Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Published by rujipas.kansuwan, 2020-09-13 06:52:44

Description: เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Search

Read the Text Version

๔๑ จงั หวดั พะเยา วนั พฤหัสบดที ่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๕.๐๐ นาฬกิ า ณ ห้องประชมุ บวรรตั นประสิทธ์ิ ชนั้ ๒ มหาวทิ ยาลยั พะเยา วิธีการดาเนินกิจกรรม การสัมมนาร่วมกับส่วนราชการจังหวัดพะเยา และอธิการบดีรวมท้ัง คณะอาจารย์ของมหาวิทยาลยั พะเยา โดยมขี ้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะดังน้ี ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้ร่วมประชุมสัมมนาร่วมกับส่วนราชการจังหวัดพะเยา และอธกิ ารบดีรวมท้ังคณะอาจารย์ของมหาวทิ ยาลยั พะเยา ในประเดน็ เรื่องกว๊านพะเยา หมอกควัน และ การบรหิ ารจัดการในดา้ นตา่ ง ๆ และแนวทางการพัฒนาบคุ ลากร รวมทง้ั ความร่วมมอื ในการที่จะพัฒนา จงั หวดั พะเยาตอ่ ไปในอนาคต โดยมีข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะ ดงั นี้ ขอ้ สังเกต ๑. แนวทางการพัฒนาการกักเก็บนา้ ของกว๊านพะเยา ๒. การแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ในพ้นื ทจี่ ังหวัดพะเยา ยงั ตดิ ขอ้ บังคบั ของกฎหมายหลายฉบับ ๓. การกักเก็บ/การปล่อยน้าจากเขื่อนของสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่ีไม่มีกาหนดระยะเวลา ทช่ี ดั เจน แนน่ อน ทาให้การแจ้งเตือนประชาชนในพ้ืนท่เี ป็นไปอย่างกะทนั หัน ซง่ึ ทาใหเ้ กิดความเสยี หาย ตอ่ การเกษตร สง่ิ แวดล้อม และวิถกี ารดารงชีวิตของคนในพนื้ ท่ี ๔. ประเดน็ เรอ่ื งหมอกควนั ๕. การบรหิ ารจัดการดา้ นตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัยพะเยา สามารถนาไปสู่การพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ของจังหวดั พะเยาได้ ขอ้ เสนอแนะ - ส่วนราชการควรขอความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยพะเยา ในการ่วมกันศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในด้านต่าง ๆ เพื่อชว่ ยกันแก้ไขปัญหา และพัฒนาจงั หวดั พะเยาใหด้ ยี ิ่งขึน้ ห้องประชุมบวรรตั นประสทิ ธ์ิ ชน้ั ๒ มหาวิทยาลัยพะเยา จงั หวดั พะเยา

๔๒ จังหวัดเชยี งราย วนั ศุกร์ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา ณ ห้องประชมุ ช้ัน ๓ ดา่ นศลุ กากรเชียงของ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ประชุมหารือ รับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะท่ีเก่ียวกับประเด็นต่าง ๆ ของด่านศุลกากรเชียงของ พรอ้ มท้ังเยยี่ มชมการบริหารจัดการของดา่ นศุลกากรเชียงของการสัมมนาร่วมกับ สว่ นราชการจงั หวัดเชียงราย และตวั แทนภาคประชาชน ผลการดาเนนิ การ สมาชกิ วุฒิสภา ไดร้ ับทราบข้อมลู ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ขา้ รว่ ม ประชมุ ในประเดน็ เก่ียวกับการบงั คบั ใชก้ ฎหมายต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. หนว่ ยงานภาครฐั ไม่สามารถจัดหาพ้ืนท่ีรองรับการลงทุนของนักลงทนุ ได้ ๒. ประเด็นระดับนา้ ในแมน่ ้าโขงมกี ารเพิ่มขนึ้ /ลดลง แบบผดิ ปกติ ๓. การคา้ การลงทุนตา่ ง ๆ สว่ นใหญ่ขนึ้ อยกู่ บั สาธารณรัฐประชาชนจนี เปน็ ผู้กาหนดหลักเกณฑ์ กตกิ าทัง้ ส้นิ ห้องประชมุ ชั้น ๓ ดา่ นพรมแดนชยี งของ จังหวดั เชยี งราย _____________________________ จังหวดั เชยี งราย วนั ศกุ ร์ที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬกิ า ณ ทา่ เรอื พาณิชย์ เชียงแสน วิธีการดาเนินกิจกรรม รับฟังข้อมูล ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จากหน่วยงานภาครัฐ และ ตัวแทนภาคเอกชน ในประเด็นท่ีเกี่ยวกับท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน ด่านตรวจพืชเชียงแสน และด่านศุลกากร เชียงแสน ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้รับทราบข้อมลู ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วม ประชุม ในประเดน็ ต่าง ๆ เก่ยี วกบั ทา่ เรอื พาณิชย์เชยี งแสน โดยมขี อ้ สังเกตและข้อเสนอแนะ ดังน้ี ข้อสังเกต ๑. ประเด็นขอ้ จากัดในการขนถา่ ยสินค้า โดยการใชเ้ คร่อื งมอื แทนแรงงานคน ๒. ประเด็นการนาระเบียบ กฎเกณฑ์ ของท่าเรือส่วนกลางมาใช้กับท่าเรือภูมิภาค ทาให้เกิด ปญั หาในทางปฏบิ ตั ิเนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ มทีม่ ีความแตกต่างกนั

๔๓ ๓. การกักเก็บ/การปล่อยน้าจากเขื่อนของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ไม่มีกาหนดระยะเวลา ท่ีชัดเจน แน่นอน ข้อเสนอแนะ ควรมีความร่วมมือกันในการเจรจาการค้า การต่อรองปรับลดความเข้มงวด ในระเบียบ กฎ กตกิ า การคา้ ในแตล่ ะพื้นท่ี ทา่ เรือพาณิชยเ์ ชยี งแสน จังหวดั เชยี งราย _____________________________ จงั หวัดเชยี งราย วนั เสาร์ที่ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ นาฬกิ า ณ หอ้ งประชมุ ตองจี โรงแรมแมโ่ ขงเดลตา้ บตู ิค แม่สาย วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ร่วมรับฟังข้อมูล ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ กับหน่วยงานภาครัฐและ ตัวแทนภาคเอกชนประเด็นที่เก่ียวกับดา่ นแม่สาย รวมทงั้ ลงพืน้ ท่ศี ึกษาการบรหิ ารจดั การดา่ นแม่สาย ผลการดาเนินการ สมาชกิ วุฒสิ ภา ไดร้ บั ทราบขอ้ มลู ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากผู้เขา้ รว่ ม ประชุม ในประเด็นผังเมือง การใช้ท่ีดินของรัฐ การเช่ือมต่อโครงข่ายการท่องเที่ยว โดยมีข้อสังเกตและ ขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ ขอ้ สงั เกต ๑. ประเด็นเรื่องผังเมือง ซึ่งไม่มีการจัดเกบ็ และสารวจข้อมูลในการจัดทาผังเมืองจากพื้นทจี่ ริง รวมท้ังไม่เข้าใจบรบิ ทของพ้ืนท่อี าเภอแมส่ ายอยา่ งแทจ้ ริง ๒. อานาจการตดั สินใจต่อรอจากสว่ นกลาง ทาให้เกดิ ความล่าช้าในการดาเนินการเรอ่ื งต่าง ๆ

๔๔ ๓. การเช่ือมต่อโครงข่ายการท่องเที่ยว ระหว่างในพื้นท่ีจังหวัดเชียงรายด้วยกันเอง และเช่ือมต่อ ไปยงั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ๔. นักลงทุนชาวต่างชาติไม่สามารถลงทุนได้ ๑๐๐% จึงทาให้การค้าการลงทุนไม่เติบโต เทา่ ท่ีควร ข้อเสนอแนะ ในการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจแม่สาย ส่วนราชการจังหวัดควรให้ข้อมูล แก่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ศึกษาวิจัยการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจแม่สาย เชน่ ข้อมลู เรื่อง Single Management กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง ขอ้ มลู ด้านโลจิสตกิ ส์ เปน็ ตน้ หอ้ งประชมุ ตองจี โรงแรมแม่โขงเดลตา้ บตู ิค แมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย _________________________________

๒.๒ รายงานผลการดาเนินการโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดกลมุ่ ภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) จานวน ๗ ครั้ง ประกอบด้วย ๑. ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๒ วันที่ ๒๒ – ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวัดพษิ ณโุ ลก จงั หวดั อตุ รดิตถ์ และจังหวดั สโุ ขทยั ๒. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั พจิ ติ ร จังหวดั นครสวรรค์ และจงั หวดั อทุ ัยธานี ๓. ครงั้ ท่ี ๓/๒๕๖๒ วนั ที่ ๑๑ – ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั ตาก จังหวดั กาแพงเพชร และจังหวดั เพชรบรู ณ์ ๔. ครง้ั ที่ ๔/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ๕. ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๖๒ วันที่ ๓๑ ตลุ าคม – ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั กาแพงเพชร ๖. ครั้งท่ี ๖/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั สุโขทัย ๗. ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๓ วันที่ ๒๓ – ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั พิจติ ร

๔๕ ครง้ั ที่ ๑ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชนในพื้นท่ีจังหวดั ภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) วนั ที่ ๒๒ – ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวัดพษิ ณุโลก จังหวดั อุตรดติ ถ์ และจังหวัดสุโขทัย จงั หวัดพิษณุโลก วนั พฤหสั บดีที่ ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวัดพษิ ณโุ ลก วธิ ดี าเนนิ กจิ กรรม จดั ประชุมชี้แจงและหารือกบั ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผแู้ ทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการใหส้ มาชิกวฒุ สิ ภาลงพื้นที่อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยสมาชิกวุฒสิ ภาได้รบั ข้อเสนอแนะ ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะ ๑. น้าแล้ง และน้าทว่ ม จังหวัดพิษณุโลกต้องเผชิญกับวิกฤติภัยแล้ง เน่ืองจากฝนตกลงมาปริมาณน้อยและ กาลัง เกิดผลกระทบกับผู้ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมเป็นจานวนมาก ประกอบกับระดับน้า ในเข่ือนสาคัญที่ส่งน้าให้จังหวัดพิษณุโลกได้แก่เข่ือนสิริกิต์ิ และเข่ือนแควน้อยบารุงแดน มีปริมาณน้า ค่อนข้างน้อย ขณะนี้พื้นที่ประสบปัญหาพืชผลทางการเกษตรได้รับความเสียหายจากการขาดแคลนน้า ได้แก่ อาเภอบางกระทุ่ม อาเภอบางระกา และอาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ได้ประกาศเขต การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรอง ราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ ทาให้ปัจจุบันจังหวัดพิษณุโลกมีพื้นท่ี

๔๖ ที่ได้รับความเสียหายจากภาวะฝนแล้ง จานวน ๓ อาเภอ ๑๑ ตาบล ๗๘ หมู่บ้าน ซ่ึงจังหวัดพิษณุโลก ยังขาดแคลนงบประมาณเพื่อพฒั นาแหลง่ กกั เกบ็ น้า ๒. ทดี่ นิ ทากนิ ของราษฎรทบั ซ้อนกบั แนวเขตท่ีดนิ ของรฐั จังหวดั พษิ ณุโลกมพี ้นื ที่ จาวน ๖,๗๘๙,๙๓๗.๕๐ ไร่ มีพน้ื ท่ปี ่า จานวน ๒,๔๓๖,๖๐๖ ไร่ โดยมีป่าสงวนแห่งชาติท้ังหมด จานวน ๑๓ แห่ง มีอุทยานแห่งชาติและวนอุทยาน จานวน ๖ แห่ง ซึ่งที่ดินของรัฐมีแนวเขตที่ไม่ชัดเจน ทาให้เกิดปัญหาท่ีดินทากินของราษฎรทับซ้อนกับแนวเขตท่ีดิน ของรฐั สง่ ผลทาให้ราษฎรไม่สามารถขอเอกสารสิทธิ์ที่ดนิ ได้ ๓. ขอให้สนับสนุนการปล่อยสินเช่ือให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอ่ ม (SME) ปัจจุบันผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ขาดสภาพคล่องทาง การเงินส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ ซ่ึงการปล่อยกู้ของธนาคารจะต้องมีการตรวจสอบสถานะ ทางการเงินและเครดิตบูโรทาให้ไม่สามารถกู้เงินได้ จึงควรปรับเปล่ียนหลักเกณฑ์การปล่อยกู้ให้กับ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) โดยพิจารณาจากบัญชีเงินหมุนเวียนในการ ประกอบธรุ กจิ ๔. การบริหารจดั การกองทนุ หมบู่ ้านและชมุ ชนเมืองทไ่ี ม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่ชาวบ้านรวมตัวกันจดั ต้ังข้ึนโดยไม่ได้มีการจดทะเบียน เช่น กองทุนสัจจะออมทรัพย์ ทาให้กรมพัฒนาชุมชนไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบการบริหารงานของ กองทนุ ได้ ซ่งึ ในจงั หวดั พษิ ณุโลกมีการฟ้องรอ้ งดาเนินคดกี รรมการกองทนุ กับสมาชกิ จานวนหลายคดี ๕. การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร สารเคมี ๓ ชนิด ประกอบด้วย พาราควอต คอลร์ไพรีฟอส และไกลโฟเซต เป็นสารเคมี กาจัดศัตรูพืชที่มีความเส่ียงสูง ทาให้เป็นอันตรายต่อเกษตรกรและผู้บริโภค จึงขอให้พิจารณายกเลิก การใช้สารเคมีทง้ั ๓ ชนิดดงั กลา่ ว _________________________________

๔๗ จังหวดั อุตรดติ ถ์ วนั พฤหสั บดที ่ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวดั อตุ รดติ ถ์ และสหกรณก์ ารเกษตรเมอื งอุตรดติ ถ์ จากัด วิธีดาเนินกจิ กรรม จดั ประชุมชีแ้ จงและหารือกบั ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผู้แทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการใหส้ มาชิกวฒุ ิสภาลงพื้นท่อี ยา่ งต่อเน่ือง โดยสมาชิกวฒุ ิสภาได้รับขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะ ๑. การพฒั นาจุดผา่ นแดนถาวรภดู ู่ จังหวัดอุตรดิตถ์มีชายแดนติดต่อสปป.ลาว ๒ อาเภอ คือ อาเภอบ้านโคก อาเภอน้าปาด ระยะทางยาว ประมาณ ๑๓๕ กิโลเมตร ติดต่อแขวงไซยะบูลี ๔ เมือง คือ เมืองทุ่งมีไซ เมืองปากลาย เมืองบ่อแตน และเมืองแก่นท้าว พลเมืองท้ัง ๒ ประเทศ ไปมาค้าขายผ่านช่องทางประเพณีไทย-ลาว ได้หลายช่องทาง แต่ที่สาคัญมี ๔ ช่อง ท่ีอาเภอบ้านโคก คือ ด่านภูดู่ ด่านห้วยต่าง ด่านมหาราช และอาเภอนา้ ปาด ไดแ้ ก่ ดา่ นหว้ ยพรา้ ว จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ตั้งอยู่ บริเวณหมู่ที่ ๒ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัด อุตรดิตถ์ โดยได้รับการประกาศจากกระทรวงมหาดไทยให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ในวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โดยให้มีผลต้ังแต่วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นต้นไป ซ่ึงจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ตั้งอยู่ตรงข้ามกับด่านท้องถ่ินบ้านผาแก้ว เมืองปากลาย แขวงไซยะบูลี สปป.ลาว ซ่ึงขณะน้ีได้เปิดเป็น ด่านสากลพดู ู่ เมืองปากลาย แลว้ ตง้ั แตว่ ันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เปน็ ต้นมา (๑) การพัฒนาจุดผา่ นแดนถาวรภดู ู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ได้ประกาศให้ช่องภูดู่เป็นจุดผ่อนปรนการค้าเมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ และไดพ้ ยายามผลกั ดันให้เป็นจดุ ผา่ นแดนถาวรเป็นเวลา ๒๐ ปี จึงสาเรจ็ จดุ ผ่อนปรนการค้าภูดู่ ได้ยกระดับเป็น “จุดผ่านแดนถาวรภูดู่” ตั้งแต่วันท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ได้มีการพัฒนาพื้นท่ีตลาด การคา้ ชายแดนภดู ู่ ดา่ นพรมแดน ถนน และสง่ิ อานวยความสะดวกต่างๆ เพอ่ื รองรบั การยกระดับเปน็ จุด ผ่านแดนถาวรอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๖ โดยใช้งบพัฒนาจังหวัด และงบกลุ่มจังหวัด

๔๘ ภาคเหนือตอนล่าง ๑ (เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก) มาพัฒนาก่อสร้างถนน และ สิ่งปลูกสรา้ งและส่ิงอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ รวมงบประมาณจานวน ๑๕๙,๐๖๘,๒๘๑ บาท ดงั น้ี ปี พ.ศ.๒๕๔๘ งบยทุ ธศาสตร์การพัฒนากลมุ่ จงั หวัดฯ จานวน ๓๐,๑๓๙,๐๑๙ บาท ปี พ.ศ.๒๕๕๓ งบยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจงั หวัดฯ จานวน ๓๘,๖๙๙,๑๘๙ บาท ปี พ.ศ.๒๕๕๔ งบยทุ ธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจงั หวดั ฯ จานวน ๖๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ปี พ.ศ.๒๕๕๖ งบยุทธศาสตรก์ ารพัฒนากลุม่ จงั หวดั ฯ จานวน ๒๕,๒๓๐,๐๗๓ บาท (๒) ข้อมูลการใช้พ้ืนที่เขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาดเพื่อดาเนินโครงการก่อสร้าง จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ คาขอที่ ๑ ขอใชพ้ ืน้ ท่ี ๙๙ ไร่ เพื่อสรา้ งตลาดการค้าชายแดน ต้งั แต่ปี ๒๕๔๘ การอนุญาตของกรมป่าไม้ ๑) กรมป่าไม้แจ้ง จังหวัดอุตรดิตถ์ เม่ือวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ ว่าคณะกรรมการ พิจารณาการใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติได้ให้ความเห็นชอบ ในการประชุมเม่ือวันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๐ ให้จังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าทาประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด เพื่อก่อสร้าง ตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่ เนื้อท่ี ๙๙ - ๐ - ๔๘ ไร่ กาหนดระยะเวลา ๓๐ ปีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อนุมัติ เม่ือวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐ โดยให้จังหวัด อุตรดิตถป์ ฏิบัตติ ามเงือ่ นไขของกรมป่าไมจ้ านวน ๑๘ ขอ้ ตามทก่ี รมปา่ ไมก้ าหนด ๒) จังหวัดอุตรดติ ถ์โดยผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ลงนามในบันทึกรับรองการปฏิบัติ ตามเงือ่ นไขท้งั ๑๘ ข้อ เม่อื วนั ท่ี ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๐ คาขอท่ี ๒ ขอใช้พื้นท่ี ๙๕ ไร่ เพ่ือปรับปรุงถนนทางเข้าระยะทาง ๕.๖ กม. ต้ังแต่ปี ๒๕๕๓ คาขอท่ี ๓ ขอใช้พื้นที่ ๑,๖๐๖ ไร่ เพื่อพัฒนาศักยภาพจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ ทง้ั น้ี คาขอท่ี ๒ และ ๓ ไม่ได้รับการพจิ ารณาจากกรมป่าไม้ จังหวัดอุตรดิตถ์ได้มี คาส่ัง ท่ี ๑๐๔/๒๕๖๑ เรื่อง คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตลาดการค้าชายแดนภูดู่ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ณ วันท่ี ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ และคณะกรรมการได้มีมติการประชุม คร้ังที่ ๑/๒๕๖๑ เมื่อวันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑ เห็นชอบให้มีการดาเนินการ เพื่อให้การเข้าทาประโยชน์และการดาเนินงานตามเงื่อนไขของกรมป่าไม้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จังหวัดอุตรดิตถ์ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการการขับเคลื่อนการพัฒนาตลาด การค้าชายแดนภูดู่ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีผู้ว่าราชจังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นประธาน หัวหน้าส่วนราชการ และภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องเป็นกรรมการและ ผ้อู านวยการสานักงาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ มจงั หวดั อุตรดติ ถ์ เป็นเลขานุการ

๔๙ คณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนภูดู่ ตาบลม่ วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ และคณะทางานสารวจขอบเขตการขอใช้พ้ืนที่ในเขตพ้ืนที่ ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณด่านภูดู่ (คาขอที่ ๒) อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งท่ี ๒ /๒๕๖๑ เม่ือวันท่ี ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๖๑ เห็นชอบใหด้ าเนินการ ดังนี้ (๑) การพัฒนาตามผลการศกึ ษาของกรมศุลกากร ด่านศุลกากรทุ่งช้างเดิมมีการขอใช้พ้ืนท่ี ๑๙๓ ไร่ และมีบางส่วนของพื้นท่ีทับซ้อนกับ พื้นทข่ี องจงั หวัดอุตรดิตถท์ ไ่ี ด้รับการอนญุ าตการขอใช้ป่าสงวนแห่งชาตปิ ่านา้ ปาด ในคาขอที่ ๑ พืน้ ที่ ๙๙ ไร่ ซ่ึงได้มีการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามผลการดาเนินงานตามโครงการสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พบประชาชน ครั้งที่ ๗/๒๕๖๐ เม่ือวันพุธที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคร้ังท่ี ๑/๒๕๖๑ เมื่อวันอังคารท่ี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ อาคารรัฐสภา ๒ ที่ประชุมได้มีมติในเรื่องโครงการก่อสร้างจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ เพ่ือให้เป็นไปตามหลักสากล World Customs Organization (WCO) ให้ย้ายตลาดมาไว้บริเวณที่ไม่ขัดกับ หลักสากลข้างต้น ต่อมาเมื่อวันพุธท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมศิลาอาสน์ ช้ัน ๕ ศาลากลาง จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ไดม้ กี ารมอบแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้ ๑) ให้ด่านศลุ กากรทงุ่ ช้างจดั ทาผงั บริเวณโครงการก่อสรา้ งดา่ นถาวรภดู ู่ใหม่ใหอ้ ยูใ่ น พื้นท่ี ๙๙ ไร่ ซ่ึงจังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอนุมัติให้เข้าทาประโยชน์ในพื้นที่เขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด โดยใหด้ า่ นศุลกากรอยูต่ ิดกับพรมแดนตามหลักสากล ๒) ให้คงสิ่งก่อสร้างตลาดเดิมและพื้นท่ีตลาดไว้ ตามวัตถุประสงค์การอนุมัติ ให้เขา้ ทาประโยชน์เพ่ือก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่ ในท้องท่ีตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้าน โคก จังหวดั อตุ รดิตถต์ ามประกาศกรมปา่ ไม้ ๓) สานักงานศุลกากรภาคท่ี ๓ กรมศุลกากร ได้ให้สถาบันวิจัยและให้คาปรึกษา แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดทาผังบริเวณโครงการก่อสร้างด่านศุลกากร จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์บนพื้นท่ี ๙๙ ไร่ เพ่ือก่อสร้างโครงการฯ แล้ว ซ่ึงจังหวัดอุตรดิตถ์ได้เห็นชอบให้กับ กรมศุลกากรเข้าดาเนนิ โครงการในพื้นที่ดงั กล่าวแล้ว (๒) การขอใช้พนื้ ที่ป่าสงวนแห่งชาติป่านา้ ปาด (คาขอท่ี ๑ /คาขอที่ ๒) ๑. มอบด่านศุลกากรทุ่งชา้ ง (รับผดิ ชอบจุดผ่านแดนถาวรภดู ่)ู ขอใชป้ ระโยชนใ์ นการ ก่อสร้างอาคารสานกั งานด่านศุลกากร (ระบบ CIQ) ในพน้ื ท่ี ๙๙ ไร่ ในคาขอท่ี ๑ ในการขอใช้ประโยชน์ พื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยไม่กระทบต่อตัวอาคารตลาดชายแดนภูดู่เดิม โดยให้มีการเขียนการวางแผนการดาเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ในโครงการก่อสร้างสานักงานด่านศุลกากร พร้อมท้ังส่งแผนผังแบบแปลน โครงการก่อสร้างสานักงานด่านศุลกากรใหม่ ให้อยู่ในพ้ืนที่ ๙๙ ไร่ โดยให้ด่านศุลกากรอยู่ใกล้กับ พรมแดนและให้คงส่งิ ก่อสรา้ งตลาดเดมิ และพน้ื ทตี่ ลาดไว้

๕๐ ๒. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานท่ีดินจังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ อาเภอ บ้านโคก ป.พัน ๒๐ และสานักงานจังหวัดอุตรดิตถ์ ร่วมกันจัดทาหลักเขตและป้ายในพ้ืนที่ ๙๙ ไร่ ที่ได้รบั อนุญาตใหใ้ ช้ประโยชน์ตามเงอ่ื นไขที่กาหนด ๓. การเสนอคาขอใชพ้ ้ืนทีค่ าขอที่ ๒ ในการขอใช้ประโยชนพ์ ้ืนทปี่ ่าสงวนแห่งชาตปิ ่า นา้ ปาด บรเิ วณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อาเภอบา้ นโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ใหท้ ุกหนว่ ยงานทงั้ ๑๓ หน่วยงาน ท่ีขอใช้ไปทบทวน การขอใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาดใหม่ให้ขอเฉพาะท่ีจาเป็นและมีแผนงาน รองรับ และเข้าไปชี้แจงกบั ประชาชนในพนื้ ทีท่ ี่ไดร้ ับผลกระทบ ณ วดั หว้ ยจอมแจ้ง หรอื ท่อี งค์การบรหิ าร ส่วนตาบลม่วงเจด็ ต้นดว้ ย เพือ่ ให้คณะกรรมการพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบอกี คร้งั ๔. ให้อาเภอบ้านโคก สารวจราษฎรท่ีได้รับผลกระทบจากท่ีดินทากินว่ามีกี่ราย และราษฎรท่ีมีเอกสารสิทธ์ิที่ดินจานวนกี่ราย ให้มีความชัดเจน แล้วส่งให้กับจังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อหา แนวทางแก้ไขปญั หาร่วมกันตอ่ ไป และประสานการชแ้ี จงประชาชนใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย (๓) การขอใชป้ ระโยชนข์ องอาคารตา่ งๆ ณ บรเิ วณจุดผา่ นแดนถาวรภูดู่ อาเภอบ้านโคก จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ๑. ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้นใช้ท่ีราชพัสดุตลาดชายแดนภูดู่ เป็นศูนย์สาธิตการตลาด มติท่ีประชุมเห็นชอบให้องค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้นเข้าใช้ประโยชน์ อาคารราชพัสดุ ท้ัง ๙ รายการ ได้แก่ (๑) ป้อมยาม (๒) อาคารคลังสินค้าโรงเก็บพัสดุ (๓) อาคารตลาด (๔) อาคารหอ้ งน้า (๕) อาคารสานักงานบรหิ ารจดั การและสง่ เสรมิ การทอ่ งเที่ยว (๖) อาคารขายสินคา้ หลงั ที่ ๑ (๗) อาคารขายสินค้าหลงั ท่ี ๒ (๘) ป้อมยามตลาด (ด้านบนตลาดภูดู่) (๙) ระบบประปาพรอ้ มหอถังสงู รวมท้ัง อาคารบ้านพักข้าราชการระดับ ๓ - ๖ และเสาธง ซึ่งตั้งอยู่ในท่ีดิน ส.ป.ก. และ ส.ป.ก. ยังไม่ได้อนุญาต ให้องค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้นใช้ที่ดินและให้ ส.ป.ก. ติดตามเร่งรัดการอนุญาตให้ท่ีดิน จากคณะกรรมการปฏริ ปู ทีด่ ินเพอื่ การเกษตรกรรม (คปก.) ใหอ้ งคก์ ารบริหารส่วนตาบลม่วงเจด็ ต้น ๒. มอบให้องค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น ติดตามการอนุญาตการให้เข้าใช้ อาคารพสั ดุ ท้ัง ๙ รายการ จากสานกั งานปฏิรปู ท่ีดนิ จังหวดั อตุ รดิตถ์ และประสานกบั สานักงานธนารักษ์ พน้ื ทอ่ี ุตรดติ ถอ์ ยา่ งใกล้ชดิ เพ่ือจะไดด้ าเนนิ การใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วนตามระเบยี บกฎหมาย ๓. การพัฒนาระบบไฟฟ้า ระบบประปา หรืออื่นๆ ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเตรียมการ ไวก้ ่อน เม่ือไดร้ ับอนุญาตเรอื่ งพน้ื ทจ่ี ะรีบดาเนนิ การตอ่ ไป ๔. มอบให้ทุกหน่วยงานดาเนินการตามที่ได้รับมอบหมายหรือที่เกี่ยวข้องให้มี ผลคบื หน้าโดยเร็วแล้วรายงานจังหวัดอุตรดิตถ์ทกุ ระยะเพ่อื จะได้รว่ มกันแก้ไขอปุ สรรค ปัญหา ทาใหก้ าร พฒั นาจุดผา่ นแดนถาวรภูดู่ สามารถดาเนินการไดต้ ามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ร่วมกันตอ่ ไป ๕. มอบให้สานักงานจังหวัดอตุ รดติ ถ์ติดตามผลการดาเนินงานจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อรายงานผวู้ ่าราชการจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ และหนว่ ยงาน หรือคณะกรรมการทเ่ี กยี่ วขอ้ งทุกระยะ

๕๑ คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนภดู ู่ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบา้ นโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ และคณะทางานสารวจขอบเขตการขอใช้พ้ืนที่ในเขตพ้ืนท่ีในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้าปาด บริเวณด่านภูดู่ (คาขอที่ ๒) อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๑ เมื่อวันท่ี ๒๑ มนี าคม ๒๕๖๒ เห็นชอบใหด้ าเนินการ ดงั นี้ ผลการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ การขอใช้พื้นท่ีในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณด่านภดู ู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ได้แจ้งให้ทุกหน่วยงานที่ขอใช้พ้ืนที่ทบทวนและยืนยันการขอใช้พ้ืนที่ในเขต ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณด่านภูดู่ และผังบริเวณ พร้อมเหตุผลความจาเป็นของแผนการ ดาเนนิ งานของหน่วยงาน ภายในวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๒ มีจานวน ๑๑ หน่วยงาน โดยรายละเอียด การขอใชพ้ นื้ ที่มจี านวนการยืนยันขอใช้พนื้ ท่จี ากหน่วยงานท้งั หมด จานวน ๔๐๒ ไร่ สรุปรายละเอียดหน่วยงานท่ียื่นความจานงขอใช้พ้ืนท่ีในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด รวบรวมโดยสานักงานจงั หวดั อุตรดติ ถ์ รวมพืน้ ท่ที งั้ หมด ๗๕๒ ไร่ ดังนี้ ลาดับ หน่วยงานทีข่ อใช้พน้ื ที่ พนื้ ที่ รายละเอยี ด ผังบริเวณ (ไร)่ การใช้พ้นื ที่ ๑. ด่านศลุ กากรท่งุ ช้าง ๒. สนง.สาธารณสขุ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ๑๐๐ √ √ ๓. ดา่ นกักกนั สัตว์อตุ รดติ ถ์ ๔. ทที่ าการปกครองจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ๑๐๐ √ - ๕. แขวงทางหลวงอตุ รดิตถ์ท่ี ๒ ๖. ตารวจภูธรจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ๕๐ √ - ๗. กองร้อยตารวจตระเวนชายแดนที่ ๓๑๗ ๘. สนง.สรรพสามติ พ้นื ที่อตุ รดติ ถ์ ๕๐ √ √ ๙. ตรวจคนเข้าเมอื งจงั หวัดอุตรดติ ถ์ ๑๐. สนง.ประมงจังหวดั อตุ รดิตถ์ ๓๐ √ √ ๑๑. ศูนย์วิจยั และการพัฒนาการเกษตรอตุ รดิตถ์ ๑๒. ตลาดการคา้ ชายแดน ๒๐ √ √ รวมพ้ืนท่ี ๑๘ √ - ๑๕ √ √ ๕√ - ๕√ √ ๙√ √ ๘๐ √ √ ๔๘๒ √ - หมายเหตุ เครือ่ งหมาย √ หมายถงึ ส่งรายละเอยี ดเหตผุ ลความจาเป็นในการขอใชพ้ ื้นที่ เคร่อื งหมาย – หมายถงึ ขาดเอกสารรายละเอยี ดผงั บรเิ วณในส่งิ ปลูกสรา้ งในการ ขอใชพ้ ื้นท่ี

๕๒ ลาดับ สาธารณูปโภคเพอ่ื รองรับหนว่ ยงานตา่ งๆ พนื้ ที่ (ไร่) รายละเอยี ด ผังบรเิ วณ การใชพ้ ืน้ ที่ ๑. ระบบประปา ไฟฟ้า ระบบบาบดั น้าเสีย ๑๑๔ ทพ่ี กั ขยะ และถนนสายย่อยในพืน้ ที่โครงการ ลานจอดรถพน้ื ทีส่ าธารณะสว่ นกลาง (สวน,หอ้ งน้าสาธารณะ,อนื่ ๆ) ๒. พื้นทใ่ี นแนวถนนหลกั ๗๗ ๓. พนื้ ทอ่ี ่างเก็บนา้ ๗๙ รวมพื้นที่ ๒๗๐ พื้นทที่ งั้ หมดทข่ี อใช้พืน้ ทใ่ี นเขตป่าสงวนแห่งชาตปิ ่านา้ ปาด บรเิ วณดา่ นภดู ู่ (คาขอที่ ๒) ๑. หน่วยงานตา่ ง ๆ ๔๘๒ ไร่ ๒. ระบบสาธารณูปโภคในโครงการ ๒๖๔ ไร่ รวมพื้นท่ีทง้ั หมด ๗๕๒ ไร่ (๔) ความเหมาะสมของการขอใช้พน้ื ทป่ี า่ สงวนแห่งชาตปิ า่ น้าปาดของหน่วยงานต่างๆ ๑. จงั หวัดอุตรดิตถ์ ไดม้ ีคาสั่งท่ี ๔๘๒๙/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒ เร่อื ง แต่งต้ัง คณะทางานสารวจและกาหนดการใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ที่ในเขตป่าสงวนแหง่ ชาตปิ ่านา้ ปาด บรเิ วณจุดผ่านแดน ถาวรภูดู่ อาเภอบา้ นโคก จังหวัดอตุ รดิตถ์ โดยมปี ลดั จังหวัดอุตรดติ ถเ์ ปน็ ประธาน เพ่อื ดาเนนิ การสารวจ และปักหลกั เขตพื้นที่ คาขอที่ ๑ จานวน ๙๙ ไร่ ทีไ่ ด้รับอนุญาตแลว้ ตามเง่อื นไขทแ่ี นบท้ายกาหนดตาม ประกาศกรมป่าไม้ และสารวจพ้ืนที่อาคาร สถานท่ี ท่ีใช้ประโยชน์เพ่ือจะได้ และดาเนินการแล้วเสร็จ ให้นาเสนอในคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนภูดู่ ตาบลม่วงเจ็ดตน้ อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ และคณะทางานสารวจขอบเขตการขอใช้พ้ืนที่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณด่านภูดู่ (คาขอที่ ๒) ๒. เห็นชอบใหส้ ่วนราชการที่จาเป็นในการปฏิบตั ิงานเขา้ ร่วมใช้พ้ืนท่ีในคาขอที่ ๒ จานวน ๒๗๐ ไร่ ของสว่ นราชการ และพื้นท่จี านวน ๓๖๐ ไร่ กนั ไว้ให้ราษฎรทีไ่ ด้รับผลกระทบ ๓. เห็นชอบให้จังหวัดอุตรดิตถ์ ขอเพิ่มวัตถุประสงค์ในประกาศกรมป่าไม้ เรื่อง กาหนด บริเวณพ้ืนที่ให้ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐเพื่อใช้ประโยชน์ ภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ฉบับที่ ๕๕๒/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ จาก “เพ่ือก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่ เปน็ “เพอื่ ก่อสร้างตลาดการคา้ ชายแดน ณ ชอ่ งภดู ู่ และเพอ่ื ใช้เป็นทต่ี ั้งของส่วนราชการต่าง ๆ”

๕๓ ๔. จัดทาโครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนภูดู่ ในการพัฒนาซ่อมแซมถนน เพื่อส่งให้กรมป่าไม้พิจารณาเห็นชอบ โดยอาศัยอานาจตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๕. มอบหมายสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ หน่วยป้องกัน และพัฒนาปา่ ไมบ้ า้ นโคก แขวงทางหลวงชนบทอุตรดิตถ์ อาเภอบ้านโคก และองค์การบริหารส่วนตาบล ม่วงเจ็ดต้น ร่วมกันดาเนินการจัดทาโครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนภูดู่ท้องท่ีหมู่ที่ ๒ ตาบล ม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ถึงชายแดนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดอุตรดิตถ์ หากมีงบประมาณเหลือจ่ายจะเสนอขอใช้ งบประมาณไปซ่อมแซมถนน และอีกทางหน่ึงได้ขอรับการสนับสนุนจากงบประมาณกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนลา่ ง ๑ แล้ว ๔๗.๙ ล้านบาท (๕) ผลการดาเนนิ งานของสานกั งานการปฏิรปู ทีด่ ินจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปัญหา/อปุ สรรคในการดาเนนิ งาน คอื ประเด็นท่ี ๑ หากจะขยายถนนในพื้นท่ี ส.ป.ก. หากทาถนน ๔ ช่องจราจร และมีการขยายข้างทางไปอีกข้างละ ๔๐ เมตร จะกระทบพ้ืนที่ราษฎร ๔๐ แปลง ๑๔ ไร่ ๓ งาน การขยายถนนจากแยกภูดู่ ผ่านเขตปฏิรปู ที่ดินประมาณ ๑,๔๙๐ เมตร และการ ขอใช้พื้นที่ถนนองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้นจะต้องเข้าไปขอใช้พ้ืนที่ ส.ป.ก.ด้วย ประเด็นท่ี ๒ การขอใช้ที่ดินขององค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น ปัจจุบันได้มีการทบทวนกระบวนการอนุญาต และสานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดอุตรดิตถ์ได้ส่งเร่ืองไปส่วนกลางพิจารณาแล้วติดตามเรื่องการ อนุญาตให้ใชท้ ดี่ นิ จากคณะกรรมการปฏิรปู ที่ดนิ เพื่อการเกษตรกรรม (คปก.) ขององค์การบริหารสว่ นตาบล มว่ งเจ็ดตน้ แนวทางการดาเนนิ งาน ๑. การขอใช้พ้ืนที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น เพ่ือจะได้ใช้ประโยชน์ ในอาคารทีส่ รา้ งบนพน้ื ที่ สปก.จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ใหค้ รบทุกอาคารตามระเบยี บต่อไป ๒. มอบสานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดอุตรดิตถ์ติดตามการอนุญาตให้ใช้ท่ีดิน จากคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม (คปก.) ขององค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น แลว้ รายงานให้ทราบทกุ ระยะ (๖) การพัฒนาเส้นทางคมนาคม บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อาเภอบ้านโคก จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ๑. จัดทาโครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนภูดู่ ในการพัฒนาซ่อมแซมถนน เพ่ือส่งให้กรมป่าไม้ พิจารณาเห็นชอบ โดยอาศัยอานาจตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวน แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗

๕๔ ๒. มอบหมายสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ หน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไม้บ้านโคก แขวงทางหลวงชนบทอุตรดิตถ์ อาเภอบ้านโคก และองค์การ บริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น ร่วมกันดาเนินการจัดทาโครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนภูดู่ ท้องท่ีหมู่ที่ ๒ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ถึงชายแดนสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เพื่อขอรับสนับสนนุ งบประมาณจากจังหวดั อตุ รดิตถ์ หากมีงบประมาณเหลอื จา่ ยจะเสนอ ขอใช้งบประมาณไปซ่อมแซมถนน และอีกทางหนึ่งได้ขอรับการสนับสนุนจากงบประมาณกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง ๑ จานวน ๔๗.๙ ล้านบาท คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาตลาดการค้าชายแดนภดู ู่ ตาบลม่วงเจ็ดต้น อาเภอ บ้านโคก จังหวดั อตุ รดติ ถ์ และคณะทางานสารวจขอบเขตการขอใช้พ้นื ท่ใี นเขตพื้นที่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติป่าน้าปาด บริเวณด่านภูดู่ (คาขอที่ ๒) อาเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ คร้ังที่ ๒/๒๕๖๒ เม่อื วันท่ี ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๓๐ น. เหน็ ชอบให้ดาเนินการ ดงั น้ี การดาเนินงานของคณะทางานสารวจและกาหนดการขอใชพ้ ื้นท่ปี ระโยชน์พ้นื ท่ีในเขต ป่าสงวนแห่งชาตปิ า่ น้าปาด บรเิ วณจดุ ผ่านแดนถาวรภูดู่ อาเภอบา้ นโคก จงั หวัดอตุ รดิตถ์ คาขอท่ี ๑ จานวน ๙๙ ไร่ คณะทางานไดด้ าเนนิ การ ดังน้ี ๑. คณะทางานสารวจและกาหนดการใช้ประโยชน์พนื้ ที่ในเขตป่าสงวนแห่งชาตปิ า่ น้าปาด บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ คาขอท่ี ๑ จานวน ๙๙ ไร่ ได้ดาเนินการสารวจตรวจสอบและปักเขต รอบพนื้ ที่ จานวน ๖๒ หลักเขตเรยี บร้อยแลว้ รวมท้ังได้เตรียมกลา้ ไมเ้ พ่ือปลูกแสดงแนวเขตพื้นทท่ี ่ไี ด้รับ อนญุ าตทุกด้านแล้ว ๒. มอบองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น จัดทาป้ายขนาด ๖๐ × ๑๒๐ ซ.ม. ติดตั้ง หนา้ ทางเข้าบรเิ วณพืน้ ทท่ี ่ไี ด้รับอนุญาต ๓. มอบองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น นาเสนอทปี่ ระชุมสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ม่วงเจ็ดต้น เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น สมัยสามัญ สมัยที่ ๒ ประจาปี ๒๕๖๒ ครั้งท่ี ๑ เม่ือวันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๒ ซึ่งท่ีประชุมมีมติ เห็นชอบให้ดาเนินการเพ่ิมวัตถุประสงค์ในคาขอใช้พ้ืนที่ของส่วนราชการหรือองค์กรของรัฐ ภายใน เขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา ๑๓ ทวิ แห่งพ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ ในคาขอที่ ๑ พื้นท่ี ๙๙ - ๐ - ๔๘ ไร่ เป็น “เพ่ือก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่ และเพื่อใช้เป็นที่ต้ัง ของส่วนราชการอื่น” ๔. โครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนถาวรภูดู่ถึงชายแดนสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวได้มอบหมายให้องค์การบริหารส่วนตาบลม่วงเจ็ดต้น หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ อต.๘ (หว้ ยน้อยกา) และแขวงทางหลวงชนบทอุตรดิตถ์ ไดจ้ ัดทาโครงการปรับปรงุ เส้นทางดา่ นชายแดนถาวรภูดู่

๕๕ ผลการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ การขอใช้พื้นท่ีในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ปา่ น้าปาด บริเวณดา่ นภดู ู่ ๑. มอบสานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีอุตรดิตถ์สารวจอาคาร/ส่ิงปลูกสร้าง บริเวณจุดผ่านแดน ถาวรภูดู่ และมอบให้ด่านศุลกากรทุ่งช้างนาผังแบบแปลนจากขอใช้พ้ืนที่โครงการก่อสร้างอาคารศุลกากร ทุ่งชา้ งมาทาบแผนท่ขี องสานักงานธนารักษ์พน้ื ท่อี ตุ รดิตถ์ เพ่อื ให้สานักงานโยธาธกิ ารและผงั เมืองจงั หวัด อุตรดิตถ์ จัดทาผังบริเวณการขอใช้พ้ืนท่ีในคาขอท่ี ๑ จานวน ๙๙ ไร่ ต่อไป เพ่ือประกอบการยื่นคาขอ เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การขอใช้พื้นท่ีคาขอที่ ๑ ต่อไป ส่วนในคาขอใช้พื้นที่ คาขอท่ี ๒ ให้สานักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดอุตรดิตถ์จัดทาผังบริเวณ จานวน ๒๗๐ ไร่ ของส่วนราชการ และพ้ืนท่ี จานวน ๓๖๐ ไร่ กันไวใ้ ห้ราษฎรทไี่ ด้รับผลกระทบ ๒. มอบองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลม่วงเจด็ ตน้ ใช้ที่ราชพัสดุตลาดชายแดนภูดเู่ ป็นศนู ยส์ าธติ การตลาด เข้าใช้ประโยชน์อาคารราชพัสดุ ท้ัง ๙ รายการ พร้อมทั้งขอให้จัดทาโครงการเพ่ือขอ งบประมาณจังหวดั อตุ รดิตถ์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ เพอ่ื ซ่อมแซม บารงุ รกั ษาอาคารทช่ี ารุด รวมทงั้ ระบบไฟฟา้ ประปา ใหม้ ีสภาพการใชง้ านได้ ต่อไป การพฒั นาเส้นทางคมนาคม บรเิ วณจดุ ผา่ นแดนถาวรภดู ู่ ๑) ขอเร่งรัดให้หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ อต.๘ (ห้วยน้อยกา) และแขวงทางหลวงชนบท อุตรดิตถ์ ติดตามโครงการปรับปรุงเส้นทางด่านชายแดนถาวรภูดู่ถึงชายแดนสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวท่ีจังหวัดอุตรดติ ถ์ได้ยื่นกับสานักงานจัดการทรัพยากรป่าไม้ ท่ี (๓ ลาปาง) ตรวจสอบการ ดาเนินโครงการฯ ๒) อาเภอบ้านโคก รายงานว่าได้รับแจ้งจากหน่วยป้องกันรักษาป่าท่ี อต.๘ (ห้วยน้อยกา) ว่าสานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ท่ี ๓ (ลาปาง) ได้ตรวจสอบแล้ว ปรากฏว่า เร่ืองน้ีจังหวัดอุตรดิตถ์ เคยยื่นคาขอใช้พื้นท่ีของส่วนราชการหรือองค์กรของรัฐในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ตามมาตรา ๑๓ ทวิ แห่งพระราชบัญญัตปิ ่าสงวนแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ (ป.ส.๑๗) เม่ือวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๔๕๔ แลว้ และให้ รอผลการพจิ ารณาจากกรมป่าไมต้ ามระเบียบฯ ตอ่ ไป (๗) ปญั หา/อปุ สรรค ๑) การขอใช้พ้ืนท่ีในคาขอที่ ๑ จานวน ๙๙ ไร่ ท่ีได้รับอนุญาตแล้ว มีการขอเพิ่ม วัตถุประสงค์ “เพื่อก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่ เป็น “เพื่อก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ชอ่ งภูดู่ และเพ่อื ใช้เปน็ ที่ตัง้ ของส่วนราชการต่างๆ” โดยเปน็ การแกไ้ ขปญั หา/อปุ สรรค ของหนว่ ยงาน ในระบบ CIQ ที่ยังไม่มีอาคารท่ีทาการให้มีความพร้อมสมบูรณ์ครบถ้วน เพื่อสร้างอาคารด่านศุลกากร และอาคารท่ีทาการของส่วนราชการที่เกย่ี วข้องตอ่ ไป ซ่ึงต้องรอการอนุญาตจากกรมป่าไมอ้ ีกคร้ัง จงึ จะ สามารถก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ได้

๕๖ ๒) คาขอท่ี ๒ จานวน ๙๕ ไร่ เพื่อปรับปรุงถนนสายบ้านม่วงเจด็ ต้น - ด่านภูดู่ท้องท่ี ตาบลบ้านม่วงเจ็ดต้นอาเภอบ้านโคกจังหวัดอุตรดิตถ์ (ย่ืนคาขอปี ๒๕๕๓) ต่อมากรมป่าไม้ได้แจ้งมติ คณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ ความว่า “คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาเห็นชอบให้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๓ (เร่ืองการทาประโยชน์ภายในพ้ืนท่ีป่าไม้) เป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายโดยให้จังหวัด อุตรดิตถ์ใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาดเพ่ือก่อสร้างตลาดการค้าชายแดน ณ ช่องภูดู่และปรับปรุง ถนนสายม่วงเจ็ดต้น-ด่านภูดู่และให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและหน่วยงาน ทเ่ี ก่ยี วข้องดาเนนิ การตามกฎหมายระเบยี บและมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวขอ้ งต่อไปรวมทงั้ ใหร้ ับความเห็น ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปพิจารณาดาเนินการต่อไปด้วย จังหวัดอุตรดิตถ์พิจารณาตีความตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ ว่าจังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถเข้าดาเนินการปรบั ปรุงถนนช่วงจากหน้าดา่ นภูดซู่ ่ึงเขตตดิ ต่อชายแดน โดยจะโอนเปล่ียนแปลง งบประมาณเหลือจ่ายปีงบประมาณ ๒๕๖๒ เพื่อมาดาเนินการปรับปรุงถนนช่วงดังกล่าว พร้อมทั้ง ได้จัดทาหนังสอื ขอหารอื กับกรมปา่ ไม้วา่ ความเห็นของจังหวัดอตุ รดิตถ์ดงั กล่าวถูกต้องหรือไม่ แตก่ รมปา่ ไม้ แจง้ วา่ การปรับปรุงถนนต้องไดร้ ับอนญุ าตเขา้ ทาประโยชน์ตามระเบียบฯ ก่อนจึงทาให้จังหวัดไม่สามารถ ปรับปรุงถนนดังกล่าวได้และเป็นประเด็นสาคัญที่ทาให้การพิจารณาเส้นทางคมนาคมของไทย ไม่ทัดเทียมกับสปป.ลาว ที่ได้รับเงินกู้จากไทย ๗๑๘ ล้านบาท เพื่อพัฒนาเส้นทางและด่านสากลภูดู่ แขวงไชยะบุรี จนก้าวหน้ากวา่ ด่านภูดขู่ องไทยอยา่ งมากมาย ๓) ปัจจุบันการขอใช้พ้ืนท่ีในคาขอท่ี ๒ ใหม่ จานวน ๖๓๐ ไร่ คณะกรรมการบริหาร จัดการตลาดชายแดนภูดู่ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการพัฒนาจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อยู่ระหว่าง การรวบรวมข้อมูลการยื่นเอกสารคาขอใช้พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าปาด ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ แบง่ เป็นพืน้ ท่ี จานวน ๒๗๐ ไร่ สาหรบั การก่อสร้างต่าง ๆ ของส่วนราชการ และพ้ืนท่จี านวน ๓๖๐ ไร่ กันไว้ ใหร้ าษฎรที่ไดร้ ับผลกระทบ ซ่งึ อยู่ระหวา่ งรวบรวมเอกสารตา่ ง ๆ ประกอบการขอใชจ้ ากกรมปา่ ไม้ต่อไป ๒. ขอให้เปิดเส้นทางเดินรถโดยสารระหว่างประเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว ระหวา่ ง ๒ มรดกโลก อทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ ุโขทัย – เมอื งหลวงพระบาง คณะกรรมการมรดกโลกได้ประกาศให้อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเป็นมรดกโลก ทางวัฒนธรรม เม่ือวันท่ี ๑๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ขณะที่เมอื งหลวงพระบาง สาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว ) เป็นหน่ึงในเมืองท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกอย่างจาเพาะเจาะจง ในโบราณสถานธรรมชาติ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จึงควรมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อเชื่อมระหว่าง ๒ มรดกโลก ซึง่ จะส่งผลให้การพัฒนาด้านการทอ่ งเที่ยวของจงั หวัดอตุ รดติ ถด์ ีข้ึน ดังนน้ั ขอให้มีการเปิด เส้นทางเดินรถโดยสารระหว่างประเทศเส้นทางจังหวัดสุโขทัย – เมืองหลวงพระบาง โดยจุดเร่ิมต้น ที่จังหวัดสุโขทัย – พิษณุโลก – อุตรดิตถ์ – ภูดู่ – แขวงไซยะบุรี – หลวงพระบาง เพ่ือส่งเสริมการ ทอ่ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม

๕๗ ๓. การก่อสร้างถนนโครงการตามผงั เมืองรวมอุตรดิตถ์ สาย ๒ง ตอนถนนท่าอิฐลา่ ง – ถนนพาดวารี (วิทยาลยั เทคนิคอุตรดติ ถ)์ โครงการตามผังเมืองรวมอุตรดิตถ์ สาย ๒ง ตอนถนนท่าอิฐล่าง – ถนนพาดวารี (วิทยาลัยเทคนิค อุตรดิตถ์) ซ่ึงมีแนวเส้นทางตัดผ่านวิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์ทาให้สนามฟุตบอล ของวทิ ยาลัยมีพ้ืนท่ีไม่เพียงพอ และพื้นที่ถูกแยกออกเป็น ๒ สว่ น ซ่ึงอาจเกิดความไม่ปลอดภัยตอ่ บุคคล ของวทิ ยาลยั ขณะน้ีทางวิทยาลยั เทคนิคอตุ รดิตถย์ ังไม่อนุญาตให้ใชพ้ นื้ ท่ใี นการกอ่ สร้าง จากน้ัน เวลา ๑๕.๓๐ นาฬิกา คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพ้ืนที่จังหวัดภาคเหนือ (ตอนล่าง) ได้เดินทางไปยังสหกรณ์การเกษตรเมืองอุตรดิตถ์ จากัด เพื่อพบปะกลุ่มเกษตรกรจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ โดยกล่มุ เกษตรกรจงั หวัดอตุ รดิตถ์ไดน้ าเสนอปญั หาดงั นี้ ๑. ขอให้สนับสนุนโครงการสนิ เชือ่ ชะลอการขายขา้ วนาปี ตามทร่ี ัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกมาตรการชว่ ยเหลือเกษตรกรผู้ปลูก ขา้ วนาปสี หกรณ์การเกษตรเมืองอตุ รดติ ถ์ จากัด ได้เข้าร่วมโครงการสินเชอ่ื ชะลอการขายขา้ วเปลอื กนาปี ในปีการผลิต ๒๕๕๙/๖๐ และ ๒๕๖๐/๖๑ ตามนโยบายรัฐบาล โดยรวบรวมผลผลิตข้าวเปลือกนาปี จากเกษตรกรสมาชิก จานวน ๑,๑๑๖ ราย ในปีการผลิต ๒๕๕๙/๖๐ ได้จานวน ๙,๐๘๑ ตัน มูลค่า ๗๑,๗๒๗,๓๐๐ บาท และในปีการผลิต ๒๕๖๐/๖๑ จานวน ๑,๘๓๐ ราย รวบรวมผลผลิตได้จานวน ๒๗,๕๕๙ ตัน มูลค่า ๑๙๙,๕๓๕,๐๐๐ บาท และชะลอการขายข้าวตามระยะเวลาท่ีรัฐบาลกาหนด ซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มของข้าวเปลือก และนามาจัดสรรคืนให้แก่เกษตรกรรายละ ๕๐๐ บาท/ตัน เกษตรกรได้รับประโยชน์จากมูลค่าข้าวเพ่ิมสูงข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น ขอให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ดาเนินโครงการดังกล่าวต่อไป โดยนาโครงการสินเช่ือเพ่ือชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี มากาหนดเปน็ นโยบาย ๒. ขอให้สนับสนุนงบประมาณให้กับสหกรณ์การเกษตรเพื่อก่อสร้างถังบรรจุผลผลิต ทางการเกษตร (ไซโล) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดาเนินโครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผล ทางการเกษตร (แก้มลิง) เพื่อให้สถาบันเกษตรกรเป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตรายใหญ่ของเกษตรกร โดยการจัดซ้ือจัดหา ฉาง โกดงั ไซโล ลานตาก เคร่ืองอบลดความช้นื เคร่ืองชงั่ และเครื่องสีขา้ วโพด เปน็ ต้น ในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปจ่ายขาด โดยสถาบันเกษตรต้องสมทบไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของมูลค่า เงินลงทุนในการจัดซ้ือจัดหาหรือก่อสร้าง ซ่ึงโครงการดังกล่าวช่วยทาให้ราคาสินค้าการเกษตรไม่ตกต่า และเพ่ิมรายได้ให้กับสมาชิกของสหกรณ์ จึงควรสนับสนุนโครงการดังกล่าวต่อไปและเพิ่มเงินอุดหนุน การสร้างไซโลให้มากข้นึ _________________________________

๕๘ จงั หวดั สุโขทัย วนั ศุกร์ท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวดั สโุ ขทัย วธิ ดี าเนินกจิ กรรม จดั ประชมุ ช้ีแจงและหารือกับผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและผ้แู ทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการใหส้ มาชกิ วุฒสิ ภาลงพ้นื ที่อย่างต่อเนือ่ ง โดยสมาชิกวุฒิสภาได้รับข้อเสนอแนะ ดังน้ี ๑. การบรหิ ารจดั การน้าเพอื่ แกไ้ ขปัญหานา้ ท่วมและภยั แลง้ อาเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย ประสบปัญหาขาดแคลนน้าเพ่ือการเกษตร และการอุปโภค - บริโภคเป็นอย่างมาก เนื่องจากอาเภอบ้านด่านลานหอยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง แหล่งน้าใต้ดินมีน้อย และไม่สามารถกักเก็บน้าไว้ใช้ในฤดูแล้งได้ ซ่ึงหากมีการสร้างอ่างเก็บน้าในพ้ืนท่ี อาเภอบ้านด่านลานหอย จะทาให้มีแหล่งกักเก็บน้าไว้เป็นน้าต้นทุนเพ่ือนาไปช่วยเหลือพื้นที่ การเพาะปลูกของเกษตรกรและกักเก็บน้าไว้ใช้สาหรับอุปโภค – บริโภค โดยพื้นท่ีก่อสร้างอ่างเก็บน้า ต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีเขตอุทยานแห่งชาติ และไม่มีประชาชนอยู่อาศัย ปัจจุบันยังไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้พ้ืนที่ เพ่อื กอ่ สรา้ งอา่ งเกบ็ น้าแตอ่ ยา่ งใด ๒. หนส้ี นิ ของเกษตรกร เกษตรกรจังหวัดสุโขทัยประสบปัญหามีหนี้สินจานวนมาก โดยหน้ีสินสว่ นหน่ึงเกดิ จากการ กู้ยืมเงินเพ่ือทาการเกษตร เช่น การกู้ยืมเงินเพ่ือซื้อเคร่ืองจักร ซื้อปุ๋ยเคมี ซึ่งท่ีผ่านมารัฐบาลมีนโยบาย ใหก้ บั เกษตรกรเขา้ ถึงแหล่งทุนหลายโครงการ แตเ่ กษตรกรไมส่ ามารถเข้าถงึ แหลง่ ทุนได้ เนื่องจากแตล่ ะ โครงการมเี ง่ือนไขเป็นจานวนมาก และมอี ตั ราดอกเบยี้ สงู ดงั นนั้ ควรสง่ เสรมิ ให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งทนุ ได้สะดวกและมีอตั ราดอกเบยี้ ต่า เพอื่ ลดภาระหนี้สินของเกษตรกร

๕๙ ๓. ทีด่ ินทากนิ ของเกษตรกรทับซ้อนกับแนวเขตทด่ี ินของรฐั จังหวัดสุโขทัยเป็นจังหวัดหน่ึงที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดสุโขทัยมีเน้ือท่ี ป่าไม้ ๑,๒๓๒,๔๔๙.๔๕ ไร่ หรือประมาณร้อยละ ๒๙.๕๖ ของเน้ือท่ีท้ังหมดของจังหวัด มีป่าสงวน แห่งชาติจานวน ๑๒ แห่ง เน้ือที่ ๑,๙๒๓,๔๙๙.๗๕ ไร่ อุทยานแห่งชาติ จานวน ๒ แห่ง เนื้อท่ี ๓๔๖,๓๗๕ ไร่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า จานวน ๑ แห่ง เนื้อที่ ๑๕,๘๗๕ ไร่ และวนอุทยาน จานวน ๑ แห่ง เนอื้ ที่ ๑๑,๒๕๐ ไร่ ซ่ึงที่ดินของรฐั แตล่ ะแหง่ มแี นวเขตทไ่ี มช่ ัดเจน ทาใหเ้ กิดปัญหาที่ดินทากินของราษฎร ทบั ซ้อนกบั แนวเขตทดี่ นิ ของรัฐ ๔. ด้านการคมนาคม ถนนทางหลวงหมายเลข ๑๐๑ เปน็ เสน้ ทางหลักทีเ่ ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งจังหวัดสุโขทยั กับจังหวัด ใกล้เคียง โดยถนนทางหลวงหมายเลข ๑๐๑ โดยในพื้นท่ีจังหวัดสุโขทัย ผ่านอาเภอศรีสาโรง - อาเภอ สวรรคโลก – อาเภอศรีสัชนาลัย ไปเชื่อมต่อจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน ซ่ึงสามารถ เชือ่ มต่อผ่านเข้าสปู่ ระเทศลาว และประเทศเวียดนามและภาคใต้ของประเทศจนี ทางหลวงสายดงั กลา่ ว จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจราจรและเป็นการอานวยความปลอดภัยในการเดินทางบนทางหลวง อีกทั้งจะทาให้การเดินทางและการจราจรเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย และเป็นส่วนหน่ึง ของเส้นทางเศรษฐกิจ แต่ขณะนี้ถนนสายดังกล่าวในพื้นที่จังหวัดสุโขทัยยังมีขนาด ๒ จราจร ดังน้ัน จงึ ขอให้มกี ารขยายถนนทางหลวงหมายเลข ๑๐๑ ให้มขี นาด ๔ ชอ่ งจราจร ๕. การบริหารจดั การสหกรณ์การเกษตรทีไ่ มม่ คี ุณภาพ จังหวัดสุโขทัยมีสหกรณ์การเกษตรท่ีประสบปัญหาในการบริหารงานเป็นจานวน มาก ซ่ึงสาเห ตุเกิดจากเกษต รกรท่ี เข้าร่วมเป็ นสมาชิก สหกรณ์ ก็เพื่ อจะใช้สิทธิใน การกู้เงินจาก ธนาคา ร เพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเท่านั้น และไม่มีการจ่ายค่าสมาชิก ทาให้สหกรณ์ประสบปัญหา ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นอกจากน้ีการบริหารงานของสหกรณ์ไม่ได้ดาเนิน งานตามหลักการ ก่อตั้งสหกรณ์เพื่อให้สมาชิกมีความสามารถในการรวมตัวเพื่อต่อรองด้านราคาและการตลาดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แต่จะบริหารงานโดยเน้นการปล่อยเงินกู้ให้กับสมาชิก เมื่อสมาชิกสหกรณ์ผิดนัด ชาระหน้ีเป็นจานวนมากทาให้สหกรณไ์ ม่สามารถดาเนินงานต่อไปได้ _________________________________

๖๐ คร้ังที่ ๒ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวดั ภาคเหนือ (ตอนล่าง) วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั พิจติ ร จงั หวดั นครสวรรค์ และจงั หวดั อทุ ยั ธานี จงั หวัดพิจติ ร วนั ศกุ ร์ท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวดั พจิ ติ ร วธิ ีดาเนินกิจกรรม จดั ประชมุ ชีแ้ จงและหารือกบั ผูแ้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผู้แทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และต้องการใหส้ มาชกิ วุฒิสภาลงพนื้ ทอ่ี ย่างตอ่ เน่ือง โดยสมาชกิ วุฒสิ ภาได้รบั ขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี ๑. ปัญหาการดาเนินโครงการอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟแู หล่งน้าบงึ สีไฟ กรมเจ้าท่าได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูแหล่งน้าบึงสีไฟ โดยจะทากาขุดลอกบึงสีไฟ แบ่งออกเป็น ๒ โครงการ ประกอบดว้ ย (๑) โครงการอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟูแหลง่ น้าบึงสีไฟ Phase ๑ (ช่วงท่ี ๓ และช่วงที่ ๔) ความคืบหน้า การดาเนนิ งาน ผรู้ บั จา้ งฯดาเนินงานขุดลอก แลว้ เสร็จ ครบถว้ นตามสญั ญาฯ (๔,๐๒๔,๕๙๖.๕๐ ลบ.ม.) และขนย้ายวัสดุขุดลอกข้ึนมากองเก็บบริเวณพื้นท่ีว่างริมบึงสีไฟ และกองเก็บบนพื้นที่เก็บกองเพ่ิมเติม (ที่เอกชน) เพื่อรอการจาหน่าย คิดเป็นผลงานเท่ากับ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ โดยผู้รับจ้างฯ ส่งมอบผลงาน ขดุ ลอกครั้งที่ ๑ งานงวดที่ ๑ – ๑๓ (ก่อนงานงวดสุดท้าย) เม่ือวันท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๖๒ คิดมูลค่างาน เปน็ เงนิ ๘๘,๙๒๐,๐๐๐ บาท และสง่ มอบผลงานขดุ ลอกครั้งท่ี ๒ งานงวดที่ ๑๔ – ๒๕ (งานงวดสุดท้าย) เมอ่ื วนั ท่ี ๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ คดิ มลู ค่างานเป็นเงิน ๘๒,๐๘๐,๐๐๐ บาท (๒) โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้าบึงสีไฟ Phase ๒ (ช่วงที่ ๒) เร่ิมต้นสัญญา ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ สิ้นสุดสัญญา(เดิม) ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ และขอขยายระยะเวลาปฏิบัติงานและ

๖๑ งดเว้นคา่ ปรับ ๑๑๑ วัน ความคบื หน้าการดาเนินงาน ผูร้ ับจ้างฯ สามารถขุดลอกและขนย้ายวัสดุขุดลอก ขึ้นมากองเก็บบริเวณพื้นที่ว่างริมบึงสีไฟ และกองเก็บบนพ้ืนที่เก็บกองเพิ่มเติม (ท่ีเอกชน) เพ่ือรอการ จาหน่ายหลังส่งมอบผลงาน ได้ประมาณ ๑,๖๐๐,๐๐๐.๐๐ ลบ.ม. คิดเป็นผลงานเท่ากับ ๔๑.๐๐ % ลา่ ช้ากวา่ แผนงานที่วางไว้ ๕๙.๐๐ เปอร์เซ็นต์ ผู้รับจ้างฯ ส่งมอบผลงานขุดลอกครั้งที่ ๑ งานงวดท่ี ๑ – ๓ เม่ือวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ มีปริมาณงานที่ขอส่งมอบ ๖๑๐,๐๐๐.๐๐ ลบ.ม. คิดมูลค่างานเป็นเงิน ๒๐,๑๑๓,๙๒๐ บาท ปัจจุบันผู้รับจ้างฯ ขอหยุดงานเป็นการช่ัวคราวเนื่องจากไม่มีพ้ืนท่ีเก็บกองวัสดุ ขุดลอก สาหรับดินท่ีขนย้ายมากองเก็บไว้ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่รอบบึงสีไฟ เน่ืองจาก ทาให้เกิดน้าท่วมและกองดินกีดขวางการเดินทางของประชาชน ซ่ึงผู้รับจ้างจัดทามาตรการป้องกัน ปัญหาผลกระทบท่ีเกิดจากการดาเนินงานโครงการฯ เชน่ ปรบั แต่งความลาดชันกองดินให้มีความม่นั คง แข็งแรง ทารางระบายน้าบริเวณพื้นท่ีเก็บกองวัสดุขุดลอก เพื่อป้องกันปัญหาน้าท่วมขัง วางท่อลอด ก่อนถมทาทางข้ามเพื่อให้การระบายน้ามีประสิทธิภาพ จัดหาเคร่ืองสูบน้ากรณีเกิดน้าท่วมขังพื้นที่ ขา้ งเคียง ๒. ขอให้สนบั สนุนโครงการขุดลอกคลองเพอื่ เพิ่มพน้ื ทีช่ ลประทาน จังหวัดพิจิตรมีพื้นท่ี ๒.๘ ล้านไร่ เป็นพ้ืนที่ทาการเกษตรในเขตชลประทานขนาดใหญ่ จานวน ๓๘๐,๐๐๐ ไร่ และเป็นพื้นที่ทาการเกษตรท่ีอยู่เขตชลประทานขนาดกลาง จานวน ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ ทาให้ ในช่วงฤดูแล้งพ้ืนที่นอกเขตชลประทานประสบปัญหาขาดแคลนน้าเพ่ือการเกษตร เพ่ือแก้ไข ปัญหาภัยแลง้ ควรมีการขุดลอกคลองส่งน้าเพ่ือรองรับน้าจากจงั หวัดเพชรบูรณ์ ผ่านพ้ืนที่อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อาเภอสากเหล็ก อาเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร โดยเป็นโครงการท่ีอยู่ในแผนการ ดาเนนิ งานของกรมชลประทาน ๓. การบริหารจดั การน้าเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาภัยแลง้ และนา้ ท่วม ในปี ๒๕๖๒ จังหวัดพิจิตรได้ประกาศพื้นที่ประสบภัยแล้ง จานวน ๙ อาเภอ รวม ๓๙ ตาบล ๒๗๖ หมู่บ้าน รวมพื้นที่ที่ประสบปัญหาภัยแล้ง จานวน ๓๒๑,๗๑๕ ไร่ ซ่ึงในพ้ืนที่ด้านตะวันออก ของจังหวัดพิจิตร ต้องอาศัยน้าจังหวัดกาแพงเพชรโดยใช้น้าจากแม่น้าน่านเป็นส่วนใหญ่ ส่วนแม่น้ายม ในช่วงฤดูแล้งจะไม่มีน้า โดยจะเร่ิมมีน้าในเดือนมิถุนายน สาหรบั แม่น้ายมมีโครงการก่อสร้างประตูบายน้า จานวน ๔ แห่ง คือ โครงการประตูระบายน้าท่านางงาม จังหวัดพิษณุโลก โครงการประตูระบายน้าท่าแห โครงการประตูระบาย น้าวังจิก โครงการประตูระบายน้าโพธิประทับช้าง จังหวัดพิจิตร แต่ขณะน้ี ทั้ง ๔ โครงการ รายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) ยังไม่ผ่านการพิจารณา ซ่ึงหากโครงการ ก่อสร้างประตรู ะบายดังกลา่ วแลว้ เสร็จจะสามารถแกไ้ ขปญั หาภัยแล้งและน้าท่วมในพื้นทีจ่ ังหวัดพจิ ติ ร _________________________________

๖๒ จงั หวดั นครสวรรค์ วนั พฤหัสบดที ี่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวดั นครสวรรค์ วิธดี าเนินกจิ กรรม จดั ประชุมชแี้ จงและหารอื กับผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผู้แทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการให้สมาชิกวฒุ สิ ภาลงพื้นทีอ่ ย่างต่อเน่อื ง โดยสมาชิกวฒุ สิ ภาได้รับข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ๑. ขอใหเ้ พ่ิมประสิทธภิ าพการกกั เก็บน้าของบึงบอระเพ็ด บึงบอระเพ็ด เป็นแหล่งท่องเท่ียวที่สวยงามที่สุดแห่งหน่ึงในประเทศไทย และเป็น บึงทะเลสาบน้าจืดขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีเนื้อท่ี ๑๓๒,๗๓๗ ไร่ อยู่ในท้องท่ีสามอาเภอ ของจังหวัดนครสวรรค์ ได้แก่ อาเภอเมืองนครสวรรค์ อาเภอท่าตะโก และอาเภอชุมแสง เป็นสถานท่ี ท่องเทีย่ วท่สี าคญั ของจงั หวดั นครสวรรค์ ปจั จุบนั มีการบกุ รุกบึงบอระเพ็ดส่งผลกระทบต่อการจัดเก็บน้า จึงควรมีการขุดลอกบึงบอระเพ็ดเพื่อป้องกันการบุกรุก และเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้าของ บึงบอระเพ็ด

๖๓ ๒. การใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลและบคุ ลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ มีจานวนเตียงให้บริการทั้งหมด ๖๖๑ เตียง ปัจจุบัน มีผูใ้ ช้บริการเปน็ จานวนมาก ทาให้เตียงไม่เพยี งพอกบั จานวนผู้ป่วย นอกจากน้ีโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ ยงั ขาดแคลนบคุ ลากรทางการแพทย์ ๓. การดารงตาแหน่งของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลท่ีมกี ารยกฐานะ เปน็ เทศบาลเมอื ง เทศบาลนคร ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศยกฐานะท้องถิ่นเป็นเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ทาให้ท้องถ่ินท่ีได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง และเทศบาลนครแล้ว ไม่สามารถดาเนินการเลือก กานัน ผู้ใหญ่บ้านได้ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ มาตรา ๑๒ มาตรา ๔๘ เตวีสติ แต่พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พุทธศักราช ๒๔๕๗ มาตรา ๓ วรรคสอง กาหนดให้ “การยกเลิก ตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานันและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทาไม่ได้” ทาให้เกิดปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย ดังนั้น ขอให้แก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ เพ่อื ใหม้ ีการเลอื กตงั้ กานัน และผใู้ หญบ่ า้ น ในทอ้ งถ่ินทไ่ี ดร้ ับการยกฐานะเป็นเทศบาล ๔. การยบุ รวมโรงเรยี นขนาดเลก็ และการบรหิ ารบุคลากรทางการศกึ ษา จากกรณีท่ีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ไม่อนุมัติอัตราครู และผู้บริหาร สถานศึกษาให้โรงเรยี นทม่ี ีนักเรียนต่ากวา่ ๑๒๐ คน หากมีครูเกษยี ณก็จะไม่มีการบรรจุครแู ละผู้บรหิ าร เพมิ่ เตมิ โดยตอ่ ไปผอู้ านวยการสถานศกึ ษาขนาดเล็กทมี่ อี ยู่ ๑ คน ตอ้ งดูแล ๒ – ๓ โรงเรียน ตง้ั แตเ่ ดอื น มีนาคม ๒๕๖๒ และให้ยุบโรงเรียนขนาดเล็กทมี่ นี ักเรียนน้อยกวา่ ๔๐ คน ซ่ึงจากนโยบายดงั กล่าวสง่ ผล กระทบต่อเด็กนักเรียนท่ีตอ้ งเดินทางไปโรงเรยี นไกลมากกว่าเดิม เป็นภาระของผปู้ กครองท่ีต้องเดินทาง ไปส่ง – รับ และสง่ ผลใหค้ รไู ม่ครบชัน้ เรยี น _________________________________

๖๔ จงั หวัดอทุ ัยธานี วนั ศกุ รท์ ี่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวัดอุทยั ธานี วิธีดาเนนิ กิจกรรม จดั ประชมุ ช้ีแจงและหารือกบั ผ้แู ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผ้แู ทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และต้องการใหส้ มาชิกวุฒสิ ภาลงพ้ืนที่อยา่ งตอ่ เน่ือง โดยสมาชกิ วฒุ ิสภาไดร้ บั ขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี ๑. ภัยแลง้ และน้าท่วม จังหวัดอุทัยธานีตั้งอยู่บริเวณลุ่มน้าสะแกกรัง มีพื้นที่ทาการเกษตร ๒,๐๓๔,๒๙๐ ไร่ แต่มีพื้นท่ีในเขตชลประทาน ๑๙๐,๐๐๐ ไร่ จังหวัดอุทัยธานีมีลักษณะสภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ ๒ ใน ๓ ของจังหวัดเป็นป่าและภูเขาสูงมีลักษณะเทลาด โดยมีแหล่งน้าเพียง ๑๑ เปอร์เซ็นต์ ของพ้ืนท่ี ทาการเกษตร จังหวัดอุทัยธานีประสบปัญหาเรื่องน้า ๓ ส่วน ได้แก่ ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้าท่วมขัง และคุณภาพน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน โดยในช่วงฤดูแล้งที่ผ่านมาพ้ืนท่ีทาการเกษตรได้รับความเสียหาย จานวน ๓๕๐,๐๐๐ ไร่ ดังนนั้ ควรมีการพฒั นาแหลง่ กักเกบ็ น้าใหเ้ พ่ิมมากขึ้น ๒. ขอให้ขยายทางหลวงหมายเลข ๓๓ ช่วงสามแยกพหลโยธิน - อาเภอบ้านไร่ ระยะทาง ๘๐ กิโลเมตร เป็น ๔ ชอ่ งจราจร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓ สายอู่ทอง – ท่าน้าอ้อย เป็นเส้นทางเชื่อมการจราจร ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรี อุทัยธานี และนครสวรรค์ โดยพื้นท่ีจังหวัดอุทัยธานีต้ังแต่ช่วงสามแยก พหลโยธิน – อาเภอบ้านไร่ ระยะทางประมาณ ๘๐ กิโลเมตร ยังมีขนาด ๒ ช่องจราจร ซึง่ ถนนดังกล่าว เป็นเส้นทางเลี่ยงเมืองเพ่ือเดินทางไปยังจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งท่ีผ่านมาได้เกิดอุบัติเหตุ บ่อยครงั้ ดังนน้ั จงึ ขอให้ขยายถนนทางหลวงหมายเลข ๓๓ ใหม้ ขี นาด ๔ ช่องจราจร

๖๕ ๓. ขอใหส้ นบั สนุนโครงการผนั นา้ จากเขื่อนศรีนครนิ ทรม์ ายังเขอื่ นทับเสลา แหล่งน้ าสะแกกรังมี ปริมาณ น้ าไม เพียงพอที่ จะสนับ สนุ นการท าเก ษต ร ใน ช่วงฤดูแล้ ง จึงควรมีการน้าจากเข่ือนศรีนครินทร์มายังเข่ือนทับเสลาเพื่อเพิ่มปริมาณน้าให้กับจังหวัดอุทัยธานี ซ่ึงเป็นโครงการผันน้าโดยอุโมงค์และคลองผันน้าจากเขื่อนศรีนครินทร์ เพื่อเพ่ิมปริมาณน้าให้กับพ้ืนท่ี ชลประทานห้วยขุนแก้ว ทับเสลา และกระเสียว มีพื้นท่ีรับประโยชน์ ๔๘๙,๐๐๐ ไร่ ประกอบด้วย พ้ืนท่ี ชลประทานเดิม ๑๔๙,๐๐๐ ไร่ และพนื้ ทชี่ ลประทานเปิดใหม่ ๓๔๐,๐๐๐ ไร่ ๔. การไม่มีท่ดี นิ ทากนิ จังหวัดอุทัยธานีมีประชาชนได้รับสิทธ์ิเข้าทาประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ีดิน (ส.ป.ก.๔ – ๐๑) จานวน ๓๕,๐๐๐ ราย เนื้อที่รวม ๕๗,๐๐๐ ไร่ สานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดอุทัยธานีได้ประกาศ ให้ผู้ถือครองนาหลักฐานมาแสดงสิทธิ์การถือครองที่ดิน ส.ป.ก.๔ – ๐๑ ซึ่งจากการตรวจสอบปรากฏว่า ไม่สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ถือครองท่ีดินได้ประมาณ ๒๐ เปอร์เซ็นต์ โดยบางแปลงชาวบ้านเข้ามา แสดงสิทธิ์แต่ไม่ได้รังวัด ขณะที่บางแปลงไม่ยอมมาแสดงสิทธ์ิและอาจเข้าข่ายว่าเป็นของนายทุน ซึ่งเกษตรกรทถ่ี อื ทด่ี ิน ส.ป.ก.๔ – ๐๑ โดยไมช่ อบด้วยกฎหมายจะทาใหไ้ ม่ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากรัฐ _________________________________

๖๖ ครง้ั ที่ ๓ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดภาคเหนอื (ตอนลา่ ง) วนั ที่ ๑๑ – ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ตาก จงั หวดั กาแพงเพชร และจังหวดั เพชรบรู ณ์ จังหวดั ตาก วันพุธที่ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ สานกั งานเทศบาลนครแมส่ อด และโครงการ ก่อสรา้ งสะพานมิตรภาพไทย – เมียนมา แห่งท่ี ๒ วธิ ดี าเนินกิจกรรม จัดประชุมช้แี จงและหารือกบั ผ้แู ทนหน่วยงานภาครฐั และผแู้ ทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และต้องการใหส้ มาชกิ วุฒสิ ภาลงพืน้ ที่อยา่ งต่อเนื่อง โดยสมาชิกวุฒสิ ภาได้รบั ขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี ๑. ด้านนโยบายการพัฒนาและการบรหิ ารจดั การเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ ๑.๑ เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษไมม่ ีหนว่ ยงานรับผดิ ชอบท่ชี ัดเจนในระดบั พืน้ ท่ี ๑.๒ หน่วยงานระดับพ้ืนท่ีไม่มีอานาจในการให้สิทธิประโยชน์ใด ๆ กับผู้มาลงทุน เช่น ยกเว้น ลดหย่อน ผอ่ นปรน ไมส่ ามารถดาเนินการใดได้ ๑.๓ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ท่ีตง้ั อยู่ในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีศกั ยภาพจากัด เช่น งบประมาณจากดั กาลังคนจากัด สง่ ผลใหก้ ารบริหารจดั การดา้ นต่างๆ ไม่มีศักยภาพเพยี งพอในการ รองรับการเจริญเตบิ โตของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ดังน้ัน เสนอให้นาพระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มาปรับ ใช้ในการบริหารจัดการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก เนื่องจากพระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ

๖๗ ภาคตะวันออกท่ีจะดาเนินการ มีการบริหารจัดการท่ีดีมีผู้รับผิดชอบระดับนโยบาย และมีสานักงาน คณะกรรมการรับผิดชอบชัดเจน มีกฎหมายรองรับ มีงบประมาณในการบริหารจัดการ มีอานาจในการ จัดการชัดเจน ทาให้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีความชัดเจนสร้างความเช่ือม่ันให้กับนักลงทุน อย่างมีระบบ ยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาลนครแม่สอดเป็นท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เหมอื นเมืองพัทยา เพ่ือรองรับการพัฒนาการคา้ การลงทุน การบริการ และการท่องเทย่ี ว ให้มีศกั ยภาพ สงู สดุ เกดิ ประโยชน์ต่อประชาชนในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษอย่างแทจ้ ริง ๒. ดา้ นสิทธิประโยชน์ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สิทธิประโยชน์ที่นักลงทุนได้รับในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจะต้องได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) เท่านั้น ถึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ ผู้ประกอบการที่ลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ หากไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก (BOI) ไมม่ สี ิทธไิ ดร้ ับสิทธิประโยชน์ใดๆ ขอ้ เสนอเพ่ือแกไ้ ขปัญหา เสนอไมใ่ หน้ าสิทธปิ ระโยชน์ไปผกู ไว้กับสานกั งานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยผู้ประกอบการท่ีจะลงทุนในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในกลุ่ม อุตสาหกรรม ๒๓ กลุ่ม ที่รฐั บาลประกาศส่งเสรมิ ควรจะได้รับสิทธิประโยชน์อตั โนมัติ โดยไมต่ ้องขอรับ การส่งเสริมการลงทุนจาก BOI ยกเว้น กิจการบางประเภทที่รัฐบาลเห็นว่าควรต้องควบคุมดูแล อยา่ งใกลช้ ดิ ต้องไปขอรบั การส่งเสรมิ การลงทนุ จาก BOI กอ่ น จึงจะได้รบั สิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ ควรให้สิทธิประโยชน์ผ้ปู ระกอบการรายเดิมด้วย โดยกาหนดให้ผ้ปู ระกอบการรายเดิม ขยายการลงทนุ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๓๐ - ๔๐ ของทนุ จดทะเบยี น ซึ่งผ้ปู ระกอบการรายเดมิ สามารถขยาย การลงทนุ ไดท้ ันทตี ามนโยบายของรัฐบาล ๓. แรงงานในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษตาก ดา้ นแรงงาน แรงงานท่ใี ช้เป็นกาลังแรงงานหลกั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษตากคอื แรงงาน ประเทศเพ่ือนบ้านสัญชาติเมยี นมา ซึ่งการนาแรงงานมาใช้ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษเปน็ แรงงานตาม มาตรา ๖๔ แห่งพระราชกาหนดการบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ การใช้ แรงงานแบบเป็นช่วงระยะเวลา หรือตามฤดูกาล โดยอนุญาตให้เข้าเมืองได้ครั้งละไม่เกิน ๓๐ วัน และ อนญุ าตใหเ้ ข้ามาทางานไดค้ รงั้ ละ ๓ เดอื น โดยแรงงานจะตอ้ งเดนิ ทางกลบั และเขา้ มาใหม่ทุก ๆ ๓๐ วนั ส่งผลให้เกิดความไม่สะดวกสาหรับผู้ประกอบการท่ีประสงค์จ้างแรงงานเป็นช่วงระยะเวลา เพราะผู้ใช้ แรงงานต้องเดินทาง เข้า – ออก ทุกๆ ๓๐ วัน และแรงงานต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตให้เข้ามาทางาน ตามมาตรา ๖๔ แห่งพระราชกาหนดการบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ จะอนุญาต ให้เฉพาะแรงงานท่ีมีภูมิลาเนาในพื้นท่ีจังหวัดท่ีติดกับชายแดนของเพื่อนบ้านเท่าน้ัน ส่วนแรงงานท่ีอยู่ นอกเขตพน้ื ท่ที ่ีไม่ตดิ ตอ่ ชายแดนของประเทศเพอื่ นบา้ น ไม่สามารถมาทาบัตรผ่านแดนเพื่อเขา้ มาทางาน ตามมาตรา ๖๔ ได้ เป็นไปตามบันทึกความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาล

๖๘ แห่งสหภาพพม่า ว่าด้วยการข้ามแดนระหว่างประเทศทั้งสอง แต่ในข้อเท็จจริงแรงงานที่เข้ามาทางาน ส่วนใหญ่ร้อยละ ๙๕ เป็นแรงงานท่ีอาศัยอยู่ในพื้นท่ีอ่ืนๆ ท่ีไม่ได้มีภูมิลาเนาติดพ้ืนที่ชายแดน จึงเกิด ปญั หาอุปสรรคทาให้แรงงานส่วนใหญ่ ไม่สามารถขอบัตรผ่านแดนเพ่ือเขา้ มาทางานตามมาตรา ๖๔ ได้ หากพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากมีการขยายการลงทุนมากขึ้น และต้องใช้แรงงานจานวนมาก จะส่งผลให้ขาดแคลนแรงงานอย่างมาก และแรงงานภาคเกษตรกรรม ยังเป็นปัญหาอุปสรรคในพ้ืนที่ ซึ่งการแก้ไขไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง เกษตรกรไม่สามารถนาแรงงานต่างด้าวที่ใช้อยู่ไปขึ้นทะเบียน ให้ถกู ต้องตามกฎหมายได้ ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหา ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้แรงงานต่างด้าวตามมาตรา ๖๔ แห่งพระราชกาหนดการบริหารจดั การการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ การใช้แรงงานแบบเป็น ช่วงระยะเวลา หรือตามฤดูกาล โดยแก้ไขบันทึกความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับ รัฐบาลแห่งสหภาพพม่า ว่าด้วยการข้ามแดนระหว่างประเทศทั้งสอง โดยอนุญาตให้แรงงานท่ีประสงค์ เข้ามาทางานตามมาตรา ๖๔ โดยเสนอให้ขยายขอบเขตภูมิลาเนาของแรงงานชาวเมียนมาในการออก บตั รผ่านแดนเพ่อื เข้ามาทางานแบบช่วงระยะเวลา หรือตามฤดูกาล โดยอนญุ าตใหแ้ รงงานของประเทศ เพื่อนบ้านที่ประสงค์เข้ามาทางานในพ้ืนท่ีชายแดนสามารถนาบัตรผ่านแดนหรือเอกสารอื่นๆ ใดเพื่อมา ย่ืนขออนญุ าตทางานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษได้ บัตรผ่านแดนกาหนดให้แรงงานอยู่ในประเทศไทยได้คร้ังละไม่เกิน ๓๐ วัน และสามารถ ขออนุญาตทางานได้ครั้งละไม่เกิน ๓ เดือน เสนอขอขยายการอนุญาตให้อยู่ในประเทศไทยเพื่อทางาน กบั ดา่ นตรวจคนเข้าเมอื งได้ครัง้ ละไมเ่ กิน ๙๐ วนั เช่นเดยี วกับระยะเวลาในการขออนญุ าตทางานครงั้ ละ ๓ เดอื น โดยใหเ้ ดินทางออก และกลับเข้ามาใหมเ่ ม่ือครบ ๙๐ วนั (ไม่ตอ้ งเดินทางเข้า - ออก ทุก ๓๐ วัน เพื่อความสะดวกและคล่องตัวในการทางาน) และควรแยกการบริหารจัดการแรงงานภาคเกษตรกรรม ออกจากภาคกิจการอื่น เพ่ือให้การบริหารจัดการแรงงานภาคเกษตรกรรมให้เป็นไปตามข้อเท็จจริง ของพน้ื ท่ี สง่ ผลใหแ้ รงงานภาคเกษตรกรรมเขา้ สู่ระบบไดเ้ กิดประโยชน์ต่อภาคเศรษฐกจิ และความมนั่ คง ๔. การค้าชายแดน การบริหารจัดการการค้าชายแดนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไม่มีแนวทางช่วยเหลือ สนบั สนนุ อย่างจริงจงั เน่ืองจากยงั ไม่มหี น่วยงานหลักในการให้การช่วยเหลอื การแก้ไขปัญหาการนาเข้า – ส่งออก อย่างจริงจัง ปญั หาการนาเขา้ – ส่งออก ยังไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งเป็นรปู ธรรม สทิ ธิประโยชน์ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษสาหรับผู้ประกอบการนาเข้า – ส่งออก ไม่ไดร้ ับ สทิ ธิประโยชน์ใดๆ ผู้ประกอบการตอ้ งประสบปัญหาเดิมๆ เช่น การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ท่ีลา่ ช้า ใช้เวลาในการขอคืนภาษีนานหลายเดือนทาใหผ้ ปู้ ระกอบการขาดสภาพคลอ่ ง ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหา ควรมีหน่วยงานหลักในการให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหา อุปสรรคการค้า ชายแดน การนาเข้า – ส่งออก บริเวณชายแดน เน่ืองจากจุดแข็งของอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก คือการค้าชายแดนที่มีศักยภาพสูง ควรให้สิทธิประโยชน์สาหรับผู้ประกอบการนาเข้า –

๖๙ ส่งออก ในพ้ืนที่ชายแดนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเป็นการเฉพาะ เช่น การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม ควรกาหนดระยะเวลาที่ชัดเจนและรวดเร็ว เพ่ือสร้างโอกาสและเสริมสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ นาเข้า – ส่งออก การบริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของการนาเข้า – ส่งออก ชายแดน อยา่ งเป็นรูปธรรมชดั เจน ๕. ขอให้มีการสรา้ งห้องปฏบิ ตั ิการ (Central Lab) การนาเข้า - ส่งออกสินค้าทางการเกษตร สินค้าปศุสัตว์ เม่ือต้องการตรวจสินค้าทาง ห้องปฏิบัติการ (Central Lab) เช่น โรคพืช โรคสัตว์ต่างๆ จะต้องส่งตัวอย่างสินคา้ ไปตรวจท่ีจังหวัดอื่น เช่น พิษณุโลก เชียงใหม่ ต้องใช้ระยะเวลานานในการตรวจสอบ เกิดความไม่สะดวกต่อผู้ประกอบการ นาเข้า – สง่ ออกเปน็ อยา่ งมาก ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหา ขอให้มีการจัดต้ังห้องปฏิบัติการ (Central Lab) เพื่อสุ่มตรวจ สินค้า เช่น ตรวจโรคต่างๆ (โรคพืช - สินค้าทางการเกษตร , โรคสัตว์ (สินค้าปศุสัตว์ และประมง) และสนิ ค้าอื่นๆ เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบรว่ มกนั ได้ ณ ดา่ นชายแดนระหวา่ งประเทศไทยและสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา ในลักษณะศูนย์ตรวจร่วมของทั้งสองประเทศ เพ่ืออานวยความสะดวกสาหรับ การนาเข้า สง่ ออก สินค้าเกษตร และปศุสัตวบ์ ริเวณชายแดน ๖. การจดั การด้านโลจิสตกิ ส์ การไม่อนุญาตให้รถบรรทุกสินค้าของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มารับสินค้าในพื้นท่ี ของประเทศไทย (ชายแดนฝั่งไทย) เนื่องจากยังไม่มีกฎหมายรองรับอนุญาตให้รถบรรทุกสินค้า ของประเทศเมียนมา เข้ามาขนสินค้าในพ้ืนท่ีฝ่ังไทย แต่สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาอนุญาต ให้รถขนสง่ สนิ คา้ ของไทยเข้าไปในเมียนมาได้ ข้อเสนอเพ่ือแก้ไขปัญหา ควรหาวิธีและช่องทางเพ่ืออนุญาตให้รถขนส่งสินค้าของ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ข้ามแดนมาขนสินค้าในฝ่ังไทย ในพื้นท่ีที่กาหนดและระยะทาง ท่ีเหมาะสม อาจเป็นข้อตกลงท้องถ่ินกันระหว่างจังหวัดเมียวดี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมากับ จงั หวัดตาก เพื่อสร้างโอกาสด้านขนส่งโลจิสติกส์ให้กับผู้ประกอบการขนส่งของประเทศไทย ส่งเสริมให้ เกิดคลังสนิ ค้าในพื้นทีฝ่ ง่ั ประเทศไทย ๗. การสง่ เสริมการท่องเทยี่ วในพ้ืนท่ีชายแดน การสง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วในพืน้ ทช่ี ายแดนยงั มีขอ้ จากดั ในหลายประการ เช่น ตามข้อตกลง การข้ามแดนอนุญาตให้คนของทั้งสองประเทศสามารถใช้หนังสือผ่านแดน เพื่อข้ามไป – มา ในพ้ืนท่ี ชายแดนของประเทศอีกฝ่ายหน่ึงได้ กรณีหนังสือผ่านแดนช่ัวคราว (Temporary Border Pass) เข้ามา อยู่ได้คร้ังละ ๗ วัน ส่วนหนังสือผ่านแดน (Border Pass) สามารถมาอยู่ได้ครั้งละ ๑๔ วัน แต่รถยนต์ ส่วนบุคคล ไม่สามารถเดินทางเข้ามาจอดค้างคืนได้ รถยนต์จะต้องเดินทางไป – กลับในวันเดียว นอกจากน้ีการเดินทางเข้า – ออก ของนักท่องเที่ยวท่ีใช้พาสปอร์ตเพื่อเดินทางท่องเท่ียวหรือทาธุรกิจ

๗๐ ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ยังต้องใช้วีซ่าในการเดินทางเข้า – ออก ทางด้าน พรมแดน (ทางบก) ทาใหเ้ กดิ ความไม่สะดวกสาหรับนกั ท่องเทีย่ วของทัง้ สองประเทศ ข้อเสนอเพ่ือแก้ไขปัญหา ผลักดันให้มีข้อตกลงเพ่ือเปิดให้มีการเดินรถยนต์ส่วนบุคคล สามารถค้างคืนในประเทศของอีกฝ่ายหนึ่งได้โดยให้มีระยะเวลาเช่นเดียวกับระยะเวลาการอนุญาต ใหเ้ ขา้ มาของบัตรผา่ นแดน เพอื่ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วระหวา่ งไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมา การอานวยความสะดวกการผา่ นแดนโดยการยกเลกิ การใช้วซี ่าในการเดินทางผา่ นทางด่าน พรมแดน (ทางบก) หรือการทา Visa On Arrival (VOA) ณ ด่านชายแดนประเทศไทย และสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมา หรอื การอนญุ าตให้ยืน่ ขอวซี า่ ผ่านระบบอิเล็กทรอนคิ ส์ (E-VISA) สาหรบั การเข้ามา ในราชอาณาจักรไทยของนักท่องเที่ยวชาวเมียนมา เช่นเดียวกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ที่ได้อนุญาตให้นักท่องเที่ยวชาวไทยสามารถย่ืนขอวีซ่าผ่านระบบอิเล็กทรอนิคส์ (E-VISA) เพื่อเดินทาง เข้าสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาได้แล้วในปัจจุบัน ๘. ขอขยายเวลาปิดดา่ นพรมแดนไทย – เมียนมา ปัจจุบันด่านพรมแดนไทย – เมียนมา บริเวณจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพไทย – เมียนมา อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีประชาชนและรถบรรทุกผ่านด่านพรมแดนเป็นจานวนมาก ทาให้เกิด การสะสมของรถบรรทุกเพ่ือรอผ่านด่านพรมแดน ซ่ึงการกาหนดเปิดปิดด่านพรมแดนเวลา ๐๕.๓๐ – ๒๐.๓๐ นาฬิกา (ตามเวลาประเทศไทย) ทาให้เป็นอุสรรคต่อการค้า การท่องเท่ียว และการเดินทาง ระหว่างประเทศ ข้อเสนอเพื่อแกไ้ ขปัญหา ขอขยายเปน็ ปิดด่านพรมแดนจาก เวลา ๒๐.๓๐ นาฬิกา เป็นปดิ เวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา (ตามเวลาประเทศไทย) ซึ่งจะเกิดประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ภาคเศรษฐกิจ และร้านค้า กับผู้ประกอบการของไทย เน่ืองจากทาให้ชาวเมียนมาสามารถมีเวลาในการจับจ่ายใช้สอยซื้อสินค้า หรือทอ่ งเที่ยวในฝ่งั ไทยมีระยะเวลามากข้นึ กว่าเดมิ ส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจมีการขยายตัวมากขึ้น ๙. ผงั เมอื งเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษตาก ผังเมืองเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากให้ยกเว้นใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง และกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยกระทรวงมหาดไทยได้กาหนดบริเวณห้ามกอ่ สร้าง ดดั แปลง หรือเปลีย่ นการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ จงึ ทาให้พื้นที่ท่ีประกาศ เป็นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษตากท้งั ๓ อาเภอ ๑๔ ตาบล ต้องปฏิบตั ิให้เป็นไปตามข้อห้ามการก่อสร้าง อาคารตามประกาศฉบับดังกล่าว ทาให้สถานประกอบการโรงงานต่างๆ ไมส่ ามารถกอ่ สรา้ งได้ บางพืน้ ที่ อนุญาตให้ก่อสร้างได้แค่พื้นท่ีใช้สอยรวมไม่เกิน ๕๐๐ ตารางเมตรเท่าน้ัน สาหรับโรงงานไม่สามารถ ดาเนินการได้ เพราะการอนุญาตก่อสรา้ งมีพนื้ ทนี่ ้อยเกินไป ทาใหก้ ารลงทนุ หยุดชะงักลง ผปู้ ระกอบการ ไม่สามารถก่อสร้างอาคารโรงงานหรือสถานประกอบการได้ เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการลงทุนในพ้ืนที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากท้ัง ๓ อาเภอ ๑๔ ตาบล

๗๑ ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหา จากประกาศกระทรวงมหาดไทย ทาให้เกิดอุปสรรคในการ กอ่ สรา้ งอาคารบางชนิด บางประเภท จงั หวดั วางแผนการแก้ไขปญั หาดังกล่าวด้วยการให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติเทศบัญญัติท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารในระหว่างการ ดาเนินการวางและจดั ทาผังเมอื งรวมเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษตากยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็ ปั จจุบั น ได้ ออ กข้ อบั ญ ญั ติ เท ศ บั ญ ญั ติท้ องถิ่ น ต าม กฎ ห มายว่าด้วยก ารค วบ คุม อ าค าร โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ๑๕ แห่ง (ประกอบด้วย เทศบาลนครแม่สอด องค์การบริหาร ส่วนตาบลแม่กาษา องค์การบริหารส่วนตาบลพระธาตุผาแดง องค์การบริหารส่วนตาบลท่าสายลวด เทศบาล ตาบลแม่ระมาด องค์การบริหารส่วนตาบลขะเนจ้ือ องค์การบริหารส่วนตาบลแม่ระมาด องค์การบริหาร ส่วนตาบลวาเล่ย์ องค์การบริหารส่วนตาบลพบพระ เทศบาลตาบลทุ่งหลวง เทศบาล ตาบลแม่กุ องค์การบริหารส่วนตาบลช่องแคบ เทศบาลตาบลพบพระ องค์การบริหารส่วนตาบลแม่ปะ และองค์การบริหารส่วนตาบลมหาวัน) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้แก้ไขแล้ว และอยู่ระหวา่ งการพิจารณาของสานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ๓ แห่ง (ประกอบด้วย เทศบาลตาบลท่าสายลวด เทศบาลตาบลแม่ตาว และองค์การ บริหารส่วนตาบลแม่กุ) และควรเร่งรัดผลักดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง ๓ แห่ง ให้สามารถออก ข้อบญั ญัตทิ ้องถิ่นใหแ้ ล้วเสร็จโดยเร็ว ๑๐. การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อจากแรงงานตา่ งด้าว แรงงานต่างด้าวตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการจัดการแรงงาน ระหว่างรัฐกับประเทศคู่ภาคี (Memorandum of Understanding : MOU) ไทย – เมียนมา เป็นกรณี แรงงานสัญชาติเมียนมา ได้รับอนุญาตให้ทางานได้ครั้งละ ๒ ปี เม่ือครบ ๒ ปีแล้ว สามารถต่ออายุทางาน ในประเทศไทยได้อกี ๒ ปี โดยแรงงานตา่ งดา้ วท่มี ลี กั ษณะเปน็ โรคติดต่อหา้ มเขา้ มาทางานในประเทศไทย ประกอบด้วย โรคเรื้อน วัณโรค เท้าช้าง ยาเสพติด พิษสุราเร้ือรัง และซิฟิลิส ซ่ึงที่ผ่านมามีการตรวจ พบแรงงานติดวัณโรคในสัดส่วนแรงงาน ๑๐๐,๐๐๐ พบผู้ป่วย ๒๐๐ คน ปัญหาการตรวจสุขภาพของ แรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา หรือแรงงานที่ผ่านระบบ MOU โดยไม่ผ่านการตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลของรัฐในพ้ืนท่ี ทาให้ผู้ป่วยวัณโรคไม่ได้เข้าสู่ระบบการรักษาอย่างแท้จริง ซึ่งเมื่อแรงงาน ต่างด้าวสัญชาติเมียนมาถือหนังสือเดินทางเข้ามาก็สามารถเดินทางออกนอกพ้ืนท่ีชายแดนเข้าไปยัง จังหวดั ชั้นในของประเทศไทยได้ทันที ทาใหเ้ กิดความเสีย่ งการแพรร่ ะบาดของวัณโรคระหว่างเดินทางได้ ข้อเสนอเพ่ือแก้ไขปัญหา ขอให้มีการตรวจโรคของแรงงานต่างด้าว ณ ต้นทางก่อน เดินทางเขา้ ประเทศไทย หรอื ใหต้ รวจทโ่ี รงพยาบาลแมส่ อด ๑๑. คา่ รกั ษาพยาบาลของโรงพยาบาลแม่สอด โรงพยาบาลแม่สอดมีต่างชาติเดินทางเข้ารับบริการสาธารณสุขปีละ ๙๐๐,๐๐๐ คน โดยตา่ งชาติท่ีเขา้ รับบริการสว่ นใหญจ่ ะไม่มีหลักประกนั สุขภาพใดๆ ทาให้โรงพยาบาลแม่สอดเกดิ ปญั หา หนีส้ ินจากการรกั ษาพยาบาลให้กบั คนตา่ งชาตปิ ลี ะ ๑๒๖ ล้านบาท

๗๒ ข้อเสนอเพ่ือแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดต้ังกองทุนสาหรับเป็นค่ารักษาพยาบาล แก่ต่างชาติ ท่ีเข้ามารับบริการสาธารณสุขในประเทศไทย ซ่ึงอาจดาเนินการโดยการจัดให้ทาประกัน สขุ ภาพภาคบงั คบั ๑๒. ขอให้ตรากฎหมายประกนั ภัยสินค้าทางการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ดอ้ อกหลักเกณฑ์วิธีปฏิบตั ปิ ลีกย่อยเกีย่ วกบั การให้ความ ชว่ ยเหลอื ด้านการเกษตรผปู้ ระสบภยั พบิ ัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ เพอื่ รองรบั หลักเกณฑ์การใช้จา่ ยเงิน ทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งกรณีการช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติด้านพืชจะให้ความช่วยเหลือได้ก็ต่อเมื่อพืชน้ันตายหรือเสียหายโดยส้ินเชิงเท่านั้น โดยคานิยาม ของคาว่า “พืชตายหรือเสียหายโดยสิ้นเชิง” หมายถึง เนื้อท่ีเพาะปลูกที่ไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ หรือได้ผลผลิตไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของผลผลิตท่ีเคยได้รับในปีปกติโดยเสียหายในบริเวณเดียวกัน ขนาดตง้ั แต่ ๒๕ ตารางวาขน้ึ ไป หรอื หลายบริเวณรวมกันตัง้ แต่ ๕๐ ตารางวาข้ึนไป ๑๓. การลงทุนจากกล่มุ จนี ในโกะ๊ โก่ สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมา สบื เนือ่ งจากการที่กลุ่มทุนจีน YATAI INTERNATIONAL HOLDING GROUP (หย่าไถ้) ได้สัมปทานและมาลงทุนโครงการเมกะโปรเจ็กต์สร้างเมืองใหม่และเขตนิคมอุตสาหกรรมเมืองโก๊ะโก่ ริมแม่น้าเมยชายแดนไทย – เมียนมา ตรงข้ามท่าข้ามพ่อเลี้ยงคา บ้านวังแก้ว – ห้วยกะโหลก หมู่ท่ี ๔ ตาบลแม่ปะ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก โดยเป็นโครงการเมกะโปรเจคต์ท่ีใหญ่ท่ีสุดเท่าท่ีกลุ่มทุนจีน ลงทุน ในภูมิภาคแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการทาสัญญาเช่าระยะยาวกับรัฐบาลเมียนมา ในเขตอิทธิพลของกองกาลังพิทักษ์ชายแดน BGF โดยจะมีการก่อสร้างหมู่บ้าน แหล่งสถานบันเทิงเต็ม รูปแบบ ห้างสรรพสินคา้ ขนาดใหญ่ โรงภาพยนตร์ ศูนยส์ ินค้าชายแดน โกดงั สินค้า ศนู ย์บริการเบด็ เสร็จ One stop service ฯลฯ โดยจะมีการนาคนจีนซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเพศชายอายุระหว่าง ๑๘ – ๓๕ ปี ประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ คน มาอาศัยอย่ใู นเมืองใหมท่ ่ีจะสรา้ งข้นึ ซ่งึ การสร้างเมืองใหม่ดงั กล่าวอาจจะสง่ ผล กระทบต่อประเทศไทย เช่น ปัญหา ความม่ันคง ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการท่องเที่ยว และปัญหา การคา้ ของอาเภอแมส่ อด ทงั้ น้ี ไดม้ กี ารยนื่ หนังสอื เสนอความเห็นต่อสมาชิกวุฒิสภา จานวน ๓ ฉบบั ดงั น้ี ๑. นายบรรเจิด ลาวัณย์รัตนากุล รองนายกเทศมนตรี ปฏิบัติราชการแทนนายกเทศมนตรี นครแม่สอด เร่ือง ขอรับการสนับสนุนและผลักดันการยกฐานะเทศบาลนครมาสอดเป็นท้องถิ่นรูปแบบ พเิ ศษนครแม่สอด เช่นเดยี วกบั เมอื งพัทยา ๒. นายบรรเจิด ลาวัณย์รัตนากุล รองนายกเทศมนตรี ปฏิบัติราชการแทนนายกเทศมนตรี นครแม่สอด เร่ือง ขอรับการสนับสนุนและผลักดันการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และโปรดพิจารณาเร่งรัดการประสานแผนงานโครงการเพ่ือรองรับการพัฒนาเช่ือมโยงพ้ืนที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก และเมอื งทม่ี ีลกั ษณะพเิ ศษนครแมส่ อดใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรมโดยเรว็ ๓. นางสาวโสภาพรรณ กาสมสนั ประธานสภาเกษตรกรจงั หวดั ตาก เรื่อง ขอ้ เสนอเพื่อการ ปรบั ปรุงการชว่ ยเหลอื เกษตรกรผู้ประสบภยั พบิ ัตดิ า้ นพืชและเงอ่ื นไขการประกันพืช

๗๓ ต่อมาเวลา ๑๖.๓๐ นาฬิกา คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่ จังหวัดภาคเหนือ (ตอนล่าง) ได้เดินทางลงพ้ืนท่ีเพื่อติดตามความคืบหน้าโครงการก่อสร้างสะพาน มิตรภาพไทย – เมียนมา แหง่ ที่ ๒ สรปุ ไดด้ งั น้ี คณะรัฐมนตรีรัฐบาลไทยมีมติเห็นชอบในหลักการให้ก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย – เมียนมา แห่งท่ี ๒ ท่ีอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก เมื่อวันท่ี ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ และดาเนินโครงการก่อสร้างเขต เศรษฐกิจ พิเศษ รวมทั้งศูนย์บริการนาเข้า – ส่งออก ศูนย์โลจิสติกส์ และคลังสินค้า สะพานมิตรภาพ ไทย – เมียนมา แหง่ ที่ ๒ เปน็ โครงการก่อสร้างสะพานขา้ มแม่นา้ เมย เปน็ เส้นทางเชื่อมโยงการคมนาคม ขนส่งทางบกในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก หรือ East – West Economic Corridor จะเพิ่มความสะดวก ในการขนส่งสินค้า การเดินทาง การท่องเที่ยว และช่วยเพ่ิมศักยภาพการค้า การลงทุน ระหวา่ งประเทศไทยและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา รวมทงั้ ประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ทั้งน้ี เมืองแม่สอด – เมียวดี เป็นเมืองชายแดนที่สาคัญของท้ังสองประเทศ มีปริมาณการค้ามากกว่า ร้อยละ ๓๕ ของการค้าชายแดน มูลค่าถึง ๒.๓ พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งรัฐบาลของทั้งสองประเทศ มีนโยบายพัฒนาและเช่ือมโยงเมืองชายแดน ได้จัดทาบันทึกความตกลงร่วมมือกันระหว่างรัฐบาล แห่งราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เกี่ยวกับการดาเนินงานก่อสร้างทางหลวง หมายเลข ๑๓๐ (ทางเล่ียงเมืองแม่สอด) และการกอ่ สร้างสะพานมิตรภาพไทย – เมียนมา ตลอดจนงาน กอ่ สร้างอาคารดา่ นพรมแดนของทั้งสองฝั่ง โครงการดังกล่าวประกอบด้วยตัวสะพานข้ามแม่น้าเมย ถนนเชื่อมต่อสะพานท้ัง ๒ ฝั่ง รวมท้ังอาคารด่าน หรือ Border Control Facilities เพ่ืออานวยความสะดวกให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีภารกิจรับผิดชอบการตรวจผ่านแดนเข้ามาใช้สถานที่ปฏิบัติงานให้บริการประชาชนร่วมกัน เช่น กรมศุลกากร สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กรมปศุสัตว์ ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของโครงการทางเล่ียงเมืองแม่สอด มีจุดเริ่มต้น โครงการบนทางหลวงหมายเลข ๑๒ ข้ามแม่น้าเมย/ตองยิน ท่ีบา้ นวังตะเคียน ตาบลท่าสายลวด อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก เข้าสู่บ้านเยปู หมู่ท่ี ๕ เมืองเมียวดี จังหวัดเมียวดี สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมา มีจุดสิ้นสุดบรรจบถนนหมายเลข ๘๕ สายเมียวดี – กอกะเร็ก เม่ือแล้วเสร็จจะเป็นส่วนหน่ึง ของทางหลวงเอเชียหมายเลข ๑ สาหรบั งบประมาณการก่อสรา้ งในพ้ืนทสี่ าธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมา รัฐบาลไทยให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินในรูปแบบให้เปลา่ หรอื Grant Aid ส่วนรปู แบบการกอ่ สร้างสะพานขา้ มแมน่ ้าเมย แห่งที่ ๒ ลักษณะเป็นสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง มีความยาวของสะพานท้ังหมด ๗๖๐ เมตร แบ่งเป็นฝั่งไทย ๕๑๕ เมตร และฝั่งเมียนมา ๒๔๕ เมตร ไม่มีเสาตอม่ออยู่กลางแม่น้า สะพานมีขนาด ๒ ช่องจราจรไป – กลับ แยกช่องจราจรด้วยเกาะคอนกรีตแบบต่า ช่องผิวจราจรกว้างช่องละ ๓.๕๐ เมตร ไหลท่ างกวา้ งขา้ งละ ๒.๕๐ เมตร และทางเดินเท้ากว้างข้างละ ๑.๕๐ เมตร _________________________________

๗๔ จงั หวดั กาแพงเพชร วันพฤหสั บดีท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจงั หวัดกาแพงเพชร วิธดี าเนนิ กจิ กรรม จดั ประชมุ ช้แี จงและหารือกบั ผูแ้ ทนหนว่ ยงานภาครัฐและผูแ้ ทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการใหส้ มาชิกวุฒิสภาลงพนื้ ท่ีอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยสมาชิกวุฒสิ ภาได้รับข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ๑. ผลกระทบจากการก่อสรา้ งอา่ งเก็บน้าคลองน้าไหล กรมชลประทานได้ดาเนนิ การก่อสร้างอ่างเกบ็ น้าคลองน้าไหล โดยการกอ่ สร้างได้มีการย้าย ราษฎรออกจากพ้ืนที่ จานวน ๑๐๐ ครอบครวั โดยจะมีการจดั สรรทดี่ ินทากินใหก้ บั ราษฎรดงั กลา่ ว ท้ังน้ี ปจั จบุ ันราษฎรยังไม่ได้รับการจดั สรรท่ีดินทากนิ แตอ่ ย่างใด ๒. การให้บรกิ ารของโรงพยาบาลกาแพงเพชร โรงพยาบาลกาแพงเพชรมีเตียงผู้ป่วยจานวน ๔๑๐ เตยี ง รับผิดชอบดูแลประชากรในพื้นที่ อาเภอเมืองและโรงพยาบาลชุมชน ๑๑ แห่ง ปัจจุบันโรงพยาบาลกาแพงเพชรมผี ู้ป่วยจานวนมาก ทาให้เตียง ไม่เพียงพอกับจานวนผู้ป่วย นอกจากนี้โรงพยาบาลกาแพงเพชรยังประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากร ทางการแพทย์ ๓. ทด่ี ินทากินของราษฎรทบั ซอ้ นกบั แนวเขตท่ีดนิ ของรัฐ จังหวัดกาแพงเพชรมีพ้ืนที่ ๘,๖๐๗.๕ ตารางกิโลเมตร (๕,๓๗๙,๖๘๗.๕ ไร่) โดยเป็นพ้ืนท่ี ป่าไม้ ๒,๑๘๔.๗ ตารางกิโลเมตร (๑,๓๖๕,๔๓๗.๕ ไร่) ซึ่งจังหวัดกาแพงเพชรเป็นที่ต้ังของอุทยาน แห่งชาติ ๓ แห่ง ป่าสงวนแห่งชาติ ๙ แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา ๑ แห่ง ซึ่งที่ดินของรัฐมีแนวเขต ทีไ่ มช่ ดั เจน ทาใหเ้ กดิ ปัญหาท่ีดินทากินของราษฎรทบั ซอ้ นกบั แนวเขตทีด่ นิ ของรัฐ

๗๕ ๔. การขาดแคลนแหล่งนา้ ด้วยพ้ืนที่ด้านตะวันตกของจังหวัดกาแพงเพชรมีลักษณะสภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูงลาดลงต่า และไม่มีแหล่งกักเก็บน้า ทาให้ประสบปัญหาภัยแล้วเป็นประจาทุกปี จึงควรมีการพัฒนาระบบ ชลประทานในพนื้ ทเี่ พ่ือแกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ ๕. การบงั คบั ใชพ้ ระราชบัญญตั ิเทศบาล ๒๔๙๖ ตามที่กระทรวงมหาดไทยไดม้ ีประกาศยกฐานะท้องถน่ิ เป็นเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ทา ให้ ทอ้ งถน่ิ ท่ีไดร้ บั การยกฐานะเป็นเทศบาลเมอื ง และเทศบาลนครแล้ว ไม่สามารถดาเนนิ การเลอื กกานนั ผู้ใหญ่บ้านได้ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ มาตรา ๑๒ มาตรา ๔๘ เตวีสติ แต่พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช ๒๔๕๗ มาตรา ๓ วรรคสอง กาหนดให้ “การยกเลิก ตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานันและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทาไม่ได้” ทาให้เกิดปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย ดังนั้น ขอให้แก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ เพ่ือให้มีการเลือกตั้งกานัน และผใู้ หญ่บ้านในท้องถนิ่ ทไ่ี ด้รับการยกฐานะเป็นเทศบาล ๖. การเสนอของบประมาณของสว่ นราชการในพ้ืนที่อาเภอคลองลาน อาเภอคลองลานมีพ้ืนท่ี ๑,๑๔๐.๒ ตารางกิโลเมตร โดยพื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ ทาให้การเสนอของบประมาณเพื่อดาเนินโครงการต่างๆ ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ เนื่องจากติดปัญหาการขออนญุ าตการใช้พืน้ ท่ี ๗. ความล่าช้าในการก่อสร้างถนนทางหลวงหมายเลข ๑๑๑๗ เช่ือมต่อระหว่างอาเภอ คลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร – อาเภออุ้มผาง จงั หวดั ตาก ถนนทางหลวงหมายเลข ๑๑๑๗ เชื่อมต่อระหว่างอาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร – อาเภออมุ้ ผาง จงั หวัดตาก ระยะทาง ๑๔๘ กิโลเมตร โดยดาเนนิ การกอ่ สรา้ งระหว่างปี ๒๕๑๘ – ๒๕๒๗ ระยะทาง ๑๑๕ กิโลเมตร และยังไม่ได้มีการก่อสร้างอีก ๓๓ กิโลเมตร ซึ่งส่วนใหญ่ผ่านพื้นที่ป่า และบางส่วนเป็นหมู่บ้านและที่ทากินของราษฎร จึงขอให้มีการเร่งรัดก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๑๑๗ เพ่อื อานวยความสะดวกการเดนิ ทางของประชาชนในพืน้ ท่ี _________________________________

๗๖ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ วันศุกรท์ ี่ ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวดั เพชรบรู ณ์ วิธีดาเนนิ กิจกรรม จดั ประชุมชแ้ี จงและหารอื กบั ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผู้แทนภาคเอกชน ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และต้องการใหส้ มาชิกวุฒสิ ภาลงพ้ืนท่ีอยา่ งต่อเน่อื ง โดยสมาชกิ วฒุ สิ ภาไดร้ ับข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ๑. โครงการขยายทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ ให้มีขนาด ๔ ช่องจราจร ระหวา่ ง อ.หล่มสัก – อ.คอนสาร กม. ๓๖๖+๐๘๙ ถงึ กม. ๔๔๘+๑๙๐ ระยะทาง ๘๒.๑๐๑ กโิ ลเมตร ทางหลวงหมายเลข ๑๒ สายแมส่ อด (เขตแดน) – มุกดาหาร เป็นทางหลวงแผ่นดนิ ท่ีเช่ือม ระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สายทางเรม่ิ ต้นท่ีสะพานมิตรภาพไทย – พม่า อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก และส้ินสุดที่อาเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มีระยะทาง ตลอดทั้งสายรวม ๗๗๗ กิโลเมตร และเป็นเส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกตะวันตก (EWEC : East West Economic Corridor) เชอ่ื มโยงจากประเทศเวียดนาม ลาว ไทย และประเทศพม่า ปัจจุบัน ได้ขยายเป็น ๔ ช่องจราจรแล้ว จานวน ๖๙๐ กิโลเมตร โดยช่วงระหว่างอาเภอหล่มสัก – อาเภอคอนสาร กม. ๓๖๖+๐๘๙ ถึง กม. ๔๔๘+๑๙๐ ระยะทาง ๘๒.๑๐๑ กิโลเมตร ยังคงเป็นถนนท่ีมีขนาด ๒ ช่อง

๗๗ จราจร โดยปัญหาสาคัญที่ทาให้ไม่สามารถดาเนินการก่อสร้างให้มีขนาด ๔ ช่องจราจรได้ เน่ืองจาก ตดิ ปญั หาเร่อื งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ซึ่งเส้นทางผา่ นเขตอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าหนาว สานักงานทางหลวงที่ ๖ (เพชรบูรณ์) ได้ร่วมกับแขวงทางหลวงเพชรบูรณ์ที่ ๑ และหมวด ทางหลวงในพ้ืนที่ได้ลงพ้ืนที่เพ่ือทาการเก็บข้อมูล เม่ือวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๐ โดยได้ประชุมร่วม นักวิชาการของ มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ในการหาแนวทาง และตอบ ประเด็นการคัดคา้ นของกลุ่มอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อม ๔ ประเด็น และไดล้ งสารวจพน้ื ทเ่ี มอ่ื วันท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๖๐ และได้นาข้อมูลชี้แจงต่อรองนายกรัฐมนตรี (พลเอกธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร) ในการเดินทาง มาตรวจราชการในพ้ืนท่ีจังหวัดเพชรบูรณ์ เม่ือวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม มาตรวจราชการที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ และได้จัดทา รายละเอยี ด เสนออธบิ ดกี รมทางหลวงเมื่อวนั ที่ ๑๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๐ เม่ือวันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ การประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี คร้ังที่ ๗/๒๕๖๑ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ขยายเป็น ๔ ช่องจราจร ช่วง กม. ๓๖๖+๐๘๙ – กม. ๓๗๑+๑๖๕ ระยะทาง ๕.๐๗๖ กิโลเมตร (พื้นท่ีจังหวัดเพชรบูรณ์) ต่อจาก ๔ ช่องจราจรเดิม และช่วง กม. ๔๔๗+ ๖๓๕ – กม.๔๔๘+๑๙๐ ระยะทาง ๐.๕๕๕ กม. (พืน้ ท่ีจงั หวดั ขอนแกน่ ) ส่วนชว่ งท่ีติดปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม ให้พิจารณารูปแบบการก่อสร้างท่ีเหมาะสมว่าควรขยายเป็น ๔ ช่องจราจรหรือปรับปรุงเป็นมาตรฐาน ทางชน้ั ๑ ๒. การทาแปลงเกษตรมาตรฐาน GAP ของประเทศไทย เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการทาเกษตรปลอดภัย GAP (Good Agriculture Prac-tices) จะต้องทาการเกษตรบนท่ีดินที่มีเอกสารถูกต้องตามกฎหมายเพื่อประกอบการขอใบรับรองมาตรฐาน ระบบการผลิต GAP แต่เน่ืองจากพื้นทท่ี าการของเกษตรกรของจังหวดั เพชรบรู ณ์เปน็ ดนิ ทไี่ ม่มีโฉนดทีด่ นิ ถงึ ๘๐ เปอร์เซน็ ต์ ทาให้เกษตรกรท่ีทาการเกษตรในท่ีดินที่มีใบ ภบท.๕ ไม่สามารถขอใบรับรองมาตรฐาน ระบบการผลิต GAP ได้ ด้วยเหตุน้ีจึงขอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ปรับเปล่ียนหลักเกณฑ์การขอ ใบรับรองมาตรฐานระบบการผลิต GAP เพื่อให้เกษตรที่ทาการเกษตรบนที่ดิน ภบท.๕ สามารถขอ ใบรบั รองมาตรฐานระบบการผลิต GAP ๓. พัฒนาสนามบิน และเมืองใหมร่ อบสนามบนิ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ตั้งอยู่ที่อาเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ท่ีตาบลลานบ่า อาเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ห่างจากตัวอาเภอหล่มสักประมาณ ๑๖ กิโลเมตร และห่างจาก ตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ประมาณ ๓๑ กิโลเมตร มีเน้ือที่ท้ังหมดประมาณ ๔,๑๐๐ ไร่ เป็นสนามบินที่มี พ้ืนที่ใหญ่เป็นลาดับที่สองของประเทศไทย (รองจากสนามบินสุวรรณภูมิ) ทาพิธีเปิดเม่ือ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓ แตป่ จั จบุ ันสนามบินเพชรบรู ณ์ไม่มีการเปดิ ใหบ้ ริการแตอ่ ยา่ งใด จึงควรใหภ้ าคเอกชนเขา้ มา บริหารพื้นที่สนามบินเพชรบูรณ์และรอบสนามบินเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว และส่งเสริมการพัฒนา เพชรบรู ณเ์ ป็นศนู ยห์ รือทางเชือ่ มตอ่ ระดบั นานาชาตกิ ับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

๗๘ ๔. โครงการรถไฟทางคขู่ อใหผ้ ่านพื้นทจี่ งั หวัดเพชรบรู ณ์ โครงการรถไฟรางคู่สายใหม่ช่วงนครสวรรค์ – บ้านไผ่ ระยะทางประมาณ ๒๙๑ กิโลเมตร ซ่ึงเป็นส่วนเชื่อมต่อของแผนการพัฒนาเส้นทางรถไฟเชื่อมตะวันตก – ตะวันออก จากแม่สอดถึง นครพนม โดยเส้นทางแม่สอด – นครสวรรค์ไดม้ ีการศึกษาความเหมาะสมแล้วเสร็จเม่ือเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ และเส้นทางบา้ นไผ่ – นครพนม ไดอ้ อกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ ดังน้ัน จงึ เหลอื เพียงเส้นทาง จากนครสวรรค์ถึงบ้านไผ่ที่ต้องมีการศึกษาโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดที่มีนักท่องเท่ียวเดินทางมาท่องเท่ียวจานวนมาก และสามารถเดินต่อไปยังจังหวัดใกล้เคียง ได้อย่างสะดวก ดังน้ัน โครงการรถไฟทางคู่เพ่ือเชื่อมตะวันตก – ตะวันออก ขอให้ก่อสร้างเส้นทาง ผา่ นพื้นท่จี ังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อชว่ ยสง่ เสริมการท่องเทย่ี วและเศรษฐกิจของจังหวดั เพชรบรู ณ์ _________________________________

๗๙ คร้ังท่ี ๔ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) วันที่ ๒ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ จังหวัดอตุ รดิตถ์ จงั หวดั อุตรดติ ถ์ วนั ศุกรท์ ี่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๒.๐๐ นาฬิกา ณ ห้องประชุมที่วา่ การอาเภอเมืองอตุ รดติ ถ์ และ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๐๐ นาฬกิ า ณ ศาลาการเปรยี ญวัดโพธทิ์ อง ตาบลไผ่ล้อม อาเภอลบั แล วิธีดาเนินกจิ กรรม จดั ประชุมชี้แจงและหารือกบั ผูแ้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผู้แทนประชาชน กิจกรรม ณ ห้องประชุมทว่ี า่ การอาเภอเมืองอตุ รดติ ถ์ ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และต้องการใหส้ มาชิกวุฒสิ ภาลงพื้นทอ่ี ย่างตอ่ เน่อื ง โดยสมาชกิ วฒุ สิ ภาไดร้ ับขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้ ๑. การเพิ่มเงินตอบแทนกานัน และผใู้ หญ่บ้าน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนตาแหน่ง และอื่น ๆ ให้แก่ กานันผใู้ หญบ่ ้าน แพทยป์ ระจาตาบล สารวัตรกานนั ผู้ชว่ ยผใู้ หญ่บา้ นฝ่ายปกครอง และผู้ช่วยผูใ้ หญ่บา้ น ฝ่ายรักษาความสงบ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กาหนดอัตราการจ่าย เงินตอบแทนของกานันเดือนละ ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๐๐๐ บาท และของผู้ใหญ่ได้รับเงินตอบแทนเดือนละ ๘,๐๐๐ – ๑๓,๐๐๐ บาท โดยการ ประเมินเพื่อปรับเลื่อนระดับเงินตอบแทนของกานัน และผู้ใหญ่บ้านจะดาเนินการประเมินปีละ ๑ ครั้ง และในแต่ละครั้งจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มข้ึนคร้ังละ ๒๐๐ บาท แต่เนื่องจากกานัน และผู้ใหญ่บ้าน

๘๐ มีภาระหน้าที่เป็นจานวนมาก ประกอบกับค่าครองชีพท่ีเพิ่มสูงข้ึน ทาให้เงินค่าตอบแทนท่ีได้รับไม่เพียงพอ ตอ่ คา่ ใชจ้ ่าย จึงขอใหก้ ระทรวงมหาดไทยพิจาณาเพมิ่ คา่ ตอบแทนให้กบั กานนั และผ้ใู หญบ่ ้าน ๒. การรับรองแบบกอ่ สรา้ งขององคก์ ารปกครองสว่ นท้องถนิ่ การจัดทาโครงการตามภารกิจเร่งด่วนที่ถือเป็นงานก่อสร้าง จาเป็นต้องมีแบบรูปรายงาน การก่อสร้างท่ีผ่านการรบั รองจากผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. ๒๕๔๓ แต่เน่ืองจาก องค์การปกครองสว่ นท้องถิ่น (อปท.) ไม่มีบุคลากรที่ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าว ท่ีผ่านมา องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) แก้ไขปัญหาโดยการขอความอนุเคราะห์ให้บุคลากรของเทศบาล ในพ้ืนท่ีเซ็นต์รับรองแบบรูปรายงานการก่อสร้าง ทาให้เกิดความล่าช้าในการทางานไม่สามารถเสนอ โครงการได้ทันภายในระยะที่กาหนด และไม่สามารถตอบสนองนโยบายรัฐบาลได้ ดังน้ัน จึงขอให้เพ่ิม ตาแหน่งนายช่างโยธาใหก้ ับองค์การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (อปท.) โดยให้มีตาแหน่งประจา ณ ทว่ี ่าการอาเภอ ๓. ท่ีดินทากินของราษฎรทับซอ้ นกบั ทด่ี ินของรฐั สืบเน่ืองจากที่ดินทากินของประชาชนในพื้นท่ีอาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีแนวเขต ทับซ้อนกบั ท่ดี นิ ของรัฐทาให้ไมส่ ามารถออกโฉนดที่ดนิ ได้ ๔. ขอให้ขยายถนนทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ ให้มีขนาด ๔ ชอ่ งจราจร ถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๑๗ สายนครสวรรค์ – จุดผ่านแดนภูดู่ (รวมทางหลวง แผ่นดินหมายเลข ๑๓๒๕, ๑๑๐๔ และ ๑๐๔๗ สายคลองเมม – ม่วงเจ็ดต้น) เป็นทางหลวงแผ่นดิน สายหลักทเ่ี ชือ่ มการขนส่งจราจรระหวา่ งจังหวดั นครสวรรค์ จงั หวัดพิจติ ร และจงั หวัดพษิ ณโุ ลก และเปน็ ทางหลวงสายรองในช่วงจังหวัดพิษณุโลกถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมระยะทางตลอดท้ังสาย ๓๙๖.๗๘๔ กิโลเมตร โดยในช่วงอาเภอเมืองอุตรดิตถ์ถึงอาเภอบ้านโคก ถนนยังมีขนาด ๒ ช่องจราจร ซ่ึงถนน ในพื้นท่ีจังหวัดอุตรดิตถ์มีประชาชนใช้เดินทางสัญจรเป็นจานวนมาก ดังนั้น ขอให้มีการขยายถนน ทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ ให้มีขนาด ๔ ช่องจราจร ๕. ขอใหม้ ีการแกไ้ ขพระราชบญั ญตั ิการปฏิรูปทีด่ นิ เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ด้วยมาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ กาหนดให้เม่ือได้มพี ระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปที่ดินใช้บงั คับในท้องที่ใดแล้ว ถ้าในเขตปฏิรปู ทีด่ ิน นั้นมีที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน แต่พลเมืองเลิกใช้ประโยชน์ใน ท่ีดินน้ัน ให้พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปท่ีดินน้ันมีผลเป็นการถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติ ของแผ่นดินสาหรับที่ดินดังกล่าวโดยมิต้องดาเนินการถอนสภาพตามประมวลกฎหมายที่ดิน ซ่ึงมี ผลให้เป็นการยกเลิกที่สาธารณประโยชน์ ทั้งน้ี การถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน โดยผลของกฎหมายดังกล่าวทาให้มีการบุกรุกที่ดินของรัฐเพิ่มมากขึ้น และการตรวจสอบแนวเขต เป็นไปด้วยความยากลาบาก

๘๑ ๖. การก่อสร้างถนนโครงการตามผงั เมอื งรวมอตุ รดิตถ์ สาย ๒ง ตอนถนนทา่ อิฐล่าง – ถนน พาดวารี (วิทยาลยั เทคนคิ อุตรดิตถ์) โครงการตามผังเมืองรวมอุตรดิตถ์ สาย ๒ง ตอนถนนท่าอิฐล่าง – ถนนพาดวารี (วทิ ยาลัยเทคนิค อตุ รดติ ถ)์ ซึง่ มแี นวเส้นทางตดั ผา่ นวิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์เพ่ือเช่อื มกับถนนทางหลวง แผ่นดินหมายเลข ๑๑๙ ทาให้สนามฟุตบอลของวิทยาลัยมีพื้นท่ีไม่เพียงพอ และพื้นที่ถูกแยกออกเป็น ๒ ส่วน ซ่ึงอาจเกิดความ ไม่ปลอดภัยต่อบุคคลของวิทยาลัย ทาให้ทางวิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์ ยงั ไม่อนุญาตใหใ้ ช้พ้ืนท่ใี นการก่อสร้าง สมาชกิ วุฒสิ ภาใหข้ อ้ เสนอแนะ ดังน้ี ๑. การรับรองแบบการก่อสร้าง ขอให้กานันและผู้ใหญ่บ้านบูรณาการในการทางานร่วมกับ ผู้บริหารของเทศบาลในพ้ืนท่ี เพื่อให้การรับรองแบบการก่อสร้างเป็นไปอย่างรวดเร็วและสามารถเสนอ โครงการได้ทนั ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด ๒. ท่ผี ่านมาหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องได้มกี ารหารอื กับผู้อานวยวิทยาลยั เทคนิคอุตรดติ ถ์ เพื่อขอใช้ พ้นื ทข่ี องวิทยาลัยเทคนคิ อุตรดิตถใ์ นการกอ่ สรา้ งสะพาน แต่ยงั ไมไ่ ด้รบั อนญุ าตใหใ้ ชพ้ ้นื ที่ ขณะน้ไี ดม้ กี าร เปล่ียนผู้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ อตุ รดติ ถ์ ดังนน้ั สว่ นราชการรับผิดชอบควรนาปัญหา ดังกล่าวหารือกบั ผู้อานวยการวิทยาลยั เทคนิคอุตรดิตถ์อกี ครั้ง กิจกรรม ณ ศาลาการเปรยี ญวัดโพธทิ์ อง ตาบลไผล่ อ้ ม อาเภอลบั แล ผลการดาเนินการ ผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนภาคเอกชนมีความพึงพอใจต่อการพบปะ และตอ้ งการใหส้ มาชิกวุฒสิ ภาลงพื้นที่อยา่ งต่อเนื่อง โดยสมาชกิ วุฒิสภาไดร้ ับขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

๘๒ ๑. ขอให้ปรับปรงุ สถานีสูบนา้ ด้วยไฟฟา้ บ้านเกาะ สถานสี ูบนา้ ดว้ ยไฟฟ้าบ้านเกาะ เป็นสถานสี บู นา้ เพ่ือชว่ ยเหลือเกษตรกรเพื่อสง่ นา้ ช่วยเหลอื เกษตรกรในพ้ืนที่ ๖ ตาบล แต่เน่ืองจากระดับน้าในแม่น้าน่านมีระดับน้า ทาให้ไม่สามารถสูบน้า เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรได้ โดยแนวทางแก้ไขปัญหาที่ผ่านมาจะติดต้ังเคร่ืองสูบน้าในพื้นท่ีบริเวณ ริมแม่น้าน่าน เพ่ือสูบน้าส่งต่อมายังสถานีสูบน้าบ้านเกาะ จึงขอให้แก้ไขปรับลดระดับของเครื่องสูบน้า สถานบี ้านเกาะให้ต่าลง ๒. ความล่าชา้ การดาเนินโครงการก่อสร้างเข่ือนทดน้าผาจุก ความเป็นมาโครงการ คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ดาเนินการโครงการเมื่อวันท่ี ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ระยะเวลาการดาเนินการ ๙ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยมีวัตถุประสงค์ของ โครงการ ดังน้ี ๑. เพื่อให้การบริหารจัดการน้าในลุ่มน้าน่านตอนล่างเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ครอบคลุม พนื้ ทใ่ี นเขตจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ จานวน ๔ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมือง อาเภอลับแล อาเภอตรอน และอาเภอ พิชัย เขตจังหวัดสุโขทัย จานวน ๒ อาเภอ ได้แก่ อาเภอศรีสัชนาลัย และอาเภอศรีนคร และเขตจังหวัด พิษณุโลก จานวน ๒ อาเภอ ได้แก่ อาเภอพรหมพิราม และอาเภอวัดโบสถ์ ๒. เพื่อพัฒนาระบบ ชลประทาน ประมาณ ๔๘๑,๔๐๐ไร่ พัฒนาพ้ืนที่เกษตรน้าฝนท่ีมีศักยภาพให้เป็นพ้ืนท่ีชลประทาน ประมาณ ๓๐๔,๐๐๐ ไร่ และส่งน้าสนบั สนนุ และปรับเปล่ยี นระบบสง่ นา้ จากเดมิ โดยการสบู นา้ ด้วยไฟฟา้ เป็นระบบส่งน้าด้วยแรงโน้มถ่วง ประมาณ ๑๓๔,๘๐๐ ไร่ และพื้นท่ีโครงการชลประทานน้าริด จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ประมาณ ๔๒,๖๐๐ ไร่ งบประมาณดาเนินโครงการท้ังสิ้นประมาณ ๑๐,๕๐๐ ล้านบาท (รวมคา่ เวนคืนที่ดิน) ความคืบหน้าการดาเนินโครงการก่อสรา้ งเขอื่ นทดน้าผาจกุ (๑) การก่อสร้างประตูระบายน้า และสถานีสูบน้าผาจุก ได้ดาเนินการก่อสร้างเสร็จแล้ว และได้ส่งมอบพน้ื ทใ่ี หโ้ ครงการสง่ น้าและบารุงรกั ษาผาจกุ เปน็ ที่เรยี บร้อยแล้ว (๒) การก่อสร้างคลองส่งน้าสายใหญ่ฝ่ังขวา ระยะทาง ๑๐๔ กิโลเมตร สัญญาท่ี ๑ ระยะทาง ๖๐ กโิ ลเมตร ได้ดาเนนิ การขดุ ลอกเสรจ็ แล้ว (๓) ระบบชลประทานฝั่งซ้าย ระยะทาง ๗๐ กิโลเมตร โดยสัญญาท่ี ๑ ระยะทาง ๕๐ กิโลเมตร กาหนดแล้วเสร็จเดือนเมษายน ๒๕๖๓ ส่วนระยะทางการก่อสร้างที่เหลือจะสามารถประกวดราคา ก่อสร้างได้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (๔) โครงการขดุ ลอกบงึ มาย ไดด้ าเนนิ การขดุ ลอกเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ (๕) โครงการขดุ ลอกบงึ กะโล่ จะดาเนนิ การขดุ ลอกแลว้ เสร็จในเดือนธนั วาคม ๒๕๖๒ ๓. ขอใหพ้ ัฒนาบงึ มายเปน็ แหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ บึงมายต้ังอยู่ในพื้นที่ตาบลด่านแม่คามัน ตาบลทุ่งย้ัง และตาบลไผ่ล้อม อาเภอลับแล จงั หวัดอุตรดิตถ์ มีเนื้อที่ ๖,๘๐๒ ไร่ แต่ยงั ไมม่ ีการสนบั สนุนใหเ้ ป็นแหลง่ ท่องเที่ยวทางธรรมอย่างจรงิ จัง ดงั นนั้ จึงขอให้มกี ารพัฒนาบึงมายใหเ้ ปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ

๘๓ ๔. การบรหิ ารงานบคุ คลากรทางการศกึ ษา ครูโรงเรียนระดับประถมการศึกษาในอาเภอลับแลมีอัตราการเกษียณอายุราชการเป็นจานวน มาก ซงึ่ เมือ่ มีครูเกษยี ณอายุราชการแล้วจะไมม่ กี ารบรรจุครคู นใหม่มาแทน เนอ่ื งจากมีเดก็ นกั เรียนลดลง อย่างต่อเนอ่ื ง ส่งผลให้ครูมีไม่ครบช้ันเรยี น นอกจากนี้ปัจจุบนั ครูอัตราจา้ งยังไม่ได้รับการต่อสัญญาฉบับ ใหม่แต่อยา่ งใด ขณะยงั ไมม่ ีความชัดเจนวา่ เดอื นตุลาคม ๒๕๖๒ จะได้รับการจ่ายเงนิ เดอื นหรือไม่ สมาชกิ วุฒิสภาใหข้ ้อเสนอแนะ ดังน้ี ๑. ปัญหาความล่าช้าโครงการก่อสร้างเขื่อนทดน้าผาจุก ทางคณะกรรมการโครงการสมาชิก วุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่จงั หวดั ภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) จะเดนิ ทางลงพื้นที่เพอ่ื รบั ขอ้ มูลความคืบหน้า การดาเนนิ โครงการอีกคร้งั ๒. ปญั หาการบริหารงานบุคคลากรทางการศึกษาเกดิ ขึน้ ในหลายพืน้ ท่ีทางวฒุ สิ ภาจะนาปัญหา ดงั กลา่ วเสนอใหก้ ับคณะกรรมาธิการการศกึ ษา วฒุ ิสภา เพือ่ พิจารณาศึกษาตอ่ ไป _________________________________

๘๔ คร้งั ท่ี ๕ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนท่ี จงั หวัดภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) วันท่ี ๓๑ ตุลาคม – ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั กาแพงเพชร จงั หวัดกาแพงเพชร วนั พฤหสั บดีท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ – วันศกุ ร์ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ เดินทางถึง หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ณ ท่ีว่าการอาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร เพ่ือประชุมพบปะร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ของอาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด กาแพงเพชร รวมจานวนท้ังส้ิน ๕๐๐ คน โดยพิธีกรของอาเภอได้เรียนเชิญคณะกรรมการโครงการสมาชิก วฒุ สิ ภาพบประชาชนภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) ท้ังหมด ๖ คน พบปะเพอื่ ดาเนินการประชมุ ประกอบดว้ ย ๑. พลอากาศเอก อดศิ กั ดิ์ กล่นั เสนาะ รองประธานกรรมการ คนท่หี น่งึ ๒. พลเอก สาเรงิ ศิวาดารงค์ กรรมการ ๓. พลเอกโปฎก บนุ นาค กรรมการ ๔. วา่ ทรี่ อ้ ยตรี วงศส์ ยาม เพง็ พานิชภักดี กรรมการ ๕. นายเฉลียว เกาะแก้ว กรรมการ ๖. นายกติ ติศกั ดิ์ รตั นวราหะ กรรมการ พร้อมด้วย นายเทวัญ หุตะเสวี รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาแพงเพชร และนายประสิทธิ์ อินทโชติ นายอาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร ร่วมรับฟังปัญหา การแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากหัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในครั้งน้ีดว้ ย โดย พลอากาศเอก อดิศักดิ์ กล่ันเสนาะ สมาชิกวุฒิสภา ในฐานะรองประธานกรรมการ คนท่ีหนึ่ง ไดก้ ล่าวทกั ทายที่ประชุมพร้อม กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ บทบาท หน้าที่และอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ สรุปได้ ดังนี้ ในการลงพ้ืนในฐานะสมาชิกวุฒิสภา ซ่ึงตามหมวด ๖ ของรัฐธรรมนูญ สมาชิกวุฒิสภา คือ ผู้แทนปวงชนชาวไทย ซึ่งลงมารับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สร้างสัมพันธ์ท่ีดีร่วมกัน ในการบริหารบ้านเมือง สาหรับบทบาทหน้าที่ของวุฒิสภา ได้แก่ ๑) กล่ันกรองกฎหมาย ๒) การให้ ความเห็นชอบในเร่ืองสาคัญ ๓) การติดตาม ศึกษา เร่งรัดการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและ แผนการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ซ่ึงเร่ืองน้ีเป็นเร่ืองที่สาคัญโดยเฉพาะการติดตาม การบริหารราชการแผ่นดินของราชการ รวมถึงเร่ืองการปฏิรูปประเทศเป็นภารกิจและบทบาท ซึ่งเริ่มดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ การลงพื้นที่น้ันทางวุฒิสภาอยากทราบว่ายุทธศาสตร์ที่สาคัญ ของจังหวัดกาแพงเพชรมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติอย่างไรบ้าง มีปัญหาหรืออุปสรรค ในการดาเนินงานหรือไม่ และได้มีการสร้างความเข้าใจถึงยุทธศาสตร์ของจังหวัดกับประชาชนหรือไม่ เพอ่ื จะได้นาข้อมูลไปสรปุ รวบรวมและแจง้ ตอ่ รฐั บาลตอ่ ไป

๘๕ วิธดี าเนนิ กจิ กรรม จดั ประชมุ ชี้แจงและหารือกบั ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั และผแู้ ทนประชาชน รวมทง้ั ลงพน้ื ท่ีพบปะหัวหนา้ ส่วนราชการ กานนั ผู้ใหญบ่ ้าน และประชาชนในพื้นท่ี ข้อเสนอแนะจากการลงพนื้ ท่ี ๑. นายคารณ รกั ธรรม (กานันตาบลวงั หามแห อ.ขาณวุ รลักษบรุ ี จ.กาแพงเพชร) ๑) ราคาพืชผลทางการเกษตรตกตา่ (ข้าวโพด) เน่ืองจากการลกั ลอบนาขา้ วโพดจากพม่าเขา้ มาในประเทศไทยเป็นจานวนมากโดยผ่านทางพ่อค้าคนกลาง จึงมีข้อเสนอ อยากให้ทางรัฐบาลประกัน ราคาขา้ วโพดอยทู่ ี่กิโลกรมั ละ ๙ บาท เพือ่ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรผู้เล้ียงสตั วต์ ่อไป

๘๖ ๒) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณก่อสร้างสะพาน หมู่ ๕ ตาบลวังหามแห งบประมาณ ๒ ล้านบาท เน่ืองจากเป็นสะพานที่แคบ รถยนต์ไม่สามารถวิ่งสวนทางกันได้ โดยสะพานแห่งน้ี สร้างมาเปน็ เวลานานกว่า ๓๐ ปแี ล้ว ทาให้ชาวบ้านสญั จรได้อยา่ งยากลาบาก ๓) ปัญหาค่าตอบแทนของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การเบิกจ่ายเงนิ ตอบแทนตาแหน่งและอนื่ ๆ ให้แก่ กานัน ผู้ใหญบ่ ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ.๒๕๖๐ ได้กาหนดอัตราการจ่ายเงินตอบแทนของกานันเดือนละ ๑๐,๐๐๐ - ๑๕,๐๐๐ บาท และของผู้ใหญ่บ้าน เดือนละ ๘,๐๐๐ – ๑๓,๐๐๐ บาท แต่กานัน ผใู้ หญบ่ า้ นยังไมไ่ ด้รับเงินตามระเบียบดังกลา่ ว ๒. นายประภสั ร์ ออ่ นฤทธิ์ (ประธานชมรมกานัน ผ้ใู หญบ่ า้ น อ.ขาณวุ รลักษบุรี จ.กาแพงเพชร) ขอให้แก้ปัญหาโดยการเพิกถอนหรือแก้ไขพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๑ และ พ.ศ.๒๔๙๒ ในพ้ืนที่อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร จานวน ๕๘,๕๓๙ แปลง เน้ือที่ ๓๔๗,๐๑๔ – ๐ – ๘๘ ไร่ ๓. นายวมิ ล พลิ กึ (กานันตาบลบอ่ ถา้ อ.ขาณวุ รลกั ษบรุ ี จ.กาแพงเพชร) ปญั หาเร่ืองแนวเขตระหว่างตาบลบ่อถ้ากับอาเภอลาดยาว สง่ ผลต่อการข้ึนทะเบียนเกษตรกร การเก็บภาษี การออกโฉนดท่ีดิน เน่ืองจากปัญหาที่ดินทากิน ม.๔ – ๗ – ๑๓ ตาบลบ่อถ้า เป็นเขตที่ดิน ซ้าซ้อนในตาบลบ่อถ้า – ตาบลบ้านไร่ อาเภอลาดยาว จ.นครสวรรค์ จานวน ๔,๑๐๐ ไร่ ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ไมส่ ามารถข้ึนทะเบียนเกษตรกรได้ ไม่ได้รับความชว่ ยเหลือ ไม่ถงึ แหล่งทุนดอกเบยี้ ต่า เพราะพ้ืนท่ีอยใู่ น เขตปา่ ไม่ถาวร ป่าแม่วงค์ – คลองขลุง ๔. นายวริ ัตน์ อ้นมืน้ (ผู้ใหญ่บ้านวังชะพลู อ.ขาณวุ รลักษบรุ ี จ.กาแพงเพชร) กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายจะควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กกับโรงเรียนขนาดใหญ่ ทาใหช้ าวบ้านท่ียากจนไม่มีเงนิ สง่ ลกู หลานเรยี นหนังสือ การยบุ หรือควบรวมโรงเรียนที่มีขนาดเล็กจานวน นักเรียนตากว่า ๑๒๐ คนให้ไปเรียนที่โรงเรียนใกล้เคียงที่มีจานวนนักเรียนมากกว่า ส่งผลกระทบกับ ประชาชนผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถส่งลูกไปเรียนที่โรงเรียนอ่ืนท่ีห่างไกลได้ ซ่ึงในอาเภอขาณุวรลักษบุรี มีโรงเรียนท่ไี ด้รับผลกระทบ จานวน ๓๐ โรงเรียน ท้ังนี้ ตัวแทนของกานันและผู้ใหญ่บ้าน ได้ย่ืนหนังสือร้องเรียนเร่ืองอ่ืน ๆ กับรองประธาน กรรมการ คนทีห่ นง่ึ (พลอากาศเอก อดิศกั ดิ์ กลั่นเสนาะ) จานวน ๒ เร่ือง ดงั น้ี ๑. นายธนกร จันทพุฒ (นายกองค์การบริหารส่วนตาบลเกาะตาล อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กาแพงเพชร) ขอให้ช่วยติดตามโครงการก่อสร้างแนวป้องกันตลิ่งพัง บ้านโรงสูบ ม.๑ ต.เกาะตาล อ.ขาณุวรลกั ษบรุ ี จ.กาแพงเพชร ระยะทาง ๑,๕๐๐ เมตร งบประมาณ ๙๗ ล้านบาท เนอ่ื งจากชว่ งเดอื น ตุลาคม ๒๕๖๐ ได้มีฝนตกติดต่อกันอย่างต่อเน่ือง ทาให้ปริมาณน้าในแม่น้าปิงที่มีมากตามฤดูกาลไหลเชี่ยว

๘๗ ส่งผลให้กัดเซาะตลง่ิ และถนนดินลูกรงั สายเรียบชายฝั่งริมน้าปิงฝงั่ ทศิ ตะวนั ตก บรเิ วณบ้านโรงสูบ หมู่ท่ี ๑ เช่ือมต่อกับบ้านเกาะตาล หมู่ที่ ๒ ตาบลเกาะตาล ได้รับความเสียหายเป็นแนวยาว ประชาชนทั้งสอง หมู่บ้านไม่สามารถใช้ยานพาหนะสัญจรไปมาได้ ซึ่งในปัจจุบันมีสภาพความเสียหายหนักข้ึน ทาให้ ประชาชนไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ๒. นายณรงค์ คาออ่ น (อาชีพทาไร)่ เร่ืองขอความเป็นธรรมเพราะถูกตัดสิทธิในการสมัครรับเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๗ ต.ท่าขุนราม อ.เมืองกาแพงเพชร จ.กาแพงเพชร เน่ืองจากถูกกล่าวหาว่ามีลักษณะตอ้ งห้ามของผู้สมัคร รับเลือกผู้ใหญ่บ้าน ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ีพุทธศักราช ๒๔๕๗ มาตรา ๑๒ (๖) ซง่ึ ถกู ตรวจพบสารเสพติดในร่างกายดว้ ยชดุ ตรวจ THC แตข่ ้อเทจ็ จริงแลว้ ผมไม่ไดต้ ิดยาเสพติดแตอ่ ยา่ งใด จากคณะกรรมการทางหมู่บ้านท่ีจัดการเลือกตั้งท่ีมีพฤติการณ์ต่างๆ ที่แสดงถึงความไม่เป็นกลางต่อ ผู้ร้องเรียนและไม่ปฏิบัติตามกฎหมายปกครองว่าด้วยเร่ืองการพิจารณาพยานหลักฐาน เพ่ือให้ได้ ประโยชน์แก่นางศริ พิ ร อั่วหงวน (ผูส้ มคั รคแู่ ข่ง) วันท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๕.๐๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พรอ้ มคณะ เดินทาง ถึง องค์การบริหารส่วนตาบลวังหามแห อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร เพ่ือประชุม พบปะกับประชาชนหารือประเด็นเก่ียวกับธนาคารน้าใต้ดิน รวมจานวนทั้งสิ้น ๑๐๐ คน โดยพิธีกรของ องค์การบริหารส่วนตาบลวังหามแห ได้เรียนเชิญคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ภาคเหนือ (ตอนล่าง) ทงั้ หมด ๗ คน พบปะเพอ่ื ดาเนนิ การประชุม ประกอบดว้ ย ๑. พลอากาศเอก อดิศักดิ์ กลัน่ เสนาะ รองประธานกรรมการ คนท่หี นง่ึ ๒. นายพีระศักด์ิ พอจติ ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมการ ๓. พลเอก สาเริง ศวิ าดารงค์ กรรมการ ๔. พลเอกโปฎก บุนนาค กรรมการ ๕. ว่าทรี่ อ้ ยตรี วงศ์สยาม เพ็งพานชิ ภักดี กรรมการ ๖. นายเฉลยี ว เกาะแกว้ กรรมการ ๗. นายกติ ติศกั ดิ์ รัตนวราหะ กรรมการ

๘๘ ข้อเสนอแนะจากการลงพ้นื ที่ ๑. นายสยาม มาลัย (ผใู้ หญ่บา้ นหมทู่ ่ี ๑ ต.วงั หามแห อ.ขาณุวรลักษบรุ ี จ.กาแพงเพชร) ปัญหาแหล่งน้าเพื่อการเกษตร โดยอยากให้ทาโครงการขุดเจาะบ่อบาดาลพร้อมติดต้ัง พลังงานแสงอาทิตย์สูบน้าและระบบกระจายน้าเพ่ือการเกษตรในทุกหมู่บ้านท้ังส้ิน ๑๒ หมู่บ้าน / โครงการซ่อมแซมฝายน้าล้นบริเวณบ้านนางถวัลย์ ยิ้มจันท์พร้อมขุดลอกอ่างเก็บน้าพื้นที่ ๑๐ ไร่ (คลองชลประทาน) /โครงการก่อสร้างฝายน้าล้นในคลองชลประทาน ๑ กิโลเมตร : ๑ ฝาย /โครงการ ขุดลอกคลองพร้อมก่อสร้างฝายน้าล้นและก่อสร้างธนาคารน้าใต้ดินระบบบ่อเปิดจานวน ๕ แห่ง หมู่ท่ี ๙ ผ่านหมู่ท่ี ๒ เชื่อมคลองชลประทานหมู่ ๑ /การติดตามโครงการก่อสร้างแก้มลิงจุดคลองดง (หน่วยงาน ชลประทาน) ๒. นายเฉลิมพล เยน็ ตั้ง (สมาชิกสภา อบต.วังหามแห หมทู่ ่ี ๕ บา้ นจติ ตมาส) ปัญหาแหล่งน้าเพ่ือการอุปโภค – บริโภค โดยอยากให้ติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ สูบน้า ระบบประปาหมู่บ้านและระบบกรองน้าสะอาด เพื่อใช้ในการอุปโภค – บริโภคแก่ประชาชน ในทกุ หมู่บ้านทัง้ ส้ิน ๑๒ หมบู่ ้าน ๓. นายจรูญ เขียวสะอาด (สมาชิกสภา อบต.หมูท่ ่ี ๓ บ้านเขาพรกิ ) ปัญหาเร่ืองถนน โดยอยากให้ก่อสร้างถนนลาดยางในหมู่บ้านท้ังหมด ๑๒ หมู่บ้าน ในตาบล วงั หามแห อาเภอขาณวุ รลักษบุรี จงั หวัดกาแพงเพชร ๔. นายเมฆ คาขาว (สมาชิกสภา อบต.หมู่ที่ ๙ บา้ นทรัพย์เจริญ) ปญั หาเร่อื งไฟฟ้า โดยอยากให้จดั ทาโครงการกอ่ สร้างไฟฟา้ สาธารณะภายในหมู่บา้ นหมู่ที่ ๕ บ้านจิตตมาส /โครงการขยายเขตไฟฟ้า ๓ เฟส ภายในหมู่บา้ น และแก้ไขปัญหากระแสไฟฟ้าตกหมู่ที่ ๘ บ้านหนองช้างงาม /โครงการติดต้ังไฟฟา้ ส่องสว่างริมทางระบบพลงั งานแสงอาทิตย์หมู่ที่ ๙ บา้ นทรัพย์เจริญ /โครงการขยายเขตไฟฟา้ ๓ เฟส ภายในหมบู่ า้ นหมทู่ ่ี ๑๐ บา้ นดา่ นใหญ่

๘๙ ๕. นายเฉลมิ พงษ์ ถงึ สขุ (สมาชกิ สภา อบต.หม่ทู ี่ ๗ บ้านหนองปลอ้ ง) ปัญหาการส่งเสริมการเกษตร โดยขอให้แก้ไขปัญหาเร่ืองราคาสินค้าทางการเกษตรตกต่า และส่งเสริมการจัดต้ังสถานท่ีกลางรองรับการซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ (การตลาด) เพอ่ื เพิม่ รายไดใ้ หก้ ับเกษตรกร ๖. นายสมมาตร สุ่มทอง (ผูใ้ หญ่บ้านหมทู่ ่ี ๑๑ บา้ นปากดง) ปญั หาการออกเอกสารสทิ ธิท์ ่ีดนิ และการใช้ประโยชนท์ างธุรกรรมการเงินของเอกสารท่ีดิน ขอให้แก้ไขปัญหาเรื่องการใช้ประโยชน์ที่ดินในทางธุรกรรมการเงิน การแก้ไขปัญหาเรื่องการออกโฉนด ที่ดิน เช่น การขอเปลี่ยนจาก ภบท.๕ เป็นโฉนดที่ดิน /การขอเปลี่ยนจาก สปก. เป็นโฉนดท่ีดิน /การแก้ไข ปัญหาความลา่ ชา้ จากการขออนญุ าตใช้ประโยชน์ในทดี่ นิ สปก. ๗. นายไฉน อาไพรนิ (นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลวังหามแห) ปัญหาเรอ่ื งการจัดทาโครงการธนาคารนา้ ใต้ดนิ ๑. ขอ้ จากัดในการออกระเบียบ กฎหมาย รองรับการจัดทานวัตกรรมธนาคารน้าใต้ดิน ทาให้ ธนาคารนา้ ใต้ดนิ ทีส่ ามารถแก้ไขปัญหาเรื่องน้าได้หลากหลายไมถ่ ูกนาไปแกไ้ ขปญั หาจริงในพ้นื ทอี่ น่ื ๆ ข้อเสนอแนะ ควรผลักดันการออกระเบยี บ กฎหมาย มาตรฐานรองรับการจัดทานวัตกรรม ธนาคารน้าใต้ดิน ตลอดจนนวัตกรรมด้านอื่นๆ เพ่ือสามารถเผยแพร่และเป็นแบบอย่างท่ีถูกต้องให้ หนว่ ยงานภาครัฐภาคเอกชนตลอดจนผใู้ ช้สามารถขบั เคลอ่ื นการดาเนนิ การได้ ๒. ข้อจากดั ในการขับเคลอื่ นนวตั กรรมธนาคารนา้ ใตด้ นิ อย่างเปน็ รูปธรรม ข้อเสนอแนะ ควรผลักดันการออกแบบแปลนท่ีเป็นมาตรฐานในการจัดทานวัตกรรม โครงการธนาคารน้าใต้ดินในแต่ละรูปแบบ เช่น ระบบปิด ระบบเปิด รางระบายน้าไร้ท่อบ่อรีชาร์ทน้า และจดั สรรงบประมาณในการดาเนินการใหเ้ พยี งพอตอ่ การแก้ไขปัญหาในแต่ละพ้นื ท่ี ๓. ควรส่งเสริมการจัดทาธนาคารน้าใต้ดินในเขตตาบลวังหามแหให้ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี เพือ่ เป็นศนู ย์การถ่ายทอดความรู้ ขอ้ เสนอแนะ ควรสง่ เสริมสนบั สนนุ นกั ธรณีวิทยาลงพ้นื ท่ีตรวจสอบโครงการของลักษณะ ชั้นดิน ช้ันหิน ในพ้ืนท่ีที่จะดาเนินโครงการ และจัดสรรงบประมาณเพ่ือดาเนินโครงการ จานวน ๖,๖๐๐,๐๐๐ บาท และผลักดันโครงการธนาคารน้าใต้ดินในพ้ืนที่ของกรมชลประทาน จานวน ๑๕ แห่ง งบประมาณ ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท จากนน้ั สมาชกิ วุฒสิ ภา พรอ้ มคณะ ไดล้ งพน้ื ท่เี พอ่ื ศึกษาดูจุดดาเนนิ การธนาคารนา้ ใต้ดนิ ที่มีลักษณะของน้าผุดออกมาตลอดเวลา ซ่ึงพบต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ขนาดบ่อกว้างเฉล่ีย ๓.๐๐ เมตร หนา ๓.๐๐ เมตร ลึก ๒.๕๐ เมตร ต้ังอยู่ที่ ๑๗๕ หมู่ท่ี ๑ ตาบลวังหามแห อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวดั กาแพงเพชร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook