Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานการดำเนินงานปี 2564-2565

ผลงานการดำเนินงานปี 2564-2565

Published by uajai jaemsak, 2022-08-24 06:43:36

Description: กลุ่มกักกันโรค กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และกักกันโรค

Search

Read the Text Version

ผลงานประจำปี 2564 กลุ่มกักกนั โรค กองด่านควบคมุ โรคติดต่อ ระหวา่ งประเทศ และกักกนั โรค

มูลนิธิโรคไตแหง่ ประเทศไทย วนั ที่ 19 เมษายน 2564 มลู นธิ ิโรคไตรบั ฟอกเลือดผปู้ ่วยท่วั ไป ประมาณวนั ละ 190-200 คน รอบละ 40 กวา่ คน ฟอกเลือดวนั จนั ทร์ พฤหสั เสาร์ มี 3 รอบ วนั องั คาร ศกุ ร์ มี 2 รอบ วนั พธุ จะไมม่ ีการฟอกเลอื ด แบง่ เป็น 2 Zone A และ B รวม 5 lock มีการคดั กรองไข้ และซกั ประวตั กิ อ่ นทาการฟอกเลือด ดา้ นหนา้ ประตทู างเขา้ หนา้ ลฟิ ทม์ เี กา้ อนี้ ่งั รอสาหรบั ญาติ มีนา้ ยาลา้ งมือ และเกา้ อจี้ ดั แบบเวน้ ระยะห่าง ประตชู นั้ ในกอ่ นเขา้ หอ้ งฟอกเลือด มีการจดั เกา้ อีแ้ บบเวน้ ระยะหา่ ง ประเด็นทพ่ี บ ขอ้ เสนอแนะแกไ้ ข การทาความสะอาดเตยี งนอน จะทาในแต่ละวนั ไมไ่ ดท้ า แนะนาใหท้ าความสะอาดเป็นราย case เนน้ ในพนื้ ระนาบ เป็น case เน่อื งจากใหผ้ ปู้ ่วยเอาผา้ หม่ สว่ นตวั มาปบู นเกา้ อี้ แลว้ นอน พอเสรจ็ กน็ ากลบั ถา้ ใสค่ วรมกี ารเปลยี่ นถงุ มอื และลา้ งมอื เม่ือใชก้ บั ผปู้ ่วยแต่ พยาบาลคดั กรองดา้ นหนา้ ใส่ถงุ มือยาง เพ่อื ซกั ประวตั ิและ ละคน หรือเปล่ียนมาใชถ้ งุ มือไนไตร แทนเพ่อื จะไดล้ า้ งมอื ได้ วดั ความดนั โลหิต ไมค่ วรตงั้ เกา้ อใี้ หผ้ ปู้ ่วยน่งั บรเิ วณนี้ ประตชู นั้ ในก่อนเขา้ หอ้ งฟอกเลอื ด ระบบระบายอากาศ บรเิ วณประตชู นั้ ในมีระบบระบายอากาศแบบ Return air Return air Return air แอรใ์ นหอ้ งฟอกเลือดเป็น central air ไมม่ ี exhaust air แนะนาใหต้ ิดพดั ลมดดู อากาศทางประตทู างเขา้ หอ้ งฟอก หอ้ งฟอกเลือด มีพดั ลมดดู อากาศติดในหอ้ งท่ลี า้ งตวั กรอง เลือด บรเิ วณหอ้ งรอฟอกเลือด และหอ้ งฟอกเลือด คานวณ ตามพนื้ ท่ขี องหอ้ ง

เวน้ ระยะหา่ งโดยใชว้ ิธเี อาเกา้ อนี้ ่งั ตรง กลางออกเลย พดั ลมดดู อากาศตดิ ท่หี อ้ งลา้ งตวั กรองไม่มใี น หอ้ งฟอกเลือด

ประเด็นทพ่ี บ ข้อเสนอแนะแกไ้ ข เม่ือพบผปู้ ่วยท่มี ีอาการทางระบบทางเดินหายใจ จะแยกมา แนะนาเรอ่ื งการทาระบบ exhaust air บรเิ วณหวั เตียงของ ฟอกบรเิ วณ lock ท่อี ยรู่ มิ หอ้ ง ผปู้ ่วย มหี อ้ งแยกมกี ารจดั การอากาศแตไ่ ม่มีการซ่อมแซม แนะนาใหม้ กี าร renovate หอ้ งแยก cleaning และทาสี ใหม่ ใชฟ้ อกเลือดผปู้ ่วยท่ีมีอาการทางระบบทางเดนิ หายใจ วางขวดนา้ ยาฟอกเลือดบนพนื้ อาจมกี ารปนเปื้อน ได้ แนะนาใหร้ องดว้ ยพาเลท ไม่ควรวางของบนพืน้ โดยตรง exhaust air วางขวดนา้ ยาบนพนื้ ขอ้ แนะนาเพม่ิ เติมเมื่อพบผ้ปู ่ วย COVID/19 positive 1. การเก็บ nasal swab ทถ่ี กู วธิ ี 2. การสอบสวนโรค 3. การจดั กลมุ่ ผทู้ ่มี ีความเส่ยี งสงู เสย่ี งต่า 4. การเก็บ swab ครงั้ ท่ี 1 ประมาณวนั ท่ี 3-5 ครงั้ ท่ี 2 วนั ท่ี 10-13 5. การตดิ ตามอาการผิดปกติโดยใชโ้ ปรแกรม LINE 6. การทาความสะอาดเพ่อื ฆา่ เชือ้ กองด่านควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค

รายงานผลการตรวจเยย่ี ม บรษิ ทั เอม็ .ซ.ี เอส. สตลี จำกดั (มหาชน) M.C.S. STEEL PUBLIC COMPANY LIMITED เพอ่ื ใหค้ ำแนะนำดา้ นจดั ตงั้ สถานทก่ี กั กนั แหง่ รฐั (Organization Quarantine; OQ) และการบรหิ ารจดั การในการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 22 เมษายน 2564 กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศ และกักกนั โรค รว่ มกบั กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค

รายงานผลการตรวจเยย่ี มบรษิ ทั เอม็ .ซ.ี เอส. สตลี จำกดั (มหาชน) เพอ่ื ใหค้ ำแนะนำดา้ นจดั ตงั้ สถานทก่ี กั กนั แหง่ รัฐ (Organization Quarantine; OQ) และการบรหิ ารจดั การในการป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) วนั ที่ 22 เมษายน 2564 โดย กองดา่ นควบคุมโรคระหวา่ งประเทศ และกกั กนั โรค รว่ มกบั กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค ****************************************************** 1. รายชอื่ คณะตดิ ตาม ลงพน้ื ทน่ี เิ ทศ 1.1 นายแพทย์รฐั พงษ์ บุรีวงษ์ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค 1.2 นางวราภรณ์ เทียนทอง กองด่านควบคมุ โรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 1.3 นางสาวเออื้ ใจ แจ่มศกั ดิ์ กองด่านควบคมุ โรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 1.4 นางสาวจิตรลดา รุจิทพิ ย์ กองด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศและกักกันโรค 1.5 นางสาวประภาพร สมพงษ์ กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ 1.6 นางสาวศุภิสรา แยกโคกสงู กองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ 1.7 นางสาวอรณชิ ชา การคาน กองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน 2. สถานท:่ี บรษิ ทั เอม็ .ซ.ี เอส. สตลี จำกดั (มหาชน)โดยขน้ึ ทะเบียนในรูปแบบสถานท่ีกกั กนั ฯ ในรูปแบบ เฉพาะองคก์ ร (ประเภท ข.) 3. วนั ทลี่ งพน้ื ท่ี: 22 เมษายน 2564 4. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการกักกันผู้เดินทางมาจากต่างประเทศ ซึ่งลูกค้า วิศวกร และผู้ตรวจสอบผลงาน ชิน้ งาน หรอื ผลติ ภัณฑ์ ท่มี คี วามจำเป็นตอ้ งเดินทางมาเพ่ือส่งั งาน ตรวจชนิ้ งาน หรือจดั การด้านการตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์ ก่อนการส่งออกไปประกอบยังต่างประเทศ โดยบรษิ ทั เปน็ ผู้รับผิดชอบในการดำเนินการกักกันและ จัดหาบคุ ลากรในการดูแลเฝ้าระวังอาการของบคุ คลผูเ้ ข้ากักกัน ใน Organizational Quarantine ท่ีต้องกักกัน ตามคำสั่งของศนู ย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา (โควิด-19) หรือเจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อ กำหนดในการเข้ามาในราชอาณาจักร รวมทั้งส่งต่อการรักษาพยาบาล หรือประสาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการดำเนินงานอยู่ภายใต้การกำกับดูแลคุณภาพในการป้องกันและควบคุมโรคอย่าง เหมาะสมของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และสอดคล้องกับประกาศ กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ งต่างๆ 5. ขนั้ ตอนการรบั บุคคลทเี่ ดนิ ทางมาจากประเทศทม่ี กี ารระบาดตอ่ เนอื่ ง

1) ผู้ที่ประสงค์จะเดินทางกลับมายังประเทศไทย คือ บุคคลผู้เข้ากักกันใน Organization Quarantine ต้องไปขึ้นทะเบียนกับสถานทูตไทย ณ ประเทศต้นทาง โดยต้องขอใบรับรองแพทย์ จากประเทศต้นทาง (อายุไม่เกิน 48 ชั่วโมง) แสดงใบรับรองแพทย์เตรียมตัว Self Quarantine 14 วนั เมือ่ ได้รับการยนื ยนั วา่ สามารถเดนิ ทางเขา้ ประเทศไทยได้ 2) เรียกตรวจใบขึ้นทะเบียนสถานทูต ใบ Health Quarantine 14 วัน และใบรับรองแพทย์ที่ตรวจ ระยะเวลาไม่เกิน 48 ช่ัวโมง ของผโู้ ดยสารทกุ รายก่อนข้ึนเครอ่ื ง หากเอกสารไม่ครบ หรือมีอาการ ไข้ (อณุ หภมู ิมากกว่า 37.5 องศาเซลเซยี ส) ใหป้ ฏิเสธการขึ้นเครือ่ ง 3) ดำเนินการตรวจ Exit Screening โดยวัดอุณหภูมิ และสังเกตอาการ โดยจะต้องไม่มีลักษณะ อุณหภูมิเกิน 37.5 องศาเซลเซียส และมีอาการไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจ เหนอื่ ย หรอื หายใจลำบาก 4) เมื่อมาถึงไทย ดำเนินการตรวจคัดกรองในช่องทางเฉพาะที่ได้จัดไว้ และตรวจวัดอุณหภูมิกายโดยใช้ เทอรโ์ มสแกนทุกราย หากพบความผิดปกติ เชน่ มอี ณุ หภมู กิ าย ≥ 37.5 องศาเซลเซยี ส หรือมีอาการ ระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ มีน้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบ ให้เข้าสู่ระบบการตรวจคัดกรอง และ วนิ จิ ฉยั สง่ ตอ่ ไปรบั การดแู ลทโ่ี รงพยาบาลคสู่ ญั ญา ไดแ้ ก่โรงพยาบาลการณุ เวช ปทมุ ธานี 5) ในกรณีที่ไม่มีไข้ และไม่มีอาการไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือ หายใจลำบากจะมีลำเลียงผู้โดยสารไปยัง Chi villa ซึ่งกำหนดเป็นสถานที่กักกันผูเ้ ดินทางมาจาก พืน้ ท่เี สีย่ งตอ่ การสัมผัสโรค 6) เมื่อมาถึง Chi villa ทใ่ี ชเ้ ปน็ สถานทีก่ ักกัน รปู แบบเฉพาะองค์กร (Organizational Quarantine) จะมีการลงทะเบียน รับกุญแจห้อง พร้อมถึงสื่อสารแนวทางการปฏิบัติตัวขณะกักกันโรค การให้ ข้อมูลและการสมัครไลน์แอด เพือ่ การสื่อสารระหวา่ เจ้าหนา้ ท่ีและผ้เู ข้าพัก เหตุผลในการกั้นพื้นที่ เข้าพัก และข้อจำกัดในการพักอยู่แต่ในห้องพักเท่านั้น รวมถึงการจัดทำคู่มือการปฏิบัติเพื่อให้ ข้อมูลต่างๆระหว่างพักในโรงแรม เช่น เครื่องนอน การปูที่นอน การบรรจุเครื่องนอนที่ใช้แล้วใน ภาชนะเวลารบั ประทานอาหาร การซกั และตากผ้า เป็นต้น ขน้ั ตอนการขออนญุ าตดำเนินการ Organizational Quarantine 1. หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวทาง (1) แนวทางการจัดตั้งและดำเนินการ Organizational Quarantine และ (2) แนวทางบริหารจัดการสถานที่กักกันซึ่งทางราชการกำหนด (Quarantine Facility) 2. หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ เป็นผู้จัดหาสถานที่กักกันตัวและโรงพยาบาลคู่ปฏิบัติการ(โรงพยาบาล ภาครัฐหรือภาคเอกชนก็ได้) ที่รับผิดชอบดูแลด้านสุขภาพและการควบคุมโรคภายใต้รูปแบบสัญญา หรอื บันทกึ ขอ้ ตกลงรว่ มมอื (MOU) หรอื เอกสารทางการท่ีระบุรายละเอียดของความร่วมมอื นัน้ 3. หน่วยงานหรือองค์กร ยื่นเรื่องขอรับการตรวจสอบการจัดตั้งและดำเนินการ Organizational Quarantine มายังอธิบดีกรมควบคุมโรค ในฐานะเลขานุการ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ซึ่งมี

คณะทำงานด้านวิชาการ สำหรับการตรวจสอบเอกสารและมาตรการของสถานที่กกั กันรูปแบบเฉพาะ องค์กร ก่อนถึงวันเปิดใช้งาน Organizational Quarantine อย่างน้อย 14 วันทำการ พร้อมทั้งแนบ เอกสารหลักฐานประกอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1. เอกสารทางราชการที่ยืนยงั ได้ว่า หน่วยงานหรือองค์กรเป็นหน่วยงานหรือองค์กรที่ได้รับอนุญาต ใหด้ ำเนนิ ภารกจิ น้ันๆ อย่างถกู ต้องตามกฎหมาย 3.2. แนวทางการปฏิบัติ (SOP) ในการดำเนินการระหว่างกักกันที่จัดทำร่วมกันโดยหน่วยงานที่ทำ สญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงร่วม และมาตรการควรจะตอ้ งระบุถงึ องค์ประกอบต่างๆ ดงั น้ี 3.2.1. ทพี่ กั และลักษณะของท่พี ัก 3.2.2. แนวทางการจดั การด้านอาหารและนำ้ /สถานที่ประกอบอาหาร 3.2.3. หอ้ งนำ้ และพ้นื ทอ่ี าบนำ้ 3.2.4. การทำความสะอาดพ้นื ที่ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 3.2.5. การจดั การอนามัยสิง่ แวดล้อม การบำบัดนำ้ เสีย และการจดั การขยะตดิ เชอ้ื 3.2.6. การจัดพื้นที่และกระบวนการสำหรับทำกิจกรรม (รูปแบบเฉพาะองค์กรนั้นๆ) ที่ปลอดภัย ในการควบคุมและป้องกันโรค รวมถึงมาตรการระดับบคุ คล 3.2.7. ในกรณีที่ นอนพัก หรือมีกิจกรรมรว่ มกนั มากกว่า 1 คน ต้องแสดงเอกสารลงนามยินยอม รับความเสยี่ งประกอบดว้ ย 3.2.8. แนวทางการดำเนินการด้านการแพทย์ ที่จะเข้าไปให้การดูแล พร้อมบันทึกข้อตกลงร่วม (ถ้าม)ี 3.3. กรณีที่ระหว่างการกักกัน จะให้ผู้ถูกกักกันมีการปฏิบัติงาน การประชุมหรือลงนามในสัญญาทาง ธุรกจิ ใหอ้ ธิบายรายละเอยี ดแนวทางดังกลา่ ว ใหเ้ จ้าพนกั งานควบคุมโรคติดต่อทราบ เพื่อร่วมใน การกำหนดแนวทาง วิธกี าร 3.4. รูปถ่ายของสถานที่ อุปกรณ์ และกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสื่อให้เห็นรายละเอียดของ ขั้นตอน และกระบวนการในการดำเนินการ เช่น ห้องพักเครื่องปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ การซกั ผ้า การเกบ็ ขยะและสง่ิ ปฏิกลู เปน็ ต้น 3.5. หลักฐานสญั ญาหรือบันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงานองค์กรน้ันๆ กับโรงแรมและโรงพยาบาลรัฐ หรือเอกชน ที่รับผิดชอบการดำเนินการ Organizational Quarantine ร่วมกันในส่วนการ สนับสนุนด้านการแพทย์และการป้องกันควบคุมโรค โดยมี SOP ท่ีระบุให้เห็นถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และกิจกรรมที่หน่วยงานด้านการแพทย์จะดำเนินการให้กับ Organizational Quarantine นนั้ ๆ ตามข้อกำหนดในแนวทางของกรมควบคมุ โรค 4. เจ้าพนักงานโรคติดต่อและหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ออกตรวจประเมินในสถานทีจ่ ริงก่อนที่จะอนญุ าตให้ หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ ดำเนินการ ตามแนวทางที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติเป็นผู้กำหนด โดยอาศยั อำนาจตามพระราชบัญญัติโรคตดิ ตอ่ พ.ศ.2558 มาตรา 34

5. คณะกรรมการโรคติดตอ่ แห่งชาติ หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั กำหนดมอบหมายเจ้าพนักงาน โรคติดต่อเพื่อรับผิดชอบในแต่ละ Organizational Quarantine ในการให้คำแนะนำ ตรวจสอบและ ประเมนิ คณุ ภาพการดำเนนิ การ 6. หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ จะดำเนินการได้ภายหลังได้รับคำสั่งอนุญาตจากคณะกรรมการโรคติดต่อ แห่งชาติ หรอื คณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั /คณะกรรมการโรคติดตอ่ กรงุ เทพมหานคร แนวทางการจัดต้ัง Organizational Quarantine 1. หน่วยงานหรือองค์กร เป็นผู้รับผิดชอบจัดหาสถานที่พักและโรงพยาบาลคู่ปฏิบัติการทั้งภาครัฐหรือ ภาคเอกชน ในการให้การดูแลผู้ถูกกักกนั หรอื คมุ ไว้สงั เกต โดยครอบคลมุ การดูแลด้านเจ็บป่วยทั้งทาง กายและทางจติ โรคเรือ้ รงั และภาวะเจ็บปว่ ยฉกุ เฉิน 2. ดำเนินการในหลักการเดยี วกบั Alternative (National & Local) State Quarantine 3. ใช้ระบบการเฝ้าระวัง อาการ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่นเดียวกับ State Quarantine ทั้งนี้ ให้พิจารณาเปน็ กรณีตามคำสั่งศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา (โค วดิ -19) ที่ 7/2563 เรือ่ งแนวปฏบิ ตั ติ ามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกำหนดการ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2558 (ฉบับที่ 6) หรอื ฉลบั ล่าสุด (ถา้ ม)ี 4. หน่วยงานหรือองค์กรนั้นๆ เป็นผู้รับผิดชอบการเดินทางระหว่างช่องทางเข้าออก (ทั้งด่านท่าอากาศ ยาน ดา่ นพรมแดน และด่านท่าเรื่อ) และสถานท่ีกักกันทั้งขาไปและขากลับ ให้ตรงตามหลักการในการ ควบคุมและป้องกนั โรคตดิ ตอ่ 5. ใหห้ น่วยงานหรือองค์กรทดี่ ำเนนิ การ Organizational Quarantine น้นั ๆ รบั ผิดชอบสง่ รายงานข้อมูล ประจำวันของผู้ถูกกักรายบุคคลทางระบบการรายงานมายังกรมควบคุมโรค ตามรูปแบบข้อมูลท่ี คณะกรรมการโรคตดิ ต่อแหง่ ชาติ หรือคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั กำหนด 6. Organizational Quarantine ทุกแห่ง ต้องพร้อมรับการตรวจประเมินจากเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดระยะเวลาการดำเนินการ ตามแนวทางที่คณะกรรมการ โรคตดิ ต่อแหง่ ชาตเิ ปน็ ผกู้ ำหนด โดยอาศยั อำนาจตามพระราชบัญญัติโรคตดิ ตอ่ พ.ศ.2558 มาตรา 34 7. รายละเอียดการดำเนินการให้อ้างอิงตาม “แนวทางการบริหารจัดการสถานที่กักกันซึ่งทางราชการ กำหนด (Quarantine)” ที่ประกาศโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ 8. กรณีที่มหี ้องพักจำนวนจำกัดและไมส่ ามารถดำเนนิ การแยกกักกนั ห้องละ 1 คน การกักกันรวมกันห้อง ละมากกว่า 1 คนอาจเกิดความเสี่ยงของการติดเชื้อระหว่างผู้เข้ากักกันได้ ซึ่งกรณีนี้ ถือเป็นความ รับผิดชอบของหน่วยงานหรือองค์กรโดยตรง ทั้งนี้ การจัดระบบตอ้ งผ่านการพจิ ารราจากเจา้ พนักงาน ควบคมุ โรคติดต่อในพ้ืนท่ี และดำเนินการมาตรการเสรมิ อย่างเครง่ ครดั ขอ้ มลู ทัว่ ไป 1.บริษัท เอ็ม.ซี.เอส. สตีล จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายโครงสร้างเหล็กช้ันนำในประเทศไทย ก่อตั้ง ขึ้นในปี 1992 เรามีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 30 ปีในการผลิตโครงสร้างเหล็กของอาคารตึกสูง

โรงไฟฟ้า และงานเหล็กทัว่ ไป มีอุปกรณ์การผลติ ที่มีความทันสมยั มีมาตรฐานระดับสูง เราสามารถส่งออกงาน โครงสร้างเหล็กสำหรับโครงการตา่ งๆ ได้ทัว่ โลก ส่วนใหญ่จะมีงานในประเทศญ่ีปุน่ สถานทตี่ ั้ง 70 หมู่ 2 ต.ช้าง ใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 13290, ประเทศไทยมีการติดต่อประสานงานร่วมกันบรษิ ัทเครือข่ายใน ต่างประเทศ เช่น ญ่ีปุ่น จีน ในการออกแบบ การผลิต และการส่งออก รวมถึงมีการเดินทางเพื่อตรวจชิ้นงาน ก่อนการส่งออก 2.สถานที่พกั ที่จดั ไว้สำหรบั กกั กนั เพ่ือสังเกตอาการผูเ้ ดนิ ทาง คอื Chi villa ต.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 3.โรงพยาบาลคสู่ ญั ญาท่ดี แู ล คือ โรงพยาบาลการณุ เวช ปทมุ ธานี 4.ภายในมรี ะบบรักษาความปลอดภยั และการบันทึกกล้องวงจรปิดครอบคลมุ ทุกพืน้ ที่ สามารถดูกล้องวงจรได้จาก ห้องควบคมุ 5.ระบบการกำจัดขยะ ดูแลโดยโรงพยาบาลการุณเวช ปทุมธานี จะเป็นผู้ขนย้ายขยะติดเชื้อจากบริษัทไป ทำลายทกุ สัปดาห์ (ยังไม่ไดร้ ะบวุ ันท่แี นน่ อน) 6.การทำความสะอาดหอ้ งพกั ทำหลงั การการเขา้ พักวันที่ 3 และผลการตรวจโควดิ เป็นลบแลว้ เท่าน้ัน 7.การทำความสะอาดพ้ืนที่สว่ นกลาง กำหนดให้มีการทำความสะอาดบริเวณโถงทางเดินทุกคร้ังหลังการใช้งาน และจำกัดรอบการใช้พื้นทีส่ ่วนกลางเชน่ ห้องประชุมครั้งละไม่เกิน 4 ท่าน โดยห้ามรับประทานอาหารระหวา่ ง การประชมุ 8.กิจกรรมระหว่างการกักตัวคือ การประชุม และ การตรวจงานที่บริเวณที่จัดไว้พิเศษ ไม่มีผู้ไม่กี่ยวข้อง ลกั ษณะเป็นพน้ื ท่ีเปดิ โลง่ อยหู่ า่ งจากสถานที่พัก 500 เมตร 9.มีการอบรมให้ความรู้ผู้ปฏิบัติงานเรื่องการใส่ - ถอด ชุดป้องกันร่างกายส่วนบคุ คล การทำความสะอาด การ จดั การผา้ เป้ือน การจดั การขยะและของเสีย จากโรงพยาบาลคูส่ ญั ญา

รายงานการประเมนิ ความพรอ้ มการจดั ตง้ั บรษิ ทั เอ็ม เอส ซี สตลิ จำกดั (MSC Steel Public Company Limited) โดยขน้ึ ทะเบยี นในรูปแบบสถานทกี่ ักกนั ฯ ในรปู แบบเฉพาะองคก์ ร พื้นท/่ี ระบบการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู /ประเดน็ ปญั หาทีพ่ บ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแกไ้ ข 1.การขนสง่ ผเู้ ดินทางจากทา่ ควรมกี ารประเมินและติดตามการ อากาศยาน มายงั พนื้ ท่ี OQ เมือ่ ทางบริษทั ทราบกำหนดการเดินทาง ปฏบิ ัตขิ องบริษัทเร่ืองการป้องกนั การ 2.การคดั กรองและการรบั ผเู้ ดนิ ทางเขา้ อาคารทพ่ี กั (Chi Villa) ของผูเ้ ข้าพัก จะทำการประสานไปยงั ติดเช้อื การใชเ้ คร่ืองป้องกันร่างกาย บรษิ ทั รถรับส่งเพอ่ื เตรยี มการรับผู้ ส่วนบุคคล การทำความสะอาด เดนิ ทางจากท่าอากาศยานสวุ รรณภูมิ พาหนะหลงั การใช้งาน เพอื่ ป้องกัน การตดิ เช้ือการแพร่กระจายเชอื้ หลงั จากท่มี ผี ปู้ ระสานงานรับผู้เดินทางมา การเลอื กใช้เครอื่ งปอ้ งกันรา่ งกายสว่ น จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิแลว้ จะมี บคุ คล การประสานงานมาแจง้ ยัง Chi villa เพ่ือ -ใหเ้ ลือกใช้ตามความเหมาะสมของ เตรยี มการรับผ้เู ดินทางทม่ี ากับรถตู้จาก กิจกรรม เชน่ กิจกรรมท่ีไม่มีการสัมผัส บริษทั ขนสง่ เอกชน ที่ผา่ นการอบรมตาม สิ่งคัดหลงั่ หรอื มีความเสี่ยงในการ มาตรฐาน ทำการเหยียบผา้ ชุบน้ำยา ปนเปื้อนต่ำ อาจไมจ่ ำเปน็ ต้องสวมใส่ ทำลายเชอ้ื ก่อนเดินเข้าบริเวณท่ีพัก shoe cover หรอื รองเท้าบู๊ต - เจา้ หนา้ ท่ี Villa แตง่ ชุดป้องกนั รา่ งกาย -ควรมีการฝกึ ทักษะการใส่-ถอด พร้อม สว่ นบคุ คลไดแ้ ก่ ชุด Cover all ,N95 , ทั้งติดโปสเตอร์ขั้นตอนการใส่ – ถอด ถงุ มือยาง 2 ช้ัน ,face shield ,รองเท้า ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ าน บตู๊ ทำหน้าทร่ี บั กระเป๋ามาทำความ -การคัดกรองที่เดิมมเี พียงการคัดกรอง สะอาดดว้ ยผา้ ชบุ นำ้ ยาฆ่าเชอ้ื และทำ อุณหภูมิ ควรมีการซักถาม หรือสังเกต การสง่ ให้ผู้เดนิ ทางถอื เข้าห้องด้วยตนเอง อาการผิดปกติอื่น ๆ เช่นไอ น้ำมูก - เจ้าหนา้ ท่พี ยาบาลประจำวลิ ล่า ใส่ชุด หน้าแดง อ่อนเพลีย ป้องกันรา่ งกายสว่ นบคุ คลไดแ้ ก่ หนา้ กาก อนามัย , เสื้อกาวน์ ,ถงุ คลุมรองเท้า ,face shield , ถุงมอื ทำหนา้ ทีป่ ระเมิน

พนื้ ท/ี่ ระบบการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู /ประเดน็ ปญั หาท่ีพบ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแกไ้ ข 1.การขนสง่ ผเู้ ดนิ ทางจากทา่ อากาศยาน มายงั พนื้ ที่ OQ ควรมกี ารประเมนิ และติดตามการ 3.หอ้ งพักและบรเิ วณทีพ่ กั เม่ือทางบริษัททราบกำหนดการเดนิ ทาง ปฏบิ ัตขิ องบริษัทเร่ืองการป้องกนั การ ของผ้เู ข้าพัก จะทำการประสานไปยงั ตดิ เชื้อ การใช้เครื่องป้องกนั ร่างกาย บริษทั รถรับสง่ เพื่อเตรยี มการรบั ผู้ สว่ นบุคคล การทำความสะอาด เดนิ ทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ พาหนะหลังการใชง้ าน เพือ่ ป้องกนั การติดเช้อื การแพรก่ ระจายเชอ้ื อณุ หภมู ริ ่างกาย ซักประวัตแิ ละอาการ เจ็บป่วย แนะนำสถานท่ี และนำส่งผู้ เดินทางไปยังหอ้ งพัก มีการเตรยี มพ้ืนท่ี และการกัน้ พื้นท่ีอย่าง -วัสดุและเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องพัก ชดั เจนไม่ให้บุคคลภายนอกเข้ามาในพนื้ ท่ี หลายอย่างเป็นวัสดุที่ทำความสะอาด -มกี ารวางจดุ นำ้ ยาล้างมอื อยา่ งเหมาะสม ได้ยาก เช่น ตระกร้าสานสำหรับใส่ผ้า -ห้องพักเปน็ ห้องเดี่ยวมกี ารจัดอปุ กรณท์ ี่ เปื้อน โต๊ะกลางที่มีร่อง ยากต่อการทำ จำเปน็ ไวใ้ ห้เพียงพอ ความสะอาดแนะนำให้มีการเปลี่ยน -การระบายอากาศในห้องพักเปน็ แบบ หรือมีการใช้พลาสติกหุ้มเพื่อให้ เคร่ืองปรับอากาศแยกส่วน มรี ะบบดูด สามารถทำความสะอาดได้งา่ ย อากาศบรเิ วณหน้าห้องนำ้ - รีโมททีวี และเครื่องปรับอากาศ ควร ใช้ซองพลาสติกหุ้มเพื่อให้ง่ายต่อการ ทำความสะอาดเนื่องจากเป็นจุดที่มี การสัมผัสบ่อย และทำความสะอาดได้ ยาก - ถุงรองรับขยะติดเชื้อควรเป็นสีแดง เพอื่ ใหส้ ามารถแยกได้ชัดเจน ไมป่ ะปน กบั ขยะอ่ืน ๆ

พนื้ ท/ี่ ระบบการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู /ประเดน็ ปญั หาท่พี บ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแกไ้ ข ควรมีการประเมินและติดตามการ เมอื่ ทางบริษทั ทราบกำหนดการเดนิ ทาง ปฏิบตั ิของบริษทั เร่ืองการป้องกนั การ 1.การขนสง่ ผเู้ ดินทางจากทา่ ของผูเ้ ข้าพัก จะทำการประสานไปยัง ติดเชอ้ื การใช้เคร่ืองป้องกนั ร่างกาย อากาศยาน มายงั พน้ื ท่ี OQ บริษทั รถรับส่งเพอ่ื เตรยี มการรบั ผู้ ส่วนบุคคล การทำความสะอาด เดินทางจากทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ พาหนะหลังการใช้งาน เพือ่ ป้องกนั การตดิ เชือ้ การแพร่กระจายเชอ้ื 4. การทำความสะอาดพน้ื ทห่ี ลงั การเลือกใช้ การใส่ และถอดเคร่อื ง -ควรมีการอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ การใชง้ าน ปอ้ งกันรา่ งกายส่วนบุคคลของเจา้ หน้าที่ เครือ่ งปอ้ งกนั รา่ งกายส่วนบคุ คล -การใชผ้ ้าชุบนำ้ ยาทำลายเช้ือควร - มกี ารกำหนดให้มกี ารทำความสะอาด สเปรย์ลงบนผา้ แหง้ เพื่อให้การทำลาย ด้วยน้ำยาทำลายเชอ้ื โดยเจ้าหนา้ ที่ เชอ้ื ของน้ำยาเกิดประสิทธภิ าพ ประจำวลิ ลา่ โดยให้สวมชุดป้องกัน -ควรมกี ารจัดอุปกรณ์ทีเ่ พียงพอ พร้อม ร่างกายไดแ้ ก่ หน้ากาก N95 Cover all ต่อการใช้งาน เช่น น้ำยาล้างมือ ถุง , Face shield ,shoe cover ,ถงุ มอื ขยะ หน้ากากอนามัย และวางไว้เท่าที่ รองเท้าบู๊ต จำเปน็ จากนั้นจะทำการนำขยะไปทิ้งที่จุดพัดก -ควรติดโปสเตอร์ หรือขนั้ ตอนการถอด ขยะ ถอดชุดป้องกันร่างกายส่วนบุคคล ชุดป้องกันรา่ งกายให้สามารถใช้งานได้ หน้าห้องก่อนลงไปอาบน้ำทำความ ง่าย สะอาดรา่ งกาย - กรณีพบว่าผู้เข้าพักมีการติดเชื้อต้อง มีการทำความสะอาดแผงกองอากาศ ของเครื่องปรับอากาศโดยเจ้าหน้าที่ ชา่ ง 5.หอ้ งประชมุ และพนื้ ท่ี มีการจัดพื้นที่สำหรับการประชุมปรึกษา -เครื่องประดับตกแต่งควรเป็นวัสดุที่ สว่ นกลาง และการตรวจชิ้นงาน ขนาดพื้นที่ ทำความสะอาดได้ง่าย หรือจัดวางให้ ประมาณ 40 ตารางเมตร มีระบบการ น้อยที่สุด เพื่อความสะดวกต่อการทำ ความสะอาด

พื้นท/่ี ระบบการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู /ประเดน็ ปญั หาทีพ่ บ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแก้ไข 1.การขนสง่ ผเู้ ดินทางจากทา่ อากาศยาน มายงั พน้ื ที่ OQ ควรมกี ารประเมินและติดตามการ เอกสารอา้ งองิ เมื่อทางบรษิ ัททราบกำหนดการเดนิ ทาง ปฏิบตั ขิ องบริษัทเรื่องการป้องกันการ ของผู้เข้าพัก จะทำการประสานไปยัง ติดเช้ือ การใช้เคร่ืองป้องกันร่างกาย บริษทั รถรบั ส่งเพือ่ เตรียมการรบั ผู้ สว่ นบคุ คล การทำความสะอาด เดินทางจากทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ พาหนะหลงั การใช้งาน เพอ่ื ป้องกนั การตดิ เชอื้ การแพรก่ ระจายเชอ้ื ปรับอากาศ และระบายอากาศในห้อง และห้องนำ้ -มีการกำหนดมาตรการห้ามการ รับประทานอาหารภายในห้องประชุม หากมีการรับประทานอาหารต้องไปทาน ในห้องพักทกุ คร้งั -การทำความสะอาดพื้นที่จะทำทุกคร้ัง หลงั การใชง้ านโดยเจ้าหนา้ ทีป่ ระจำวิลลา่ กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิ การวนิ จิ ฉยั ดแู ลรกั ษา และปอ้ งกนั การติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล กรณโี รคติด เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรบั แพทยแ์ ละบุคลากรสาธารณสขุ ฉบบั ปรบั ปรงุ วนั ที่ 18 ตลุ าคม พ.ศ.2563. คณะทำงานสถานทีก่ ักกัน ผา่ นสำนกั งานเลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติและสำนักงาน ประสานงานกลาง ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์โควิด 19 (ศบค.) กรมควบคุมโรค. แนวทางการดำเนนิ การ สถานท่ีกักกนั รปู แบบเฉพาะองคก์ ร (Organizational Quarantine). ฉบับวนั ที่ 8 กันยายน 2563 รูปภาพการลงพน้ื ที่เตรยี มความพรอ้ ม จดั ทำพ้ืนทส่ี ถานทกี่ กั กนั รปู แบบเฉพาะองคก์ ร (Organizational Quarantine)



ภารกจิ รับคนไทยท่อี นิ เดีย วันท่ี 24 เมษายน 2564

รายงาน ภารกิจรบั คนไทยท่ีอินเดียจานวน 6 คนผลตรวจ COVID-19 Detected ทงั้ หมด แบ่ง zone สะอาด ปนเป้ือน และสกปรก Zone ท่ี 1 ดา้ นหน้ามนี กั บนิ และช่างทงั้ หมดทไ่ี มป่ นเป้ือน Zone ที่ 2 เป็น Zone ปนเป้ือน สาหรบั ทน่ี งั่ เจา้ หน้าท่ี ใชพ้ ลาสตกิ กนั้ ทงั้ สองดา้ นมหี อ้ งน้ากนั้ กลาง Zone ที่ 3 เป็น Zone สกปรกเป็นทน่ี งั่ สาหรบั ผปู้ ่วยทงั้ 6 คน เบาะสองแถวดา้ นหลงั พบั วาง isolation chamber เพ่อื ไวส้ าหรบั รองรบั ผปู้ ่วยหนกั ระบบการหมนุ เวียนของอากาศภายในเคร่ืองบิน อากาศจะพน่ ลงทน่ี งั่ ทางเดนิ และลงล่างผ่านไป ทบ่ี รเิ วณทน่ี งั่ รมิ หน้าต่างและออกคาโกป้ ลอ่ ยออกไปภายนอกตวั เครอ่ื ง Zone สกปรก จาลองท่ีนัง่ บนเครอ่ื งบิน Zone สะอาด นกั บิน Zone ปนเปื้อน อ ผ้ปู ่ วย เจ้าหน้าท่ี ห้องนา้

อปุ กรณ์ทางการแพทย์ ประกอบดว้ ย SET emergency น้าเกลอื เครอ่ื งช่วยหายใจ เครอ่ื งวดั ความดนั เครอ่ื งวดั ความเขม้ ขน้ ของเลอื ด ปรอทวดั ไข้ ยา emergency อุปกรณ์ให้ Oxygen Tank O2 การสวมชดุ อปุ กรณ์ป้องกนั ร่างกาย ชดุ PAPR 3 ชดุ สาหรบั แพทย์ 2 คน พยาบาล 1 คน นอกนนั้ ใส่ PPE ดงั น้ี N 95, leg cover, cover all, face shield, gloves ขนั้ ตอน เมอ่ื ถงึ สนามบนิ นิวเดลี แพทยท์ งั้ สองคน และพยาบาลไปประเมนิ อาการเบอ้ื งตน้ พยาบาลเปิดเสน้ ไวเ้ ผอ่ื ฉุกเฉิน เน่อื งจากผปู้ ่วยค่อนขา้ งอ่อนเพลยี เวลามี Activity จะเหน่อื ย เมอ่ื ประเมนิ เบอ้ื งตน้ แลว้ ใหย้ าแก้ ไอ Ropect 1 เมด็ และนาขน้ึ เครอ่ื งเป็นคนแรก ให้เปลย่ี น Surgical Mask และลา้ งมอื ก่อน ผู้ป่วยไม่ขอนอน ใหน้ ัง่ เอนหลงั และ On O2 cannula ไว้ จากนัน้ นาสมั ภาระกระเป๋ าผู้ป่ วยทงั้ หมด 6 คนเชด็ ทาความสะอาด ก่อนขน้ึ เคร่อื ง และใหผ้ ปู้ ่ วยทุกคนลา้ งมอื และเปลย่ี น Surgical Mask ใหม่ ใส่ Face shield และลา้ งมอื อกี ครงั้ ก่อนขน้ึ เครอ่ื ง ผตู้ ดิ เชอ้ื 5 คนไมม่ อี าการจงึ จดั ใหน้ งั่ รมิ หน้าต่างแถวละคน ระหว่างนงั่ ในเครอ่ื งใหใ้ ส่ Surgical Mask และ Face shield ตลอดเวลา งดให้บรกิ ารอาหารและเคร่อื งด่มื ทุกชนิด จดั ห้องน้าให้เข้าด้านหลงั เครอ่ื ง 1 หอ้ ง ระหว่างทางไมม่ ี Emergency ใด ๆ เมอ่ื ถงึ เมอื งไทย รถพยาบาลมารบั ใหผ้ ปู้ ่วยทม่ี อี าการเดนิ ลงคนแรก และตามดว้ ยผทู้ ไ่ี ม่มอี าการ ทงั้ 5 คน เมอ่ื ภารกจิ เสรจ็ ทุกคนจะไปถอดชดุ PPE บรเิ วณมมุ ลานบนิ ทจ่ี ดั พน้ื ทไ่ี ว้ ในระหว่างปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ไมม่ ี breaking technique กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค Division of International Disease Control Ports and Quarantine Management (ICPQ)

รายงานผลการลงพน้ื ที่โรงแรมไมดา้ เพ่อื พจิ ารณาจัดตง้ั เปน็ โรงพยาบาลเฉพาะกิจ (Hospitel) ในการเตรยี มความพรอ้ ม กรณรี บั ผปู้ ว่ ย COVID-19 ปงี บประมาณ 2564 กรมควบคมุ โรค

รายงานผลการลงพนื้ ทโี่ รงแรมไมดา้ เพอื่ พจิ ารณาจดั ตั้งเปน็ โรงพยาบาลเฉพาะกจิ (Hospitel) ในการเตรยี มความพรอ้ ม กรณีรบั ผปู้ ว่ ย COVID-19 1. รายชอื่ ผเู้ ขา้ รว่ มลงพนื้ ที่ บรุ ีวงษ์ กองด่านควบคุมโรคตดิ ต่อระหว่างประเทศและกกั กันโรค 1. นายแพทย์รัฐพงษ์ เทียนทอง กองด่านควบคมุ โรคติดต่อระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค 2. นางวราภรณ์ แจม่ ศักดิ์ กองด่านควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค 3. นางสาวเออ้ื ใจ รุจิทพิ ย์ กองด่านควบคุมโรคติดตอ่ ระหว่างประเทศและกกั กันโรค 4. นางสาวจติ รลดา 2. สถานท:ี่ โรงแรมไมด้า จงั หวัดนนทบุรี 3. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ประเมินความพร้อมของพ้ืนที่ท้ังทางด้านกายภาพและวิศกรรมความปลอดภยั บคุ ลากร สิง่ แวดล้อมและสังคม ท้ัง 11 หมวดกจิ กรรม คือ 1.1) ทพ่ี ัก และลักษณะของท่พี ัก ระบบการระบายอากาศภายในห้องพัก 1.2) แนวทางการจดั การด้านอาหารและนำ้ /สถานทป่ี ระกอบอาหาร 1.3) ห้องน้ำ และการระบายอากาศ 1.4) การทาํ ความสะอาดพ้นื ที่ท่เี กี่ยวข้อง 1.5) การจดั การอนามัยสงิ่ แวดล้อม การบําบัดน้ำเสีย และการจดั การขยะตดิ เชอื้ 1.6) การจัดพืน้ ทีแ่ ละกระบวนการสําหรับทํากิจกรรม (เช่น การลา้ งรถพยาบาล) ท่ปี ลอดภัยในการ ควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชอื้ โรค รวมถึงการใช้มาตรการระดบั บคุ คล 1.7) แนวทางการปฏิบัติ (SOP) การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลเฉพาะกิจตามมาตรฐาน กรมควบคุมโรค 1.8) แนวทางการปฏบิ ัติ (SOP) การรกั ษาพยาบาลในโรงพยาบาลเฉพาะกิจตามมาตรฐานกรมการแพทย์ 1.9) แนวทางการปฏบิ ัติ (SOP) การเกบ็ สง่ิ สง่ ตรวจ เช่น การถ่ายภาพรงั สที รวงอก (ถา้ ม)ี 1.10) แนวทางการปฏิบตั ิ (SOP) การสวม ใส่-ถอด อุปกรณป์ อ้ งกนั ร่างกายส่วนบคุ คล 1.11) แนวทางการดาํ เนินการด้านการแพทยท์ ี่จะเขา้ ไปให้การดูแลผ้ปู ว่ ยในโรงพยาบาลเฉพาะกิจ 1.12) แนวทางและบันทึกยินยอมให้เปิดบรกิ ารโรงพยาบาลเฉพาะกิจ พร้อมบันทึกข้อตกลงร่วม 1.13) แนวทางการจัดการการเดนิ ทางและยานพาหนะ 2. ให้คำแนะนำและเปน็ ท่ีปรึกษา ในการจดั ตั้ง โรงพยาบาลเฉพาะกจิ ทใี่ ชด้ ูแลรกั ษาผูป้ ่วยติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3. เพื่อแนะนำแนวทางในการวางแผน จัดเตรียมหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ (Hospitel) สําหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ทไี่ ม่มีอาการหรือมีอาการเลก็ น้อย 4. วางแผนการใช้พื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมการดำเนินด้านการให้บริการผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) 4. ขอ้ มลู ทวั่ ไป โรงแรม MIDA เปน็ ตกึ สงู 8 ช้ันและ Roof Top 1 ช้ัน มีจำนวนห้องพักท้งั หมด 138 หอ้ ง มีรายละเอยี ดแต่ละ ชัน้ ดังนี้ ช้นั 1 เปน็ ลานจอดรถ เปน็ พ้นื ที่ลาด เพดานต่ำ สูงไมเ่ กิน 1.65-1.90 เซนติเมตร ชั้น 2 เป็น Lobby หอ้ งอาหาร มีห้องประชมุ ด้านหลัง 1 หอ้ ง (ระเบียงทางเดินอยู่ตดิ สระว่ายน้ำ โดยมีกระจกใสกัน้ ) ชั้น 3 เปน็ Office พนักงานโรงแรม ทั้งซา้ ยและขวา มที างเขา้ ตรงบนั ใดหนีไฟด้านหลัง มีห้องพัก 13 ห้อง อยู่ ตรงกลางชั้น ชั้น 4 มีห้องพัก 17 ห้อง มีหอ้ งประชุมอยู่ปีกดา้ นซ้าย 2 หอ้ ง ชั้น 5-8 มีห้องพักชั้นละ 27 ห้อง เป็นห้องประเภท Delux 5 ห้อง ห้องประเภท Sweet 4 ห้อง และห้อง ประเภท Superior 4 ห้อง มพี ื้นท่ขี องโรงแรมด้านหน่ึง ตดิ กับคอนโดที่พักอาศัยเอกชน ปีกด้านหนึ่ง ติดกับโรงงานนำ้ อดั ลม โดยตลอดทางเดนิ ระหว่างหอ้ งทกุ ชัน้ มีการปูพรมซ่งึ ลำบากต่อการทำความสะอาด ยกเว้นช้ัน 3 ปพู ื้นผิวเรียบ ภายในห้องพักแตล่ ะห้องปูพื้นดว้ ยวสั ดทุ ่ีทำความสะอาดงา่ ย มีแอรเ์ ป็นแบบ split type สามารถถอดตัวกรองมาทำ ความสะอาดได้ ห้องนำ้ มี Exhaust air อากาศภายในหอ้ งพักแตล่ ะห้องจะถกู ดูดออกไปรวมในทอ่ กลางใหญ่ขึน้ ไป ปล่อยท่ชี ้ัน Roof Top และปลอ่ ยออกนอกอาคารโดยเป็นการดดู ออกจากพัดลมในแตล่ ะห้อง ไม่ไดม้ ีการดูดทป่ี ลายท่อ แตล่ ะช้ันมกี ล้องวงจรปิด 2 ตัว โดยหอ้ งควบคุมจะอยู่ทช่ี ้นั 3 ปีกทางขวามือ 5. ขอ้ สงั เกต/ประเดน็ ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ: ประเด็นทพี่ บ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ พ้นื ท่ขี องโรงแรมดา้ นหนึง่ ตดิ กับ คอนโดที่พกั อาศัยอกี ดา้ นหน่ึงตดิ กบั ต้องทำประชาวจิ ารณ์เพ่ือใหผ้ ู้ทีอ่ าศัย ประมาณ 1 สปั ดาห์ (อยู่ โรงงานน้ำอดั ลม บรเิ วณใกล้เคยี งเหน็ ดว้ ยกบั สิ่งท่ีจะ ระหว่างดำเนนิ การสง่ เร่ืองหารอื ดำเนนิ การ เพราะมีการใช้พื้นท่ี และ ให้กบั นติ ิบุคคลของคอนโด กจิ กรรมบางอยา่ งร่วมกัน เชน่ ถนน แมกซ์) ทางเดิน เขา้ -ออก ร่วมกัน สระว่าย นำ้ (ขณะน้ปี ิดบรกิ าร)

ประเดน็ ทพ่ี บ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ พ้ืนท่ีจอดรถ ต้องมีการจัดเตรยี มพ้นื ท่ีไว้สำหรับ -1-2 วนั - รถตูพ้ ยาบาล รถพยาบาล ด้านนอก เน่ืองจากรถตู้ (เพราะตอ้ งมีการสอนพนักงาน - รถส่วนตัวของผู้ปว่ ย (ถา้ มี) บางคันอาจไม่สามารถลงไปท่ีลาน ในการเตรยี มชุดอปุ กรณก์ าร จอดรถได้เพราะเปน็ เพดานตำ่ (1.90 ล้างรถ การใส่-ถอด PPE และ พ้นื ท่คี ดั กรอง ซักประวัติเบื้องตน้ ซม.) เม่อื สง่ ผ้ปู ว่ ยเสร็จแลว้ จะจอด การล้างรถดว้ ย กรณีท่ีเปน็ รถ การมอบ Key Card ให้ผูป้ ่วย ลา้ งรถตรงท่ีใด ของผ้ปู ว่ ยขบั มาเอง) การเซ็นยนิ ยอมรับการรักษา รถส่วนตวั ของผู้ปว่ ย กรณที ีเ่ ขาขับมา จากบา้ น จอดตรงที่ใด และจุดล้างรถ - จะเริ่มสอนขนั้ ตอนการ เป็นบริเวณไหน ดำเนินงานได้ในวนั จันทร์ที่ 26 - จดุ นีจ้ ะจดั ให้เป็นจดุ จอด เมษายน 2564 รถพยาบาลดา้ นบนและให้ผปู้ ่วยเดนิ ลงมาหน้าห้องพยาบาลดา้ นล่างเพ่ือ ซกั ประวัติ และเซ็น Inform consent พรอ้ มแจก key card หากมาโดยรถพยาบาล นำสง่ เข้ามาที่ 1-2 วัน ช้นั 1 ใชพ้ ้นื ท่แี ตง่ ตัว ใส่ PPE หนา้ ห้องพยาบาลเดิม และคดั กรองอาการ เซน็ ใบยินยอม ส่งกุญแจห้องให้ไปขึ้น ลิฟทท์ ่ีช้ัน 1 ขึ้นห้องพักเลย ก็จะลด การปนเปื้อนในพน้ื ท่ี แต่เน่อื งจากเป็นพน้ื ท่โี ลง่ แจ้ง และ ตดิ กับคอนโด อาจมีปัญหาเร่ือง ความไมส่ บายใจของชมุ ชนโดยรอบได้ - การลา้ งรถ Ambulance ใหล้ า้ งชน้ั ท่ี 1 ถอดชุด PPE ช้นั ล่าง เตรยี มถัง ขยะ บริเวณนี้มีกล้องวงจรปิด สามารถ Monitor ได้ พนื้ ในลิฟท์ และหน้าห้องแต่ละชน้ั เปน็ แนะนำให้ปูวสั ดุ ผวิ เรียบ เชน่ เส่ือ ประมาณ 1 สัปดาห์ พรม ทำความสะอาดยาก นำ้ มนั ทีม่ ีขนาดหนาพอควร (0.5 เซนตเิ มตร) ทับพรมอีกช้นั เพ่ือให้

ประเด็นท่พี บ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ สามารถทำความสะอาดได้ง่าย และ ไม่ชำรดุ ระหวา่ งเปิดใชเ้ ปน็ โรงพยาบาลเฉพาะกิจ การปูวสั ดุทบั พรมเดมิ จะต้องปูใหส้ งู พืน้ ปพู รม เกนิ พรมไปอีกประมาณ 10 เซนติเมตรทัง้ แนวนอนและแนวตั้ง ซึง่ ตอ้ งใชเ้ วลาในการตดั และการต่อ การจัดเตรยี มพน้ื ที่ใหเ้ หมาะสมกับการ ควรมีการประชุมหารอื ร่วมกันในการ 1-2 วนั เปิดกจิ การ เชน่ วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใช้ตา่ งๆ จดั ซอ้ื จัดหาวสั ดุทต่ี ้องใช้งาน เป็น ไม่เหมาะสม เชน่ ภาชนะใส่น้ำยาลา้ ง ลักษณะ ผวิ เรียบ ไมเ่ กบ็ กักเช้ือโรค มือ ภาชนะท่ีใชใ้ นห้องพกั การ จดั เตรยี ม Set ใช้งานประจำหอ้ ง) ภายในห้องพักใช้เคร่ืองปรบั อากาศ ตอ้ งมีการสอนพนกั งานในเร่ืองการทำ 1 วัน แบบแยกส่วน แอร์ split type ความสะอาดตวั กรองของแอร์ การเลอื กใชน้ ำ้ ยาทำความสะอาด ภายในห้องพักมเี ตยี งแบบเตยี งเดยี่ ว ต้องมีการสอนพนกั งานในเรื่องการทำ 1 วัน และเตยี งคู่ ความสะอาดห้องพัก การทำความ สะอาดห้องน้ำ และการเลือกใชน้ ำ้ ยา ทำความสะอาด

ประเด็นที่พบ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ ต้องมีการสาธิตและฝึกปฏบิ ัตใิ นการ ทำความสะอาด การจดั เก็บมูลฝอย การเคล่ือนย้ายมลู ฝอยและการ บริหารจัดการผ้าเปอ้ื น มกี ารแนะนำ กำหนดขัน้ ตอนการ ปฏบิ ัตงิ าน บรเิ วณชั้น 4 ปกี ซา้ ยเปน็ Zone ห้อง ไม่ใหใ้ ช้ห้องประชุม ต้องปิดห้องและ - จะเร่ิมสอนขัน้ ตอนการ ประชุม ทำสัญญลกั ษณห์ า้ มผา่ น ขณะมผี ้ปู ่วย ดำเนนิ งานได้ในวันจนั ทร์ท่ี 26 ขน้ึ มาใชห้ อ้ งตอ้ งจัดเตรยี มเจา้ หน้าท่ี เมษายน 2564 คอยกำกบั การเดินเข้าหอ้ งพัก อาจทำ สัญลกั ษณเ์ พ่ือใหผ้ ปู้ ่วยเดนิ เข้าหอ้ งได้ ถูกต้อง ระบบการบำบัดนำ้ เสยี เป็นแบบเติม - แนะนำให้มีการ Feed คลอรนี ในถัง ต้องมีการจดั หาวสั ดุเพื่อใช้ใน อากาศไมม่ ีการเตมิ คลอรีนในนำ้ ท่ี ปลอ่ ยออกจากโรงแรม ตรวจครงั้ ล่าสุด พกั น้ำก่อนปล่อยออกนอกอาคารและ การ feeding คลอรนี ลงท่ีน้ำขา เมอ่ื ต้นปี 2564 ลำรางสาธารณ อีกท้ังตอ้ งมกี ารสุม่ ออก และสอนการเติมคลอรนี ตรวจระดบั ความเข้มขน้ ของคลอรนี กบั การตรวจสอบความเข้มข้น ก่อนการปลอ่ ยออกสู่ชมุ ชนทุกวัน ของคลอรีนให้กบั พนักงานอย่าง - บอ่ ดังกล่าวลึกและไมเ่ คยเปิดเพื่อ ปลอดภัยดว้ ย ซ่ึงน่าจะใช้เวลา ตรวจสอบระบบเลย ทำให้ไม่สามารถ ไมเ่ กนิ 1 สัปดาห์ ดูได้ อีกทัง้ เจ้าหน้าท่กี ็ไม่ทราบวธิ กี าร - โรงแรมจะทำการเจาะช่องท่ี เตมิ คลอรนี ดว้ ย เหล็กและหาทว่ี างคลอรีนนำ้ เพอื่ การ feeding ก่อนปลอ่ ยนำ้ สู่ระบบสาธารณะ

ประเด็นทพ่ี บ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ มลี ฟิ ท์ 2 ตัว และลิฟทข์ นส่งผ้าและ - ตอ้ งมกี ารสอนและสาธิตการเก็บผา้ 1 วนั ขยะ เปอื้ นอยา่ งปลอดภยั การขนส่งผา้ 1 วัน เปอ้ื นให้บรษิ ัทภายนอกจดั การ - ต้องมกี ารลงไป visit บรษิ ัททีร่ บั 1 วนั จดั การการบริหารจัดการผ้าเปอื้ นตดิ เช้ือ ว่าสามารถใหบ้ ริการได้ตรงตาม มาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด หรอื ไม่ ถ้าไม่ได้กต็ อ้ งมีการสอนและ สาธิต ฝึกปฏิบตั งิ านจริง - แนะนำเรือ่ งการทำความสะอาด ลิฟทท์ ุกครั้งหลังใช้งานเพื่อไม่ให้เกดิ การปนเปอื้ น ต้องมีการสอนและ สาธิตตั้งแตข่ ัน้ ตอนการเตรียมนำ้ ยา การใส่ PPE และการลงมือปฏิบตั ิ ในแต่ละชน้ั มีกลอ้ งวงจรปดิ ช้ันละ 2 ตัว ต้องมีการดงึ สญั ญาณภาพ ไม่ว่าจะ 1 วนั แตไ่ ม่สามารถดึงสญั ญาณภาพมาที่ เป็นสายส่ง หรือ WIFI ไปที่ห้อง Command room ได้ Command room ชนั้ 2 หนา้ ต่างเปดิ ล๊อคออกไปภายนอกได้ - เจ้าหนา้ ทีไ่ ดม้ าทำการตอกตะปเู พื่อ - ทำให้เส่ียงต่อการเกดิ อุบัตเิ หตุ ยึดหน้าต่างแลว้ คะ่

ประเด็นท่พี บ ขอ้ เสนอแนะการแกไ้ ข ระยะเวลาในการดำเนนิ การ จัดทำหอ้ งศูนย์บัญชาการกลางรว่ ม - การจัดเตรยี มห้องน้ีเพ่ือเป็นศนู ย์ 1-2 วนั ถ้าอปุ กรณพ์ ร้อม (Command center) ของแพทย์ บญั ชาการรว่ มนนั้ ต้องมีการปล่อย พยาบาล วีดีโอ conference มี CCTV สายสญั ญาณภาพ WIFI ชา่ งแจ้ง สามารถดำเนนิ การได้หากอุปกรณ์ พร้อม การจัดเก็บขยะมูลฝอย - ตอ้ งมกี ารฝึกการเกบ็ และการขน รองฯขจรศักดจิ์ ะเป็นผู้ ยา้ ยขยะมูลฝอยใหช้ ำนาญ รวมถึง ประสานงานกับเทศบาลนนทบรุ ี ต้องมีการประสานหน่วยงานทจี่ ะมา จัดเก็บขยะ - จะดำเนินการวนั เสาร์-อาทติ ย์ - จัดเตรยี มพืน้ ที่พักคอยของมูลฝอย - นา่ จะใชเ้ วลา 1 วัน ให้สะอาดและเหมาะสม สรปุ ขอ้ เสนอแนะท่ีตอ้ งปรบั ปรงุ 1. ปรับโครงสรา้ งดา้ นกายภาพบางพนื้ ท่เี พื่อใหต้ อบสนองการทำงาน และป้องกันการแพร่กระจายเช้อื 2. ด้านระบบการบริการ Command center สัญญาณ internet 3. อบรมเจ้าหน้าที่โรงแรมทั้งหมด ทางโรงแรมต้องกำหนดคนที่จะมาปฏิบัติงานในแต่ละหน้าท่ีให้ชัดเจน และ ขอให้ส่งรายชื่อเจ้าหน้าที่ทั้งหมดมาที่เลขารองฯขจรศักดิ์ภายในวันจันทร์ ที่ 26 เมษายน 2564 เพื่อเตรียม วัคซนี และเตรยี มการสอนหนา้ งานแบบเฉพาะเจาะจงหน้าท่ี 4. ทางทีมงานต้องเข้ามา set ระบบในการบริการและสื่อสารกับผู้ปว่ ย อาจใช้เปน็ intercom Line สรุปจากการเยีย่ มครั้งน้ี จากการดำเนินงานขณะน้ีคาดวา่ ประมาณเวลา 3-4 สัปดาห์โรงแรมนา่ จะทำการรบั ผ้ปู ว่ ยได้

จากการลงพื้นท่ีใหม่ในวันท่ี 23 เมษายน 2564 จากเดมิ ท่ีมีการคาดการณ์ว่าโรงแรมนา่ จะทำการรับผูป้ ว่ ยได้ ประมาณ 3-4 สปั ดาห์ แต่เนอื่ งจากผูบ้ ริหารเห็นว่า สถานการณ์ในปัจจุบนั ค่อนข้างเร่งด่วนและมีผู้ปว่ ยรอคอยโรงพยาบาลเป็นจำนวนมาก จึงมีข้อสั่งการให้ปรับปรุงและ ดำเนินการให้ได้ภายในต้นเดือน พฤษภาคม ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามข้อสั่งการจึงขอหารือการ ดำเนนิ งานดงั นี้ - อัตรากำลังด้านพยาบาล พยาบาล 1:40 (วันละ 3 เวร นำมาจาก สคร., ราชประชาฯกองต. (เหมือน SQ) หรือรับผูเ้ กษียณราชการที่มีประสบการณ์มาทำงาน?) - ICN 1-2 คน/เวร (เอามาจากบำราศฯ) - แพทยน์ ำมาจากเวชศาสตร์ปอ้ งกนั พญ.ชุลีกร ธนธิติกร โทร 0818806629) 1 คน/เวร - น้องธุรการ/นวก/Aid 1-2 คน/เวร - ระบบดา้ นสารสนเทศ ทางกองดา่ นฯ (นพ.รัฐพงษ์) รับผิดชอบนำระบบ COSTE ของกรมมาลงและจัดอบรม ให้ผ้รู บั ผิดชอบ - คอมพวิ เตอร์ จำนวน 2 เคร่ือง (จะนำมาจากที่ใด) - วสั ดอุ ุปกรณ์ นำ้ ยาล้างมือ น้ำยาทำความสะอาด (จะใหใ้ ครเป็นผ้รู ับผิดชอบ ทำตน้ เรอ่ื ง) - Gift set (ปรอท Oximeter หนา้ กากอนามยั น้ำยาล้างมือ ถงุ ขยะ เคเบิล้ ไทด์ (จะใหใ้ ครเป็นผ้รู ับผิดชอบ ทำตน้ เร่อื ง) - ยา และเวชภัณฑจ์ ำเป็น เชน่ ปรอท เครื่องวดั ความดนั โลหิต น้ำยาทำลายเชื้อ ถุงขยะ เคเบิ้ลไทด์ PPE ท่ี จำเป็น ยาทจ่ี ำเป็น และ Emergency Set - การจดั การขยะที่ทางโรงแรมจดั เก็บแลว้ จะให้หน่วยงานใดมารบั (รองฯ ขจรศักดิ์ รบั ปากจะไปประสานกบั เทศบาลนนทบุรี) คา่ ใชจ้ า่ ย? เมอื่ ได้ผุ้มารับแลว้ จะต้องมีการอบรมการจัดเกบ็ และการจดั การพนักงานกลุ่มน้ี - ข้ันตอนการสง่ ต่อผูป้ ่วยมารับบริการท่ี Hospitel Mida - การใหบ้ ริการซักผ้าเป็นการจา้ งเหมาจากหน่วยงานภายนอก (ยงั ไม่ทราบว่าเป็นบรษิ ทั ใด) ต้องมกี ารไปดู ระบบเขาวา่ ได้มาตรฐานการซักผ้าตดิ เชื้อปรือไม่ - ระหว่างทท่ี างโรงแรมดำเนินการดา้ นกายภาพ ทางสถาบนั บำราศนราดูรและกองดา่ นควบคุมโรคฯ ก็จะมา ดำเนินการเรือ่ งการจัดระบบการบรกิ ารผปู้ ่วย การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ประจำวัน - ควรมีการมอบหมายหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบทชี่ ดั เจน เพื่อการบริหารจดั การท่ีเหมาะสม

จากการลงพ้นื ทใ่ี นวนั ท่ี 26 เมษายน 2564 กองด่านควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกักกันโรค ร่วมกับ สถาบันบำราศนราดรู จงึ ได้มีการกำหนดรปู แบบการจดั บริการด้านการแพทยใ์ น Hospitel ดงั น้ี ระบบการบริการทางการแพทย์ Hospitel Mida 1. กระบวนการในการรบั ใหม่ a. กำหนด Criteria สำหรบั ผู้ปว่ ยยนื ยนั ทีจ่ ะเข้ารับการดูแลท่ี Hospitel Mida คือกลุ่มผูป้ ว่ ยยืนยันท่ี ไม่มีอาการและไม่มีความเสย่ี ง (ผ้ปู ว่ ยกลุ่ม 1) เท่าน้นั b. รับผปู้ ว่ ยยืนยัน ต่อจาก ส.บำราศฯ i. ส.บำราศฯ ประเมินผปู้ ว่ ยดว้ ย V/S และ CXR ii. ผู้ปว่ ยทุกรายมี HN /AN/XN iii. นัดหมายผูป้ ว่ ย ท่ี ส.บำราศ และเคล่ือนย้ายจากส.บำราศฯ ไป Mida เปน็ ชุด ๆ (เคล่อื นย้ายเฉพาะในเวลากลางวันเท่านั้น) iv. หากผูป้ ่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง หรอื มแี นวโน้มทีจ่ ะมอี าการแยล่ ง ให้เคล่อื นยา้ ยเพ่ือเปน็ ผูป้ ่วยในส.บำราศฯ ได้ตลอด 24 ชม. c. Drop off area ที่บรเิ วณดา้ นหนา้ หรือทีจ่ อดรถ (ชนั้ ลา่ ง) d. ผู้ปว่ ยผ่านกระบวนการลงทะเบียนและคดั กรอง (Nurse station) i. ประเมนิ อาการผปู้ ว่ ยซ้ำอีกคร้ัง (signs and symptoms) ii. Check-in เขา้ สูร่ ะบบการเฝ้าตดิ ตามอาการ (COHORT system) 1. Check-in ดว้ ยการถ่าย QR code ประจำ hospitel 2. Install application 3. Pair อุปกรณ์การแพทย์ 3 ชน้ิ (สายรดั ขอ้ มือ (temp), BP, O2sat) iii. รับกญุ แจห้อง (key card) e. ขึ้นห้องพกั ดว้ ย lift 2. กระบวนการในการประเมนิ อาการประจำวนั และทำ nursing & medical record a. ผ้ปู ่วย (install COHORT application) พรอ้ มอุปกรณ์ pulse rate, body temp และ O2sat b. แจ้งอาการ และอาการแสดง ใน COHORT application และ submit c. เจ้าหน้าท่ีพยาบาลและแพทย์ ติดตามดูอาการ อาการแสดง และ V/S จากหน้าจอ dashboard (ด้านล่าง) d. ในกรณีท่ีต้องการทำ VDO call สามารถทำได้ผา่ นโปรแกรม COHORT dashboard ได้เลย e. บนั ทึก Nurse note และ medical progression ในชอ่ งบันทึก (มีในโปรแกรม) f. Export ขอ้ มลู ผ้ปู ว่ ย ออกเปน็ excel หรือ word document ในกรณที ีต่ ้องทำเอกสารสง่ ต่อ 3. แนวทางในการประสานส่งต่อ (ส่งออก) ไปยงั สถาบนั บำราศฯ a. กำหนด indication เพื่อพจิ ารณาส่งตอ่ ไปยงั สถาบนั บำราศฯ (เสนอ) i. Persistent fever มากกว่า 12 ชว่ั โมง ii. Desaturation < 93 %

iii. Difficult to breath รว่ มกบั มี vital sign abnormality iv. GI symptom รว่ มกับมี vital sign abnormality v. สงสยั โรคอื่น (NON-COVID) ทตี่ อ้ งการการตรวจรักษาหรอื investigation เพ่ิมเติมโดยเรว็ b. หนว่ ยแพทย์ Mida ประสาน POC ที่สถาบนั บำราศฯ ทางหมายเลข _ _ _ _ _ _ _ _ c. เคลอ่ื นย้ายผูป้ ่วย under PPE-cover all สรปุ สง่ิ ทต่ี อ้ งมกี ารดำเนนิ การ o การเตรยี มการด้านกายภาพของโรงแรม Mida o ระบบบำบัดน้ำเสยี (ยงั ไม่ไดด้ ำเนินการ) o ปรบั ปรงุ พน้ื (ดำเนินการแล้ว) o ทำความเข้าใจกบั ชมุ ชนโดยรอบ (รอคำตอบจากชมุ ชน) o ประสานหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ดา้ นธรุ การและกฎหมายในการเปิด hospitel o คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัดนนทบรุ ี o กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ o ประสานเทศบาล นนทบุรี เรอื่ งการจัดการขยะ o จดั ต้ังหน่วยงานรบั ผิดชอบ ในการดำเนินการภารกจิ Hospitel เพอ่ื การปฏิบัติงานตลอดระยะเวลา จนกว่าจะยตุ ภิ ารกิจ - แพทยป์ ระจำหน่วย - พยาบาล - เจา้ หนา้ ทีส่ นับสนนุ อ่ืน ๆ เช่น นวก. ธุรการ o การเตรยี มการบุคลากร ฝ่ายโรงแรม o การดำเนนิ การเร่ืองมลู ฝอยติดเชอื้ o การดำเนินการและการเยีย่ มบริษัทท่ีมารบั จดั การเร่ืองผา้ เปื้อน o กำหนดระบบบริการด้านการแพทย์ และการทำ daily medical assessment (ผา่ น digitalized) o การเตรยี นการบุคลากรดา้ นการแพทย์และซักซอ้ มความเขา้ ใจในการจัดระบบบรกิ าร o กำหนดรายการทรพั ยากร เพื่อการดำเนนิ ภารกิจ hospitel o เวชภัณฑย์ า o เวชภัณฑม์ ใิ ช่ยา o วสั ดุการแพทย์และอปุ กรณป์ ้องกัน o วัสดงุ านบ้านงานครัว o วสั ดุสำนักงาน และครภุ ัณฑค์ อมพวิ เตอร์

ภารกจิ รับคนไทยท่อี นิ เดีย วันท่ี 1 พฤษภาคม 2564

รายงาน ภารกิจรบั คนไทยที่อินเดียจานวน 4 คนผลตรวจ COVID-19 Detected 3 Non Detected 1 แบง่ zone สะอาด ปนเป้ือน และสกปรก Zone ท่ี 1 ดา้ นหน้ามนี กั บนิ และช่างทงั้ หมดทไ่ี มป่ นเป้ือน Zone ท่ี 2 เป็น Zone ปนเป้ือน สาหรบั ทน่ี งั่ เจา้ หน้าท่ี ใชพ้ ลาสตกิ กนั้ ทงั้ สองดา้ นมหี อ้ งน้ากนั้ กลาง Zone ท่ี 3 เป็น Zone สกปรกเป็นทน่ี งั่ สาหรบั ผปู้ ่วย Detected ทงั้ 3 คน นงั่ เบาะหลงั สดุ รมิ หน้าตา่ งเรยี ง มาแถวละคนเวน้ มาสองแถวให้ คนท่ี Non Detected นงั่ อกี ฟากรมิ หน้าต่าง ระบบการหมุนเวียนของอากาศภายในเคร่ืองบิน อากาศจะพน่ ลงทน่ี งั่ ทางเดนิ และลงล่างผ่านไป ทบ่ี รเิ วณทน่ี งั่ รมิ หน้าต่างและออกคาโกป้ ล่อยออกไปภายนอกตวั เครอ่ื ง ผปู้ ่วย Non detected จาลองที่นัง่ บนเครือ่ งบิน นกั บนิ Zone สกปรก Zone ปนเปื้ อน Zone สะอาด หอ้ งนา้ เจา้ หนา้ ท่ี ผปู้ ่ วย detected

อปุ กรณ์ทางการแพทย์ ประกอบดว้ ย SET emergency น้าเกลอื เคร่อื งช่วยหายใจ เคร่อื งวดั ความดนั เคร่อื งวดั ความเขม้ ขน้ ของเลอื ด ปรอทวดั ไข้ ยา emergency อปุ กรณ์ให้ Oxygen Tank O2 การสวมชุดอปุ กรณ์ป้องกนั รา่ งกาย ชุด PAPR 4 ชดุ สาหรบั แพทย์ 1 คน พยาบาล 3 คน นอกนนั้ ใส่ PPE ดงั น้ี N 95, leg cover, cover all, face shield, gloves ขนั้ ตอน เม่ือถึงสนามบินนิวเดลี เจ้าหน้าท่ีใส่ PPE 2 คนลาเลียงของท่ีนามาให้ทางประเทศอินเดีย ประกอบดว้ ย เตยี งผปู้ ่วย ออกซเิ จน อกี คนไปประสานงานและถ่ายรปู นาอาหารและน้าพรอ้ มยาใหผ้ ปู้ ่วยผล Detected 3 คน และ Non detected 1 คน ใหร้ บั ประทานอาหารก่อนข้นึ เคร่อื ง ทุกคนนาสมั ภาระกระเป๋ า ข้นึ มาพร้อมกัน พยาบาลทงั้ สองคน ไปประเมินอาการเบ้อื งต้น ให้ผู้ป่ วยผล detected ข้นึ มาก่อน Non detected ขน้ึ คนสุดทา้ ย ใหท้ ุกคนเปลย่ี น Mask ใหม่ ใส่ Face shield และลา้ งมอื ทุกคนก่อนข้นึ เคร่อื ง จดั หอ้ งน้าใหเ้ ขา้ ดา้ นหลงั เคร่อื ง 2 หอ้ ง แยกกนั ระหว่าง Non detected กบั Detected ระหว่างทางพยาบาล 1 คนจะไปสอบถามอาการและวดั O2 Sat ทุก 1 ชวั่ โมง จะเปลย่ี น CPE และถุงมอื ทุกครงั้ มผี ปู้ ่วยคนหน่ึงไอ บ่อยครงั้ วดั O2 Sat ได้ 89 % รายงานแพทย์ให้ On O2 mask with bag ไว้ วดั O2 Sat ได้ 99 % หลงั ให้ ไม่มอี าการเหน่อื ย เม่อื ถงึ เมอื งไทย รถพยาบาลมารบั ใหผ้ ปู้ ่วยผล Detected เดนิ ลงตามลาดบั ไปทร่ี พ. จฬุ าภรณ์ รพ. รามาธบิ ดแี ละ สถาบนั ประสาท และตามดว้ ยคนทผ่ี ล Non detected ไป SQ เมอ่ื ภารกจิ เสรจ็ ทกุ คนจะ ไปถอดชดุ PPE บรเิ วณมุมลานบนิ ทจ่ี ดั พน้ื ทไ่ี ว้ ในระหวา่ งปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ไม่มี breaking technique กองดา่ นควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค Division of International Disease Control Ports and Quarantine Management (ICPQ)

รายงานผลการลงพน้ื ที่เตรยี มความพรอ้ มจดั ทาพนื้ ท่ีเพอื่ การจัดตง้ั Cohort Ward สถานที่ โรงพยาบาลพระนงั่ เกล้า จงั หวัดนนทบรุ ี วนั พธุ ที่ 5 พฤษภาคม 2564 โดย สถาบนั บาราศนราดรู รว่ มกบั กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค

รายงานผลการลงพนื้ ท่ีเตรยี มความพรอ้ มจดั ทาพน้ื ท่ีเพอ่ื การจดั ตงั้ Cohort Ward และการบรหิ ารจดั การในการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สถานท่ี โรงพยาบาลพระนง่ั เกลา้ จงั หวดั นนทบุรี วันพธุ ท่ี 5 พฤษภาคม 2564 รายช่ือคณะตดิ ตาม ลงพนื้ ทน่ี เิ ทศ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.1 นายแพทยร์ ฐั พงษ์ บุรวี งษ์ กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.2 นางวราภรณ์ เทียนทอง กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.3 นางสาวเออ้ื ใจ แจ่มศกั ด์ิ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1.4 นางสาวจิตรลดา รุจทิ ิพย์ โครงสรา้ งและสถานที่ มีการวางแผนการรับผู้ป่วยท่ีตึกสาเภาทอง ชั้นท่ี 6 , 7 และ 8 สาหรับใช้เป็นห้องท่ีกักกัน และดูแลผู้ป่วย COVID 19 ทม่ี อี าการเลก็ น้อย จนถงึ ผปู้ ่วยทต่ี อ้ งการใชเ้ ครื่อง HFNC (เครอื่ งให้ออกซเิ จนแรงดนั สงู ) ลักษณะเป็นห้องพิเศษเดี่ยวขนาด 3.5 x 4 เมตร มีห้องน้าในตัว รับผู้ป่วยได้ห้องละ 1–2 เตียง มีท้ังหมด 14 ห้อง/ช้นั ระบบแอร์แขวนแยก มพี ดั ลมดอู ากาศภายหอ้ งนา้ เหนือชักโครกหอ้ งละ 1 จดุ มหี ้อง AIIR 2 ห้อง ท่บี ริเวณช้ัน 8 มีกลอ้ งวงจรปดิ และระบบ Monitor ปจั จบุ นั รับผปู้ ่วยกึง่ วิกฤตได้มีเครอ่ื ง Ventilator และ HFNC ใช้ระบบ closed suction เปดิ แอร์ ให้ผูป้ ่วยใส่ mask ตลอดเวลา ประเด็นสถานการณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข การระบายอากาศภายในหอ้ ง กรณีรับผู้ป่วย Covid positive เปิดแอร์ได้ ปิดประตู ด้านหน้า ปรับหน้ากากแอร์ให้พ่นไปท่ีประตู ไม่พ่นเข้า เป็นหอ้ งเด่ียว แอร์ Sprit type มี exhaust air หาผู้ป่วย (อากาศในห้องหมุนเวียนอยูใ่ นห้องตลอดเวลา บริเวณภายในหอ้ งนา้ จะถูกดูดออกไปด้านหลัง ผ่านสู่คอยเย็นด้านหลังลด อุณหภูมิและความชื้นและปล่อยอากาศพร้อมลเย็น ออกมาด้านหน้า) ถ้าเพ่ิม exhaust air เพ่ือให้เกิดการ หมุนเวียนอากาศออกไปข้างนอกจะช่วยลดปริมาณเชื้อ ท่ีลอยอยู่ในอากาศ หรือสามารถทา exhaust air บริเวณหัวเตียงผู้ป่วยแต่ละห้อง โดยต้องคานวณ ป ริ ม า ต ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ห้ อ ง + ข น า ด แ ร ง ดู ด ข อ ง พั ด ล ม ดูดอากาศ และต่อปล่องปล่อยข้ึนไปให้สูงจากหลังคา 6-8 ฟุต เพ่ือลดการเกิด Return air กลับ ตึกนี้อยู่ชั้น 6,7 และ8 เป็นช้ันบนสุดสามารถทาได้ง่าย ไม่มีตึก ใกล้เคียง (ตึกใกล้ท่ีสุดมีความสูงเพียง 2 ช้ัน) ดังนั้นถ้า

ประเดน็ สถานการณ์ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข ต่อ exhaust air ในแต่ละห้องและต่อปล่องปล่อยขึ้นไป ให้สูงจากหลังคา 6-8 ฟุต อากาศจะไม่ return แน่นอน โดยผ่าน pre-medium-hepa filter แต่ถ้าอยู่ช้ันสูงสุด และไมต่ ดิ ชมุ ชนอาจใช้แค่ pre-medium filter กพ็ อ หากปฏิบัติตามข้อแนะนาดังกล่าวแล้วจะสามารถ ควบคุมทิศทางการไหลของอากาศได้ และสามารถ กาหนดจุดที่เจ้าหน้าที่เข้าไปให้การดูแลและปฏิบัติการ พยาบาลโดยให้อากาศไหลผ่านบุคลากร ไปหาคนไข้ แลว้ ดดู ออกผ่านปล่องท่อดดู อากาศบริเวณหวั เตยี ง ควรปิดประตูห้องให้สนิทตลอดเวลา ที่มีผู้ป่วยหรือ เปิดการใชง้ าน การเตมิ อากาศจากภายนอก ควรมีการวัดการไหลของอากาศ และปริมารคาร์บอนได ลักษณะของตึกเปน็ ตกึ ที่มีการใชเ้ คร่ืองปรบั อากาศ ออกไซค์ คุณภาพอากาศที่เราหายใจเข้าออกภายใน อาคาร สถานท่ีทางานเป็นส่ิงที่สาคัญในการอยู่อาศัย บริเวณเคาน์เตอร์พยาบาล และห้องผปู้ ว่ ย ส่วนทางเดนิ ของพนักงาน เพราะมีผลโดยตรงกับสุขภาพ ซ่ึงคุณภาพ ดา้ นนอกไม่มกี ารเติมอากาศ อากาศดีหรือไม่สามารถตรวจวัดด้วย เคร่ืองมือวัด แก็ส คาร์บอนไดออกไซด์ตามอ้างอิงจากประกาศ ของ กระทรวงมหาดไทยได้กาหนดไว้ให้ค่าความเข้มข้นของ แก๊ส Carbondioxide มีค่าไม่เกิน 5,000 ppm แต่เพ่ือ สุขภาพอนามัยที่ดีของพนักงานควรมีค่าไม่ควรเกิน 1,000 ppm จึงจะปลอดภัย เหมาะสม และมีคุณภาพ อากาศที่ดี หากผลการวัดพบว่ามีค่าเกินมาตรฐานแนะนาให้มี การเตมิ อากาศโดยการเปิดหน้าต่างบริเวณทางเดินหัว – ท้ายตึก ท่ีมีหน้าต่างเพิ่เติมอากาศสะอาดจากภายนอก อาคาร ส่วนภายในห้องพัก หากวัดค่าพบเกินมาตรฐาน แนะนาให้มีการติดพัดลมดูดอากาศหน้าห้องพักเพื่อเติม อากาศสะอาดจากภายนอกสหู่ อ้ งผู้ปว่ ย

ประเดน็ สถานการณ์ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข สง่ิ อานวยความสะดวก และวสั ดอุ ปุ กรณภ์ ายในหอ้ ง ควรหลีกเลย่ี งการใช้วสั ดุ อปุ กรณท์ ่ีเช็ดล้างหรือทาความ สะอาดได้ยากภายในห้องผู้ป่วย เช่นวัสดุท่ีทาด้วยผ้า ไม้ มกี ารใชผ้ า้ ม่านที่ทาดว้ ยผ้า ทาให้อาจมีการสะสม หรือวัสดุท่ีซึมซับน้า เพราะสามารถซึมซับส่ิงคัดหลั่ง ของฝุ่นละอองและเชือ้ โรค การทาความสะอาดลาบาก และเก็บกักเช้ือโรคได้ การจัดเตรียมห้องพักผู้ป่วย ควรมีอุปกรณ์เท่าท่ีจาเป็น ไดแ้ ก่ ปรอทวดั ไข้ และ pulse oximeter ประจาห้อง กองดา่ นควบคุมโรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค กรมควบคมุ โรค

รายงานผลการลงพนื้ ท่ีเตรยี มความพรอ้ มจดั ทาพนื้ ท่ีเพอื่ การจดั ตงั้ Cohort Ward สถานท่ี โรงพยาบาลปทมุ ธานี วนั พธุ ที่ 5 พฤษภาคม 2564 โดย สถาบนั บาราศนราดรู รว่ มกบั กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กันโรค

รายงานประเมนิ การจดั ตง้ั Cohort Ward สถานที่ โรงพยาบาลปทมุ ธานี วนั พธุ ท่ี 5 พฤษภาคม 2564 1. รายชอื่ คณะตดิ ตาม ลงพ้ืนท่นี เิ ทศ นายแพทยร์ ัฐพงษ์ บรุ ีวงษ์ กองด่านควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศและกักกนั โรค กองด่านควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กันโรค นางวราภรณ์ เทียนทอง กองด่านควบคุมโรคติดตอ่ ระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค กองด่านควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค นางสาวเอือ้ ใจ แจม่ ศักดิ์ นางสาวจติ รลดา รุจิทพิ ย์ 2. สถานท:่ี โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลปทมุ ธานี ต้งั อยู่ ณ เลขที่ 7 ถนนปทุมธานี-ลาดหลุมแก้วตาบลบางปรอก อาเภอเมอื ง จงั หวดั ปทุมธานี โทรศพั ท์ 0-2598-8888 โทรสาร 0-2581-0025 มีเน้ือที่ทัง้ หมด 25 ไร่ เรมิ่ ก่อต้งั เมือ่ ปี พ.ศ. 2496 โดย ได้รับงบประมาณในการกอ่ สร้างเรอื นพักผ้ปู ่วย 25 เตยี ง และไดเ้ ตบิ โตขยายขึ้นตามลาดับ ปี พ.ศ. 2508. มเี ตียงผปู้ ่วย รบั ได้ 80 เตียงในเบ้อื งตน้ ปจั จุบันได้รบั การปรับสถานะเป็นโรงพยาบาลทว่ั ไป ขนาด 377 เตียง ปจั จบุ นั ได้มีการ ปรบั ปรงุ ก่อสร้างอาคารสถานท่ี และสิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งมกี ารพัฒนาเทคนิคบรกิ ารพฤติกรรมบริการและพฒั นาด้าน วชิ าการอย่างต่อเนือ่ ง รายนามผ้อู านวยการโรงพยาบาลปทุมธานี 3. วนั ทลี่ งพนื้ ท:่ี 5 พฤษภาคม 2564 - หอ้ งทีร่ ับผู้ป่วยไดท้ ้ังหมด 9 ห้องเป็นห้องเดี่ยวทง้ั หมดแอร์แยก - มหี อ้ ง AIIR 1 หอ้ ง Plan ทาเพ่มิ อีก 1 หอ้ งและทเ่ี หลือจะทาเปน็ Modified มกี ลอ้ งวงจรปดิ 8 ห้อง - ปจั จบุ ันทง้ั 10 หอ้ งนี้ สามารถรบั ผปู้ ว่ ยหนักได้ท้ังหมด โรงพยาบาลมีเครือ่ ง Ventilator และ HFNC - กรณีท่ีผ้ปู ่วยจาเป็นต้อง On Ventilator จะมีการนาระบบ closed suction มาใชก้ ับผู้ป่วยทกุ ราย ภายใน ห้องเปิดแอร์ - กรณีท่ี On HFNC จะทาการปดิ แอร์ ให้ผปู้ ว่ ยใส่หนา้ กากอนามัยตลอดเวลา (จะย้ายเข้าหอ้ ง AIIR ถา้ ว่าง) ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข หอ้ งเปน็ ห้องเดี่ยว แอร์ Sprit type ไมม่ ี exhaust air ถา้ รบั ผู้ปว่ ย Covid positive เปิดแอร์ได้ ปดิ ประตดู ้านหนา้ ปรับหน้ากากแอรใ์ ห้พน่ ไปท่ีประตู ไม่พน่ เข้าหาผปู้ ่วย (อากาศในห้องหมุนเวียนอยู่ในหอ้ งตลอดเวลา จะถกู ดูดออกไปดา้ นหลงั เขา้ Coin เย็นด้านหลงั และพน่ ออกมา ด้านหน้า) ถ้าเพ่ิม exhaust air หมนุ เวียนอากาศออกไปขา้ งนอกจะดมี าก หรืออาจจะทา exhaust air บริเวณหัว เตยี งผู้ปว่ ยแต่ละห้อง คานวณปรมิ าตรของแต่ละหอ้ ง+น้าหนักของตัวดูดอากาศ และต่อปล่องปลอ่ ยขึ้นไปใหส้ งู จาก หลงั คา 6-8 ฟตุ อยา่ ให้มี Return air กลับ ตกึ นี้อยูช่ ้นั 5 เปน็ ช้ันบนสุดย่ิงทาไดง้ ่ายและมีหลงั คาก้ันอยู่ดา้ นบนดังนัน้ ถ้าต่อ exhaust air ในแต่ละหอ้ งและต่อปล่องปลอ่ ยข้ึนไปให้สงู จากหลงั คา 6-8 ฟุต อากาศจะไม่ return แน่นอน โดยผา่ น pre-medium-hepa filter แตถ่ า้ อยชู่ ัน้ สูงสุดและไม่ตดิ ชมุ ชนอาจใช้แค่ pre-medium filter ก็พอ

ทา exhaust air บรเิ วณหวั เตยี งผปู้ ว่ ย ปรบั หนา้ กากแอรใ์ หพ้ น่ ไปที่ ประตู ไมพ่ น่ เขา้ หาผปู้ ว่ ย ต่อปล่องปล่อยข้ึนไปให้สูงจากหลงั คา 6-8 ฟุต อยา่ ให้มี Return air กลบั

หอผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองและเคมบี าบัด เป็น Cohort ward แอร์ Sprit type มี 6 เตยี ง plan ทาระบบปรับอากาศ ante room ขอ้ ที่ 1. ห้องมี exhaust air พัดลมดดู อากาศอยบู่ ริเวณผนงั ลา่ งหนา้ ตา่ ง 2 ตัว แตไ่ ม่มกี ารเปดิ ใช้ แนะนาให้เปดิ ใชง้ าน บรเิ วณหอ้ งกว้างพอท่ีจะก้นั เป็นห้อง Ante room ตดิ ตงั้ อ่างลา้ งมอื และท่ีทง้ิ ขยะได้ และสามารถเพิม่ เตยี งได้ 6-8 เตียงเอา Nurse station ออกไปไวด้ า้ นนอกห้อง ส่วนหวั เตียงแต่ละเตียงก็ติดตั้ง exhaust air และตอ่ ออกไปท่ปี ล่องอยูใ่ ต้ฝ้าและปลอ่ ยออกนอกอาคาร ขอ้ ท่ี 2 ถา้ จะทาสองห้องรวมกนั กอ็ าจต้องทบุ กาแพงเพ่ือทาบริเวณดา้ นหนา้ ให้เปน็ ห้อง Ante room รวม ใชไ้ ด้สองหอ้ ง ติดต้ังอ่างล้างมอื และท่ีทง้ิ ขยะได้ สว่ นหวั เตยี งอีกห้องก็ติดตงั้ exhaust air และตอ่ ออกไปที่ ปลอ่ งอยูใ่ ต้ฝ้าและปลอ่ ยออกนอกอาคารเหมือนกัน ผ้าม่านคงต้องเปล่ยี นเปน็ แบบทที่ าความสะอาดได้งา่ ย กน้ั บรเิ วณน้ีเปน็ Ante room ตดิ ตง้ั อ่างล้างมือ ขยะ เปล่ียนประตเู ขา้ ออกใหม่

สว่ นหวั เตียงแตล่ ะเตียงกต็ ิดต้ัง exhaust air

หอผปู้ ว่ ยหนัก มสี องทางเลือก 1. สว่ นหัวเตยี งแตล่ ะเตียงก็ติดตง้ั exhaust air และต่อออกไปท่ปี ล่องอยู่ใต้ฝา้ และปลอ่ ยออกนอกอาคาร ทาห้องพยาบาลให้เปน็ ระบบ positive เยอะๆ เพ่ือคลุม Direction air flow ก้นั ครึง่ ทาเป็นสองทาง เพอ่ื ทาเป็น Anteroom ประตแู ยกจากกันทาเป็นประตบู ังคบั ดนั ออกอยา่ งเดียว ค่าความตา่ งระหวา่ งห้องผู้ปว่ ยและ Anteroom ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ -2.5 ปาสคาล Ante room หอ้ งพยาบาลทาใหเ้ ปน็ positive โดยการเตมิ ลมเข้ามาในห้อง ห้องผปู้ ่วยสว่ นหัวเตยี ง แต่ละเตียงกต็ ดิ ตั้ง exhaust air ลกู ศรสแี ดงเมื่อถอด ลูกศรสฟี ้าใสช่ ุด PPE เข้าไป ชุด PPE แลว้ ออกมา ดูแลผู้ป่วย อาบนา้ เปล่ยี นเสอื้ ผา้

2. อาจใช้ประตูทางด้านขวาที่ใช้เกบ็ เครื่องมือตา่ ง ๆ เป็น Waste way เม่อื ทากิจกรรมกับผู้ป่วยเสรจ็ ก็ออกมาถอดชดุ PPE และอาบน้าเปลี่ยนเส้อื ผ้าได้เลยแต่อาจต้องทาห้องนา้ เพิม่ ทที่ ้ิงขยะ และนาอปุ กรณ์ ตู้เยน็ เครอ่ื งมือเก็บท่ีอน่ื และตอ้ งทาประตูเปิด ปดิ ใหม่ไม่ใชล้ ูกบิด Waste way Waste way กองดา่ นควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค

ภารกจิ รับคนไทยท่อี นิ เดีย วันท่ี 8 พฤษภาคม 2564

รายงาน ภารกิจรบั คนไทยท่ีอินเดียจานวน 36 คนผลตรวจ COVID-19 Detected 3 Not Detected 32 แบง่ zone ดงั น้ี Zone ที่ 1 ดา้ นหน้ามนี กั บนิ และช่างทงั้ หมดทไ่ี มป่ นเป้ือน Zone ท่ี 2 เป็น Zone ปนเป้ือนสาหรบั ถอดชุด PPE Zone ท่ี 3 เป็น Zone สะอาดเป็นทน่ี งั่ สาหรบั เจา้ หน้าท่ี สาหรบั การใสช่ ุด PPE และเมอ่ื ถอดชดุ PPE แลว้ Zone ท่ี 4 Zone ผโู้ ดยสาร Not detected 32 คน ใส่ PPE (CPE, surgical mask, gloves) Zone ท่ี 5 Zone สาหรบั ผปู้ ่วยผล Detected 3 คน (พอ่ แม่ ลกู ) นงั่ รมิ หน้าต่างหลงั สุด และผปู้ ่วยท่ี on ET tube อยใู่ น Isolation chamber หน้าสดุ แพทย์ พยาบาลทด่ี แู ลผปู้ ่วยอยู่ Zone น้ใี ส่ชุด PAPR ระบบการหมนุ เวียนของอากาศภายในเครื่องบิน อากาศจะพ่นลงทน่ี งั่ ทางเดนิ และลงล่างผ่านไปท่บี รเิ วณ ทน่ี งั่ รมิ หน้าต่างและออกคาโกป้ ลอ่ ยออกไปภายนอกตวั เครอ่ื ง

อุปกรณ์ทางการแพทย์ ประกอบดว้ ย SET emergency น้าเกลอื เคร่อื งวดั ความดนั เคร่อื งวดั ความ เข้มข้นของเลือด ปรอทวัดไข้ ยา emergency อุปกรณ์ให้ Oxygen Tank O2 infusion pump, Ventilator, Monitor EKG, Auto CPR การกาหนดหน้าท่ี แบง่ ทมี งานออกเป็น 4 กล่มุ เพ่อื ความปลอดภยั และป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื คอื 1. ทมี แพทยจ์ ากโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ดแู ลผูป่วยหนักทใ่ี ส่ท่อช่วยหายใจ 3 คน ผลตรวจโควดิ -19 not-detected 2. ทมี แพทยจ์ ากเวชศาสตร์การบิน ดูแลผู้ป่ วยท่มี ผี ลตรวจยนื ยนั ติดเช้อื โควดิ -19 และมรี ะดบั การ เปลย่ี นแปลงของออกซเิ จนในเลอื ด 3 คน 3. ทมี แพทย์และพยาบาลจากกรมควบคุมโรค ทาหน้าท่ดี ูแลผู้โดยสาร 32 คน ท่ผี ลตรวจโควดิ -19 not-detected (ต่อมาตรวจพล detected 6 ราย ท่ี ASQ H2DO) และทาหน้าท่เี ป็น Safety officer ใหก้ บั ทกุ ทมึ บนเครอ่ื ง 4. ทมี นกั บนิ และลกู เรอ่ื ทาหน้าทด่ี แู ลความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง ขากลบั ทเ่ี ดนิ ทางออกจากประเทศ อนิ เดยี ทมี น้จี ะถกู แยกโซนใหน้ งั่ อย่ใู นทจ่ี ดั ไวด้ า้ นหน้า ไมส่ ามารถเดนิ ขา้ มเขตมาได้ การสวมชดุ อปุ กรณ์ป้องกนั ร่างกาย ชดุ PAPR 6 ชดุ สาหรบั วสิ ญั ญแี พทย์ 1 คน พยาบาล 5 คน เน่อื งจากเป็นทมี ทต่ี อ้ งดแู ลผปู้ ่วยหนกั ใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ และดแู ลผปู้ ่วยยนื ยนั ตดิ เชอ้ื โควดิ -19 ทม่ี รี ะดบั ออกซนิ เจนเปลย่ี นแปลง แพทย์ 2 คน พยาบาลควบคุมโรคและนกั วชิ าการสาธารณสขุ ใส่ PPE ดงั น้ี N 95/P100, leg cover, cover all, face shield, gloves พยาบาลควบคุมโรคทเ่ี ป็น Safety officer ใส่ PPE Isolate gown, surgical mask, หมวก, gloves

ขนั้ ตอน ก่อนถึงสนามบินนิวเดลี 15 นาทีเจ้าหน้าท่ีช่างใส่ PPE 2 คน (N95, leg cover, cover all, face shield, gloves ลาเลยี งของพระราชทานทน่ี ามาใหท้ างประเทศอนิ เดยี ไดแ้ ก่ ออกซเิ จน เมอ่ื เสรจ็ แลว้ ขน้ึ มาถอดชุด PPE ใน Zone ทก่ี าหนด กาหนดใหผ้ ทู้ ไ่ี มม่ อี าการขน้ึ ก่อน 32 คน (ระหวา่ การขน้ึ เครอ่ื ง จะมี การคดั กรองอาการอกี ครงั้ ) ตามด้วยผปู้ ่วยผล Covid-19 positive 3 คน และผปู้ ่วยหนกั On ET tube 1 คน (ผล Covid-19 not-detected แต่อาการเขา้ ขา่ ยเฝ้าระวงั ) แบ่งเป็น 3 ทมี ทีมท่ี 1 ดแู ลผโู้ ดยสารทผ่ี ล Not detected 32 คน แพทย์ 1 คน พยาบาล 2 คน นกั วชิ าการสาธารณสุข 1 ทีมที่ 2 ดแู ลผปู้ ่วยทผ่ี ล Detected 3 คน แพทย์ 1 คน พยาบาล 2 คน ทีมท่ี 3 ดแู ลผปู้ ่วยหนกั ท่ี On ET tube วสิ ญั ญแี พทย์ พยาบาล 2 คน ทีมท่ี 4 พยาบาลควบคุมโรคท่าหน้าทเ่ี ป็น Safety officer 1 คน ทีมท่ี 1 พยาบาล 2 คน นักวชิ าการสาธารณสุข 1 คนใส่ชุด PPE คดั กรองผู้ป่ วยก่อนข้นึ เคร่อื ง วดั ไข้ สอบถามอาการ แจกน้ายาลา้ งมอื ใหล้ า้ งมอื และเชด็ กระเป๋ าทุกคนทงั้ หมด 32 คน ต่อจากนนั้ นาผปู้ ่วยทผ่ี ล Covid-19 positive 3 คนขน้ึ เครอ่ื ง ทมี ท่ี 2 คดั แยกทน่ี งั่ ผโู้ ดยสารและผปู้ ่วยบนเครอ่ื งบนิ ทมี ท่ี 3 แพทย์ 1 คนและวสิ ญั ญแี พทย์ พยาบาล 2 คนลงไปทร่ี ถ Ambulance เพ่อื ไปประเมนิ ผปู้ ่วยเบอ้ื งตน้ ก่อนขึ้นเครื่อง ผูป้ ่ วยหญงิ ท่ผี ลตรวจโควดิ -19 not-detected หายใจเหน่ือย On O2 mask with bag 10 L/M BP=127/84 mmHg HR=98 beat/min RR=22 ครงั้ /นาที O2 sat 95 % แพทยไ์ ด้ On ET tube No 7.5 deep 22 Blow cuff ด้วยน้ า EtCO2 44 mmHg On Ventilator Mode CMV Vt 500 ml FiO2 0.65 RR 14 Peep 5 I:E 1:2 ทร่ี ถ Ambulance ยาทไ่ี ดก้ ่อนใส่ Et tube – Dormicum 3 mg+Fentanyl 25 g+Propofol 50 mg+Nimbex 10 mg ยาทไ่ี ดห้ ลงั ใส่ ET tube – Propofol 1% 20 ml/ hr, Nimbex 4 mg/ hr – NSS 80 ml/hr – Dormicum 4 mg – Fentanyl 25 g V/S หลังใส่ ET tube BP= 93/61 mmHg HR=71 beat/min RR=22 ครัง้ /นาที O2 sat 99 % EtCO2 38 mmHg ขณะอยบู่ นเครอ่ื งผปู้ ่วยหลบั ไดไ้ มต่ า้ นเครอ่ื ง

ก่อนขึน้ เคร่ืองอาการและ V/S ของผปู้ ่ วย 3 คน ท่ีผลตรวจโควิด-19 detected คนท่ี 1 มารดา อาการอ่อนเพลยี เหน่ือย ซดี ไอมาก T=36.7 องศาเซลเซยี ส BP= 110/72 mmHg HR=99 beat/min RR=22 ครงั้ /นาที O2 sat 97 % On O2 เพ่อื support ใหข้ ณะเครอ่ื งบนิ อาการเหน่ือยลดลง หลบั ไดเ้ ป็นพกั ๆ คนที่ 2 บุตรเดก็ หญงิ อายุ 7 ปี ไมเ่ หน่อื ย ไมไ่ อ จมกู ไมไ่ ดก้ ลนิ่ T=36.0 องศาเซลเซยี ส BP= 120/80 mmHg HR=82 beat/min RR=18 ครงั้ /นาที O2 sat 99 % ขณะอยบู่ นเครอ่ื งหลบั ได้ ไมเ่ หน่อื ย คนท่ี 3 บดิ าไมเ่ หน่ือย ไอเลก็ น้อย T=37.4 องศาเซลเซยี ส BP= 133/78 mmHg HR=82 beat/min RR=18 ครงั้ /นาที O2 sat 96 % ขณะอยบู่ นเครอ่ื งหลบั ได้ ไมเ่ หน่อื ย ระหว่างการเดนิ ทาง มกี ารใหข้ อ้ มลู แก่ผเู้ ดนิ ทางทุกคน เม่อื มาถงึ เมอื งไทยจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ วั อย่างไร ไปพกั ท่ี ไหน และระหว่างอย่บู นเคร่อื งต้องลา้ งมอื อย่างไร โดยมกี ารสอน และสาธติ ใหท้ าตามทุกชวั่ โมง มกี ารเชด็ หอ้ งน้าทกุ ชวั่ โมงโดยทมี จากกรมควบคมุ โรค เม่ือเคร่ืองบิน Landing เวลาประมาณ 18.30 น. เวลาในประเทศไทย ฝนตกหนักไม่สามารถ เคล่อื นย้ายผู้ป่ วยและผู้โดยสารได้ เม่อื ฝนเรมิ่ น้อยลงแล้ว เจ้าหน้าท่ใี ส่ชุด PPE (CPE, surgical mask, gloves) เคล่อื นยา้ ยผปู้ ่วยพ่อ แม่ ลกู ลงก่อน พ่อและลูกไป Hospitel โรงแรมนารายณ์ ส่วนแม่ไปรกั ษาตวั ท่ี สถาบนั โรคทรวงอก จากนัน้ เคล่อื นยา้ ยผู้ป่ วยหนักไปท่ีโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ โดยมวี สิ ญั ญแี พทยแ์ ละ พยาบาล 2 คนตามไปส่งทโ่ี รงพยาบาล เรมิ่ ลาเลยี งผโู้ ดยสารและสมั ภาระทงั้ 32 คนลงทลี ะคนจนครบเพ่อื ไป กกั ตวั ทโ่ี รงแรม H2DO ส่วนพยาบาลท่เี หลอื อีก 3 คนพรอ้ มแพทยม์ าถอดชุด PPE ท่ี Zone บนเคร่อื งเม่อื ทุกคนถอด PPE บนเคร่อื งเสรจ็ ลงจากเคร่อื งไปอาบน้าเปลย่ี นเส้อื ผ้า เป็นอนั ส้นิ สุดภารกิจ ขณะปฏบิ ตั ิ ภารกจิ ไมม่ ี Breaking technique จงึ ไมม่ ใี ครทต่ี อ้ งถูกกกั กนั ตวั เลยแมแ้ ต่รายเดยี ว กองด่านควบคุมโรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค Division of International Disease Control Ports and Quarantine Management (ICPQ)

รายงานการประเมนิ สถานทเี่ พอ่ื จดั ตง้ั โรงพยาบาลสนาม สถานท่ี เรอื นจาพเิ ศษกรงุ เทพมหานคร วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2564 กองดา่ นควบคมุ โรคติดต่อระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค

รายงานการประเมนิ สถานที่เพ่อื จดั ตง้ั โรงพยาบาลสนาม สถานท่ี เรอื นจาพิเศษกรงุ เทพมหานคร วนั ท่ี 11 พฤษภาคม 2564 รายชือ่ คณะตดิ ตาม ลงพน้ื ท่ี กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 1. นายแพทยร์ ัฐพงษ์ บรุ วี งษ์ กองด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 2. นางวราภรณ์ เทียนทอง กองด่านควบคมุ โรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 3. นางสาวเออ้ื ใจ แจม่ ศักดิ์ กองด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศและกักกนั โรค 4. นางสาวจติ รลดา รจุ ิทิพย์ กองด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศและกักกันโรค 5. นางสาวสาวิตรี ธีระวณิชย์ กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ 6. นางสาวอรณิชชา การคาน แผนผังหอ้ งทจี่ ะจดั เปน็ โรงพยาบาลสนาม แผนผังห้องที่จะจัดเป็นโรงพยาบาลสนามท่ีจะจัดตั้งเป็นตึก 3 ช้ัน แต่ละชั้นจะทาเป็นห้อง ๆ ภายในห้อง จะมี Zone กาหนดเปน็ ห้องน้า และมีที่นอนวางเรียงกันประมาณ 15-20 ที่นอน มีทวี่ างรองเท้า มีโทรทัศน์แขวน อยู่ติดผนัง หน้าต่างด้านในมีมุ้งลวด และเหล็กดัด ตรงฝ่ังด้านประตู มีมุ้งลวดและเหล็กดัด และใช้พลาสติกชนิดบ หนาก้ันไว้ มีพดั ลมดูดอากาศห้องละตวั ตดิ ทีผ่ นงั ดา้ นบนดา้ นหน้าประตู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook