Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Published by rujipas.kansuwan, 2020-09-13 06:52:44

Description: เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Search

Read the Text Version

๕๓๓ ๓.๗ สรปุ ผลการดาเนินการเรอ่ื งรอ้ งเรยี น/ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะโครงการสมาชกิ วุฒิสภา พบประชาชนในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ประเภท ประเภท ท่ีดิน ปญั หาเรอ่ื งเก่ียวกับ หนังสอื วาจา - น้า เกษตร คมนาคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อม สังคม ๑. กระบี่ จานวน/เรอ่ื ง จานวน/เรอื่ ง - ๒. ชุมพร ๓ ๓ -๑ ๓. ตรัง ๑ - -๑ ๔. นครศรธี รรมราช ๑ - -- - - ๕. นราธวิ าส - - -- - - ๖. ปัตตานี ๑ ๗. พังงา - -- - - -๑ ๘. พัทลุง ๓ ๙. ภเู กต็ ๓ ๓- - - -๓ ๑๐. ยะลา ๑๑. ระนอง ๑๒. สงขลา ๑๓. สตลู ๑๔. สุราษฎร์ธานี จานวนเร่ือง รวมเรอื่ งทัง้ หมด รวมทง้ั ส้ิน ๖ เรื่อง ข้อมลู ณ วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓ คณะอนุกรรมการด้านรวบรวม แยกเร่ืองและตดิ ตามเร่ืองรอ้ งเรยี น วุฒสิ ภา คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ รับผิดชอบในพื้นท่ี ๑๔ จงั หวัด ได้แก่ จังหวัดกระบ่ี จังหวดั ชุมพร จังหวดั ตรัง จังหวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดนราธิวาส จงั หวัดปตั ตานี จังหวัดพังงา จังหวดั พัทลุง จังหวดั ภูเก็ต จังหวัดยะลา จังหวัดระนอง จังหวดั สงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยท่ีผ่านมา คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพ้ืนที่จังหวัดภาคใต้ ได้ลงพ้นื ทเี่ พือ่ พบประชาชนในพ้นื ที่จงั หวัดภาคใต้ จานวน ๗ คร้ัง ได้รับเรือ่ งร้องเรียน จานวน ๖ เรื่อง โดยแยกเปน็ ประเด็นปัญหา ดังน้ี

๕๓๔ ๑. ปัญหาแหล่งนา้ จานวน ๓ เรือ่ ง ๒. ปัญหาด้านสงั คมและอนื่ ๆ จานวน ๓ เรอื่ ง เม่ือพิจารณาจากเรื่องร้องเรียนในพ้ืนที่จังหวัดภาคใต้ โดยแบ่งตามประเภทของเรื่อง ร้องเรียน สามารถจาแนกรายละเอยี ดของเรือ่ งร้องเรียนแตล่ ะประเภทไดด้ งั น้ี ๑. ปัญหาแหลง่ น้า จานวน ๓ เร่ือง ประกอบด้วย สาระสาคัญของเร่อื ง ผลกระทบจากการขดุ คลองชมุ พร รวมทง้ั ค่าทดแทนทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรมแกเ่ จ้าของทีด่ ิน คอื เร่ืองที่ ๑ การดาเนินการขุดคลองชุมพร ได้ปิดกั้นทางคูระบายน้าในพ้ืนที่ตอนปลายที่ระบาย ลงคลองนาคราช ทาให้ในพื้นท่ีหมู่ท่ี ๓ – หมู่ท่ี ๖ ตาบลตากแดด ในช่วงหน้าฝนเกิดปัญหาน้าท่วมขัง เป็นเวลานาน ทาให้พืชผลทางการเกษตรของประชาชนเสียหาย และการขนย้ายพชื ผลไม่สะดวก หญ้าที่ใช้ สาหรับเล้ียงสัตว์เน่าเสีย เน่ืองจากน้าท่วมขังเป็นเวลานาน จึงขอให้ผู้ที่เกี่ยวข้องช่วยเปิดประตูระบายน้า ท่จี ะลงส่คู ลองนาคราช เพือ่ ใหน้ า้ ไมท่ ่วมขัง เร่ืองท่ี ๒ การทาประตูระบายน้า ขอให้ออกแบบตามสภาพพื้นที่จริง เพราะพ้ืนที่บางชว่ งท่ีทา ประตรู ะบายนา้ สูง ทาใหน้ ้าทีจ่ ะไหลลงสู่คลองนาคราชไหลลงไม่ได้ ทาใหน้ ้าท่วมขังในพ้ืนที่ทางการเกษตร ของประชาชน เรื่องท่ี ๓ การจ่ายราคาค่าชดเชยที่ดนิ อนั เนื่องมาจากการเวนคืนที่ดินเพ่ือขุดคลองชลประทาน ใหร้ าคาตา่ กว่าทอ้ งตลาดมาก ซ่ึงไมเ่ พียงพอกับการไปซื้อท่ีดนิ ใหม่ และดาเนินการล่าชา้ มาก ผู้เสนอ : ร้อยตรี สมชาย จันทร์สง่ แสง และคณะ ผลการดาเนนิ การ สง่ เรอื่ งรอ้ งเรียนไปยังคณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ วฒุ สิ ภา จานวน ๓ เรือ่ ง ทั้งน้ี อยรู่ ะหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วฒุ ิสภา ๒. ปญั หาสงั คม จานวน ๓ เรื่อง ประกอบด้วย เรื่องที่ ๑ ขอร้องทุกข์ความเดือดร้อนจากราชการประกาศท่ีดินของสถาบันปอเนาะ เปน็ เขตปา่ ผู้เสนอ : นายหะมิดิง สานอ โต๊ะครูโรงเรียนพัฒนาเยาวชน (ปอเนาะปาแดรู) อาเภอยะหา จังหวัดยะลา สาระสาคญั ของเรอื่ ง โรงเรียนพัฒนาเยาวชน (ปอเนาะปาแดรู) อาเภอยะหา จังหวัดยะลา ได้เปิดการเรียนการสอน มาแล้ว เป็นเวลากว่า ๘๐ ปี ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ทางราชการได้ประกาศให้เขตที่ดินของโรงเรียน

๕๓๕ เป็นเขตพื้นที่ป่า ส่งผลให้โรงเรียนไม่สามารถย่ืนขออนุญาตให้เปิดการเรียนการสอนสายสามัญ โดยสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา แจ้งว่า ต้องมีเอกสารสิทธิ์ท่ีดินท่ีเป็นที่ต้ังของสถานศึกษา จึงจะสามารถขออนญุ าตเปิดการเรียนการสอนสายสามัญได้” ผลการดาเนนิ การ ส่งเรื่องไปยังคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัดยะลา (กบร.จังหวัดยะลา) ทั้งน้ี อยู่ระหว่าง การพจิ ารณาของคณะอนุกรรมการแก้ไขปญั หาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ จังหวัดยะลา เร่อื งที่ ๒ ขอการสนับสนนุ การเสนอวัดพระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร เขา้ สบู่ ญั ชมี รดกโลก ผู้เสนอ : สานักงานสภาวัฒนธรรมจงั หวัดนครศรีธรรมราช สาระสาคัญของเรอ่ื ง วดั มหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รบั การรับรองจากยูเนสโก เมือ่ ปี ๒๕๕๖ ให้อยู่ใน “บัญชรี ายช่ือเบื้องตน้ ” และจะต้องจัดทาเอกสารนาเสนอแหล่งมรดกโลกทีเ่ รียกว่า Nomination Dossier เสนอคณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรมพิจารณา ซึ่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ได้จัดทาเอกสารเสนอต่อท่ีประชุมคณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ และที่ประชุมมีข้อสังเกตให้ปรับปรุงเอกสารเก่ียวกับการจัดทาแผนการอนุรักษ์ แหลง่ มรดกทางวัฒนธรรมเพ่ิมเตมิ ผลการดาเนินการ ส่งเรื่องร้องเรียนไปยังคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และ วฒั นธรรม วุฒิสภา เพ่ือพิจารณาตามหน้าท่ีและอานาจ โดยมีผลการดาเนินการของคณะกรรมาธิการ การศาสนาฯ ดังนี้ ๑) คณะกรรมาธิการการศาสนาฯ ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการด้านศิลปะ และวัฒนธรรม พิจารณาและรวบรวมข้อมูลดังกล่าว ซ่ึงคณะอนุกรรมาธิการได้รับทราบข้อมูลว่า วดั มหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับการรับรองจากยูเนสโก เม่ือปี ๒๕๕๖ ให้อยู่ใน “บัญชีรายชื่อเบื้องต้น” และจะต้องจัดทาเอกสารนาเสนอแหล่งมรดกโลกที่เรียกว่า Nomination Dossier เสนอคณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรมพิจารณา ซึ่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ ได้จัดทาเอกสารเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ และที่ประชุมมีข้อสังเกตให้ปรับปรุงเอกสารเก่ียวกับการจัดทาแผนการอนุรักษ์ แหล่งมรดกทางวฒั นธรรมเพมิ่ เติม

๕๓๖ ๒) การประชุมคณะกรรมาธิการ คร้ังท่ี ๔ /๒๕๖๒ วันพฤหัสบดีท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ท่ปี ระชุมได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เพอ่ื ให้การจัดทาเอกสารดังกล่าวมีความครบถ้วน สมบูรณ์ เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก จึงเห็นควรให้กรมศิลปากรในฐานะหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้อง ให้คาปรึกษาและแนะนาการจัดทาเอกสารแก่ผู้ร้อง และให้จังหวัดนครศรีธรรมราช เร่งรัด การจัดทาเอกสารให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ท้ังน้ี คณะกรรมาธิการการศาสนาฯ ได้มีหนังสือแจ้ง อธิบดีกรมศิลปากรและผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ดาเนินการความเห็นของที่ประชุมข้างต้น ดว้ ยแล้ว พร้อมทง้ั ได้แจง้ ให้ผู้ร้องได้ทราบถึงผลการดาเนินการดงั กลา่ วด้วยแลว้ เรื่องที่ ๓ ขอให้ผลักดันโครงการและงบประมาณจัดตั้งพิพิธภัณฑ์มรดกวัฒนธรรม และศนู ยก์ ารเรยี นรู้อัลกรุ อาน ผู้เสนอ : นายนอิ าแซ ซอี เุ ซ็ง สมาชกิ วฒุ ิสภา สาระสาคัญของเร่ือง โครงการดงั กลา่ วได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณในการกอ่ สร้างตอ่ เน่ือง ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ จากกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม โดยการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ดังกล่าว มีความคืบหน้า ของโครงการฯ ร้อยละ ๘๐ คาดว่าจะแลว้ เสร็จภายใน ปี พ.ศ.๒๕๖๔ แตด่ ว้ ยไดท้ ราบขา่ วเปน็ การภายใน วา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมศิลปากร ไม่ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณโครงการดังกล่าว ซึ่งอาจ ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ทางราชการและจังหวัดนราธวิ าสในดา้ นตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง จงึ ขอใหด้ าเนนิ การ ผลักดันโครงการดงั กลา่ ว ผลการดาเนินการ ส่งเร่ืองร้องเรียนไปยังคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และ วฒั นธรรม วุฒิสภา ทั้งนี้ อยรู่ ะหวา่ งการพิจารณาคณะกรรมาธกิ ารการศาสนาฯ ผลการดาเนินการเรื่องร้องเรียน/ประเด็นข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จานวน ๖ เร่ือง ส่งไปยงั คณะกรรมาธิการและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กล่าวคือ โดยเร่ืองร้องเรยี นท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒสิ ภา จานวน ๓ เร่ือง และเป็นเรอ่ื งของคณะกรรมาธิการ การศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา จานวน ๒ เรื่อง โดยดาเนินการ เสร็จแล้ว จานวน ๑ เรื่อง และอยู่ระหว่างการพิจารณา จานวน ๑ เรื่อง และอยู่ระหว่างการพิจารณา ของคณะอนุกรรมการแก้ไขปญั หาการบกุ รกุ ทด่ี ินของรฐั จังหวดั ยะลา (กบร.จังหวัดยะลา) จานวน ๑ เร่อื ง

บทที่ ๔ สรปุ การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน ผลจากการติดตามประเมินผลโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในช่วงระหว่างเดือน สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ – มนี าคม ๒๕๖๓ เป็นเวลา ๘ เดือน โดยคณะทางานโครงการจานวน ๘ คณะ ประกอบด้วย คณะทางานภาคเหนือตอนบน, ภาคเหนือตอนล่าง, ภาคกลาง, ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง, ภาคใต้, และคณะอนุกรรมการ ฝ่ายอานวยการ คณะทางานของสมาชิกวฒุ สิ ภาลงพนื้ ท่ี จานวน ๖๗ จังหวดั ดังน้ี ส่วนที่ ๑ ข้อมลู ทวั่ ไป ตารางท่ี ๔.๑ พ้ืนท่ีการดาเนนิ งานโครงการ จาแนกตามคณะทางาน คณะทางาน จังหวดั ภาคเหนอื ตอนบน เชียงใหม่ ลาปาง (๒ ครั้ง) เชยี งราย พะเยา (๒ ครัง้ ) ลาพนู แพร่ นา่ น แมฮ่ ่องสอน ภาคเหนือตอนลา่ ง กาแพงเพชร (๒ คร้งั ) พิษณุโลก อตุ รดติ ถ์ (๒ คร้งั ) สโุ ขทยั (๒ ครง้ั ) พจิ ิตร (๒ คร้ัง) นครสวรรค์ อทุ ัยธานี ตาก เพชรบรู ณ์ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื สกลนคร นครพนม กาฬสินธ์ุ หนองบัวลาภู เลย อุดรธานี (ตอนบน) หนองคาย มุกดาหาร ร้อยเอ็ด ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อุบลราชธานี (๒ ครัง้ ) ยโสธร (๒ ครงั้ ) ศรสี ะเกษ (๒ ครงั้ ) (ตอนลา่ ง) สุรินทร์ (๒ ครง้ั ) ชยั ภมู ิ (๒ ครง้ั ) นครราชสมี า (๒ คร้ัง) ภาคกลาง บุรีรมั ย์ อานาจเจรญิ ภาคตะวนั ออก พระนครศรอี ยธุ ยา ราชบุรี ชยั นาท สุพรรณบรุ ี สมทุ รสาคร ภาคใต้ เพชรบุรี สมุทรปราการ นครปฐม กาญจนบรุ ี สิงหบ์ รุ ี อา่ งทอง ลพบุรี ปทมุ ธานี สระบรุ ี นนทบุรี สมุทรสงคราม ประจวบครี ขี นั ธ์ ปราจีนบุรี สระแกว้ ชลบุรี ระยอง (๒ ครง้ั ) ตราด (๒ ครงั้ ) จนั ทบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา ปัตตานี นครศรธี รรมราช กระบ่ี นราธวิ าส ชมุ พร สงขลา ระนอง คณะอานวยการฯ ฉะเชงิ เทรา เชียงราย อบุ ลราชธานี นราธิวาส ขอนแกน่

๕๓๘ คณะทางานที่ลงพื้นท่ีดาเนินงานมากท่ีสุด คือ คณะทางานภาคกลาง รองลงมาคือ คณะทางาน ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนบน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และคณะอานวยการฯ ตามลาดบั รวมจังหวัดท่ีได้รับการลงพ้ืนท่ี ๖๗ จังหวัด โดยส่วนใหญ่เป็นจังหวัดที่ได้มีการลงพื้นที่ ๑ คร้ัง จานวน ๕๔ จังหวัด ท่ีมกี ารลงพื้นที่ ๒ ครั้ง จานวน ๑๔ จังหวัด โดยมีจังหวัดท่ียังไม่มีการลง พน้ื ท่ี จานวน ๙ จังหวัด ไม่นับรวมกรุงเทพมหานครทีเ่ ป็นเขตปกครองพิเศษ ไดแ้ ก่ สรุ าษฎร์ธานี, ตรงั , ยะลา, พัทลงุ , สตูล, ภูเก็ต, พังงา, มหาสารคาม, และบึงกาฬ ตารางท่ี ๔.๒ จานวนและองค์ประกอบผเู้ ข้าร่วมโครงการ ผ้เู ขา้ รว่ มตาม ผเู้ ข้ารว่ มตามจรงิ องค์ประกอบของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ เป้าหมาย (คน) (คน) ๑๑,๘๖๗ ๑๕,๗๙๗ หัวหนา้ สว่ นราชการ (รวมผวู้ ่าราชการจงั หวดั และกาชาดจังหวดั ) ท้องท/่ี ทอ้ งถน่ิ (กานนั ผ้ใู หญ่บา้ น องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ) ภาคธุรกจิ เอกชน (รวมสภาหอการค้า) ภาคประชาชน/ภาคประชาสังคม นักเรยี น/นักศึกษา/เยาวชน สือ่ มวลชน อื่น ๆ โดยภาพรวม มีประชาชนเข้ารว่ มโครงการทั้งส้ิน ๑๕,๗๙๗ คน มากกวา่ เป้าหมายท่กี าหนดไว้ จานวนเฉลี่ยผเู้ ข้าร่วมโครงการแตล่ ะครั้งเท่ากับ ๒๓๒ คน โดยมีสมาชกิ วุฒิสภาเขา้ รว่ มทกุ ครัง้ การพิจารณาองค์ประกอบของผู้เข้าร่วมโครงการ จาแนกได้ ๖ กลุ่ม คือ หัวหน้าส่วน ราชการ (รวมผู้ว่าราชการจังหวัดและกาชาดจังหวัด) ท้องที่/ท้องถ่ิน (กานัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น) ภาคธุรกิจเอกชน (รวมสภาหอการค้า) ภาคประชาชน/ภาคประชาสังคม นักเรียน/นักศึกษา/เยาวชน และส่ือมวลชน โดยสัดส่วนท่ีเข้าร่วมมากท่ีสุด คือ หัวหน้าส่วนราชการ รองลงมา คือ ภาคประชาชน/ภาคประชาสังคม, ท้องท่ี/ท้องถิ่น ภาคธุรกจิ เอกชน นักเรยี น/นักศึกษา/ เยาวชน และสื่อมวลชน ตามลาดบั

๕๓๙ ตารางที่ ๔.๓ ประเด็นในการพบประชาชน จาแนกตามสาระ ประเดน็ สาระพบประชาชน จานวน (ครง้ั ) ความรเู้ รอ่ื งบทบาทหน้าทแี่ ละอานาจของวฒุ ิสภา ๖๐ การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ประเดน็ กฎหมายและทาความเขา้ ใจดา้ นกฎหมาย ๔๕ การประเมินผลสมั ฤทธข์ิ องกฎหมาย ปัญหา ผลกระทบกฎหมาย ๒๒ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข ๒๐ การนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๙ โดยภาพรวม ประเด็นที่สมาชิกวุฒสิ ภาได้แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ับประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย ๕ สาระหลัก คือ ๑) ความรู้เร่ืองสมาชิกวุฒิสภาและบทบาทหน้าที่ ๒) รับฟังความ คิดเห็น ประเด็นกฎหมายและทาความเข้าใจด้านกฎหมาย ๓) การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย ปัญหา และผลกระทบกฎหมาย ๔) การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมขุ และ ๕) การนอ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทั้งน้ีด้วยบริบทของพ้ืนที่ ข้อมูลเฉพาะและสัดส่วนขององค์ประกอบผู้เข้าร่วมที่แตกต่างกัน จึงทาให้ การลงพื้นท่ีแต่ละคร้ังมีจุดเน้นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยสาระที่แตกต่างกัน สรุปได้ว่า ทุกคร้ังของการลงพ้ืนที่ได้มีการแลกเปล่ียนมากกว่า ๑ สาระ โดยสาระท่ีมีทุกครั้ง จัดเป็นอันดับแรก ท่ีทุกคณะให้ความสาคัญ คือ ความรู้เรื่องบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒิสภา อันดับท่ีสอง ได้แก่ การรับฟังความคิดเห็น ประเด็นกฎหมาย และทาความเข้าใจด้านกฎหมาย อันดับท่ีสาม ได้แก่ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย ปัญหา ผลกระทบกฎหมาย และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ส่วนอันดับสุดท้าย คือ การน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ตารางที่ ๔.๔ ความสอดคลอ้ งระหว่างแผนพัฒนาจงั หวดั กบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ความสอดคล้องระหว่างแผนพัฒนาจังหวัดกับยทุ ธศาสตรช์ าติ จานวน (แผน) ดา้ นการสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ๑๒ ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๗ ด้านพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ๕ ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ๔ ดา้ นความมนั่ คง ๒

๕๔๐ จากการลงพื้นท่ีพบประชาชนในแต่ละคร้ัง บางคณะได้ศึกษาความสอดคล้องระหว่าง แผนพัฒนาจังหวดั กับยุทธศาสตร์ชาติ โดยพิจารณาจากแผนพัฒนาจังหวัดและการบรรยายสรปุ ของ ผู้ว่าราชการจังหวัด พบว่า จังหวัดส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันมากท่ีสุด รองลงมา คือ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง สังคม ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตท่ีเปน็ มติ รต่อสิ่งแวดล้อม ตามลาดับ ตารางท่ี ๔.๕ ความสอดคล้องระหวา่ งแผนพัฒนาจังหวดั กับแผนการปฏิรูปประเทศ ความสอดคล้องระหว่างแผนพฒั นาจังหวดั และแผนการปฎริ ปู ประเทศ จานวน (แผน) ด้านเศรษฐกิจ ๖ ด้านการศึกษา ๖ ดา้ นสังคม ๕ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ๒ ดา้ นการเมือง ๑ ส่วนการศึกษาความสอดคล้องระหว่างแผนพัฒนาจังหวัดกับแผนการปฏิรูปประเทศ โดยพิจารณาจากแผนพัฒนาจังหวัดและการบรรยายสรุปของผู้ว่าราชการจังหวัด พบว่า จังหวัดส่วน ใหญ่ให้ความสาคัญกับประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ และด้านการศึกษา มากที่สุด รองลงมา คือ ด้านสังคม ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และด้านการเมอื ง ตามลาดับ ตารางที่ ๔.๖ ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็น/ความต้องการทสี่ ะทอ้ นจากพืน้ ท่ี จาแนกตามดา้ น ประเด็นขอ้ คดิ เหน็ /ความตอ้ งการท่ีสะท้อนจากพ้ืนที่ จานวนประเดน็ ขอ้ คดิ เห็น/ ความตอ้ งการ (เรอื่ ง) ด้านสงั คม ๒๓๔ ด้านนา้ ๑๒๔ ด้านการเกษตร ๑๑๑ ด้านที่ดนิ ๘๘ ด้านคมนาคม ๗๕ ด้านเศรษฐกจิ ๕๗ ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ๔๗ จากการรับฟังข้อคิดเห็นที่ได้รับการสะท้อนจากผู้เข้าร่วมโครงการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยภาพรวมมีประเด็นข้อคิดเห็น รวมทั้งสิ้น ๗๔๐ เร่ือง โดยด้านสังคม มีเป็นจานวนมากที่สุด คิดเป็นอันดับหน่ึง รองลงมา คือ ด้านน้า ด้านการเกษตร ด้านท่ีดิน ด้านคมนาคม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสิ่งแวดล้อม ตามลาดบั

๕๔๑ สว่ นที่ ๒ สรุปประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการท่ีพบจากการลงพ้ืนท่ีของสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชนในดา้ นตา่ ง ๆ โดยภาพรวม ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ที่พบจากการลงพื้นท่ีฯ สามารถสรุปแยกตาม รายดา้ น ไดด้ ังนี้ มากที่สุด คือ ด้านสงั คมและอืน่ ๆ จานวน ๒๓๔ เร่อื ง รองลงมา คือ ด้านนา้ จานวน ๑๒๔ เร่ือง ถัดมาคือ ด้านเกษตร จานวน ๑๑๑ เรื่อง ด้านที่ดิน จานวน ๘๘ เร่ือง ด้านคมนาคม จานวน ๗๕ เรอ่ื ง ด้านเศรษฐกจิ จานวน ๕๗ เรื่อง และดา้ นสิ่งแวดล้อม จานวน ๔๗ เร่ือง ตามลาดบั ภาพรวมทัง้ ประเทศแยกตามด้าน 8% 6% 32% ดา้ นสังคมและอืน่ ๆ 10% ดา้ นน้า ดา้ นเกษตร 12% 17% ดา้ นทด่ี ิน 15% ด้านคมนาคม ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม โดยเมือ่ ไดร้ บั ฟังประเด็นข้อคิดเห็น/ความตอ้ งการ ขอ้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไข จากพื้นที่ และรว่ มแลกเปล่ียนความคิดเหน็ แล้ว บางเร่อื งคณะสมาชกิ วุฒิสภาได้รับมาเพือ่ ส่งตอ่ คณะอานวยการ และ/หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และบางเร่ืองได้มอบให้จังหวัดรับไปดาเนินการต่อ โดยส่ิงท่ีทาได้ มากที่สุด คือ การมอบจังหวัดรับไปดาเนินการ รองลงมา คือ รับมาเพ่ือส่งต่อคณะอานวยการ/ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และรับฟังข้อเสนอแนะ ตามลาดับ

๕๔๒ ส่วนที่ ๓ สรุปประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการท่ีพบจากการลงพื้นท่ีของสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชนในดา้ นตา่ ง ๆ จาแนกตามรายภาค ๑. ภาคเหนอื (ตอนบน) ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ท่ีพบจากการลงพ้ืนที่ฯ สามารถสรุปแยกตาม รายดา้ น ไดด้ ังน้ี มากท่ีสดุ คือ ดา้ นทีด่ นิ จานวน ๘ เรื่อง รองลงมา คือ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม จานวน ๗ เรือ่ ง ถัดมาคือ ด้านสังคมและอ่ืน ๆ จานวน ๖ เรื่อง ด้านน้า จานวน ๒ เร่ือง ด้านเกษตร จานวน ๑ เร่ือง ดา้ นคมนาคม จานวน ๑ เรอื่ ง และ ด้านเศรษฐกิจ จานวน - เรอื่ ง ตามลาดับ ภาคเหนอื (ตอนบน) 4% 4% 32% ดา้ นท่ีดิน 8% ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ด้านสงั คมและอ่นื ๆ 24% ดา้ นนา้ ด้านเกษตร ด้านคมนาคม ด้านเศรษฐกจิ 28% ๒. ภาคเหนอื (ตอนลา่ ง) ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ที่พบจากการลงพ้ืนที่ฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ได้ดังนี้ มากที่สุด คือ ด้านสังคมและอ่ืน ๆ จานวน ๖๓ เรื่อง รองลงมา คือ ด้านน้า จานวน ๒๗ เรื่อง ถัดมาคือ ด้านเศรษฐกิจ จานวน ๒๕ เร่อื ง ด้านเกษตร จานวน ๒๒ เร่ือง ด้านท่ีดิน จานวน ๑๖ เร่อื ง ด้านคมนาคม จานวน ๑๑ เร่ือง และ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม จานวน ๒ เร่ือง ตามลาดับ ภาคเหนือ (ตอนลา่ ง) ด้านสงั คมและอ่นื ๆ ดา้ นนา้ 7% 1% ด้านเศรษฐกิจ 10% ดา้ นเกษตร ด้านท่ีดนิ 38% ด้านคมนาคม 13% ด้านสิง่ แวดล้อม 15% 16%

๕๔๓ ๓. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (ตอนบน) ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ท่ีพบจากการลงพื้นท่ีฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ได้ดังนี้ มากที่สุด คือ ด้านสังคมและอื่น ๆ จานวน ๙๘ เรื่อง รองลงมา คือ ด้านน้า จานวน ๖๐ เร่ือง ถัดมาคือ ด้านเกษตร จานวน ๓๘ เร่ือง ด้านท่ีดิน จานวน ๒๕ เรื่อง ด้านคมนาคม จานวน ๒๒ เรื่อง และ ด้านเศรษฐกจิ จานวน ๑๗ เรือ่ ง ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม จานวน ๑๐ เรื่อง ตามลาดบั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนบน) 6% 4% 37% ด้านสงั คม 8% ดา้ นนา้ ด้านเกษตร 9% ด้านทดี่ นิ ด้านคมนาคม 14% ด้านเศรษฐกจิ 22% ด้านสิง่ แวดลอ้ ม ๔. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ตอนล่าง) ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ที่พบจากการลงพ้ืนที่ฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ได้ดังน้ี มากท่ีสุด คือ ด้านน้า จานวน ๑๒ เรื่อง รองลงมา คือ ด้านเกษตร จานวน ๖ เรื่อง ถัดมาคือ ด้านสังคมและอื่น ๆ จานวน ๔ เร่ือง ด้านคมนาคม จานวน ๔ เร่ือง ด้านที่ดิน จานวน ๓ เรือ่ ง ด้านเศรษฐกจิ จานวน ๒ เร่อื ง และด้านสิ่งแวดล้อม จานวน ๑ เรื่อง ตามลาดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ตอนล่าง) ดา้ นน้า ดา้ นเกษตร 6% 3% ดา้ นคมนาคม 9% ดา้ นสังคม ดา้ นท่ีดิน 37% ด้านเศรษฐกิจ 13% ด้านสงิ่ แวดล้อม 13% 19%

๕๔๔ ๕. ภาคกลาง ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ที่พบจากการลงพ้ืนที่ฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ได้ดงั น้ี มากท่ีสดุ คือ ดา้ นสังคมและอนื่ ๆ จานวน ๔๒ เร่อื ง รองลงมา คอื ดา้ นเกษตร จานวน ๓๔ เรื่อง ถัดมาคือ ด้านท่ีดิน จานวน ๑๘ เรื่อง ด้านคมนาคม จานวน ๑๔ เรื่อง ด้านน้า จานวน ๙ เร่อื ง ด้านส่งิ แวดล้อม จานวน ๗ เร่อื ง และด้านเศรษฐกจิ จานวน ๒ เรือ่ ง ตามลาดับ ภาคกลาง ด้านสงั คม ด้านเกษตร 6% 2% ดา้ นทดี่ ิน 7% ดา้ นคมนาคม ด้านน้า 33% ดา้ นส่ิงแวดล้อม 11% ด้านเศรษฐกิจ 14% 27% ๖. ภาคตะวันออก ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ท่ีพบจากการลงพ้ืนที่ฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ได้ดังนี้ มากที่สุด คือ ด้านสังคมและอื่น ๆ จานวน ๒๒ เร่ือง รองลงมา คือ ด้านคมนาคม จานวน ๑๒ เร่ือง ถัดมาคือ ด้านที่ดิน จานวน ๑๐ เร่ือง ด้านเศรษฐกิจ จานวน ๙ เรื่อง ด้านเกษตร จานวน ๔ เรื่อง ดา้ นสงิ่ แวดล้อม จานวน ๓ เรื่อง ด้านนา้ จานวน ๒ เร่ือง และมีข้อเสนอแนะ จานวน ๑ เรือ่ ง ตามลาดับ ภาคตะวนั ออก 5% 3% 2% 35% ด้านสังคม 6% ด้านคมนาคม ด้านท่ีดิน 14% ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นเกษตร 16% ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม 19% ด้านน้า ขอ้ เสนอแนะ

๕๔๕ ๗. ภาคใต้ ประเด็นข้อคิดเห็น/ความต้องการในต่าง ๆ ที่พบจากการลงพื้นท่ีฯ สามารถสรุปแยกตาม รายด้าน ไดด้ งั น้ี แบง่ เปน็ ด้านสังคมและอ่นื ๆ จานวน ๓ เรือ่ ง และดา้ นน้า จานวน ๓ เรอ่ื ง ภาคใต้ ดา้ นสงั คม ดา้ นน้า 50% 50%

๕๔๖ สว่ นที่ ๔ ประโยชนท์ ปี่ ระชาชน หน่วยงาน/ องคก์ รในพ้นื ที่ และสมาชิกวุฒสิ ภาไดร้ บั ผู้ไดร้ ับประโยชน์ ประโยชน์ท่ีได้รับ ประชาชน - ได้รบั ทราบหนา้ ทแี่ ละอานาจของวฒุ สิ ภาซึ่งเป็นสว่ นหน่ึง ของฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิทมี่ ีหนา้ ทใ่ี นการออกกฎหมาย การ ควบคมุ และตรวจสอบการบริหารราชการแผน่ ดนิ - ได้สะทอ้ นสถานการณ์ ข้อขดั ขอ้ งของทอ้ งถน่ิ ใหห้ นว่ ยงาน รฐั ทราบ - ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื และการแก้ไขไปจากทุกภาคส่วน - ไดท้ ราบสถานการณ์ เรอ่ื งต่าง ๆ ของท้องถน่ิ รวมถึง เป้าหมายการพฒั นาจากหนว่ ยงานรฐั - ไดร้ บั ฟงั ความคดิ เห็นและทาความเขา้ ใจด้านรฐั ธรรมนญู และกฎหมายรวมทงั้ การประเมินผลสมั ฤทธิ์ของกฎหมาย เพ่ือเสริมความรูใ้ หแ้ กเ่ ยาวชน เชน่ กฎหมายเกีย่ วกับทดี่ นิ การเกษตร แหล่งนา้ ทดี่ นิ และการปฏริ ูปทดี่ ิน การควบคุม อาคาร โรคตดิ ตอ่ การคา้ การขนส่ง ความปลอดภัยในชวี ิต และทรัพยส์ นิ การทอ่ งเที่ยว การประกนั ภัยสินคา้ การเกษตร การปกครองทอ้ งถ่ิน ฯลฯ เป็นตน้ - ไดร้ ว่ มแลกเปล่ยี นบทเรยี นและประสบการณก์ ารพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตและการพฒั นาชุมชนท้องถน่ิ บนฐานปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง - ไดร้ บั ทราบขอ้ คิดเห็น ขอ้ เสนอแนะจากภาคประชาชนใน พน้ื ทแ่ี ละนาไปสู่การแก้ไข หน่วยงาน/ องค์กรในพ้นื ที่ - ไดแ้ ลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ จากประชาชนในพน้ื ท่ี (ไดแ้ ก่ การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย (ททท.), หอการค้า, สภาอุตสาหกรรม - ไดร้ ายงานแผนพฒั นาจังหวัดซ่ึงมคี วามเช่อื มโยงกับ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผน สมาคมธรุ กิจการทอ่ งเทย่ี วฯ, ปฏริ ูปประเทศ โดยสมาชกิ วฒุ ิสภาได้รว่ มแสดงความคดิ เหน็ กลุ่มสมาชกิ สภาพัฒนาเมอื งนคร พรอ้ มใหข้ อ้ เสนอแนะ (ภาคพลเมอื ง), กล่มุ ธนาคารสมอง ฯลฯ) - ไดร้ ายงานแผนพัฒนาหน่วยงาน/องคก์ ร ในสว่ นทเี่ กี่ยวข้อง หรือเกี่ยวกบั การน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาประยุกตใ์ ช้ พร้อมกบั ไดแ้ ลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กับ สมาชิกวฒุ สิ ภาและประชาชนท่วั ไป

ผไู้ ดร้ ับประโยชน์ ๕๔๗ วฒุ สิ มาชกิ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั - ไดร้ บั ทราบข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากหนว่ ยงานและ ประชาชนในพน้ื ท่ี - ได้รบั ขอ้ เสนอแนะจากการประชมุ หารือกบั ผแู้ ทน สว่ นราชการ ภาคประชาชน และภาคเอกชน - ได้รบั ทราบข้อคดิ เห็น ความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะ และความตอ้ งการของประชาชนในพืน้ ทเี่ พอื่ ร่วมกันหา แนวทางการพฒั นาพ้นื ที่ เชน่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช เรอ่ื งการพัฒนาเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรมแบบ บรู ณาการ - ได้ดาเนนิ การให้ความช่วยเหลือประชาชนในพนื้ ที่ อย่างเทา่ ทนั สถานการณ์ เชน่ ฟื้นฟูโรงเรยี นท่ีประสบ อุทกภยั ณ จังหวดั อบุ ลราชธานี - นาไปประกอบการพจิ ารณาดาเนนิ การตามกรอบหน้าท่ี และอานาจของวฒุ ิสภา - ไดร้ บั ทราบความกา้ วหน้าการดาเนนิ งานของโครงการ พัฒนาตา่ ง ๆ เช่น โครงการพัฒนาทา่ เรือแหลมฉบัง ระยะท่ี ๓ - ได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมและรบั ฟงั ความเหน็ ของเยาวชนและ นักศึกษา รวมทงั้ รบั ข้อเสนอแนะทส่ี ร้างสรรค์เพื่อจะได้ นาไปสูก่ ารพิจารณาการกลน่ั กรองและการพัฒนากฎหมาย ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึน้ และการให้ความรู้ เกีย่ วกบั กฎหมายรัฐธรรมนญู กระบวนการตรากฎหมาย เพื่อเสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ กบั ประชาชน - ไดเ้ ผยแพรท่ าความเข้าใจถึงบทบาทหนา้ ทแี่ ละอานาจของ สมาชิกวฒุ สิ ภา วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการสมาชกิ วฒุ ิสภา พบประชาชน และไดร้ ับฟังการเสนอประเด็นขอ้ คดิ เห็น ข้อคดิ เหน็ ตอ่ ความตอ้ งการหนว่ ยงานราชการ ภาคเอกชน ภาคท้องถนิ่ และประชาชน ในการใหภ้ าครฐั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ความเดอื ดรอ้ น ข้อรอ้ งเรยี น ตลอดจนข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ

๕๔๘ สรุปได้ว่า ทั้งฝ่ายประชาชน หน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ และสมาชิกวุฒิสภาต่างก็ได้รับ ประโยชน์จากโครงการในลักษณะที่แตกต่างกัน โดยประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการได้รู้จักบทบาท อานาจ หน้าท่ีของสมาชิกวุฒิสภา ในขณะเดียวกันทุกฝ่ายต่างกไ็ ด้เรียนรู้จากกนั และกัน โดยการรับรู้ รับฟังข้อเสนอแนะ การได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และนาข้อเสนอแนะและแนวทาง การแก้ไขส่งต่อใหแ้ ก่คณะกรรมการโครงการหรือหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบตอ่ ไป เพื่อนาไปสู่การบรรเทา ความเดือดร้อนของประชาชนในพืน้ ที่ ข้อเสนอแนะ ๑. จากรายงานผลการดาเนินงานเดือนสงิ หาคม ๒๕๖๒ – มีนาคม ๒๕๖๓ พบวา่ การตดิ ตาม เสนอแนะและเร่งรัดการปฏิรูปประเทศและการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงเป็นภารกิจและ หน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภาอยแู่ ล้ว ในการลงพ้ืนทภี่ ายใต้โครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชน จึงควร ใหค้ วามสาคญั กับเรอ่ื งน้มี ากขึ้น ๒. การลงพนื้ ท่ี ควรมีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการทกุ ครงั้ _________________________________

ภาคผนวก

คณะกรรมการอานวยการ โครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน http://gg.gg/klcz7 คณะอนุกรรมการดา้ นประชาสัมพันธ์ http://gg.gg/klce0 คณะอนุกรรมการดา้ นนโยบาย แผนงาน และประสานการปฏบิ ตั ิ http://gg.gg/kld7n คณะอนกุ รรมการดา้ นตดิ ตาม ประมวลผล และรายงานผลการปฏบิ ัติ http://gg.gg/kle1b คณะอนกุ รรมการดา้ นรวบรวม แยกเรอื่ ง และตดิ ตามเรอ่ื งร้องเรยี น http://gg.gg/kldq0

คณะกรรมการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพืน้ ทจี่ งั หวดั ตามรายภาค ภาคเหนือ (ตอนบน) http://gg.gg/klh52 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื (ตอนบน) http://gg.gg/klfio ภาคเหนอื (ตอนลา่ ง) http://gg.gg/klg0h ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (ตอนลา่ ง) http://gg.gg/klfs8 ภาคกลาง http://gg.gg/klc9s ภาคตะวนั ออก http://gg.gg/klhcw ภาคตะวนั ใต้ http://gg.gg/klf71

รายนามคณะผู้จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน ๑. นางจนิ ตนา ชยั ยวรรณาการ ประธานอนุกรรมการ ๒. นายจรินทร์ จักกะพาก อนุกรรมการ ๓. นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์ อนกุ รรมการ ๔. รองศาสตราจารยป์ ระเสรฐิ ปนิ่ ปฐมรัฐ อนุกรรมการ ๕. นายรณวรทิ ธิ์ ปริยฉัตรตระกูล อนกุ รรมการ ๖. รองศาสตราจารยศ์ ักดไ์ิ ทย สรุ กจิ บวร อนกุ รรมการ ๗. นายสมเดช นิลพนั ธ์ุ อนุกรรมการ ๘. นายออน กาจกระโทก อนกุ รรมการ ๙. นางเสาวคนธ์ จนั ทร์ผ่องศรี อนุกรรมการ ๑๐. นายปฐมพงศ์ กรเกษม อนุกรรมการ ๑๑. รองศาสตราจารยเ์ กศนิ ี ประทมุ สุวรรณ อนกุ รรมการ ๑๒. นายเดช ธรรมศริ ิ อนุกรรมการ ๑๓. นายรวิช ตาแกว้ อนุกรรมการ ๑๔. นายชาตรี ลุนดา อนกุ รรมการ ๑๕. นายพีรพฒั น์ พนั ศิริ อนุกรรมการ ๑๖. นางสาวชลธชิ า มีแสง อนุกรรมการ ๑๗. นายณฐั กร อว่ มบารุง อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ๑๘. นายกติ ติศกั ด์ิ อุไรวงศ์ อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๑๙. นายไตรรงค์ โตกระแส อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๒๐. นายปยิ ชาติ ศลิ ปะสวุ รรณ อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ๒๑. นายเกียรติศกั ดิ์ ลาพองชาติ อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๒๒. นายศรัณยศ์ ริ ิ คมั ภริ านนท์ อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ----------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook