Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานการดำเนินงานปี 2564-2565

ผลงานการดำเนินงานปี 2564-2565

Published by uajai jaemsak, 2022-08-24 06:43:36

Description: กลุ่มกักกันโรค กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และกักกันโรค

Search

Read the Text Version

คำแนะนำในการทำความสะอาด ทำลายและฆา่ เชอื้ โรค กรมอนามยั องค์การอนามัยโลกแนะนำสารที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ ภายในระยะเวลา 1 นาที ได้แก่ Alcohol 62-70% sodium hypochlorite 0.1% และ Hydrogen peroxide 0.5% โดยมีคำแนะนำ ความเข้มขน้ สำหรบั พนื้ ผวิ ตา่ ง ๆ ดังน้ี ชนดิ สารฆา่ เชอ้ื การใชง้ าน ขอ้ ควรระวงั แอลกอฮอล์ สำหรบั พ้นื ผวิ ทเี่ ปน็ โลหะ ติดไฟง่าย โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ - ใช้กับพื้นผิววัสดุแข็ง ไม่มีรูพรุน เช่น ห้ามผสมกบั ผลิตภัณฑ์แอมโมเนยี (น้ำยาฟอกขาว) เซรามิก สแตนเลส แต่ไม่เหมาะกับพื้นผิว โลหะ - สำหรับพื้นผิวทั่วไปควรใช้ความเข้มข้น 500-1000 ppm - สำหรับพื้นผิวที่มีการปนเปื้อนน้ำมูก น้ำลาย เสมหะ อาเจียน ควรใช้ความ เข้มขน้ 5000 ppm ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ ไม่เหมาะกับโลหะและผลิตภัณฑ์ที่มีการ - ห้ามผสมกบั คลอรีน เคลือบสี - มคี วามเปน็ กรดสงู มีฤทธ์กิ ดั กรอ่ น กรมอนามัยจัดทำรายการตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในฉลาก ผลิตภัณฑ์มาอ้างอิงดังตารางด้านล่าง ทั้งนี้ กรมอนามัยไม่ได้รับรองผลิตภัณฑ์ดังกล่าวและไม่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับ ผลติ ภณั ฑ์แต่อย่างใด ซึ่งสว่ นใหญเ่ ปน็ สารเคมที ่มี อี ันตรายต่อสขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ้ ม จึงควรใชใ้ นปรมิ าณท่ีเหมาะสม 1. เอทลิ แอลกอฮอล์ 1, 2, 3 ความเขม้ ขน้ ทแี่ นะนำ 70% 18

2. โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 1, 2, 3 ความเข้มขน้ ทแี่ นะนำคอื 0.1% (1000 ppm) 19

20

3. ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ ความเขม้ ขน้ ทแี่ นะนำ 0.5% 1, 2 (5,000 ppm) 21

22

รายงานการลงพืน้ ทเ่ี พื่อ ขอจดั ต้ังสถานทกี่ กั กนั ในรูปแบบเฉพาะองค์กร การกฬี าแห่งประเทศไทย PROPOSAL FOR ESTABLISHMENT AND IMPLEMENTATION ORGANIZATIONAL QUARANTINE SPORTS AUTHORITY OF THAILAND 2021 Asian Women's Club Volleyball Championship แข่งขนั ระหว่างวนั ท่ี 1-7 กนั ยายน 2564 2021 Asian Men's Club Volleyball Championship แข่งขนั ระหว่างวนั ท่ี 8-15 กนั ยายน 2564 สถานทพ่ี กั โรงแรมเซนเตอร์พอยต์ นครราชสีมา และโรงแรมอิมพีเรียล นครราชสีมา (คร้ังท่ี 2) วนั ทีท่ าการตรวจประเมนิ 2 – 3 กนั ยายน 2564 กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ และกกั กนั โรค รว่ มกบั กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค

โรงแรมเซนเตอร์พอยต์ นครราชสีมา การบริหารจัดการและข้อแนะนาในการปฏบิ ัตใิ นการป้องกนั และควบคุมการติดเชื้อ ประเด็นทพ่ี บ การแก้ไข - มีการทาป้ายคาแนะนาใหช้ ดั เจน จุดวางอาหารหน้าห้องพกั - มีการจดั พ้นื ท่ีในการวางอาหาร ขยะ และผา้ เป้ื อนไวห้ นา้ หอ้ งพกั โดย กาหนดใหว้ างอาหารบนโตะ๊ วางผา้ สะอาดในโตะ๊ และผา้ เป้ื อนท่ีใชแ้ ลว้ ใต้ โตะ๊ มีการจดั ทาป้ายแนะนาแตไ่ ม่ ชดั เจน - ข้นั ตอนการปฏิบตั ิไม่ชดั เจน - เนน้ ย้าใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีส่งอาหาร เตรียมอุปกรณ์ในการทา ความสะอาดโตะ๊ วางอาหารและถุงสาหรับทิ้งขยะติด เช้ือ ทาความสะอาดก่อนการจดั วางอาหารทุกคร้ัง การทาความสะอาดลฟิ ท์โดยสาร - มีการทบทวนและสอนข้นั ตอนการปฏิบตั ิเพ่ือใหผ้ ู้ - มีการกาหนดใหม้ ีแม่บา้ นประจาลิฟท์ ปฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและมีความมน่ั ใจ ทาความสะอาดลิฟทท์ ุกคร้ังหลงั การใช้ ในการปฏิบตั ิ และใชไ้ มถ้ ูพ้ืน ในการทาความสะอาด งาน ฟ้ื นท่ีสูงท่ีอาจเอ้ือมไม่ถึง - PPE ของผทู้ าความสะอาด ประกอบดว้ ย เอี๊ยมกนั เป้ื อน ถุงมือยาง - มีการเตรียมอุปกรณ์ในการปฏิบตั ิใหเ้ พยี งพอ แตย่ งั ไม่ หนา้ กากอนามยั Faceshield รองเทา้ บูต๊ พบการเตรียมภาชนะหรือถุงรองรับขยะติดเช้ือในชุด - แม่บา้ นยงั สับสนข้นั ตอนการปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ และมีการใชแ้ อลกอฮอลส์ เปรยใ์ น อากาศ

ประเด็นทพี่ บ การแก้ไข - ไมส่ ามารถลอ๊ คลิฟทข์ ณะทาความ สะอาดได้ เส่ียงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ - แม่บา้ นเช็ดลิฟทว์ นไปมา ไม่ไปทาง เดียวกนั การทาความสะอาดห้องพกั เจา้ หนา้ ท่ีแมบ่ า้ น In bubble ประจาช้นั เป็ นผู้ ปฏิบตั ิ 2 คนต่อหน่ึงห้อง มีการกาหนดคน สะอาด และคนมีโอกาสปนเป้ื อน แต่ยงั มีความ สบสนในข้นั ตอน และวธิ ีการปฏิบตั ิ - ชุด PPE ที่ใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน ประกอบดว้ ย CPE Surgical mask ,Faceshield,ถุงมือยาง 2 ช้นั ,รองเทา้ บูต๊ - การเตรียมอุปกรณ์ในการทาความ สะอาดไมพ่ ร้อม - มีการใชไ้ มถ้ ูพ้ืนแตไ่ ม่มีการเปล่ียน แนะนาใหเ้ ปล่ียนทุกหอ้ ง - ภายในหอ้ งพกั มีหมอน 6 ใบ แนะนา ใหใ้ ชต้ ามความจาเป็ น - ถุงท่ีเตรียมไวเ้ กบ็ ผา้ เป้ื อนมีขนาดเล็ก เกินไป และไมม่ ีการเตรียมเชือก หรือ วสั ดุในการมดั ปากถุง

ประเด็นทพ่ี บ การแก้ไข - มีการฝึกปฏิบตั ิ และประเมินก่อนปฏิบตั ิงานจริง พร้อม จุดถอดชุดป้องกนั ร่างกาย - ถงั ขยะไม่มีฝาปิ ด ท้งั ใหแ้ มบ่ า้ นฝึกฝนการปฏิบตั ิงาน - ไมม่ ีน้ายาลา้ งมือ - ควรมีการซอ้ มการใส่ ถอดชุดป้องกนั ร่างกายส่วน จุดพกั ขยะ และผา้ ปนเป้ื อน บุคคลใหถ้ ูกตอ้ งเพอ่ื ป้องกนั การปนเป้ื อนปฏิบตั ิ - ถงั ไม่มีฝาปิ ด ตรวจสอบการปิ ดเคร่ืองปรับอากาศก่อนการทาความ - ไม่มีน้ายาลา้ งมือ สะอาดหอ้ ง ปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ งตามข้นั ตอน - มีการเตรียมพ้ืนท่ีในการถอดชุดไวท้ ่ีหอ้ งปลายของช้นั มีการเตรียมน้ายาลา้ งมือ แตถ่ ุงขยะไม่มีฝาปิ ด และ ขนาดเล็กเกินไป - ควรติดป้ายแสดงวธิ ีการใส่ – ถอดชุดป้องกนั ร่างกาย ส่วนบุคคลใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิตามได้ มีการเตรียมภาชนะรองรับ แตย่ งั ไม่มีฝาปิ ด และขนาดไม่ เหมาะสมเนื่องจากอยใู่ นกระบวนการจดั หา

ขอ้ แนะนาเพือ่ การปฏิบตั ิ 1. ควรมีการทบทวนเรื่องการสวม ใสอุปกรณ์ป้องกนั ร่างกายที่ถูกตอ้ งและใหฝ้ ึกปฏิบตั ิจนมนั่ ใจก่อน ปฏิบตั ิงาน 2. การเตรียมอุปกรณ์ที่ใชท้ าความสะอาด รถเตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาด น้ายาที่ใช้ สดั ส่วนการ ผสม และระยะเวลาในการทาความสะอาด 3. การเตรียมพ้นื ที่สาหรับการถอดชุดป้องกนั ร่างกายส่วนบุคคล 4. เร่ืองการแยกขยะติดเช้ือ และขยะทวั่ ไป เช่นขวดน้าพลาสติก การเตรียมภาชนะรองรับขยะ การ เตรียมถุงรองรับที่มีขนาดพอเหมาะ และการเตรียมอุปกรณ์สาหรับผกู มดั เช่น เชือก

รายงานการลงพืน้ ท่ีเพ่ือพิจารณา ขอจดั การแข่งขนั กีฬาวอลเลยบ์ อลชายหาด จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ในรปู แบบ สถานที่กกั กนั แห่งรฐั (Organization Quarantine; OQ) วนั ท่ี 29-30 กนั ยายน 2564 กองด่านควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค Division of International Disease Control Ports and Quarantine Management (ICPQ)

รายงานผลการลงพืน้ ท่ีเพ่ือพิจารณาขอจดั การแข่งขนั กีฬาวอลเลยบ์ อลชายหาด จงั หวดั รอ้ ยเอด็ รปู แบบ สถานท่ีกกั กนั แห่งรฐั (Organization Quarantine; OQ) วนั ท่ี 29-30 กนั ยายน 2564 ****************************************************** 1. รายชื่อคณะติดตามลงพื้นท่ี 1.1 นายแพทยร์ ฐั พงษ์ บุรวี งษ์ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค 1.2 นางวราภรณ์ เทยี นทอง กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค 2. สถานที่: สนามกฬี าวอลเลยบ์ อลชายหาดจงั หวดั รอ้ ยเอด็ สถานท่ีกกั กนั ตวั : กาหนดแน่นอน - โรงแรมเพชรรตั น์ การเ์ ดน้ - The Bed Hotel รอการหารือ - โรงแรม The Hi Place - โรงแรม เดอะ ไรซ์ โฮเทล (The Rice Hotel) - โรงแรมธนนิ ทร กรนี พารค์ โฮเทล (Thanintorn Greenpark Hotel) โรงพยาบาลค่ปู ฏิบตั ิการ: โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ 3. วนั ท่ีลงพืน้ ท่ี: วนั ท่ี 29-30 กนั ยายน 2564 จานวนผู้เขา้ แข่งขัน 5 ทวีป (ชาย 32 ทมี /หญิง 32 ทีม) รวมเจา้ หน้าทีแ่ ละนักกฬี าท้ังหมด 547 คน 4. แนวทางการพิจารณาการตรวจเย่ียม กาหนดจากแนวปฏบิ ตั ิ (Standard Operation Procedures: SOP) 6 ดา้ น โดยยดึ หลกั การ DMHTT และ Bubble and Seal ดงั น้ี SOP 1 การเดินทางทงั้ จากสนามบินเข้าท่ีพกั (นอกBubble) ในระหว่างการเข้าพกั (ใน Bubble) และ ระหว่างทพ่ี กั กบั สถานทต่ี ่างๆ (ระหวา่ ง Bubble) 1.1 การเดนิ ทางจาก สนามบนิ ไปยงั โรงแรมทพ่ี กั 1.2 การเดนิ ทางจากโรงแรมทพ่ี กั ไป (และกลบั ) กบั สถานทใ่ี นการทากจิ กรรม 1.3 การเดนิ ทางจาก โรงแรม กลบั ไปยงั สนามบนิ ในกรณที ตี อ้ งเดนิ ทางกลบั โดยท่ียงั ไมค่ รบระยะการกกั กนั (มเี คสยนื ยนั ทาใหท้ ุกคนถกู reset day-0 อยเู่ รอ่ื ยๆ)

SOP 2 การดารงชีวิตประจาวนั ของผ้กู กั กนั และเจ้าหน้าที่ รวมถงึ การป้องกนั ส่วนบคุ คล 2.1 การจดั สง่ การดารงชวี ติ ไปยงั หอ้ งพกั ทงั้ อาหาร และสงิ่ จาเป็น 2.2 การทาความสะอาดหอ้ งพกั (ถา้ ม)ี 2.3 การใหบ้ รกิ ารซกั ผา้ รบกวนระบใุ หถ้ งึ ผเู้ กบ็ ผา้ ไปจนถงึ การดาเนนิ การในหอ้ งซกั รดี 2.4 การใหค้ วามช่วยเหลอื ดา้ นการช่างในกรณจี าเป็น 2.5 การทาความสะอาดพน้ื ทส่ี ว่ นกลางทงั้ หมด ทจ่ี ะมกี ารใชง้ าน (โถง ในลฟิ ต์ ทส่ี บู บหุ ร่ี บนั ไดเล่อื น อ่นื ๆ) 2.6 การจดั ตงั้ ศูนยบ์ ญั ชาการณ์ภาวะฉุกเฉนิ ในแต่ละโรงแรมเพ่อื การประสานงาน และการสงั่ การ 2.7 สุขาภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ ม 2.8 การรกั ษาความปลอดภยั SOP 3 การเข้ารว่ มกิจกรรม ในระหว่างเข้ารบั การกกั กนั 3.1 กาหนดกจิ กรรม ก่อนทจ่ี ะไดร้ บั อนุมตั ใิ หต้ งั้ OQ. 3.2 การกาหนดเจา้ หน้าท่ี (ฝ่ายไทย) ในการเขา้ รว่ มในกจิ กรรม (ใหบ้ รกิ าร/รว่ ม กจิ กรรม/ตดิ ตามกากบั ) 3.3 แนวทางการปฏบิ ตั ิ สาหรบั แต่ละกจิ กรรม - มาตรการบคุ คล สาหรบั ผกู้ กั กนั - แนวทางการปฏบิ ตั ิ ในระหวา่ งการทากจิ กรรม - การทาความสะอาดทุกพน้ื ท่ี ทม่ี กี ารใชง้ าน - แนวทางการควบคุมกากบั ระหวา่ งมกี จิ กรรม 3.4 การจดั การ กรณีมกี ารบาดเจบ็ หรอื การป่วยในระหว่างการทากจิ กรรม 3.5 การซ่อมบารงุ อุปกรณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั กจิ กรรม 3.6 มาตรการอ่นื ๆ ทเ่ี ป็นรายละเอยี ดในการป้องกนั การสมั ผสั กนั 3.7 การจดั ตาราง การใหบ้ รกิ ารกจิ กรรม (ตารางประสานสอดคลอ้ ง) 3.8 การจดั ตงั้ ศนู ยบ์ ญั ชาการณ์ภาวะฉุกเฉนิ ในพน้ื ท่ี (ครอบคลุม hall & arena) SOP 4 การดแู ลด้านการแพทย์ ทงั้ สขุ ภาพกาย จิตใจ และการควบคมุ โรค 4.1 การควบคมุ ภายในใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามมาตรการในการป้องกนั การระบาด 4.2 การดแู ลรกั ษา ป่วย เจบ็ ทวั่ ไป 4.3 Daily PUI screening ทุกคนทอ่ี ยใู่ นระยะการกกั กนั ตน 4.4 รายงานผลการเฝ้าระวงั เขา้ ส่รู ะบบการเฝ้าระวงั ของกรมควบคมุ โรค 4.5 กากบั และควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของ non health sector staffs “ทุกคน” ทอ่ี ยใู่ น พน้ื ทก่ี กั กนั ทงั้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งใน SOP-1, 2 และ 3 - Provide ทรพั ยากรดา้ นการแพทยแ์ ละการควบคุมโรคใหก้ บั กจิ กรรมและ เจา้ หน้าทท่ี กุ คน

- Swab for SARCOV. 2 ในกลุ่มผกู้ กั กนั ทงั้ หมด ตามวงรอบทก่ี าหนด - ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการสอบสวนโรค รว่ มกบั ทมี สอบสวนโรคของกระทรวง สาธารณสุข SOP 5 การสอบสวนโรค และการกากบั การป้องกนั ควบคมุ โรค 5.1 กาหนดวนั swab (swab protocol) ปรบั ตามรปู แบบกจิ กรรมท่ี OQ. ประเภท ข. ตอ้ งการขออนุญาต 5.2 กรณที พ่ี บผเู้ ดนิ ทาง หรอื ผเู้ กย่ี วขอ้ ง เป็นผปู้ ่วยยนื ยนั ใหม้ กี ารนาสง่ เพอ่ื รบั ไวร้ กั ษา ในโรงพยาบาลคสู่ ญั ญา 5.3 ในกรณที พ่ี บผสู้ มั ผสั ความเสย่ี งสงู กรมควบคุมโรค มคี วามเหน็ ว่าควรเขา้ รบั การกกั กนั ท่ถี ูกต้องเหมาะสม เพ่อื เป็นการตดั วงจรการระบาด โดยอาศยั อานาจตาม พรบ. ควบคุมโรคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 5.4 ผสู้ มั ผสั เสย่ี งสงู (High Risk Contact) เรมิ่ ตน้ การกกั กนั ใหม่ (reset day 0) 5.5 ในกรณที ก่ี ารจดั กจิ กรรม ไมส่ ามารถระบุ contact tracing รายบคุ คลได้ อาจจาเป็น ตอ้ ง reset day 0 รว่ มกนั ทงั้ กลุม่ SOP 6 การบริหารจดั การ กาหนดผรู้ บั ผิดชอบหลกั ของกิจกรรมหรือกิจการทงั้ ในและนอก Bubble กลไกการประสานงานระหว่างผรู้ บั ผิดชอบระดบั ต่างๆ Command center @ out of BUBBLE  กอ. รว่ ม  Real-time monitoring; CCTV  ระดมทรพั ยากรจากภายนอก  จดั ส่งการสนบั สนุนเขา้ สู่ inner cordon  เฝ้าระวงั ขอ้ มลู ขา่ วสารทม่ี ตี ่อ การจดั กจิ กรรมน้ี Command center in BUBBLE  Real-time ในพน้ื ท่ี  Follow SOP.  Update SOP. ตามความเหมาะสม  ประสานแผนกบั หน่วยงานภายนอกอ่นื ๆ  เฝ้าระวงั ขอ้ มลู ขา่ วสารทม่ี ตี ่อ การจดั กจิ กรรมน้ี  ตดิ ตามผล RT-PCR ของผกู้ กั กนั ทงั้ หมด โดยพบว่า โรงแรมทไ่ี ปเยย่ี มในรอบน้ี มกี ารดาเนนิ งานเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มในการเปิด OQ ประเภท ข. ในระดบั หน่ึง อย่างไรกต็ ามเพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความปลอดภยั แก่ ผู้เขา้ ร่วมการแข่งขนั ทุกท่าน จงึ ขอเสนอแนวทางการปรบั การดาเนินงานให้สอดคล้องกบั แนวปฏบิ ตั ิ (Standard Operation Procedures: SOP) ทงั้ 6 ดา้ น ดงั น้ี

- โรงแรมเพชรรตั น์ การเ์ ด้น SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 1 การเดนิ ทาง - สมาคมฯมกี ารจดั เตรยี มการ SOP 2 การดารงชวี ติ เดนิ ทางทงั้ ในสว่ นของพาหนะ - มกี ารกาหนดพาหนะในการเดนิ ทาง ประจาวนั และเสน้ ทางไวเ้ หมาะสม เฉพาะเจาะจง ไมใ่ ชร้ ถปะปนกนั - จดั ทาระบบลงทะเบยี นการเดนิ ทาง SOP 3 การเขา้ รว่ ม - โซฟาบดุ ว้ ยผา้ และมผี ปู้ ระสานงานในแต่ละทมี กจิ กรรม - แนะนาใหเ้ ปลย่ี นเป็นวสั ดุทส่ี ามารถ - การกาจดั ขยะ ทาความสะอาดไดง้ า่ ย - แนะนาแยกขยะตดิ เชอ้ื และขยะทวั่ ไป - บ่อบาบดั น้าเสยี พน้ื ทพ่ี กั เกบ็ ขยะทวั่ ไปและขยะตดิ เชอ้ื - เครอ่ื งนอนภายในหอ้ งพกั มี - ใหเ้ ตมิ คลอรนี และสุ่มตรวจทกุ วนั การระบายอากาศทด่ี ี แต่ผา้ หม่ - แนะนาการปรบั เปลย่ี นผา้ ห่มภายใน ในหอ้ งทาดว้ ยผา้ สกั หราดอาจ หอ้ งพกั ใหเ้ ป็นแบบสวมปลอกคลมุ ทบั ทาใหเ้ กดิ การแพฝ้ ่นุ ผา้ ได้ เพ่อื ความทนั สมยั และสะดวกต่อการทา ความสะอาด แต่เน่อื งจากเป็นการ - อุปกรณ์ตกแต่งหน้าโรงแรม ลงทุนทม่ี มี ลู ค่าสงู จงึ ตอ้ งทาการหารอื และในโรงแรม วา่ จะคุม้ คา่ การลงทุนเพยี งพอต่อ ภาพลกั ษณ์ของประเทศและจงั หวดั - มอี าคารแยกออกมาเป็นหอ้ ง - แนะนาใหเ้ อาของตกแต่งทท่ี าความ ประชมุ สมั มนา สะอาดยากออกไปก่อน หรอื กนั้ พน้ื ท่ี ไมใ่ หเ้ ขา้ - ถา้ สามารถกนั้ พน้ื ทแ่ี ยกใหช้ ดั เจน โดยแยกทางเขา้ -ออก ปิดประตรู ะหว่าง อาคาร แยกเจา้ หน้าท่ี ไมใ่ หม้ าปะปน

SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข กบั อาคารทพ่ี กั ของนกั กฬี า กส็ ามารถ เปิดใชห้ อ้ งประชุม สมั มนาไดต้ ามปกติ - ควรมกี ารกาหนดพน้ื ทก่ี ารคดั - เน่อื งเป็นโรงแรมทถ่ี กู คดั เลอื กใหร้ บั กรอง การเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจ และ นกั กฬี าต่างประเทศจงึ ควรมกี าร การเคลอ่ื นยา้ ย กาหนดชอ่ งทางการใหบ้ รกิ ารทช่ี ดั เจน - แนะนาเรอ่ื งการตดิ ตามสถานการณ์ ภายในประเทศเพ่อื กาหนดแนว ทางการผอ่ นคลาย (ศกึ ษารายละเอยี ด เพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากแนวทางการบรหิ าร จดั การการควบคมุ โรคในสถานทก่ี กั กนั ซง่ึ ทางราชการกาหนด ฉบบั ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 4) SOP 4 การดแู ลดา้ น - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื งการแพทย์ การแพทยแ์ ละการ สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน ใหช้ ดั เจนทงั้ ในสว่ นของ ควบคมุ โรค - การคดั กรอง - การเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจ - การรายงานผลตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร - การส่งตวั รบั การรกั ษากรณเี จบ็ ป่วย/ บาดเจบ็ - การเขา้ รบั การรกั ษากรณตี ดิ เชอ้ื โควดิ -19 SOP 5 การสอบสวนโรค - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน - ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื งการ และการกากบั การ สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน สอบสวนและควบคุมโรคใหช้ ดั เจน วา่ ป้องกนั ควบคมุ โรค ใครทาหน้าทอ่ี ยา่ งไร และจะส่งต่อ ขอ้ มลู กนั อยา่ งไร SOP 6 ก า ร บ ริ ห า ร พน้ื ทค่ี อ่ นขา้ งกวา้ งมขี นาด 50 - ควรมกี ารประชุมเพอ่ื ชแ้ี จงและหารอื จดั การ ไร่ มอี าคาร 5 อาคาร หอ้ งพกั การดาเนินงานรว่ มกนั ในจงั หวดั เพ่อื 148 หอ้ ง (สามารถใชง้ านได้ แบ่งขอบเขตความรบั ผดิ ชอบและ ประมาณ 120 หอ้ ง) มหี อ้ ง หน้าทใ่ี หแ้ ต่ละภาคสว่ น ประชมุ สมั มนา จดั เลย้ี ง - แนะนาการดาเนนิ งานในส่วนต่อไปน้ี พน้ื ทด่ี า้ นหน้าเป็นพน้ื ทว่ี ่าง  Real-time monitoring; CCTV ดา้ นขา้ งเป็นชุมชน ดา้ นหลงั  ระดมความรว่ มมอื จากทรพั ยากร เป็นพน้ื ทว่ี ่างดา้ นหน้าโรงแรม ภายนอกทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข สามารถกนั้ เสน้ ทางเขา้ -ออก  จัดส่งการสนับสนุ นเข้าสู่ inner ไมใ่ หส้ วนทางกนั ระหวา่ ง Inner Bubble bubble กบั outer bubble  เฝ้าระวงั ข้อมูลข่าวสารท่มี ตี ่อ การ - มกี ารดาเนินงานในระดบั หน่งึ จดั กจิ กรรมน้ี แต่ยงั ไมค่ รอบคลุมผรู้ บั ผดิ ชอบ ทงั้ หมด สามารถปิดกนั้ พน้ื ทร่ี ะหว่างอาคาร ทางเขา้ -ออกของโรงแรม หอ้ งประชมุ สมั มนา จุดตรวจน้า จดุ เตมิ คลอรนี บริเวณห้องอาหาร ทง้ิ ขยะจากหอ้ งอาหาร

- The Bed Hotel เปน็ ขอ้ มลู การเยย่ี มคร้ังท่ี 1 (เนื่องจากครง้ั นไ้ี มไ่ ดไ้ ป) SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 1 การเดนิ ทาง - สมาคมฯมกี ารจดั - มกี ารกาหนดพาหนะในการ SOP 2 การดารงชวี ติ ประจาวนั เตรยี มการเดนิ ทางทงั้ ใน เดนิ ทางเฉพาะเจาะจง ไมใ่ ชร้ ถ ส่วนของพาหนะและเสน้ ทาง ปะปนกนั ไวเ้ หมาะสม - จดั ทาระบบลงทะเบยี นการเดนิ ทาง และมผี ปู้ ระสานงานในแต่ละทมี - มพี รมปดู า้ นหน้าโรงแรม - แนะนาใหเ้ อาออก ซง่ึ ทาใหเ้ สย่ี งต่อการ ปนเป้ือนเชอ้ื โรค - มลี ฟิ ตต์ วั เดยี ว อาจมี - เน่อื งจากโรงแรมน้ีวางแผนว่าจะรบั ปัญหาเรอ่ื งการขนขยะและ เฉพาะเจา้ หน้าทค่ี นไทย ทางผจู้ ดั ผา้ แจง้ วา่ เมอ่ื มกี ารซอ้ มหรอื แข่งขนั จะ ไมม่ เี จา้ หน้าทอ่ี ยใู่ นเวลากลางวนั เลย แนะนาใหข้ นสง่ ขยะและผา้ ทใ่ี ชแ้ ลว้ ไดใ้ นลฟิ ตน์ ้แี ต่ตอ้ งกาหนดตาราง เวลาและมกี ารทาความสะอาดลฟิ ต์ ทกุ ครงั้ หลงั ใช้ - ระบบปรบั อากาศและการ - ภายในหอ้ งพกั มกี ารใช้ ระบายอากาศ เครอ่ื งปรบั อากาศแบบแยกส่วนแต่ ละหอ้ ง มตี วั ดดู อากาศออกอยใู่ ตฝ้ ้า มที ่อนาสง่ ไปปลอ่ ยออกตรงระเบยี ง แต่ละหอ้ งไมป่ ะปนกนั

SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข - ภายในหอ้ งใหบ้ รกิ ารน้า - แนะนาใหใ้ ชเ้ ป็นน้าขวดพลาสตกิ ด่มื เป็นชนิดขวดแกว้ เพอ่ื สะดวกตอการจดั เกบ็ การการทา ความสะอาด - การจดั การมลู ฝอย - แนะนาแยกมลู ฝอยตดิ เชอ้ื และมลู ฝอยทวั่ ไป เพ่อื ลดปัญหาจานวนมลู ฝอยตดิ เชอ้ื - การทาความสะอาด - แนะนาเมอ่ื แม่บา้ นเขา้ มาเปิดพดั หอ้ งพกั ลมดดู อากาศเปิดประตหู อ้ งน้าแลว้ ทาความสะอาดภายในหอ้ งก่อนค่อย ไปทาความสะอาดในหอ้ งน้า - แนะนาใหม้ กี ารแนะนาการปฏบิ ตั ิ หน้าทข่ี องพนกั งานทกุ ระดบั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั การใหบ้ รกิ ารแต่ละหน้าท่ี แบบ เฉพาะเจาะจง - แนะนาการใส่ชุดปฏบิ ตั กิ ารในพน้ื ท่ี ใหบ้ รกิ าร เมอ่ื จบภาระงานแต่ละรอบ บรกิ าร/วนั ใหอ้ าบน้าเปลย่ี นชดุ ใหม่ - การซกั ผา้ - มเี ครอ่ื งซกั ผา้ 1 เครอ่ื ง เครอ่ื งอบ ผา้ 1 เครอ่ื ง กรณที ไ่ี มส่ ามารถตงั้ อุณหภูมซิ กั ผา้ ได้ แนะนาใหท้ าแช่น้ายาฟอกขาว (500 ppm) 30 นาที Pre-wash 2 ครงั้ ซกั ปัน่ แลว้ คอ่ ยนามาเขา้ เครอ่ื งอบ ตงั้ อุณหภมู อิ บมากกว่า 60 องศา นาน 30 นาที - ฝึกซอ้ มและแนะนาเจา้ หน้าทใ่ี น การใส่-ถอด PPE ทเ่ี หมาะสมเชน่ เมอ่ื นาผา้ เขา้ เครอ่ื งซกั หรอื ถา้ จะไมแ่ ช่น้ายา เจา้ หน้าท่ี จะตอ้ งใส่ PPE ตอนนาผา้ เขา้ เครอ่ื ง ซกั และตอนนาผา้ ออกจากเครอ่ื งซกั เขา้ เครอ่ื งอบผา้

SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข - บ่อบาบดั น้าเสยี - ใหเ้ ตมิ คลอรนี และสุม่ ตรวจทกุ วนั ใหม้ รี ะดบั คลอรนี อสิ ระประมาณ 1 ppm ก่อนปล่อยออกสลู่ าราง สาธารณะ SOP 3 การเขา้ รว่ มกจิ กรรม - เจา้ หน้าทย่ี งั ไมค่ ่อยเขา้ ใจ - ผปู้ ระสานงานลงทะเบยี นการทา ว่าจะมกี ารดาเนนิ กจิ กรรม กจิ กรรมต่างๆ เช่น การออกกาลงั อะไร กาย การพกั ผ่อนในสวน ขน้ึ อยกู่ บั สถานการณ์การประกาศของ ศบค. ณ ชว่ งเวลานนั้ ๆ SOP 4 การดแู ลดา้ น - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงาน ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื ง การแพทยแ์ ละการควบคุมโรค ในส่วนน้ที ช่ี ดั เจน การแพทยใ์ หช้ ดั เจนทงั้ ในส่วนของ - การคดั กรอง - การเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจ - การรายงานผลการตรวจทาง หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร - การส่งตวั รบั การรกั ษากรณี เจบ็ ป่วย/บาดเจบ็ - การเขา้ รบั การรกั ษากรณีตดิ เชอ้ื โค วดิ -19 SOP 5 การสอบสวนโรคและ - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงาน - ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื งการ การกากบั การป้องกนั ควบคุม ในสว่ นน้ที ช่ี ดั เจน สอบสวนและควบคุมโรคใหช้ ดั เจน โรค วา่ ใครทาหน้าทอ่ี ยา่ งไร และจะสง่ ต่อ ขอ้ มลู กนั อย่างไร SOP 6 การบรหิ ารจดั การ - มกี ารดาเนินงานในระดบั - ควรมกี ารประชุมเพ่อื ชแ้ี จงและ หน่งึ แต่ยงั ไมค่ รอบคลุม หารอื การดาเนินงานรว่ มกนั ในจงั หวดั ผรู้ บั ผดิ ชอบทงั้ หมด เพอ่ื แบง่ ขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ และหน้าทใ่ี หแ้ ต่ละภาคสว่ น และมี การกาหนดแนวทางการสงั่ การ - แนะนาใหม้ กี ารดาเนินงานในส่วน ต่อไปน้ี  Real-time monitoring; CCTV  ระดมความรว่ มมอื จากทรพั ยากร ภายนอกทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข  จดั ส่งการสนับสนุนเข้าสู่ inner Bubble  เฝ้าระวงั ขอ้ มลู ขา่ วสารทม่ี ตี ่อการ จดั กจิ กรรมน้ี พรมหน้าโรงแรม ภายในลฟิ ท์ แอร์ Sprit type บรเิ วณหอ้ งพกั ระบายผา้ ดา้ นลา่ งควรถอด ซกั ขวดน้าเป็นขวดแกว้ อากาศใตฝ้ ้าปล่อยออก เคร่อื งซกั ผา้ เครอ่ื งอบผา้ จุดเตมิ คลอรนี จดุ ตรวจน้า

- โรงแรม The Hi Place SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 1 การเดนิ ทาง - สมาคมฯมกี ารจดั เตรยี มการ - มกี ารกาหนดพาหนะในการ SOP 2 การดารงชวี ติ ประจาวนั เดนิ ทางทงั้ ในสว่ นของพาหนะ เดนิ ทางเฉพาะเจาะจง ไมใ่ ชร้ ถ และเสน้ ทางไวเ้ หมาะสม ปะปนกนั - จดั ทาระบบลงทะเบยี นการ เดนิ ทางและมผี ปู้ ระสานงานใน แต่ละทมี - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน ยงั ไมม่ กี ารกาหนดแนวทางการ สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน อาจเน่ืองจากยงั ใชช้ วี ติ ประจาวนั ทช่ี ดั เจน ไมไ่ ดร้ บั การคดั เลอื กอยา่ ง ชดั เจน - เน่อื งจากเป็นโรงแรมทส่ี รา้ งใหม่ จงึ มภี าพลกั ษณ์ทส่ี วยงาม มรี ะบบ ระบายอากาศทด่ี ี ปลอ่ ยออกสู่ พน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสม - มพี น้ื ทใ่ี นการจดั เกบ็ และจดั การ เคล่อื นยา้ ยมลู ฝอยตดิ เชอ้ื ท่ี เหมาะสม - ควรมกี ารอบรมและฝึกปฏบิ ตั ิ เจา้ หน้าทใ่ี นเรอ่ื งการบรกิ ารใน การดารงชวี ติ ทงั้ เรอ่ื งการ บรกิ ารอาหาร การซกั ผา้ การทา ความสะอาดพน้ื ท่ี ทงั้ สว่ นกลาง

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 3 การเขา้ รว่ มกจิ กรรม และสว่ นของนกั กฬี า ตลอด แนะนาใหม้ กี ารประชุมหารอื เพ่อื จนถงึ การจดั การมลู ฝอย กาหนดแนวทางการทากจิ กรรม เน่อื งจากยงั ไมม่ กี ารดาเนินงาน ดงั น้ี ทช่ี ดั เจน จงึ มกี ารแนะนาใหท้ า -การกาหนดเจ้าหน้าท่ี ในการ การคดั เลอื กโรงแรมทพ่ี กั ให้ เข้าร่วมในกิจกรรมบรกิ ารการ ชดั เจน กากบั ตดิ ตาม -แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นแต่ละ SOP 4 การดแู ลดา้ น - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน กจิ กรรมบรกิ าร - กาหนดมาตรการการบรกิ าร การแพทยแ์ ละการควบคมุ โรค ส่วนน้ที ช่ี ดั เจน สาหรบั นกั กฬี าและเจา้ หน้าทท่ี ่ี เกย่ี วขอ้ ง - แนวทางการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ ง การทากจิ กรรมแข่งขนั กฬี า วอลเลยบ์ อล - การทาความสะอาดพน้ื ท่ี ทม่ี ี การใชง้ าน/บรกิ าร - แนวทางการควบคุมกากบั ระหว่างมกี จิ กรรม เชน่ การ จดั การ กรณีมกี ารบาดเจบ็ หรอื การป่วย การซ่อมบารงุ อุปกรณ์ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั กจิ กรรม มาตรการการป้องกนั การ แพรก่ ระจายเชอ้ื และควบคมุ การ ตดิ เชอ้ื โดยมกี ารจดั ตงั้ ศนู ย์ บญั ชาการณ์ภาวะฉุกเฉินใน พน้ื ทใ่ี หค้ รอบคลุมพน้ื ทก่ี ารใช้ บรกิ าร ยงั ไมม่ กี ารหารอื การดาเนนิ งาน ในส่วนน้อี ยา่ งชดั เจน

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 5 การสอบสวนโรคและ การกากบั การป้องกนั ควบคมุ - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน - ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื ง โรค สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน การสอบสวนและควบคุมโรคให้ SOP 6 การบรหิ ารจดั การ ชดั เจน ว่าใครทาหน้าทอ่ี ยา่ งไร และจะสง่ ต่อขอ้ มลู กนั อยา่ งไร - มกี ารดาเนินงานในระดบั หน่งึ - ควรมกี ารประชุมเพอ่ื ชแ้ี จงและ แต่ยงั ไมค่ รอบคลมุ ผรู้ บั ผดิ ชอบ หารอื การดาเนนิ งานรว่ มกนั ใน ทงั้ หมด จงั หวดั เพ่อื แบง่ ขอบเขตความ รบั ผดิ ชอบและหน้าทใ่ี หแ้ ต่ละ ภาคสว่ น - แนะนาใหม้ กี ารดาเนินงานใน ส่วนต่อไปน้ี  Real-time monitoring; CCTV  ระดมความรว่ มมอื จาก ทรพั ยากรภายนอกท่ี เกย่ี วขอ้ ง  จัดส่งการสนับสนุ นเข้าสู่ inner Bubble  การเฝ้าระวงั ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ี มตี ่อ การจดั กจิ กรรมน้ี - โรงแรม เดอะ ไรซ์ โฮเทล (The Rice Hotel)

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 1 การเดนิ ทาง - สมาคมฯมกี ารจดั เตรยี มการ - มกี ารกาหนดพาหนะในการ SOP 2 การดารงชวี ติ ประจาวนั เดนิ ทางทงั้ ในส่วนของพาหนะ เดนิ ทางเฉพาะเจาะจง ไมใ่ ชร้ ถ SOP 3 การเขา้ รว่ มกจิ กรรม และเสน้ ทางไวค้ ่อนขา้ ง ปะปนกนั เหมาะสม หากมกี ารกาหนด - จดั ทาระบบลงทะเบยี นการ พน้ื ทก่ี ารเขา้ พกั ชดั เจนจะต้องมี เดนิ ทางและมผี ปู้ ระสานงานใน การกาหนดพาหนะและเสน้ ทาง แต่ละทมี การเดนิ ทางใหช้ ดั เจน และมกี าร ลงทะเบยี นการเดนิ ทางให้ ชดั เจน - ยงั ไมม่ กี ารดาเนินงานในส่วนน้ี ยงั ไม่มกี ารกาหนดแนวทางการ ทช่ี ดั เจน อาจเน่อื งจากยงั ไมไ่ ด้ ใชช้ วี ติ ประจาวนั ทช่ี ดั เจน รบั การคดั เลอื กอยา่ งชดั เจน เน่อื งจากยงั ไมไ่ ดม้ กี ารคดั เลอื ก พน้ื ทโ่ี รงแรมทช่ี ดั เจน เน่อื งจากยงั ไมม่ กี ารดาเนินงาน แนะนาใหม้ กี ารประชุมหารอื เพอ่ื ทช่ี ดั เจน จงึ มกี ารแนะนาใหท้ า กาหนดแนวทางการทากจิ กรรม การคดั เลอื กโรงแรมทพ่ี กั ให้ ดงั น้ี ชดั เจน -การกาหนดเจ้าหน้าท่ี ในการ เข้าร่วมในกิจกรรมบรกิ ารการ กากบั ตดิ ตาม - ควรมีการอบรมเจ้าหน้าท่ีท่ี เ ก่ีย ว ใ น เ ร่ือ ง ก า ร ป ฏิบัติท่ี ปลอดภยั - แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นแต่ละ กจิ กรรมบรกิ าร - กาหนดมาตรการการบรกิ าร สาหรบั นกั กฬี าและเจา้ หน้าทท่ี ่ี เกย่ี วขอ้ ง - แนวทางการปฏบิ ตั ริ ะหว่าง การทากจิ กรรมแข่งขนั /ซอ้ ม กฬี าวอลเลยบ์ อล - การทาความสะอาดพน้ื ท่ี ทม่ี ี การใชง้ าน/บรกิ าร

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 4 การดแู ลดา้ น - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน - แนวทางการควบคุมกากบั ระหว่างมกี จิ กรรม เชน่ การ การแพทยแ์ ละการควบคุมโรค สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน จดั การ กรณีมกี ารบาดเจบ็ หรอื การป่วย การซ่อมบารงุ อุปกรณ์ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั กจิ กรรม มาตรการการป้องกนั การ แพรก่ ระจายเชอ้ื และควบคมุ การ ตดิ เชอ้ื โดยมกี ารจดั ตงั้ ศูนย์ บญั ชาการณ์ภาวะฉุกเฉินใน พน้ื ทใ่ี หค้ รอบคลมุ พน้ื ทก่ี ารใช้ บรกิ าร ยงั ไม่มกี ารหารอื การดาเนินงาน ในส่วนน้อี ยา่ งชดั เจน SOP 5 การสอบสวนโรคและ - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน - ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื ง การกากบั การป้องกนั ควบคมุ ส่วนน้ที ช่ี ดั เจน การสอบสวนและควบคุมโรคให้ โรค ชดั เจน วา่ ใครทาหน้าทอ่ี ยา่ งไร - ยงั ไมม่ กี ารดาเนินงาน และจะส่งต่อขอ้ มลู กนั อยา่ งไร SOP 6 การบรหิ ารจดั การ - มกี ลอ้ งวงจรปิด แต่เบอ้ื งตน้ - ควรมกี ารประชุมเพอ่ื ชแ้ี จงและ ทราบวา่ ไมส่ ามารถยา้ ยสายไป หารอื การดาเนนิ งานรว่ มกนั ใน ทห่ี อ้ งทก่ี าหนดเป็น Command จงั หวดั เพ่อื แบ่งขอบเขตความ Room ได้ รบั ผดิ ชอบและหน้าทใ่ี หแ้ ต่ละ ภาคส่วน - เบอ้ื งตน้ ไดม้ กี ารกาหนดให้ โรงแรมน้เี ป็นทพ่ี กั ของ เจา้ หน้าทเ่ี กบ็ ลกู บอล ดงั นนั้ เมอ่ื มกี ารหารอื และกาหนดผเู้ ขา้ พกั ไดแ้ ลว้ จงึ จะหารอื เรอ่ื งการ เดนิ สาย CCTV ไปยงั หอ้ ง Command Room

- โรงแรมธนินทร กรีนพารค์ โฮเทล (Thanintorn Greenpark Hotel) SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข SOP 1 การเดนิ ทาง - สถานทแ่ี ห่งน้เี คยถกู กาหนดใหเ้ ป็น SQ ของจงั หวดั - เน่อื งจากพน้ื ทข่ี องโรงแรมแหง่ SOP 2 การดารงชวี ติ และเพง่ิ ปิดกจิ กรรมไปเมอ่ื เดอื น น้กี วา้ งขวางและมเี สน้ ทางเขา้ - ประจาวนั กนั ยายนทผ่ี ่านมา ออก ทเ่ี หมาะสมมาก - ในเดอื นตุลาคม จะมกี ารใช้ - ยงั มไิ ดม้ กี ารตกลงรบั ปากวา่ หอ้ งประชุมของโรงแรมเป็น จะเขา้ รว่ มกจิ กรรมการแขง่ ขนั พน้ื ทบ่ี รกิ ารฉีดวคั ซนี ของ วอลเลยบ์ อล จงั หวดั จงึ แนะนาใหม้ กี ารทา ขอ้ ตกลงกนั ก่อนทจ่ี ะมกี าร - ยงั ไมม่ กี ารดาเนินงาน ดาเนินการขนั้ ต่อไป - สมาคมฯควรจะมกี ารประชมุ หารอื เพ่อื กาหนดขนั้ ตอนการ ดาเนินงานในแต่ละพน้ื ทใ่ี ห้ ชดั เจน - ควรมกี ารประชุมเพอ่ื ชแ้ี จง/ หารอื ขนั้ ตอนการดาเนินงานท่ี ชดั เจน

SOP ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข - ภายในหอ้ งพกั มกี ลน่ิ เหมน็ อบั - ควรมกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง ไมม่ รี ะบบระบายอากาศภายใน ใหม้ รี ะบบระบายอากาศทด่ี ี เพอ่ื หอ้ ง ลดความชน้ื ภายในหอ้ ง SOP 3 การเขา้ รว่ มกจิ กรรม เน่อื งจากเคยเป็น SQ มาก่อน แนะนาใหม้ กี ารประชุมหารอื เพอ่ื จงึ ควรมกี ารประเมนิ ก่อนการ กาหนดแนวทางการทากจิ กรรม ดาเนินการหลงั ไดร้ บั การเลอื ก ต่างๆ รวมถงึ การกาหนด เป็นสถานทพ่ี กั ของนกั กฬี า เจา้ หน้าท่ี การใหบ้ รกิ ารการ กากบั ตดิ ตาม การอบรม เจา้ หน้าทเ่ี พ่อื ความปลอดภยั โดยการจดั ทา SOP ให้ สอดคลอ้ งกบั ทพ่ี กั อ่นื ๆ โดยการ ใชม้ าตรการการป้องกนั การ แพรก่ ระจายเชอ้ื และควบคมุ การ ตดิ เชอ้ื โดยมกี ารจดั ตงั้ ศนู ย์ บญั ชาการณ์ภาวะฉุกเฉินใน พน้ื ทใ่ี หค้ รอบคลมุ พน้ื ทก่ี ารใช้ บรกิ าร SOP 4 การดแู ลดา้ น - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินกจิ กรรมน้ี - ควรมกี ารปรกึ ษาการ การแพทยแ์ ละการควบคุมโรค ดาเนินงานในสว่ นน้ใี ห้ ครอบคลุมทกุ สถานทใ่ี หบ้ รกิ าร SOP 5 การสอบสวนโรคและ - ยงั ไมเ่ หน็ การดาเนินงานใน - ควรมกี ารจดั ทา SOP เรอ่ื ง การกากบั การป้องกนั ควบคมุ สว่ นน้ที ช่ี ดั เจน การสอบสวนและควบคุมโรคให้ โรค ชดั เจน ว่าใครทาหน้าทอ่ี ยา่ งไร และจะสง่ ต่อขอ้ มลู กนั อยา่ งไร SOP 6 การบรหิ ารจดั การ - ยงั ไมม่ กี ารดาเนินงาน - ควรมกี ารประชุมเพอ่ื ชแ้ี จงและ หารอื การดาเนินงานรว่ มกนั ใน จงั หวดั เพ่อื แบ่งขอบเขตความ รบั ผดิ ชอบและหน้าทใ่ี หแ้ ต่ละ ภาคสว่ น - มกี ลอ้ งวงจรปิด แต่เบอ้ื งตน้ - เบอ้ื งตน้ ไดม้ กี ารกาหนดให้ ทราบว่าไมส่ ามารถยา้ ยสายไป โรงแรมน้เี ป็นทพ่ี กั ของ ทห่ี อ้ งทก่ี าหนดเป็น Command เจา้ หน้าทเ่ี กบ็ ลกู บอล ดงั นนั้ เมอ่ื Room ได้ มกี ารหารอื และกาหนดผเู้ ขา้ พกั

SOP ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข ไดแ้ ลว้ จงึ จะหารอื เรอ่ื งการ เดนิ สาย CCTV ไปยงั หอ้ ง Command Room อาคารที่พกั สาหรบั ทีมงานเกบ็ ลกู วอลเลยบ์ อลและสนามสาหรบั การซ้อมและการแข่งขนั ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข สนามกีฬาวอลเลยบ์ อลชายหาด จงั หวดั ร้อยเอด็ มสี นามซอ้ ม 2 สนาม - แนะนาใหแ้ ยกกนั้ สนามอย่างชดั เจน กนั้ ทางเดนิ ไมใ่ ห้ และสนามแขง่ 4 สนาม เดนิ สวนทางกนั กาหนดทางเขา้ -ออก - จดั ตารางการซอ้ มและแขง่ ใหเ้ วลาเหล่อื มลา้ กนั ในแต่ละ มอี ฒั จนั ทรท์ น่ี งั่ ดแู ต่ละสนาม ทมี เพราะตอ้ งจบั เวลาหลงั ทาความสะอาดเสรจ็ แลว้ - เมอ่ื มกี ารใชส้ นามตอ้ งมเี จา้ หน้าทค่ี อยทาความสะอาด หอ้ งน้า 1 หอ้ ง แยกชายหญงิ บรเิ วณทม่ี กี ารปนเป้ือนทุกครงั้ มที ล่ี า้ งตวั 2 จดุ - แนะนาใหม้ กี ารกาหนดพน้ื ทอ่ี ฒั จนั ทรท์ น่ี งั่ ดตู ามท่ี ศบค. กาหนด (ไมเ่ กนิ 25%) โดยตอ้ งกาหนดพน้ื ทว่ี ่างเพ่อื เวน้ ระยะห่างใหเ้ พยี งพอ และทาเครอ่ื งหมายหรอื ทก่ี นั้ ใหช้ ดั เจน - แนะนาใหท้ าทล่ี า้ งตวั แยกกนั ในแต่ละสนามเพ่อื มใิ หเ้ กดิ การปนเป้ือน และความแออดั ในการลา้ งตวั ถา้ มกี ารใช้

ประเดน็ ท่ีพบ ข้อเสนอแนะแก้ไข หอ้ งน้าสาหรบั ผเู้ ขา้ ชมการแขง่ ขนั หอ้ งน้าตอ้ งมเี จา้ หน้าทค่ี อยทาความสะอาดทกุ ครงั้ ทใ่ี ช้ Zone กลางเป็นพน้ื ทร่ี ะหว่าง 6 สนาม งาน และเมอ่ื แขง่ ขนั เสรจ็ - หอ้ งน้าสาหรบั ผเู้ ขา้ ชมการแขง่ ขนั ต้องแยกออกจาก พน้ื ทรายเวลาฝนตกจะเกาะตวั แน่น เวลา นกั กฬี าอยา่ งชดั เจนและมรี อบของการทาความสะอาดท่ี แขง่ ถา้ ลม้ อาจเกดิ การบาดเจบ็ ได้ แน่นอน ทางเขา้ สนามดา้ นหน้าจะเป็นโรงเรยี น การจดั การขยะ - แนะนาใหก้ ารตงั้ เตน็ ท/์ พน้ื ทต่ี รงกลางสาหรบั เจา้ หน้าท่ี นงั่ Check ควิ ทน่ี งั่ พกั นกั กฬี า/ทว่ี างกระเป๋ านกั กฬี า ขยะ การเดนิ ทาง โดยตอ้ งมกี ารระบรุ อบของการทาความสะอาดใหช้ ดั เจน - กาหนดพน้ื ทส่ี าหรบั Media ซง่ึ เป็นนอก Bubble การ การรบั ประทานอาหารและน้าดม่ื ในสนาม จดั แยก Zone และกนั้ พน้ื ทท่ี างเดนิ ใหช้ ดั เจนระหวา่ ง In bubble และ Outer bubble - ไดร้ บั ทราบจากสมาคมวา่ จะมกี ารนาทรายมาเททบั อกี ใหม้ คี วามหนาเพม่ิ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ตามท่ี สมาพนั ธโ์ ลกแนะนา และจะมกี ารนาทรายส่งไปตรวจอกี ครงั้ ในสปั ดาหห์ น้า - จะมกี ารจดั แยกทางเขา้ ของโรงเรยี นและสนามใหช้ ดั เจน ไมป่ ะปนเสน้ ทางกนั - แนะนาใหแ้ ยกมลู ฝอยตดิ เชอ้ื และมลู ฝอยทวั่ ไป เบอ้ื งตน้ ทราบวา่ ไดม้ กี ารประสานให้ทางเทศบาลมารบั มลู ฝอยตดิ เชอ้ื ไปทาลายตามมาตรฐาน - แนะนาการตดิ ตามและการใหค้ าแนะนาแก่เจา้ หน้าท่ี ผรู้ บั ผดิ ชอบมาจดั เกบ็ และกาจดั มลู ฝอยตดิ เชอ้ื - มกี ารกาหนดสถานทจ่ี อดส่ง-รบั นกั กฬี าชดั เจน รวมถงึ สถานทส่ี าหรบั พกั รถเพ่อื รอคอยการมารบั นกั กฬี าไปสง่ ทพ่ี กั - แนะนาการจดั เตรยี ม/ประสานความรว่ มมอื ในสว่ นของ หอ้ งน้าของพนกั งานขบั รถ รบั -ส่ง เน่อื งจากเป็นผทู้ อ่ี ยู่ Outer Bubble - การจดั เตรยี มสถานทร่ี อคอยของพนกั งานขบั รถทแ่ี ยก ส่วนจากพน้ื ท่ี Inner Bubble -เบอ้ื งตน้ ผจู้ ดั การแขง่ ขนั จะไมม่ กี ารจดั อาหารใหใ้ น สนามแขง่ ขนั /สนามซอ้ ม สาหรบั น้าด่มื จะมกี ารเตรยี มให้ นกั กฬี าแต่ละประเทศ และมกี ารกาหนดว่าใหด้ ม่ื ใหห้ มด กรณดี ่มื ไมห่ มดใหเ้ ทน้าทง้ิ และทง้ิ ขวดเปลา่ ทเ่ี ปิดฝาใน

ประเดน็ ที่พบ ข้อเสนอแนะแก้ไข การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ภาชนะแยกทง้ิ เพอ่ื ส่งดาเนินการตามขนั้ ตอนใหเ้ ป็นขยะ ทวั่ ไป มกี ารกาหนดรอบการมาใชบ้ รกิ ารทช่ี ดั เจน โดยสมาคมจะ เป็นผลู้ งทะเบยี นการใชง้ านสนามทุกประเภท รวมถงึ การ จดั หาผปู้ ระสานงานในการส่อื สารขอ้ มลู ทงั้ เรอ่ื งการ เดนิ ทาง การซอ้ ม การแขง่ ขนั การชมการแข่งขนั และการ เดนิ ทางกลบั ทพ่ี กั ฯ เป็นตน้ ท่ีล้างตวั ที่ล้างตวั อฒั จนั ทรข์ า้ งสนาม พนื้ ทรายที่อดั แน่นเพราะโดนฝน ห้องน้าแยกชาย-หญิง สนาม

รายงานการลงพนื้ ท่ี ประเมนิ เพอ่ื ขอจดั ตง้ั สถานทกี่ กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา กรงุ เทพมหานคร กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค 5 ตลุ าคม 2564

รายงานผลการตรวจเยยี่ ม จดั ตง้ั สถานทีก่ กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองค์กร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา กรงุ เทพมหานคร โดย กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและกักกนั โรค รว่ มกบั กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะ ฉกุ เฉิน ****************************************************** 1. รายชอ่ื คณะตดิ ตาม ลงพน้ื ทน่ี เิ ทศ 1. นายแพทย์ รฐั พงษ์ บรุ วี งศ์ กองด่านควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศและกกั กนั โรค 2. แพทยห์ ญิงณฐั ฐาวดี อรยิ วงษเ์ จรญิ กองด่านควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กันโรค 3. นางสาวประภาพร สมพงษ์ กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ 4. นางสาวจติ รลดา รุจิทิพย์ กองด่านควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศและกกั กนั โรค 5. นางสาววรางคนา จนั ทรสขุ กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ 6. นางอรณิชชา อินทรก์ ง กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ 2. สถานท:ี่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตั้งอยู่ที่ ซอยอิสรภาพ 15 เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีการจัดการเรียนการสอนแบ่งเป็น 8 สาขาคณะวิชา โดยในช่วงที่มีการระบาดของ โรคโควิด-19 มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Online ทางมหาวิทยาลัยมีนิสิตทั้งชาวไทย และ ชาวต่างชาติที่ต้องการเดินทางกลับมาเรียนแบบ Onsite ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2564 (ประมาณเดือน มกราคม 2564) โดยทางมหาวิทยาลัยฯ มีความประสงค์จะจัดตั้งสถานที่กักกันรูปแบบ องค์กร (OQ ประเภท ข.) ภายในเขตมหาวิทยาลัยโดยใช้พื้นที่อาคาร 20 (ชั้น 4 และ 5) อาคารช่อชงโค (ช้ัน 2 และ 3) และอาคารโรงแรม (ชั้น 7 และ 8) โดยจัดให้พัก 2 – 6 คนต่อห้อง จำนวน 63 ห้อง รวม รับนักศึกษาได้ครั้งละ 219 คน (สามารถรับได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย) มีการหารือร่วมกัน โรงพยาบาลเลิศสินเป็นโรงพยาบาลคู่ปฏิบัติ 3. วันทีล่ งพืน้ ท่ี: 5 ตุลาคม 2564 4. วัตถุประสงค์: เพื่อรองรับการเปิดภาคการศึกษา 5. การบรหิ ารจดั การและขอ้ แนะนำในการปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ ประเดน็ ท่พี บจากการตรวจครงั้ ที่ 1 ขอ้ เสนอแนะ บรเิ วณโถงทางเดนิ หอ้ งพกั โถงทางเดนิ ปูพรม ตลอดทางเดิน และภายในห้องพัก แนะนำให้มีการใชเ้ สื่อน้ำมันชนิดหนามาปทู ับพรม มีคำแนะนำใหแ้ ก้ไขเน่อื งจากสถานการณโ์ รคติดเชอื้ เพ่อื ความสะดวกในการทำความสะอาด และต้องปูเส่ือ และมาตรการป้องกันการติดเชอื้ แนะนำให้มกี าร นำ้ มนั ให้ครอบคลุมพนื้ ที่ รวมถึงผนงั เพ่ือลดแรงตึงขณะ หลีกเลีย่ งการใชว้ สั ดทุ ่ีซึมซับน้ำ ส่งิ สกปรก และทำความ เขน็ กระเป๋าและอุปกรณ์ เช่น เข็นรถทำความสะอาด หรือ สะอาดไดย้ าก เช่น พรม ผ้า หรือวสั ดุท่ีมีรูพรุน เช่น ไม้ รถแจกอาหาร

ประเด็นท่พี บจากการตรวจครงั้ ที่ 1 ขอ้ เสนอแนะ แนะนำให้มกี ารใชว้ สั ดุที่คลุมทับ เชน่ ผา้ ใบ เส่อื นำ้ มนั เพอ่ื ใหส้ ามารถทำความสะอาดไดง้ า่ ย จดุ จอดรถ และทางเขา้ ออกอาคารชอ่ ชงโค ปรับพน้ื ทีบ่ รเิ วณภายนอกอาคารใหเ้ ป็นสัดสว่ นท่ีแยก จดุ จอดรถและทางเข้าออกอาคารเป็นพื้นท่ีเปดิ จากพน้ื ท่ีอื่นอยา่ งชดั จน เพ่ือรองรับการจอดรับผู้กักตวั ไมเ่ ป็นสดั สว่ น มีการใช้พ้นื ท่รี ่วมกนั กับนักศึกษาคณะอื่น รวมถึงตดิ ป้ายแสดงใหช้ ดั เจน ลอ็ บบแี้ ละจดุ ลงทะเบียน ควรปรบั เปล่ยี นพืน้ ผิวบรเิ วณจุดรบั ผกู้ กั ตัว เพ่ือลด มชี ดุ เกา้ อี้ โซฟา บริเวณล๊อบบที้ ำดว้ ยหนังสามารถ การสมั ผัสเช้อื และสะดวกต่อการทำความสะอาด รวมถึง ทำความสะอาดได้ แต่อาจไม่ท่วั ถึง และไมค่ รอบคลุมทุก การปรบั บรเิ วณสถานท่ีโดยให้เฟอรน์ ิเจอร์ท่ีไมจ่ ำเป็นต่อ ครั้งหลังการใชง้ านพื้นท่ี จงึ แนะนำให้งดการใช้งาน และ การใช้งานออกจากบริเวณ นำออกนอกบริเวณลอ็ บบี้ การปรบั ปรงุ ระบบการลงทะเบยี นการเขา้ พักโดยลด การสมั ผัส เช่น การใช้ระบบออนไลนม์ าชว่ ย และการ บันทกึ การวีดอณุ หภมู รา่ ยการดว้ ยระบบออนไลน์ เพือ่ ติดตามอาการผดิ ปกตขิ องผ้เู ข้าพัก (COSTE) จดุ วางอาหารหนา้ หอ้ งพกั - มีการจดั พ้นื ทใ่ี นการวางอาหาร มลู ฝอย และ - ควรมีการทำป้ายคำแนะนำให้ชัดเจน หรือ ผา้ เปือ้ นไวห้ นา้ ห้องพัก โดยกำหนดให้วาง สามารถใสร่ ายละเอยี ดการปฏิบตั ิในช่องทวี ีของ อาหารบนโตะ๊ และผ้าเปื้อนท่ีใช้แลว้ ใต้โต๊ะ ไม่ โรงแรม หรอื เอกสารแนะนำเพื่อการปฏบิ ัตทิ ่ี มีการจดั ทำป้ายแนะนำ แต่ยังไม่ไดน้ ำโตะ๊ ท่จี ะ ถูกต้อง จัดวางมาแสดง - ควรมกี ารฝึกซ้อมใหแ้ ละกำหนดให้เจ้าหน้าที่ส่ง อาหาร เตรียมอปุ กรณ์ในการทำความสะอาดโต๊ะ วางอาหารและถุงสำหรับทิง้ มูลฝอยตดิ เชอ้ื ทำ ความสะอาดก่อนการจดั วางอาหารทุกคร้ัง - ข้ันตอนการวางอาหาร คือแม่บ้านประจำชน้ั รับ อาหารที่สง่ มาในลิฟท์ส่งอาหาร (ใสร่ ถเข็นอาหาร ไว้) ทำความสะอาดโตะ๊ วางอาหารและวาง อาหารบนโต๊ะหนา้ ห้องพกั ตามเวลาที่กำหนด การทำความสะอาดลฟิ ทโ์ ดยสาร - มีการกำหนดให้มแี ม่บา้ นประจำลฟิ ท์ ทำความ - ควรมีการสอนและฝกึ หดั ข้ันตอนการปฏิบัติ และ สะอาดลิฟท์ทุกคร้ังหลงั การใช้งานไม่ได้ทำการ การเลอื กใช้ชุดปอ้ งกันร่างกายสว่ นบคุ คลให้ สาธติ ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ เหมาะสมกบั ประเภทและกิจกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ เชน่ - มีการเตยี มโต๊ะวางขวดนำ้ ยาล้างมอื ในลิฟท์ การทำความสะอาดลฟิ ทท์ ่ีอาจมีการปนเป้ือน - ต้องมีการทบทวนและสอนข้ันตอนการปฏบิ ัติ เพ่ือใหผ้ ้ปู ฏิบัติสามารถปฏบิ ัติได้อย่างถกู ตอ้ ง และมีความมั่นใจในการปฏิบัติ

ประเด็นทีพ่ บจากการตรวจครงั้ ที่ 1 ขอ้ เสนอแนะ - โตะ๊ ท่ีเตรยี มสำหรับวางนำ้ ยาลา้ งมอื ไมค่ วรใชผ้ ้า หุ้มเนือ่ งจากทำความสะอาดไดย้ าก และอาจเกิด การปนเปื้อน การทำความสะอาดหอ้ งพกั กำหนดใหเ้ จ้าหนา้ ที่แม่บ้าน In bubble ประจำชนั้ เป็น - ต้องมีการฝกึ ปฏิบตั ิ การทำความสะอาดห้องพัก ผูป้ ฏบิ ัติ 2 คนต่อหนงึ่ หอ้ งการทำความสะอาดห้องพกั - มีการจดั เตรยี มชุดอุปกรณ์ ให้เพยี งพอและ แม่บา้ นของโรงแรมจะไม่มีการ จนกวา่ จะครบการเขา้ เหมสาะสมกับการใช้งาน กกั 14 วนั จึงเข้าไปทำความสะอาดห้องพกั โดยแม่บ้าน - เน้นยำ้ ให้ จนท.ผปู้ ฏบิ ตั ติ รวจสอบการปิด จะเข้าไปทำความสะอาด 2 คนตอ่ หอ้ ง โดยแมบ่ า้ น เครอ่ื งปรบั อากาศก่อนการทำความสะอาดหอ้ ง จะต้องใสช่ ุด PPE ตามทีก่ ำหนด ยังไมเ่ คยมีการเรียนรู้ ทุกคร้งั ขั้นตอนการปฏิบัติ - ควรมกี ารซ้อมการใส่ ถอดชุดป้องกันร่างกาย สว่ นบุคคลให้ถูกต้องเพ่ือป้องกันการปนเป้ือน -ภายในห้องพักมีวัสดุอุปกรณ์ทีท่ ำด้วยผา้ และไม้ - ควรมกี ารคำนวนและจัดเตรียมอุปกรณ์ท่ีจำเปน็ -ยังไมม่ ีการกำหนดการเตรยี มอปุ กรณ์ที่จะเตรยี ม สำหรับใช้ภายในหอ้ งพัก เชน่ น้ำดมื่ อุปกรณ์ จดั ไว้ภายในหอ้ งพัก อาบนำ้ ถงุ สำหรบั ใส่มูลฝอย ผ่าเปอื้ น และวัสดุ สำหรบั ผูกมดั - การปรับเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องพัก ให้ เป็นวัสดุที่มีพื้นผิวง่ายต่อการทำความสะอาด รวมถึงปรับลดจำนวนเฟอร์นิเจอร์ที่ไม่จำเป็น ออกจากห้อง เพื่อความสะดวกต่อการทำความ สะอาด การจดั ทำอาหาร และการขนยา้ ยเขา้ เขต Bubble พนักงานครัว (นอก Bubble) เม่อื ทำอาหารเสร็จ ตอ้ งมกี ารกำหนดเขต Bubble ให้ชัดเจนเพ่ือลดการ แลว้ ใหจ้ ัดอาหารใสร่ ถเขน็ จากครัว มาจัดเรยี งไวบ้ ริเวณ ปนเปื้อน และกำหนดเวลาในการจดั สง่ เพ่ือลดปญั หา ทีจ่ ัด สำหรบั พกั อาหาร โดยมีการกั้นพ้นื ที่ ระหว่างพนื้ ท่ี อาหารไม่รอ้ น บดู เนา่ หรือเสื่อมคุณภาพ และต้องซอ้ ม ในและ นอก Bubble เพื่อรอใหพ้ นกั งานลำเลยี งอาหาร ข้ันตอนกบั ผู้ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ข้าใจ และมีความมั่นใจในการ ซง่ึ อยใู่ น Bubble ลงมารับอาหารทจี่ ุดทีก่ ำหนดไว้ โดย ปฏบิ ตั ิงาน มีเส้นกำหนดเขตพน้ื ที่ในและนอก สถานกักกัน ทช่ี ดั เจน และปลอดภัย หลีกเล่ยี งการเผชญิ หน้ากัน

ประเด็นท่ีพบจากการตรวจครงั้ ท่ี 1 ขอ้ เสนอแนะ การเกบ็ มลู ฝอยตดิ เชอ้ื สำหรบั การลำเลียงมูลฝอยพนกั งานจะทำการ แม่บ้านจะเกบ็ มูลฝอยทุกวนั วนั ละ 1 รอบ ลำเลยี งมูลฝอยลงไปยังหอ้ งพกั มลู ฝอยติดเชอื้ โดย ใหเ้ กบ็ ถุงมลู ฝอยท่ีมกี ารผูกปากถงุ ไว้อยา่ งมดิ ชดิ เวลา 21.00 น. โดยมีรถเข็นมลู ฝอยท่ีมฝี าปิด ใหข้ นลงทางลฟิ ต์บริการ หน้าลฟิ ทม์ กี ารจดั วางวัสดุ มิดชดิ อปุ กรณจ์ ำนวนมาก แนะนำให้เคล่ือนยา้ ยออกจาก บรเิ วณดังกลา่ ว (ใหก้ ำหนดการเคลือ่ นย้ายมูลฝอย ไวเ้ ป็นช่วงเวลา ที่ไม่ทบั ซอ้ นกับการส่งอาหาร ) และทำการค่าเชอื้ ทำความสะอาดทกุ คร้ังหลัง ลำเลียงเสรจ็ เสน้ ทางลำเลียงมูลฝอยติดเช้ือจาก หอ้ งพัก เข้าออกประตูสำหรับพนักงาน ขนลงทาง ลฟิ ทพ์ นกั งาน(ทม่ี ีการกำหนดไว้เฉพาะ)และทำ ความสะอาดและฆ่าเช้ือทุกคร้ังทขี่ นมลู ฝอยแลว้ เสร็จ มูลฝอยนำไปไว้ทีห่ อ้ งมูลฝอยติดเชื้อช่วั คราว ด้านข้างโรงแรมและขนย้ายมูลฝอยติดเชอ้ื โดยรถ ขนมลู ฝอยของบรษิ ัทกำจดั มลู ฝอยตดิ เชือ้ โดย เส้นทางการขนย้ายอยู่ในระหวา่ งการปรับปรุง ยัง ไมไ่ ด้ขนยา้ ยของ ยงั ไม่พรอ้ มใชง้ าน และไม่มีจุดลา้ ง ถงั มลู ฝอยติดเช้ือ บริเวณเป็นพื้นทีเ่ ปิดโล่งใกลก้ บั ถนน และทางเดินเขา้ ออกของนกั ศึกษาคณะอน่ื การใหค้ ำแนะนำเพิม่ เตมิ

1. ควรมีการให้ความรู้และทบทวนเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ การสวม ใสอุปกรณ์ป้องกัน รา่ งกายทถ่ี กู ตอ้ งและให้ฝกึ ปฏิบัตจิ นมนั่ ใจกอ่ นปฏิบัตงิ าน 2. การเลือกใช้และจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทำความสะอาด รถเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาด น้ำยาที่ใช้ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้ และไม่ทำลายพื้นผิว สัดส่วนการ ผสมน้ำยาทำลายเชื้อ และระยะเวลาในการออกฤทธ์ิ หลงั การทำความสะอาดแล้วเสรจ็ 3. ต้องมีการเตรียมพื้นท่ีสำหรับการถอดชดุ ปอ้ งกนั ร่างกายส่วนบุคคล และถงั มูลฝอยรองรับ ท่ีมฝี าปดิ รวมทงั้ มีหอ้ งสำหรบั อาบนำ้ ทำความสะอาดรา่ งกายหลงั การปฏิบัตงิ าน 4. เรื่องการแยกมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยทั่วไป เช่นขวดน้ำพลาสติก การเตรียมภาชนะ รองรับมูลฝอย การเตรียมถุงรองรับที่มีขนาดพอเหมาะ และการเตรียมอุปกรณ์สำหรับ ผกู มดั เช่น เชอื ก 5. การเตรียมความพร้อมเรอื่ งการดแู ลสขุ ภาพบุคลากรทใ่ี ห้การบรกิ าร เช่นการวดั ไข้ สังเกต อาการตามเกณฑ์ PUI และการรายงานเหตุการณ์ต่อ COVID Manager เมื่อเกิด เหตุการณ์ไมพ่ ึงประสงค์ 6. การปรบั ปรุงกลอ้ ง CCTV ให้เพิ่มการตรวจจับการเคล่ือนไหวให้ท่ัวถงึ ท้ังภายในและภายนอกอากคาร รวมถึงลฟิ ทท์ ี่ใช้ในการขนส่งผกู้ ักตวั 7. ทบทวนระบบการหนีไฟ เนื่องจากเชื่อมติดต่อกับชั้นอาคารอื่นๆ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่อื่นๆ ปฏิบัตงิ าน 8. ทบทวนระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย ซึ่งต้องมีการตรวจคลอรีนก่อนปล่อยลงสู่ระบบบำบัดภา บนอก รวมถงึ การให้บันทึกเวลาการเตมิ และการตรวจคลอรีนประจำวัน

รายงานลงพนื้ ทข่ี อจดั ตงั้ สถานทกี่ กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร ข. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า PROPOSAL FOR ESTABLISHMENT AND IMPLEMENTATION ORGANIZATIONAL QUARANTINE MINISTRY OF TOURISM AND SPORTS การจดั การแขง่ ขนั เรอื ใบออพตมิ สิ ตช์ งิ แชมป์ เอเชยี นและโอเชยี นเนยี น ประจาปี 2564 2021 Optimist Asian & Oceanian Championship Host by Royal Varuna Yacht Club วนั ที่ 30 กนั ยายน-13 พฤศจกิ ายน 2564 ROYAL VARUNA YACHT CLUB Citrus Grande Hotel Pattaya กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค รว่ มกบั กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค

รายงานลงพนื้ ทขี่ อจดั ตง้ั สถานทีก่ กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร ข. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า การจดั การแขง่ ขนั เรือใบออพติมสิ ตช์ งิ แชมป์ เอเชยี นและโอเชยี นเนยี น ประจาปี 2564 2021 Optimist Asian & Oceanian Championship Host by Royal Varuna Yacht Club วนั ที่ 30 กนั ยายน-13 พฤศจกิ ายน 2564 โดย กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศ และกักกันโรค รว่ มกบั กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. รายชอื่ คณะตดิ ตาม ลงพืน้ ทนี่ เิ ทศ 1.1 นายแพทยร์ ฐั พงษ์ บรุ วี งศ์ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค 1.2 แพทย์หญิงณฐั ฐาวดี อริยวงษ์เจริญ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.3 นางวราภรณ์ เทียนทอง กองด่านควบคมุ โรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 1.4 นางสาวเอือ้ ใจ แจม่ ศักด์ิ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.5 นางสาวจิตรลดา รจุ ทิ ิพย์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.6 นางสาวประภาพร สมพงษ์ กองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน 1.7 นางสาววรางคณา จันทรสุข กองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ 1.8 นางสาวอรณิชชา การคาน กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน 1.9 นางสาวสาวติ รี ธรี ะวณิชย์ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 2. สถานท:ี่ ท่พี ัก 2 แหง่ สถานทฝ่ี ึกซ้อมและสนามแข่งขนั 1 แห่ง ดังน้ี ที่พกั - โรงแรม Citrus Grande Hotel Pattaya ที่พักสาหรบั ผ้เู ดินทางมาจากตา่ งประเทศ - สนามแขง่ RVYC (Royal Varuna Yacht Club) ท่พี ักสาหรบั พนักงาน ของสโมสรและ กรรมการจากสมาคมท่เี ปน็ คนไทย สถานท่ีฝึกซ้อม/สนามแขง่ - ทะเลหน้าหาด RVYC (Royal Varuna Yacht Club) โรงพยาบาลคู่ปฏิบัติ - โรงพยาบาลวภิ าราม ชลบรุ ี

3. วนั ทลี่ งพื้นท:ี่ 12 ตลุ าคม 2564 4. วัตถุประสงค์: เพ่ือเป็นการกักกันรูปแบบเฉพาะองค์กร ประเภท ข. สาหรับนักกีฬา โค้ช ทีมงาน และ คณะผู้จัดการแข่งขันท้ังท่ีเดินทางมาจากต่างประเทศ และภายในประเทศ โดยมีนักกีฬาเข้าร่วม ตามเอกสารขอจดั ต้ังสถานท่ีกกั กนั ในรูปแบบเฉพาะองคก์ ร กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา 5. การเดนิ ทาง กาหนดแนวทางการจัดการด้านการเดนิ ทาง แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. การเดนิ ทางเขา้ -ออกประเทศ เปน็ ไปตามแนวปฏิบัตติ ามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบบั ท่ี 9) มาตรการกอ่ นเดนิ ทาง เขา้ มาในราชอาณาจักร 2. การเดินทางจากสนามบนิ ไป–กลบั โรงแรมที่พกั และสนามแขง่ สาหรับนักกฬี าและเจ้าหน้าที่ ชาวต่างชาติ

แผนผงั แสดงบริเวณการจัดการแข่งขนั ทะเลสนามแข่ง

6. ข้อคน้ พบ สนามแขง่ RVYC (Royal Varuna Yacht Club) ประเดน็ ท่พี บ การแก้ไข ก้นั พน้ื ท่ีระหวา่ ง In bubble และ Outer Bubbleดว้ ย แนะนาต้องมีการกนั้ พนื้ ที่ใหช้ ัดเจนระหว่าง In เชือกชัดเจน ระหวา่ งเสน้ ทางการเดนิ ไมไ่ ดร้ ะบเุ วลาหรือ bubble และ Outer Bubble เพ่อื มิให้เกิดการ การหลีกเลยี่ งความเสย่ี งท่มี โี อกาสทค่ี นนอก Bubble ปนเป้อื นกนั จะพบกบั คนใน Bubble จะเดนิ สวนทางกัน In bubble Outer bubble Outer bubble In bubble บริเวณสโมสรทสี่ าหรบั ใหน้ กั กฬี าน่ังพกั ระหวา่ งรอลง แนะนาให้มีการกาหนดเสน้ ทางเดนิ ให้ชัดเจนว่า แขง่ ไม่มีเสน้ ทางการเดนิ และกัน้ อยา่ งชดั เจน อาจทาให้ ประเทศไหนเดินเสน้ ทางไหน นงั่ ตรงจดุ ไหน และ มีการเดินทับเส้นทางเดินกนั ได้ ตอ้ งมีคนคอยกากบั ดแู ลเม่ือมีนักกฬี าไม่ทาตาม ระเบยี บเชน่ เดนิ ออกนอกเส้นทางไปพูดคุยกับ นกั กฬี าประเทศอน่ื

ประเดน็ ท่ีพบ การแกไ้ ข แม่บ้านทาความสะอาดกาหนดไวแ้ ค่ 2 คนอาจไม่ ให้เพม่ิ แม่บา้ นในการทาความสะอาด และมีการ เพยี งพอต่อการกาหนดจดุ บริการท่ีวางไว้ ควบคมุ ให้เขา้ เป็นทีม เพื่อมใิ ห้มกี ารปะปนกนั และให้แม่บ้านทาความสะอาดไดง้ า่ ยขน้ึ การสวมใส่ชุด PPE เช่น CPE หรอื Isolate gown ใน แนะนาใหแ้ มบ่ ้านใส่ Scrub suit ไมต่ ้องใส่ CPE การทาความสะอาดหอ้ งน้า พ้ืนท่ีตา่ งๆ อาจทาใหป้ ลิว ใส่แคห่ น้ากากอนามัย Face shield หมวก เพราะมีลมทะเลพัดตลอดเวลาทาให้เกดิ การฟงุ้ กระจาย ถุงมือ รองเท้าบทู หรือรองเท้าแตะท่ีหุ้มสว่ นหวั เช้ือได้ อีกทั้งหากใส่ Cover all จะทาให้ร้อนและเกดิ ทาความสะอาดได้ง่าย และเมื่อเสรจ็ ภารกิจตอ้ ง การปนเป้ือนได้งา่ ย อาบนา้ เปล่ยี นเสือ้ ผ้าใหมท่ ุกครงั้

ประเดน็ ทีพ่ บ การแกไ้ ข บรเิ วณทจ่ี อดเรือของแตล่ ะทีมยังไม่กั้นพ้นื ท่ที ช่ี ดั เจน แนะนาให้มีการกน้ั พนื้ ที่ท่ีจอดเรือใหช้ ดั เจนแยก แตล่ ะประเทศ ห้องนา้ หอ้ งถอดชดุ PPE หอ้ งพยาบาล และ กรรมการ

รถเดนิ ทาง การแกไ้ ข ประเดน็ ท่ีพบ แนะนาเร่ืองการเปดิ แอร์ในสว่ นของคนขับควรมี อณุ หภูมทิ ีเ่ ยน็ กว่า และปดิ ช่องลมปล่อยความ มกี ารกนั้ ระหวา่ งพื้นทีค่ นขับและนกั กีฬาชดั เจน เย็นบรเิ วณทีม่ นี ักกีฬาน่งั มกี ารกาหนดจดุ ที่น่งั ชดั เจน พื้นไม่เป็นพรมทาความ สะอาดได้ง่าย พืน้ รถปดู ว้ ยวสั ดผุ ิวเรยี บ ทำควำมสะอำดงำ่ ย มีการใชร้ ถตู้แค่ 4 คันหมุนเวียนในการรบั นกั กีฬา แนะนาให้ปรบั การใชร้ ถเป็น 1 คนั ตอ่ 1 ทีม เพ่ือ ทั้งหมด 8 ประเทศอาจไมเ่ พียงพอ เพราะต้องใชเ้ วลาใน ลดเวลาในการรอคอยท่ีพื้นทีส่ ่วนกลาง และ การทาความสะอาด Contact time ของน้ายา และ สะดวกตอ่ การประสานการเดินทาง การเข้า ความครอบคลมุ ของการทาความสะอาด ห้องพัก ทจ่ี อดรถบริเวณทพ่ี ักคับแคบ ต้องใช้การประสานงาน จดั ใหม้ ีการประสานงานระหว่างพนักงานขับรถ เพื่อเรยี กนักกฬี าลงมา นกั กีฬาและแม่บ้าน เพอ่ื ป้องกนั การมารอขน้ึ รถ พร้อมๆกันหลายประเทศ

รายงานลงพน้ื ทขี่ อจดั ตง้ั สถานทกี่ กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร ข. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า PROPOSAL FOR ESTABLISHMENT AND IMPLEMENTATION ORGANIZATIONAL QUARANTINE MINISTRY OF TOURISM AND SPORTS การจดั การแขง่ ขนั เรอื ใบออพตมิ สิ ตช์ งิ แชมป์ เอเชยี นและโอเชยี นเนยี น ประจาปี 2564 2021 Optimist Asian & Oceanian Championship Host by Royal Varuna Yacht Club วนั ท่ี 30 กนั ยายน-13 พฤศจิกายน 2564 Citrus Grande Hotel Pattaya กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค รว่ มกบั กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค

รายงานลงพนื้ ทข่ี อจดั ตง้ั สถานที่กกั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร ข. กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า การจดั การแขง่ ขนั เรอื ใบออพติมสิ ตช์ งิ แชมป์ เอเชยี นและโอเชยี นเนยี น ประจาปี 2564 2021 Optimist Asian & Oceanian Championship Host by Royal Varuna Yacht Club วนั ที่ 30 กนั ยายน-13 พฤศจกิ ายน 2564 โดย กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศ และกักกนั โรค รว่ มกับกองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. รายชอ่ื คณะตดิ ตาม ลงพน้ื ท่ีนเิ ทศ 1.1 นายแพทย์รัฐพงษ์ บรุ วี งศ์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.2 แพทย์หญิงณัฐฐาวดี อรยิ วงษ์เจรญิ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.3 นางวราภรณ์ เทยี นทอง กองด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 1.4 นางสาวเอื้อใจ แจม่ ศักดิ์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.5 นางสาวจิตรลดา รจุ ิทิพย์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.6 นางสาวประภาพร สมพงษ์ กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ 1.7 นางสาววรางคณา จันทรสุข กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ 1.8 นางสาวอรณชิ ชา การคาน กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน 1.9 นางสาวสาวติ รี ธีระวณิชย์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค 2. สถานท:่ี ท่ีพกั 2 แหง่ สถานทฝ่ี กึ ซ้อมและสนามแข่งขนั 1 แหง่ ดงั นี้ ท่ีพัก - โรงแรม Citrus Grande Hotel Pattaya ทพี่ ักสาหรับผเู้ ดนิ ทางมาจากต่างประเทศ - สนามแขง่ RVYC (Royal Varuna Yacht Club) ทพี่ ักสาหรบั พนกั งาน ของสโมสรและ กรรมการจากสมาคมที่เปน็ คนไทย สถานท่ีฝกึ ซ้อม/สนามแขง่ - ทะเลหนา้ หาด RVYC (Royal Varuna Yacht Club) โรงพยาบาลคปู่ ฏบิ ัติ - โรงพยาบาลวภิ าราม ชลบรุ ี 3. วนั ทล่ี งพื้นท:ี่ 12 ตลุ าคม 2564 4. วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นการกักกันรูปแบบเฉพาะองค์กร ประเภท ข. สาหรับนักกีฬา โค้ช ทีมงาน และ คณะผู้จัดการแข่งขันท้ังที่เดินทางมาจากตา่ งประเทศ และภายในประเทศ โดยมีนักกีฬาเข้าร่วม ตามเอกสารขอจัดตั้งสถานทก่ี กั กนั ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า 5. การเดนิ ทาง กาหนดแนวทางการจดั การด้านการเดนิ ทาง แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. การเดินทางเข้า-ออกประเทศ เป็นไปตามแนวปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบรหิ ารราชการใน สถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี 9) มาตรการกอ่ นเดนิ ทาง เข้ามาในราชอาณาจักร 2. การเดนิ ทางจากสนามบินไป–กลบั โรงแรมที่พัก และสนามแข่ง สาหรบั นกั กีฬาและเจ้าหนา้ ที่ ชาวตา่ งชาติ

แผนผังแสดงบรเิ วณการจัดการแข่งขนั ทะเลสนามแข่ง

6. ข้อคน้ พบ การแกไ้ ข แนะนาใหล้ ะเวน้ ตึก 3 ไว้ เพราะอยู่ใกลก้ บั ตึก 2 โรงแรม Citrus Grande Hotel Pattaya ซึ่งทาเปน็ Hospitel ซงึ่ ปัจจบุ ันมผี ้เู ขา้ รับการ รกั ษาอยู่ 100 คน (จดั เป็น Hospitel 2 ตึก คือ ประเดน็ ทีพ่ บ ตึก 4 และตึก 8) เพราะตึกอยู่ใกล้กนั มาก การกาหนดทพี่ ักเลอื กหอ้ งทมี่ ี balcony ตกึ 6, 5 โดยเฉพาะหากออกมาน่ังที่ระเบียงพรอ้ มกัน ถ้า (หอ้ งอาหาร), 3 และ 2 เพ่อื สะดวกในการตากผ้า และ จานวนห้องไม่พอ สามารถปรับใช้บรเิ วณพน้ื ท่ตี ึก ออกมานั่งพกั ซงึ่ รวมแลว้ ได้ 100 หอ้ ง ไมม่ ีห้องสารอง 3 ในด้านที่ไมต่ ิดกบั ตกึ ทรี่ ับ Hospitel (สีแดง) ทางโรงแรมจะใช้ตกึ 3 ที่อยู่ใกลก้ ับตึกทร่ี ับเป็น ต้องมีการกาหนดห้องสารองไว้ด้วย Hospitel รบั นกั กีฬาด้วย ท่พี กั นกั กีฬา Hospitel 9 Hospitel 7 6 อาหาร Hospitel 3 21 กาหนดในสว่ นของ In bubble และ Outer Bubble แนะนาให้กัน้ พืน้ ที่ใหช้ ัดเจนเพอื่ มิให้เกดิ การ ไม่ชดั เจน เช่นบรเิ วณทรี่ บั -สง่ อาหาร ปนเปือ้ นกนั คนสง่ อาหารเป็น Outer Bubble ไม่ ควรเดนิ เขา้ มาใน Bubble จดุ วางอาหาร อาจกั้นบรเิ วณน้ี

ประเด็นท่ีพบ การแก้ไข ปมุ่ กดลิฟต์มีการ seal ดว้ ยพลาสติก แนะนาต้องมีการทาความสะอาดทุกครั้งหลงั ใช้ ทง้ั นอกและในลิฟต์ มกี าร seal ช่องพดั ลมดูดอากาศด้วยพลาสติก แนะนาว่าถา้ ระบบดูดอากาศดดู ปลอ่ ยใต้ฝ้า เพดาน ให้ปิดระบบพัดลมดอู ากาศกน็ ่าจะ เพียงพอ โซฟาหรือสง่ิ ของท่อี ยู่บริเวณทางเดินผ่าน ให้ยกเก็บ แนะนาให้กนั้ พน้ื ท่หี ้ามเขา้ เขียนบอกใหช้ ัดเจน (ทางโรงแรมแจ้งว่าเคลอ่ื นย้ายลาบาก) ไม่มที ่เี ก็บ เกา้ อ้หี วายไมแ่ นะนาให้ใชเ้ พราะทาความสะอาดไดย้ าก แนะนาใหใ้ ชว้ ัสดุที่สามารถทาความสะอาดได้งา่ ย ไมเ่ ปน็ รู เป็นรอ่ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook