตร์โดยเฉพาะอทิ ธพิ ลจากงานของนิวตนั (Sir Isaac Newton,ค.ศ. ๑๙๔๒- ๑๗๒๗) นกั ฟสิ ิกสใ์ นเรือ่ งแรงโนม้ ถว่ งของโลกและการเคลอื่ นท่ขี องวัตถุ และชารล์ ล์ดาร์วิน (Charles Darwin, ค.ศ. ๑๘๐๙- ๑๘๘๒) นักชีววิทยาในทฤษฏีวิวัฒนาการ โดยผ่านกระบวนการเลือกสรรโดย ธรรมชาติ (natural selection) อนั น�ำไปสกู่ ารอยู่รอดของผชู้ นะ (survival of the fittest) แนวคิด เรอื่ งววิ ฒั นาการทางชวี วทิ ยาสง่ ผลตอ่ แนวทางการศกึ ษารฐั ศาสตรเ์ ชงิ พฤตกิ รรมศาสตร์ และรฐั ศาสตร์ กลุ่มโครงสร้างหน้าท่ีเป็นอย่างมาก ที่เห็นได้เด่นชัดคือทฤษฎีระบบ (system analysis)๑๖ ท่ีมองว่า ระบบการเมอื งกม็ ลี ักษณะเหมอื นกบั สง่ิ มชี ีวติ ทว่ั ไป เชน่ เป็นระบบเปิดสสู่ ่ิงแวดลอ้ ม (open system) ๑๖ เชน่ งานของ Almond Gavriel A. and Coleman, James S eds., The Politics of developinfing Areas. (Princeten N.J. : Princeton press ๑๙๖๖) และ Easton David The Political System (New Youk : Knope ๑๙๕๓)

40 รฐั ศาสตรเ์ บือ้ งต้น มีปัจจัยน�ำเข้า (input) ปัจจัยน�ำออก (output) และมีปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (feedback) เป็นต้น ความสัมพันธ์อีกลักษณะหนึ่งก็คือ เมื่อวิชาวิทยาศาสตร์มีความเจริญ และการพัฒนาสูงข้ึนย่อมส่งผล กระทบต่อการเมืองการปกครองของมนุษย์ และในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการ ปกครองของมนษุ ยก์ จ็ ะสง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาทางวทิ ยาศาสตรเ์ ชน่ กนั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิ อุตสาหกรรมที่ท�ำให้เกิดความคิดท่ีเต็มไปด้วยเหตุผล การปกครองระบอบเดิมท่ีถือลัทธิเทวสิทธิ์จึงถูก ปฏิเสธและเกิดการเรียกร้องถึงอิสระเสรีภาพและการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยขึ้นในระบบ การเมอื งและยง่ิ ไปกวา่ นนั้ กค็ อื การเกดิ สงครามทำ� ใหก้ ารพฒั นาทางวทิ ยาศาสตรไ์ ดร้ บั การกระตนุ้ และ สนบั สนนุ ใหเ้ กิดการพฒั นายิ่งข้ึน ๒. สถิติ (Statistics) จากการศึกษาวิชารฐั ศาสตรไ์ ด้มีการพฒั นาไปสู่การศกึ ษาทม่ี กี ารวิจัยใน เชิงสถติ มิ ากขึน้ มกี ารสังเกตและสุม่ เก็บตวั อย่างเพือ่ นำ� มาวเิ คราะห์ การศึกษาเชงิ ปรมิ าณ (quantita- tive) ไดร้ ับการยอมรับมากขน้ึ โดยเฉพาะรัฐศาสตรแ์ นวพฤตกิ รรมศาสตร์ (Benavioralism) ตวั อย่าง การศกึ ษารฐั ศาสตร์ทตี่ อ้ งใช้สถติ กิ ็คือ การทำ� โพล (poll) ต่าง ๆ และการเรียนการสอนในระดับบัณฑติ ศกึ ษาซ่ึงตอ้ งใชว้ ชิ าสถติ ใิ นระดบั สูงเพอ่ื ชว่ ยในการวิเคราะห์ผลการวิจัยเป็นอย่างมาก ข. ความสัมพนั ธ์กบั วิชาในหมวดสังคมศาสตร์ (Social sciences) ๑. สงั คมวิทยา (Sociology) เปน็ วิชาทศี่ ึกษาว่าด้วยสงั คมทง้ั หมด คอื เป็นการศึกษาในระดบั มหภาค (Macro) และลงละเอยี ดไปถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในสงั คมอนั เปน็ การศกึ ษาในระดบั จุลภาค (Micro) ดว้ ย รฐั ศาสตร์ก็เปน็ วิชาท่ศี ึกษาเก่ยี วกบั การเมอื ง สังคม ชมุ ชน และสมาชิกในสังคม จึงท�ำให้วิชา รัฐศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับวิชาสังคมศาสตร์อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะกลุ่มที่ศึกษา รัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral approach) ที่มองว่ามนุษย์จะได้รับอิทธิพลมาจาก กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง (Political socialization) เพราะฉะน้ันการท่ีจะเข้าใจถึง พฤตกิ รรมทางการเมอื งไดเ้ ปน็ อยา่ งดจี ะตอ้ งทำ� การศกึ ษาถงึ กระบวนการดงั กลา่ ว และจะตอ้ งใหค้ วาม สนใจในเรอ่ื งวฒั นธรรมทางการเมือง (Political culture approach) อีกดว้ ย ๒. เศรษฐศาสตร์ (Economics) การศึกษาถึงเศรษฐศาสตร์เพ่ือท�ำความเข้าใจอย่างลึกซ้ึง ในประเดน็ ทางการเมอื งดจู ะเปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ทหี่ ลกี เลยี่ งไดย้ าก โดยเฉพาะในสงั คมโลกปจั จบุ นั ทกี่ ารเมอื ง และเศรษฐศาสตร์มีความสอดประสานกันจนเสมือนเป็นส่ิงเดียวกัน เม่ือเศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาเก่ียว กับการผลิต (Production) การแบ่งสันปันส่วน (Distribution) และการบริโภค (Consumption) ซ่ึงจะสง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชนโดยท่ัวไป และรัฐศาสตร์เป็นศาสตรท์ ี่มุง่ ศกึ ษาถงึ การกำ� หนดนโยบาย ในการปกครองอนั รวมถงึ นโยบายทางเศรษฐกจิ ดว้ ย การศกึ ษาในดา้ นเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง (Political economic) จงึ กลายเปน็ สาขาวชิ าทไ่ี ดร้ บั ความสนใจเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะนกั คดิ ในกลมุ่ มารก์ ซสิ ม์

ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับรฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 41 (Marxism) ท่ีมีลักษณะการมองปัญหาทางการเมืองการปกครองอยู่บนพ้ืนฐานของการต่อสู้ระหว่าง ชนชน้ั ทถี่ กู แบง่ โดยปจั จยั ทางเศรษฐกจิ และวถิ ชี วี ติ ทางเศรษฐกจิ กข็ นึ้ อยกู่ บั โครงสรา้ งทางการเมอื งเชน่ กนั ๓. ภูมิศาสตร์ (Geography) เพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศย่อมส่งผลกระทบต่อ ลักษณะการเมืองการปกครองของประเทศนั้น ๆ รวมถึงการด�ำเนินนโยบายทั้งภายในและภายนอก ประเทศ เช่น ลักษณะพรมแดนของประเทศ จ�ำนวนประชากร ทรัพยากร ท่ตี ั้ง และลักษณะภมู ิอากาศ ตัวอย่างท่ีเห็นได้อย่างหน่ึงก็คือ ในประเทศท่ีมีอาณาเขตล้อมรอบไปด้วยทะเลก็จะมีนโยบายด้านกอง ก�ำลังทหารเรือเป็นหลัก เช่น ประเทศสหราชอาณาจักรหรืออังกฤษ ท่ีจะมุ่งเน้นกองก�ำลังทางเรือ มากกว่ากองก�ำลังทางบก เป็นตน้ การศกึ ษาวิชาภมู ิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) จึงเป็นการศึกษาวิชาท่ี วา่ ดว้ ยความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสองสาขาวชิ าดังกลา่ ว ๔. จิตวิทยา (Psychology) การเมืองการปกครองเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับบุคคลสองกลุ่มคือ กลมุ่ ผปู้ กครอง กบั กลมุ่ ผถู้ กู ปกครอง เพราะฉะนน้ั ไมว่ า่ พฤตกิ รรมของทงั้ สองฝา่ ยจะเปน็ เชน่ ไรยอ่ มสง่ ผลกระทบตอ่ รปู แบบการเมอื งการปกครองทงั้ สน้ิ การทจ่ี ะเขา้ ใจถงึ พฤตกิ รรมของบคุ คลตอ้ งอาศยั วชิ า ทางจิตวิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับสภาพของอารมณ์ จิตใจ และมูลเหตุท่ีท�ำให้บุคคลเกิดอารมณ์หรือ ความประพฤติเช่นนั้น เช่น การศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้น�ำทางการเมืองในแง่ของจิตวิทยา หรือจิต วิเคราะห์ (Psycho – analysis) เพ่ืออธิบายว่าอะไรเป็นสาเหตุท�ำให้ผู้น�ำทางการเมืองแต่ละคนมี บุคลิกลักษณะเช่นนั้น เป็นการศึกษาถึงกระบวนการกลุ่มเกลาทางสังคม (Socialization) หรือศึกษา ถงึ พฤตกิ รรมทางการเมอื งของกลุ่ม เพื่ออธิบายถึงพฤตกิ รรมร่วมของกล่มุ (Collective behavior) วา่ เกิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร มีอะไรเปน็ ปจั จยั เปน็ ต้น ๕. นิตศิ าสตร์ (Jurisprudence) เพราะการปกครองต้องมกี ฎเกณฑ์ ข้อบงั คบั เพอื่ ให้สมาชิก ในสังคมน้ัน ๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข หรืออาจกล่าวได้ว่ากฎหมายเป็นเคร่ืองมือของรัฐ ในการสร้างอ�ำนาจให้แก่หน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติภารกิจให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด และไม่ว่าจะเรียกกฎหมายที่ใช้บังคับเพ่ือการปกครองประเทศว่าอย่างไร แต่โดยเน้ือแท้ของกฎหมายนั้นก็คือ การเป็นเคร่ืองมือที่รัฐใช้ในการสร้างความชอบธรรมให้แก่ตน เพ่ือการควบคุม ดูแล และบริหารประเทศให้บรรลุเป้าหมายได้โดยปราศจากอุปสรรค เพราะฉะน้ัน รฐั ศาสตรก์ ับนิติศาสตรจ์ ึงมีความเกี่ยวพนั กนั อยา่ งแนบแน่นเสมอมา ค. ความสัมพนั ธ์กับวิชาในหมวดมนุษยศาสตร์ (Humanities) ๑. มานษุ ยวทิ ยา (Anthropology) เปน็ การศกึ ษาท่พี ยายามหลีกเลีย่ งการมองเฉพาะสถาบนั ทางการเมือง แต่จะศึกษามุ่งเน้นไปท่ีโครงสร้าง – หน้าท่ี (structural-functional approach) เพ่ือหลีกเล่ียงความโน้มเอียงทางวัฒนธรรมในแต่ละสังคม สาขาวิชามานุษยวิทยามีความส�ำคัญ

42 รฐั ศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ อย่างย่ิงในการศึกษารัฐศาสตร์ของกลุ่มการเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics) ท่ีต้องการ เปรียบเทียบการเมืองในแต่ละสังคม แต่ละยุคสมัย โดยปราศจากการโน้มเอียงทางค่านิยม (Value) หรอื วัฒนธรรม (Culture) เพ่อื ใหเ้ กิดการเปรียบเทยี บอยา่ งแท้จริง ๒. ประวตั ิศาสตร์ (History) วิชาประวัติศาสตร์จะใหค้ วามกระจา่ งในขอ้ เท็จจริงเก่ยี วกบั อดตี ที่ผ่านมาจึงท�ำให้นักรัฐศาสตร์สามารถเข้าใจถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ท้ังทางด้านสังคมเศรษฐกิจ และ การเมืองท่เี กิดขน้ึ ในอดตี การมขี อ้ เทจ็ จริงที่ถูกตอ้ ง แมน่ ย�ำ และครอบคลมุ จะเปน็ ข้อเทจ็ จริงในการที่ ใช้เป็นรากฐานในการวิเคราะห์เชิงรัฐศาสตร์ และอาจใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตได้ด้วย เพราะประวัติศาสตร์คือการเมืองในอดีต และการเมืองก็คือประวัติศาสตร์ในปัจจุบัน๑๗ ฉะน้ัน วิชา รฐั ศาสตร์และประวัตศิ าสตร์ต้องพ่งึ พาอาศยั ซง่ึ กันและกนั ๓. จรยิ ศาสตร์ (Ethics) วชิ าจรยิ ศาสตรม์ คี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งแนบแนน่ กบั ศลี ธรรมและคณุ ธรรม อนั เปน็ เร่อื งทแ่ี สดงถงึ คุณค่าความเปน็ มนุษยท์ ่ีไดร้ บั การยกย่องและยอมรับในการน�ำมาปฏบิ ัติ บุคคล ทีมีจริยธรรมสูงมักจะกระท�ำในส่ิงที่มีคุณค่าให้แก่สังคม เพราะฉะน้ันผู้น�ำหรือผู้ปกครองที่ดีจึงควรมี จริยธรรมเพื่อให้การปกครองบังเกิดผลดีต่อสังคมและผู้ใต้ปกครอง และลักษณ์เดียวกัน หากผู้ถูก ปกครองเป็นผู้ที่มีจริยธรรมก็จะท�ำให้ผู้ปกครองสามารถบริหารปกครองบ้านเมืองได้อย่างราบร่ืน จริยศาสตร์จึงเป็นสาขาวิชาที่มักถูกสอดแทรกอยู่ในหลักแห่งการปกครองหรือวิชาทางรัฐศาสตร์เพื่อ สรรสรา้ งการปกครองทดี่ ี อันประกอบไปด้วยผู้ปกครองและผใู้ ต้ปกครองทมี่ ีจรยิ ธรรมและศีลธรรม ดงั นน้ั วชิ ารฐั ศาสตรจ์ งึ เปน็ สหวทิ ยาการทเ่ี กยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั ศาสตรอ์ นื่ ๆ ทงั้ นเ้ี พอื่ สรา้ งองค์ ความรู้ (Body of Knowledge) ในศาสตรข์ องตน และเพือ่ ท�ำความเขา้ ใจปรากฏการณ์ทางการเมอื ง ทีเ่ ปน็ อยู่ แนวโน้มของการศึกษาวิชารฐั ศาสตร์ในระยะสนั้ คอื มุ่งศึกษาและนำ� ความรู้เท่าทีม่ ีอยู่มาใช้ แกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ในสงั คมการเมอื ง สว่ นในระยะยาว คอื มงุ่ สะสมความรทู้ เ่ี ชอ่ื ถอื ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั ศาสตร์ แขนงอน่ื ๆ ลักษณะของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ (Methodology) รฐั ศาสตรเ์ ปน็ วชิ าทถ่ี อื กำ� เนดิ มาชา้ นานตง้ั แตก่ อ่ นครสิ ตกาล และไดม้ พี ฒั นาการมาโดยตลอด ท้งั ในกรอบความคิด ความเช่อื เป้าหมาย และวิธกี ารศกึ ษา สำ� หรบั ประเดน็ ของวิธีการศึกษาผูเ้ ขยี นจะ ขอกลา่ วเฉพาะวธิ กี ารศกึ ษาวชิ ารฐั ศาสตรใ์ นปจั จบุ นั เทา่ นน้ั เพราะขนั้ ตอนการเปลย่ี นแปลงในประเดน็ ของวิธีการศกึ ษาจะไดก้ ลา่ วอกี คร้ังในหวั ขอ้ ววิ ัฒนาการของวชิ ารฐั ศาสตร์สำ� หรบั วิธีการศึกษาในสาขา วิชารฐั ศาสตร์อาจแบง่ ออกได้ดังนี้ ๑๗ G.A. Jacobsen and M.H.Lipman Poltical (Bames and Nooble, ๑๙๖๙), pp.๓.

ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกับรฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 43 ๑. Normative approach คือ การศึกษาแบบพรรณนา ซ่ึงเป็นวิธีการศึกษารัฐศาสตร์ท่ีได้ รับความนิยมอย่างสูงในยุคเร่ิมต้นจนถึงยุคกลางของยุโรป (สมัยกรีกโบราณถึงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕) เป็นการศึกษาท่ีมุ่งตอบค�ำถามว่าการเมืองที่ดีควรเป็นอย่างไร (What ought to be) เม่ือก�ำหนด มาตรฐานวา่ การเมอื งการปกครองแบบใดเปน็ สง่ิ ทด่ี แี ลว้ กจ็ ะนำ� เอาการรปู แบบหรอื วธิ กี ารปกครองใน รฐั ตา่ ง ๆ มาพิจารณาว่าเขา้ ตามกฎเกณฑท์ ีถ่ ือว่าเป็นการปกครองทีด่ ีหรือไม่โดยมาตรฐานการก�ำหนด กฎเกณฑน์ นั้ กเ็ ปลยี่ นแปลงไปตามยคุ สมยั เชน่ ในสมยั กรกี โบราณการปกครองทดี่ จี ะอยบู่ นพนื้ ฐานของ ปรชั ญาแหง่ มนษุ ยนยิ ม (Humanistic) สว่ นในสมยั กลางของยโุ รปกจ็ ะเปน็ การใชม้ าตรฐานจากศาสนา ครสิ ต์ เพราะฉะนนั้ การศกึ ษารฐั ศาสตรใ์ นลกั ษณะดงั กลา่ วจงึ เปน็ การศกึ ษาแบบอนมุ าน (Deductive approach)๑๘ คอื การใช้ผลสรุปท่ีได้จากการศึกษามาปรบั เขา้ กับเหตกุ ารณ์เฉพาะกรณี ๒. Empirical approach and behavioral approach คือ การศึกษาแบบประจักษ์และ การศกึ ษาแบบพฤตกิ รรมศาสตร์ ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากวธิ กี ารศกึ ษาของวชิ าวทิ ยาศาสตร์ และพฤตกิ รรมศาสตร์ ทใี่ หค้ วามสนใจในสง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ (What is) มากวา่ สง่ิ ทคี่ วรจะเปน็ วธิ กี ารศกึ ษา แนวนี้จะมีการส�ำรวจ สังเกต เก็บข้อมูล แล้วน�ำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ ท�ำให้การศึกษา รฐั ศาสตรย์ คุ ใหมจ่ ำ� ตอ้ งอาศยั ความรพู้ น้ื ฐานทางสถติ ริ ว่ มดว้ ย และเพอ่ื ความเปน็ ศาสตรท์ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ล มาจากวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทำ� ใหก้ ารศกึ ษารฐั ศาสตรด์ ว้ ยวธิ กี ารนตี้ อ้ งพยายามตดั คา่ นยิ ม (Value) ออกไปจากข้อเท็จจริงท่ีศึกษา วิธีการศึกษาจึงมีท้ัง Inductive และ Deductive๑๙ การศึกษาโดยวิธี การเชงิ ประจกั ษ์เรมิ่ เกิดขน้ึ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๖ เปน็ ต้นมา อยา่ งไรกด็ ี ไมว่ า่ จะเปน็ การศกึ ษาในลกั ษณะใดนกั รฐั ศาสตรใ์ นปจั จบุ นั โดยสว่ นใหญก่ ย็ อมรบั ในประโยชน์และตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาที่ได้ เพราะท้ังการศึกษาในรูปแบบการอนุมาน ๑๘ Carltion C. Rodee et al. Intruduction to Political Science.(New York : Mcgraw-Hill Co. ๑๙๕๗), pp.๘. ๑๙ Induction เปน็ การศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากขอ้ เทจ็ จรงิ และนำ� มาหาความสมั พนั ธเ์ พอ่ื สรา้ งขอ้ สรปุ ของผลไมป้ รากฏวา่ ผลไมส้ ีแดงท่ปี อกรับประทานแลว้ ๘ ผลมรี สเปรี้ยว และผลไม้สเี หลืองท่ปี อกรับประทานแล้ว ๗ ผลมีรสหวานทำ� ใหเ้ กิดความ สรปุ เพอ่ื หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ เทจ็ จรงิ คอื ผลไม้ กบั รสชาตขิ องผลไม้ ไดว้ า่ รสผลไมส้ แี ดงจะมรี สเปรย้ี วและผลไมส้ เี หลอื ง จะมรี สหวาน ทงั้ ๆ ทค่ี วามจรงิ อาจใชห่ รอื ไมใ่ ชก่ ไ็ ด้ เพราะขอ้ สรปุ ไดม้ าจากการทดลองและเกบ็ ขอ้ มลู จำ� นวนไมม่ ากนกั เพราะ ฉะน้นั ในการศึกษาลักษณะนจ้ี ะต้องใช้กลุ่มการทดลองหรอื กลุ่มตัวอย่างท่ีมีจำ� นวนมากพอแตอ่ ย่างไรก็ตาม การศึกษาทางรัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเก่ียวกับมนุษย์ที่มีความคิด มีความแตกต่างหลากหลาย ซึ่งแตกต่างไปจากการ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ จึงท�ำให้การศึกษาทางรัฐศาสตร์ไม่สามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงที่เป็นข้อสรุปที่ เรยี กวา่ ทฤษฎีได้ Deduction เป็นการใช้ข้อสรุปของความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงท่ีได้ศึกษาได้มาปรับเข้ากับเหตุการณ์เฉพาะกรณี เช่น จากข้อสรุปที่เชื่อว่าผลไม้ในตะกร้าท่ีมีสีแดงจะมีรสเปร้ียว และผลไม้ที่มีสีเหลืองจะมีรสหวาน เม่ือน�ำมาปรับเข้ากับ เหตุการณ์เฉพาะกรณีคือผลไม้ที่เหลือในตะกร้า จะท�ำให้เกิดการท�ำนายว่า ผลไม้สีแดงท่ีเหลืออยู่ในตะกร้าคงจะมีรสเปร้ียว และผลไมส้ ีแดงท่เี หลอื ในตะกรา้ นา่ จะมีรสหวานเหมือนท่ผี า่ นมา

44 รฐั ศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ (Deductive approach) หรือการศึกษาในรูปแบบการใช้เหตุและผล (Rationalistic) ก็ถือว่าเป็น ประโยชน์ในการน�ำผลที่ได้จากการศึกษามาพัฒนาองค์ความรู้เพื่อก้าวไปสู่การสร้างสมมติฐาน (Hypothesis) ในทางรัฐศาสตร์ทงั้ สน้ิ ความส�ำคัญของวชิ ารัฐศาสตร์ ๑. การศกึ ษารฐั ศาสตรเ์ พ่อื ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจทางดา้ นรัฐศาสตร์ การศกึ ษาวชิ ารฐั ศาสตรน์ อกจากชว่ ยใหเ้ กดิ ความรใู้ นวชิ ารฐั ศาสตรโ์ ดยตรงแลว้ ยงั ชว่ ยใหเ้ กดิ ความแตกฉานและรอบรู้ในการประยุกต์ใช้เหตุผลตามแนวคิดหรือกรอบทางความคิดของนักคิดทาง รฐั ศาสตรใ์ นแตล่ ะทา่ นดว้ ย ทง้ั นเ้ี พราะรฐั ศาสตรเ์ ปน็ วชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชห้ ลกั การทางกตรรกวทิ ยา แนวคดิ ทางปรชั ญา และยังใหค้ วามรูใ้ นสาขาวชิ าอน่ื ๆ อกี ด้วย การได้เรียนและเขา้ ใจถงึ วิชารัฐศาสตร์ จึงเปน็ การศึกษาถึงศาสตรท์ วี่ า่ ด้วยการเมอื งการปกครอง การบริหารกิจการของรัฐ และความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งประเทศ ตามผทู้ ศี่ กึ ษาจะใหค้ วามสนใจในแตล่ ะสาขาเพอื่ จะไดน้ ำ� ความรคู้ วามเขา้ ใจจากสาขา วิชาท่ีศึกษามาใช้อธิบาย (Descriptions) วิเคราะห์ (Explanations) และประเมิน (Evaluations) แนวโน้มในอนาคต ๒. การศกึ ษารัฐศาสตร์เพอื่ ใชเ้ ปน็ วิชาเสริมในการทำ� ความเข้าใจสาขาวชิ าอนื่ รัฐศาสตร์เป็นวิชาที่มีเน้ือหาสาระเก่ียวพันกับศาสตร์ในสาขาอื่นอย่างหลากหลาย เช่น เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา มนุษยวิทยา ปรัชญา ประวัติศาสตร์ จิตวิทยา ฯลฯ ดังได้กล่าวมาแล้ว จากความเก่ียวพันกันทางวิชาการระหว่างสาขาวิชา ท�ำให้วิชารัฐศาสตร์ได้รับผลกระทบมาจากสาขา วชิ าอ่ืนอย่างหลกี เล่ยี งไม่ได้ และในทางกลบั กนั ศาสตรใ์ นสาขาวิชาอน่ื กจ็ ะได้รบั ผลกระทบอันเกิดจาก วิชารัฐศาสตร์เช่นเดียวกัน เพราะฉะน้ันการศึกษาเพ่ือท�ำความเข้าใจในศาสตร์สาขาต่าง ๆ จ�ำต้อง ท�ำความเข้าใจในวิชารัฐศาสตร์เพ่ือเป็นรากฐานใช้ในการเสริมความเข้าใจให้มีลักษณะเป็นมิติที่ กว้างขวาง และครอบคลุม เช่น การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ที่มีความเก่ียวพันกับวิชารัฐศาสตร์ใน ลักษณะท่ีแยกจากกันได้ยาก ผู้ศึกษาจะเกิดความเข้าใจได้อย่างถ่องแท้และครอบคลุมย่ิงข้ึน หากได้ ทราบถึงอิทธิพลของการเมืองการปกครองท่ีเป็นปัจจัยส่งผลกระทบถึงการเคล่ือนไหวและการ เปล่ยี นแปลงในเชิงเศรษฐกจิ ๓. การศกึ ษารฐั ศาสตร์เพอ่ื นำ� ไปใชใ้ นชีวิตประจ�ำวันในฐานะสมาชิกของสังคม ทงั้ นไี้ มว่ า่ จะเปน็ ในสงั คมประชาธปิ ไตยหรอื เผดจ็ การกต็ าม การทพ่ี ลเมอื งของประเทศอนั เปน็ สมาชิกในสังคมเป็นผู้ที่มีศักยภาพ ความรู้ และความเข้าใจในรูปแบบของการเมืองการปกครองที่ ประเทศตนใช้อยู่ ย่อมส่งผลให้สมาชิกในสังคมสามารถท่ีจะประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างสอดคล้องกับ

ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกับรัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science) 45 ระบอบการปกครอง เขา้ ใจถงึ สทิ ธแิ ละหนา้ ทที่ ต่ี นมตี อ่ รฐั และอำ� นาจหนา้ ทที่ ร่ี ฐั มตี อ่ ประชาชน เมอื่ ทกุ ฝา่ ย มีความเข้าใจที่ตรงกันการปกครองไม่ว่าจะเป็นไปในรูปแบบใดก็จะสามารถด�ำเนินไปได้อย่าง ต่อเน่ืองมีพัฒนาการ ไม่เกิดปัญหาใด ๆ ที่ท�ำให้พัฒนาการทางการเมืองเกิดการสะดุดหยุดลง เช่น ในประเทศท่ีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยจะสามารถมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องได้ ก็ต่อเม่ือ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองพอสมควร รัฐศาสตร์จึงเป็นวิชา ท่ีช่วยให้ผู้ศึกษาได้รู้จักกลไกแห่งการปกครองและรู้จักการใช้สิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของตน ในฐานพลเมอื งท่ดี ีของสังคม ๔. การศกึ ษารัฐศาสตร์ในฐานะทเี่ ปน็ วชิ าชีพ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรับหรือเอกชน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ก็จะต้องการ บุคลากรที่มีความรู้ทางรัฐศาสตร์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ เพื่อให้น�ำความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ในการปฏิบัติงานใน ตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ แตท่ งั้ นไี้ มไ่ ดห้ มายความวา่ หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนจะตอ้ งการเฉพาะนกั รฐั ศาสตร์ ทีป่ ราศจากความรอบรู้ในสาขาวิชาอน่ื แต่ในความเปน็ จริงหน่วยงานต่าง ๆ ก็ต้องการท้ังนกั รฐั ศาสตร์ และบุคลากรที่จบสาขาวิชาอ่ืนมาร่วมปฏิบัติงานด้วยในต�ำแหน่งที่เหมาะสมกับสาขาวิชาที่ได้รับการ ศึกษามา แม้ในส่วนของต�ำแหน่งท่ีต้องการผู้ท่ีจบการศึกษาทางรัฐศาสตร์เองก็ใช่ว่าจะต้องการเฉพาะ ผู้ท่ีมีความรู้เฉพาะสาขาวิชารัฐศาสตร์เท่านั้น เพราะการปฏิบัติงานในต�ำแหน่งต่าง ๆ ต้องใช้ความรู้ ความสามารถในหลายสาขาวชิ าประกอบกนั ฉะนน้ั องคก์ รทัง้ ของรัฐและเอกชนจงึ ตอ้ งการบุคลากรท่ี มีความรูใ้ นสาขาอืน่ ๆ ด้วย เพยี งแตอ่ าจจะเนน้ หนักไปในทางรัฐศาสตร์ เช่น ๔.๑ สาขาวชิ าการปกครอง ผู้ทีค่ วามรทู้ างรัฐศาสตร์สาขาการปกครองจะสามารถปฏบิ ตั ิงาน ในส่วนราชการได้หลากหลาย เช่น กรมการปกครอง กรมพัฒนาชุมชน กรมต�ำรวจ กระทรวง และกรมอ่ืน ๆ ท้ังนี้เพราะผู้ท่ีมีความรู้ทางการปกครองจะสามารถใช้ประโยชน์จากวิชาที่เล่าเรียนมา การตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงานปกครองตา่ ง ๆ ได้คลอ่ งตัวยิง่ ข้นึ และรู้จักการน�ำหลกั การและปรัชญาทางการ ปกครองไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับงานท่รี บั ผดิ ชอบ ๔.๒ สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้รับ ความสนใจอย่างสูงภายหลังเหตุการณ์สงครามโลกคร้ังที่สอง โดยเฉพาะในโลกปัจจุบันที่เป็นยุค ไรพ้ รมแดน การตดิ ตอ่ สอ่ื สารสามารถกระทำ� ไดท้ วั่ โลก ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศจงึ กลายเปน็ เรอื่ ง ส�ำคัญอย่างยิ่งในการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมระหว่างประเทศ ผู้ที่จบการศึกษาในสาขาวิชานี้จึง สามารถปฏิบัติงานในกระทรวงต่างประเทศหรือหน่วยงานเอกชนที่มีการติดต่อกับนานาชาติได้เป็น อย่างดี เช่น ในองค์กรท่ีมีกิจการส่งสินค้าไปต่างประเทศและน�ำสินค้าจากต่างประเทศเข้ามา หรือ ในหนว่ ยงานทเี่ ปน็ บรษิ ทั ขา้ มชาติ ธนาคาร บรษิ ทั ขา้ มชาติ (Transnational companies) และโรงแรม สาขาในระดบั นานาชาติ (Chain hotel) เปน็ ต้น

46 รัฐศาสตรเ์ บือ้ งต้น ๔.๓ สาขาบริหารรัฐกจิ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารองค์กรของรัฐซึง่ มลี กั ษณะทัง้ ใน ส่วนที่เหมือนและในส่วนที่แตกต่างไปจากองค์กรของเอกชน ทำ� ให้การบริหารงานในกิจการของรัฐจำ� ต้องมีผู้ที่มีความรู้ความสามารถท่ีกว้างไกล เข้าใจท้ังในเรื่องของการบริหารงาน และการเมือง การปกครองทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เพอ่ื ใหป้ ระเทศสามารถดำ� รงอยแู่ ละพฒั นาการไปในทศิ ทาง ทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งโลกแปรเปลยี่ นไป การบรหิ ารกจิ การ ของรัฐมิใช่เพียงการท�ำตามนโยบายที่รัฐก�ำหนดเท่านั้น แต่การบริหารองค์กรของรัฐต้องมีทั้งการ วางแผน การด�ำเนินการ การแก้ไขปัญหา และการเสนอแนะแนวทางในการบริหารเพื่อให้หน่วยงาน ของรฐั สามารถด�ำเนนิ กจิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพตรงตามนโยบายของรัฐทก่ี �ำหนดไว้ รฐั ศาสตรใ์ นประเทศไทย๒๐ ประวตั ยิ อ่ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ คือช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ไดท้ รงยกฐานะโรงเรียนมหาดเล็กหลวงขนึ้ เปน็ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั คณะ “รฐั ประศาสนศาสตร”์ ก็เป็นคณะหนึ่งในบรรดาคณะแรก ๆ ท่ีเปิดสอนข้ึนมาภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดม้ ีการจัดต้งั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์และการเมอื งข้นึ มาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ในชว่ งเวลาน้ัน คณะรฐั ประศาสนศาสตรท์ จ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดเ้ ปลยี่ นชอ่ื มาเปน็ “คณะรฐั ศาสตรแ์ ละกฎหมาย” โดยทโ่ี รงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุตธิ รรมได้ถกู ผนวกเขา้ ไป สำ� หรบั คำ� ว่า “รัฐศาสตร์” นั้นเพิ่งใชใ้ นปี พ.ศ. ๒๔๗๕ และใช้ในความหมายทไ่ี ม่แตกต่างจาก “รฐั ประศาสนศาสตร”์ คณะรฐั ศาสตรแ์ ละกฎหมายทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปดิ ไดเ้ พยี งปเี ดยี วในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ไดถ้ ูกยา้ ยออกไปอยมู่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมอื ง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ คณะรัฐศาสตรไ์ ดจ้ ัดการจดั ต้ังขึน้ ใหมท่ ี่จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั นอกเหนอื จากการสอนเปน็ สาขาวชิ าสำ� คญั ในสองมหาวทิ ยาลยั นนั้ แลว้ ตอ่ มาเมอื่ มกี ารขยาย การอุดมศึกษาเข้าสู่ส่วนภูมิภาคเร่ิมต้นด้วยการสถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ แล้วก็มกี ารจัดตัง้ ภาควิชารัฐศาสตร์ขึ้นในคณะสังคมศาสตร์ ๑ ปีใหห้ ลัง คอื ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ จุดส�ำคัญของการพัฒนาอุดมศึกษาในประเทศไทยหลังจากการขยายการศึกษาเข้าสู่ส่วน ภูมิภาคในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ แล้ว ได้แก่ การเปิดมหาวิทยาลัยรามค�ำแหงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ อันเป็น ๒๐ จริ โชค (บรรพต) วีระสยั ดร. สรุ พล ราชภณั ฑารักษ์ ดร.และสุรพนั ธ์ ทบั สวุ รรณ์ ผศ. เรือ่ งเดิม หน้า ๓๖-๓๙

ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกบั รฐั ศาสตร์ (Introduction to Political Science) 47 ระบบมหาวิทยาลัยเปิด (แบบตลาดวิชา คือมีชั้นเรียน) ในระยะต้นมีภาควิชารัฐศาสตร์อยู่ในคณะ นิติศาสตร์ ต่อมาได้มีการพัฒนาข้ึนเป็นคณะรัฐศาสตร์ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ขณะนี้ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ได้มี บณั ฑิตรัฐศาสตรจ์ ากมหาวทิ ยาลัยรามคำ� แหงมากกว่า ๔๐,๐๐๐ คน ตารางแสดงปสี ำ� คญั ทเี่ กย่ี วกบั การววิ ฒั นาการทางการศึกษารัฐศาสตร์ในประเทศไทย วิวัฒนาการของการสถาบันการศึกษาทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย พอสรุปไดด้ งั นี้ ๒๔๔๒ โรงเรียนฝกึ หัดขา้ ราชการพลเรอื น ๒๔๔๕ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ๒๔๕๓ โรงเรียนข้าราชการพลเรอื น (รวมทั้งโรงเรยี นรฐั ประศาสนศึกษา) ๒๔๕๗ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั (มคี ณะรฐั ประศาสนศาสตร์) ๒๔๗๖ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยุบคณะรัฐประศาสนศาสตร์ทจี่ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ๒๔๙๑ ตง้ั คณะรัฐศาสตรข์ น้ึ ใหม่ในจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย บรรจวุ ชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ในหลักสตู รรัฐศาสตรด์ ว้ ย ๒๔๙๓ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เปิดสอนรัฐศาสตร์ด้วย ๒๔๙๘ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งคณะรัฐประศาสนศาสตร์ในหลักสูตรรัฐศาสตร์ ระดับ ระดับปริญญา ๒๕๐๘ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มเปิดโครงการปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) ในคณะสงั คมศาสตร์ ๒๕๐๙ ก่อต้ังสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์และโอนคณะรัฐประศาสนศาสตร์ของ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ไปเปน็ คณะหนงึ่ ของสถาบนั บัณฑิตฯ เปิดสอนระดบั ปริญญาโท ๒๕๑๑ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เร่ิมเปิดสอนระดับปริญญาตรีทาง รัฐประศาสนศาสตร์ (บรหิ ารรฐั กจิ ) ๒๕๑๑ โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาประกาศนียบัตรเป็นปริญญา วิชาชพี รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) ๒๕๑๔ ต้งั ภาควชิ ารัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง ๒๕๑๖ ตัง้ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง เปิดสอนปริญญาตรที างรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ เปดิ หลกั สูตรปรญิ ญาโททางรฐั ประศาสนศาสตร์ ๒๕๑๘ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร)์

48 รฐั ศาสตร์เบ้ืองตน้ ๒๕๑๙ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดหลักสูตรปริญญาตรีทาง รัฐประศาสนศาสตร์ ๒๕๒๒ บณั ฑิตวทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เปิดหลักสตู รปรญิ ญาเอกทางรฐั ศาสตร์ ๒๕๒๕ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าชเปดิ สาขาวิชารัฐศาสตร์ ๒๕๒๖ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดหลักสูตรปริญญาโททาง รัฐประศาสนศาสตร์ ๒๕๓๐ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หเ้ ปดิ หลกั สตู รปรญิ ญาโททาง รัฐศาสตร์ ๒๕๓๑ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง ไดร้ บั อนุมตั ใิ ห้เปดิ หลักสตู รปริญญาโททาง รฐั ศาสตร์ ๒๕๓๒ สถาบันเอกชนเริ่มเปดิ สอนบัณฑติ ศึกษาทางรัฐศาสตร์ หรอื วิชาที่เกี่ยวขอ้ ง ๒๕๔๓ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย เปิดหลักสูตรศาสน ศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารฐั ศาสตรก์ ารปกครอง ๒๕๔๘ บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย เปดิ หลกั สูตรศาสนศาสตรมหา บณั ฑิต สาขาวิชารัฐศาสตรก์ ารปกครอง สรปุ รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองการเมือง การปกครอง ค�ำว่า “รัฐศาสตร์” กับ “การเมือง” และ “การปกครอง” อาจใชแ้ ทนกันได้ แต่ก็มขี ้อแตกต่างกัน คือ รฐั ศาสตรม์ กั จะหมายถงึ ศาสตร์หรือวิทยาการท่ีมีการจัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ ส่วนการเมืองและการปกครองจะใช้ไปใน ความหมายเชงิ พฤตกิ รรมหรอื กจิ กรรม สำ� หรบั จดุ กำ� เนดิ ของรฐั ศาสตรใ์ นโลกตะวนั ตกและตะวนั ออกแตกตา่ งกนั ในโลกตะวนั ตกเปน็ ผลมาจากข้อเขียนทางประวัติศาสตร์และความคิดเชิงปรัชญา ส่วนในโลกตะวันออกได้รับอิทธิพลจาก คำ� สอนทางศาสนา ซงึ่ ปรากฏในคมั ภรี ต์ า่ ง ๆ ของแตล่ ะศาสนา และบางทกี ผ็ สมผสานปะปนกบั คำ� สอน ทางจรยิ ธรรมของนักปราชญแ์ ละค�ำสอนของศาสนาเข้าดว้ ยกัน เปน็ หลักการทางรฐั ศาสตร์ การศกึ ษารฐั ศาสตรท์ ีแ่ บ่งเปน็ ยคุ คอื ยุคกรกี โบราณ ยคุ จกั รวรรดโิ รมัน และยโุ รปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูและสมัยใหม่ ในยุคกรีกโบราณถือได้ว่า เป็นจุดก�ำเนิดแนวความคิดเชิงรัฐศาสตร์ โดยได้รับ อทิ ธพิ ลจากนักปราชญ์ ๓ ท่าน คือ ซอคระตีส เพลโต และอริสโตเติล ถอื ไดว้ า่ เป็นผู้ใหก้ ำ� เนิดแนวคิด ทางรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะอริสโตเติลได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งรัฐศาสตร์” ซ่ึงมีผลงานทางด้าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook