๙๐ วันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึง หอประชุม ณ ที่ว่าการอาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร เพ่ือประชุมพบปะร่วมกับหัวหน้า สว่ นราชการ กานัน ผใู้ หญ่บ้านของอาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร รวมจานวนท้งั สน้ิ ๓๐๐ คน โดยพิธกี ร ของอาเภอได้เรียนเชิญคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนล่าง) ทัง้ หมด ๘ คน พบปะเพอื่ ดาเนนิ การประชมุ ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศกั ดิ์ กล่ันเสนาะ รองประธานกรรมการ คนทห่ี นง่ึ ๒. พลเอก สาเริง ศิวาดารงค์ กรรมการ ๓. พลเอกโปฎก บนุ นาค กรรมการ ๔. วา่ ทรี่ ้อยตรี วงศ์สยาม เพง็ พานชิ ภกั ดี กรรมการ ๕. นายเฉลียว เกาะแก้ว กรรมการ ๖. นายกิตติศักด์ิ รตั นวราหะ กรรมการ ๗. พลตารวจโท สมหมาย กองวสิ ัยสขุ กรรมการ ๘. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ พร้อมด้วย นายเทวัญ หุตะเสวี รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาแพงเพชร ร่วมรับฟังปัญหา การแสดง ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากหัวหนา้ ส่วนราชการ กานนั ผู้ใหญ่บ้าน ในครัง้ น้ีด้วย
๙๑ ข้อเสนอแนะจากการลงพ้นื ที่ ๑. นางสาเนียง ช่นื เรยี ง (สมาชกิ สภา อบต.บา้ นทรพั ย์เจรญิ ) ปญั หาการออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากิน ในเขตพน้ื ที่ทบั ซ้อนป่าสงวนพน้ื ที่อุทยานคลองลาน เน่ืองจากที่ดินทากินของราษฎรทับซ้อนกับที่ดินของรัฐ สืบเน่ืองจากที่ดินทากินของประชาชนในพื้นท่ี อาเภอคลองลานมีแนวเขตทับซ้อนกบั ที่ดินของรฐั ทาใหไ้ มส่ ามารถออกโฉนดท่ีดนิ ได้ ๒. นายสเุ ทพ บุญเสรมิ (กานัน ตาบลโป่งนา้ รอ้ น) ปญั หาแหลง่ นา้ เพื่อการเกษตร อยากให้ตดิ ตามโครงการก่อสร้างอา่ งเก็บนา้ คลองสวนหมาก อาเภอคลองลาน จังหวดั กาแพงเพชร ซ่งึ กอ่ สร้างมานานแล้วแตย่ งั ไมแ่ ลว้ เสรจ็ ข้อมูลจากกรมชลประทาน ระบวุ า่ กาลงั อยู่ระหวา่ งการศึกษาความเหมาะสม ซึง่ กรมชลประทานได้ศกึ ษาไว้ ๒ ทางเลอื ก คือ อา่ งเก็บน้า ความจุ ๓๙.๗๕ ล้านลูกบาศก์เมตร จะเพ่ิมพ้ืนที่ชลประทานได้ ๒๓,๐๐๐ ไร่ และทางเลือกที่สองท่ีความจุ ๑๗๑ ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ ๕๗,๐๐๐ ไร่แต่ท้ังสองทางเลือกน้ียังจะต้อง ศึกษาความเหมาะสม และผลกระทบด้านสิง่ แวดลอ้ มเพอื่ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ไป ๓. นายศรัยพงษ์ วงษน์ าคพงษ์ (กานัน ตาบลคลองน้าไหล) ปัญหาการก่อสร้างโครงการสร้างอ่างเก็บน้าคลองน้าไหล ทาให้ชาวบ้านต้องออกจากพื้นท่ี ไม่มีที่อยู่อาศัยกรมชลประทานได้ดาเนินการก่อสร้างอ่างเก็บน้าคลองน้าไหล โดยการก่อสร้างได้มีการ ย้ายราษฎรออกจากพื้นท่ี จานวน ๑๐๐ ครอบครัว โดยจะมีการจัดสรรทีด่ ินทากินให้กับราษฎรดังกล่าว ทัง้ นป้ี ัจจุบนั ราษฎรยังไมไ่ ดร้ ับการจดั สรรท่ีดินทากินแต่อย่างใด ๔. นายชวลิต บวั ผนั (นายกเทศมนตรีตาบลแม่จนั อ.อุ้มผาง จ.ตาก) ปญั หาข้อเรียกรอ้ งการสร้างถนนทางหลวงหมายเลข ๑๑๑๗ เช่ือมต่อระหวา่ งอาเภอคลองลาน จ.กาแพงเพชร - อาเภออุ้มผาง จ.ตาก ระยะทาง ๑๔๘ กิโลเมตร โดยดาเนินการก่อสร้างระหว่างปี ๒๕๑๘ – ๒๕๒๗ ระยะทาง ๑๑๕ กิโลเมตร และยังไม่ได้มีการก่อสร้างอีก ๓๓ กิโลเมตร ให้ดาเนินการต่อให้แล้วเสร็จ ซึ่งส่วนใหญ่ผ่านพ้ืนที่ป่าและบางส่วนเป็นหมู่บ้านและที่ทากินของราษฎร จึงขอให้มีการเร่งรัดก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๑๗ เพ่ืออานวยความสะดวกการเดินทาง ของประชาชนในพื้นท่ี วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๑๕ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึง บ้านสามัคคีธรรม หมู่ที่ ๑๖ ตาบลคลองน้าไหล อาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร เพื่อประชุม พบปะกับประชาชนในพื้นท่ีบ้านสามัคคีธรรม รวมจานวนทั้งสิ้น ๗๐ คน โดยพิธีกรในพื้นท่ีได้เรียนเชิญ ตวั แทนคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนล่าง) ท้งั หมด ๕ คน พบปะ เพ่อื ดาเนินการประชุม ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศกั ด์ิ กลัน่ เสนาะ รองประธานกรรมการ คนที่หนง่ึ ๒. พลเอกโปฎก บนุ นาค กรรมการ ๓. ว่าท่ีร้อยตรี วงศส์ ยาม เพง็ พานิชภกั ดี กรรมการ ๔. นายเฉลียว เกาะแกว้ กรรมการ ๕. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ
๙๒ ขอ้ เสนอแนะจากการลงพน้ื ท่ี ในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนที่ได้เข้าร่วมประชุม ซึ่งผู้เสนอได้ นาเสนอด้วยวาจาต่อที่ประชุมและมีการนาเสนอสภาพปัญหาในพ้ืนท่ีด้วยภาพจากโปรแกรม Power Point โดยผู้นาเสนอคือ นายสวิก ฟองธิวงศ์ ผู้ใหญ่บ้านสามัคคีธรรม หมู่ท่ี ๑๖ และนางสาวยุพิน ปญั ญาสา เลขาธิการสภาองค์กรชุมชนตาบลคลองนา้ ไหล มีประเดน็ ดงั น้ี
๙๓ ๑. ทด่ี นิ ทากินของชาวบา้ นกะเหรยี่ งปกาเกอะญอ ประชาชนได้รับผลกระทบจากการดาเนินการก่อสร้างอ่างเก็บน้าคลองน้าไหลของกรม ชลประทาน ทาให้ราษฎรต้องออกจากพ้ืนท่ีจานวน ๑๐๐ ครอบครัว โดยมีการจัดสรรท่ีดินทากินให้กับ ราษฎรดังกล่าว ทง้ั น้ีปัจจบุ ันราษฎรยงั ไม่ได้รบั การจดั สรรทดี่ นิ ทากนิ แตอ่ ยา่ งใด ๒. การขาดแคลนน้า และทอ่ สง่ น้าจากอา่ งเกบ็ น้าคลองน้าไหลชารดุ เน่ืองจากช่วงฤดูฝนที่ผ่านมาปริมาณน้าฝนตกน้อย ทาให้ปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าคลองน้า ไหลเหลือเพียง ๒๕% ส่งผลให้น้าที่ใช้เพื่อการเกษตรไม่เพียงพอ ทาให้ชาวบ้านเกิดการแย่งน้า ทะเลาะ เบาะแว้งกัน และจากการก่อสร้างอ่างเก็บน้าคลองน้าไหลมีการสร้างท่อส่งน้าขนาดเล็ก ทาให้รองรับ ปรมิ าณนา้ และแรงดนั น้าไม่ไหว เกดิ การชารดุ และเสยี หายอยเู่ ป็นประจา ๓. อยากผลกั ดันอ่างเก็บนา้ คลองนา้ ไหลใหเ้ ปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี ว ด้วยอ่างเก็บน้าคลองน้าไหลมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของจังหวัดกาแพงเพชร จึงอยาก พัฒนาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เพ่อื สรา้ งรายไดใ้ ห้กับชาวบา้ นในชมุ ชน ผลการดาเนินการ ประชาชนได้รับทราบถึงบทบาทหน้าที่และอานาจของสมาชิกวุฒิสภา วตั ถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ตลอดจนประชาชนมคี วามตน่ื ตัวต้อนรับการเข้า มาในพ้ืนท่ีสมาชิกวุฒิสภา มีส่วนร่วมในการเสนอประเด็นปัญหา ข้อคิดเห็นต่อความต้องการให้ภาครัฐ ปรับปรุงแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อน ข้อร้องเรียน ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ ซ่ึงวุฒิสภา ได้นา ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะเหลา่ นั้นกลบั มาสู่กระบวนการของวฒุ สิ ภาตามบทบาท หนา้ ท่แี ละอานาจต่อไป _________________________________
๙๔ คร้งั ท่ี ๖ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพ้ืนท่ี จังหวดั ภาคเหนือ (ตอนล่าง) วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั สโุ ขทัย จงั หวดั สุโขทยั วันพุธที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ วันพุธท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๑๕ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึง หอประชมุ ตึกอานวยการวิทยาลัยสารพัดช่างสุโขทัย อาเภอเมืองสุโขทยั จังหวัดสุโขทัย เพ่ือประชุม พบปะร่วมกบั หวั หนา้ ส่วนราชการ กานัน ผใู้ หญบ่ า้ น ของอาเภอเมืองสโุ ขทัย จงั หวัดสุโขทัย รวมจานวนทัง้ สนิ้ ๓๕๐ คน โดยพิธกี รไดเ้ รยี นเชญิ คณะกรรมการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนภาคเหนอื (ตอนล่าง) ทัง้ หมด ๘ คน พบปะเพอื่ ดาเนินการประชมุ ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศกั ดิ์ กลน่ั เสนาะ รองประธานกรรมการ คนที่หนึง่ ๒. นายชลิต แกว้ จินดา รองประธานกรรมการ คนทส่ี อง ๓. วา่ ทร่ี อ้ ยตรี วงศ์สยาม เพง็ พานิชภกั ดี กรรมการ ๔. นายกติ ตศิ กั ดิ์ รตั นวราหะ กรรมการ ๕. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ ๖. พลตารวจโท สมหมาย กองวิสัยสขุ กรรมการ ๗. นายเฉลยี ว เกาะแกว้ กรรมการ ๘. นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์ กรรมการ พร้อมด้วย นางสมุ ิตรา อติศัพท์ ผู้ตรวจราชการประจาสานักนายกรฐั มนตรี พร้อมด้วย นายสุชาติ ทีคะสุข รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย และนายธนพงศ์ บุญเรือง นายอาเภอเมืองสุโขทัย จังหวดั สุโขทัย ร่วมรบั ฟังปญั หา การแสดงความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญบ่ ้าน ในคร้งั น้ีด้วย โดยพลอากาศเอก อดศิ ักดิ์ กลน่ั เสนาะ สมาชกิ วุฒสิ ภา ในฐานะรองประธาน กรรมการ คนท่ีหน่ึง ได้กล่าวทักทายท่ีประชุมพร้อมกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ บทบาท หน้าที่ และอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนญู สรุปได้ ดังนี้ ในการลงพื้นในฐานะสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งตามหมวด ๖ ของรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา คือผู้แทนปวงชนชาวไทย ซึ่งลงมารับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ สร้างสัมพันธ์ท่ีดีร่วมกันในการบริหารบ้านเมือง สาหรับบทบาทหน้าท่ีของวุฒิสภา ได้แก่ ๑) กล่ันกรองกฎหมาย ๒) การให้ความเห็นชอบในเร่ืองสาคัญ ๓) การติดตาม ศึกษา เร่งรัดการ ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ เพ่ือให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ซ่ึงเร่ืองน้ีเป็น เร่ืองที่สาคัญโดยเฉพาะการติดตามการบริหารราชการแผ่นดินของราชการ รวมถึงเร่ืองการปฏิรูป ประเทศเป็นภารกิจและบทบาทซ่ึงเร่ิมดาเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ การลงพื้นที่นั้นทางวุฒิสภา อยากทราบว่ายุทธศาสตร์ท่ีสาคัญของจังหวัดกาแพงเพชรมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติอย่างไรบ้าง
๙๕ มีปัญหาหรอื อุปสรรคในการดาเนินงานหรือไม่ และไดม้ กี ารสรา้ งความเขา้ ใจถงึ ยทุ ธศาสตรข์ องจังหวดั กับ ประชาชนหรือไม่ เพอ่ื จะได้นาขอ้ มลู ไปสรุปรวบรวมและแจ้งตอ่ รัฐบาลต่อไป วิธีดาเนินกิจกรรม จัดประชุม จัดเวทีเสวนา ลงพื้นท่ีพบปะหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญบ่ ้าน เกษตรกร สือ่ มวลชน และประชาชนในพนื้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะจากการลงพ้ืนที่ ๑. นายบุรี เก้อื หนุน (รองนายกเทศมนตรีตาบลเมอื งเก่า อ.เมอื ง จ.สุโขทัย) เร่ือง ปัญหาเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ในพ้ืนท่ีตาบลเมืองเก่า มีหลายหน่วยงานท่ีดูแลพื้นที่ โดยปรากฏว่าในพ้ืนที่ตาบลเมืองเก่าอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และท่ีสาคัญสาหรับที่หลวง (นสล.ทุ่งพระบาทน้อย) และอยู่ในเขตปฎิรูปท่ีดิน (สปก.) ทาให้ประชาชนมีปัญหาการใช้ประโยชน์ ในท่ีดินท่ีประชาชนส่วนใหญ่มีสิทธิ์การครอบครองท่ีดิน (สค.๑) ยกตัวอย่างเช่น ๑) การจัดเก็บภาษี ๒) การใช้พรบ.ควบคมุ อาคาร ๓) การออกเอกสารสทิ ธิ์ ๔) การออกบา้ นเลขทตี่ าม พรบ.ทะเบียนราษฎร ๕) การอนุญาตใชพ้ ้นื ทเ่ี พื่อก่อสร้างทอี่ ยู่อาศยั ๖) การประกอบอาชีพ เสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหา ๑) เขตปฏิรปู ท่ดี นิ (สปก.) ใหย้ กเลิก (สปก.) นอกเขตดาเนนิ การในเขตอานาจของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ๒) ท่ีสาธารณะประโยชน์ เขาพระบาทน้อยให้ดาเนินการออกเอกสารสิทธ์ิ หรือดาเนินการ อ่นื ต่อคณะกรรมการจดั สรรทดี่ ินในการประกอบอาชพี และทอ่ี ยูอ่ าศยั
๙๖ ๓) การแกไ้ ขท่ดี ินราชพสั ดใุ นเขตอทุ ยานประวัติศาสตรส์ โุ ขทัยเป็นอานาจของกระทรวงการคลัง ๔) ควรให้ภาครฐั ใชพ้ รบ.เกี่ยวกับทีด่ ินเพยี งฉบบั เดยี ว เพ่อื แกไ้ ขปัญหาทบั ซอ้ นของกฎหมาย ๒. นายอนนั ต์ เรอื งเที่ยง (กานนั ตาบลบ้านกล้วย อ.เมอื ง จ.สโุ ขทยั ) เร่ือง ปัญหาเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ในพ้ืนที่ตาบลบ้านกล้วย ซ่ึงพื้นที่ส่วนใหญ่ร้อยละ ๗๐ เป็น พนื้ ที่สาธารณประโยชนท์ ่งุ คยุ ทอง โดยมพี น้ื ทีป่ ระมาณ ๔,๐๐๐ ไร่ เมอ่ื ปี ๒๕๕๖ ได้มีกรรมาธกิ ารรัฐสภา นาโดย นายชัย ชิดชอบ มาดูพ้ืนที่และประชุมร่วมกับทุกฝ่ายและมีคาสั่งให้เทศบาลตาบลบ้านกล้วยต้ัง งบประมาณเพ่ือสารวจพ้ืนท่ีทุ่งคุยทอง เพ่ือออกเอกสาร น.ส.๓ ให้กับประชาชนในพื้นที่หมู่ท่ี ๗ หมู่ที่ ๑๓ และหมู่ที่ ๑๔ ของตาบลบ้านกล้วย แต่จนถึงปัจจุบันราษฎรในพื้นที่ยังไม่ได้รับการจดั สรรพ้ืนท่ีหรือ ไดร้ บั เอกสารสิทธิใ์ นพน้ื ทด่ี งั กล่าว ๓. นายชนะ เพิม่ พูน (กานันตาบลตาลเตย้ี อ.เมอื ง จ.สุโขทัย) เร่ือง ปัญหาเอกสารสิทธ์ิในท่ีดิน ในพ้ืนท่ีตาบลตาลเตี้ย ซึ่งพื้นท่ีส่วนใหญ่ร้อยละ ๗๐ เป็น พื้นที่สาธารณประโยชน์ดงชาระหงมพี ื้นทปี่ ระมาณ ๕,๐๐๐ ไร่ อยากขอให้ยกเลิกและตรวจสอบเอกสาร สิทธ์ิท่ชี าวบา้ นไดค้ รอบครอง โดยนาไปออกเอกสารสิทธ์หิ รือโฉนดให้กับราษฎรในพนื้ ที่ดังกลา่ ว ๔. นายบุญลอื ครฑุ ทุ่ง (กานนั ตาบลวังทองแดง อ.เมือง จ.สุโขทยั ) - เร่ือง ปัญหาที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน ในท้องท่ีอาเภอเมืองสุโขทัยเป็นพื้นที่ประกาศกาหนด ตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตท่ีดินให้เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ.๒๕๒๘ โดยประกาศกาหนดในพื้นที่ ยกทั้งอาเภอเมืองสุโขทัย แต่ได้รับการจัดสรรเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ในเขต สปก.บางพื้นท่ี ทาให้พ้ืนท่ี ตาบลบางแห่ง เช่น ตาบลวังทองแดง ประสบปัญหาการไม่มีเอกสารสิทธ์ิในที่ดนิ เพื่อใช้อ้างอิงการได้รับ ประโยชนจ์ ากรัฐในด้านเกษตรกรรมและด้านอน่ื ๆ - เรือ่ ง สทิ ธิประโยชน์ของกานนั ผ้ใู หญ่บ้าน ๑) ขอให้พิจารณายกเลิกพระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ มาตรา ๔ มาตรา ๑๒ วรรคสอง และมาตรา ๔๘ เนื่องจากเกิดผลกระทบต่อกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในท้องถ่ินท่ีได้รับการยกฐานะท้องถ่ินให้เป็นเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครแล้ว หา้ มมใิ ห้ใชก้ ฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ในส่วนทบ่ี ญั ญัตถิ งึ การแต่งตั้งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผชู้ ว่ ย ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันในท้องถิ่นน้ัน และให้บรรดาบุคคลท่ีเป็นกานัน ผู้ใหญบ่ ้าน ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันพ้นจากตาแหนง่ และหน้าที่เฉพาะใน เขตท้องถิ่นนั้น และเพ่ือเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่และเพื่อเป็นการสร้างขวัญ กาลังใจให้กับ กานนั ผใู้ หญ่บ้าน แพทยป์ ระจาตาบล สารวัตรกานนั และผูช้ ่วยผใู้ หญบ่ ้าน ๒) ขอให้พิจารณาเรื่องสวัสดิการช่วยเหลือรักษาพยาบาล (ค่าห้องพิเศษ และค่าอาหาร พิเศษ) เช่นเดียวกับสวัสดิการของ อสม. โดยให้กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน
๙๗ และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือลดหย่อนค่าห้องพิเศษและค่าอาหารพิเศษ จาก โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ๓) ขอพิจารณาให้กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่เกษียณไปแล้วมีสิทธิแต่งเครื่องแบบสีกากีคอพับ และชุดเครื่องแบบปกติขาวได้เช่นเดียวกับข้าราชการประจาการ ในโอกาสอันสมควรตามท่ีกาหนดไว้ ตามระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งกระทรวง ส่วนลักษณะของเครื่องแบบและเครื่องหมายให้แต่งเครื่องแบบ เช่นเดียวกับกานัน ผู้ใหญ่บ้านที่ยังดารงตาแหน่ง แต่ให้ติดเครื่องหมายอักษร “นก” ทาด้วยโลหะโปร่ง สีทอง ไม่มีขอบ สงู ๒ เซนติเมตร ทีป่ กคอเสือ้ ด้านหน้า ข้างขวา หรอื ใหต้ ดิ ป้ายชอ่ื วา่ “อดีตกานัน.....” ๔) ขอปรับเปลี่ยนบัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความเป็นสากลโดยการเพิ่มเติม ข้อความเป็นภาษาอังกฤษ ท้ังชื่อ-นามสกุล และตาแหน่งของผู้ถือบัตร เพ่ือก้าวสู่ประชาคมอาเซียน และเป็นการประชาสัมพันธ์องค์กร แสดงตนเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ประชาชนคนไทยและนักท่องเที่ยว ตา่ งชาตไิ ด้ทราบ ๕) การทาป้ายจุดรบั แจ้งเหตเุ จา้ พนักงานฝ่ายปกครอง ควรมขี อ้ ความเป็นภาษาองั กฤษด้วย เพ่ือให้ชาวต่างชาติทราบว่ามีจุดให้บริการ คาแนะนา หรือสามารถแจ้งเหตุต่อเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองได้ ณ จุดใดบ้าง เพ่ือเป็นการบริการให้ชาวต่างชาติเกิดความประทับใจ และรู้สึกปลอดภัยในการ มาทอ่ งเทีย่ วในประเทศไทยต่อไป ๕. นายบุญเสรมิ เชยวัดเกาะ (นายก อบต.ปากแคว อ.เมอื ง จ.สุโขทยั ) - เร่ือง จานวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและ องค์การบริหารส่วนตาบล (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ในมาตรา ๔๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๔๕/๑ สภาองค์การ บริหารส่วนตาบลประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลจานวนเขตเลือกตั้งละหน่ึ งคน ซ่ึงเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละเขตเลือกต้ังในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลนั้น ข้อเสนอ คือ ควรเป็นหมู่บ้านละ ๒ คน เพ่ือให้การรับฟังปัญหาของหมู่บ้านได้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน เช่น กรณีหมู่บ้าน ทีม่ ขี นาดใหญ่ และพนื้ ท่ีมากสามารถนาปญั หาตา่ ง ๆ ไปพฒั นา และแกไ้ ขได้ตรงเปา้ หมาย - เร่ือง วาระการดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถ่ิน ตามมาตรา ๕๘/๒ นายกองค์การ บริการส่วนตาบลมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละส่ีปี นับแต่วันเลือกตั้งแต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกัน เกินสองวาระไม่ได้ ข้อเสนอ คือ สามารถดารงตาแหน่งหลายวาระได้ เพ่ือความต่อเนื่องการบริหารงาน และมีประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารงานขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ๖. นายอธริ าช วรรณา (รองนายกเทศมนตรเี มอื งสโุ ขทยั อ.เมอื ง จ.สุโขทัย) - เร่ือง ค่าตอบแทนของผู้ประสานชุมชน เนื่องจากเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี ไม่มีกานัน ผูใ้ หญบ่ า้ นในพ้นื ท่ี การบรหิ ารงานและรบั ฟงั ปญั หาของประชาชนในพน้ื ท่ี จงึ จาเปน็ ตอ้ งมปี ระธานชุมชน ต่างๆ ซ่ึงทาหน้าที่เปรียบเสมือนกานัน ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่เทศบาล จึงอยากให้ประธานชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองมีค่าตอบแทนเหมือนกานนั ผ้ใู หญบ่ า้ น เพือ่ จะไดม้ แี รงจงู ใจในการปฏิบัติงาน
๙๘ - เรื่อง การดาเนินงานด้านงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการต่าง ๆ ท่ีผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากสภาแล้ว หากโครงการดังกล่าวดาเนินการมากกว่า ๑ ปีงบประมาณ ขอเสนอควรจะต้องมีการขอกันเงินกับสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบวิธีการงบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๑ รวมถึงท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม โดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาจาก สภาอีกครั้ง เพอ่ื การดาเนนิ งานของโครงการตา่ ง ๆ นั้นเป็นไปไดอ้ ย่างรวดเร็ว - เรื่อง การถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการหน่วยงานต่าง ๆ ให้แก่เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี เป็นผู้รับผิดชอบ ด้วยเทศบาลเมืองสุโขทัยธานีเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการดูแลพ้ืนที่ราชพัสดุหลายแห่ง เช่น ตลาดสดเทศบาล ๑ และ ๒ ซ่ึงปัจจุบันทางเทศบาลเมืองสุโขทัยธานีจะต้องเสียค่าเช่าพื้นที่ให้กับ กรมธนารักษ์ และการพัฒนาทรัพย์สินต่าง ๆ ของที่เช่า ข้อเสนอ อยากให้ทางกรมธนารักษ์รับผิดชอบ ดแู ลพื้นท่ีราชพัสดุดังกลา่ วแทนเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี เพราะทางเทศบาลเมืองสุโขทัยธานีไม่สามารถ ท่ีจะพัฒนาทรัพย์สินนั้นได้ หรือจะให้ทางเทศบาลเมืองสุโขทัยธานีเป็นผู้รับผิดชอบก็ได้ เพ่ือลดปัญหา ความซา้ ซ้อนในการบริหารจัดการ ๗. นายวิลาศ สง่ ให้ (สมาพนั ธค์ รูจังหวัดสุโขทยั อ.กงไกรลาศ จ.สโุ ขทัย) เร่ือง ข้อเรียกร้องจากสมาพันธ์สมาคมครูแห่งประเทศไทย (ส.ค.ท.) เกี่ยวกับงบประมาณ รายจ่ายประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ด้วยมติของสมาพันธ์สมาคมครูแห่งประเทศไทย (ส.ค.ท.) และ เครือข่ายองค์กรวิชาชีพครู ๔ ภูมิภาค ประกอบด้วย สหพันธ์ครูภาคเหนือ ชมรมครูประชาบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชมรมครูภาคกลาง และสมาพันธ์ครูภาคใต้ ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันท่ี ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ หอประชุมคุรุสภา กรุงเทพมหานคร ขอเรียกร้องให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ในฐานะสมาชิกรัฐสภาได้แปรญัตติใน พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจา ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ในวาระ ๒ และ ๓ โดยตัดงบประมาณตามมาตรา ๒๔ (๕) งบลงทุนค่าสร้าง อาคารท่ีทาการและอาคารประกอบสานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสานักงานศึกษาธิการภาค จานวน ๔๖๕,๙๑๕,๖๐๐ บาท แล้วนางบประมาณจานวนดงั กลา่ วไปจัดสรรเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพโรงเรยี น ขนาดเล็กให้มีคุณภาพ ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓๘ และมาตรา ๔๒ ตอ่ ไป ทั้งนี้ การลงทุนสร้างสานกั งานดังกล่าวมิได้สนองยทุ ธศาสตรด์ ้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ เพ่อื พัฒนาคนไทยในทุกมติ ิและในทกุ ช่วงวัยให้เปน็ คนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ และมีสุขภาวะทด่ี แี ตอ่ ยา่ งใด วันพุธท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๑๕ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทาง ถึงอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เพ่ือร่วมพบปะหารือเกี่ยวกับ แนวทางการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมกับหัวหน้าส่วนราชการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง จานวนท้ังส้ิน ๓๐ คน โดยพิธีกรได้เรียนเชิญคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) ท้งั หมด ๔ คน พบปะเพือ่ ดาเนนิ การประชุม ประกอบด้วย
๙๙ ๑. นายชลิต แก้วจนิ ดา รองประธานกรรมการ คนทีส่ อง ๒. วา่ ทีร่ ้อยตรี วงศส์ ยาม เพง็ พานิชภักดี กรรมการ ๓. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ ๔. นายเฉลยี ว เกาะแก้ว กรรมการ โดย นายชลิต แก้วจินดา รองประธานกรรมการ คนที่สอง ได้กล่าวทักทายที่ประชุมและ ช้แี จงถึงบทบาท หน้าที่ และอานาจของสมาชิกวุฒสิ ภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ ภารกิจด้านการปฏิรูปประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ อานาจในการเร่งรัด ติดตาม และเสนอแนะ เพ่ือให้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู ขอ้ เสนอแนะจากการลงพน้ื ท่ี ๑. นายวนิ ยั วนั จนั ทร์ (ประธานชมุ ชนสโุ ขทัยนคร ๓ อ.เมอื ง จ.สุโขทยั ) เร่ือง การแก้ไข พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ขอให้แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ร.บ.โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ควรได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะมาตรา ๔ นิยามโบราณสถานให้รวมถึงเขต อุทยานประวัตศิ าสตรเ์ ปน็ โบราณสถานดว้ ย
๑๐๐ ๒. นายปองเลิศ เฉลิมสิริโรจน์ (ประธานชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเมืองเก่า สโุ ขทยั ) - เรื่อง ปัญหากฎหมายซ้าซ้อน ปัญหาเรื่องกฎหมายซ้าซ้อนหลายฉบับของแต่ละหน่วยงาน อยากให้มีการบูรณาการร่วมกันเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนของคนในท้องถ่ิน เช่น การก่อสร้างที่อยู่ อาศยั เอกสารสทิ ธใิ นท่ดี ิน การขออนุญาตประกอบการทพ่ี ักโรงแรม - เร่ือง ปัญหามัคคุเทศก์ท้องถ่ิน เน่ืองจากเขตตาบลเมืองเก่า เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเมืองมรดก โลก มัคคุเทศก์ท้องถ่ินซ่ึงผ่านการอบรมแล้ว สามารถนาเที่ยวชมสถานที่ต่างๆ ได้ แต่ปัจจุบันยังไม่ได้ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เพือ่ รองรับอาชีพมคั คเุ ทศก์อยา่ งถกู ต้องจึงทาให้ไม่สามารถปฏบิ ตั ิงานได้ - เรื่อง การส่งเสริมการท่องเท่ียวชุมชน อยากให้มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดย กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีโครงการศึกษาดูงาน เน้นการศึกษาดูงานชุมชนที่ประสบ ความสาเรจ็ ด้านการท่องเทย่ี วเพ่อื เป็นการกระจายรายได้สู่ชมุ ชน - เรื่อง การสนับสนุนงบประมาณในการจัดทาระบบ CCTV อยากให้ภาครัฐให้ความสาคัญ แหล่งท่องเที่ยวท่ีเป็นเมืองมรดกโลก ในการสนับสนุนด้านความปลอดภัยให้กับนักท่องเท่ียว โดยจัด งบประมาณเพ่ือจัดทาระบบกล้อง CCTV ระบบใหญ่ระบบเดียวท้ังเมือง และให้ทางสถานีตารวจภูธร เมอื งเก่าเป็นผู้ดูแล พรอ้ มงบประมาณในการซ่อมบารงุ ด้วย ๓. นายสมชาย เดือนเพ็ญ (ผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มจังหวัดมรดกโลกทางวัฒนธรรม พิษณุโลก กาแพงเพชร สุโขทัย และตาก) - เร่ือง ปัญหาการท่องเท่ียวได้รับผลกระทบจากการเสนอข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริงของ สื่อมวลชน เน่ืองจากการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากจากปัญหาอุทกภัยคร้ังท่ีผ่านมา โดยสื่อมวลชนนาเสนอขา่ ววา่ จังหวัดสุโขทัยมปี ัญหาอุทกภยั วิกฤตร้ายแรง แตใ่ นความจริงแล้วเกิดปัญหา อุทกภัยในเขตตาบลธานี ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีต้ังของศาลาว่าการจังหวัดสุโขทัย แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบถึงตาบล เมืองเก่าซึง่ เปน็ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์แตอ่ ย่างใด - เรอ่ื ง ปัญหาการบรหิ ารจัดการมรดกโลก เนอ่ื งจากรัฐบาลได้อนมุ ัตงิ บประมาณในการสรา้ ง หอจดหมายเหตุแห่งชาติที่จังหวัดพะเยา ขณะท่ีอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยมีเอกสารที่ต้องเก็บรักษา เป็นจานวนมาก ควรมีการสร้างหอจดหมายแห่งชาติท่ีจังหวัดสุโขทัย เพื่อรักษาเอกสารของอาณาจักร สโุ ขทัยเกา่ มิให้เอกสารเสยี หายและชารุด ข้อเสนอ ใหส้ ร้างหอจดหมายเหตุแห่งชาติทจี่ งั หวัดสโุ ขทยั ๔. นายณรงคช์ ัย โตอนิ ทร์ (โทร. ๐๘๙ – ๖๔๓๖๒๑๙) - เรื่อง ปัญหาเร่ืองระบบการขนส่ง อยากให้มีการพัฒนาระบบการขนส่งเพ่ือการท่องเที่ยว ท้องถ่นิ และการทอ่ งเท่ียวชมุ ชนใหค้ รอบคลมุ - เรื่อง การสนับสนุนระบบการดูแลความปลอดภัยและระบบกู้ชีพ อยากให้สนับสนุน งบประมาณเพื่อส่งเสริมระบบการดแู ลความปลอดภยั และระบบกู้ชีพใหก้ ับตารวจท่องเที่ยว อาสาสมัคร และเจา้ หนา้ ทีอ่ ทุ ยานฯ
๑๐๑ - เร่ือง ขอใหจ้ ัดอบรมเพ่อื เพมิ่ จานวนมคั คเุ ทศก์ทอ้ งถน่ิ - เรอ่ื ง ขอสนบั สนุนป้ายและขอ้ มูลสารสนเทศใหก้ ับนกั ท่องเทยี่ ว อยากใหม้ ีขอ้ มูลสารสนเทศ เช่น ปา้ ยบอกทาง ตารางการเดนิ รถประจาทางที่ถกู ตอ้ งใหก้ ับนกั ทอ่ งเทีย่ วทั้งคนไทยและคนต่างชาติ - เรื่อง ปัญหาเรื่องการบูรณะซ่อมแซมโบราณสถาน อยากให้มีการบูรณะซ่อมแซมโบราณ สถานทีช่ ารุดทรดุ โทรมโดยอ้างอิงจากหลกั ฐานเดิมของกรมศิลปากร และดาเนนิ การโดยชา่ งศลิ ปากร ๕. นายคงวุฒิ คุณธนเศรษฐ์ (ประธานกลมุ่ โฮมสเตย์เมอื งเก่าสโุ ขทยั ) - เร่ือง ปัญหาเร่ืองการขอเลขที่บ้าน เน่ืองจากปัจจุบันบ้านพักอาศัยในเขตอุทยานนั้น หากต้องการขอเลขท่ีบ้านจะได้เป็นเลขท่ีบ้านช่ัวคราวเท่านั้น จึงอยากทราบว่าจะมีผลในทางปฏิบัติ อย่างไรกบั ชุมชนตอ่ ไป - เร่ือง ปัญหาเรื่องการไม่รับจดแจ้งขึ้นทะเบียน ปัจจุบันอาเภอไม่รับจดแจ้งข้ึนทะเบียน ในธุรกิจด้านที่พัก เช่น โรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮ้าส์ และโฮมสเตย์ โดยให้เหตุผลว่าไม่มีเอกสารสิทธิ์ ถอื ครองทีด่ นิ จงึ อยากใหอ้ าเภอรบั จดแจง้ ขนึ้ ทะเบยี นใหถ้ ูกต้องตามกฎหมาย พร้อมกันนี้ วันพุธที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๑๕ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึงสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เพ่ือร่วมพบปะ หารือเก่ียวกับแผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข และแนวทางการบริหารจัดการสถานการณ์กาลังคน กับหัวหน้าส่วนราชการและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง จานวนท้ังส้ิน ๓๐ คน โดยมีคณะกรรมการโครงการสมาชิก วฒุ สิ ภาพบประชาชนภาคเหนอื (ตอนล่าง) ท้ังหมด ๓ คน ร่วมดาเนนิ การประชมุ ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศกั ดิ์ กล่ันเสนาะ รองประธานกรรมการ คนทีห่ นงึ่ ๒. พลตารวจโท สมหมาย กองวิสยั สขุ กรรมการ ๓. นายณรงค์ สหเมธาพัฒน์ กรรมการ
๑๐๒ ขอ้ เสนอแนะจากการลงพื้นท่ี ๑. ดร.นพ. ปองพล วรปาณิ (นายแพทยส์ าธารณสุขจงั หวดั สุโขทัย) ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย เพอ่ื ให้มีการดาเนินงาน ดังน้ี ๑) การจัดตั้ง National Health Policy Board (NHPB) คณะกรรมการนโยบายสุขภาพ แห่งชาติ หรอื National Health Authority ๒) การขับเคลื่อน Area Health Board / เขตสุขภาพ เพ่ือสร้างเสริมสุขภาพ ทาให้ ประชาชนสขุ ภาพดี ไม่มีโรค ประหยดั เงนิ ค่าใชจ้ า่ ยเพ่อื สุขภาพ แตถ่ า้ ประชาชนป่วย มาโรงพยาบาลกจ็ ะ ได้รับการบริการท่ีดีเพราะหมอดี ยาดี เครือ่ งมือดี ถ้าป่วยหนัก รพ.น้ันดูแลไม่ได้ก็ส่งต่อได้ง่าย ผ่าตัดได้ ทุกท่ี ๓) ประเด็นกองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพ (สปสช.) - การจดั สรรเงิน UC ควรแยกการจัดสรรเงนิ เดือนออกจากเงินเหมาจา่ ยรายหัว - ลดจานวนกองทนุ ย่อย สปสช. ท่ีมอี ยู่หลายกองทนุ - รายการ Fee Schedule ปี ๒๕๖๓ จานวน ๑๐ รายการ (๒๗ ข้อย่อยการชดเชย) - ภาระการบันทึกผลงานและส่งข้อมูลเพ่ือเบิกจ่ายผ่านโปรแกรมที่หลากหลาย เช่น HDC, e-Claim, NPRP, โปรแกรมระบบบัญชยี า สปสช. ฯลฯ (ประมาณ ๒๐ ระบบ) ๔) ควรมีการปรับปรุงฐานข้อมูลอัตรากาลังภาระงาน FTE (FTE หมายถึง หน่วยนับภาระ งานของพนกั งานมากาหนดอัตรากาลงั ท่ีตอ้ งการใช้ ซ่งึ จะคิดคานวณจานวนอัตราบุคลากรโดยการเทียบ กบั ชว่ั โมงการทางานทีพ่ นกั งาน เต็มเวลาหนึ่งคนทาในชว่ งเวลาหนง่ึ ๆ) ใหเ้ ปน็ ปปี จั จบุ ัน (ฐานขอ้ มูลภาระ งานท่ีใช้ปี ๒๕๕๖) ๕) การเพ่ิมอัตราบรรจุข้าราชการในกลุ่มสายสนับสนุน และกลุ่มสายวิชาชีพเฉพาะท่ี ขาดแคลน เช่น นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักจัดการ นักวิชาการเงินและบัญชี นกั วชิ าการพัสดุ นักกายภาพ นักรังสี เทคนคิ การแพทย์ เป็นต้น ๒. พ.ญ.ภาวณิ ี เอยี่ มจันทร์ (ผ้อู านวยการโรงพยาบาลสุโขทยั ) เรอื่ ง การบริหารบุคลากรในระบบราชการ ควรมขี ้ันตอนผ่านคณะกรรมการหลายขน้ั ตอน รวมถึง สัดส่วนจานวนคนในการบริหารและเก็บข้อมูลของกองกลาง กระทรวงสาธารณสุขกับส่วน ภูมิภาค แตกต่างกันมาก ๓. นายแพทย์ สมชาย แก้วเขยี ว (ผ้อู านวยการโรงพยาบาลศรีสังวร) เรื่อง ปัญหาค่าตอบแทนของแพทย์เฉพาะทาง ควรได้รับค่าตอบแทนท่ีสูงข้ึน เพื่อให้ เหมาะสมในการดารงชีวิตกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบนั
๑๐๓ ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธ์ิ ประชาชนได้รบั ทราบถึงบทบาทหน้าที่และอานาจของสมาชิก วฒุ สิ ภา วัตถปุ ระสงค์ของโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน ตลอดจนประชาชนมีความต่ืนตัวตอ้ นรบั การเข้ามาในพ้ืนท่ีสมาชิกวุฒิสภา มีส่วนร่วมในการเสนอประเด็นปัญหา ข้อคิดเห็นต่อความต้องการให้ ภาครัฐปรบั ปรุงแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ น ข้อร้องเรียน ตลอดจนข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ซ่ึงวุฒิสภาได้นา ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะเหล่านัน้ กลบั มาสกู่ ระบวนการของวุฒสิ ภาตามบทบาท หน้าท่แี ละอานาจตอ่ ไป _________________________________
๑๐๔ ครงั้ ที่ ๗ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชนในพื้นที่ จังหวดั ภาคเหนือ (ตอนล่าง) วันที่ ๒๓ – ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั พจิ ติ ร จงั หวดั พิจิตร วันพฤหสั บดที ่ี ๒๓ มกราคม - ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ วันพฤหัสบดีท่ี ๒๓ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึงหอประชุมท่ีว่าการอาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร เพ่ือประชุมพบปะร่วมกับหัวหน้า ส่วนราชการ กานัน ผใู้ หญ่บ้าน ของอาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รวมจานวนท้ังสิ้น ๓๐๐ คน โดยพิธีกร ได้เรียนเชิญคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนล่าง) ทั้งหมด ๘ คน พบปะเพือ่ ดาเนนิ การประชมุ ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศักด์ิ กลั่นเสนาะ รองประธานกรรมการ คนทห่ี นึง่ ๒. นายชลิต แก้วจนิ ดา รองประธานกรรมการ คนทีส่ อง ๓. พลเอกโปฎก บุนนาค กรรมการ ๔. วา่ ท่ีรอ้ ยตรี วงศ์สยาม เพ็งพานชิ ภักดี กรรมการ ๕. นายกิตตศิ ักดิ์ รตั นวราหะ กรรมการ ๖. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ ๗. นายเฉลียว เกาะแก้ว กรรมการ ๘. นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์ กรรมการ พร้อมด้วย นายพีระ ทองโพธิ์ ผู้ตรวจราชการประจาสานักนายกรัฐมนตรี และนายสิริรัฐ ชมุ อปุ การ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พิจติ ร ร่วมรบั ฟงั ปัญหา การแสดงความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากหัวหน้า สว่ นราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในครงั้ นี้ด้วย โดย พลอากาศเอก อดิศักด์ิ กล่ันเสนาะ สมาชิกวฒุ ิสภา ในฐานะรองประธานกรรมการ คนท่ีหน่ึง ได้กล่าวทักทายท่ีประชุมพร้อมกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของ โครงการ บทบาท หน้าที่และอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ สรุปได้ ดังนี้ ในการลงพื้นในฐานะ สมาชิกวุฒิสภา ซ่ึงตามหมวด ๖ ของรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา คือ ผู้แทนปวงชนชาวไทย ซึ่งลงมารับ ฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สร้างสัมพันธ์ทดี่ ีรว่ มกันในการบริหารบ้านเมือง สาหรบั บทบาทหน้าท่ี ของวุฒิสภา ไดแ้ ก่ ๑) กลัน่ กรองกฎหมาย ๒) การใหค้ วามเห็นชอบในเรื่องสาคัญ ๓) การติดตาม ศึกษา เร่งรัดการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ เพ่ือให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ซ่ึงเรื่องน้ีเป็นเร่ืองที่สาคัญโดยเฉพาะการติดตามการบริหารราชการแผ่นดินของราชการ รวมถึงเรื่อง การปฏริ ูปประเทศเปน็ ภารกิจและบทบาท ซึง่ เริ่มดาเนนิ การมาต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ การลงพ้ืนที่น้ันทาง วฒุ ิสภาอยากทราบว่ายุทธศาสตร์ท่ีสาคัญของจังหวัดพิจิตรมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติอย่างไร บ้าง มีปัญหาหรืออุปสรรคในการดาเนินงานหรือไม่ ติดตามการบังคับใช้กฎหมายเพ่ือนาไปสู่การแก้ไข
๑๐๕ ถึงผลกระทบนั้น ๆ และได้มีการสร้างความเข้าใจถึงยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีและยุทธศาสตร์ของจังหวัด ว่ามคี วามสอดคล้องกนั หรือไม่ เพอ่ื จะได้นาข้อมูลไปสรุปรวบรวมและแจง้ ต่อรฐั บาลตอ่ ไป วิธีดาเนินกิจกรรม จัดประชุม จัดเวทีเสวนา ลงพ้ืนที่พบปะหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผใู้ หญ่บา้ น เกษตรกร สื่อมวลชน และประชาชนในพน้ื ท่ี ข้อเสนอแนะจากการลงพื้นที่ ๑. นายณฐั ณรงค์ เอ่ียมมี เร่ือง ขอคืนพื้นที่บึงสรรพงายเพ่ือทาเป็นแหล่งน้าสาธารณะ พื้นท่ีจังหวัดพิจิตรเป็นจังหวัด หน่ึงท่ีประสบปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนแหล่งน้าสารองอย่างรุนแรงเป็นประจาทุกปี ทาให้ราษฎร เรียกร้องให้ทาการฟื้นฟูบึงสรรพงาย เพ่ือใช้เป็นแหล่งเก็บน้าสารอง เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้า ในระยะยาว โดยปัจจุบันพื้นที่บึงสรรพงายอยู่ระหว่างการคืนพื้นที่จากสถานีทดลองและขยายพันธ์ุ อ้อยพจิ ิตรของกรมปศสุ ัตว์ จานวนประมาณ ๒๕๐ ไร่ จากจานวนทงั้ หมด ๖๐๐ ไร่ เม่ือวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๓ สานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมท่ี ๖ ได้มีหนังสือขอเชิญประชุม เลขท่ี กษ ๐๓๐๙.๑๑/๓๔/๒๕๖๓ กรณีราษฏรขอคืนพื้นที่กรมชลประทาน
๑๐๖ เมื่อวันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมที่ว่าการอาเภอโพทะเล โดยทางสถานีทดลองและ ขยายพันธ์ุพืชพิจิตร ยินดีคืนพื้นที่แปลงที่ ๑ จานวน ๒๕๐ ไร่ โดยทางทางสถานีทดลองและขยายพันธุ์ พชื พิจิตรจะทาหนังสือแจ้งกลับมาซึ่งใช้ระยะเวลาไม่นาน และพ้ืนที่ท่เี หลือทั้งหมด หากมีความประสงค์ จะคืนให้หรือมคี วามจาเป็นกจ็ ะพิจารณาดาเนินการคนื ให้และแจ้งให้ทราบตอ่ ไป ๒. นายเสนห่ ์ เผอื กพลู (ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดาน หมู่ ๘ ต.ทา้ ยน้า อ.โพทะเล จ.พจิ ติ ร) เร่ือง ของบประมาณขุดลอกหนองหวาย เนื่องจากเป็นระยะเวลา ๓๐ ปีแล้วที่หนองหวาย ไม่ไดข้ ุดลอกมานานแล้ว จงึ ทาให้ปัจจบุ นั เกดิ การตนื้ เขนิ มีปญั หาน้าทว่ มและนา้ แลง้ ทกุ ปี โดยมกี ารเสนอ แผนพัฒนาทุกปีแต่ไม่ได้รับงบประมาณดังกล่าว หนองหวายมีพ้ืนท่ี ๑๕ ไร่ อยู่ในเขตองค์การบริหาร สว่ นตาบลท้ายน้า อ.โพทะเล จ.พิจติ ร ๓. นายเสนอ กลน่ิ ทอง (นายก อบต.โพทะเล อ.โพทะเล จ.พจิ ติ ร) เร่ือง การยกระดับฝายยางบ้านวังพญา ต.ท้ายน้า อ.โพทะเล จ.พิจิตร โดยขอยกระดับ ฝายยางอีก ๑.๕ เมตร เพ่ือกักเก็บน้าให้ได้ปริมาณท่ีมากขึ้น และขอขุดลอกหนองน้าตลอดเส้น เพื่อเพ่ิมแหล่งกักเก็บน้าได้ตลอดเส้นทางน้าในหมู่บ้านวังพญา ตาบลท้ายน้า อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร ๔. นายพร ปั้นเพง็ (ขา้ ราชการบานาญ) เร่ือง การพิจารณากาหนดกฎหมายให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดาเนิน โครงการที่ไดร้ บั งบประมาณดาเนนิ การในพืน้ ที่ต่างๆ หรือชุมชนนนั้ ๆ ๕. นายชาติ ฉ่าพงษ์ (กานนั ตาบลทะนง อ.โพทะเล จ.พจิ ติ ร) เร่ือง ขอปรับเพ่ิมค่าตอบแทนของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ น เนือ่ งด้วยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการเบกิ จ่ายค่าตอบแทนตาแหน่งและ เงินอื่นๆ ให้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้านฯ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๒ มีผลบังคับใช้มาแล้วกว่า ๑๐ ปี ซ่ึงไม่ สอดคล้องกับภาวะคา่ ครองชีพในปัจจุบัน ซ่ึงมีภาระค่าใช้จ่ายเพ่ิมมากขน้ึ แต่เพื่อดูแลทุกข์สุขของพี่น้อง ประชาชนและต้องทมุ่ เทเสยี สละปฏบิ ัติหน้าที่ตลอด ๒๔ ช่วั โมง ไมม่ เี ทศกาลและวนั หยุด ข้อเสนอ เพ่ือเป็นขวัญและกาลังใจให้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้านฯ จึงขอปรับเพ่ิมค่าตอบแทน ดังน้ี - กานัน ค่าตอบแทนปัจจบุ นั ๑๐,๐๐๐ บาท เปน็ ๑๕,๐๐๐ บาท - ผใู้ หญ่บ้าน คา่ ตอบแทนปจั จุบนั ๘,๐๐๐ บาท เป็น ๑๓,๐๐๐ บาท - แพทย์ประจาตาบล/สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ค่าตอบแทนปัจจุบัน ๕,๐๐๐ บาท เป็น ๘,๐๐๐ บาท วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๕.๑๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึงโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าในพื้นท่ีบึงสรรพงาย หมู่ที่ ๖ ตาบลท่าบัว อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร เพื่อดูความคืบหน้าในการก่อสร้างอ่างเก็บน้าและการบริหารจัดการเรื่องน้าบริเวณ
๑๐๗ บึงสรรพงาย โดยมี นายสิริรัฐ ชุมอุปการ (ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร) เดินทางลงพ้ืนที่ด้วย พร้อมทั้ง นายสุวิทย์ พ่ึงกัน (นายก อบต.ท่าบัว) เป็นผู้บรรยายสรุปการดาเนินงานและความคืบหน้าในการ ก่อสร้างอ่างเก็บน้าบึงสรรพงาย และปัญหาการครอบครองท่ีดินทับซ้อนพื้นที่ป่าดงกุรัง โดยกล่าวสรุป ได้ดังน้ี การบริหารจัดการน้าในบึงสรรพงาย และปัญหาการครอบครองที่ดินทับซ้อนพื้นที่ป่าดงกุรัง โดยข้อมูลพ้ืนฐานของตาบลท่าบัว มีพื้นที่ท้ังหมดประมาณ ๒๘,๘๖๐ ไร่ (๔๖.๑๗๖ ตารางกิโลเมตร) เป็นท่ีราบลมุ่ ประชาชนส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรมประมาณ ๒๖,๑๙๐ ไร่ ทานา ๒๔,๔๘๙ ไร่ ทาสวน ๑,๕๙๑ ไร่ เกษตรกรรมอ่ืนๆ ๑๑๐ ไร่ ราษฎรจานวน ๒,๑๘๒ ครัวเรือน ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ๑,๔๗๐ ครัวเรือน (ประมาณ ๙๐%) อยู่ในเขตจัดรูปฯ การใช้พ้ืนท่ีเพ่ือการเกษตรกรรม เท่าน้ัน ๑๓ หมู่บ้านใช้น้าบาดาล เพราะพ้ืนที่อยู่ปลายคลองส่งน้าทาให้น้าส่งไม่ถึงตลอดริมคลองแม่น้า พจิ ิตรท้งั ๒ ฝัง่ (๑๒ กิโลเมตร) เปน็ สวนมะนาวและสม้ เมอื่ ปี ๒๕๕๘ ประสบปญั หาแม่นา้ พิจิตรเร่ิมแห้ง ซ่ึงทุกปีจะมีน้าหล่อเลี้ยงตลอดทั้งปี ล่าสุดเม่ือวันที่ ๑๓ พ.ย. ๒๕๖๒ ที่ประชุมโครงการปรับปรุงฟ้ืนฟู แหล่งน้าประจาปี ๒๕๖๓ (ความร่วมมือ ทบ.– มูลนิธิอุทกพัฒน์ฯ) ที่ประชุมหารือเร่ืองแก้มลิงบึงสรรพงาย สาเหตุท่ีประชุมเลื่อนแผนขุดแก้มลิงมาหลายคร้ัง สรุปอนุมัติให้ ช.พัน๘ พล.ม.๑ เป็นหน่วยสารวจ ขุดลอกบึงสรรพงาย ตาบลท่าบัว ส่วนท่ี ๑ ผลการสารวจโครงการปรับปรุงฟื้นฟูแหล่งน้าลุ่มน้ายม ใหด้ าเนินการขดุ ลอกในปี ๒๕๖๓ วงเงนิ ๙,๙๘๒,๐๗๕ บาท
๑๐๘ ขอ้ เสนอแนะจากการลงพื้นท่ี ส่วนที่เหลือ ทบ.– มูลนิธิอุทกพัฒน์ฯ จะมีงบประมาณมาดาเนินงานต่อให้หรือไม่ อย่างไร และเพ่ือให้เป็นไปตามดารินายกรัฐมนตรี เร่ืองการจัดหาแหล่งน้า ขอความอนุเคราะห์ท่านสมาชิกวุฒิสภา ติดตามงบประมาณจาก ชป. ประมาณ ๕๐ ล้านบาทมาขุดลอกบงึ สรรพงายใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ได้หรือไม่ วนั ศกุ ร์ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬกิ า สมาชิกวฒุ ิสภา พร้อมคณะ เดนิ ทางถึง หอประชุมท่วี า่ การอาเภอเมอื งพิจิตร จังหวดั พิจติ ร เพอื่ ประชมุ พบปะร่วมกับหวั หน้าส่วนราชการ กานนั ผู้ใหญ่บ้าน ของอาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร รวมจานวนท้ังส้ิน ๑๐๐ คน โดยพิธีกรได้เรียนเชิญ คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนล่าง) ท้ังหมด ๔ คน พบปะ เพือ่ ดาเนนิ การประชมุ ประกอบด้วย ๑. พลอากาศเอก อดิศกั ดิ์ กลน่ั เสนาะ รองประธานกรรมการ คนท่ีหนงึ่ ๒. พลเอกโปฎก บนุ นาค กรรมการ ๓. พลเอกสาเริง ศิวาดารงค์ กรรมการ ๔. นายกติ ติศกั ด์ิ รัตนวราหะ กรรมการ พร้อมด้วย นายพีระ ทองโพธิ์ ผู้ตรวจราชการประจาสานักนายกรัฐมนตรี นายพยนต์ อัศวพิชยนต์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจติ ร และนายพรชยั อินทร์สุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพจิ ิตร เขต ๑ ร่วมรับฟังปัญหา การแสดงความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในคร้ังน้ีด้วย โดย พลอากาศเอก อดิศักด์ิ กลั่นเสนาะ สมาชิกวุฒิสภา ในฐานะรองประธานกรรมการ คนท่ีหน่ึง ได้กล่าวทักทายที่ประชุมและกล่าวถึงเรื่องการลงพ้ืนที่ของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อรับฟังปัญหา ของประชาชน และติดตามการทางานของสมาชิกวุฒิสภาในการออกกฎหมาย ซ่ึงโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชนฯ เป็นโครงการที่จัดทาแบ่งออกเป็น ๗ คณะ เพ่ือนาผลการดาเนินงานไปพิจารณากฎหมาย และดูผลกระทบในการออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ ในการกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจนอีก ๒๐ ปีตาม ยุทธศาสตร์ชาติ โดย ๕ ปีแรกของการปฏิรูประบบงบประมาณหรือกระบวนการท่ีลงไปสู่ประชาชน เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ให้ปรากฏข้ึน การทาความเข้าใจกับทุกภาคส่วนถึงท่ีมาของสมาชิกวุฒิสภา ต้องชี้แจงถึงบทบาท หน้าท่ี และอานาจของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ ภารกิจด้านการปฏิรูปประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ อานาจในการเร่งรัด ติดตาม และเสนอแนะ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคต์ ามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งการลงพื้นท่ีของสมาชิกวุฒิสภาในคร้ังน้ี สมาชิก วุฒิสภาจาเป็นต้องรับรู้หรือรับทราบข้อมูลปัญหาของประชาชนให้ได้มากท่ีสุด เพ่ือนาไปสู่การแก้ไข อย่างเป็นรูปธรรม เน่ืองจากการเพิ่มขึ้นของประชากรในประเทศ การอุปโภคสาธารณูปโภคจึงเป็น สิ่งสาคัญที่ต้องให้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติต้องเหลือทิ้งไว้ให้ลูกหลาน ในอนาคตต่อไปได้ ดังนั้นภาครัฐต้องมีนโยบายท่ีชัดเจนและตอบสนองความต้องการของประชาชน อยา่ งดีท่สี ุด
๑๐๙ ข้อเสนอแนะจากการลงพนื้ ท่ี ๑. นายสรุ ศกั ดิ์ เฉลมิ สถาน (กานนั ตาบลปากทาง อ.เมืองพจิ ิตร จ.พิจติ ร) เร่ือง ปัญหาพืชผลทางการเกษตร จงั หวัดพิจิตรมีประชากรในพืน้ ที่สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เชน่ การปลกู ข้าว ปลกู ส้มโอ การทาพชื ไร่ เปน็ ต้น โดยจังหวัดพิจติ รสามารถสง่ ออกขา้ วได้ ในลาดับต้นๆ ของประเทศ แต่ในห้วงเวลาที่ผ่านมาราคาพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะข้าว มีราคาตกตา่ สง่ ผลให้เกษตรกรไดร้ บั ความเดือดร้อนและปจั จบุ ันคา่ ครองชพี และค่าใช้จ่ายที่คอ่ นขา้ งสงู ข้อเสนอ ขอให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหามาตรการช่วยเหลือให้ราคาข้าว และสินคา้ ทางการเกษตรใหม้ มี ลู คา่ ทส่ี ูงขนึ้ และเป็นท่ีตอ้ งการของตลาด ๒. นางสาวนงชนก เพ็ชรคล้าย (ผใู้ หญ่บา้ นหมู่ที่ ๕ ต.หวั ดง อ.เมืองพจิ ิตร จ.พจิ ติ ร) เรื่อง ปัญหาความไม่ชัดเจนของนโยบายราคาข้าวของรัฐบาล นโยบายราคาข้าวและ โครงการต่าง ๆ ท่ีจะช่วยชาวนา เช่น ราคาข้าวหรือส่วนต่างของราคาข้าว ขอให้มีความชัดเจนและ รวดเร็วทันเวลากับที่ชาวนาเก็บเก่ียว เช่น นาปี ชาวนาจะเริ่มเก็บเก่ียวกันต้ังแต่ต้นเดือนพฤศจิกายน เป็นตน้ ไป นโยบายทจี่ ะช่วยเหลอื ควรจะออกมาอยา่ งช้าตน้ เดอื นพฤศจิกายน เพราะชาวนาจะได้วางแผน ในการทานาไม่ใช่รอให้พ่อค้าเป็นคนกาหนดราคา ในเร่ืองของส่วนต่างราคาข้าวก็ต้องชัดเจนตั้งแต่ ต้นเดือนเมษายนคือ ต้องมีนโยบายออกมากอ่ นที่ชาวนาจะแจ้งปลูกข้าว เชน่ เกษตรกาหนดให้แจ้งปลูก นาปีตั้งแต่เดือน ๑ เมษายน นโยบายส่วนต่างราคาข้าวก็ต้องออกมาให้ชาวนาได้ทราบว่าปีน้ีรัฐบาล จะช่วยเหลืออยา่ งไร ชาวนาจะได้วางแผนไดว้ ่าจะปลกู ขา้ วประเภทไหนอย่างไรตอ่ ไป ๓. นายวรวุฒิ เอ่ยี มสะอาด (ยุวชนประชาธปิ ไตยรุ่นท่ี ๑/๖๒) เรอื่ ง ปญั หาฝุ่นละอองและมลพษิ จากการเผา เนื่องจากประชาชนในพน้ื ที่จังหวดั พิจติ รมกั จะ เผาฟางข้าว ไร่อ้อย และขยะมูลฝอยกันเป็นจานวนมาก จนทาให้เกิดปัญหาฝุ่นละออง (PM๒.๕) ส่งผล
๑๑๐ เสียต่อสุขภาพกับประชาชนเป็นวงกว้าง และปัญหาขยะมูลฝอยซึ่งท้องถิ่นมีมาตรการรณรงค์ ใหป้ ระชาชนแยกขยะ แตไ่ ม่มีการดาเนนิ การใหส้ อดคล้องกับมาตรการดังกล่าวอยา่ งจรงิ จงั ข้อเสนอ อยากให้การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และเพ่ิมเรื่องฝุ่นละออง (PM๒.๕) ในแผนปฏริ ูปประเทศ ทาให้เกิดการแกไ้ ขอย่างจรงิ จงั และยง่ั ยืนตอ่ ไป ๔. นายกติ ติศักด์ิ แปน้ สะอาด (นายก อบต.สายคาโห้ อ.เมอื งพิจิตร จ.พิจติ ร) เรื่อง ปัญหาน้าท่วม น้าแล้ง ในพ้ืนท่ีฝั่งตะวันออกของแม่น้าน่านได้เกิดภัยพิบัติซ้าซาก หลายคร้ัง ซึ่งพื้นท่ีดังกล่าวจะเป็นพ้ืนท่ีรับน้าจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ ในฤดูฝนหรอื ฤดูน้าหลากจะทาให้ เกิดน้าท่วมเป็นประจา และในฤดูแล้งพ้ืนที่บริเวณดังกล่าวก็จะแห้งแล้งมาก ทาให้ประชาชนได้รับ ความเดอื ดร้อน ข้อเสนอ ขอให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องหามาตรการช่วยเหลือในด้านการบริหารจัดการน้า ในช่วงฤดฝู นและฤดแู ล้งไมใ่ ห้ประชาชนในพ้นื ท่ีดงั กล่าวได้รับความเดอื ดรอ้ น ๕. นางสาวประทมุ อยู่ยงค์ (ผใู้ หญ่บ้านหมทู่ ี่ ๓ ต.บา้ นบุ่ง อ.เมืองพิจิตร จ.พจิ ิตร) เรื่อง การขาดแคลนน้าทาการปลูกข้าว และพืชผลทางการเกษตร ในพื้นที่จังหวัดพิจิตร นอกเขตชลประทาน ประชาชนในพื้นท่ีจะทาการเกษตรแต่ในช่วงฤดูแล้งน้าจากเขตชลประทาน จะไม่เพียงพอต่อพืชผลทางการเกษตร ทาให้ประชาชนในพื้นที่ไม่สามารถทาการเกษตรได้ตลอดท้ังปี จึงต้องอพยพไปทางานในต่างพื้นท่ี หากส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องมีมาตรการในการบริหารจัดการน้า นอกเขตชลประทานให้เพียงพอต่อการทาการเกษตรจะทาให้ชาวบ้านมีรายได้ตลอดทั้งปี โดยไม่ต้อง อพยพไปทางานท่อี ืน่ ขอ้ เสนอ ขอมาตรการในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนดังกล่าว ๖. นายประเสรฐิ ศรปี ัญญา (ประธานสถานสี ูบน้า จ.พจิ ิตร) เรอ่ื ง ขอสรา้ งเข่อื นทดนา้ บรเิ วณแมน่ า้ นา่ น ตามท่จี งั หวดั พจิ ติ รปี ๒๕๖๒/๒๕๖๓ ได้ประสบ ปัญหาภยั แล้งทาให้สถานสี บู นา้ ดว้ ยไฟฟ้าในเขตลานา้ น่านไมส่ ามารถสูบน้าใหก้ ับเกษตรกรได้ ทาใหไ้ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นทั้งในเขตและนอกเขตชลประทาน เพ่ือแกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ ในระยะยาว กลุม่ ผูใ้ ช้นา้ ในเขต ลาน้าน่านที่มที ้ังหมด ๔๑ สถานี พืน้ ท่ีเพาะปลกู ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ไร่ ได้จัดประชุมที่องคก์ ารบริหาร สว่ นตาบลหวั ดง เมอ่ื วนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๓ เหน็ สมควรให้หน่วยงานโครงการชลประทานจงั หวดั พจิ ิตร พจิ ารณาก่อสรา้ งเขือ่ นกนั้ น้าแม่น้านา่ นในเขตจังหวดั พิจิตร เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแลง้ ในระยะยาว โดยทาง กลุ่มผใู้ ช้นา้ ได้เตรียมสถานทไ่ี วเ้ พอ่ื ประกอบการพิจารณาตามความเหมาะสม ๓ แห่ง ได้แก่ ๑. บรเิ วณตาบลฆะมัง หมูท่ ่ี ๓ ต.ฆะมัง อ.เมอื งพจิ ติ ร จ.พจิ ิตร ๒. บรเิ วณบ้านวังนา้ เตา้ หมทู่ ่ี ๖ ต.บางไผ่ อ.บางมลู นาก จ.พจิ ิตร ๓. บรเิ วณบา้ นหาดแตงโม หมู่ที่ ๓ ต.งิ้วราย อ.ตะพานหนิ จ.พจิ ติ ร
๑๑๑ พรอ้ มกันนี้ วันศกุ ร์ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒสิ ภา พร้อมคณะ เดินทางถึงสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร เพ่ือร่วมพบปะ ผู้อานวยการโรงพยาบาลระดับจังหวัดและระดับอาเภอ จานวนทั้งส้ิน ๓๐ คน โดยมีคณะกรรมการ โครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนล่าง) ทั้งหมด ๓ คน ร่วมดาเนินการประชุม ประกอบดว้ ย ๑. นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์ กรรมการ ๒. วา่ ท่ีร้อยตรี วงศส์ ยาม เพง็ พานิชภักดี กรรมการ ๓. นายทรงเดช เสมอคา กรรมการ ขอ้ เสนอแนะจากการลงพ้ืนที่ นพ.ธรี ะพงษ์ แกว้ ภมร (นายแพทย์สาธารณสขุ จงั หวัดพิจติ ร) เรอื่ ง บุคลากรยังไม่มีแนวทางในการปฏิบัติตามพระราชบญั ญัติระบบสุขภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. ๒๕๖๒ เน่ืองจากยังไม่มีกฎหมายลูกที่ลงรายละเอียดให้สาหรับผู้ปฏิบัติ ในขณะท่ีข้อเท็จจริงของการจัดบริการ ระดับปฐมภูมิในปัจจุบันไม่ได้อยู่ในรูปแบบของ cluster และการปฏิบัติแบบเดิมนั้นก็มีปัญหาเยอะอยู่แล้ว เมื่อมาเปล่ียนเชิงโครงสร้างอีกย่ิงทาให้บุคลากรไม่ม่ันใจในแนวทางการปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญตั นิ ี้ วนั ศกุ ร์ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๑๐ นาฬิกา สมาชกิ วฒุ ิสภา พรอ้ มคณะ เดินทางถึง บึงสไี ฟ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร เพ่ือดกู ารบริหารจัดการเร่ืองน้าบริเวณบึงสีไฟ โดยมีนายพยนต์ อัศวพิชยนต์ (รองผู้ว่าราชการจงั หวัดพจิ ิตร) ให้การต้อนรบั พร้อมทั้งนายศักดา เลอื ดลว้ น (วิศวกรผคู้ วบคุมการก่อสร้างบึงสีไฟ) เปน็ ผู้บรรยายสรุปการดาเนินงานและความคืบหน้าในการบริหาร จัดการเรอื่ งนา้ บึงสไี ฟ โดยกล่าวสรปุ ได้ดงั นี้
๑๑๒ กรมเจ้าท่าได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูแหล่งน้าบึงสีไฟ โดยจะทากาขุดลอกบึงสีไฟ แบง่ ออกเป็น ๒ โครงการประกอบดว้ ย (๑) โครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูแหล่งน้าบึงสีไฟ Phase ๑ (ช่วงท่ี ๓ และช่วงท่ี ๔) ดาเนินงานโดย หจก.สามเพชร สัญญาจ้างเลขท่ี ๒/๒๕๖๑/สกม. ลงวันท่ี ๑๔ พ.ย.๒๕๖๐ บันทึกข้อตกลงแก้ไข เปลย่ี นแปลงสญั ญาโครงการอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟแู หล่งน้าบึงสไี ฟ Phase ๑ (ช่วงที่ ๓ และชว่ งท่ี ๔) ลงวันท่ี ๑๕ มี.ค.๒๕๖๒ เริ่มต้นสัญญา ๑๕ พ.ย.๒๕๖๐/ส้ินสุดสัญญา(เดิม) ๗ ก.พ.๒๕๖๒ ขอขยายระยะเวลา ปฏิบัติงานและงดเว้นค่าปรับ ๑๐๕ วัน ระยะเวลาดาเนินงาน ๔๕๐ วัน ปริมาณวัสดุขุดลอก ๔,๐๒๔,๕๙๖.๕๐ ลบ.ม. วงเงินค่าจ้าง ๑๗๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๒) โครงการอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟูแหลง่ น้าบึงสีไฟ Phase ๒ (ช่วงที่ ๒) ดาเนินงานโดย หจก.รุ่งสวรรค์ ก่อสร้าง สัญญาจ้างเลขท่ี ๑/๒๕๖๑/สกม. ลงวันท่ี ๑๔ พ.ย.๒๕๖๐ บันทึกข้อตกลงแก้ไขเปลี่ยนแปลง สัญญาโครงการอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟแู หล่งนา้ บงึ สไี ฟ Phase ๒ (ชว่ งท่ี ๒) ลงวันท่ี ๒๕ มี.ค.๒๕๖๒ เรม่ิ ต้นสัญญา ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ สิ้นสุดสัญญา (เดิม) ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ และขอขยายระยะเวลาปฏิบัติงานและ งดเว้นค่าปรับ ๑๑๑ วัน ระยะเวลาดาเนินงาน ๔๕๐ วัน ปริมาณวัสดุขุดลอก ๓,๙๑๕,๔๘๓.๐๑ ลบ.ม. วงเงินคา่ จา้ ง ๑๖๗,๖๑๖,๐๐๐ บาท ความคืบหน้าการดาเนนิ งาน ผู้รบั จ้างฯ สามารถขุดลอกและขนยา้ ยวัสดุขดุ ลอกข้ึนมากองเก็บ บริเวณพ้ืนที่ว่างริมบึงสีไฟ และกองเก็บบนพ้ืนที่เก็บกองเพิ่มเติม (ที่เอกชน) เพื่อรอการจาหน่าย หลังสง่ มอบผลงานไดป้ ระมาณ ๒,๖๘๔,๘๘๐ ลบ.ม. คิดเป็นผลงานเทา่ กับ ๖๘.๕๗% ผู้รบั จา้ งฯ สง่ มอบงาน งวดที่ ๑ – ๓ เมื่อวันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ และส่งมอบงานงวดท่ี ๔ – ๘ เมื่อวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ คงเหลือปริมาณวัสดุที่ต้องขุดลอกอีกจานวน ๑,๒๓๐,๖๐๓.๐๑ ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๔๓ ปัจจุบันผู้รับจ้างฯ ขอหยุดงานเป็นการช่ัวคราวเนื่องจากไม่มีพ้ืนท่ีเก็บกองวัสดุขุดลอก และอยู่ระหว่าง จดั หาสถานท่ีกองเกบ็ วสั ดขุ ุดลอกเพ่มิ เตมิ ผ้รู บั จ้างจะสามารถเข้าดาเนนิ งานตอ่ ไดอ้ กี ครั้งประมาณปลาย เดือน ม.ค. ๒๕๖๓ และคาดว่าจะดาเนินงานไดแ้ ล้วเสร็จประมาณปลายเดือน ก.พ. ๒๕๖๓ สาหรบั ดินที่ ขนย้ายมากองเก็บไว้ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่รอบบึงสไี ฟ เน่ืองจากทาให้เกิดนา้ ท่วมและ กองดินกีดขวางการเดนิ ทางของประชาชน ซ่งึ ผรู้ ับจ้างจัดทามาตรการป้องกนั ปัญหาผลกระทบที่เกิดจาก การดาเนินงานโครงการฯ เช่น ปรับแต่งความลาดชันกองดินให้มีความม่ันคงแข็งแรง ทารางระบายน้า บรเิ วณพ้ืนทีเ่ ก็บกองวสั ดุขุดลอก เพ่ือปอ้ งกนั ปญั หาน้าท่วมขัง วางท่อลอดก่อนถมทาทางขา้ มเพ่อื ใหก้ าร ระบายน้ามีประสิทธิภาพ จัดหาเครือ่ งสบู นา้ กรณีเกดิ นา้ ท่วมขงั พนื้ ทขี่ ้างเคียง
๑๑๓ วนั ศุกร์ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๕.๐๐ นาฬกิ า สมาชกิ วุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึง โครงการก่อสร้างประตูระบายน้าท่าแห ตาบลกาแพงดิน อาเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร เพ่ือติดตาม ความคืบหน้าในการก่อสร้างประตูระบายน้าในแม่น้ายม โดยมีนางอรุณี จุลเจริญ (นายอาเภอสามง่าม จังหวดั พจิ ติ ร) ให้การตอ้ นรับ พร้อมทัง้ นายเสกโสม เสรมิ ศรี (ผ้อู านวยการก่อสร้างประตรู ะบายนา้ กลาง ท่ี ๓) เปน็ ผู้บรรยายสรุปการดาเนินงานและความคืบหนา้ ในการกอ่ สร้างประตูระบายน้าท่าแห โดยกล่าว สรปุ ไดด้ งั นี้ ในปี ๒๕๖๒ จังหวัดพิจิตรได้ประกาศพ้ืนที่ประสบภัยแล้ง จานวน ๙ อาเภอ รวม ๓๙ ตาบล ๒๗๖ หมู่บ้าน รวมพื้นท่ีท่ีประสบปัญหาภัยแล้ง จานวน ๓๒๑,๗๑๕ ไร่ ซึ่งในพ้ืนที่ด้านตะวันออก ของจังหวัดพิจิตร ต้องอาศัยน้าจังหวัดกาแพงเพชรโดยใช้น้าจากแม่น้าน่านเป็นส่วนใหญ่ ส่วนแม่น้ายม ในช่วงฤดูแล้งจะไม่มีน้า โดยจะเร่ิมมีน้าในเดือนมิถุนายน สาหรับแม่น้ายมมีโครงการก่อสร้างประตู ระบายนา้ จานวน ๔ แห่ง คือ โครงการประตูระบายนา้ ทา่ นางงาม จงั หวัดพิษณโุ ลก โครงการประตูระบาย น้าท่าแห โครงการประตูระบาย น้าวังจิก โครงการประตูระบายน้าโพธิประทับช้าง จังหวัดพิจิตร แต่ขณะน้ีทั้ง ๔ โครงการ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ผ่านการพิจารณาเรยี บร้อยแล้ว เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ซ่ึงหากโครงการก่อสร้างประตูระบายดังกล่าวแล้วเสร็จ จะสามารถแก้ไขปัญหาภัยแล้งและน้าท่วมในพื้นที่จังหวัดพิจิตร โดยประตูระบายน้าท่าแหมีพื้นท่ี
๑๑๔ รับประโยชน์ ๘๑,๑๑๑ ไร่ ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๗ ตาบล ๒ อาเภอ ๒ จังหวัด จานวน ๑,๔๑๒ ครัวเรือน แผนการก่อสร้างท้ังโครงการปีงบประมาณ ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕ งบประมาณทงั้ ส้ิน ๓๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ผลการดาเนนิ งาน ณ ปัจจบุ ัน เสร็จไปแลว้ ๒๒.๘๖% ไม่มปี ญั หาและอุปสรรคในการกอ่ สรา้ งแตอ่ ย่างใด ผลการดาเนินการ ประชาชนได้รับทราบถึงบทบาทหน้าท่ีและอานาจของสมาชิกวุฒิสภา วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ตลอดจนประชาชนมีความต่ืนตัวต้อนรับการเขา้ มา ในพ้ืนท่ีสมาชิกวุฒิสภา มีส่วนร่วมในการเสนอประเด็นปัญหา ข้อคิดเห็นต่อความต้องการให้ภาครัฐ ปรับปรุงแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ข้อร้องเรียน ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ ซ่ึงวุฒิสภาได้นา ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเหล่าน้นั กลบั มาสู่กระบวนการของวุฒสิ ภาตามบทบาท หนา้ ทีแ่ ละอานาจตอ่ ไป _________________________________
๒.๓ รายงานผลการดาเนนิ การโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชนในพืน้ ท่ี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ตอนบน) จานวน ๖ คร้งั ประกอบดว้ ย ๑. ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๖๒ ระหว่างวันที่ ๔-๖ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สกลนคร ๒. ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒ ระหว่างวนั ที่ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั นครพนม ๓. ครงั้ ท่ี ๓/๒๕๖๒ ระหว่างวนั ที่ ๒๘-๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ๔. ครง้ั ที่ ๔/๒๕๖๒ ระหว่างวนั ที่ ๒๘-๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั หนองบัวลาภู และจงั หวดั เลย ๕. คร้งั ที่ ๑/๒๕๖๓ ระหวา่ งวันที่ ๓๑ มกราคม-๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวัดอดุ รธานี และจังหวดั หนองคาย ๖. ครง้ั ท่ี ๒/๒๕๖๓ ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั ร้อยเอ็ด และจงั หวดั มกุ ดาหาร
๑๑๕ ครง้ั ท่ี ๑ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวดั กลุ่มภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) ระหวา่ งวนั ท่ี ๔-๖ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สกลนคร จงั หวดั สกลนคร ณ ศาลากลางจงั หวดั สกลนคร วธิ กี ารดาเนินกจิ กรรม ประชุมรว่ มกับสว่ นราชการของจงั หวดั สกลนคร ผลการดาเนินการ คณะสมาชกิ วุฒสิ ภาไดร้ บั ทราบข้อมูล ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั จงั หวัดสกลนคร ณ วดั ใหม่เจรญิ ศิลป์ บ้านพนาสวรรค์ หมทู่ ี่ ๔ ตาบลหว้ ยหลวั อาเภอบ้านม่วง จงั หวดั สกลนคร วิธกี ารดาเนินกิจกรรม พบปะประชาชนเย่ยี มเยอื นและให้กาลงั ใจแกผ่ ูป้ ระสบภัยนา้ ท่วม ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวฒุ สิ ภาได้รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากประชาชน จงั หวดั สกลนคร ณ เทศบาลคาตากล้า อาเภอคาตากล้า วธิ กี ารดาเนนิ กิจกรรม พบปะเยย่ี มเยือนประชาชนและรบั ฟังข้อเสนอแนะและรับฟังเรอ่ื งร้อง ทุกขข์ องประชาชนในพน้ื ที่ ผลการดาเนนิ การ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนเกี่ยวกับการบริหาร จัดการน้าในพน้ื ที่
๑๑๖ จงั หวัดสกลนคร ณ อาเภอวานรนวิ าส วิธีการดาเนินกิจกรรม พบปะเย่ียมเยือนประชาชนและรับฟังข้อเสนอแนะและรับฟังเร่ือง ร้องทกุ ขข์ องประชาชนในพ้ืนท่ี ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้รบั ฟงั ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนเกย่ี วกบั เรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์ การทาเหมืองโปรแตสของบรรษัทข้ามชาติที่ได้รับสัมปทานท่ีอาเภอวานรนิวาส การแก้ไขปัญหาภาวะ น้าท่วมและน้าแล้งในจังหวัดสกลนครและจังหวัดใกล้เคียง และการขอเปลี่ยนแปลง นส.๓ เป็นโฉนด ท่อี าเภอกุดบาก ขอ้ สงั เกต ควรมแี นวทางในการดาเนินการเก่ียวกบั เรื่องรอ้ งเรียน ข้อเสนอแนะของประชาชนที่รับมาอยา่ ง ชัดเจน จังหวัดสกลนคร ณ อาเภอพังโคน และศาลาประชาคมบ้านฝ่ังแดง หมู่ที่ ๑๗ ตาบลไฮหย่อง อาเภอพังโคน วิธีการดาเนินกิจกรรม พบปะเย่ียมเยือนประชาชนและรับฟังข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น ของประชาชนในพน้ื ที่ ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้พบปะ หารือ รับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากประชาชนในพ้ืนท่ี หารอื และรว่ มแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ รว่ มกบั กลมุ่ เกษตรกรแบบนาแปลงใหญ่ _________________________________
๑๑๗ ครัง้ ท่ี ๒ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัด กลมุ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื (ตอนบน) ระหวา่ งวันที่ ๑๙-๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั นครพนม จงั หวัดนครพนม วนั พฤหัสบดที ่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวดั นครพนม วธิ กี ารดาเนนิ กิจกรรม ประชมุ ร่วมกบั สว่ นราชการของจังหวดั นครพนม ผลการดาเนินการ ประชมุ รว่ มกบั สว่ นราชการของจังหวัดนครพนม จงั หวัดนครพนม ณ โรงเรยี นปิยะมหาราชาลยั อาเภอเมืองนครพนม วิธีการดาเนนิ กิจกรรม รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากเยาวชน ผลการดาเนนิ การ พบปะพูดคยุ เพ่อื รับฟงั ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากเยาวชน จงั หวัดนครพนม ณ บา้ นปฏริ ปู ตาบลศรสี งคราม อาเภอศรสี งคราม วิธีการดาเนินกิจกรรม เยย่ี มชมและให้กาลงั ใจกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ผลการดาเนนิ การ พบปะพูดคุยและเย่ียมชมและให้กาลังใจกลุม่ เกษตรทฤษฎใี หม่
๑๑๘ จังหวัดนครพนม ณ บ้านศรีเวนิ ชัย ตาบลสามผง อาเภอศรสี งคราม วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม ตดิ ตามความคบื หนา้ การดาเนนิ การของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ตามโครงการธนาคารโค – กระบอื ตามพระราชดาริ ผลการดาเนินการ พบปะพูดคุยและติดตามความคืบหน้าการดาเนินการของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนตามโครงการธนาคารโค – กระบอื ตามพระราชดาริ จังหวดั นครพนม ณ พืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษนครพนม วธิ ีการดาเนนิ กจิ กรรม ศกึ ษาดูงาน ผลการดาเนนิ การ ศึกษาดงู าน ณ พืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษนครพนม จังหวัดนครพนม วันศุกร์ท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ โครงการส่งน้าและบารุงรักษาน้าก่า ตาบลน้าก่า อาเภอธาตุพนม วธิ ีการดาเนินกจิ กรรม รบั ฟังขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินการ รับฟังขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับการบรหิ ารจดั การนา้ ลมุ่ น้ากา่
๑๑๙ จงั หวดั นครพนม ณ บ้านนางาม หม่ทู ี่ ๔ ตาบลนางาม อาเภอเรณนู คร วิธีการดาเนนิ กิจกรรม พบปะเยยี่ มชมและใหก้ าลงั ใจ ผลการดาเนินการ เยี่ยมชมและให้กาลังใจกล่มุ สตรที อผ้าบ้านนางาม จังหวัดนครพนม ณ บา้ นนายอ หมู่ท่ี ๖ ตาบลนางาม อาเภอเรณนู คร วธิ ีการดาเนินกิจกรรม รงั ฟังขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชน ผลการดาเนนิ การ รบั ฟังข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชนในพ้นื ทีบ่ า้ นนายอ _________________________________
๑๒๐ คร้ังท่ี ๓ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่จังหวดั กลมุ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนบน) ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘-๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั กาฬสินธุ์ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ วนั จันทรท์ ี่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม ประชุมรว่ มกบั สว่ นราชการของจงั หวดั กาฬสินธุ์ ผแู้ ทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ผลการดาเนินการ ร่วมประชุม รับฟังรายงาน และข้อเสนอจากส่วนราชการของจังหวัดกาฬสินธ์ุ ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และภาคประชาชน ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑. ประเด็นด้านน้า การขาดแคลนน้าในฤดูแล้งของเกษตรกรในพื้นท่ีติดกับเขื่อนลาปาว/ การขาดแคลนน้าในฤดูแล้งของเกษตรกรที่เล้ียงกุ้ง เลี้ยงปลากระชัง บริเวณเหนือเข่ือนลาปาว และการจัดสรรงบประมาณเพื่อปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมท้ังระบบของเข่ือนลาปาว ๒. ประเดน็ ด้านที่ดนิ เสนอใหส้ านกั งานการปฏิรปู ท่ดี ินเพ่อื การเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) พจิ ารณา ทบทวนปรับปรุงแนวเขตที่ดิน ในเขตพื้นท่ีอาเภอเมืองกาฬสินธ์ุ อาเภอกุฉินารายณ์ /เสนอให้รัฐบาลและ กรมป่าไม้ พจิ ารณาแก้ไขพระราชบญั ญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ ใหม้ ีความสอดคล้องกับความเปน็ จรงิ และสภาพ พน้ื ที่กับความเป็นปา่ ในปจั จุบัน /กรณีพ้ืนทพี่ ิพาททด่ี ินทากนิ ในเขตปา่ นาจารย์ไดม้ ีการปลกู ปา่ ทับที่ทากนิ ๓. ประเด็นด้านคมนาคม งบประมาณในการซ่อมแซมบารุงและขยายถนนทางหลวงชนบท และทางหลวงแผ่นดิน / การเชื่อมโยงถนนสายโพนทองไปยงั มิตรผล/ ตอ้ งการถนนรอบเข่อื นลาปาวเพ่ือ เปน็ การแบ่งแดนระหวา่ งที่ดนิ ของประชาชนและทดี่ ินราชการ / ๔. ประเด็นด้านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรมีการปรับปรงุ แกไ้ ขกาหนดอานาจหน้าที่ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้ชัดเจน และไม่ทับซ้อนกัน / กรณีที่กฎหมายลูกออกมาล่าช้า กระทบต่อ การปฏบิ ัติงาน ๕. ประเด็นด้านการเกษตร ควรส่งเสริมให้เกษตรกรจังหวัดกาฬสินธ์ุเป็นเจ้าของกระชังปลา มากยิ่งขึ้น
๑๒๑ ๖. ควรกาหนดให้ข้าวเหนียวเขาวงอยู่ในแผนพัฒนาจังหวัด เพราะเป็นเกษตรอัตลักษณ์ พื้นถ่ินของจังหวัดกาฬสินธ์ุ ซ่ึงได้รับมาตรฐาน GI ควรสร้างตราสินค้าของจังหวัด (Provincial brand) ใหก้ บั ขา้ วเหนียวเขาวง ๗. ควรมีการขอมาตรฐาน GI ให้กับมะม่วงมหาชนก เพื่อให้สอดคล้องกับตัวช้ีวัดของ ยทุ ธศาสตรช์ าติในเรอ่ื งของการเกษตร ๘. ประเด็นดา้ นการประกอบธุรกิจ การสร้างความมัน่ ใจกับเกษตรกรด้านการประกันราคายางพารา ๙. มกี ฎหมายท่ีดแู ลในเรือ่ งการค้าออนไลน์ ดา้ นการกาหนดมาตรการภาษี ๑๐. พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซง่ึ มีบทบัญญตั ิกาหนดในเรือ่ งระยะเวลา ข้ันตอน และเอกสารทตี่ อ้ งใช้ ๑๑. ประเดน็ ดา้ นการท่องเที่ยวสร้างแลนด์มาร์คดึงดดู การทอ่ งเทยี่ ว ด้วยการสร้างกระเช้าขึน้ ภสู งิ ห์/ ควรกระตุ้นการท่องเท่ยี ว เพอ่ื ชว่ ยแก้ปัญหาการคา้ ขายทีฝ่ ืดเคือง ๑๒. ประเด็นด้านการศึกษาควรให้ความสาคัญกับการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาให้มากย่ิงขึ้น/ ควรพิจารณาเรื่องการคัดเลือกและบรรจุแต่งตั้งครูอัตราจ้างที่มีอายุงานจานวนมากกว่า ๑๐ ปี แต่ยัง ไมไ่ ดร้ บั การบรรจุ ๑๓. ประเด็นอ่ืนๆ การติดต่อหน่วยงานราชการควรมีการบริหารจัดการแบบ One Stop Service/ ควรกระจายอานาจและงบประมาณให้กับจังหวดั ให้มากยิ่งข้ึน/ การเปล่ียนแปลงโยกยา้ ยผู้ว่าราชการจังหวัด ทีบ่ อ่ ยคร้งั มีผลต่อการปรับเปล่ยี นนโยบายจังหวัด _________________________________ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ พบปะสภาเดก็ และเยาวชน ณ ศาลากลางจังหวดั กาฬสินธุ์ วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม พบปะรว่ มรบั ฟังความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนนิ การ พบปะรว่ มรบั ฟงั ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากสภาเดก็ และเยาวชน ดังน้ี ๑. ปัญหาเกี่ยวกับการศึกษา แต่ละรายวิชามีเน้ือหาทางด้านวิชาการมากเกินไป/ การบ้าน มากเกินความจาเป็น/ การกาหนดนโยบายทางการศึกษาขาดความชัดเจน แนวทางการปฏิบัติของ สถานศึกษาไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน /นักเรียนไม่เข้าใจในส่ิงที่ครูสอน/ ครูไม่เปิดโอกาสนักเรียน มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น ๑.๑ ควรลดเน้ือหาทางดา้ นวิชาการ และเพมิ่ กจิ กรรมทใี่ หเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้/ ควรเนน้ กิจกรรมท่ีเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนได้ปฏิบตั ิ
๑๒๒ ๑.๒ ควรลดการสั่งการบ้านในบางรายวิชา เพื่อให้นักเรียนได้มีเวลาไปทากิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีเกิด การพัฒนาเป็นประโยชน์กับตนเอง และเป็นกิจกรรมที่ตนเองให้ความสนใจ /ควรเพ่ิมกิจกรรมที่ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้นกั เรยี นได้เรียนรู้ หรอื ฝกึ ปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั งานทส่ี ามารถพฒั นาต่อยอดในการประกอบอาชีพได้ ๑.๓ ควรมีการกาหนดนโยบายทางการศึกษาให้มีความชัดเจน สร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องให้กับ สถานศกึ ษาเพอ่ื สามารถนานโยบายไปปฏิบตั ิไดอ้ ย่างถกู ต้องและเป็นไปในแนวทางเดยี วกนั ทัง้ ประเทศ ๑.๔ ครูกบั นกั เรยี นควรสรา้ งความเข้าใจรว่ มกัน และพดู คุยกนั ใหม้ ากยิ่งข้นึ ๑.๕ ควรใหเ้ ยาวชนไดม้ ีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ ในเรอื่ งท่ถี ูกต้อง ๒. ปัญหาเก่ียวกับเยาวชนในพื้นท่ี ปัญหายาเสพติด/ ปัญหาเยาวชนมีครรภ์ก่อนวัยอันควร/ ปัญหาทะเลาะวิวาท และขาดจิตสานึกสาธารณะ ๒.๑ ผู้ปกครองควรใส่ใจเยาวชนที่อยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด ควรให้คาแนะนาอย่างถูกต้อง เพ่ือใหต้ ระหนักถึงโทษและพิษภยั ของยาเสพตดิ ๒.๒ ปัญหาเยาวชนมีครรภก์ ่อนวัยอันควร ผู้ปกครองควรให้คาแนะนาท่ีถกู ต้อง ให้เยาวชนรู้จัก วิธีการหลกี เลีย่ ง และร้จู กั ป้องกนั ตนเองอย่างถกู วธิ ี ๒.๓ ควรจัดกิจกรรมเพ่ือให้เยาวชนได้ทากจิ กรรมร่วมกนั เพ่ือให้เกดิ ความรักความสามคั คี และ เปน็ การปลูกจิตสานกึ สาธารณะให้กบั เยาวชนมีจิตอาสาในการทากิจกรรมท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม ________________________________ จังหวดั กาฬสินธ์ุ ณ โครงการส่งเสริมอาชพี ผสู้ ูงอายุ ผ้พู ิการ ผดู้ ้อยโอกาส สตรีและประชาชน ศาลาสร้างสุข ตาบลโนนน้าเกล้ยี ง อาเภอสหัสขันธ์ วิธกี ารดาเนนิ กิจกรรม พบปะรว่ มรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
๑๒๓ ผลการดาเนินการ พบปะร่วมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส สตรี และประชาชน ดงั น้ี ๑. ไม่มีสถานทท่ี ิ้งขยะในพื้นท่ีอาเภอสหัสขันธ์ ๒. การบรหิ ารจดั การน้าเพื่ออปุ โภค บริโภค ๓. ขอให้ชว่ ยเหลอื ชาวบา้ นท่ไี ม่มที ีด่ ินทากนิ เป็นของตัวเอง ๔. ขอให้ชว่ ยจดั หาสถานท่ีจาหน่ายสินค้าทช่ี มุ ชนผลติ ข้นึ เพ่อื เปน็ การสร้างรายได้ใหแ้ กช่ ุมชน _________________________________ จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ ณ อา่ งเกบ็ น้าสาธารณะ ณ ตาบลภสู งิ ห์ อาเภอสหัสขันธ์ วธิ ีการดาเนนิ กิจกรรม การศึกษาดงู าน ผลการดาเนนิ การ การศึกษาดูงานระบบชลประทานของอ่างเก็บน้าสาธารณะ และรับฟังสรุปการบริหารจัดการ น้าและระบบชลประทาน ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ยี วข้องกลุ่มเกษตรกร และกลมุ่ ทาการประมง ดังน้ี ๑. ประเด็นด้านการบริหารจัดการเขอ่ื นลาปาว หนว่ ยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รายงานการดาเนินการ และใหข้ อ้ เสนอ ดงั น้ี ๑) มกี ารวางแผนการบรหิ ารจัดการน้าเหนือเขื่อนลาปาวใหเ้ ร็วขึ้น ในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน เพอ่ื ส่งนา้ ใหแ้ ก่เกษตรกรในการทานาครัง้ ที่ ๒ หลังจากประสบปัญหาภยั ธรรมชาติ ๒) เข่ือนลาปาวยังไม่เคยมีการปรับปรุงซ่อมแซมใหญ่ ซึ่งเคยนาเสนอเรื่องไปกรมชลประทาน ในการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งท้งั ระบบไปแล้ว ๒. ประเด็นด้านการเล้ียงปลากระชัง หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง รายงานการดาเนินการและ ให้ขอ้ เสนอ ดงั น้ี
๑๒๔ ๑) การเล้ียงปลาในกระชัง มีการรวมกลุ่มเป็นสหกรณ์เพื่อเพิ่มอานาจในการต่อรองเน้น ยกระดับมาตรฐาน GAP ๑๐๐% ๒) ปญั หาทเี่ ร่อื งโรคซึง่ พบในการเล้ียงปลาในกระชังอยรู่ ะหว่างการหาทางแกไ้ ข ๓) ราคาปลาในกระชังจะขนึ้ อยู่กบั ปริมาณผลผลิตท่ีออกตลาดและความต้องการของผูบ้ ริโภค โดยส่วนใหญ่อยู่ในรปู แบบของเกษตรพันธสัญญา ซ่ึงยังไมพ่ บปญั หาการเอารดั เอาเปรียบจากนายทุน ๓. ประเดน็ ด้านทดี่ ินหน่วยงานภาครฐั ที่เกีย่ วขอ้ ง รายงานการดาเนนิ การและใหข้ อ้ เสนอ ดงั นี้ ๑) อาเภอสหัสขันธ์ ประสบปัญหาน้าท่วมและการจัดสรรที่ดินทากินสาหรับชุมชน มีพื้นท่ี ติดกับเขื่อนลาปาว ซึ่งได้รับการจัดสรรที่ดินทากินเป็นที่อยู่อาศัย ๒ ไร่ ท่ีดินทากิน ๑๕ ไร่ แต่ปัจจุบัน ครอบครัวมีการขยายและเตบิ โต แต่ทีด่ นิ ทากนิ ยงั มเี ท่าเดมิ ๒) ปัญหาการไม่สามารถใช้ท่ีดินเพื่อการทาการเกษตรและประโยชน์อ่ืน ๆ บริเวณแนวเข่ือน เน่ืองจากเป็นพืน้ ทีข่ องกรมชลประทาน กรมธนารักษ์ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าลาปาว และที่ดิน ส.ป.ก. บรเิ วณ แหลมโนนวเิ ศษ ซงึ่ เปน็ ผนื ดินทย่ี ืน่ เขา้ ไปในอา่ งเก็บนา้ เขือ่ นลาปาว แตพ่ ัฒนาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วไมไ่ ด้ ๓) ปัญหาการอยู่พน้ื ที่ใกล้เขือ่ นแตไ่ มส่ ามารถนานา้ จากเข่อื นมาใชป้ ระโยชน์ไดเ้ ต็มท่ี ๔. ประเดน็ ด้านการบริหารทอ้ งถ่นิ หน่วยงานภาครฐั ที่เกีย่ วข้อง ให้ข้อเสนอ ดังนี้ ๑) เสนอให้ต้ังกระทรวงท้องถิ่น เพื่อกระจายการบริหารงาน และการดูแลประชาชน ให้เปน็ ไปอย่างท่ัวถึงมากยงิ่ ขึ้น ๒) เสนอใหแ้ กไ้ ขคาสงั่ ท่ี ๘/๒๕๖๐ คาส่ังสอบในส่วนกลาง ซ่งึ ควรใหท้ อ้ งถิน่ สามารถกาหนด สอบในส่วนท้องถ่ินได้เพือ่ จะได้พิจารณาคัดเลือกผูม้ คี วามสามารถในท้องถิ่น ๓) ควรเพ่มิ เงินงบประมาณและเพมิ่ อานาจในการบรกิ ารราชการส่วนท้องถิน่ ๕. ประเดน็ ด้านน้าเกษตรกร ให้ข้อเสนอ ดังน้ี ต้องการอ่างเก็บน้าคอนกรีตบ้านดงน้อย เพ่ือส่งน้า ไปยังพื้นท่ีการเกษตรในพ้ืนท่ีต่าง ๆ โดยรอบ ได้แก่ บ้านดงน้อย บ้านท่าศรี บ้านหนองฝาย และบ้าน โนนปลาขาว รวมกวา่ ๒,๐๐๐ ไร่ ๖. ประเด็นด้านวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรให้ข้อเสนอ ดังน้ี ต้องการงบประมาณในการก่อสร้าง สถานท่ีขายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาในชุมชน (กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ และกลุ่มผู้เลี้ยง ปลานิลในกระชังบ้านท่าเรือภูสิงห์) เพื่อเป็นสถานท่ีที่สาคัญของหมู่บ้านและตาบล และต้องการ งบประมาณในการจัดซ้ืออุปกรณ์ท่ีทันสมัยและมีคุณภาพในการบรรจุหีบห่อสินค้าเพ่ือจัดจาหน่ายแก่ นักทอ่ งเที่ยวและคนในจังหวัด มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้ ๑. ประเด็นดา้ นที่ดิน การใชป้ ระโยชน์จากที่ดนิ ทม่ี อี ยใู่ ห้สามารถใชป้ ระโยชน์ไดส้ ูงสุด ๒. ประเด็นด้านการบริหารทอ้ งถนิ่ ดงั นี้
๑๒๕ ๑) ควรมีการสารวจขอ้ มลู เพ่ือสร้างฐานข้อมลู ด้านการเกษตรในการบรู ณาการชว่ ยเกษตรกร ใหใ้ ช้พ้นื ทที่ ม่ี อี ยู่ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด ๒) ควรใหค้ วามรู้กับประชาชนด้านการเกษตรพันธสัญญา โดยให้มองถึงประเด็นอื่นที่อาจมี ผลกระทบ เช่น การเกิดโรค และควรศึกษาเรื่องการกาหนดราคาซึ่งมคี วามผันแปรตามราคาตลาด และ ประชาชนควรมีความซ่ือสัตย์สุจริตในการเล้ียงปลาตามเกษตรพันธสัญญาและใช้เงินท่ีได้มาให้ถูก วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ไม่ก่อให้เกิดการเปน็ หน้ี ๓. ประเดน็ ดา้ นการเกษตรพนั ธสญั ญา ไดแ้ ก่ ๑) ภาครัฐและทอ้ งถนิ่ ควรใหค้ วามรกู้ ับประชาชน ด้านการเกษตรพันธสัญญา โดยใหม้ องถงึ ประเด็นอ่ืนที่อาจมีผลกระทบ เช่น การเกิดโรค และควรศึกษาเร่ืองการกาหนดราคา ซึ่งมีความผันแปร ตามราคาตลาด ๒) ประชาชนควรมีความซื่อสัตย์สุจริตในการเลี้ยงปลาตามเกษตรพันธสัญญาและใช้เงิน ทีไ่ ดม้ าใหถ้ ูกวตั ถุประสงค์ เพ่ือไมก่ ่อใหเ้ กดิ การเป็นหน้ี ๔. ประเดน็ ด้านการบรหิ ารจัดการนา้ ไดแ้ ก่ ๑) การบริหารจัดการน้าโดยการส่งน้าไปยังพ้ืนที่การเกษตรด้วยระบบท่อเป็นเรื่องท่ีดี เพอื่ ให้ใชน้ ้าใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ๒) ควรจัดทาบ่อพักน้าจากสถานีแม่ไปยังสถานีลูกเพ่ือกระจายน้าให้ครอบคลุมพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประชาชน ๕. ประเดน็ ดา้ นการบรหิ ารจัดการเขอื่ นลาปาว การปรับปรุงซ่อมแซมเข่อื นทั้งระบบเป็นเรือ่ งทส่ี าคญั เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ซึ่งหน่วยงานของจังหวัดที่เก่ียวข้องควรนาเสนอแผนงบประมาณท่ีมี ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนการปฏิรูปประเทศต่อหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ กรมชลประทาน กองวจิ ยั และพฒั นาประมงน้าจืด (กปจ.) และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม _________________________________ จังหวัดกาฬสินธ์ุ วันอังคารท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงกุ้งก้ามกราม บวั บาน ๑ ตาบลบัวบาน อาเภอยางตลาด วิธีการดาเนินกจิ กรรม รบั ฟังความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
๑๒๖ ผลการดาเนินการ รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงกุ้งก้ามกรามบัวบาน ๑ เก่ยี วกับกล่มุ แปลงใหญ่ด้านการประมง ตวั แทนกลุม่ วิสาหกจิ ชุมชนผูเ้ ลี้ยงกงุ้ ให้ขอ้ เสนอ ดงั นี้ ๑) ปัญหาไฟฟ้าและแสงสว่างไม่สามารถเข้าถึงในทุกพื้นที่ที่มีบ่อเลี้ยงกุ้ง และมีปัญห า กระแสไฟฟ้าตก ๒) ปญั หาน้าท่ีใชใ้ นการเลีย้ งกงุ้ ไม่เพยี งพอในช่วงเวลาท่ีเข่ือนลาปาวปดิ การสง่ น้า ๓) ปัญหาถนนที่ใชเ้ ป็นเส้นทางเข้าออกในพนื้ บอ่ เล้ียงกงุ้ เปน็ หลุมเปน็ บ่อ ๔) ตลาดที่เป็นแหล่งจาหนา่ ยสินคา้ มจี านวนนอ้ ย สมาชกิ วุฒสิ ภามีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี ๑) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เล้ียงกุ้ง ควรใช้การบูรณาการร่วมกันระหว่างชาวบ้านและส่วนราชการ เพื่อแก้ปญั หารว่ มกัน ๒) ส่วนราชการทเี่ กี่ยวข้องควรเขา้ ไปดาเนินการ และรายงานความคบื หน้าให้ประชาชนทราบ ความคืบหนา้ เป็นระยะ ๓) ควรขยายตลาดดว้ ยการขายแบบออนไลน์ ซงึ่ สามารถขอคาปรึกษาจากสานกั งานพาณชิ ย์จงั หวดั _________________________________ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ณ กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนปนั บญุ (อินทรีย์) ตาบลฆอ้ งชัยพัฒนา อาเภอฆอ้ งชัย วธิ ีการดาเนินกจิ กรรม รบั ฟงั ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินการ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากกลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนปันบุญ (อินทรีย)์ ณ อาเภอฆอ้ งชัย โดยผูแ้ ทนกลุม่ เกษตรกร ใหข้ ้อเสนอแนะ ดังน้ี ๑) การพัฒนาวิสาหกจิ ของกลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนปันบญุ (อินทรีย์) ยดึ หลกั เกษตรปลอดภัย
๑๒๗ ๒) มีการขออนญุ าตใชพ้ ้ืนที่สาธารณะประโยชน์ ซง่ึ ไดร้ ับการบริจาคสมาชิกกลุ่มปนั บญุ เพอ่ื จดั สรา้ ง โรงเรอื นล้างผกั และบรรจุผกั เพอ่ื จดั สง่ แต่ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้เนอ่ื งจากติดขัดดา้ นระเบียบกฎหมาย ๓) ขอใหช้ ว่ ยผลกั ดนั วิสาหกิจปันบญุ ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบการขยายการเพาะปลูกแบบเกษตรอนิ ทรีย์ ไปสพู่ น้ื ที่อ่ืน เพือ่ ให้เกษตรกรมชี วี ิตทปี่ ลอดภยั และมกี ารเจริญเตบิ โตอยา่ งยัง่ ยนื _________________________________ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ณ ฝายน้าลน้ ลาพะยงั ตาบลค้มุ เกา่ อาเภอเขาวง วิธกี ารดาเนินกิจกรรม เยยี่ มชมโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ และรับฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากเกษตรกร ผลการดาเนินการ เยี่ยมชมโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ และรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก เกษตรกร ณ ฝายน้าล้นลาพะยัง อุโมงค์ผันน้าลาพะยังภูมิพัฒน์ และอ่างเก็บน้าลาพะ โดยเกษตรกร ให้ข้อมูลว่าพ้ืนที่ดังกล่าวไม่มีปัญหาเร่ืองน้าแล้ง หากช่วงใดที่ปริมาณน้ามีมากเกินพ้ืนท่ีกักเก็บ น้าจะ ทะลกั เข้าพื้นท่กี ารเกษตร _________________________________ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ณ กล่มุ เกษตรกร “เครอื ขา่ ยฮักแพง แบ่งปัน” ตาบลคุ้มเก่า อาเภอเขาวง วิธีการดาเนินกจิ กรรม รบั ฟังความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
๑๒๘ ผลการดาเนนิ การ รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร “เครือข่ายฮักแพง แบง่ ปัน” กลุ่มเกษตรกรทอผา้ กลมุ่ เกษตรกรปลกู ผกั ใช้ปยุ๋ อนิ ทรีย์ และกลมุ่ เกษตรกรทานาแปลงใหญ่ ณ หมู่ที่ ๕ ตาบลคุ้มเก่า อาเภอเขาวง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ดังน้ี ๑. ประเดน็ ด้านไฟฟ้า ๑) ระบบไฟฟ้ายังไมม่ ีความเสถยี ร ซ่ึงได้มกี ารตอ่ ไฟฟ้าจากเสาหลักในระยะทางประมาณ ๑ กโิ ลเมตร จงึ ต้องมีการเตรยี มเครอ่ื งสารองไฟไวใ้ ช้งานกรณีไฟดับ ๒) กลมุ่ ของเกษตรไดม้ กี ารส่งเรื่องขอรบั การสนับสนนุ พลังงานแสงอาทติ ยแ์ ต่ยงั ไมไ่ ดร้ บั การ สนับสนุน เนื่องจากมคี วามจาเปน็ ตอ้ งใชก้ ารเจาะส่งน้าดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ๒. ประเด็นด้านการเกษตร ๑) อยากใหอ้ นุรักษแ์ ละพัฒนาเมลด็ พนั ธุ์ข้าวเขาวงในทุกพ้นื ท่เี ขา้ สู่ GI อินทรีย์ ๒) เนอ่ื งจากอยู่ในพื้นที่ไกลจากตัวจงั หวัด ทาใหม้ ขี ้อจากัดในการจัดสง่ ผักให้กับห้างสรรพสนิ ค้า โดยเสนอให้พฒั นาเป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางการเกษตร ๓) อยากให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเข้ามาดูแลและสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงาน ใหค้ รอบคลมุ ทกุ กล่มุ เกษตรกร เพ่ือให้กลมุ่ เกษตรกรมคี วามเข้มแข็ง ๔) อยากให้กรมพัฒนาท่ีดินเข้ามาช่วยดูแลในการปรับที่ดินเพื่อเข้าสู่ระบบอินทรีย์แก่ เกษตรกรในกล่มุ ๓. ประเดน็ ด้านอืน่ ๆ จังหวดั กาฬสินธุ์มกี ารเปล่ียนแปลงผวู้ ่าราชการจงั หวัดบ่อยครัง้ ส่งผลตอ่ นโยบายทม่ี กี ารปรับเปล่ียนตามผวู้ ่าราชการจงั หวัดทีม่ าดารงตาแหนง่ _________________________________
๑๒๙ ครั้งท่ี ๔ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่จังหวัด กลมุ่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวัดหนองบัวลาภูและจงั หวัดเลย จังหวดั หนองบัวลาภู วนั พฤหัสบดีท่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวดั หนองบวั ลาภู วิธีการดาเนินกิจกรรม การประชุมร่วมกับส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคสังคม และภาคประชาชน ผลการดาเนินการ การประชุมร่วมพูดคุย รับฟังรายงาน และข้อเสนอในประเด็นต่าง ๆ จากส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคสังคมและภาคประชาชน จังหวัดหนองบัวลาภู ได้รับข้อเสนอแนะในประเด็นต่าง ๆ ดังน้ี ๑. รายได้ต่อหัวของประชากร ในปี ๒๕๖๐ เท่ากับ ๕๓,๔๑๖ บาทต่อคนตอ่ ปี คดิ เปน็ ลาดับที่ ๗๗ ของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมีต้นทุนการผลิตเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้ เกษตรกรยากจน และมีหน้สี นิ เพม่ิ ข้ึน รองลงมา คือ อาชพี รบั จา้ งทั่วไป ๒. การบริหารจัดการน้ายังไม่มีประสิทธิภาพ เกิดปัญหาน้าท่วมในฤดูฝน และปัญหาภัยแล้ง ในฤดแู ลง้ พืน้ ท่ีชลประทานมนี ้อย เพยี งรอ้ ยละ ๑๐ ของพ้ืนท่ีทาการเกษตร ๓. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา มีความก้าวหน้าด้านการศึกษาในลาดับท่ี ๗๔ ของประเทศ มีค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญา (IQ) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ อยู่ท่ี ๙๑.๗๕ (ค่าเฉล่ียประเทศ คือ ๙๘.๒๓) คะแนน O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ ๓๐.๐๖ (ค่าเฉล่ียประเทศ คือ ๓๕.๐๒) และมีจานวนปีการศึกษา อยู่ที่ ๗.๓๙ ปี (ค่าเฉล่ียประเทศ คือ ๘.๖๓ ปี) ซ่ึงต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน สาเหตุจากอาหารไมถ่ กู สขุ ลักษณะ และปัญหาครอบครวั ขาดความอบอนุ่ เนื่องจากบดิ ามารดาไปทางาน ต่างถ่ิน
๑๓๐ ๔. สารเคมีทางการเกษตรตกค้างในสิ่งแวดล้อม การเกษตรกรรมในจังหวัดหนองบัวลาภู ส่วนใหญ่เปน็ การเกษตรแบบปลกู พชื เชิงเดีย่ ว ซ่งึ พ่ึงพาสารเคมีเป็นหลกั รวมถงึ มีการใช้สารเคมที ่ไี ม่ถกู วิธี โดยมีการใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชหลายชนิด ได้แก่ พาราควอต ไกลโฟเซต อะมิทรีน และอาทราซีน นาไปใช้ในการทาไร่อ้อยเป็นหลัก ซึ่งจากงานวิจัยท้องถิ่นของอาเภอสุวรรณคูหา (ปี ๒๕๖๐) ในตาบลบุญทัน นาดี และกุดผึ้ง มีการใช้สารเคมีภาคเกษตรกาจัดศัตรูพืช เฉลี่ย ๑.๑๙ ลิตรต่อไร่ โดยในตาบลบุญทัน อาเภอสุวรรณคูหา มีการใช้สารเคมีกาจัดวัชพืชมากที่สุดถึง ๑.๗๓ ลิตรต่อไร่ ถ้าคาดประมาณการใช้สารเคมีภาคเกษตรกาจัดวัชพืชในพืชหลักของจังหวัดหนองบัวลาภูท้ัง ๔ ชนิด น่าจะมีการใชม้ ากถึง ๑,๙๔๑,๔๔๕ ลิตร ทาให้เกิดผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มจากการตกค้างของสารเคมี ในดิน/ ตะกอนดิน/ น้าผิวดิน / น้าใต้ดิน ในระดับอันตราย ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและ ระยะยาว โดยพบอัตราการปว่ ยดว้ ยโรคเน้ือเนา่ ๔๙ คน ตอ่ จานวนประชากร ๑ แสนคน ๕. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ Organic Thailand หรือ มาตรฐานเกษตรปลอดภัย GAP ท่ีดิน ไม่มีเอกสิทธิ์ หรือ ไม่ได้รับอนุญาตให้เช่า/ทากินจากเจ้าของที่ดิน เช่น พื้นท่ีในเขตป่าสงวน หรือ พ้ืนท่ี ต้นน้าที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ กรมป่าไม้ ไม่อนุญาตให้เข้าทากิน ซึ่งเกษตรกรจะไม่สามารถยื่นขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ Organic Thailand หรือมาตรฐาน เกษตรปลอดภยั GAP เพราะตามข้อกาหนด เกษตรกรรมย่ังยืนจะไมส่ ่งเสริมให้ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ๖. แรงงานขาดทกั ษะฝีมอื และทกั ษะดา้ นภาษาต่างประเทศ ตลอดจนขาดความสามารถในการ เขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีทท่ี ันสมัยและการนาไปประยกุ ต์ใช้ ๗. ขาดการประชาสัมพันธ์และส่งเสรมิ ด้านการท่องเที่ยวให้เป็นทส่ี นใจ ขาดสถานท่ใี ห้บริการ นักท่องเท่ียวท่ไี ด้มาตรฐาน ทาใหไ้ มม่ จี ุดดึงดดู ความสนใจ ๘. สินค้าทางการเกษตรไม่มคี วามโดดเด่น ไมส่ ามารถแข่งขนั ได้ ๙. โครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวกไม่เพียงพอต่อการพัฒนา เช่น ถนน ระบบ ประปา ระบบไฟฟ้า อินเทอร์เน็ต สมาชิกวฒุ ิสภามขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้ ๑. ประเดน็ ความเหล่อื มลา้ ดา้ นการจัดสรรงบประมาณตามพื้นที่ - วุฒิสภา ได้ต้ังคณะกรรมาธิการการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหล่ือมล้า ซึ่งหนึ่งในหน้าท่ีของคณะกรรมาธิการฯ คือ ศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เก่ียวข้องกับการสร้างเสริมโอกาส สิทธิ ความสามารถ การเข้าถึงทรพั ยากร ความเท่าเทียม การเติบโตอยา่ งมีส่วนร่วม การเข้าถึงบริการ สวัสดกิ าร ของประชาชนและชุมชนเพ่ือบูรณาการในการแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลือ่ มลา้ ทางสงั คม - การพจิ ารณาเงินงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้มีการตงั้ เงินงบประมาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงขณะน้ี คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ อยู่ในระหว่างข้นั ตอนของการพจิ ารณา
๑๓๑ - การเสนอแผนงานหรืองบประมาณของจังหวัด ควรมีการนาเสนอแผนงานโดยมีหลักการ และวธิ กี ารทีม่ ีความเชอื่ มโยงและสอดคล้องกบั แผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒. ประเด็นการกระจายอานาจในท้องถิ่น การพิจารณาร่างประมวลกฎหมายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... ซ่ึงมีความเก่ียวข้องกับกระจายอานาจในท้องถ่ิน และการบริหารงานบุคคล อยู่ในข้ันตอนของการรับฟังปัญหาของประชาชน หากร่างประมวลกฎหมายฯ ดังกล่าวแล้วเสร็จจะเป็น การเพมิ่ ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การทอ้ งถ่นิ ๓. ประเด็นสิทธิทากินในท่ีดินของประชาชน วุฒิสภาจะเชื่อมโยงประเด็นปัญหาร่างประมวล กฎหมายไปสู่หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง _________________________________ จังหวัดหนองบวั ลาภู ณ โรงเรยี นหนองบวั พทิ ยาคาร อาเภอเมืองหนองบัวลาภู วิธีการดาเนินกิจกรรม ลงพนื้ ท่ีพบเยาวชน ณ โรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคาร ผลการดาเนินการ มีการลงพื้นท่ีพบเยาวชน และการให้ความรู้พร้อมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก เยาวชน ณ โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคาร โดยมีการแบ่งกล่มุ เยาวชนออกเป็นจานวน ๓ กลมุ่ เพ่ือรว่ มกับ ระดมความคิดเหน็ โดยสมาชิกวฒุ ิสภาได้ไปรว่ มพูดคยุ กบั กลุ่มเยาวชนตา่ ง ๆ สรปุ ได้ ดงั นี้ ๑. กล่มุ ท่ี ๑ ประวัติศาสตร์การก่อตงั้ จงั หวดั หนองบวั ลาภู ๒. กลมุ่ ที่ ๒ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. กล่มุ ท่ี ๓ การเรยี นในปจั จุบนั และเรียนอยา่ งไรให้เกง่ _________________________________
๑๓๒ จงั หวดั หนองบัวลาภู ณ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นผาเวียง ตาบลนาแก อาเภอนาวัง วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม รบั ฟังข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนนิ การ มีการรับฟังการบริหารจัดการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านผาเวียง และรับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผูแ้ ทนภาคสว่ นทอ้ งถ่ิน ในประเดน็ ตา่ ง ๆ สรปุ ได้ ดังน้ี ๑. ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่าขอให้ปรับราคาอ้อย เพ่ิมข้ึนเป็น ๑,๐๐๐ บาทต่อตัน (ปัจจุบัน อ้อยมรี าคา ๗๕๐ บาท ตอ่ ตนั ) ๒. ประเดน็ ด้านแหล่งน้า อ่างเก็บน้าบริเวณตาบลนาแกน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภคไม่เพียงพอ/ ประตูเปิดปิดน้าอ่างเก็บน้าห้วยลาดกั่วชารุด ต้องการให้ชลประทานจังหวัดหนองบัวลาภู จัดสรร งบประมาณมาดาเนินการ ๓. ประเด็นด้านการคมนาคม การจัดสรรงบประมาณในการซ่อมสร้างถนนแอสฟัสท์ติก คอนกรีต พร้อมก่อสร้างสะพาน บริเวณถนนลาดยางสายบ้านผาเวียงอาเภอนาวัง – บ้านป่าแดงงาม อ. นากลาง จ. หนองบวั ลาภู ซึง่ เปน็ หลมุ เป็นบอ่ และมีนา้ ขงั ในชว่ งฤดฝู น ๔. ประเด็นด้านเงินงบประมาณท้องถ่ิน เงินงบประมาณที่ อบต. นาแก ได้รับประมาณ ๔๐ กว่าลา้ นบาท ไมเ่ พยี งพอตอ่ การพฒั นาท้องท่ี ๕. ประเด็นด้านการจดั การปญั หายาเสพตดิ ๕.๑) ประเด็นการสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการตรวจสอบและบาบัดผู้ติดยาเสพติด ควรมีคลินิกให้ผู้ติดยาเสพติดเข้าไปปรึกษา/ควรให้ อสม. ได้เข้าหลักสูตรอบรมเพ่ือนาความรู้มาใช้ในชุมชน/ ควรมีงบประมาณในการตรวจสอบสารเสพตดิ ได้แก่ ชดุ นา้ ยาตรวจสารเสพติดในปัสสาวะ/ ควรมงี บประมาณ ในการขบั เคลื่อนและนาร่องเพื่อการทางานเชงิ รุก เช่น การจัดงบประมาณในการจัดทา “คา่ ยชุมชน” ในการ บาบดั โดยชมุ ชน ประมาณ ๗ - ๑๐ วัน และ การจดั งบประมาณสนบั สนุนหมบู่ ้านท่ีมคี วามพร้อม ๕.๒) ประเดน็ การจดั การปัญหาผู้ตดิ ยาเสพติด พิจารณาแนวทางในการคดั กรอง และการใช้ เครื่องตรวจสาหรับผู้ติดยาเสพติดให้สามารถจัดการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้มากที่สุด/ ควรมีการ
๑๓๓ บังคบั ใชก้ ฎหมายที่เข้มงวดมากยิ่งข้ึน/ควรนาเนเธอรแ์ ลนดโ์ มเดล (ภาครฐั มีหนา้ ที่บริการให้ผู้เสพมาเสพ โดยไมม่ คี ่าใชจ้ ่ายในสว่ นบรกิ ารของรฐั ) มาทาการศึกษา ๖. ประเด็นด้านการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวในพื้นที่อยู่ในเขตป่าสงวน ขอให้พัฒนาถ้าผาเวียง ให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว ๗. ประเด็นด้านการจัดสรรงบประมาณเพ่ือประโยชน์แก่นักเรียน ขอให้จัดสรรงบประมาณ สาหรับอาหารกลางวันสาหรับนักเรียนเพ่ิมมากขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ทานอาหารที่เพียงพอต่อความ ตอ้ งการและมคี ณุ ภาพ / ขอใหจ้ งั หวดั จดั สรรไกไ่ ขใ่ ห้กับโรงเรียนขนาดเลก็ ๘. ข้อมูลเก่ียวกับสารเคมีตกค้างในพืชผลทางการเกษตร จังหวัดหนองบัวลาภู มีแนวทาง ในการลดละเลกิ การใชส้ ารเคมี และมกี ารขับเคล่ือนในเรื่องการทาเกษตรอินทรยี ์ ซ่ึงจังหวัดหนองบัวลาภู ได้ยกเปน็ วาระจงั หวดั ในการแกไ้ ขปญั หา ส่งผลใหจ้ านวนผปู้ ว่ ยทเี่ ปน็ โรคเนื้อเนา่ ลดลง ประเด็นการจัดการปญั หายาเสพตดิ สมาชกิ วฒุ สิ ภามีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ ๑. อาเภอตอ้ งดแู ลประเด็นปัญหาน้ี และสง่ ผู้ป่วยไปบาบดั ๒. ใหห้ นว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งประสานไปยงั แรงงานจังหวดั เพือ่ หาหลักสูตรอบรมผปู้ ว่ ย ๓. จังหวัดควรมีการบรู ณาการรว่ มกนั ๔. หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องควรเสนอไปยังจงั หวัด เพอื่ ขอโครงการนาร่องเกยี่ วกับการแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ _________________________________
๑๓๔ จังหวดั เลย วันศุกร์ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวัดเลย วิธีการดาเนินกิจกรรม การประชุมร่วมกับส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคสังคม และภาคประชาชน ผลการดาเนินการ ร่วมพูดคุย รับฟังรายงาน และข้อเสนอจากส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน โดยมีข้อสังเกตในประเด็นต่าง ๆ ดงั น้ี ๑. จุดเดน่ ของจงั หวัดเลย ประกอบด้วย ๓ ด้าน ดา้ นการท่องเทีย่ ว ด้านการเกษตร ด้านการคา้ ชายแดน ๒. แผนปฏิบัติราชการจังหวัดเลยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ วิสัยทัศน์ของจังหวัดเลย ซ่ึงแผนจังหวัดเลย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ได้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสงั คม ๓. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกฎหมายท่ีเป็นอุปสรรคกับการบริหารราชการของจังหวัด และท้องถนิ่ จังหวดั เลย ๑) ปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อม (การเผาอ้อย) ข้อเสนอ ๑. ลดภาษีเครื่องจักรกล ๒. ขอให้ ดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีอย่างเคร่งครดั ในฤดูกาลรับซ้ืออ้อย ในปี ๒๕๖๒- ๒๕๖๓ อ้อยสด ๗๐ เปอรเ์ ซ็นต์ และอ้อยเผา ๓๐ เปอรเ์ ซ็นต์ ๓. ราคารบั ซอ้ื ของโรงงานระหว่างอ้อยสดกับออ้ ยเผาควรมรี าคา ท่แี ตกตา่ งกันอย่างชดั เจน ๒) ปัญหาการตรวจยึดป่า การประกาศเขตป่าทับซ้อนที่ดินทากินของประชาชน ข้อเสนอ หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องหรอื หน่วยงานท่ีมีงบประมาณ ควรสนับสนุนงบประมาณทส่ี ามารถนามาดาเนินการ ฟ้นื ฟูพน้ื ที่ทตี่ รวจยดึ มาได้ทันที ๓) การบริหารจัดการขยะ ข้อเสนอ ขอให้กรมท่ีดินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมอบอานาจ ให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดในการเป็นผู้อนุมัติให้ใช้พื้นท่ีป่าเสื่อมโทรม และท่ีสาธารณประโยชน์ เพื่อลด ข้ันตอนและระยะเวลาในการดาเนินการบรหิ ารจัดการ ๔) การก่อสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นภูกระดึง ข้อเสนอรัฐบาลควรพิจารณาสนับสนุนงบประมาณ เพ่ิมเติมในการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่งิ แวดล้อม และงบประมาณในการก่อสร้าง
๑๓๕ ๔. การเสนอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาคส่วนอืน่ ๆ ในทปี่ ระชมุ สรุปได้ดังนี้ ๑) ประเด็นการกอ่ สร้างกระเช้าไฟฟา้ ข้นึ ภูกระดึง ขอ้ เสนอ ๑.๑ ขอให้สนบั สนุนและส่งเสรมิ การสร้างกระเช้าไฟฟ้าข้ึนภูกระดึง และขอให้พิจารณากฎหมายที่เก่ียวข้องกับการสร้างกระเช้าไฟฟ้า ๑.๒ ขอให้เร่งรัดโครงการในการศึกษาและการลงทุนกอ่ สร้างกระเช้าไฟฟา้ ขน้ึ ภูกระดึง ๒) การคืนพื้นที่ป่าสงวนให้กับราชการ ข้อเสนอ ชุมชนต่าง ๆ ควรคืนพ้ืนที่ป่าสงวน และ ปลูกปา่ ให้กบั ราชการ ๓) ผลกระทบของสารพิษจากการมีพื้นที่ฝังกลบขยะบริเวณหลังอุทยานแห่งชาติภูกระดึง ข้อเสนอ ขอให้พิจารณาเรื่องผลกระทบของสารพิษจากการมีพ้ืนท่ีฝังกลบขยะบริเวณหลังอุทยาน แห่งชาติภูกระดึง เน่ืองจากมีหลุมฝังกลบขยะจานวนหลายหลุม ซ่ึงเป็นห่วงเรื่องสารพิษที่อาจปนเป้ือน มายังสิ่งแวดล้อม เนื่องจากบรเิ วณดังกลา่ วเป็นแหลง่ ต้นน้าของแมน่ า้ พอง ประเด็นต่าง ๆ ได้เสนอแนะในท่ีประชุมน้ัน วุฒิสภาจะนาข้อมูลไปเสนอกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามบทบาทหนา้ ท่แี ละอานาจของวฒุ ิสภา _________________________________ จังหวัดเลย ณ เทศบาลตาบลเชยี งคาน อาเภอเชียงคาน วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม รบั ฟังความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนนิ การ มีการลงพ้ืนท่ีรับฟังการสรุปบรรยายเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะ และรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้นาท้องถ่ิน โดยการเสนอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาคท้องถิ่น สรุปได้ ดงั นี้ ๑. พื้นท่ีจัดการขยะไม่เพียงพอ เทศบาลตาบลเชียงคาน แบ่งการปกครองออกเป็น ๙ ตาบล และใชโ้ รงพักขยะร่วมกัน ๗ ตาบล โดยใช้พนื้ ทป่ี ่าเสอ่ื มโทรม จานวน ๓๕ ไร่ เป็นโรงพักขยะ โดยโรงคัดแยก ขยะ สามารถกาจัดได้ประมาณ ๔๐% และมีการฝังกลบ ประมาณ ๖๐ % ซ่ึงเป็นขยะท่ีไม่สามารถ คัดแยกไปรีไซเคิลได้ คาดการณ์ว่าพ้ืนที่ท่ีมีจะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะในอนาคต ท้ังน้ี ได้ทาเร่ืองขอ พ้ืนทเี่ พิ่มเติมสาหรับจดั การขยะ แตย่ ังไม่ไดร้ บั การอนุมัตจิ ากกรมป่าไม้
๑๓๖ ๒. ขาดแคลนเคร่ืองจักรที่จาเป็น ขาดแคลนเครื่องจักรรถขุดตีนตะขาบเพ่ือใช้ในการฝังกลบ และเคร่ืองจักรอุปกรณ์ในการบริหารจัดการขยะพลาสติก/ ไม่สามารถนาก๊าซซึ่งได้จากการฝังกลบ มาบรรจลุ งถงั เพื่อนามาใชป้ ระโยชน์/ ขาดเครอื่ งจักรอปุ กรณใ์ นการจดั การขยะประเภทพลาสตกิ ๓. ขอให้จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม เนื่องจากโรงงานฝังกลบขยะมีพื้นที่จากัด เครื่องจักร (รถขุด) มีจานวน ๑ ชุด และมีกาลังแรงงานที่จากัด แต่ต้องดาเนินการจัดการขยะจากท้องถ่ินอื่น ๆ จานวน ๗ พ้ืนท่ี ๔. ควรออกกฎหมายควบคุมการทง้ิ ขยะให้เขม้ งวด เพ่ือใหป้ ระชาชนมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม มีระเบียบวินยั ในการทงิ้ ขยะมากย่ิงข้นึ สมาชกิ วฒุ ิสภามขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้ ท้องถ่ินควรมีการเชื่อมต่อแนวทางในการบริหารขยะกับท้องถ่ินอื่น ๆ สาหรับเครื่องจักร ในบริหารจัดการขยะควรมีการบริหารจัดการร่วมกัน และควรร่วมมือกันในทุกภาคส่วน รวมถึงมีการ นาไปหารอื ร่วมกนั ในระดบั จังหวัด _________________________________ จังหวดั เลย ณ วัดศรโี พนแทน่ ตาบลนาซา่ ว อาเภอเชยี งคาน วิธีการดาเนินกจิ กรรม รบั ฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ผลการดาเนนิ การ มีการลงพื้นทก่ี ารพบปะเยีย่ มเยอื น และรับฟังความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะในประเดน็ ตา่ ง ๆ จากผนู้ าทอ้ งถน่ิ และประชาชน โดยการเสนอความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากภาคท้องถน่ิ สรปุ ไดด้ งั น้ี ๑. ต้องการแหล่งกักเก็บน้าท่ีเพียงพอตอ่ การใช้ประโยชน์ของชุมชน บ้านหนองสะพุง หมู่ ๑๐ ตาบลนาซ่าว อ.เชียงคาน จ.เลย มีปัญหาแหล่งน้าท่ีมีในชุมชนมีความต้ืนเขิน ทาให้การกักเก็บน้า ได้ปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้าของประชาชน จึงอยากให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เข้ามาขุดลอกลาห้วยให้ลกึ ขน้ึ เพือ่ ให้สามารถใช้กกั เก็บนา้ ในปรมิ าณที่มากข้นึ
๑๓๗ ๒. ต้องการใช้ประโยชน์จากพื้นท่ีสาธารณะเพ่ือจัดทาเป็นสถานท่ีจอดรถของนักท่องเท่ียว การจัดทาพ้ืนที่จอดรถบริเวณข้างทาง เพ่ือเป็นจุดพักรถให้กับนักท่องเท่ียวจะช่วยให้เกิดการกระจาย รายได้ของคนในชมุ ชนในการตั้งร้านขายสินคา้ ๓. อยากให้กฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินครอบคลุมถึงการบริหารงานในพ้ืนที่ ในการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาหรือสนับสนุนกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนไม่สามารถดาเนินการได้ ทั้งหมด เน่ืองจากติดในข้อกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ การไม่สามารถสร้างเมรุ ในชมุ ชนได้ และไม่สามารถสนบั สนนุ กล่มุ อาชพี ในการจัดสรรบ่อปลาประจาครัวเรอื น สมาชิกวุฒสิ ภามีข้อเสนอแนะ ดังน้ี ๑. เพื่อการแก้ไขปัญหาในท้องถ่ินเบื้องต้น เช่น เร่ืองน้า ผู้บริหารท้องถ่ินควรปรึกษาหารือ ร่วมกันกับชุมชน เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขร่วมกัน ท้ังน้ี นายอาเภอได้รับนาเรื่องปัญหาท้องถิ่นไป พิจารณา ๒. เร่ืองการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องพิจารณาว่าข้อจากัดดังกล่าว เกีย่ วกบั นโยบายในการดาเนินการ หรอื แนวทางในการใชง้ บประมาณ _________________________________
๑๓๘ ครงั้ ท่ี ๕ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวัด กลุม่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ตอนบน) ระหวา่ งวนั ท่ี ๓๑ มกราคม-๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั อดุ รธานแี ละจังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี วันศกุ ร์ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ณ ศาลากลางจังหวดั อดุ รธานี วิธีการดาเนินกิจกรรม การประชุมร่วมกับส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคสังคม และภาคประชาชน ผลการดาเนนิ การ มีการประชุมร่วมพูดคุย รับฟังรายงานและข้อเสนอจากส่วนราชการ ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนของจังหวัดอุดรธานี โดยได้รับทราบข้อเสนอจากส่วนราชการ ของจงั หวัด ผแู้ ทนภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมและภาคประชาชน ในประเดน็ ต่าง ๆ ดังนี้ ๑. จังหวัดอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการคมนาคมเพื่อเช่ือมโยงเศรษฐกิจ เส้นทางยุทธศาสตร์ CLMV โดยมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อกับจังหวัดหนองคาย ผ่านสะพานมิตรภาพไทย-สปป.ลาว นครหลวงเวียงจันทน์ (ห่างจาก สปป.ลาว ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร) ประชาชน สปป.ลาว เข้ามา ซื้อสินค้าและรักษาพยาบาลเป็นจานวนมากและสามารถเช่ือมโยงไปถึงประเทศเวียดนาม นอกจากน้ี อุดรธานี ยังเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจและการคมนาคม เป็นจุดเชื่อมโยงGMS มีกรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจอิรวดี, เจ้าพระยา, แม่โขง, ACMECS ๒. จุดเด่นของจังหวัดอุดรธานี คือ การมีที่ต้ังที่เช่ือมโยงกับกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาค ลมุ่ น้าโขง หรือ GMS โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การมีทีต่ ้ังใกล้กับเมอื งหลวงของ สปป.ลาว อยา่ งเวียงจนั ทนแ์ ละ การมีเสน้ ทางทส่ี ามารถเชื่อมโยงไปยงั กลุ่มประเทศ GMS ตอนบน ซึ่งมีขนาดของตลาด หรือ Demand Size มหาศาลมาก โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ จีนตอนใต้ ๓. โครงสร้างทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัดอุดรธานี เป็นเมืองแห่งการค้าการลงทุน รายได้หลัก อันดับหน่ึงมาจากการค้าปลีก อันดับสองมาจากสินค้าเกษตร ซึ่งมีสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ คือ ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง และยางพารา ด้านทาเลนั้น มีทาเลที่ต้ังเหมาะในเร่ืองของการค้าชายแดน ท่ีส่งออก สู่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากมีศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า ผักและผลไม้ท่ีใหญ่ที่สุดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และมีห้างสรรพสินค้า โมเดิร์นเทรดขนาดใหญ่ ในการรองรับผู้ซื้อจากประเทศ เพ่ือนบ้าน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 571
Pages: