Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

Published by supada khunnarong, 2021-08-28 10:51:41

Description: เอกสารประกอบการเรียนวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน วิชาการวิจัยเพอ่ื พฒั นากระบวนการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (4014905) ผศ.สุภาดา ขุนณรงค์ อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2564

มคอ. 3 : PBRU รายละเอยี ดของรายวิชาการวิจยั เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (4014905) สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป 1. รหัสวิชา 4014905 ชือ่ รายวชิ า การวจิ ยั เพื่อพฒั นากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จานวนหนว่ ยกิต 3(2-2-5) 2. หลักสตู รและประเภทของรายวชิ า  2.1 หลกั สูตรที่ใช้รายวชิ านี้ หลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต (หลักสตู ร 4 ปี) สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี  2.2 กลุ่มของรายวชิ า  วิชาการศกึ ษาทว่ั ไป  วชิ าเฉพาะด้าน  วิชาการสอนวชิ าเอก  วชิ าเอกบงั คบั  วชิ าเอกเลอื ก  อื่น ๆ .......................... 3. อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบรายวิชาและอาจารย์ผ้สู อน อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชา ผศ. สภุ าดา ขนุ ณรงค์ อาจารย์ผู้สอน ผศ. สุภาดา ขนุ ณรงค์ 4. ภาคการศกึ ษา / ช้ันปีทเี่ รยี น ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 กล่มุ เรยี น/ชนั้ เรยี น 6241-48/1 หอ้ งเรียน 719 วนั พฤหัส 08.30-12.30 น. 5. รายวิชาท่ีต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถา้ มี) - 6. รายวชิ าที่ต้องเรียนพรอ้ มกัน (Co-requisites) (ถา้ มี) - 7. รปู แบบการเรียน การเรียนการสอนออนไลน์ 8. วันท่จี ดั ทาหรอื ปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาคร้ังล่าสดุ 9 มิถุนายน 2564 1

มคอ. 3 : PBRU 9. วัตถุประสงค์ของรายวชิ า 1. เพอ่ื พฒั นาทักษะการเปน็ ครูวทิ ยาศาสตร์ ในศตวรรษท่ี 21 2. เพือ่ พัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการวิจัยวทิ ยาศาสตร์และวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษาและสามารถทาวิจัย เพอ่ื หาความรู้และพฒั นากระบวนการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 3. เพือ่ พัฒนาความสามารถในการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั ของนักศกึ ษา หมวดท่ี 2 การดาเนินการจัดการเรียนการสอน 1. คาอธิบายรายวชิ า (ตัวอยา่ ง) รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า หน่วยกติ (ทฤษฎี – ปฏิบัติ – ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) 4014905 การวจิ ยั เพ่อื พัฒนากระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) รเู้ นื้อหาวทิ ยาศาสตร์กับธรรมชาตแิ ละการเรยี นรู้ เทคนคิ การเรียนรู้กับงานวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ การวิจัยดว้ ย กระบวนการเรียนรู้ ความร้พู ื้นฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การเขียนโครงร่างวิจยั เชงิ ระบบ สถติ กิ ับการวางแผนวิจยั เบ้ืองต้น การวเิ คราะห์ข้อมลู การเขียนรายงานการวิจยั และการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั มีความสามารถในการทาวิจยั และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ศึกษา มีความสามารถในการวเิ คราะห์และประมวลผลเชิงสถติ ิเพือ่ การ ตัดสนิ ใจ มที ักษะที่จาเป็นเพ่ือการเปน็ ครวู ทิ ยาศาสตรใ์ นศตวรรษที่ 21 2. จานวนชัว่ โมงทใ่ี ชต้ อ่ ภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสรมิ การฝกึ ปฏบิ ตั /ิ งาน การศกึ ษาดว้ ยตนเอง ภาคสนาม/การฝกึ งาน บรรยาย 30 ช่วั โมง การศกึ ษาด้วยตนเอง ตอ่ ภาคการศกึ ษา สอนเสรมิ ตามความตอ้ งการของ ทาโครงการวิจยั 30 75 ชัว่ โมงต่อภาค การศึกษา นกั ศกึ ษาเฉพาะราย ชั่วโมงตอ่ ภาคการศึกษา 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ทอี่ าจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวชิ าการแก่นักศึกษาเปน็ รายบคุ คล - วันพธุ บ่ายของทุกสปั ดาห์ ห้องพัก 728 - ใหค้ าปรึกษากับผเู้ รียนตลอดภาคการศกึ ษาผ่านช่องทางไลนก์ ลมุ่ สานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

หมวดท่ี 3 การพัฒนาผ 4.1 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องรายว ความรบั ผิดชอบหลกั ( มาตรฐานการเรยี น ชอ่ื รายวิชา หนว่ ย ช้ันปี 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท กติ 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 การวจิ ัยเพอ่ื พฒั นา กระบวนการ 3 3    เรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทตี่ ้องพัฒนา (1.2) มีจติ อาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น มีความเสยี สละ รับ สามารถพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีแก่ศิษย์ ครอบค .1)4มี (ความกลา้ หาญและแสดงออกทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สามา เหมาะสมกบั สังคม การทางานและสภาพแวดล้อม โดยอาศยั หลักการ เหตุผ ประโยชนข์ องสงั คมสว่ นรวม มีจติ สานึกในการธารงความโปร่งใสของสงั คมแ หรอื การลอกเลียนผลงาน

มคอ. 3 : PBRU ผลการเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา วิชา (curriculum mapping) การวจิ ัยเพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ) ความรับผดิ ชอบรอง (O) นรู้ ทางปัญญา 4. ทักษะ 5 ทักษะการวิเคราะห์ 6. วิธีวทิ ยาการจัดการเรียนรู้ 3.3 3.4 ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 และการใชเ้ ทคโนโลยี บุคคล และความ รบั ผิดชอบ 5.1 5.2 5.3 4.1 4.2 4.3   บผิดชอบและซ่ือสตั ยต์ ่องานที่ไดร้ ับมอบหมายท้ังดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี และ ครวั สังคมและประเทศชาติ เสริมสรา้ งการพฒั นาที่ย่งั ยนื ารถวนิ ิจฉยั จัดการและคดิ แกป้ ัญหาทางคุณธรรมจรยิ ธรรมดว้ ยความถกู ต้อง ผลและใช้ดลุ ยพนิ จิ ทางค่านิยม บรรทดั ฐานทางสังคม ความรู้สึกของผู้อื่นและ และประเทศชาติ ตอ่ ต้านการทจุ ริตคอรัปชัน่ และความไม่ถูกต้อง ไมใ่ ช้ชอ้ มูลบดิ เบือน 3

.12 วิธกี ารสอนที่จะใช้พฒั นาการเรยี นรู้ (2.3) เรยี นรจู้ ากกรณีศกึ ษา )Case study ( (2.8) การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ( Problem-based Lea .13 วธิ กี ารประเมินผล (3.1) วัดและประเมินผลจากการสงั เกตพฤตกิ รรมในขณะทางาน (3.4) วดั และประเมินผลจากผลงานกรณศี ึกษา 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ทจ่ี ะไดร้ บั ( 2.3) มคี วามรู้ ความเข้าใจชวี ิต เข้าใจชมุ ชน เขา้ ใจโลก และกา การเปล่ยี นแปลงของสงั คมและสามารถนาแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไป 2.2 วธิ ีการสอน (2.2) การเรยี นร้โู ดยใช้การสืบสอบ ) Inquiry-Based Learning .2) 5การเรียนรู้โดย (ปัญหาเป็นฐาน ) Problem-Based Leanin 2.3 วิธกี ารประเมนิ (3.1) วดั และประเมนิ ผลจากการปฏิบตั ติ ามสภาพจริงหรือในห้อ วัดและประเมินผลจากการนาเสนอโครงงานหรอื รายงานความก้าวหน 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (3.2) สามารถคดิ รเิ ริม่ และพฒั นางานอย่างสร้างสรรค์ .3 2 วิธีการสอน (2.1) การเรยี นรโู้ ดยใช้การวจิ ยั เป็นฐาน ) Research-Based Le .33 วิธกี ารประเมินผลทักษะทางปัญญาของนกั ศกึ ษา (3.3) วัดและประเมินจากผลการวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม (3.4) วดั และประเมนิ ผลจากการนาเสนอรายงานหรือผลการปฏ สานักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

มคอ. 3 : PBRU arning) นตามสภาพจริง (Authentic Approach) ารอยู่รว่ มกันบนพ้ืนฐานความแตกต่างทางวฒั นธรรม สามารถเผชิญและเทา่ กันกบั ปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ิตและพัฒนาตน พัฒนางาน และพฒั นาผูเ้ รียน g( ng( องปฏบิ ัติการ น้า (3.4) eaning( ฏิบตั งิ าน

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ .41 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบท่ีต้อง (4.1) รับรู้และเขา้ ใจความรู้สกึ ผู้อน่ื มคี วามคดิ เชิงบวก มีวุฒภิ าว (4.3) มคี วามรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ี ต่อตนเอง ต่อผเู้ รียน ตอ่ ผู้รว่ มง ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 4.2 วิธกี ารสอน (2.2) การเรียนแบบมีสว่ นรว่ มปฏิบัตกิ าร )Participative Learn 4.3 วิธกี ารประเมนิ (3.2) วดั และประเมนิ จากผลการศึกษาค้นควา้ หรือแกโ้ จทย์ปัญห (3.3) วัดและประเมินจากผลการนาเสนองานเปน็ กลุ่ม การเป็นผ 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่อื สารและการใช้เทคโนโลยสี าร 5.1 ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่อื สารและการใชเ้ ทคโนโล (5.2) สอื่ สารกบั ผเู้ รยี น บคุ คลและกลุ่มตา่ ง ๆ อย่างมีประสทิ ธภิ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทเี่ หมาะสม .52 วิธีการสอน (2.2) การสืบค้นและนาเสนอรายงานประเด็นสาคญั ด้านการศึกษ 5.3 วิธกี ารประเมนิ วัดและประเมนิ ผลจาก (3.2) การสืบค้นและนาเสนอรายงานประเ ดิจทิ ลั 6. วธิ วี ิทยาการจัดการเรยี นรู้ 6.1 ผลการเรยี นรู้ด้านวธิ ีวทิ ยาการจดั การเรียนรู้ .6)4( สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดลอ้ ม ส่อื การเรียน แหล เรียนรู้ มคี วามสามารถในการประสานงานและสร้างความร่วมมือกบั บดิ ามารดา ผ พัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรอบรู้ มีปัญญารคู้ ิดและเกิดการใฝ่รอู้ ย่างต่อเน่อื งให้เต็มตา สานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

มคอ. 3 : PBRU งการพฒั นา วะทางอารมณ์และทางสังคม งานและต่อสว่ นรวม สามารถช่วยเหลือและแกป้ ญั หาตนเอง กลุม่ และระหวา่ งกลุ่ม ning through Action( หา ผ้นู าและผู้ตามที่ดใี นการปฏิบัติงานรว่ มกัน รสนเทศ ลยีสารสนเทศท่ตี ้องพัฒนา ภาพด้วยวิธีการหลากหลายทั้งการพดู การเขียน และการนาเสนอดว้ ยรูปแบบบต่าง ๆ ษาโดยบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคโนโลยดี ิจิทลั เดน็ สาคญั ดา้ นการศึกษาโดยบรู ณาการการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยี ล่งวทิ ยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาทั้งในและนอกสถานศกึ ษาเพ่ือการ ผปู้ กครองและบุคลากรในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพอื่ อานวยความสะดวกและร่วมมอื กนั ามศักยภาพ

.62 วิธีการสอน .2) 2( การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการความรใู้ นเน Knowledge : TPCK ( 6.3 วธิ กี ารประเมนิ วัดและประเมินผลจาก (3.1)การฝกึ ทักษะจัดการเรยี นรใู้ นสถานก หมวดที่ 4 แผนการส 1. แผนการสอนและแผนการประเมนิ ตามผลลัพธ์การเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ของราย สัปดาหท์ ่ี หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมกา ชัว่ โมง เค 1 -คาอธิบายรายวชิ า 4 มคอ.3 วิชาว -เกณฑ์การวดั ประเมนิ ผล สอื่ ppt -ทักษะทจ่ี าเป็นเพ่อื การเปน็ ครู การอภปิ ราย วิทยาศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 -ความรู้พน้ื ฐานการวิจัยทาง วทิ ยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศกึ ษา 2 -วิทยาศาสตร์กับธรรมชาติและการ 4 การอภิปราย เรียนรู้ การบรรยาย การยกตวั อย สอ่ื ppt 3 การเรยี นรกู้ บั งานวจิ ัยทาง 4 การอภิปราย วทิ ยาศาสตร์ การบรรยาย สอื่ ppt สานกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ฉบับปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

มคอ. 3 : PBRU น้อื หาวชิ าเฉพาะผนวกวธิ ีสอนกบั เทคโนโลยี (Technological Pedagogical การณ์จาลอง - สดั ส่วน ผู้สอน การประเมิน ผศ.สภุ าดา สอนและการประเมินผล (100%) ยวิชา ารเรยี นการสอน/ส่ือท่ีใช/้ ครอ่ื งมอื ในการวัด วจิ ยั วิทยาศาสตร์ ย 30 ย ยา่ งกรณศี ึกษา ย

สัปดาห์ที่ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมกา ช่ัวโมง เค -การเรยี นรู้โดยใชก้ ารวจิ ัยเปน็ ฐาน นักศึกษาเลือ (Research-Based Learning) นักศกึ ษาสนใ 4 การเขียนโครงรา่ งวจิ ัยเชงิ ระบบ 4 การอภิปราย บทท่ี 1-3 การบรรยาย สอ่ื ppt กรณศี ึกษางา นกั ศกึ ษาพฒั 5 สถิติกับการวางแผนงานวจิ ัยเบือ้ งตน้ 4 การอภปิ ราย การบรรยาย ส่อื ppt กรณศี ึกษางา 6 การวิเคราะหข์ ้อมูล 4 การอภปิ ราย -วิเคราะห์และประมวลผลเชิงสถิติ การบรรยาย เพอ่ื การตดั สนิ ใจ สอ่ื ppt กรณีศึกษางา 7 การเขียนรายงานการวจิ ยั 4 การอภิปราย บทที่ 4-5 การบรรยาย สื่อ ppt กรณีศึกษางา 8 การเผยแพรผ่ ลงานวิจัย 4 การอภปิ ราย -รปู แบบการเผยแพร่งานวิจัย การบรรยาย -ฐานขอ้ มูลเพือ่ การเผยแพรง่ านวจิ ยั สอ่ื ppt การคดั ลอกผลงาน (Plagiarism) กรณศี ึกษางา สานกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ฉบับปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

ารเรยี นการสอน/ส่ือท่ใี ช/้ สัดส่วน มคอ. 3 : PBRU คร่อื งมือในการวัด การประเมิน ผสู้ อน (100%) อก/พัฒนาหัวข้อการวิจัยที่ ใจจะทาวจิ ัย ย านวจิ ยั ฒนาโครงรา่ งวิจัย ย านวจิ ัย ย านวจิ ยั ย านวิจยั ย านวจิ ัย

สปั ดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมกา ชั่วโมง เค 9-10 สอบโครงรา่ งวิจัย 8 สอบโครงรา่ ง 11-15 นกั ศกึ ษาทาโครงการวิจัย 20 นักศกึ ษาทาโ 16 สอบปลายภาค นาเสนอผลก ฉบบั สมบรู ณ 60 ไมม่ กี ารสอบ สานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน ฉบับปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

ารเรยี นการสอน/ส่ือทใ่ี ช/้ สดั สว่ น มคอ. 3 : PBRU ครอื่ งมอื ในการวัด การประเมนิ (100%) ผูส้ อน งวจิ ัย 70 อาจารย์สาขา โครงการวิจัย วทิ ยาศาสตรแ์ ละ การวิจัย และส่งเล่มรายงาน 100 เทคโนโลยี ณ์ 5 บท อาจารยส์ าขา วทิ ยาศาสตรแ์ ละ บปลายภาค เทคโนโลยี

มคอ. 3 : PBRU แผนการประเมินผลการเรียน ค่าระดับคะแนน ชว่ งคะแนน 4.00 80-100 ระดับ ความหมายของผลการเรียน 3.50 75-79 A ยอดเยยี่ ม (Excellent) 3.00 70-74 B+ ดีมาก (Very Good) 2.50 65-69 B ดี (Good) 2.00 60-64 C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 1.50 55-59 C พอใช้ (Average) 1.00 50-54 D+ อ่อน (Poor) 0.00 0-49 D ออ่ นมาก (Very Poor) E ตก (Fail) หมวดที่ 5 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน 1.หนังสือ/ตารา/E-learning รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณข์ องนกั ศึกษาสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เอกสารและข้อมูลสาคญั https://www.tci-thaijo.org/ 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา 1. ProQuest แหล่งคน้ หางานวิจัยทที่ ุก ๆ ปีจะมวี ทิ ยานิพนธร์ ะดับปรญิ ญาเอก และวิทยานิพนธร์ ะดับปรญิ ญาโทเพิ่มขึ้น ประมาณ 70,000 ชือ่ เร่ือง สาหรับการสบื ค้นสามารถได้ 3 แบบ คอื Basic Search, Advanced Search และ Browse 2. ERIC ฐานขอ้ มลู ERIC – Educational Resources Information Center เป็นฐานขอ้ มลู ดา้ นการศึกษา รวบรวม ข้อมูลจากทง้ั หนงั สือ วารสาร รายงานการประชมุ งานวจิ ัย วิทยานิพนธ์ ฯลฯ ขอ้ มลู ท่ีสืบค้นได้จากฐานขอ้ มลู นจ้ี ะได้ เพียงบรรณานุกรม และสาระสงั เขปเทา่ นน้ั ส่วนเรอื่ งเต็มหากตอ้ งการสามารถส่งั ซื้อผ่านบรกิ ารของ ERIC ได้ ซึง่ จะมี ทางเลอื กในการรับขอ้ มลู หลายรปู แบบในราคาทีแ่ ตกต่างกัน 3. ScienceDirect ScienceDirect เป็นฐานข้อมูลบรรณานกุ รม และเอกสารฉบับเต็ม (Full-text) จากวารสารของสานักพิมพ์ใน เครอื Elsevier สานกั พมิ พ์ Academic Press และสานกั พิมพ์อ่นื ๆ อีก 10 สานักพิมพ์ ประกอบดว้ ย วารสารด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาศาสาตร์การแพทย์ มนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตรก์ ว่า 1,200 ชอื่ 9

มคอ. 3 : PBRU 4. Google Scholar Google Scholar เป็นวธิ ีท่ีง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวชิ าการไดอ้ ย่างกว้างขวาง คุณสามารถค้นหาใน สาขาวิชาและแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ มากมายไดจ้ ากจุดเดียว: บทความ peer-reviewed วทิ ยานิพนธ์ หนงั สือ บทคัดยอ่ และบทความจากสานักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวชิ าชพี ทีเ่ ก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษา อืน่ ๆ 5. SCOPUS SCOPUS เปน็ ฐานขอ้ มลู บรรณานกุ รม ครอบคลุมวารสาร,รายงานการประชุม, หนงั สอื ชดุ , สทิ ธิบัตร ดา้ น วิทยาศาสตร์และสังคมศาสตรจ์ านวน 16,500 ชอื่ เร่อื ง 6. Taylor & Francis ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสส์ หสาขาวิชา ของสานกั พิมพ์ Taylor & Francis มีวารสารฉบับเตม็ 1,100 ชื่อ 7. Wiley Wiley Online Library เปน็ การรวมกันของฐานข้อมูลวารสารอเิ ล็กทรอนิกส์ 2 ฐานเดิม คือ Wiley Inter Science และ Blackwell Synergy มที ั้งสาขาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 8. Springer Link ฐานขอ้ มูลวารสาร และหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ของสานกั พิมพ์ Springer Link ประกอบด้วย วารสาร และ หนังสือสาขาวิชาต่าง ๆ ทงั้ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยวี ิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มนุษยศาสตร์สังคมศาสตรก์ ารศกึ ษา และสาขาอน่ื ๆ 9. Emerald Insight Emerald Insight หรือ Emerald Management เป็นฐานข้อมูลที่พฒั นาขึ้นโดย Emerald Group Publishing รวบรวม บทความทางด้านการบรหิ าร และการจัดการกว่า 300 สานักพิมพ์ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกสก์ วา่ 2,500 เล่ม และกรณีศึกษาอีกกวา่ 450 กรณี และยังรวมถึง งานวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศ สังคมศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการขนส่งดว้ ย 10. JSTOR JSTOR เป็นฐานข้อมูลที่ประกอบดว้ ยวารสารวชิ าการกวา่ 2,000 ช่ือ หนังสอื กว่า 25,000 ช่ือ และข้อมลู ปฐม ภมู ิ (Primary sources) กวา่ 2 ล้านรายการ 11. ACM Digital Library ACM Digital Library ฐานขอ้ มูลวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วารสาร นิตยสาร รายงานความก้าวหน้า เอกสารการ ประชุม และข่าวสาร สาขาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ของ Association for Computing Machinery (ACM) มีวารสารฉบับเตม็ 400 ชือ่ ใช้ขอ้ มลู ไดต้ ้งั แต่ปี 1985 – ปัจจุบนั สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบค่าใช้จ่าย 12. Agriculture Collection Agriculture Collection ฐานข้อมลู ดา้ นการเกษตร ให้ความรู้เชงิ ลึกตา่ ง ๆ ผเู้ ข้าใช้สามารถเขา้ ถึงเนอ้ื หาของ วารสารกวา่ 600 รายการ และจากสานักพิมพ์ Delmar กว่า 30 ชือ่ เร่อื ง ท่ีครอบคลมุ วชิ าเกยี่ วกบั การเกษตรอย่าง หลากหลายอกี ดว้ ย สานกั สง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

มคอ. 3 : PBRU 13. AIP (American Institute of Physics AIP (American Institute of Physics) เปน็ ฐานขอ้ มูลทางด้านฟสิ กิ ส์ ของ American Institute of Physics and American Physical Society ใหบ้ รกิ ารวารสารฉบบั เตม็ จานวน 11 ชอื่ สามารถสบื ค้นขอ้ มลู และให้ เอกสารฉบบั เตม็ ย้อนหลังได้ตั้งแต่ฉบับแรก – ปัจจบุ นั สาขาท่เี ก่ยี วข้องได้แก่ ฟสิ กิ ส์ ฟิสิกสป์ ระยกุ ต์ และ วิศวกรรมไฟฟ้า 14. Annual Reviews ฐานข้อมูลวารสารอเิ ล็กทรอนิกสส์ หสาขาวชิ า ของ Annual Reviews มวี ารสารฉบับเต็ม 38 ช่ือ สามารถ สืบค้นขอ้ มลู และใช้เอกสารฉบบั เต็มของวารสาร ยอ้ นหลงั ไดต้ งั้ แตฉ่ บับแรก ตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 1932 – ปจั จบุ นั สานักหอสมุดเปน็ ผูร้ บั ผิดชอบค่าใชจ้ ่าย 15. Asian Development Bank (Free) ฐานข้อมลู ของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชยี ใหข้ ้อมูลเกย่ี วกับระบบเศรษฐกจิ และการพัฒนาของประเทศ แถบเอเชียและแปซิฟิก 16. Britannica Online Academic Britannica Online Academic เปน็ สานักพิมพ์ท่ไี ด้รบั การยอมรับจากท่ัวโลกมากกวา่ 240 ปี ทางดา้ น การศกึ ษาและแหล่งข้อมูลในการคน้ คว้าวจิ ยั ซ่งึ ได้รบั การยอมรับและเป็นท่ีนิยมในฐานะของแหล่งข้อมูลเพื่อการ เรยี นรู้ จากโรงเรียน, มหาวทิ ยาลยั , สถาบนั การศกึ ษา และหอ้ งสมุดช้ันนาทัว่ โลก โดยเฉพาะ Britannica Online Academic ฐานข้อมูลสารนุกรมออนไลนเ์ พ่ือใชใ้ นมหาวทิ ยาลัยและสถาบันการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษา ท่ีไดร้ บั การ ออกแบบมาเพื่อการใชง้ านดา้ นวชิ าการ และสามารถทางานคน้ ควา้ วจิ ยั ได้อย่างมีประสิทธผิ ล สามรถใชง้ านได้ 17. CNKI ฐานขอ้ มูลที่รวบรวมข้อมลู ทรัพยากรความรู้ท้ังหมดของประเทศจีนให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1996 – ปจั จุบนั คลอบ คลมุ สหสาขา ให้บรกิ ารในการสบื คน้ เป็นภาษาจีน ใหข้ ้อมูลสิง่ พมิ พต์ ่อเน่ือง, วารสารอเิ ล็กทรอนิกส์, วทิ ยานพิ นธ์ฉบับ เต็มและบรรณานกุ รม รูปแบบการแสดงผลเอกสารฉบบั เต็ม PDF File และ CAJ Viewer File 18. CHE PDF Dissertation Full Text เป็นฐานขอ้ มูลวิทยานิพนธฉ์ บับเตม็ จากมหาวิทยาลยั ในตา่ งประเทศจานวน 3,850 รายชือ่ ทีจ่ ัดพิมพ์ระหวา่ ง ปี ค.ศ. 1997-2004 ซ่ึงสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) บอกรับใหส้ มาชิกโครงพัฒนาเครอื ข่าย ห้องสมดุ ในประเทศไทย หรอื ThaiLIS ในรูปแบบ CD-ROM และได้นาระบบการจดั เกบ็ เอกสารและส่งิ พิมพ์ อเิ ล็กทรอนิกสม์ าใชใ้ นการบริหารจดั การเพ่ือการสืบคน้ เนื้อหาในฐานขอ้ มลู ครอบคลุมสหสาขาวชิ า ท้ังดา้ น วิทยาศาสตร์กายภาพ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 19. Global Development Finance Online (GDF) ฐานข้อมูลนามานกุ รมสถติ ิการคลงั ของประเทศที่กาลังพฒั นาของธนาคารโลก ใหข้ ้อมลู เก่ียวกับข้อมลู หน้ี และการไหลเวียนทางการเงินของประเทศตา่ งๆ รวม 138 ประเทศ นอกจากนน้ั ยังให้ขอ้ มลู ด้านการลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศ ไดร้ ับอภนิ ันทนาการจากธนาคารโลก หมวดท่ี 6 การประเมนิ และปรับปรงุ การดาเนนิ การของรายวชิ า 1. กลยทุ ธก์ ารประเมินประสทิ ธิผลของรายวชิ าโดยนกั ศกึ ษา ประเมินการสอนของอาจารยผ์ ู้สอนรายบคุ คลผ่านระบบการประเมนิ ของมหาวทิ ยาลยั สานกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน ฉบับปรบั ปรุงใหม่ พ.ศ.2563

มคอ. 3 : PBRU 2. กลยุทธ์การประเมนิ การสอน พจิ ารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา ประกอบกบั ผลการประเมนิ การสอนจากนกั ศึกษา 3. การปรบั ปรงุ การสอน -ปรบั ปรงุ การสอนผ่านการสมั มนาอาจารยผ์ ูส้ อนเมอื่ สิ้นภาคการศกึ ษา 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนักศึกษาในรายวิชา - ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษาโดยระบบคณะกรรมการบริหารหลักสูตร - ปรับปรงุ ระบบการเรยี นการสอน การวดั และการประเมินผลจากผลการประเมินของนักศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ าลงนาม : ลงชือ่ ............................................................ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สุภาดา ขนุ ณรงค์) วันท่รี ายงาน 9 มิถนุ ายน 2564 ประธานสาขาวชิ า/กลมุ่ วิชาลงนามใหค้ วามเห็นชอบ: ลงชื่อ............................................................ (อาจารย์ ดร.นริ ุธ ล้าเลศิ ) วนั ท่รี ายงาน..................................... คณบดลี งนามให้ความเห็นชอบ: ลงชอ่ื ............................................................ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยณ์ รงค์ ไกรเนตร์) วันทีร่ ายงาน............................................ สานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ.2563

คำอธบิ ำยรำย รหสั วิชำ ช่อื วิชำ 4014905 การวิจยั เพือ่ พัฒนากระบวนการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาส รูเ้ นอ้ื หาวทิ ยาศาสตรก์ ับธรรมชาตแิ ละการเรียนรู้ เทคนคิ การเรีย เรียนรู้ ความร้พู น้ื ฐานการวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ การเขยี นโครงรา่ วเิ คราะห์ขอ้ มลู การเขียนรายงานการวิจยั และการเผยแพรผ่ ผลงานวิจยั ทางวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา มคี วามสามารถในการวเิ คราะ จาเปน็ เพอื่ การเปน็ ครวู ิทยาศา

ยวิชำ หนว่ ยกติ (ทฤษฎี – ปฏบิ ตั ิ – ศกึ ษำดว้ ยตนเอง) สตร์ 3(2-2-5) ยนร้กู บั งานวิจยั วทิ ยาศาสตร์ การวจิ ยั ดว้ ยกระบวนการ างวิจยั เชงิ ระบบ สถติ ิกบั การวางแผนวิจยั เบอื้ งตน้ การ ผลงานวิจยั มคี วามสามารถในการทาวจิ ัยและเผยแพร่ ะหแ์ ละประมวลผลเชิงสถติ ิเพื่อการตดั สนิ ใจ มีทกั ษะท่ี าสตร์ในศตวรรษท่ี 21

แผนการประเม ระดับ ควำมหมำยของผลกำรเรียน A ยอดเย่ียม (Excellent) B+ ดีมาก (Very Good) B ดี (Good) C+ ดีพอใช้ (Fairly Good) C พอใช้ (Average) D+ ออ่ น (Poor) D ออ่ นมาก (Very Poor) E ตก (Fail)

มนิ ผลการเรยี น ชว่ งคะแนน 80-100 ค่ำระดบั คะแนน 75-79 4.00 70-74 3.50 65-69 3.00 60-64 2.50 55-59 2.00 50-54 1.50 0-49 1.00 0.00

ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ เพือ่ กำร ศตวรรษท่ี 21 วิชำกำรวิจัยเพ่ือ

รเปน็ ครวู ทิ ยำศำสตรใ์ น อพัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ (4014905)

ควำมเปน็ ครวู ิทยำศำสตร์ นักศึกษำ อภปิ “ ครูวทิ ยำศำสตรค์ วรเป็นอย

ปรำย ในประเดน็ ย่ำงไร หรือมีลักษณะอย่ำงไร”









ทกั ษะครใู นศตวรรษท่ี 21 เปน็ องค์ประกอบสำคัญทผี่ ู้สอนควรต้องม ของตนเองและผู้เรียนไปยังจดุ มุ่งหมำยที่ตอ้ งกำรไ เกี่ยวข้อง  มีควำมเป็นมอื อำชีพ  มีควำมสำมำรถและศกั ยภำพสงู  เป็นผ้เู ตรยี มควำมพร้อมใหน้ ักเรยี นในกำรเขำ้  มคี วำมรักในอำชพี  มีชีวิตทเี่ รียบง่ำย  มี นวตั กรรม กำรเรียนกำรสอนเพอ่ื ให้นกั เรียน

มีในฐำนะครู จำเปน็ ต้องมจี ึงจะสำมำรถพฒั นำทักษะ ได้ มคี วำมรอบรมู้ ำกขนึ้ ทั้งในสำขำทีส่ อนและสำขำอืน่ ท่ี ำสู่โลกของกำรทำงำนในศตวรรษที่ 21 นบรรลุผลทำงกำรเรียนรทู้ ตี่ ้องกำร

ท่มี ำ : https://www.scbfoundation.com/media_know

wledge/knowledge/292

ท่มี ำ : https://www.ignitethailand.org

g/content/4748/ignite

คุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องครูวิทยำศำสตร ศตวรรษที่ 21 • มคี วำมรูใ้ นเนอื้ หำสำระทสี่ อนอย่ำงลึกซง้ึ • มีควำมรแู้ ละเช่ยี วชำญในกำรสอน • สำมำรถพัฒนำหลกั สตู รได้ • วำงแผนกำรสอนและแบบเรยี นทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ • มีกำรคิดคน้ ดำเนินกำรสอนทผี่ เู้ รยี นทุกคนสำมำ • ให้นกั เรยี นเรียนรจู้ ำกกำรสืบเสำะหำควำมรู้ • ช่วยให้นกั เรยี นเขำ้ ใจธรรมชำติของ วทิ ยำศำสต • เปดิ โอกำสใหน้ กั เรียนไดพ้ ฒั นำเจตคติทักษะต่ำง

ร์ : คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้สู อนใน นศูนยก์ ลำง ำรถเรยี นรไู้ ด้ ตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี งๆ ทช่ี ว่ ยใหผ้ เู้ รียนมีกำรเรียนรทู้ ยี่ ่งั ยนื

มำตรฐำนครวู ิทยำศำสตร์ มำตรฐำนท่ี 1 ธรรมชำติของวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโ ประกอบด้วยโครงสร้ำงเน้ือหำตำมหลักสูตรและสำระควำม เสำะหำควำมรู้และกำรแก้ปัญหำ รวมทั้งสำมำรถนำควำม ควำมหมำยต่อผู้เรียน มำตรฐำนที่ 2 กำรนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมำใช้อย วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีอย่ำงมีคุณธรรมที่ก่อให้เกิดปร สขุ ภำพ รวมทง้ั เป็นผทู้ ใ่ี ฝ่หำโอกำสในกำรพฒั นำวชิ ำชพี ของ มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดโอกำสในกำรเรียนรตู้ ำมระดับกำรเรยี น เรยี นของผู้เรียน จัดโอกำสในกำรเรยี นร้ใู หแ้ ก่ผูเ้ รียนเพอ่ื สง่ เส มำตรฐำนที่ 4 กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมควำมแตกต่ำ ดังกลำ่ วเป็นพืน้ ฐำนในกำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้เพอื่ พัฒนำโอ

โนโลยี เข้ำใจในธรรมชำติของวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีท่ี มรู้ของวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แนวคิดด้ำนกระบวนกำรสืบ มรู้ควำมเข้ำใจไปสร้ำงประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ที่ทำให้เน้ือหำวิชำมี ย่ำงมีคุณธรรมและมีควำมสนใจใฝ่พัฒนำวิชำชีพของตนเอง ใช้วิชำ ระโยชน์ต่อสังคม และกำรดำรงชีวิตโดยคำนึงถึงควำมปลอดภัยต่อ งตนเอง นรู้และพฒั นำกำรของผ้เู รยี น เขำ้ ใจถงึ ระดับกำรเรียนรูแ้ ละพัฒนำกำร สรมิ ให้เกิดกำรพัฒนำทำงสตปิ ัญญำ สงั คมและบุคลิกภำพ ำงของผู้เรียน เข้ำใจถึงควำมแตกต่ำงของผู้เรียนและใช้ควำมแตกต่ำง อกำสในกำรเรียนร้ทู ีส่ อดคลอ้ งกบั ผู้เรยี น

มำตรฐำนครวู ทิ ยำศำสตร์ (ต มำตรฐำนที่ 5 กำรใชว้ ิธีกำรสอนท่เี หมำะสมเพื่อช่วยพฒั นำก สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นไดพ้ ฒั นำควำมคดิ ดำ้ นกำรวเิ ครำะห์วจิ ำรณ์ มำตรฐำนที่ 6 กำรสร้ำงแรงกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นเกิดแรงบันดำลใ สำมำรถสร้ำงสภำพแวดลอ้ มของกำรเรียนรทู้ ี่ส่งเสรมิ กำรมีปฏ มำตรฐำนที่ 7 พฒั นำทกั ษะกำรส่อื สำรเพื่อส่งเสริมกำรเรยี น อย่ำงถกู ต้องทงั้ กำรพดู กำรเขียน และกำรแสดงออก ใช้วิธ ทำงำนรว่ มกัน มำตรฐำนที่ 8 กำรพฒั นำหลักสตู ร สำระกำรเรยี นรู้และกำร กำรเรยี นรู้อยำ่ งสอดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำรของชุมชนและพฒั มำตรฐำนที่ 9 กำรประเมินผลเพื่อพฒั นำกำรเรยี นรู้ ใช้วธิ ีกำ พฒั นำกำรเรยี นรูข้ องผเู้ รียนอย่ำงตอ่ เน่อื งทงั้ ทำงสตปิ ัญญำ ส มำตรฐำนที่ 10 กำรนำชมุ ชนมำร่วมจดั กำรศกึ ษำและพฒั น สถำนศึกษำ ผปู้ กครอง และองคก์ รในชมุ ชนเพอ่ื สนบั สนนุ ก

ต่อ) กำรเรยี นรูข้ องผู้เรยี น เขำ้ ใจและใช้วิธีกำรสอนอยำ่ งหลำกหลำย เพ่อื กำรแกป้ ญั หำและทกั ษะปฏบิ ัติ ใจ เขำ้ ใจถงึ แรงกระตุน้ และพฤติกรรมของผเู้ รยี นหรือกลุ่มของผเู้ รยี น และ ฏิสมั พันธ์กนั ในทำงบวก เพือ่ กอ่ ใหเ้ กดิ กำรเรยี นรูแ้ ละแรงบนั ดำลใจ นรู้โดยกำรสืบเสำะหำควำมรู้ มีทกั ษะกำรสอ่ื สำรและสำมำรถใช้ภำษำ ธีกำรส่ือสำรเพื่อกระต้นุ ให้มกี ำรสบื หำควำมรู้ กำรมปี ฏิสมั พนั ธ์และกำร รวำงแผนกำรสอน พัฒนำหลกั สตู รท่ีอยบู่ นพ้ืนฐำนของสำระและมำตรฐำน ฒนำผเู้ รยี นไดอ้ ย่ำงเต็มศักยภำพ ำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ และนำผลกำรประเมินไปใชเ้ พือ่ ยนื ยันถึง สังคม และรำ่ งกำย นำกำรเรียนรแู้ ก่ผู้เรียน ส่งเสรมิ ควำมสมั พนั ธ์กบั ผ้รู ว่ มงำนใน กำรเรียนรูแ้ ละพัฒนำกำรเรยี นรแู้ ก่ผเู้ รียน

ทักษะกำรสอื่ สำรของครวู ิทยำศำสต ให้นักศึกษำอภิปรำยในประเดน็ เหล่ำนี้ 1.ทักษะกำรสอ่ื สำรที่ดเี ปน็ อย่ำงไร 2.ครูวิทยำศำสตรต์ อ้ งมที กั ษะกำรสื่อสำร สง่ิ ท่ีครตู ้องกำรสอื่ สำร 3. เรำจะสร้ำงทกั ษะกำรสอื่ สำรของครวู ทิ

ตร์ รอย่ำงไรเพ่ือใหน้ กั เรียนเกิดควำมเขำ้ ใจใน ทยำศำสตรท์ ด่ี ีไดอ้ ยำ่ งไร

ควำมรู้พื้นฐำนกำรวิจัยทำงวทิ ย (Introduction  ควำมหมำยกำรวจิ ยั  กำรวิจัยทำงวทิ ยำศำสตร์  กำรวิจัยทำงวทิ ยำศำสตร์ศกึ ษำ  ประเภทงำนวจิ ยั  คณุ สมบัติของนกั วิจัย  จรรยำบรรณนักวิจยั  ประโยชน์ของกำรวจิ ยั

ยำศำสตรแ์ ละวิทยำศำสตรศ์ กึ ษำ n of Research)

ความหมายข  กำรวจิ ยั คือ กำรคน้ หำควำมรูค้ วำมจริงแบบ กำรวจิ ัย คอื กำรสะสม กำรรวบรวม กำรคน้ คว ฉบบั รำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2542)  กำรวิจัย คือ กระบวนกำรเสำะแสวงหำควำม และมีวัตถุประสงคท์ ช่ี ดั เจน  กำรวิจยั คอื กำรศึกษำค้นควำ้ เพอื่ พสิ ูจนห์ ร ควำมรทู้ ่เี ชอื่ ถือได้ กำรแสวงหำควำมรูใ้ นเร่ือง Method) กำรสืบเสำะคน้ หำควำมจรงิ หรอื กำ

ของการวจิ ยั บซ้ำไปซ้ำมำเพอื่ ใหไ้ ด้ควำมรู้ ควำมจริงทีน่ ่ำเชอ่ื ถอื วำ้ เพือ่ หำข้อมลู อยำ่ งถ่ถี ้วนตำมหลกั วิชำ (พจนำนกุ รม มรู้เพอ่ื ตอบคำถำมหรอื ปัญหำทม่ี อี ยอู่ ยำ่ งเป็นระบบ รอื หำคำตอบหรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ กระบวนกำรค้นคว้ำหำ งใดเร่อื งหนึ่งดว้ ยวธิ กี ำรทำงวทิ ยำศำสตร์ (Scientific ำรค้นหำใหมใ่ นศำสตรข์ องแขนงท่ีสนใจและทีเ่ กีย่ วข้อง

วทิ ยาศาสตร์และการวจิ ัย 1. องคค์ วำมรู้ทำงวทิ ยำศำสตร์ สว่ นใหญไ่ ด้มำจำกก อียิปต์เป็นชำตแิ รกทม่ี หี ลกั ฐำนวำ่ ไดเ้ ร่ิมทำวจิ ัย โดยม กรีกได้วิจัยวชิ ำคณิตศำสตร์ กำยวิภำคศำสตร์ กลศำ ศำสตร์และภูมิศำสตร์ 2. องค์ควำมร้ทู ำงกำรวิจยั เปน็ องค์ควำมรทู้ ่เี กีย่ วกบั อยำ่ งมรี ะบบระเบยี บ ซึ่งในปัจจบุ ันวธิ ที เ่ี ป็นทย่ี อมรับ ดังนน้ั จึงมีผใู้ หค้ ำนยิ ำมของ \"กำรวจิ ัย\" วำ่ เปน็ กระบ วิทยำศำสตร์ ทม่ี ำ : อเุ ทน ปัญโญ และ ดร. สดุ ำวดี ลิม้ ไพบูลย์ (2