Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือบัณฑิตธรรม

หนังสือบัณฑิตธรรม

Description: หนังสือบัณฑิตธรรม

Search

Read the Text Version

งานพระราชทานเพลงิ สรีรสังขาร พระคุณเจ้า หลวงปบู่ ุญฤทธิ์ ปณฑฺ โิ ต ณ เมรชุ ว่ั คราว วัดปา่ ภูริทตั ตปฏิปทาราม ต�ำบลคลองควาย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทมุ ธานี วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ 1

2

3





6

เขาพดู ว่าเราดี เราก็ไม่ดเี หมอื นค�ำพดู เขา เขาพูดวา่ เราชวั่ เรากไ็ มช่ ่วั เหมือนค�ำพูดเขา ถา้ เราไม่ยึด... เราไมม่ .ี .. เราจะเอาอะไรไปดไี ปชัว่ พระครวู เิ วกพุทธกิจ (เสาร์ กนตฺ สโี ล) วัดดอนธาตุ จังหวัดอบุ ลราชธานี นามเดิม เสาร์ เกิด เมอ่ื วนั จนั ทร์ แรม ๔ คำ่� เดือนยี่ ปีระกา ตรงกบั วันท่ี ๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๐๒ ทบ่ี ้านขา่ โคม ตำ� บลหนองขอน อ�ำเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี เปน็ บตุ รของนายทาและนางโม่ มีพี่นอ้ งรว่ มบดิ ามารดาเดียวกนั ๕ คน บรรพชา ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗ ขณะมีอายไุ ด้ ๑๕ ปี ทว่ี ดั ใต้ สงั กดั คณะมหานิกาย อปุ สมบท ในปี พ.ศ. ๒๔๒๒ ทีว่ ัดใต้ อำ� เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ญัตตเิ ปน็ พระธรรมยุต ในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ณ พระอุโบสถวัดศรีทอง (วดั ศรอี บุ ลรัตนาราม) มีพระครทู า โชตปิ าโล เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ พระอธกิ ารสีทา ชยเสโน เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ มรณภาพ ในอิริยาบถนงั่ กราบพระประธานครงั้ ที่ ๓ ในพระอโุ บสถวัดอ�ำมาตยาราม อำ� เภอวรรณไวทยากร จังหวัดนครจมั ปาศกั ด์ิ ประเทศไทย ในขณะนั้น (ปจั จุบนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของแขวงจำ� ปาศกั ด์ิ ประเทศลาว) เมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ� เดอื น ๓ ปีมะเมีย ตรงกบั วนั ที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๕ คณะศิษยไ์ ด้เชญิ ศพของทา่ นกลับมา ณ วัดบูรพาราม อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี และไดท้ ำ� การฌาปนกจิ ในวนั ที่ ๑๕-๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๖ สิรริ วมอายุได้ ๘๒ ปี พรรษา ๖๒ 7

8

ใจนี้ คอื สมบัตอิ ันล้ำ� ค่า จงึ ไมค่ วรอย่างยงิ่ ท่จี ะมองขา้ มไป คนพลาดใจ คือ คนไม่สนใจปฏิบัตติ ่อดวงใจ ดวงวิเศษในรา่ งน้ี แม้จะเกดิ สกั รอ้ ยชาติพันชาติ ก็คือผเู้ กดิ พลาดอยนู่ ัน่ เอง พระครูวนิ ัยธรมน่ั ภรู ิทตฺโต (ม่นั ภูรทิ ตโฺ ต) วัดป่าสุทธาวาส จงั หวดั สกลนคร นามเดมิ ม่นั แก่นแก้ว เกดิ วนั พฤหสั บดที ี่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ณ บ้านคำ� บง ตำ� บลสงยาง อำ� เภอโขงเจยี ม (ปจั จุบนั คือ อำ� เภอศรเี มืองใหม)่ จังหวัดอบุ ลราชธานี บดิ าช่อื นายค�ำด้วง แกน่ แก้ว และมารดาช่อื นางจนั ทร์ แกน่ แกว้ บรรพชา เม่อื ทา่ นอายไุ ด้ ๑๕ ปี ณ วดั บ้านค�ำบง เมื่อบวชได้ ๒ ปี บิดาขอร้องใหล้ าสกิ ขาเพ่อื ช่วยการงานทางบ้าน อุปสมบท เมอ่ื ทา่ นอายไุ ด้ ๒๓ ปี ไดเ้ ขา้ พิธีอปุ สมบท ณ วัดเลยี บ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี ในวันที่ ๑๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยมี พระอรยิ กระวี (อ่อน ธมมฺ รกขฺ โิ ต) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูสีทา ชยเสโน เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระครปู ระจกั ษ์อุบลคุณ (ส่ยุ าณสโย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับขนานนามเปน็ ภาษามคธว่า ภรู ทิ ตโฺ ต แปลวา่ ผู้ใหป้ ญั ญา มรณภาพ เม่ือเวลา ๐๒.๒๓ น. ในวนั ศุกรท์ ี่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ณ วดั ปา่ สุทธาวาส จังหวัดสกลนคร สริ ริ วมอายไุ ด้ ๘๐ ปี พรรษา ๕๖ 9

10

นพิ พานไม่ได้สญู ไมไ่ ดอ้ ยูต่ ามทโี่ ลกคาดคะเนหรอื เดากัน ท�ำจริงจะได้เห็นของจริงรจู้ รงิ และจะเห็นนิพพานเอง เหน็ พระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เห็นครบู าอาจารย์ทีท่ ่านบริสทุ ธเิ์ อง และหายสงสยั โดยประการทง้ั ปวง หลวงปู่ชอบ านสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ จังหวดั เลย นามเดมิ บ่อ แก้วสวุ รรณ เป็นบุตรของนายมอ และนางพิลา แกว้ สุวรรณ เกดิ วันที่ ๑๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๔ ตรงกบั วันพุธ ขน้ึ ๕ ค่�ำ เดือน ๓ ปฉี ลู ณ บา้ นโคกมน ตำ� บลผาน้อย อ�ำเภอวงั สะพุง จงั หวดั เลย บรรพชา เมื่ออายุ ๑๙ ปี ณ บ้านนาแก ตำ� บลบ้านนากลาง อำ� เภอหนองบัวลำ� ภู จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบันคอื จังหวดั หนองบัวลำ� ภ)ู อุปสมบท หลงั จากใชช้ ีวติ เป็นสามเณรอยู่ถงึ ๔ ปกี ว่า ท่านก็ไดอ้ ปุ สมบท เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ (อายุ ๒๓ ปี) ณ วดั สรา่ งโคก (ปัจจบุ ันคอื วดั ศรธี รรมาราม) อ�ำเภอยโสธร จังหวัดอบุ ลราชธานี (ปัจจบุ นั คอื จังหวัดยโสธร) โดยมีพระครูวิจิตรวโิ สธนาจารย์ เปน็ พระครอู ปุ ัชฌาย์ พระอาจารย์แดงเปน็ พระกรรมวาจาจารย์ ไดร้ ับฉายาว่า “านสโม” มรณภาพ วนั ท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ณ วดั ปา่ สมั มานุสรณ์ 1จ1ังหวดั เลย สิรริ วมอายุได้ ๙๓ ปี ๑๑ เดือน ๒๗ วัน พรรษา ๗๐

12

ธรรมะท่แี ทจ้ รงิ ...อยู่ทไี่ หน? ค�ำพูด หนงั สอื คมั ภรี ์ เจดีย์ สิง่ เหล่านี้เป็นเพียงเงาของธรรมะ สว่ นตัวจรงิ ของธรรมะน้ัน อยู่ท.ี่ ..จิตใจ พระสทุ ธธิ รรมรังสคี มั ภรี เมธาจารย์ (ท่านพอ่ ลี ธมฺมธโร) วัดอโศการาม จงั หวดั สมทุ รปราการ นามเดิม ชาลี นารีวงศ์ เปน็ บตุ รของนายปาว และนางพว่ ย นารีวงศ์ เกดิ วนั พฤหัสบดที ี่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๙ เวลา ๒๑.๐๐ น. ตรงกับวนั แรม ๒ ค่�ำ เดอื นยี่ ปีมะเมยี ณ บ้านหนองสองห้อง ตำ� บลยางโยภาพ อำ� เภอมว่ งสามสบิ จังหวัดอบุ ลราชธานี อปุ สมบท วันพธุ ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ ตรงกบั วนั ขึน้ ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๖ เป็นพระภิกษฝุ า่ ยมหานกิ าย ญตั ตเิ ปน็ พระธรรมยุต วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ณ วัดบรู พา โดยมีพระปญั ญา พิศาลเถร (หนู ติ ปญฺโ) วดั สระปทุม จงั หวดั พระนคร เป็นพระอุปัชฌาย์พระอาจารย์เพ็ง วัดใต้ จงั หวัดอบุ ลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ท่านพระอาจารยม์ น่ั เปน็ ผบู้ รรพชาให้เป็นสามเณร) สมณศักด์ิ ได้รับพระราชทานสมณศกั ดเ์ิ ป็นพระราชาคณะชน้ั สามัญ ท่ี พระสุทธิธรรมรงั สคี ัมภรี เมธาจารย์ เม่ือวนั ท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ มรณภาพ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ณ วดั อโศการาม จังหวดั สมุทรปราการ สริ ริ วมอายุได้ ๕๕ ปี ๓ เดอื น ๖ วัน พรรษา ๓๔ 13

14

ถา้ ใจดแี ลว้ การกระทำ� ทุกอยา่ งก็ดี ถา้ ใจชัว่ แล้ว พูดอยทู่ ำ� อยู่ก็ต้อง ทำ� อยดู่ ้วยความชวั่ (ความช่วั ) นน่ั มันหมนุ บงั คับให้ท�ำ เพราะความชัว่ ทมี่ ีอยใู่ นใจนัน้ เลยกลายเป็นใจเป็นใหญ่ หวั หนา้ ในทางความชั่ว พระโพธิธรรมาจารย์ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ) วดั ป่าเขานอ้ ย จงั หวดั บรุ ีรัมย์ นามเดมิ “สวุ ัจน์” มีชาตกิ ำ� เนดิ ในสกลุ “ทองศรี” เกดิ เมอ่ื วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ ตรงกบั วันศุกร์ ข้ึน ๔ คำ่� เดือน ๑๐ ปมี ะแม ณ ตำ� บลตากกู อำ� เภอเมือง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ โยมบิดาช่อื บุตร โยมมารดาช่อื กง่ึ บรรพชา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ซงึ่ ขณะน้ันทา่ นมอี ายไุ ด้ ๑๙ ปี ณ วดั กระพุมรัตน์ บา้ นตากกู อุปสมบท ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ อายคุ รบ ๒๐ ปี ณ วัดกระพุมรตั น์ บา้ นตากกู ท่านได้รบั ฉายาว่า “สุวโจ” โดยมพี ระครูธรรมทัศน์พมิ ล (ดน้ ) เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย (เมอื่ คร้งั เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมือง จงั หวดั สุรนิ ทร)์ เป็นพระอปุ ชั ฌาย์ พระอาจารยเ์ คลอื บ วดั ดาวรงุ่ บา้ นขาม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์อเุ ทน วดั กระพุมรัตน์ บา้ นตากูก เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ญัตติเปน็ พระธรรมยตุ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ณ วดั สุทธจนิ ดา อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครราชสีมา โดยมีท่านเจ้าคณุ พระธรรมฐิตญิ าณ (สงั ข์ทอง) เปน็ พระอุปัชฌาย์ พระอาจารยม์ หาปิน่ ปฺาพโล เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารยท์ องดี เป็นพระอนสุ าวนาจารย์ มรณภาพ เม่ือเวลา ๑๓.๑๒ น.ของวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ สริ ริ วมอายุได้ ๘๒ ปี ๗ เดอื น ๗ วนั พรรษา ๖๑ 15

16

คำ� น�ำ หลวงป่บู ุญฤทธิ์ ปณฺฑิโต เป็นพระเถระผ้รู ัตตญั ญู รูร้ าตรนี าน คือได้รไู้ ด้เหน็ เรอื่ งราวตา่ งๆ มามาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นผู้รู้ราตรีนานในทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงหาได้ยาก เพราะหลวงปู่ เจรญิ ด้วยพรรษายกุ าล ถึง ๑๐๔ ปี ๘ เดือน ๒๔ วัน กอปรกบั เป็นผใู้ ฝร่ ู้ใฝ่ปฏบิ ตั ิมาตั้งแต่เขา้ มาสู่ พรหมจรรย์น้ี เมื่ออายุ ๓๒ ปี หลวงปจู่ งึ ไดเ้ รยี นรู้ และลงมอื ปฏิบัติในสมณธรรมมาเปน็ เวลายาวนาน จวบจนถึงวาระสุดท้ายของชนมช์ พี นอกจากจะใฝ่รู้ใฝป่ ฏบิ ตั ิในสมณธรรมด้วยตนเอง จนประจักษผ์ ลแหง่ การปฏิบตั ิแลว้ หลวงปู่ ก็ไดเ้ มตตา เผอื่ แผ่สมณผลไปยังเพอ่ื นร่วมทกุ ข์ทงั้ หลายโดยไมจ่ ำ� กดั เช้อื ชาติอีกดว้ ย โดยการออกไป ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีพระธรรมทูต สัง่ สอนพระพทุ ธศาสนาในตา่ งประเทศหลายประเทศ เปน็ เวลากว่า ๓๐ ปี ย่ิงเป็นการเพม่ิ พนู ประสบการณใ์ นธรรมศกึ ษาและธรรมปฏบิ ัตใิ ห้กบั หลวงปเู่ องอีกเป็นอันมาก เม่ือเข้าวัยชรา สังขารร่างกายไม่เอ้ือต่อการตรากตร�ำท�ำหน้าท่ีพระธรรมทูตในต่างประเทศ ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศและความเป็นอยู่ค่อนข้างไม่สัปปายะต่อสรีรสังขารของผู้สูงวัย จึงในวันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๔๔ (ค.ศ. ๒๐๐๑) คุณทพิ ยา กิตตขิ จร ได้มีจดหมายไปกราบอาราธนานิมนตพ์ ร้อมท้งั โทรศพั ทท์ างไกลขอใหห้ ลวงปเู่ มตตากลบั มาอยเู่ ปน็ มงิ่ ขวญั และเปน็ ทพ่ี งึ่ แกค่ ณะศษิ ยานศุ ษิ ยเ์ ปน็ การ ถาวร ซึ่งท่านได้เมตตารบั อาราธนานิมนต์ แต่ยงั เดินทางไป-กลับเมืองไทย-ออสเตรเลยี จนถงึ วนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๔๖ หลวงปู่จึงได้กลับมาประจ�ำอยู่ในประเทศไทย ณ ที่พักสงฆ์สวนทิพย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นต้นมา (รวมระยะเวลา ๑๖ ปีโดยประมาณ) จวบจนอวสานแห่งชนมช์ พี ในระหวา่ งจำ� พรรษาอยู่ ณ ทพี่ ักสงฆ์สวนทิพย์ หลวงปูไ่ ด้เมตตาอนุเคราะหส์ ั่งสอนธรรมแก่ ศิษยานุศิษย์และพุทธศาสนิกชนทั่วไปมิได้ขาดและมิได้หยุดหย่อน แม้จะอยู่ในวัยชรา แต่ธาตุขันธ์ และผิวพรรณของหลวงปู่ก็ผ่องใสสะอาด สะท้อนสภาวะภายในจิตใจขององค์ท่านว่ามิได้อ่อนแรง หรือเชื่องช้าเส่ือมคลายไปกับธาตุขันธ์ด้วย ธรรมะหรือค�ำสอนที่หลวงปู่อนุเคราะห์ส่ังสอนคน ทั้งหลาย ล้วนสะท้อนสมณธรรม สมณปฏิบัติ และสมณผล ท่ีหลวงปู่ได้มีการปฏิบัติมา จึงเป็นที่ เลือ่ มใสศรัทธาอยา่ งยง่ิ ใหญแ่ ก่ผทู้ ่ไี ดม้ าพบเห็นและได้มาสดบั ตรบั ฟังธรรมเทศนาขององค์ท่าน ค�ำสอนของหลวงปู่ท่ีรวบรวมมาพิมพ์ไว้ในหนังสือ บัณฑิตธรรม น้ีเป็นเพียงบางส่วน ท่ี รวบรวมได้ในเวลาอันจ�ำกัด และเป็นค�ำสอนท่ีจดบันทึกจากการสอนของหลวงปู่ในโอกาสต่างๆ จึง อาจมีบางช่วงบางตอนที่ผูจ้ ดบนั ทกึ จดบนั ทึกไว้คลาดเคลอื่ นหรือไม่ครบถ้วนบ้าง จงึ ขออภัยในความ บกพรอ่ งไว้ ณ โอกาสน้ีด้วย คณะศิษยานุศิษย์ขอนอบน้อมเชิญอ�ำนาจแห่งความกตัญญูกตเวทิตาคุณ น้อมกราบถวาย กุศลบุญราศี อันเป็นกัลปนาผลจากการจัดพิมพ์หนังสือน้ี แด่องค์หลวงปู่บุญฤทธ์ิ ปณฺฑิโต ขอ กุศลบุญราศีคร้ังน้ี จงสัมฤทธอิ์ ทิ ธิวิบากวบิ ุลมนุญผล เพ่ิมพนู สทุ ธวิ บิ ากสมบัติ แด่พระคณุ เจ้าหลวงปู่ บญุ ฤทธิ์ ปณฺฑโิ ต อันควรแก่ฐานนิยม จงทกุ ประการ เทอญ. ด้วยความเคารพอยา่ งสูงและสำ� นกึ ในพระคุณอย่างหาทีส่ ุดมิได้ 1 7 คณะศิษยานศุ ษิ ย์

18

19

20

21

ท่านพระอาจารย์กู่ เกิดเม่ือ วนั เสาร์ เดือนเมษายน (เดือน ๕) ปีชวด พุทธศักราช ๒๔๔๓ ณ บ้านม่วงไข่ อำ� เภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร ใน ตระกูลสุวรรณรงค์ บิดาชื่อหลวงพรหม (เมฆ) มารดาช่อื นางหล้า สุวรรณรงค์ มพี น่ี อ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกนั ๗ คน ถงึ แก่กรรม แต่ยังเลก็ เสีย ๔ คน ทา่ นเป็นบตุ รคนท่ี ๓ มนี อ้ งชาย ๒ คน คือพระอาจารย์กว่า สุมโน วัดป่ากลางโนนภู่ อีกคนหน่ึงเป็น ฆราวาสช่ือเกิ่ง ท�ำมาหาเลี้ยงชีพอยู่ท่ีบ้านบะทอง อ�ำเภอ พรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร ทา่ นพระอาจารยก์ ู่ เปน็ คนมีรูปรา่ งสงู ใหญ่ ผิวขาว นิสัย ใจคอเยือกเย็น สุขุม สติปัญญา เฉลียวฉลาด มีกิริยาสงบ เรียบร้อย พูดนอ้ ย มคี ติ จติ ใจชอบทางสมณวิสัยมาต้ังแตเ่ ด็ก ขณะที่เจริญวัยบิดาได้น�ำไปฝากให้เรียนหนังสือในส�ำนักของ อาจารย์ตน้ จนอา่ นออกเขยี นได้ และไดเ้ คยสมัครเขา้ รับราชการ เป็นเสมียนช่วยกิจการบา้ นเมอื ง จนอายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์ จึงได้ลาบิดามารดาออกบวชเป็น พระภิกษฝุ า่ ยมหานกิ ายในพระพุทธศาสนา ณ ส�ำนกั วัดโพธ์ชิ ยั บา้ นม่วงไข่ มพี ระครูสกลสมณกิจ เปน็ พระอุปัชฌาย์ คร้ัน เมื่ออุปสมบทแล้วก็ได้ศึกษาเล่าเรียนอักษรบาลีและขอมใน สำ� นักอาจารย์จนชำ� นาญ ตลอดเวลาที่บวชอยู่ท่านเป็นผู้มักน้อย สันโดษ ชอบสงัด ยินดีในเสนาสนะป่าเป็นส่วนมาก เที่ยวหลีกเร้นเดินจงกรมน่ัง 22

สมาธิภาวนาตามป่าชัฏหาทางวิเวกเสมอมา และ ได้มีโอกาสศึกษาธรรมปฏิบัติเบื้องต้นกับท่าน พระอาจารย์ดูลย์ อตุโล ต่อมาได้พบกับท่าน พระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตเถระ ไดฟ้ งั ธรรมเทศนา ของท่านอาจารย์มั่นแล้วเกิดศรัทธาเล่ือมใส จึง ขอญัตติเป็นพระธรรมยุต ที่วัดมหาชัย อ�ำเภอหนองบวั ลำ� ภู จงั หวดั อดุ รธานี พระอดิสัยคุณาธาร (ค�ำ อรโก) เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต เป็นพระ- กรรมวาจาจารย์ มีฉายามคธภาษาว่า ธมฺมทนิ ฺโน และท่าน ได้อบรมศึกษาธรรมอยู่ในส�ำนักพระอาจารย์ม่ัน สืบไป เมื่อท่านพระอาจารย์มั่นไปวิเวกทางไหน ก็ติดตามไปและหม่ันศึกษาในด้านจิตใจอันเป็นไป ในส่วนวิปัสสนาธุระเสมอ จนเป็นท่ีพอใจในทาง ปฏบิ ตั แิ ลว้ ทา่ นจงึ ไดล้ าพระอาจารยม์ นั่ ไปแสวงหา ความวเิ วกโดยล�ำพังตนเอง ในท้องท่อี ำ� เภอบา้ นผือ หนองบัวล�ำภู จังหวัดเลย ท่าบ่อ หนองคาย นครพนม นครราชสีมา และเวียงจันทน์ ใน ภาคกลางไปถงึ ลพบรุ ี ถำ�้ สงิ โต เขาพระงาม การไปของท่านน้ันเป็นการแสวงหาวิเวกบ้าง สงเคราะห์ญาติโยมบ้าง ทรมานพาหิรชนที่ถือผิด ต่างๆ ให้หันมาถือพระไตรสรณาคมน์บ้าง ไป ถึงไหนก็พยายามฝึกสอนหมู่คณะท่ีอยู่ร่วมกัน ให้ เดด็ เด่ยี วอาจหาญในการท�ำความเพยี ร ปฏบิ ัตติ น ให้พ้นจากทุกขภ์ ัยอยู่เสมอ ภายหลงั ท่ไี ด้จ�ำพรรษา 23

พระอาจารย์กู่ ธมมฺ ทินโฺ น จากซ้าย : พระอาจารยน์ ้อย สุภโร, พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินฺโน, พระอาจารยก์ วา่ สมุ โน, พระอาจารยม์ ั่น ภูริทตฺตเถระ และพระอาจารย์บุญธรรม อยู่ท่ีถ�้ำดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ หลาย จนเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ไดอ้ าพาธดว้ ย พรรษาแล้ว จึงได้กลับมายังภาคอีสาน เพ่อื โรคฝฝี ักบวั ทตี่ ้นคอ ซง่ึ เปน็ โรคประจ�ำตวั แต่ สงเคราะหบ์ คุ คลในถนิ่ เดมิ อกี ไดพ้ กั จำ� พรรษา เคยเป็นแล้วก็หายไปด้วยการท่ีท่านอาศัย อยู่ท่ีวัดทุ่งสว่าง จังหวัดหนองคาย คร้ังนั้น ทางจติ เป็นเครือ่ งระงับ ท่านอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ ได้มาพักท่ี ส�ำนักวัดป่าหนองผือ อ�ำเภอพรรณานิคม คร้ันต่อมาในปี ๒๔๙๖ น้ีท่าพิจารณา ท่านอาจารย์กู่ จึงกลับจากหนองคายมาพัก เห็นอาการป่วยน้ีว่า ต้องเป็นส่วนของกรรม สำ� นักวัดปา่ กลางโนนภู่ เพ่ือทำ� การช่วยเหลือ อย่างแน่นอน อันท่ีจะพ้นจากมรณสมัยด้วย ครูอาจารย์ และสงเคราะห์ญาติโยมตลอด โรคนี้ไมไ่ ด้ ท่านเคยยกธรรมเทศนาให้บรรดา ท้ังหมู่คณะสานุศิษย์ผู้ต้ังใจสดับธรรม ยินดี ศษิ ยท์ ง้ั หลายฟงั บอ่ ยๆ วา่ “ถา้ เราทำ� ความดี ในการแสวงหาวิเวก และเมื่อท่านอาจารยม์ ่นั ถงึ ทีแ่ ลว้ เรือ่ งของการตาย เราไมต่ ้อง ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยโรคชราแล้ว ท่าน หวาดหวน่ั เลย” ตักเตอื น พระเณรอย่างน้ี อาจารย์กู่ก็พยายามพาศิษยานุศิษย์ปฏิบัติ เสมอ สอนให้รีบเร่ง เด็ดเด่ียวในการท�ำ ตามแบบอย่างของท่านอาจารย์มั่นตลอดมา ความเพียร ศึกษาในสมาธิภาวนาให้มาก อยา่ งเคร่งครัด ตลอดพรรษาท่านมิได้ลดละในการเดินจงกรม น่ังสมาธิภาวนา เม่ือออกพรรษารับกฐิน เสร็จแล้วจึงลาญาติโยมขึ้นไปพัก บ�ำเพ็ญ 24

จากซ้าย : หลวงปูก่ งมา จิรปญุ โฺ , หลวงปคู่ ำ� ยสกลุ ปุตโฺ ต, หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร, หลวงป่กู ู่ ธมมฺ ทนิ ฺโน, พระอาจารยจ์ ันทร์ เขมปตโฺ ต และองคส์ ุดท้ายไม่ทราบนามฉายา สมณกิจท่ีถ้�ำเจ้าผู้ข้า ภูพาน เม่ือท่านจะ ขณะท่ีจะสิ้นลมปราณนั้น คงเหลือแต่พระ ไปได้ส่ังว่าจะไปหาที่พ�ำนักส�ำหรับซ่อนตาย อาจารย์กว่า สุมโน ผู้น้อง พระประสาน เสียก่อน และเห็นถ�้ำลูกน้ีพอท่ีจะอาศัยได้ ขันตกิ โร และสามเณรหนู ผู้เฝ้าปฏบิ ตั อิ ย่าง คณะญาติโยมจงึ พร้อมใจกนั ไปท�ำ เสนาสนะ ใกล้ชิด ได้เห็นท่านอาจารย์กู่น่ังสมาธิท�ำ ถวาย จนกาลล่วงมาไดป้ ระมาณ ๓ เดอื นเศษ ความสงบแน่น่ิงอยู่เฉพาะส่วนภายในโดย อาการโรคกลับก�ำเริบขึ้นอีก ญาติโยม ได้ มิได้หวาดหวั่นพรั่นพรึงต่อมรณภัย และ อาราธนาให้ท่านกลับวัดเพ่ือจัดแพทย์มาท�ำ ส้ินลมหายใจในอิริยาบถที่นั่งสมาธิอย่าง การรกั ษาพยาบาลใหเ้ ตม็ ท่ี แตท่ า่ นไมย่ อมกลบั สงบ ณ ถ้�ำน่ันเอง นับว่าสมเกียรติแก่ท่าน ผไู้ ดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมในพระพทุ ธศาสนามาโดยแท้ คร้ันถึงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๔๙๖ ตรง บรรดาญาติโยมได้อัญเชิญศพของท่านบรรจุ กลับวันศุกร์ ขึ้น ๘ ค�่ำ เดือน ๓ เวลา หีบน�ำมาไว้ที่วัดป่ากลางโนนภู่ เพื่อบ�ำเพ็ญ ๐๙.๕๑ น. กไ็ ด้ถึงแก่มรณภาพดว้ ยอาการอัน กุศลทักษิณานุประทานสนองคุณงามความดี สงบ รวมอายทุ า่ นได้ ๕๓ ปี พรรษา ๓๓ พรรษา ของทา่ นตอ่ ไป บรรดาญาติโยมและสานุศิษย์ทั้งหลาย สน้ิ ประวตั ิสงั เขป ร้สู ึกเศรา้ สลดใจเปน็ อย่างยิง่ ทไ่ี ม่ไดป้ รนนบิ ัติ ของทา่ นอาจารย์กู่ ธมมฺ ทนิ ฺโน รักษาพยาบาลจนสุดความสามารถ และใน แตเ่ พียงน้ี 25

มโนปุพพฺ งคฺ มา ธมฺมา แปลว่า ธรรมท้งั หลายมีใจเปน็ เบือ้ งต้น ดังนี้ อธิบายความ ว่า อันใดมีความรู้สึกและมีนึกคิดด้วย ส่ิงนั้นแลบัญญัติว่า จิตใจ มีแต่ช่ือไม่มีตัวและ ไมม่ วี รรณะอย่างใดอยา่ งหนง่ึ อันจะพึงดูใหเ้ ห็นดว้ ยตาเนอื้ นแี้ ล จิตใจ เพราะเปน็ กายสิทธ์ิ อันหนึ่ง แต่ว่าสัตว์ทั้งหลายไม่รู้ไม่เห็นได้ แม้ว่าจะรู้สึกนึกคิดอยู่ก็ไม่สามารถจะรู้เหตุผล ต้นปลาย เพราะฉะน้ันจะได้หมุนเข้าสู่ความฟุ้งซ่านร�ำคาญ เป็นทุกข์ทนยาก หมุนเวียนอยู่ เปน็ กงจกั รไมร่ วู้ ่าจะหยุดอยู่ท่ตี รงไหน เพราะไมร่ ไู้ มเ่ ข้าใจจิตแท้และอาการของจิตตามเป็นจริง เพราะฉะนั้นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้รู้ผู้เห็นตามเป็นจริงแล้วได้กระทำ� ตนให้ เป็นผูย้ ุติ ไม่หมุนเวยี นไปตามสงั ขารทกุ ข์ รูแ้ จ้งซงึ่ อริยสจั ธรรมทั้ง ๔ ตามเปน็ จรงิ แล้วอยา่ งไร พระองค์ถึงพร้อมด้วยทศพลญาณอันเป็นธงชัยของพระพุทธเจ้าท้ังหลาย เพราะฉะน้ัน พระพุทธเจ้าท้ังหลายจึงสามารถประกาศพระศาสนา แจกพระธรรมวินัยโปรดเวไนยสัตว์ ทรงชี้บอกหนทางอันจะพึงเดินให้ถึงความดับทุกข์ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา พร้อมทั้งองค์ อวัยวะทั้ง ๘ ประการแท้จริง ที่พระองค์ทรงแสดงมรรค ๘ ประการนั้น เป็นก�ำลังเป็น คุณธรรมท่ีจะให้พุทธบริษัทรู้เหตุผลของธรรมตามความเป็นจริง ที่มีความรู้สึกและนึกคิดอยู่ ในตนน้ันเอง เพราะว่านอกจากศลี สมาธิ ปญั ญา อนั งามแล้ว ไม่มธี รรมอื่นอันจะน�ำบคุ คล 26

ให้พ้นจากทุกข์สงสารได้ จึงสมกับพุทธภาษิตว่า สมโณ นตฺถิ พาหิโร แปลว่า สมณะ ภายนอกพระพุทธศาสนาไม่มี ดังนี้ สมณะจะเป็นสมณะแท้น้ัน ต้องประพฤติให้เป็นไป พร้อมในอฏั ฐงั คกิ มรรคท้งั ๘ ประการนเ้ี อง จึงสมกับพุทธพจน์ที่พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ไดต้ รัส แก่ สุภัททปริพาชกว่า อัฏฐังคิกมรรคทั้ง ๘ ประการน้ี มนุษย์ทรงไว้ ประพฤติให้ เปน็ ไปพร้อมอยูใ่ นโลก โลกก็จะไมว่ ่างจากพระอรยิ บุคคลได้ ดงั นี้ แท้จริงอันความรู้สึกและนึกคิดนั้น เป็นของประณีตย่ิงกว่าส่ิงอะไรๆ ทั้งหมด เม่ือไม่ ทรงไว้ซึ่งศีล สมาธิ ปญั ญากอ่ น กค็ งไม่อาจร้เู หตุผลได้ตามเปน็ จริง เมอื่ รกู้ เ็ ป็นญาณวปิ ปยุตต์ มวี ิปริต เรือ่ ยไป ไมเ่ ป็นมัคคสมังคี ไม่ถงึ สมุจเฉท มแี ตห่ ลงลอ่ งลอยตามสงั ขาร หมุนเวยี น ตามสงสารอันไม่มีส้ินสุด เห็นของเก่าเป็นของใหม่ หลงทุกข์หลงทั้งสุข สนุกอยู่ในความเมา เรื่อยไป น่าคิดให้แปลกและซึ้งสักหน่อยว่า อันกาย วาจา ใจ ของมนุษย์พร้อมทุกส่วนนี้ ล้วนแต่เป็นทิพย์ คือบุพกรรมแต่งให้ และพิจารณาให้เห็นตามเป็นจริงของกายนั้น และ พระองค์ผอู้ รหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา้ ก็ไดต้ รสั วา่ สตั วท์ ัง้ หลายจะไดด้ ว้ ยยาก ดงั น้ี เมอ่ื ไดเ้ ชน่ นี้ แล้ว กส็ ่อให้เหน็ แลว้ วา่ จะกระท�ำอะไรๆ ไดท้ ้ังนั้น เพราะอาศยั ทุนและกำ� ลัง คอื กาย วาจา ใจนี้ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ทรงแสดงศีล สมาธิ ปัญญา น้ันเล่า ก็ประสงค์เพ่ือ จดั ระเบยี บกาย จัดระเบยี บวาจา และจัดระเบียบใจใหเ้ ปน็ ไปโดยเรียบร้อยนน้ั เอง เม่อื กาย วาจา ใจ เรยี บร้อยบริสุทธช์ิ อบดีไดแ้ ล้ว ความทกุ ขอ์ ันจะพงึ เกิดข้นึ จากเหตุ อันไม่มีระเบียบทางกาย และความทุกข์อันพึงจะเกิดข้ึนจากเหตุอันไม่มีระเบียบทางวาจา ความทุกข์อันจะพึงเกิดขึ้นจากเหตุอันไม่มีระเบียบทางน้�ำใจน้ันเล่าก็จะน้อยไป ส้ินไป ตาม ก�ำลงั และอ�ำนาจกุศล คอื ความฉลาดปฏิบัติในศลี กุศลความฉลาดปฏิบัติในสมาธิ และกุศล ความฉลาดปฏิบัติในปัญญา รู้จริงตามเป็นจริงในธรรม อันมีอยู่ในตนนั้นอย่างไร คือ รู้ รปู ขนั ธเ์ ป็นของไมเ่ ทีย่ ง เป็นทุกขท์ นยาก เป็นอนตั ตาไมใ่ ชต่ วั ตน เพราะบอกไมไ่ ด้ไหว้ไม่ฟัง เหมอื นผู้อน่ื หรอื ของอนื่ รู้เวทนาขนั ธ์ คือความรับเสวยอารมณ์ รสู้ ญั ญาขนั ธ์ คือความจ�ำ ความหมาย รู้สังขารขันธ์ คือความปรุงแต่งวิญญาณขันธ์ คือความรู้ความอายตนะ มี ความรสู้ กึ ทางตา เปน็ ต้น เม่อื ร้เู บญจขันธ์ทั้ง ๕ อนั อาการหรือเรือนของจิต เปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ทนยาก ไม่ใช่ตวั ตน ไม่ใชเ่ รา ไมใ่ ช่ของแห่งเรา เพราะบอกก็ไมไ่ ด้ไหว้กไ็ ม่ฟงั เหมือน ของอืน่ 27

เม่ือรู้อย่างนี้จึงว่าฉลาดรู้ เพราะรู้จริงตามเป็นจริง และเป็นธรรมน�ำผู้รู้ผู้คิดนึกน้ัน ออกจากทุกข์ไปตามล�ำดับด้วย เม่ือกุศลคือความฉลาดรู้แก่กล้า รู้พร้อมท้ังอดีต อนาคต ปัจจุบัน ภายในและภายนอก ดังน้ันแล้ว อนิจจังจะกลับรู้และเห็นเป็นของจริง ทุกขังจะ กลับรู้และถึงซึ่งความสุข อนัตตาจะกลับรู้ อัตตโน นาโถ คือที่พึ่งของตน ดังนี้ เพราะ อ�ำนาจของศีล สมาธิ ปัญญา อันบุคคลอบรมให้ถึงพร้อมอยู่ในใจน้ัน ความรู้สึกนึกคิดของ บุคคลนนั้ จงึ เข้าสู่ความจริงไดด้ ังนแ้ี ล ในตอนนี้ จงระวังอยา่ หลงวปิ สั สนูปกิเลสทง้ั ๑๐ น้นั ถา้ หลงท่านจะสมมตุ ิ ตนเป็น พระอริยบคุ คล จะกลายเปน็ พระโสดา สกทิ าคาดบิ ไป ในตอนนี้จงปลอ่ ยไว้ ให้เป็นเอง ท่านจงพิจารณาหน่วงไว้ให้รู้จริงตามเป็นจริงอยู่เนืองๆ นั้นเถิด เพราะว่าความรู้ ความเหน็ นัน้ เมอื่ ไมจ่ รงิ ในเบอ้ื งต้นแลว้ ย่อมเปน็ ไปต่างๆ จะอุปมาใหฟ้ ังเหมอื นบคุ คลสองคน เท่ียวไปด้วยกัน คนหนึ่งเห็นซึ่งเสือร้ายอันก�ำลังจะกระโดดอยู่รอมร่อ อีกคนหน่ึงไม่เห็น แต่ พอได้ยินเสียงคนที่เห็นร้องบอกแล้ว ก็พร้อมกันว่ิงตะบึงไปจนไกลท่ีจะไกลได้ แต่บุคคลที่ ไมเ่ หน็ น้นั มาคิดว่า เอ๊ะจรงิ หรอื ไม่ ถ้าไม่จริงจะวงิ่ ไปทำ� ไมให้เหนื่อยเปลา่ เม่อื คิดเช่นน้ีแลว้ ก็จะหยุดวง่ิ เสยี ทนั ที เพราะเหตนุ น้ั ผ้ทู รงไว้ซึง่ ศลี สมาธิ ปญั ญา เหน็ จริงรู้แจ้งซึ่งสังขารทั้งหลายเป็นภัยแล้ว รีบท�ำคุณงามความดี ไม่ประมาทฉันใด เปรียบ เหมือนบุคคลท่ีเห็นเสือร้ายแล้ว และว่ิงไปให้ไกลไม่หยุดนั้น บุคคลที่ไม่ได้ปฏิบัติไม่ได้ทรงไว้ ซึ่งศลี สมาธิ ปัญญา เหน็ สังขารเปรยี บเหมือนบุคคลทไ่ี มเ่ ห็นเสือร้ายน้นั ผู้นั้นยอ่ มเปน็ บคุ คล ประเภทหมุนเวยี นอยใู่ นทกุ ข์ เพราะหลงรกั สังขารหลงชงั สงั ขาร คือความไมร่ เู้ ท่าทนั ในความ รู้สกึ นึกคดิ อนั เป็นเหตุดว้ ย เปน็ ปัจจยั ด้วยในใจของตนนั้น และไมร่ ู้ว่าจะกระท�ำเช่นไร จึงจะ สิ้นไปแห่งทุกข์ท้ังหลาย แม้จะเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่เก่าน้ันก็ยังไม่พ้นทุกข์ทั้งหลายไปได้ เพราะว่านักวิทยาศาสตร์นั้นมักจะเห็นว่า มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย เมื่อตายแล้วก็สูญไม่มี วบิ ากเปน็ สุขเป็นทกุ ขอ์ ย่างใดอยา่ งหนง่ึ อีกต่อไป ความเหน็ เปน็ เช่นนน้ั ก็เพราะขาดศีล สมาธิ ปัญญา ไม่มีในใจของตน จึงเป็นวิปริตไม่สมบูรณ์ คือเห็นแต่ข้างเดียว ไม่ได้น้อมกลับเข้าดู ผู้รู้สึกนึกคิด คือจิตใจของตนนั้น ไม่สมกับค�ำของพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ แปลความว่า ธรรมเป็นของควรน้อมเข้าใส่ใจของตน โดยเฉพาะผ้รู ูท้ ั้งหลายย่อมรูด้ ว้ ยตนเอง ดังน้ี 28

บรรดาศิษยานศุ ิษย์ พระสงฆช์ น้ั ผใู่ หญ่ทม่ี าร่วม ในงานประชมุ เพลงิ สรีระสังขาร ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตฺโต เม่อื วันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓ ณ วัดป่าสุทธาวาส บา้ นค�ำสะอาด ต.ธาตเุ ชงิ ชุม อ.เมอื ง จ.สกลนคร พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินโฺ น นง่ั ตรงกลางแถวหน้าสดุ หมายเลข ๓๘ ๓๘ ถา้ หากนกั วทิ ยาศาสตรท์ ้งั หลายคดิ ค้นให้เห็นเช่นนัน้ แลว้ และน้อมเข้าใสใ่ จของตนกจ็ ะ เหน็ วา่ ผรู้ ูส้ กึ นึกคิดนม้ี ีอยู่ แตเ่ พราะหลงสมมุติจงึ เป็นเหตเุ ป็นปจั จัยหมนุ อยู่ นกั วทิ ยาศาสตร์ เม่ือรู้เช่นน้ีแล้วก็คงจะปฏิเสธว่า มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย เมื่อตายแล้วก็ขาดสูญ ไม่มีวิบาก เป็นสุขเป็นทุกข์อีกต่อไปดังน้ันเป็นแน่ เพราะเหตุนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ทรงแสดงศีล สมาธิ ปัญญาแก่พุทธบริษัทให้ทรงไว้ให้บริสุทธ์ิบริบูรณ์ เม่ือขาดศีล สมาธิ ปัญญาอันใด อันหนึ่งแล้วก็ไม่สามารถจะตามรู้จิตใจและลักษณะอาการของจิตใจตามเป็นจริงได้ แม้รู้ก็ ร้แู ต่หน้าเดียว ไม่พรอ้ มท้ังข้างในและข้างนอก ไมต่ อ้ งกับญาณทสั สนาวิสุทธิ เพราะฉะนน้ั อนั ความรูส้ ึกนึกคดิ น้ีและมคี วามพรอ้ มทั้งกาย วาจา เปน็ มนษุ ย์สมบตั ิ อันประเสริฐจึงสมควรแล้วท่ีจะประพฤติคุณงามความดี เพ่ือบรรลุความสุขอันเลิศ และ ศาสนสภุ าษติ กไ็ ดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ วา่ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จติ ตฺ ํ คุตฺตํ สุขาวหํ แปลว่า จิตที่ ฝกึ ฝนดแี ล้ว ยอ่ มน�ำสขุ มาให้ จติ ท่ีรกั ษาดีแล้ว ย่อมน�ำสุขมาให้ ดงั น้ี การท่กี ล่าว เรือ่ งจติ ใจ คือความร้สู ึกนกึ คดิ ก็เหน็ วา่ สมควรจะเปน็ เคร่อื งประดบั และเพม่ิ พนู ปัญญาบารมี ของท่านผ้ดู แู ลและผฟู้ งั แลว้ ดังบรรยายมาก็ยตุ ตกิ า เอวงั 29

ไฟไหม้เมอื งใด ให้เอาน้ำ� เมืองน้นั มอด ตาบอดเมืองใด ใหเ้ อายาเมอื งน้ันใส่ ต่อไปน้ี จะกล่าววิธีท�ำสมาธิแก้จิตเป็นอาพาธ ไม่สบายเป็นทุกข์เดือดร้อน ความ ไม่สบายกายไม่สบายใจ รวมกล่าวว่า เป็นทุกข์ ผลคือทุกข์น้ันย่อมเป็นมาแต่เหตุต่างๆ กัน แตจ่ ะไม่กล่าวใหม้ ากไป จะกล่าวเฉพาะแตท่ ุกข์เดือดร้อนท่ีเกดิ จากเหตคุ ือราคะ ทุกขเ์ ดือดร้อน ที่เกิดจากเหตุ คือโทสะ ทุกข์เดือดร้อนที่เกิดจากเหตุคือโมหะ ทุกข์เดือดร้อนท่ีเกิดจากเหตุ คือราคะ ความก�ำหนัดยินดีรักใคร่ ชอบสวยชอบงามในรูปเป็นต้นน้ัน จงภาวนาบริกรรม นึกแตใ่ นใจวา่ ปูติกายังๆ ดังนีอ้ ย่จู นจติ นน้ั หดเข้าเปน็ หนง่ึ และรชู้ ัดแล้วจึงกำ� หนดห้ามจิตน้นั เสีย เอาแต่ความรู้นั้นเพ่งดูร่างกายของตน อันมีอยู่น้ีให้เห็นตามเป็นจริงแต่คร้ังแรกเกิดข้ึน กเ็ ป็นปพุ โพโลหิตเป็นของไม่สะอาด เปน็ ของเนา่ ของเปื่อย ปฏกิ ูลน่าเกลียดดงั นี้ ถ้าไม่เห็น ให้เพ่งจุดเฉพาะอวัยวะอันใดอันหน่ึงภายในร่างกายของตน มีกระดูกสันหลัง หรือล�ำไส้ใหญ่ เป็นต้น จนจิตน้ันรู้เห็นนิมิตนั้นแล้ว จึงขยายดูไปให้ทั่วสกนธ์กายทั้งภายใน ตัวของตน และภายนอกตัวของผ้อู น่ื ใหเ้ ปน็ ของไม่งาม เปน็ ของเน่าของเปือ่ ย ปฏกิ ลู นา่ เกลยี ด เหมือนกัน เมื่อก�ำหนดนิมิตรู้เห็นได้ดังน้ีแล้ว จิตน้ันก็จะสงบเป็นสมาธิ ความทุกข์เดือดร้อน ที่เกิดข้ึนจากเหตุ คือราคะนั้นจะระงับหายไป จะเป็นสุขสบายโดยไม่ต้องสงสัยเลย หรือจะ เพ่งดูอสุภะทั้ง ๑๐ ดังท่านกล่าวแล้วนั้นก็ได้ แต่ต้องเพ่งดูท้ังภายในตัวของตนและภายนอก ตัวของผู้อื่น เม่ือเห็นด้วยตา ก็ต้องพิจารณาให้รู้ในใจด้วย ราคะคือความก�ำหนัดรักใคร่น้ัน จึงจะถอนจากใจ ไม่อย่างน้ัน เม่ือท่านดูอสุภะท่ีเน่าเหม็นน้ัน ท่านก็จะอาเจียนเสียเปล่าๆ ไม่รู้จกั ของดี ไมร่ จู้ ักบุญคือความสขุ เสียเลย ขน้ึ ช่ือวา่ ของแสลงแล้ว ควรจะเว้นทัง้ น�ำ้ ทั้งต่อน จะก�ำแต่ต่อนน้�ำนั้นรับทานอย่างนั้น พยาธิน้ันก็คงก�ำเริบโดยไม่ต้องสงสัย ฉะนั้นจึงควร พิจารณาให้ตลอดท้ังภายในและภายนอก ความรู้ความเห็นนั้นจึงไม่เป็นผีหลอกตนเอง ดังนี้ อันผเู้ ปน็ ราคจรติ นท้ี า่ นกลา่ ววา่ เจรญิ กัมมฏั ฐาน ๑๑ ประการเป็นทส่ี บาย กัมมฏั ฐาน ๑๑ ประการนั้น คอื อสุภะ ๑๐ และอาการ ๓๒ เขา้ รวมเปน็ กมั มฏั ฐาน ๑๑ ประการ แต่เม่อื เจรญิ ครงั้ แรกอยา่ เจริญรวมๆ ไป ให้เพง่ ดูอันใดอนั หนง่ึ ใหร้ ูใ้ หเ้ ห็นกอ่ น ดังท่ีได้แสดงมาแล้ว 30

น้นั ตอ่ ไปนัน้ ก็คงเขา้ ใจได้ กล่าววธิ รี ะงบั ทุกขอ์ ันเกดิ แต่เหตุ คือราคะ ความกำ� หนัดชอบสวย ชอบงามนน้ั กเ็ ห็นวา่ พอสมควรเปน็ ปากเป็นทางของทา่ น ผู้สนใจแล้ว จึงขอยตุ ิไว้เท่านี้ฯ อกกฺ โกเธน ชเิ น โกธํ ชนะโกรธดว้ ยไมโ่ กรธ ต่อไปนี้จะกล่าววิธีแก้ความทุกข์เดือดร้อนอันเกิดแต่เหตุ คือ โทสะ ความขัดเคือง ประทุษร้าย พยาบาทอาฆาตจองเวรนั้น จงเจริญเมตตา กรุณา มุทิตา พรหมวิหารท้ัง ๓ หมวดนี้ใหม้ าก ดังต่อไปน้ี “สพฺเพ สตฺตา สขุ ิตา โหนตฺ ุฯ สพฺเพ สตตฺ า อเวรา โหนตฺ ุฯ สพฺเพ สตฺตา อพฺยาปชฺฌา โหนฺตฯุ สพเฺ พ สตฺตา อนีฆา โหนตฺ ฯุ สพฺเพ สตตฺ า สุขอี ตตฺ านํ ปริหรนฺตฯุ สพเฺ พ สตฺตา สพฺพทุกฺขา ปมุจจฺ นตฺ ฯุ สพฺเพ สตฺตา ลทฺธสมฺปตฺติโต มา วิคจฺฉนฺต”ุ ดังน้ี หรือจะพิจารณาเอาก็ได้ ถา้ เหตุเกิดขึน้ เพราะผู้หญงิ เปน็ ตน้ ใหค้ ิดว่า เอ๊ะตนของเราน้ี เกิดมาในโลกย่อมอาศัยผู้หญิงเป็นมารดา ไม่รู้ว่าเราอาศัยผู้หญิงเกิดมากี่ภพก่ีชาติแล้ว และ หญิงคนนี้ก็คงเป็นมารดาของเรามาไม่ชาตินี้ก็คงชาติหน้า ไม่อย่างนั้นคงจะเป็นพี่เล้ียง แม่ ปา้ น้า อา และมีคณุ แก่เรามาแลว้ และใหน้ ้อมเข้าในใจวา่ เหตไุ รหนอใจของเราน้ีชา่ งเขลา และรา้ ยกาจมาคดิ จองล้างจองผลาญ มารดาหรือท่านท่ีมีคุณแก่ตนมาแล้ว เช่นนี้ไม่สมควรเลย หรือว่าหญิงคนนี้ เราได้ อาศัยเขาเปน็ เพ่อื นบ้าน ท�ำประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาติมาแล้ว ไม่เช่นน้ันถ้าเราอยูเ่ ปล่าเปล่ียว ก็จะขัดสนหรือกลัวภัยต่างๆ นี้ หากเราอาศัยพวกอยู่ด้วยกันจึงได้ความสุขสบายเช่นนี้ จะ ป่วยปิดกล่าวไปไยกว้างขวาง อันบุคคลที่อยู่ร่วมบ้านร่วมเมืองร่วมประเทศกันนี้ จะไม่ได้ อาศัยซึ่งกัน และกันน้นั ย่อมไมม่ ี แต่คนอย่ตู า่ งประเทศห่างไกลกนั ทัง้ ตา่ งชาติต่างภาษา และ ไม่เคยรู้เห็นกัน แต่เป็นมนุษย์ร่วมโลกด้วยกันก็ยังมี คุณได้อาศัยซึ่งกันและกันบางประการ 31

ผู้ไม่ได้อาศัยทางตรงก็คงได้อาศัยทางอ้อม ถ้าไม่มีมนุษย์เสียเลย ในโลกมีแต่เราคนเดียวน้ี ก็จะทุกข์แย่โดยไม่ต้องสงสัยเลยดังนี้ และสุดแล้วแต่อุบายใดอันเหมาะสมท่ีจะท�ำความชัง และความชังและความขัดเคืองในใจน้ัน ให้ถอนกลับมารักกลับมายินดีได้ก็ให้ใช้อุบายน้ัน จนจิตใจของตนสงบเยน็ แล้ว ต่อน้ัน จะใช้สติปัญญาเข้าไปคดิ ตรองดคู วามเปน็ อยู่ของจิต จิตใจให้ชัด เมือ่ จติ กำ� เริบ อีกภายหลังก็จะท�ำให้สงบเร็วและแจ่มแจ้งขึ้นอีก เพราะว่าปกติของใจน้ันผ่องใสอยู่ แต่ไม่มี ก�ำลังความดีเป็นอุปการะ เป็นภาชนะ ถูกแต่ความช่ัวอันบุคคลหลงสมมุติทับถมอยู่เรื่อยไป เพราะเหตุนี้แล พระบรมศาสดาจารย์เจ้าจึงตรัสสอนให้ปฏิบัติ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้งามพร้อมบริบูรณ์ เพราะจะได้เป็นภาชนะทองรองรับจิตน้ัน และจิตนั้นก็จะมี ก�ำลังผ่องใสบริสุทธ์ิ มีรัศมีสว่างอยู่เหมือนดวงอาทิตย์ ไม่มีฝ้าก�ำบัง ฉะนั้น บุญคือความสุขของผู้ปฏิบัติได้เช่นน้ันก็ย่อมอวยผลอยู่ทุกวันทุกคืน โดยไม่ต้องสงสัยเลย ได้ กล่าววธิ ีบรรเทาทุกขห์ รือระงับทุกข์เดือดร้อนอันเกดิ แตเ่ หตคุ ือโทสะก็ยตุ ิการโดยยอ่ เท่านี้ฯ กสิณ ต่อไปนี้จะกล่าววิธีระงับทุกข์ที่เกิดข้ึนแต่เหตุคือ โมหะ หลงฟุ้งซ่านร�ำคาญนั้น ท่าน กล่าวไว้วา่ เจรญิ อานาปานสติกสิณเปน็ ท่ีสบาย กสณิ นน้ั มี ๑๐ ประการ คือ ปฐวกี สิณ ให้เพ่งดูดินเป็นนมิ ิต ๑ อาโปกสิณ ให้เพ่งดูน�้ำเปน็ นมิ ิต ๑ เตโชกสิณ ใหเ้ พ่งดูไฟเป็นนิมิต ๑ วาโยกสิณ ใหเ้ พ่งดูลมเปน็ นิมติ ๑ วัณณกสณิ มี ๔ มเี พง่ ดูสีขาว เปน็ ตน้ อาโลโกกสิณ มี ๑ คือเพ่งดแู สงสว่างแจง้ ไม่ให้มมี ืด ๑ รวมทงั้ โอทาตกสณิ เข้า ๑ เปน็ กสิณ ๑๐ ประการ 32

อานาปานสติน้ันให้เพ่งดูลมหายใจเป็นนิมิต ผู้มีความทุกข์เดือดร้อนอันเกิดขึ้นแต่เหตุ คอื โมหะ มปี กตมิ กั หลงมกั ลมื และฟงุ้ ซา่ นรำ� คาญเปน็ ทกุ ขน์ นั้ มศี รทั ธาพยายามจะเจรญิ เอาอนั ใดอนั หนง่ึ มอี านาปานสติหรอื ปฐวีกสณิ เปน็ ต้น จงึ จะเปน็ ประโยชน์ให้จติ ใจนัน้ สงบและเย็น ลงได้ ทีน้จี ะอธิบายวธิ เี จรญิ อาโปกสิณ พอเปน็ แนวของผจู้ ะปฏิบัติไวส้ กั หนอ่ ย เบ้อื งตน้ จงน่งั สมาธนิ กึ แตใ่ นใจวา่ “อาโปกสณิ ํ อาโปกสณิ ”ํ ดงั นี้ จนจติ ตงั้ อยใู่ นทนี่ กึ นน้ั แลว้ จงึ หยดุ นกึ นน้ั เสยี ใหม้ แี ตร่ นู้ นั้ เพง่ จอ้ งดนู ำ�้ เลย้ี งหวั ใจนน้ั อยไู่ มใ่ หห้ วน่ั ไหวไปอน่ื จนเหน็ นำ้� นนั้ ปรากฏขน้ึ เปน็ นมิ ติ ภายในตนแลว้ ตอ่ นน้ั จงึ นกึ ใหน้ ำ�้ นนั้ ใสบรสิ ทุ ธิ์ และนกึ ใหน้ ำ้� นน้ั มากบา้ ง และนกึ ใหน้ ำ�้ นนั้ นอ้ ยบ้าง แต่อย่าให้หลงนำ�้ น้ันจะหายไป จงรกั ษาและกระท�ำในใจของตนนัน้ ให้แม่นยำ� ช�่ำชอง เมอ่ื ทำ� ใหเ้ ปน็ ไดเ้ ชน่ นี้ ความทกุ ขอ์ นั เกดิ แตเ่ หตคุ อื ความหลงแลว้ ฟงุ้ ซา่ นนนั้ จะระงบั หายไป เมอ่ื ทำ� ความสงบและชำ� นาญแล้ว จงพินจิ ขยายดูความเปน็ อยขู่ องจติ แทน้ ้นั อย่าให้หลงจติ แทน้ ้ัน และอาการของจิต ตลอดถึงน�ำ้ อนั เปน็ นมิ ติ นัน้ เพราะวา่ น้�ำน้ันก็เปน็ แต่ดวงกสณิ เป็นนิมติ พยุง ให้จติ ต้ังอยเู่ ท่าน้ัน เปรียบเหมือนตกุ๊ ตากบั เดก็ เมอื่ เด็กไดต้ กุ๊ ตาแลว้ กอ็ ยู่ได้ฉนั ใด ผู้มีศรทั ธา เมอื่ เพ่งดูดวงกสณิ ไดแ้ ลว้ จิตนั้นก็ยอ่ มสงบเรว็ และตั้งอยไู่ มว่ อกแวกฉนั นัน้ แต่ให้เขา้ ใจว่าเดก็ กับตุ๊กตานน้ั เปน็ คนละอันไม่ใชอ่ ันเดยี วกันฉนั ใด จติ กบั ดวงกสิณน้นั ก็เปน็ คนละประเภท ไมใ่ ช่ อันเดยี วกันฉนั น้นั เจดียบ์ รรจอุ ฐั ธิ าตุ พระอาจารยก์ ู่ ธมมฺ ทินโฺ น (ขวา) และเจดยี บ์ รรจอุ ฐั ธิ าตุ พระอาจารย์กว่า สุมโน พระน้องชาย (ซ้าย) ณ วดั ป่ากลางโนนภู่ บ้านกุดกอ้ ม ต.ไร่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร 33

เมื่อผู้ปฏบิ ัติเข้าใจชดั ดงั นี้แลว้ ความฟ้งุ ซ่านกจ็ ะเกิดขึ้นไดโ้ ดยยาก เพราะความตามรู้ อยนู่ ้ันเปน็ ก�ำลัง ทงั้ เปน็ เครือ่ งกลนั่ ของปลอมไปในตัวดว้ ย ถ้าย่ิงพนิ ิจเทา่ ใดก็ยง่ิ จะแจม่ แจง้ ชดั ขนึ้ เปน็ ล�ำดบั เพราะอ�ำนาจความสงบผ่องใสของจติ อยู่น้ันเป็นกำ� ลัง จงึ สมกับพทุ ธสภุ าษติ ว่า “สมาหโิ ต ยถาภตู ํ ปชานาติ” แปลว่า ผูม้ จี ติ อนั ตัง้ มั่นแลว้ ยอ่ มรูต้ ามเป็นจริง ดงั นี้ คนบางคนก็สงสยั ในคำ� ทว่ี ่า ให้เพง่ ดนู มิ ติ ให้รใู้ ห้เหน็ ตามเปน็ จรงิ นั้นเหตไุ ร จงึ จะเห็น เพราะวัตถุอันนัน้ กอ็ ยู่ภายในดังน้ี แล้วก็จะท้อใจเสยี ไม่พยายาม ถา้ เปน็ เช่นน้ันก็เปรียบเหมอื น ตีตนตายเสียก่อนไข้ อย่างนั้นไม่สมควรเลย เพราะว่าธรรมท้ังหลายท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสนั้นก็เป็นของมีอยู่ และไม่เหลือวิสัยของมนุษย์ผู้มีความเพียร “ถ้าของไม่มีและเป็น ของเหลือวิสัยมนุษย์แล้ว พระบรมศาสดาจารย์เจ้าก็คงไม่ตรัสไว้เป็นแน่” ท่าน ผู้มีปัญญามาเห็นดังน้ีแล้ว และมีความเช่ือความเล่ือมใสจะประพฤติให้เป็นไปตามเช่นน้ัน กจ็ งตงั้ ฉันทะ คอื ความพอใจอยใู่ นวตั รอนั นัน้ มิให้หวนั่ ไหว ๑ วิรยิ ะ พยายามอยใู่ นอันนนั้ ไมใ่ ห้หวนั่ ไหว ๑ จิตตะ ความเอาใจจอ่ ใส่อยู่ในอนั นั้นไม่ให้หว่นั ไหว ๑ วิมงั สา พินิจอยู่ใน วตั ถุอนั นนั้ ไม่ให้หวัน่ ไหว ๑ เมอ่ื ความรสู้ กึ นกึ คดิ ตง้ั อย่ใู นวัตถุอันเดยี วเปน็ อนั หนง่ึ แนน่ แฟน้ อยแู่ ล้ว นมิ ิตอนั วัตถุท่ี เพ่งดูนั้นก็จะปรากฏเป็นแน่โดยไม่ต้องสงสัย แต่จะปรากฏโดยตรงหรือโดยอ้อม แยบคาย หรือไม่น้ัน เป็นกิจที่จะตัดสินหรือเพ่ิมเติมอีกข้ันหนึ่ง เพราะว่าตอนนี้จะเป็นอ�ำนาจวาสนา ของบคุ คล หากนิยมเร่อื งนี้ ขออย่าไดถ้ อื เอาสมบตั ิของผู้อน่ื โดยไมช่ อบธรรม เพราะวา่ วาสนา บารมขี องบุคคลย่อมแปลกกนั บา้ ง เหมือนกันบ้าง มปี ฏิภาณกว้างและแคบ และไมม่ ปี ฏิภาณ อภญิ ญาญาณกม็ ี เป็นอย่างนนั้ ไมเ่ หมอื นกนั จงหน่วงพจิ ารณาเอาแตข่ องมีอย่ใู นในตนนใ้ี ห้ รจู้ รงิ ตามเปน็ จริง น้ีแหละจึงจะเป็นทางตรงเข้าสู่ความบริสุทธ์ิ เพราะไม่หลงตะครุบไปตามธรรม ทั้งหลาย ในศาสนสุภาษิตก็ได้กล่าวไว้ว่า สังขารทั้งหลายไม่เท่ียง แปรอยู่เป็นนิตย์ สังขาร ทั้งหลายเป็นทุกข์ทนยาก ธรรมท้ังหลาย ไม่ใช่ตัวตน เพราะบอกไม่ได้ไหว้ไม่ฟังเหมือน ผู้อ่ืนหรือของอื่นดังนี้ และจิตจะตั้งอยู่โดยชอบได้ก็เพราะปัญญารู้จริงเป็นจริงในสังขารธรรม ท้งั หลาย ดงั ที่ได้กลา่ วมาแล้วดังนีแ้ ลฯ 34

อตตฺ านญฺเจ ปิยํ ชญฺา ถา้ ร้วู า่ ตนเป็นทีร่ ักจงสงวนตนไว้ฯ ต่อไปนีจ้ ะเขยี นหลกั ธรรมอนั เป็นคปู่ รับกิเลสตา่ งๆ ตามที่ท่านกลา่ วไว้ ราคจรติ เจริญกัมมฏั ฐาน ๑๑ ประการ คือ อสุภะ ๑๐ กายคตา ๑ เป็นทส่ี บายฯ โทสจรติ ใหเ้ จรญิ กัมมฏั ฐาน ๘ ประการ คือ วณั ณกสณิ ๔ และพรหมวหิ าร ๔ เป็น ทส่ี บายฯ โมหจริตและวติ ักกจริต ทงั้ ๒ นใ้ี ห้เจรญิ อานาปานสติ เปน็ ทีส่ บายฯ ศรัทธาจริต ให้เจริญอนุสสติ ๖ อย่าง คือ พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานสุ สติ ฯลฯ ถงึ เทวตานสุ สติ เปน็ ทส่ี บายฯ ปฏฆิ ะ เจรญิ เมตตา เป็นทสี่ บายฯ ทฏิ ฐิ ใหภ้ าวนาปัญญา เปน็ ท่ีสบายฯ วจิ ิกิจฉา ใหเ้ จริญอานาปานสติหรอื กสณิ เปน็ ท่สี บายฯ มานะ ให้เจริญธาตุกมั มัฏฐานหรอื สติปัฏฐาน ๔ เป็นทีส่ บายฯ พทุ ธจรติ ให้เจริญกมั มัฏฐาน ๔ คือ มรณานสุ สติ ๑ อปุ สมานุสสติ ๑ อาหาเรปฏิกูล สญั ญา ๑ จตธุ าตุววัฏฐาน ๑ ทงั้ ๔ นี้ เปน็ ท่ีสบายฯ ถ้าตนรู้ตนของตัวว่าเป็นอาพาธชนิดใดแล้ว ก็จงเลือกเอายาน้ันๆ แล้ว รบั ประทานเถิด ความเดือดรอ้ นทกุ ขเ์ วทนานน้ั จะได้ทุเลาหรือหายไป ชวี ติ ความ เป็นอยู่นั้นจะได้เป็นสุขสบายและไม่เสียเปรียบท่ีเราได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว ทั้งได้พบขุมทองอันอุดมด้วยน้ี ฉะน้ันจึงสมควรแท้ อันเราท่านทั้งหลายจะลากขนเอาให้พอ แกค่ วามต้องการ และจะได้พน้ จากอปุ สรรคขัดขอ้ งตอ่ ไปฯ 35

36

37

38

ถา้ ใจฉลาดจะเอาทุกข์ มาใสต่ ัวท�ำไมเลา่ สขุ ทุกข์ ไมเ่ กดิ จาก ดิน ฟา้ อากาศ เกิดมาจากจติ ใจเรา ทป่ี รงุ ไมถ่ ูก เรากต็ ้องแกไ้ ขของเราซิ ทวนดูทีใ่ จ หลวงปู่หลา้ เขมปตฺโต วดั บรรพตครี ี (ภูจอ้ กอ้ ) จังหวดั มกุ ดาหาร เกดิ เมือ่ วันจันทร์ท่ี ๑๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๕๔ ท่บี ้านกุดสระ อำ� เภอหมากแข้ง จังหวัดอดุ รธานี บิดาชอ่ื นายคนู เสวตรว์ งศ์ มารดาชอื่ นางแพง เสวตร์วงศ์ เป็นบุตรคนสุดทอ้ ง ในจำ� นวนพน่ี ้อง ๘ คน บรรพชา เมื่ออายุ ๑๘ ปี ณ วัดบวั บานบ้านกุดสระ มีพระอปุ ัชฌาย์หนู ตสิ สเถโร อุปสมบท เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๖ บวชเป็นพระมหานกิ าย ทีว่ ัดบา้ นยาง โดยมพี ระครูคณู บา้ นทา่ ตมู เป็นพระอุปัชฌาย์ มีท่านอาจารย์เสาร์ บ้านดงลิง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และหลวงพอ่ ทอง สุวณั ณสโร เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ ญัตติเป็นพระธรรมยตุ ทว่ี ดั โพธิสมภรณ์ จงั หวัดอดุ รธานี โดยมีพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธโุ ล) ครั้งเปน็ พระเทพกวเี ป็นพระอุปชั ฌาย์ มรณภาพ เม่อื วันท่ี ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ สิริรวมอายุได้ ๘๔ ปี ๑๑ เดอื น พรรษา ๕๒ 39

หลวงปบู่ ุญฤทธ์ิ ปณฑฺ โิ ต กราบเรียนเหตุการณก์ ารบวชของทา่ นต่อหลวงปูห่ ล้าว่า “...เราไม่มหี ว่ ง ไม่มีห่วงกไ็ ปบวชซ้ี กเ็ ลยไปหาทา่ นอาจารย์กู่ ผมบวชกไ็ ม่เอาอะไรมาก เปน็ พอสงบๆ ไดม้ ยั้ ...สงบได.้ ..ก็เลยบวช บวชทแี รกก็ไม่ได้ภาวนา แต่ดอี ย่างวา่ ...คอื วัดอรุณรังษี ทีไ่ ปอย่นู ่ี มันเปน็ วัดรา้ งมาก ผมก็อยอู่ งค์เดียว เด็กวัด ๒ คนมนั ก็ออกไปเรียนหนังสือ เงยี บ ผมก็นกึ ปญั หาข้นึ มา ตายแลว้ ไปไหน มนั ก็ตอบเอง ตายแล้วไปไหนก็ช่างหวั มันเปน็ ไร พอนกึ อย่างน้นั แหละมนั ก็ง่วงทนั ทีเลย ง่วง เลยเอาศีรษะเอนลง มันฝนั ทนั ทีเลย ฝนั วา่ หิวน้ำ� ทนี ี้ นำ้� นธ่ี รรดาผมกใ็ สข่ นั ไว้ข้างๆ ตวั ที่กุฏมิ ี ๒ ช้ันกจ็ ะดื่มน�้ำ นำ้� นั้นมนั ไมเ่ ขา้ ไปเลย หิวเทา่ ไรมนั ก็ไม่เข้าจนกระทั่งตื่นขึ้นมา ผมก็ว่า เออไอ้ท่ีเล่าว่าตายแล้วช่างหัวมันมันไม่กิน อย่างน้ีเขา เรียกวา่ เปรตน่ี ทนี ้ีทา่ นอาจารยก์ บ็ อกว่า ใหภ้ าวนาสิ โดยมากภาวนาผมคดิ ของผมเอง ผมไม่คอ่ ยเอา ตามตำ� รา คือผมอา่ นวสิ ทุ ธมิ รรคมาก่อนบวช ทีนี้ เอ เอาตามต�ำรามันยากเหลอื เกนิ (หลวงปู่ หล้ารบั วา่ “ถกู ”) แล้วหลวงปู่กเ็ ลา่ ตอ่ ไปว่า ผมเปน็ คนภาคกลางแต่เกิดท่อี ุตรดิตถ์ ญาติพนี่ อ้ ง กไ็ ม่มอี ยู่นั่น จะไปท�ำดวงกสณิ ยงั งน้ั ตง้ั เทยี น นั่งบนเตยี งสูงเท่าน้ัน โอ้ ไมไ่ หว ผมกเ็ ลยว่า พอดพี ระจนั ทร์กำ� ลังข้ึน... มหามกุฏฯ วัดบวรส่งผมไปสอนเมืองนอกเกือบ ๒๐ ปีมาแล้ว ผมไปต้ังวัดธรรมยุต คร้ังแรกทแี่ ม่ฮอ่ งสอน” 40

หลวงปู่หล้า เขมปตโฺ ต ไดก้ ล่าวธรรมปฏสิ ันถารหลวงปูบ่ ญุ ฤทธแิ์ ละคณะศษิ ย์ทต่ี ิดตามว่า “...ภาวนา...ท�ำอย่บู า้ งนะ อยา่ ไปทิ้งเน้อ ทิ้งแล้วไมม่ ีท่ีอาศัยนะ มนั เปน็ ว่าวเชือกขาด อย่าไปทิ้งธรรมะ เขาให้เงินเดือนของคุณเดือนละล้านบาท คุณจะเอาไปได้ม้ัย เด๋ียวตายท้ิง เหมือนกันละ ต้องภาวนา อยา่ ไปลืมตวั ในวฏั สงสารมแี ต่สงิ่ ท่ไี ม่เทยี่ ง เปน็ ทุกข์ เป็นอนัตตา เกิดขึ้น แปรปรวน และดับไป ความสุขในโลกมันไม่มี ถ้ามันมีพระอรหันต์ก็ไม่มีประตูท่ีจะ เบอื่ หนา่ ย สขุ ของฆราวาสกส็ ุขเกิดแต่ความมที รัพย์ สุขเกดิ แต่จ่ายทรัพย์บรโิ ภค สุขเกิดแต่ความ ไม่เปน็ หน้เี ป็นสิน สุขเกดิ แต่ความทำ� งานที่ปราศจากโทษ ถึงอย่างนัน้ กอ็ ยู่ใต้อนจิ จัง เกดิ ขึ้น แลว้ กแ็ ปรปรวนและแตกสลาย ใดๆ ในโลกล้วนอนจิ จัง ใดๆ ในโลกลว้ นทุกขัง ใดๆ ในโลกล้วน อนตั ตา อยา่ สงสัยเลยนา ทงั้ อดีตทั้งอนาคต เหน็ อยู่แทบทุกลมหายใจเขา้ ออกด้วย เวน้ ไวแ้ ต่ ไม่ต้องการ ถ้าต้องการกต็ ้องเห็นอยู่ ดูเวลาไหนกเ็ ห็นอย่เู วลานน้ั และก็ไม่สงสัยในเวลานั้น ถ้าเราไม่สงสัยโลกท้ังปวงเราก็ไม่สงสัยใจเราท้ังปวง ถ้าเราสงสัยโลกทั้งปวงก็สงสัยใจ ทั้งปวง กส็ งสยั ธรรมทงั้ ปวง กส็ งสัยมรรค ผล นพิ พาน มรรคแปลว่าเหตุ แปลวา่ พืช แปลว่า กรรม ผลแปลวา่ ผลของเหตุ ผลของพชื ผลของกรรม ก็ไดร้ ับตามสว่ นควรค่าของเหตุ ของพืช ของกรรมท่ีสรา้ งข้ึน แมจ้ ะไปในทางดีหรอื ทางช่ัวก็ตาม หวา่ นพืชเช่นไรไดผ้ ลเชน่ นั้น มันเป็น ธรรมกลาง หว่านพืชทางช่ัวก็ได้ผลทางช่ัว หว่านพืชทางดีก็ได้ผลทางดี นั่น ค�ำว่าพืชเป็น ค�ำกลาง ค�ำวา่ มรรคก็เป็นค�ำกลาง มรรค แปลวา่ ข้อปฏบิ ัติ สว่ นผลมนั ไหลมาเอง ทนี มี้ รรคกับผลไม่อยู่หา่ งกันพอกา้ วๆ เหตุนั่งผลก็น่ัง เหตุพูดผลก็พูด เหตุพิจารณาผลก็พิจารณา เหตุเข้าใจผลก็เข้าใจ เหตุไม่ เขา้ ใจผลก็ไม่เข้าใจ เหตกุ ับผลไม่อยูห่ ่างกนั พอก้าว เม่อื เหตกุ บั ผลไม่อยหู่ ่างกนั พอกา้ ว มรรค กับผลก็ไม่อยู่ห่างกันพอก้าว ส่วนมรรคก็แบ่งออกเป็น ๒ ซะ มรรคในทางพระพุทธศาสนา ท่านแบง่ ออกเปน็ ๔ โสดาปัตตมิ รรค สกทาคามิมรรค อนาคามมิ รรค อรหตั ตมรรค สว่ นผลทา่ นกแ็ บง่ ออกเปน็ ๔ โสดาปตั ตผิ ล สกทาคามผิ ล อนาคามผิ ล อรหตั ตผล นอกน้ันต่�ำกว่าน้ันลงมาเป็นโลกีย์ ท่านไม่ค่อยยุ่งพระบรมศาสดาและก็ไม่รับรองด้วย ก็ท่าน รับรองในไตรโลกธาตุ รับรองสุปฏิปันโน เป็นต้นพรหมจรรย์ขององค์ท่านคือพระโสดาบัน 41



ผใู้ ดเสยี ดายอยากล่วงละเมิดศีล ๕ ผนู้ นั้ ไมใ่ ช่สุปฏิปันโน ไมใ่ ชธ่ รรมจักษุ จกั ษคุ ือดวงตา ไม่ใช่ สมันตจักษุ ไม่ใช่จักษุรอบคอบ ผู้ใดเสียดายอยากล่วงละเมิดอบายมุขผู้นั้นก็ไม่เข้าถึง พระโสดาบัน ผู้ใดเสยี ดายอยากจะถือศาสนาอื่นมาปนเปกบั ศาสนาพุทธ อนั นี้อัญญสัตถุเทส ถอื ศาสนาอน่ื ผนู้ นั้ กไ็ ม่ถึงไตรสรณคมน์แท้ ยังเปน็ วา่ วเชอื กขาดอยู่ ยงั เปน็ ทีพ่ ่งึ ของตนยังไม่แน่ ยงั เป็นฝ่นุ ปลวิ ไปตามลมอยู่ คนหมมู่ ากลากไปทางชัว่ ก็ไปกบั เขา ลากไปทางดีกไ็ ปกับเขา เรา ไมใ่ ชไ่ ถจะใหเ้ ข้าลากไปยังไง เราไม่ใชผ่ านไถ ลากไปทางชัว่ กไ็ ปกับเขา ลากไปทางดีกไ็ ปกับ เขา เอาเป็นประมาณไม่ได้ เพราะไม่มกี รรมสทิ ธ์กิ บั ตวั เชื่อตัวไมไ่ ด้ คนหมมู่ ากลากไปทุกวนั นี้ ถา้ จะเอาคนหมมู่ ากเป็นประมาณหมด คนหมมู่ ากในโลกน้ีบอกว่านิยมกนิ อุจจาระ วา่ อย่างน้ัน ใครกนิ อุจจาระแลว้ จะเป็นผู้มปี ัญญา เขานิยมกินกันหมดทว่ั แผ่นดิน หลวงปกู่ ็ไม่กนิ เดอ้ หลวงปู่ไมก่ นิ เขาจะนิยมกินกนั ก็ตามหลวงป่ไู มก่ ิน ธรรมค�ำสอนของพระพุทธศาสนาไม่มีที่แซงหรอก ท�ำไมถึงมีท่ีแซง ก็เพราะแซงเรา เพราะเราท�ำไม่ถูกตามค�ำสอนของพระองค์ เราก็ต้องแซงเราจะไปแซงค�ำสอนของท่านไม่ได้ พูดถูกแล้ว โหรเอกแล้ว พระพุทธศาสนาเป็นโหรเอก อบายมุขทุกประเภท ท่านทายไว้ว่า ฉบิ หายหน้าเดยี วโตง้ ๆ เลย นัน่ ถกู ไหมละ่ ใครไปเล่นธนาคารเลขมีม้ยั ธนาคารอบายมุขไมม่ ี น่ัน นั่น น่ันละโหรเอกทายไว้ ที่บัญญัติบาปบุญคุณโทษถูกก็คือพระพุทธศาสนาเท่านั้น เหลือนอกนั้นส่ิงที่เป็นบาปบัญญัติว่าเป็นบุญก็มี ส่ิงไม่เป็นประโยชน์บัญญัติว่าเป็นประโยชน์ ก็มี เพราะอะไร เพราะอัตตาธิปไตยฝังอยู่ในหัวใจแล้ว เพราะเห็นแต่วัตถุนิยม ไม่เห็น อดุ มคตชิ ดั ด้านอดุ มคตจิ ะปฏิเสธไมไ่ ด้ เม่ือร่างกายมันสกปรกโสมม จะปฏิเสธทางอาบน้�ำไม่ได้ ต้องอาบน้�ำ ถ้าอย่างนั้นก็ เข้าสังคมไม่ได้ จิตใจก็เหมือนกัน ถ้าไม่มีธรรมะมันก็ไม่ไหว ไม่มีผู้ใดจะสอนมัน นอกจาก ธรรมะเสียแล้วธรรมะต้องเกิดขึ้นท่ีนี่ พระสติพระปัญญาก็ต้องอยู่ในที่นี่ ถ้าอย่างนั้นก็ไม่ทัน กับความหลงของตน ชนะก็ชนะกิเลสของตน แพ้ก็แพ้กิเลสของตน ชนะกับแพ้ไม่มีในทาง พระพทุ ธศาสนาภายนอก ชนะภายนอกแพ้ภายนอกไมม่ ีในทางพระพทุ ธศาสนา ชนะก็ชนะ ตนเอง แพ้ก็แพ้ตนเองในหลักเดิม เมื่อชนะตนแล้วก็ชนะผู้อื่นไปในตัว เม่ือชนะกิเลสตัวเอง แลว้ กช็ นะกิเลสของทา่ นผ้อู ่ืนไปในตัว นัน่ พระพุทธศาสนาเป็นพระพทุ ธศาสนาทตี่ งั้ หน้าต้งั ตา ทำ� ลายความหลงของตน ความหลงอันเป็นแม่ทพั ใหญ่ อวชิ ชา ตัณหา อุปาทาน ก็เปน็ เมอื งข้นึ 43

ของความหลง อวิชชาก็คือความหลง ตัณหาก็คือความหลงน่ันก็เป็นเมืองข้ึนของความหลง นอกจากกิเลสไมม่ อี ันใดจะเป็นเมืองขึ้นของกเิ ลส นอกจากพระนิพพานไม่มีอันใดเป็นเมืองข้ึนของพระนิพพาน แต่พระนิพพานไม่ได้ เป็นบา้ นเปน็ เมือง ดีคูณดี ชัว่ คูณช่วั บวกดคี ูณดคี ูณอย่ทู ใี่ จ ไมไ่ ดค้ ูณท่ีอนื่ ไม่ได้บวกท่ีอน่ื ถา้ ลบกล็ บออกจากใจ ถ้าคูณกค็ ณู ขึน้ ท่ใี จ ทางดกี เ็ หมอื นกันทางชัว่ ก็เหมอื นกัน ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ย่นลงมาเอกนิบาตคือใจ มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺา มโนมยา ธรรมทง้ั หลายมใี จเป็นใหญ่ มีใจเปน็ หวั หน้า ใจเป็นหนทางพ้นทุกข์ในวัฏสงสาร ศีล สมาธิ ปญั ญา ก็รวมลงท่ใี จ เราไมป่ ระพฤตติ ามใจทง้ั หมด เรามีสตมิ ปี ัญญาควบคุมใจ สงิ่ ที่ไม่เปน็ ประโยชน์ เราก็ไม่เอามานึกมาคิด ไม่ใช่ว่ามันพานึกไปทางไหนเราก็จะไปตามมัน เราไม่ไป เรารู้เท่ามนั ปุริสทมฺมสารถิ ฝกึ ใจดแี ลว้ มนั ก็ฝกึ กาย วาจา ไปในตัว ตนเป็นเมอื งขึน้ ของใจ เพราะใจเป็นผู้บงการ ศลี มีตัวเดยี วคอื ใจ สมาธติ ั้งมั่นลงในใจ ปัญญารอบร้ลู งในใจ ตกลงศลี สมาธิ ปัญญา รวมอยู่ท่ีใจ ไม่ได้รวมอยู่ท่ีกระดาษภายนอก บาปไปเขียนไว้เป็นตัวหนังสื อหรอื พิมพไ์ ว้ ตวั บ สระ -า ป สะกด บาปไม่ได้อยูใ่ นทีน่ น่ั บญุ ก็ไม่ไดอ้ ยทู่ ี่นนั่ อยทู่ ่ีใจของ มนุษย์ อยู่แต่ละท่านแตล่ ะคน พระไตรปิฎกรวมลงมาหาใจ ถ้าวา่ เป็น ๓ กก็ าย วาจา ใจ ถ้าว่าเป็น ๒ ก็กายกบั ใจ ถ้าว่าเป็น ๔ ก็ธาตุ ๔ หรอื อริยสัจ ๔ ทุกข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค ทกุ ขเ์ ปน็ ผลของสมทุ ยั สมทุ ัยเป็นเหตุใหท้ กุ ขเ์ กดิ นโิ รธเปน็ ผลของมรรค มรรคเปน็ เหตุใหถ้ งึ นโิ รธ พิจารณาทุกข์ให้ เป็นอารมณ์อยู่พร้อมกับลมหายใจเข้าออก สมุทัยและตัณหาก็เบาบางไปในตัว มรรคก็เจริญ ไปในตวั นิโรธก็ท�ำให้แจ้งไปในตัว ไม่ใชว่ ่าเจรญิ ทกุ ขแ์ ล้วก็เจริญสมุทัย แลว้ กเ็ จริญมรรคแลว้ กเ็ จรญิ นโิ รธ อย่างอยา่ งนั้นมนั เป็นเรยี งแบบไมถ่ กู บคุ คลผ้จู ะส้นิ ความสงสยั ใดๆ กต็ ้องสิน้ ใน ปัจจุบันจิต ปจั จุบันธรรม ไม่ใชจ่ ติ อดีต ไม่ใชใ่ จอนาคต ไม่ใชธ่ รรมอดตี ไม่ใช่ธรรมอนาคต ธรรมปัจจุบัน เหตุฉะน้ันจึงเน้นลงว่า ปจฺจุปนฺนญฺจ โย ธมฺมํ ผู้ใดเห็นธรรมในปัจจุบัน ผู้น้ันไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนในทางพระพุทธศาสนา ผู้นั้นมีหลักด้วย เพราะเอาปัจจุบันเป็น หลัก เพราะเอาปัจจุบันเป็นตัวประกัน เอาปัจจุบันเป็นพยาน เห็นทุกข์ในปัจจุบัน ทุกข์ใน อดตี อนาคตไม่ต้องสงสยั ถ้าสงสยั อย่กู ็เรียกว่าไม่ชัดในปจั จบุ นั เรียกวา่ เหน็ ตามสัญญา ไม่เปน็ ปจั จกั ขาทิฏฐิ ไม่เป็นจินตามยปัญญา ไมใ่ ช่ภาวนามยปัญญา ไม่ใช่สตุ มยปญั ญา สุตมยปญั ญา จินตามยปญั ญา ภาวนามยปญั ญา รวมปนกันอยใู่ นปัจจุบัน เปน็ กองทัพธรรมไมไ่ ดแ้ ยก 44

กันเลย ศีล สมาธิ ปัญญา ก็ไม่ต้องแยกรวมพลกันเลย เป็นเชือก ๓ เกลียว ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์กเ็ ป็น ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธเ์ กลยี ว ถ้ารวมเปน็ หนึ่ง นั่น ถา้ ไม่หลง ๑ ก็ ไม่หลง ๒ กไ็ มห่ ลง ๓ หลง ๔ หลง ๕ เหมือนกัน เราจะนับออกไปตง้ั ลา้ นตั้งแสนตัง้ หม่ืน ตงั้ เทา่ ใดล้านก็ตามกน็ ับออกไปจากหลักหน่วย ถ้าย่นลงมากย็ ่นลงมาหาหลักหน่วย เชอื กทข่ี ึง ยาวเหยียดไปทั่วโลกธาตุก็ออกไปจากหลักเดิมของมัน เราจะพูดมากจนถึงวันตายก็ออกไป จาก ๑ เราย่นลงมาก็ย่นลงมาหา ๑ สรรพจิตย่นลงมาหาเอกจิต สรรพธรรมย่นลงมาหา เอกธรรม สรรพศีลย่นลงมาหาเอกศีล สรรพสมาธิย่นลงมาหาเอกสมาธิ สรรพปัญญาย่น ลงมาหาเอกปัญญาในปจั จบุ นั ทนั ตาทีเ่ พง่ อยู่นัน่ เอง เราพิจารณาดินดนิ จงึ จะมี เราพิจารณา นำ้� น�้ำจึงจะมี เราพจิ ารณาไฟไฟจึงจะมี เราพิจารณาลมลมจึงจะมไี มถ่ ูกอนั นน้ั มันมีอยกู่ อ่ น แล้วในปัจจุบันแล้ว ถ้ามันไม่มีอยู่ก่อนมันก็ไม่มีประตูจะเห็น ส่ิงของต่างๆ มันมีอยู่ก่อนท่ีเรา รแู้ จ้ง ผู้รนู้ ไ่ี ปรูห้ ลังฉากเฉยๆ หรอก เพราะฉะนั้นท่านจึงย่นว่า ผู้รู้ไม่ใช่พระนิพพาน พระนิพพานไม่ใช่ผู้รู้ ฟากผู้รู้ไปจน ไมม่ ีที่หมาย ถา้ หมายอยูม่ ันกเ็ ปน็ นิมิต สญุ ญตสมาธิ อนิมติ ตสมาธิ อปั ปณหิ ิตสมาธิ สญุ ญตวโิ มกข์ นมิ ติ ตวโิ มกข์ อัปปณหิ ิตวิโมกข์ ว่างจนไม่มีทห่ี มาย ไม่ใชส่ ตั ว์ไมใ่ ชบ่ ุคคล บางทา่ นถามว่า ผมท�ำไมจงึ สู้ เวทนาไม่ได้ ผมจะข้ามเวทนาด้วยวิธีไหน บางท่านพูดอย่างน้ัน ถ้าส�ำคัญว่าเราเป็นเวทนา เวทนาเป็นเรา เราก็ข้ามไม่ได้ ถ้าส�ำคัญว่าทุกขเวทนาเป็นเราเราเป็นทุกขเวทนา มันก็ข้าม ไม่ได้ เพราะข้ามเวทนาต้องเอาปัญญาขา้ ม เอาสมาธขิ ้าม เวลามนั ลงไปรวมอยู่มันก็ไม่ปวดแข้ง ปวดขา เมอ่ื เวลามนั ขบถคืนอีกกเ็ หมือนกนั น่นั แหละ ส้มู ันไมไ่ หว เพียงสมาธสิ ูม้ ันไมไ่ หวเนอ้ นโิ รธสมาบตั ิกเ็ ขา้ ไป ๗ วันเท่านน้ั ก็ถอนออกมา เพราะอยู่ใตอ้ ำ� นาจอนิจจงั น่ัน ออกมา กห็ ิวจะตาย นั่น เห็นไหม นนั่ นโิ รธสมาบัตกิ เ็ ปน็ สังขารเพราะเกิดดับเป็น สว่ นจติ ใจท่านผู้ เขา้ นิโรธสมาบัตพิ ระอรหันต์น้นั ไม่ใช่สงั ขาร เพราะท่านอยเู่ หนอื ไปแล้ว ท่านไม่ตดิ อยู่ในนิโรธ เหตฉุ ะน้นั เขาไปถามนางธรรมทนิ นาบอกวา่ เวลาอยใู่ นนิโรธสมาบตั ิเปน็ อย่างไร เวลาอยใู่ น นิโรธไม่ส�ำคัญตัวว่าอยู่ในนิโรธและไม่ส�ำคัญตัวว่าอยู่นอกนิโรธ เวลาถอยออกมาก็ออกมาหา จิตตสังขาร วจีสังขาร และกายสังขาร ลมหายใจเข้าออกเวลาเข้าก็เข้าอันนั้น เกิดข้ึนแล้ว แปรปรวนและแตกสลาย ไฉนพระบรมศาสดาจึงเข้านิโรธสมาบัติก่อน ก็เพราะธรรมเนียม ขององค์ท่าน ถึงแม้ท่านจะเข้าหรือไม่เข้าก็ตาม ท่านจะล้มตึงตายลงไปท่านก็ไม่มีกิเลส 45

เพราะท่านหมดไปแล้ว ไมใ่ ช่ว่าเวลากิเลสเวลาพระอรหันตเ์ ข้าสมาธกิ เิ ลสจงึ จะไมม่ ี อย่างนั้น ไมใ่ ช่ เพราะมนั ขาดไปแล้ว อนั นน้ั รกั ษาธรรมเนียมไว้เฉยๆ ศีลมีตัวเดียว สมาธิมีตัวเดียว ปัญญามีตัวเดียว ค�ำพระพุทธศาสนาสอนมากก็สอน ค�ำเดียวเท่านั้นละ ย่นลงมาก็มาหาเอกนิบาต มากก็มากออกไปจากใจ ย่นก็ย่นลงมาหาใจ น้อยกน็ ้อยลงออกจากใจ เหตฉุ ะนั้นจงึ ยนื ยัน มโนปุพฺพํ เปน็ หลักเดิม เปน็ มลู เดมิ สรรพโลก ท้ังปวงรวมลงมาในสังขารโลก เกิดข้ึนแล้วแปรปรวนและแตกสลาย โลกมีใจครองและไม่มี ใจครอง โลกทมี่ ีใจครองเรยี กว่ารปู โลก โลกไม่มีใจครองเรยี กวา่ อรูปโลก โลกทีเ่ ปน็ อรปู เรียกว่า อรูปโลก รปู ทเี่ ปน็ นามเรยี กว่านามโลก นามรปู กว็ า่ นามธาตุก็วา่ นามขนั ธ์กว็ า่ นามธรรม ก็ว่า รูปขันธ์ นามขันธ์ รูปโลก รูปธาตุ เกิดข้ึนแล้วแปรปรวนและแตกสลายไปเหมือนกัน ท้ังรูปและนามด้วยบรรจุอยู่ในโลกนี้ก็มีแต่สิ่งที่เกิดดับเท่นนั้นแหละ ส่ิงท่ีเกิดดับก็คืออะไร ก็คือสังขารเราดีๆ น่ีเอง สังขารท่ีมีใจครองและสังขารที่ไม่มีใจครองเต็มยัดเยียดอยู่ในโลกน้ี เมื่อสังขารมีหน้าท่ีเกดิ ข้ึนแล้วแปรปรวนแตกสลายไปอย่างนี้ รูปไหม้ของสังขาร รูปไหม้ของโลก มันจะไปลบั ไปลอ้ี ย่ทู ่ไี หนทีเ่ ราจะอ่านไมอ่ อก เม่อื เราอา่ นออกแลว้ เราก็ไมส่ งสัยโลกทัง้ ปวงเลย วา่ จะเปน็ อน่ื นอกจากทกุ ข์ ตดั สนิ เผงเลย ไมต่ ้องมีฎกี าไม่ต้องมีอทุ ธรณ์ สงั ขารโลก โลกคอื สงั ขาร สตั วโลก โลกคอื หมู่สัตว์ โอกาสโลก โลกคือแผน่ ดิน มนษุ ย์โลกไดแ้ ก่โลกทเ่ี ราอยู่ อาศัยอยู่นี้ เทวโลกได้แก่ฉกามาวจร ๖ ชั้น พรหมโลก ได้แก่รูปพรหม ๑๖ ช้ัน และ อรูปพรหม ๔ ช้ัน รวมลงมาในสงั ขารโลก สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา สังขารเป็นทุกข์อยา่ งย่งิ โลกเป็นทกุ ขอ์ ย่างยิง่ อนจิ จังเปน็ ทกุ ขอ์ ย่างยง่ิ ทุกขงั เปน็ ทกุ ข์อยา่ งยิง่ อนตั ตาเปน็ ทุกข์อย่างยิ่ง มคี วามหมายอนั เดยี วกัน นนั่ เมือ่ ใดเห็นสังขารว่าไม่เท่ยี ง เปน็ ทุกข์เป็นอนัตตา เมื่อนนั้ ย่อม หนา่ ยในทุกข์ นั่นแหละทางวิสุทธิ น่นั แหละทางแห่งศีลและสมาธิและปญั ญาวสิ ุทธกิ ลมกลนื กันอยู่ ไมใ่ ชศ่ ีลว่าศีลจะตงั้ อยูท่ ห่ี นงึ่ สมาธจิ ะตั้งอยู่ทีห่ น่งึ ปญั ญาจะตง้ั อย่ทู หี่ น่งึ ไมใ่ ช่ มนั กลมกลืนกนั อยู่ คลา้ ยกับหนงั เนอื้ เอ็น กระดูก หรอื หน้ากับตา เหมือนหนา้ กนั อยูแ่ ต่กเ็ หน็ ตา เห็นจมูกเหมือนกัน เขาพูดอักษรย่อ เมื่อปรารภถึงพุทโธก็เกี่ยวโยงถึงธัมโมเผงเลย สังโฆ ก็เผงเลย น่ัน เมื่อก�ำปั้นตีดินในประเทศไทยก็ถูกทั้งประเทศอเมริกาและรัสเซียด้วย เพราะ เป็นของแข็ง มีน�้ำค่ันอยู่ก็ตามแต่ว่าใต้น�้ำมันก็มีดินอยู่ น่ัน เมื่อไม่เอาปัจจุบันเป็นพยานไฉน จะส้ินความสงสัยของตนได้ เห็นอนิจจังขณะจิตเดียวเห็นรอบโลกแล้ว เพราะโลกเต็มไปด้วย อนิจจงั เหน็ พร้อมกับลมหายใจเข้าออก เห็นพร้อมกับขณะจติ ท่ีพูดทีน่ กึ ที่คดิ อนจิ จงั อนจิ จัง อันละเอียดล่ะผู้รู้น่ี เกิดข้ึนแล้วก็ดับไปเร็วท่ีสุด จิตก็เหมือนกัน ติดต่อกันอยู่หาระหว่างมิได้ 46



ใครว่าจติ ไม่เกิดไม่ดบั ผนู้ ้ันเป็นมิจฉาทฏิ ฐิ เหตฉุ ะน้ันท่านจงึ บัญญัตวิ า่ รปู จติ เจตสิก นิพพาน ไม่ได้บัญญัติว่าจิตเป็นพระนิพพาน ไม่ได้บัญญัติว่าพระนิพพานเป็นจิตน้ัน จิต ถ้าท�ำถูก ก็เป็นหนทางเข้าส่นู ิพพานเท่าน้ัน ยนื ยันแต่เพียงว่า จติ ก็หลดุ พน้ จากกิเลสอาสวะ นน่ั ยนื ยนั เท่านั้น นี่พระอรหันต์ไม่ตาย ส่วนพระอรหันต์ตายแล้วบัญญัติจิตไม่ถูก เพราะไม่สมฐานะ คล้ายๆ แก่จะตายแล้วจะมาเรยี กคณุ หนูมนั กไ็ มเ่ หมาะสม” หลวงป่บู ญุ ฤทธ์ิ “วสิ งั ขาระคะตัง จิตตัง จิตตถาคตหยั่งลงสวู่ ิสงั ขารแลว้ ” หลวงปู่หล้า “เพราะอยู่เหนือจิตเหนือสังขารแล้ว ไม่ส�ำคัญว่าจิตเป็นตนตนเป็น จติ กไ็ ม่ลำ� บากในจิต ไมส่ ำ� คัญวา่ ทกุ ขเ์ ป็นตนตนเปน็ ทกุ ข์ ก็ไมล่ �ำบากในทุกข์ สง่ิ ไหนท่มี ตี น เขา้ ไปสอดแทรกสง่ิ กม็ ีเร่อื งมาก เรื่องมมี าก ส่ิงไหนถ้าส�ำคัญเขา้ ไปสอดแทรกว่าตวั กูของกูมัน กต็ ามไปด้วย น่นั เม่อื ของกูตามไปด้วย ทนี ่ี ของมึงก็ตามมาด้วยแล้วก็เกดิ ทะเลาะกนั ถกู ไหม” หลวงปบู่ ุญฤทธิ์ “ตัวสตนิ ่ี อริยสตนิ ี่ ถา้ มันเกิดข้นึ ทีเดยี วมันกส็ �ำเร็จกิจหมดแลว้ อริยสจั ๔ นิพพาน มนั เรยี บร้อยไปหมดแล้ว” หลวงปู่หล้า “ถูก พระอรหันต์เป็นผู้มีสติเต็มที่ เพื่อจะไม่ให้ใครโจษท่านด้วย อาบตั ิเรยี ก สตวิ นิ ยั สตใิ นไตรโลกธาตไุ มเ่ ท่าสตพิ ระอรหนั ต์ สตพิ ระอรหนั ตม์ ีญาณสมั ปยตุ ต์ อย่คู รบด้วยความเคยชิน ไม่ต้องลำ� บากรักษาสติ แตก่ ็สอนให้รกั ษาสติเหมอื นกนั เช่นอธกิ รณ์ บางอย่างก็บอกว่าสติวินัย พระอรหันต์ท�ำผิดไม่มี พระอรหันต์ไม่ได้ท�ำผิดเพราะไม่มีเจตนา พระอรหันต์ลืมสติไหม ลืมเป็นบางคร้ังบางคราว เช่นลืมเก็บเภสัชไว้ ๗ วัน เป็นต้น หรือ ลืมอธิษฐานเป็นต้น หรือปราศจากไตรจวี รเปน็ ต้น แต่นานๆ ทีส่ ุด แตไ่ มม่ ีเจตนาในองคท์ ่าน เจตนาไม่ดีไมม่ ีในพระอรหันต์ ไมจ่ �ำเปน็ จะรักษาจิตอกี ” หลวงปู่บุญฤทธ์ิ “สตสิ ว่ นน้ีเป็นสตสิ ว่ นโลก ไมใ่ ชส่ ติโลกุตตระ สตมิ ีหนา้ ที่รูแ้ จ้ง อริยสจั ๔ นิพพาน...ท�ำลายอุปาทานขนั ธ์ ๕ เด๋ียวนน้ั ” หลวงปูห่ ล้า “พออปุ าทานขนั ธ์ไม่มมี นั กห็ มดปัญหาที่จะพดู ” 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook