Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Published by rujipas.kansuwan, 2020-09-13 06:52:44

Description: เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Search

Read the Text Version

๑๓๙ ๔. แผนจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๓ ประเด็นการพฒั นาท่ี ๑-๖ ๕. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารราชการของจังหวัดและท้องถิ่นมีการนาเสนอ ในดา้ นต่าง ๆ สมาชกิ วฒุ สิ ภามีข้อเสนอแนะ ดังน้ี ประเด็นต่าง ๆ ท่ีทุกภาคส่วนได้นาเสนอในท่ีประชุมน้ันมีหลายประเด็นท่ีจังหวัด หรือ หน่วยงานราชการท่ีเข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดที่ไม่สามารถดาเนินการได้ วฒุ สิ ภาจะนาข้อมลู ไปดาเนนิ การตามบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวุฒสิ ภา _________________________________ จงั หวัดอดุ รธานี วันเสาร์ท่ี ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ บ้านโนนนกหอ ต.สร้างคอม อ.สร้างคอม วิธีการดาเนนิ กจิ กรรม การลงพืน้ ทพี่ บประชาชนเพ่ือรบั ฟังความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินการ มีการลงพื้นท่ีพบประชาชน กลุ่มผู้ใช้น้า กลุ่มผู้นาสตรี ผู้สูงอายุ ผ้พู ิการ และหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ โดยผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการนาเสนอข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ ประกอบด้วย ๑. ด้านนา้ ๒. ด้านที่ดิน ๓. ด้านสาธารณูปโภค ๔. ดา้ นการเกษตร ๕. ด้านวิสาหกิจชมุ ชน สมาชกิ วฒุ ิสภามขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี ประเด็นต่าง ๆ ที่ทุกภาคส่วนได้นาเสนอในที่ประชุมนั้นมีหลายประเด็นที่จังหวัด หรือ หน่วยงานราชการท่ีเข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดที่ไม่สามารถดาเนินการได้ วุฒสิ ภาจะนาข้อมูลไปดาเนินการตามบทบาทหนา้ ทแ่ี ละอานาจของวฒุ สิ ภา _________________________________

๑๔๐ จังหวดั หนองคาย วันศุกรท์ ี่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ณ ศาลากลางจงั หวดั หนองคาย วิธกี ารดาเนนิ กจิ กรรม การประชมุ รว่ มกับส่วนราชการของจังหวดั หนองคาย ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ผลการดาเนินการ มีการประชุมร่วมพูดคุย รับฟังรายงานและข้อเสนอจากส่วนราชการ ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนของจังหวัดหนองคาย โดยมีข้อเสนอแนะจากส่วนราชการของ จังหวดั ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน ในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑. ประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัด ซึ่งอยู่ในแผนจังหวัด รอบปี พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยจังหวัด ไดก้ าหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาจังหวัดที่มีความเชอ่ื มโยงกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏริ ูปประเทศ ประกอบดว้ ย - ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ สง่ เสรมิ เกษตรย่ังยนื - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ยกระดบั มาตรฐาน การผลิต การคา้ การลงทุน การท่องเที่ยวและการบริการ - ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ เสรมิ สรา้ งความมน่ั คง เพือ่ สรา้ งสังคมสขุ สงบ - ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ พฒั นาคน ชุมชน สังคม และสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่ - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ พฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชนสมู่ าตรฐานสากล ๒. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเก่ียวกับการบริหารราชการของจังหวัดและท้องถ่ินมีการนาเสนอ ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย ๑. ด้านสิ่งแวดล้อม ๒. ด้านการกระจายอานาจสู่ท้องถ่ิน ๓. ด้านเศรษฐกิจ ๔. ด้านการท่องเท่ียว ๕. ด้านการศึกษา ๖. ด้านกฎหมาย ๗. ด้านที่ดิน ๘. ด้านการเกษตร ๙. ด้านสังคม สาหรับรายละเอยี ดของประเด็นข้อหารอื และข้อรอ้ งเรียนตา่ ง ๆ ได้นาสง่ ไปยงั คณะอนุกรรมการรวบรวม แยกเรื่องและติดตามเร่ืองร้องเรียน เพ่ือดาเนินการต่อไปตามแนวทางของคณะอานวยการโครงการ สมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชน สมาชกิ วุฒสิ ภามขี ้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นต่าง ๆ ที่ทุกภาคส่วนได้นาเสนอในที่ประชุมน้ันมีหลายประเด็นท่ีจังหวัด หรือ หน่วยงานราชการที่เข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ วฒุ สิ ภา จะนาข้อมลู ไปดาเนนิ การตามบทบาทหน้าทีแ่ ละอานาจของวุฒสิ ภา ________________________________

๑๔๑ จงั หวดั หนองคาย วันศกุ รท์ ่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ณ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย อาเภอ เมืองหนองคาย วิธกี ารดาเนินกจิ กรรม การลงพืน้ ทพี่ บปะเยาวชน ผลการดาเนนิ การ มีการพบปะและร่วมทากิจกรรมกับเยาวชน โดยมีการแบ่งกลุ่มระดมสมอง จานวน ๔ กลุ่ม เพอ่ื ร่วมกนั ระดมสมอง ในหัวข้อ “เยาวชนรุน่ ใหมก่ บั การพฒั นาประเทศ” ในด้านการเมือง และสงั คม _________________________________ จงั หวดั หนองคาย วนั เสาร์ที่ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โครงการพัฒนาลุ่มน้าหว้ ยหลวงตอนล่าง บา้ นแดนเมอื ง ตาบลวดั หลวง อาเภอโพนพิสัย วิธกี ารดาเนนิ กิจกรรม พบประชาชนกลมุ่ ผู้ใช้น้าจากลมุ่ น้าหว้ ยหลวง ผลการดาเนินการ พบประชาชนกลุ่มผู้ใช้น้าจากลุ่มน้าห้วยหลวง และรับฟังความคืบหน้าและเย่ียมชมโครงการ พัฒนาลุ่มน้าห้วยหลวงตอนล่าง และมีการรับฟังรายงานภาพรวมของโครงการพัฒนาลุ่มน้าห้วยหลวง ตอนล่าง บ้านแดนเมืองตาบล วัดหลวง อาเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย และความคืบหน้าของโครงการฯ โดยผู้อานวยการสานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดท่ี ๓ กรมชลประทาน และรับฟังข้อคิดเห็นและ ขอ้ เสนอแนะในดา้ นการใชน้ า้ จากประชาชนกลุ่มผู้ใชน้ ้าจากลมุ่ น้าหว้ ยหลวง สมาชิกวุฒิสภามขี อ้ เสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นต่าง ๆ ที่ทุกภาคส่วนได้นาเสนอในท่ีประชุมน้ันมีหลายประเด็นที่จังหวัด หรือ หน่วยงานราชการที่เข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดที่ไม่สามารถดาเนินการได้ วุฒสิ ภาจะนาข้อมูลไปดาเนินการตามบทบาทหน้าท่แี ละอานาจของวฒุ สิ ภา _________________________________

๑๔๒ ครงั้ ท่ี ๖ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จงั หวดั กลุม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) ระหว่างวนั ท่ี ๑๔-๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ ณ จังหวัดรอ้ ยเอ็ดและจังหวดั มกุ ดาหาร จังหวัดรอ้ ยเอ็ด วนั ศกุ ร์ที่ ๑๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด วิธีการดาเนินกิจกรรม การประชุมร่วมกับส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และภาคประชาชน ผลการดาเนินการ มีการประชุมร่วมพูดคุย รับฟังรายงานและข้อเสนอจากส่วนราชการ ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนของจังหวัดหนองคาย โดยมีข้อเสนอจากส่วนราชการของจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมและภาคประชาชน ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑. โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลัก คือ ภาคการเกษตรกรรม มี GPP มูลค่า ๗๓,๔๘๕ ล้านบาท จัดอยู่ในลาดับที่ ๖ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และลาดับที่ ๓๗ ของประเทศ มีรายได้ต่อหัวต่อปี ๖๘,๗๕๑ บาท จดั อยูใ่ นลาดับที่ ๑๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และลาดบั ที่ ๖๕ ของประเทศ ๒. ลักษณะพิเศษของข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้จังหวัดร้อยเอ็ด มีเอกลักษณ์ท่ีสาคัญและ แตกต่างไปจากขา้ วหอมมะลิทผ่ี ลิตจากแหลง่ ปลูกอื่นๆ จังหวัดร้อยเอด็ เปน็ ผู้ยนื่ คาขอจดทะเบียนส่ิงบ่งช้ี ทางภูมิศาสตร์ “ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้” และกรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ประกาศข้ึนทะเบียนสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ แล้วตั้งแต่วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๐ และคาขอดังกล่าวได้รับการคัดเลือกให้เป็นคาขอนา ร่องที่ย่ืนขอจดทะเบียนส่งิ บง่ ชี้ทางภูมศิ าสตรใ์ นกลุ่มสหภาพยโุ รป (EU) ๓. แผนจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๓ ประกอบด้วย ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ เพ่ิมศักยภาพการ ผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าเกษตรสู่มาตรฐานปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์ ด้วยนวัตกรรมและความ ยั่งยนื ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๒ ยกระดบั การท่องเทีย่ ว การบรกิ าร การคา้ และการลงทนุ ประเด็นการ พัฒนา ท่ี ๓ พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน และสังคม ให้เขม้ แข็ง ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๔ สร้างความ

๑๔๓ สมดลุ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมให้มคี ณุ ภาพและย่ังยืน ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๕ รกั ษาความมั่นคง ภายใน และการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ๔. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเก่ียวกับการบริหารราชการของจังหวัดและท้องถิ่นมีการนาเสนอ ในดา้ นต่าง ๆ ประกอบดว้ ย ๑) ดา้ นน้า ได้แก่ ธนาคารนา้ ใตด้ นิ , การบริหารจดั การนา้ ๒) ดา้ นการเกษตร ได้แก่ การวิจัยพนั ธพ์ุ ชื และพันธขุ์ ้าวหอมมะลิ ๓) ดา้ นคมนาคม ไดแ้ ก่ การคมนาคมทางอากาศ ๔) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว ๕) ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การตัดตน้ ไม้ ๖) ด้านสังคม และอื่น ๆ ได้แก่ การบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ การควบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ สมาชิกวุฒิสภามขี ้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นต่าง ๆ ที่ทุกภาคส่วนได้นาเสนอในท่ีประชุมนั้นมีหลายประเด็นที่จังหวัด หรือหน่วยงาน ราชการที่เข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดที่ไม่สามารถดาเนินการได้ วุฒิสภาจะนา ข้อมลู ไปดาเนินการตามบทบาทหน้าทีแ่ ละอานาจของวุฒสิ ภา _________________________________ จังหวัดร้อยเอ็ด วันเสาร์ท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โครงการชลประทานร้อยเอ็ดและ โครงการสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาชีกลาง อาเภอเชียงขวญั วิธกี ารดาเนนิ กจิ กรรม การลงพืน้ ทพ่ี บประชาชน เยาวชน และหน่วยงานภาครัฐ ผลการดาเนินการ พบปะประชาชนกลุ่มผู้ใช้น้า พร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับสถานการณ์น้า ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ การบริหารจัดการนา้ , การขดุ ลอกแหล่งน้า, ระบบทางเดินน้า, เขอ่ื นและพนังก้ันน้า, คลองส่งน้า, การสูบน้า/เงินช่วยน้าท่วม, บานเปิดปิดประตูน้า, ระบบนา้ เพื่อการเกษตร, การทาประมง, การศึกษา และ ฐานขอ้ มูลของประชาชน _________________________________

๑๔๔ จังหวัดร้อยเอ็ด วันเสาร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โครงการชลประทานร้อยเอ็ดและ โครงการสง่ น้าและบารุงรักษาชีกลาง อาเภอเชยี งขวัญ วธิ กี ารดาเนินกจิ กรรม การลงพื้นทพ่ี บเยาวชน ผลการดาเนนิ การ พบปะเยาวชนจากวิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด วิทยาลัยการเกษตร และเทคโนโลยีร้อยเอ็ด และวิทยาลัยเทคนิคการอาชีพร้อยเอ็ด โดยมีการแบ่งกลุ่มระดมสมอง จานวน ๔ กลุ่ม เพื่อรว่ มกันระดมสมอง ในหวั ขอ้ “อาชวี ะกบั การพัฒนาประเทศ” ในด้านการเมอื ง และสงั คม _________________________________ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด วนั เสาร์ที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ณ โครงการศาลาประชาคมปรางค์กู่ ตาบลมะอึ อาเภอธวัชบรุ ี วิธีการดาเนนิ กจิ กรรม การลงพื้นที่พบประชาชน ผลการดาเนินการ พบปะประชาชนพร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของจังหวัดท่ีเกี่ยวข้องมีการนาเสนอ ด้านสังคมและอื่น ๆ ในประเด็นเร่ือง การก่อสร้างพุทธมณฑลร้อยเอ็ด และเร่ืองการส่งเสริมและสนับสนุน การดาเนนิ การของโรงเรียนผสู้ ูงอายุ _________________________________

๑๔๕ จงั หวดั ร้อยเอ็ด วันเสารท์ ่ี ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ วัดวมิ ลนิวาส (บ้านหนองแก) อาเภอเมือง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม การลงพื้นทพ่ี บประชาชน ผลการดาเนนิ การ พบปะประชาชนเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการรับฟังข้อมูลการสนับสนุนการ ก่อสร้างและจัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์ของโรงพยาบาลร้อยเอ็ดซึ่งยังติดขัดด้านการการสนับสนุนการสร้างลิฟท์ และจดั หาอปุ กรณข์ องโรงพยาบาลร้อยเอ็ด สมาชิกวุฒิสภามขี อ้ เสนอแนะ ดังน้ี ประเด็นต่าง ๆ ที่ทุกภาคส่วนได้นาเสนอในท่ีประชุมนั้นมีหลายประเด็นที่จังหวัด หรือหน่วยงาน ราชการที่เข้าร่วมประชุมสามารถดาเนินการได้ แต่หากประเด็นใดท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ วุฒิสภาจะนา ขอ้ มูลไปดาเนินการตามบทบาทหน้าท่แี ละอานาจของวุฒิสภา _________________________________

๑๔๖

๒.๔ รายงานผลการดาเนนิ การโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชนในพื้นท่ี ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนลา่ ง) จานวน ๙ ครัง้ ประกอบดว้ ย ๑. ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๕-๖ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั อบุ ลราชธานี และจังหวดั ยโสธร ๒. ครัง้ ที่ ๒/๒๕๖๒ ระหวา่ งวันท่ี ๒๔-๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ศรสี ะเกษ และจังหวัด สรุ นิ ทร์ ๓. ครง้ั ที่ ๓/๒๕๖๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖-๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ชยั ภูมิ ๔. ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๖๒ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๔-๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั นครราชสีมา ๕. ครั้งท่ี ๕/๒๕๖๒ ระหว่างวันท่ี ๒๒-๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สรุ ินทรแ์ ละจังหวัด บุรรี มั ย์ ๖. ครง้ั ท่ี ๖/๒๕๖๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๖-๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั อบุ ลราชธานี จงั หวดั อานาจเจรญิ และจังหวดั ยโสธร ๗. คร้งั ที่ ๑/๒๕๖๓ ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๗-๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ ณ จังหวดั ศรสี ะเกษ ๘. ครง้ั ที่ ๒/๒๕๖๓ ระหวา่ งวันที่ ๑๔-๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั นครราชสีมา ๙. ครง้ั ท่ี ๓/๒๕๖๓ ระหว่างวนั ท่ี ๒๒-๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวัดชัยภูมิ

๑๔๗ ครั้งที่ ๑ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพื้นท่ี จงั หวดั กลุ่มภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ตอนลา่ ง) ระหวา่ งวันที่ ๕-๖ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั อุบลราชธานี และจังหวดั ยโสธร จงั หวัดอุบลราชธานี วนั พฤหัสบดที ่ี ๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ ศูนย์ชว่ ยเหลือประชาชนผปู้ ระสบ อทุ กภยั จังหวัดอบุ ลราชธานี ๒ จดุ และจงั หวัดยโสธร ๑ จดุ วิธีการดาเนินกิจกรรม ลงพนื้ ทร่ี ับทราบปญั หาจากสถานการณ์จรงิ พร้อมทงั้ พบปะเย่ียมเยยี น ใหก้ าลงั ใจและมอบสงิ่ ของอปุ โภค-บรโิ ภคแกผ่ ปู้ ระสบภยั น้าทว่ ม ผลการดาเนนิ การ คณะสมาชิกวุฒิสภาพบปะเย่ียมเยียนและให้กาลังใจแก่ผู้ประสบภัยน้าท่วมพร้อมทั้งมอบ สิ่งของเครอ่ื งอุปโภค-บริโภค จุดที่ ๑ ณ ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยทีท่ าการองคก์ ารบริหารส่วนตาบลนาเลงิ อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอบุ ลราชธานี จุดที่ ๒ ณ ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยชุมชมเบ็ญจะมะ ๑ เทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัด อบุ ลราชธานี จุดท่ี ๓ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหอย ตาบลเข่ืองคา อาเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร _________________________________

๑๔๘ จังหวัดยโสธร วันศุกร์ท่ี ๖ กันยายน ๒๕๖๒ ณ ณ ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยวัดเชียงเพ็ง (วดั บา้ น) ตาบลเชยี งเพ็ง อาเภอปา่ ติว้ วิธกี ารดาเนนิ กจิ กรรม ลงพน้ื ที่รับทราบปญั หาจากสถานการณจ์ ริง พรอ้ มทง้ั พบปะเยย่ี มเยยี น ให้กาลงั ใจและมอบสิ่งของอปุ โภค-บริโภคแกผ่ ปู้ ระสบภยั นา้ ท่วม ผลการดาเนินการ คณะสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบปะเยย่ี มเยียนและให้กาลงั ใจแกผ่ ปู้ ระสบภยั น้าทว่ มพรอ้ มทง้ั มอบ สิง่ ของเครือ่ งอปุ โภค-บรโิ ภค _________________________________

๑๔๙ คร้ังที่ ๒ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดกลุ่มภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ตอนลา่ ง) ระหวา่ งวันที่ ๒๔-๒๕ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวัดศรีสะเกษ และจังหวดั สรุ นิ ทร์ จังหวัดศรีสะเกษ วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๒ ณ ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง หมู่ท่ี ๗ ตาบลดู่ อาเภอราษไี ศล วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแกข้ ้อขดั ขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพื้นท่ีเพ่ือพบปะประชาชนเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ สมาชกิ เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบา้ นอมุ่ แสง กลมุ่ เกษตรกรนาแปลงใหญ่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน กลมุ่ สตรี และเจา้ หนา้ ท่ีปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ _________________________________ จงั หวัดศรีสะเกษ วนั องั คารที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๒ ณ หอประชุมอาเภอศลิ าลาด วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพือ่ รบั ฟงั ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพื่อ เปน็ การแกข้ ้อขัดขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนที่เพ่ือพบปะประชาชนรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของกลุ่ม เกษตรกรนาแปลงใหญ่ บา้ นโนนเหมอื ดแอ่ กลุ่มกล้วยฉาบบ้านซง่ กลมุ่ ทอเสือ่ กกบ้านโจดจกิ กลมุ่ ทอผ้า สร้อยสุดาบ้านเด่ือ กลุ่มไซซิ่ง บ้านหนองบัวหล่น กลุ่มเลี้ยงปลาดุกบ้านตาด่าง-โนนสูง กลุ่มเล้ียงโค และกลุ่มปลาร้าทรงเคร่อื ง _________________________________

๑๕๐ จงั หวัดสรุ ินทร์ วนั พุธที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมทองธารนิ ทร์ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพอื่ เป็นการแก้ข้อขดั ข้องในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนที่เพื่อพบปะประชาชนรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประธาน สภาเดก็ และเยาวชนระดับตาบล ระดบั อาเภอ และระดับจังหวดั ของจังหวดั สรุ ินทร์ สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี ๑. ขอให้มีการแก้ปัญหาด้านการคมนาคมในพ้ืนที่ตาบลตาคง อาเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ทถ่ี นนผพุ งั ทาให้การสญั จรไม่สะดวก เกิดปญั หาการรับ-ส่งนักเรียน ๒. ขอให้ปรับระยะเวลาการดารงตาแหน่งของคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน จากเดิม ๑ ปี เป็น ๒ ปี เพือ่ ใหก้ ารปฏิบัติหนา้ ทส่ี ามารถดาเนินการได้อย่างตอ่ เนื่อง ๓. การเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ที่ไมอ่ ยูใ่ นระบบการศกึ ษา สามารถดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเท่าเทียม กบั เด็กในระบบ ๔. สง่ เสรมิ ให้มพี นื้ ท่ีสร้างสรรค์สาหรับเด็กและเยาวชนให้มากขึน้ ๕. ปัญหายาเสพตดิ และปัญหาเด็กแว้น ในพ้นื ที่จงั หวดั สุรนิ ทร์ ๖. ระบบการบริหารงบประมาณของบา้ นพกั เด็กไม่เพียงพอตอ่ การดาเนินกิจกรรม และการตดิ ตาม ผลการดาเนนิ งานโครงการ จากน้ันสมาชิกวุฒิสภา ได้แลกเปล่ียนประสบการณ์และให้ข้อคิดเห็นแก่เยาวชน อาทิ การดารงชวี ติ ใหเ้ หมาะสมตามวัย การใหค้ วามสาคญั กับการศึกษา การสง่ เสรมิ วฒั นธรรมประเพณีของชาตดิ ้วย _________________________________

๑๕๑ จังหวดั สุรินทร์ วันพธุ ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ โครงการชลประทานสรุ ินทร์ อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่อื เปน็ การแกข้ ้อขัดข้องในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพื้นท่ีเพื่อรับฟังการบรรยายสรุปเก่ียวกับการบริหารจัดการน้าในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และอ่างเก็บน้าห้วยเสนง โดยได้ติดตามการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาลเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ รวมถึงพื้นท่ีลุ่มน้า ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (ตอนลา่ ง) ดังนี้ รับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้า ทาให้ได้รับทราบข้อมูลเก่ียวกับ การบริหารจัดการน้าว่า อ่างเก็บน้าห้วยเสนงและอ่างเก็บน้าอาปึลอยู่ในระดับวิกฤต เม่ือต้นเดือน เมษายน ๒๕๖๒ สืบเน่ืองมาจากเกิดภาวะแห้งแล้งจากการที่ฝนทิ้งช่วงไม่มีน้าไหลเข้าอ่าง จึงเกิดวิกฤต นา้ ประปาไม่เพียงพอต่อการอุปโภค-บริโภค สาหรับงบประมาณท่ไี ด้รับจัดสรรให้เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว จานวน ๕๐๐ ล้านบาทนนั้ กรมชลประทาน ไดร้ ับมาเพอื่ ดาเนินการนาไปดาเนินการในส่วนตา่ ง ๆ ดังนี้ จานวน ๙๕ ล้านบาท ขุดลอกอ่างเก็บน้าห้วยเสนง / จานวน ๕๐ ล้านบาท ขุดลอกอ่างเก็บน้าอาปึล/ จานวน ๔๕ ลา้ นบาท ขุดลอกอา่ งเกบ็ น้าราชมงคล/ ส่วนที่เหลอื อยใู่ นความรับผดิ ชอบของจงั หวดั สรุ ินทร์ ทง้ั น้ี คณะสมาชกิ วุฒิสภาไดเ้ สนอแนะแนวทางการแก้ไขปญั หาการบรหิ ารจดั การนา้ เพือ่ ให้เกิด ความยัง่ ยืน โดยการสรา้ งแกม้ ลงิ บริเวณลานา้ ชีน้อย เพ่อื ช่วยกกั เกบ็ น้าในช่วงที่อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยเสนง และ อ่างเก็บน้าอาปึล เกิดวิกฤตได้ ซึ่งทางสานักงานชลประทานที่ ๘ จังหวัดนครราชสีมา รับที่จะไปศึกษา และจะรายงานให้ทราบต่อไป สาหรับงบประมาณการแก้ปัญหาภยั แลง้ ในจังหวัดสรุ ินทร์ ในสว่ นที่จงั หวดั รับผิดชอบดาเนินการนั้น สมาชิกวุฒิสภาจะติดตามเพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณเกิดประโยชน์สูงสุด ตอ่ ประชาชนต่อไป _________________________________

๑๕๒ จังหวดั สุรนิ ทร์ วันพธุ ที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๒ ณ กองกาลังสรุ นารี วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่อื เป็นการแก้ขอ้ ขดั ขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนินการ พลเอก สนั่น มะเริงสิทธ์ิ สมาชิกวุฒิสภา ได้เข้าร่วมประชุมเพ่ือหารือแนวทางการแก้ไขปัญหา กลุ่มราษฎรเคลื่อนไหวเรียกร้องที่ดินทากิน (ผรท.) บ้านน้อมเกล้า หมู่ท่ี ๑๑ และหมู่ท่ี ๑๗ ตาบลบุ่งค้า อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ณ กองกาลังสุรนารี จังหวัดสุรินทร์ โดยมี กองอานวยการรักษาความมั่นคง ภายในภาค ๒ กองกาลังสุรนารี ปฏริ ูปที่ดินจังหวัดยโสธร และสว่ นท่เี ก่ียวข้องเขา้ ร่วมประชุม _________________________________

๑๕๓ ครง้ั ที่ ๓ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพื้นที่ จงั หวัดกลมุ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนล่าง) ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖-๑๗ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั ชยั ภูมิ จังหวัดชัยภูมิ วันพุธท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ วัดศรีชมพู หมู่ที่ ๖ ตาบลหนองแวง อาเภอ หนองบวั แดง วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่อื เป็นการแกข้ ้อขดั ข้องในการดาเนนิ งานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครฐั ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นท่ีเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนในพ้ืนที่ โดยมี การนาเสนอวิธีการแก้ไขปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ คือ ๑. ระดับ จังหวัด คือ ปัญหาท่ีจงั หวัดสามารถแก้ไขได้ในพืน้ ที่ ๒. ระดับกระทรวง คือ ปัญหาท่ีต้องไดร้ ับการแก้ไข จากกระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง และ ๓. ระดับรัฐบาล คือ ปัญหาใหญ่ท่ีต้องได้รับการแก้ไขในระดับนโยบาย ของประเทศ _________________________________ จังหวัดชัยภูมิ วันพุธที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้าลาสะพุง หมู่ที่ ๘ ตาบลหนองแวง อาเภอหนองบัวแดง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพือ่ เป็นการแก้ข้อขดั ขอ้ งในการดาเนนิ งานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ

๑๕๔ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นท่ีเพ่ือรับฟังบรรยายสรุปเก่ียวกับการบริหารจัดการน้าของจังหวัด ชัยภูมิ ความเป็นมาของโครงการและแผนงานการก่อสร้างอ่างเก็บน้าลาน้าเจียง และความเป็นมาและ ความก้าวหน้าของโครงการก่อสร้างอ่างเก็บนา้ ลาสะพงุ ทั้งน้ี สมาชิกวฒุ ิสภา ไดร้ ่วมพดู คุยกับประชาชนอย่างใกล้ชิดและสอบถามความรสู้ ึกของประชาชน เกี่ยวกับการก่อสร้างอ่างเก็บน้า ท้ัง ๒ แห่ง ซึ่งประชาชนในพ้ืนท่ีมีความรู้สึกยินดี และดีใจท่ีทางภาครัฐ ได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องน้าให้กับประชาชนในพื้นท่ีด้วยการก่อสร้างอ่างเก็บน้า ท้ัง ๒ แห่ง นอกจาก จะช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องของนา้ ทว่ ม-แลง้ ไดแ้ ลว้ ยงั สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั ชุมชนในอนาคตอีกดว้ ย _________________________________ จังหวัดชัยภูมิ วันพุธท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ โครงการส่งเสริมศลิ ปาชีพท่งุ กระมังบ้านหนองหอย ตามพระราชดาริ หมทู่ ี่ ๔ ตาบลกดุ ชุมแสง อาเภอหนองบวั แดง วิธีการดาเนินกจิ กรรม ๑. ให้ความรู้เกย่ี วกบั บทบาทหน้าที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะเพ่ือ รบั ฟงั ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะในด้านตา่ ง ๆ เพื่อเป็นการ แกข้ อ้ ขัดข้องในการดาเนนิ งานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนที่เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากสมาชิกกลุ่มอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน พร้อมทั้งได้เย่ียมชมพิพิธภัณฑ์ผ้าไหม และชมการสาธิตการทอผ้าไหมของสมาชิก กลุ่มอาชีพผลิตภัณฑช์ ุมชน _________________________________

๑๕๕ จังหวัดชัยภูมิ วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ อุทยานแห่งชาติตาดโตน ตาบลนาฝาย อาเภอเมืองชยั ภูมิ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพื่อรบั ฟังข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพือ่ เป็น การแกข้ อ้ ขดั ข้องในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนินการ สมาชกิ วุฒสิ ภา ได้ลงพื้นท่ีเพื่อรบั ฟังการบรรยายสรปุ เก่ียวกับโครงการปา่ รักษ์น้าโลใ่ หญช่ ัยภูมิ ดงั นี้ โครงการปา่ รักษน์ ้าโล่ใหญช่ ัยภมู ิ เปน็ โครงการหน่ึงของอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน ซึ่งได้กาหนด พ้ืนท่ีจัดการพิเศษเพ่ือสงวน คุ้มครอง ป้องกัน รักษา และฟ้ืนฟูป่าอย่างเข้มข้น โดยเป็นพ้ืนท่ีหนึ่งท่ีได้มี การดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาล ภายใตแ้ ผนการ “ภารกจิ ทวงคืนผืนป่า หย่ังกล้าลงดิน ฟนื้ ถ่ินป่า ใหญ่ นาไทยย่ังยืน” โดยปลูกจิตสานึกในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมให้กับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป เกิดความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเกิดปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกับหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ ประชาชน โดยไม่ใชง้ บประมาณจากทางราชการในการดาเนนิ การ รูปแบบการดาเนินการ ประกอบดว้ ย ๑. กจิ กรรมการสร้างฝายมีชีวิต ซ่ึงเปน็ ฝายรูปแบบใหม่ เพอ่ื ใช้ในการบรรเทาปญั หานา้ ทว่ ม และแก้ไขปญั หาภยั แล้ง เพือ่ การบรหิ ารจดั การนา้ อย่างยง่ั ยนื ปจั จุบนั ดาเนินการแลว้ เสรจ็ จานวน ๑๑๓ ฝาย ๒. กิจกรรมการสร้างป่า เป็นการปลูกต้นไม้ป่าถิ่นเดิมที่ออกดอกตามฤดูกาล ภายใต้ กิจกรรมย้อมสีสันพันธุ์ไม้ป่าคืนถ่ิน ซึ่งเป็นการดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและจังหวัดชัยภูมิ ในด้านการท่องเท่ียวและเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าให้กับธรรมชาติ โดยใช้พันธ์ุไม้ป่าที่ให้ดอกสีต่างๆ ปลูกแทรกใน ปา่ เดมิ ทม่ี ีอยู่เพือ่ เพิ่มสใี ห้กับธรรมชาติ _________________________________

๑๕๖ จังหวัดชัยภูมิ วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ บ้านช่อระกา หมู่ที่ ๑๘ ตาบลนาฝาย อาเภอเมอื งชยั ภูมิ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพื่อรบั ฟังข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื เป็น การแกข้ อ้ ขัดขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนท่ีรับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับภาพรวมของอาเภอเมืองชัยภูมิ และบรรยายสรุปข้อมูลของตาบลนาฝาย พร้อมทั้งรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชน ในพ้ืนที่ ทั้งน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้ให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับการอนุรักษ์ สืบสาน ต่อยอดและ ถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของคนในท้องถ่ินไปยังคนรุ่นหลัง เพราะผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการทอผ้าไหม สามารถสร้างอัตลักษณใ์ หก้ บั ชุมชน และสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั พน่ี อ้ งประชาชนในทอ้ งถ่นิ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี _________________________________ จังหวัดชัยภูมิ วันพฤหัสบดีท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ ศูนย์เรียนรู้ ปราชญ์ ศาสตร์พอเพียง บอกเล่ากา้ วตาม บา้ นเส้ียวน้อยพฒั นา หมูท่ ี่ ๑๑ ตาบลบ้านเล่า อาเภอเมอื งชยั ภูมิ

๑๕๗ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่และอานาจของวุฒิสภา ๒. พบปะ เพอ่ื รบั ฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพ่ือเป็น การแกข้ ้อขดั ขอ้ งในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนท่ีเพื่อเย่ียมชมโครงการเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการน้าและ การเกษตรแบบผสมผสาน ดงั นี้ ศนู ย์เรยี นรู้ ปราชญ์ ศาสตร์พอเพียง บอกเล่าก้าวตาม เป็นศูนย์เรียนรตู้ ้นแบบของการพฒั นา เศรษฐกิจตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพอเพียงของประชาชนในพื้นท่ี และเป็นต้นแบบของการสร้าง งาน สร้างอาชีพและสร้างรายได้ เพ่ือให้ประชาชนในพื้นที่สามารถประกอบอาชีพในชุมชนได้ดว้ ยตนเอง โดยใช้หลักการของการสร้างคนให้มีความรู้และมีคุณภาพ สามารถเป็นเครือข่ายในการให้ความรู้กับ บุคคลภายนอกต่อไป ปัจจุบันศูนย์เรียนรู้ ปราชญ์ ศาสตร์พอเพียง บอกเล่าก้าวตาม บ้านเสี้ยวน้อยพัฒนา สามารถสร้างเครือข่ายได้กว่า ๒๐๐ คน และมีบุคคลจากท้ังภายในประเทศและต่างประเทศเดินทาง เขา้ มาศึกษาดูงาน _________________________________

๑๕๘ คร้ังท่ี ๔ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนท่ี จงั หวดั กล่มุ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (ตอนลา่ ง) ระหว่างวันที่ ๒๔-๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา วันพฤหัสบดีท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุมสานักงานเทศบาล ตาบลบัลลังก์ อาเภอโนนไทย วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ใหข้ ้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพื่อเป็น การแก้ข้อขัดขอ้ งในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ๔. ลงพ้นื ท่ตี ิดตามสถานการณจ์ รงิ ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ไดล้ งพ้ืนท่ีเพ่อื รับฟังบรรยายสรุปการแกป้ ัญหาอุทกภยั และภัยแล้ง จากผู้แทน หน่วยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ถงึ ภาพรวมการบรหิ ารจัดการน้า และการบรหิ ารจดั การนา้ อ่างเก็บน้าลาเชยี งไกร และแผนพัฒนาและต่อยอดโครงการพัฒนาอ่างเก็บนา้ ลาเชยี งไกร ดงั นี้ การพัฒนาลุ่มน้าลาเชียงไกรในปัจจุบันไม่สามารถทาได้ในรปู แบบของการสร้างอ่างเก็บน้าเพิ่ม อีกทั้ง ยังพบสภาพปัญหาจากการที่ปริมาณฝนตกไหลเข้าอ่างเก็บน้าน้อย มีส่ิงกีดขวางลาน้าเยอะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสภาพปัญหาดินเคม็ ดังนั้น การพฒั นาลุ่มน้าลาเชียงไกรจึงทาได้ในรูปแบบของประตู ระบายนา้ เป็นช่วง ๆ ทาพืน้ ทีแ่ กม้ ลิง และขดุ ลอกอา่ งเกบ็ น้าตา่ ง ๆ เพือ่ แกป้ ญั หาภัยแล้งในพื้นที่ ทั้งนี้ สมาชิกวุฒิสภา ได้กล่าวชื่นชมการบริหารจัดการน้าที่เป็นระบบของโครงการพัฒนา อ่างเก็บน้าลาเชียงไกร และได้มีข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในประเด็นต่าง ๆ อาทิ การทาแก้มลิงในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาน้าแล้งและน้าท่วม การเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบชลประทานให้ครอบคลุมในพ้ืนท่ี จังหวัดนครราชสีมา พร้อมทั้งแนะนาให้ศึกษาต้นแบบจากโครงการพัฒนาลุ่มน้าเสียวเพื่อนามาปรับใช้ ในการแก้ปญั หาดินเคม็ ในพ้นื ที่ และเนน้ ยา้ ใหท้ กุ หนว่ ยงานบูรณาการรว่ มกันเพ่ือแก้ไขปญั หาใหก้ บั พน่ี อ้ ง ประชาชนในพ้นื ที่ _________________________________

๑๕๙ จังหวัดนครราชสีมา วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ โครงการอ่างเก็บน้าลาเชียงไกร อาเภอโนนไทย วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพ่ือรบั ฟังขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพอื่ เป็น การแก้ขอ้ ขัดขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ๔. ลงพ้นื ทตี่ ดิ ตามสถานการณ์จริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ไดล้ งพ้ืนที่เพ่อื รบั ฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผนู้ าท้องถนิ่ ทอ้ งที่ ผู้แทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง โดยได้มีการนาเสนอ ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะต่อสมาชิกวุฒิสภา ในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ขอให้มกี ารจัดหาแหล่งนา้ โดยขุด ลอกอ่างเก็บน้าเพือ่ เก็บนา้ ไว้สาหรบั การอุปโภคบรโิ ภคตาบลละ ๑ แหง่ ขอใหม้ ีการออกเอกสารสทิ ธใ์ิ นท่ี ราชพัสดุให้ประชาชน พิจารณาขยายโอกาสโครงการอาหารกลางวันให้กับโรงเรียนระดับมัธยมทั้งหมด และขอใหพ้ ิจารณาใหผ้ ใู้ หญ่บ้านได้รับบานาญภายหลังหมดวาระ เปน็ ตน้ ท้ังน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้เสนอแนะเพื่อให้ทางจังหวัดนาข้อเสนอของประชาชนไปพิจารณา หาทางแกไ้ ข โดยวุฒิสภาจะพิจารณาผลกั ดันในเรอ่ื งงบประมาณดาเนินการในสว่ นท่ีต้องเรง่ ดาเนนิ การตอ่ ไป _________________________________ จงั หวดั นครราชสีมา วันพฤหัสบดที ่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ ศูนย์เรียนร้แู ละขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งบา้ นหนองโพธ์ิ หมู่ที่ ๖ ตาบลชวี ึก อาเภอขามสะแกแสง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒิสภา ๒. พบปะ เพอื่ รับฟังข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชน ๓. ใหข้ ้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพอ่ื เป็น การแกข้ อ้ ขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ๔. ลงพ้ืนทตี่ ิดตามสถานการณจ์ รงิ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการดาเนินงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (OTOP) นวัตวิถี) เย่ียมชมตลาดประชารัฐคนไทยยิ้มได้ เยี่ยมชมฐานเรียนรู้กลุ่มอาชีพ และเยี่ยมให้กาลังใจ ผู้ป่วยติดเตียง ได้มีประชาชนสะท้อนปัญหาต่าง ๆ ในชุมชน อาทิ อุปสรรคจากการดาเนินโครงการ

๑๖๐ ชุมชนท่องเท่ียว (OTOP) นวัตวิถี เง่ือนไขในการดาเนินงานที่ไม่เอ้ือต่อความต้องการของชุมชน เช่น เป็นงบดาเนินงานสร้างสิ่งก่อสร้างท่ีมั่นคงถาวรไม่ได้ แต่ชุมชนต้องการสร้างศูนย์เรียนรู้ขนาดใหญ่ และมั่นคงถาวรเอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มอาชีพแปรรูปพริกต้องการเงินทุนหมุนเวียนในการ ซื้อวัตถุดิบตามฤดูกาลมากักตุนให้เพียงพอในการผลิตตลอดปี แต่ไม่สามารถดาเนินการได้ และบ้าน หนองโพธิ์ ไม่มีสถานท่ีท่ีเอ้ือต่อการท่องเที่ยวโดยตรง แต่เอื้อต่อการเป็นจุดเรียนรู้ดูงานด้านปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นเกษตรผสมผสาน ดงั นั้น ผู้ที่มาเยอื นเกอื บทงั้ หมดจงึ เป็นคณะศึกษาดูงานเท่านั้น _________________________________ จังหวัดนครราชสมี า วนั ศกุ ร์ท่ี ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพื่อรับฟังขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชน ๓. ใหข้ อ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะในดา้ นต่าง ๆ เพ่ือเป็น การแก้ข้อขดั ข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ๔. ลงพนื้ ท่ีติดตามสถานการณจ์ รงิ ผลการดาเนนิ การ สมาชกิ วุฒสิ ภา ไดล้ งพืน้ ทเ่ี พื่อรว่ มหารอื ข้อราชการกบั ผวู้ ่าราชการจงั หวดั และหัวหนา้ สว่ นราชการ ในจังหวัดนครราชสีมา เกี่ยวกับประเด็นปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการและการพัฒนาจังหวัด นครราชสมี า ดงั น้ี สาหรับปัญหาและอุปสรรคในการบริหารราชการของจังหวัดนครราชสีมา อาทิ ปัญหาอุปสรรค ในการบรหิ ารราชการ ขอ้ จากัดในการบรหิ ารงบประมาณ งบเร่งด่วนมนี อ้ ยเกนิ ไป การบูรณาการหน่วยงาน ในพื้นที่ การกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มี อปท. จานวน ๓๓๔ แห่ง และมีเจ้าหน้าท่ี ไม่เพียงพอ และเรอื่ งการบรหิ ารงานบุคคล การแต่งตั้งโยกย้าย ด้านการคมนาคมขนสง่ โดยต้องการผลกั ดัน ให้มีสนามบินประจาจังหวัด และปัญหาภัยแล้งท่ียังคงมีฝนตกน้อย ประชาชนขาดแคลนน้าอุปโภคและ บริโภค ซึ่งปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมา มีแผนพัฒนาที่น่าสนใจหลายด้าน อาทิ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษ ส่งเสริมการลงทุนและการท่องเท่ียว กระจายความเจริญให้ครอบคลุมจังหวัดและกระจายไปสู่

๑๖๑ ภูมิภาค ยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตของประชาชน มีแนวคิดที่จะจัดต้ังท่าเรือบก โดยคาดหวังให้เป็น จดุ ยุทธศาสตรโ์ ลจิสติกของประเทศ โดยมีเป้าหมายตามการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ (Goal) ตามคาขวัญ ทว่ี ่า “โคราชเป็นเมอื งน่าอยู่ ประชาชนมีความสุข มน่ั คง ยง่ั ยืน” ทั้งน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้มีข้อเสนอแนะในเรื่องการบริหารจัดการน้า ซ่ึงถือเป็นปัญหาสาคัญ เร่งด่วน เนื่องจากขณะนี้หลายจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปริมาณน้าฝนน้อย โดยมีข้อเสนอ ให้ส่งเร่ืองไปยังกระทรวงมหาดไทย เพื่อรัฐบาลจะได้ดาเนินการหารือและบูรณาการร่วมกับภาคส่วน ทเี่ ก่ียวข้องตอ่ ไป ส่วนในเรื่องการคมนาคม อาทิ โครงการพัฒนาเส้นทางบายพาส การบริหารเชิงพืน้ ท่ีจะมี วธิ กี ารอยา่ งไรให้เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิเกดิ ประโยชน์ตอ่ พนี่ อ้ งประชาชนและคมุ้ คา่ กบั พ่นี ้องประชาชนมากท่สี ุด _________________________________ จงั หวดั นครราชสมี า วนั ศุกร์ที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ ศนู ยก์ ารเรียนร้โู ครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดาริ บา้ นเหนือ หม่ทู ี่ ๑๕ ตาบลปากชอ่ ง อาเภอปากชอ่ ง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหนา้ ท่ีและอานาจของวฒุ ิสภา ๒. พบปะ เพอ่ื รับฟังขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชน ๓. ให้ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพอ่ื เป็น การแกข้ ้อขดั ข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครฐั ๔. ลงพน้ื ที่ติดตามสถานการณจ์ รงิ ผลการดาเนินการ สมาชกิ วุฒิสภา ได้ลงพืน้ ทเี่ พื่อร่วมหารือและรับฟังผลการดาเนินโครงการการจดั ท่ดี นิ ทากินให้ ชุมชน (คทช) แปลงบ้านกอก และบ้านเหนือ ตาบลปากช่อง และรับฟังการบรรยายสรุปข้อมูลทั่วไป ของอาเภอปากช่อง และภาพรวมของโครงการจัดที่ดินทากินให้ชุมชน (คทช.) และข้อมูลเก่ียวกับ การดาเนินงานส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี ภายใต้การจัดที่ดินทากนิ ให้กับชมุ ชน ดังน้ี โครงการจัดท่ีดินทากินให้ชุมชน (คทช.) ของจังหวัดนครราชสีมา ได้ดาเนินการใน ๓ ส่วน ได้แก่ พืน้ ท่ที เ่ี ปน็ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พน้ื ท่ีในเขตปฏริ ูปทด่ี นิ และพ้นื ทีส่ งวนเพอื่ กจิ การในนคิ มสรา้ งตนเอง ได้มีการจัดรูปท่ีดินให้กับประชาชน จานวน ๘๕ ราย (ชาย ๔๔ ราย หญิง ๔๑ ราย) รวม ๑,๐๒๑ ไร่ สาหรับการดาเนินงานของชุมชน ภายหลังการจัดสรรพ้ืนที่โดยใช้วิธีจับกลุ่มผู้ท่ีมีความคุ้นเคยและ

๑๖๒ จับสลากพื้นที่แล้ว ได้มีการแบ่งออกเป็น ๒ โซน คือ พ้ืนท่ีแบบผสมผสานท่ีมีการเลี้ยงปศุสัตว์ กับพ้ืนท่ี แบบผสมผสานที่ไม่มีการเล้ียงปศสุ ตั ว์ และได้มีการกาหนดกติกาเพือ่ ให้ปฏิบตั ริ ่วมกนั เช่น ไมใ่ ช้สารเคมี ในพ้นื ที่ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ปญั หาสาคัญของพนื้ ทค่ี อื การขาดระบบส่งนา้ เข้าชมุ ชน โดยสมาชิกวุฒิสภา ได้มีข้อเสนอแนะและแนวทางการในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหา ให้กับประชาชนในพื้นท่ี ดังนี้ ๑. พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ดังกล่าวให้เป็นต้นแบบในการเรียนรู้ และขยายผลการดาเนินงาน ไปยงั พืน้ ที่อ่ืน ๆ ในจังหวดั นครราชสีมา เน่อื งจากยงั มอี ีกหลายพน้ื ที่ทีเ่ ป็นท่ี ส.ป.ก. ท่ีสามารถนามาสร้าง ประโยชนใ์ ห้กบั ประชาชนในพืน้ ท่ีได้ ๒. ขอให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจัดหาที่ดินทากินให้กับประชาชน เพอื่ เพ่มิ โอกาสให้ประชาชนทีไ่ มม่ ที ่ีดินทากนิ สามารถประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ และลดความเหลอื่ มล้า ของคนในชุมชน ๓. พฒั นาแหล่งน้าเพอ่ื การเกษตรและอปุ โภค-บริโภค ในพ้นื ท่ีใหเ้ พิ่มมากขึ้น ๔. การบริหารจัดการระบบสหกรณ์ท่ีจะต้องมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และควรเพิ่มรายได้ ให้แก่พ่นี ้องเกษตรกรใหส้ ูงกว่าเกณฑม์ าตรฐาน เพ่ือใหท้ กุ คนพน้ เส้นความยากจน _________________________________

๑๖๓ ครั้งที่ ๕ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ ิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดกลุม่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ตอนล่าง) ระหว่างวันที่ ๒๒-๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั สรุ ินทร์ และจงั หวัดบุรรี ัมย์ จังหวัดสุรินทร์ วันศุกร์ท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุมกองร้อยอาสารักษาดินแดน อาเภอกาบเชิง ที่ ๖ ตาบลดา่ น อาเภอกาบเชงิ วธิ ีการดาเนนิ กจิ กรรม ๑. พบปะหารือร่วมกบั ผูว้ า่ ราชการจังหวัดและส่วนราชการที่เก่ียวขอ้ ง ของจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ ๒. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลุ่มต่าง ๆ และรบั ฟงั การดาเนินงานจากหน่วยงานภาครฐั ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๓. แบ่งกลุ่มสนทนาปัญหาเชงิ ลึก ๔. ลงพื้นที่ศึกษาสภาพปัญหาจริงในพื้นที่ ๕. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของ วุฒิสภา ๖. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของ ประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนท่ี ณ จุดด่านผ่านแดนถาวรช่องจอมเพ่ือร่วมประชุมโดยมีหัวหน้า ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง เข้ารว่ มประชุมพร้อมท้ังให้ขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วขอ้ งในพ้ืนท่ี ดงั น้ี ๑. การพัฒนาการค้าและการผา่ นแดนจดุ ผา่ นแดนถาวรชอ่ งจอม ๑.๑ ตลาดช่องจอมมีร้านค้าชั่วคราวท่ีผู้ค้าเป็นผู้ก่อสร้างเอง ทาด้วยโครงไม้ยูคามุงสังกะสี จานวน กวา่ ๑,๐๐๐ รา้ นค้า ไม่มคี วามมั่นคงแข็งแรงและได้มาตรฐาน ขณะนอ้ี งค์การบริหารสว่ นจังหวดั สรุ นิ ทรอ์ ย่รู ะหวา่ งการจดั ทาโครงการพฒั นาตลาดถาวรคาดวา่ จะแล้วเสร็จในปี ๒๕๖๔ ๑.๒ ด่านศุลกากรช่องจอมมีโครงการพัฒนาด่านใหม่จากด่านคู่เป็นด่านเดี่ยว จึงได้เสนอ โครงการก่อสร้างด่านศุลกากรช่องจอมแห่งใหม่ขึ้น แต่เกิดปัญหาท่ีทับซ้อนเน่ืองจากพ้ืนที่ที่จะดาเนิน โครงการอยใู่ นเขตรักษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าห้วยทับทัน - หว้ ยสาราญ ขณะน้ี ได้มกี ารตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณา จุดที่เหมาะสมที่จะดาเนินโครงการก่อสร้างด่านศุลกากรช่องจอมแห่งใหม่ของจังหวัดสุรินทร์ โดยเสนอ พ้ืนท่ีที่เหมาะสมตอ่ โครงการก่อสร้างดา่ น จานวน ๔ แห่ง

๑๖๔ ๑.๓ จากข้อมูลเม่ือเดือนกันยายน ๒๕๖๒ พบว่า มูลค่าการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา ด้านจังหวัดสุรินทร์ มีมูลค่าการค้ารวมท้ังส้ิน ๕๕๐.๒๒ ล้านบาท ลดลง ๑๕๒.๕๖ ล้านบาท หรือร้อยละ ๒๑.๗๑ เมอ่ื เทียบกบั เดือนสงิ หาคม ๒๕๖๒ ๑.๔ ปัญหาและอปุ สรรคจุดผา่ นแดนถาวรช่องจอม ไดแ้ ก่ ปัญหาทางด้านการสื่อสาร โอกาสนี้ จงึ มีขอ้ เสนอแนะให้หนว่ ยงานภาครฐั ท่ีเกย่ี วข้องเข้ามาดูแลและอานวยความสะดวกให้กับผปู้ ระกอบการ รวมท้ัง จัดให้มบี ุคลากรท่มี ีความรดู้ ้านภาษาไทย ภาษากมั พชู า และภาษาองั กฤษ ให้ความชว่ ยเหลอื และ สนับสนุนผปู้ ระกอบการทป่ี ระสงค์จะทาธุรกรรมทางการค้า การลงทุนรว่ มกนั ตอ่ ไป ๒. การติดตามการบรหิ ารงบประมาณเพือ่ แกไ้ ขปญั หาภยั แล้งของจังหวัดสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรินทร์ ได้รับจัดสรรงบประมาณเพื่อดาเนินการแก้ไขและบรรเทาความเดือดร้อนของ ประชาชนในพ้ืนท่ีอันเน่ืองมาจากปัญหาภัยแล้งและอุทกภัยในจังหวัด จานวน ๕๐๙ โครงการ งบประมาณ ๔๙๒,๗๓๙,๙๐๐ บาท (สี่ร้อยเก้าสิบสองล้านเจ็ดแสนสามหม่ืนเก้าพันเก้าร้อยบาทถ้วน) สาหรับโครงการ ที่สามารถดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ประกอบด้วย ๑. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้าราชมงคล ๒. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้าห้วยเสนง ๓. โครงการขุดลอกอ่างเกบ็ นา้ อาปลึ และ ๔. โครงการก่อสร้างสถานี สบู น้าพร้อมก่อสรา้ งระบบท่อสง่ นา้ จากเหมืองหินไปท่ีประปา ท้ังน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้รับรายละเอียดเรื่องต่าง ๆ อาทิ ปัญหาพื้นท่ีดาเนินโครงการก่อสร้าง ดา่ นชายแดนชอ่ งจอมแหง่ ใหม่ ซง่ึ เปน็ พ้นื ทที่ ับซอ้ นกับเขตปา่ สงวนแหง่ ชาตขิ องกรมปา่ ไม้ และเขตรกั ษา พันธส์ุ ัตว์ปา่ หว้ ย ทับทัน-หว้ ยสาราญ ของกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพันธุ์พืช รวมถึงวุฒสิ ภาจะตั้ง กระทู้ถามเก่ียวกับงบประมาณดาเนินโครงการขนาดใหญ่เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแลง้ จังหวัดสุรินทร์ เพื่อนา ปัญหาและนาข้อมูลท่ีได้รับจาก การลงพื้นที่ไปประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือรัฐบาลเพ่ือพิจารณา หาแนวทางช่วยเหลือและแก้ไขตอ่ ไป _________________________________

๑๖๕ จงั หวัดบุรีรัมย์ วันเสาร์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ท่ีทาการโครงการส่งน้าและบารงุ รักษา ลานางรอง โครงการเขื่อนลานางรอง อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ วิธีการดาเนนิ กจิ กรรม ๑. พบปะหารือรว่ มกบั ผวู้ ่าราชการจังหวัดและส่วนราชการท่เี กย่ี วขอ้ ง ของจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ ๒. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลุ่มต่าง ๆ และรบั ฟงั การดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ๓. แบ่งกลุ่มสนทนาปัญหาเชิงลึก ๔. ลงพ้ืนที่ศึกษาสภาพปัญหาจริงในพ้ืนท่ี ๕. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๖. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชน และหนว่ ยงานภาครัฐ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวฒุ ิสภา ไดล้ งพ้ืนทเ่ี พื่อรับฟังขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะร่วมกับส่วนราชการ ณ ที่ทาการ โครงการสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาลานางรอง โครงการเขื่อนลานางรอง อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวัด บรุ ีรัมย์ ดังน้ี ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ พร้อมหัวหน้าส่วนราชการเข้าร่วมประชุม และบรรยายสรุป ภาพรวมจังหวัด ซึ่งพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP Per capita) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อยู่ที่ ประมาณ ๖๗,๐๐๐ บาท โดยรายได้สาคัญมาจากกีฬาและการท่องเท่ียว เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ มี การประเมนิ รายได้จากการท่องเที่ยว เพิ่มข้นึ ๓,๐๐๐ ล้านบาทสาหรบั โครงการเขื่อนลานางรอง ปจั จุบนั ไม่มีปญั หาการผลิตนา้ เพ่ือการอุปโภคบริโภค นอกจากน้ี ยงั อยู่ระหว่างจัดทาโครงการผันน้าจากอ่างเก็บน้า ลาปะทิว ระยะทาง ๕๐ กิโลเมตร ขณะนี้ ดาเนนิ การไปแล้ว ๘ กิโลเมตร ซึ่งจะช่วยแก้ปญั หาการขาดแคลน น้าในอาเภอประโคนชัยไดเ้ ป็นอย่างดี โอกาสน้ี ได้มีการนาเสนอข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะและประเด็นปัญหาเพ่ือสมาชิกวุฒิสภา รับทราบ อาทิ ความต้องการขอขยายเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๘ สายอรัญประเทศ-นางรอง ปญั หาชา้ งป่าทม่ี ีจานวนประชากรเพิม่ ขึ้นเกดิ การบุกรกุ ทท่ี ากนิ และทาลายทรพั ย์สนิ ของชาวบ้าน ปัญหา ความยากจน และความเหลื่อมล้าของคนในชุมชน และปัญหาคลองส่งน้าในผ่านตาบลส้มป่อย ตื้นเขิน ไม่มีหนว่ ยงานดแู ลรบั ผิดชอบขดุ ลอก ทงั้ น้ี ผ้วู ่าราชการจงั หวัดไดร้ ับทจี่ ะไปประสานการแก้ไขเรียบรอ้ ยแล้ว _________________________________

๑๖๖ จงั หวัดบุรีรมั ย์ วนั เสาร์ท่ี ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ บริเวณแปลงประณีต ตาบลโนนดินแดง อาเภอโนนดนิ แดง วธิ ีการดาเนินกจิ กรรม ๑. พบปะหารือร่วมกบั ผวู้ ่าราชการจังหวัดและส่วนราชการท่ีเกีย่ วขอ้ ง ของจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ ๒. พบปะเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลุ่มต่าง ๆ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐทเี่ กย่ี วข้อง ๓. แบ่งกลุ่มสนทนาปัญหาเชิงลึก ๔. ลงพื้นท่ีศึกษาสภาพปัญหาจริงในพื้นที่ ๕. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒิสภา ๖. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชน และหนว่ ยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนที่เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกานัน ผู้ใหญ่บ้านและ ประชาชน ณ บริเวณแปลงประณตี ตาบลโนนดนิ แดง อาเภอโนนดนิ แดง จังหวดั บุรีรมั ย์ ดังน้ี อาเภอโนนดนิ แดง มีจานวนหมบู่ ้านทั้งส้ิน ๓๗ หมู่บน ๓ ตาบล มีกานัน ๓ คน ผู้ใหญ่บ้าน ๓๗ คน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง จานวน ๗๔ คน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ้ายรักษาความสงบ (ผรส.) ๓๗ คน สารวตั รกานัน ๖ คน และแพทย์ประจาตาบล ๓ คน รวมจานวนบุคลากรในสว่ นของการปกครองทอ้ งท่มี ี จานวนทั้งสิ้น ๑๕๗ คน สาหรับการปฏิบัติงานของกานัน ผู้ใหญ่บ้านนั้น ปฏิบัติหน้าท่ีหลักตาม พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. ๒๔๕๗ และกฎหมายอื่นที่ให้อานาจเฉพาะเพ่ือสร้างความ อยู่ดีกินดีของพ่ีน้องประชาชนให้สาเร็จ เป็นผู้ประสาน ดูแลแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนแก่ประชาชน ร่วมทุกข์ร่วมสุข ใกล้ชิดกับราษฎรในทอ้ งท่ี การลงพื้นท่ีตามโครงการ \"สมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน\" เพื่อให้สมาชิกวุฒิสภาได้ร่วม แลกเปล่ียนเรียนรู้ และรับฟังปัญหา อุปสรรคของประชาชน ผู้นาชุมชน และท้องถิ่นในพื้นท่ีเพื่อจะได้ รับทราบปัญหาความต้องการในพื้นที่อย่างแท้จริง ซึ่งการลงพ้ืนท่ีครั้งนี้ สมาชิกวุฒิสภา จะได้นาข้อมูล ที่ไดร้ ับจากการลงพ้นื ท่ีไปประสานหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องหรือรัฐบาลได้พิจารณาหาแนวทางชว่ ยเหลอื และ แกไ้ ขตอ่ ไป _________________________________

๑๖๗ จังหวัดบุรีรัมย์ วันเสาร์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ หมู่บ้านเกษตรกรตัวอย่างบ้านหนอง สะแกกวน อำเภอโนนดนิ แดง วธิ กี ารดาเนนิ กิจกรรม ๑. พบปะหารือร่วมกับผู้วา่ ราชการจังหวัดและส่วนราชการท่ีเก่ยี วข้อง ของจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ ๒. พบปะเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลุ่มต่าง ๆ และรับฟงั การดาเนนิ งานจากหน่วยงานภาครัฐที่เกย่ี วข้อง ๓. แบ่งกลมุ่ สนทนาปัญหาเชงิ ลึก ๔. ลงพื้นที่ศึกษาสภาพปัญหาจริงในพ้ืนที่ ๕. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒิสภา ๖. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชน และหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชกิ วุฒิสภา ไดล้ งพน้ื ทีเ่ พื่อรบั ฟังข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ พร้อมเยยี่ มชมผลการดาเนนิ งาน ของชมุ ชน ณ หมบู่ ้านเกษตรกรตวั อยา่ ง บา้ นหนองสะแกกวน อาเภอโนนดินแดง ดงั นี้ หมู่บ้านเกษตรกรตัวอย่าง บ้านหนองสะแกกวน อาเภอโนนดินแดงซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งชุมชน ต้นแบบทป่ี ระสบความสาเร็จในการดาเนินโครงการศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศนู ย์การเรียนรู้ชุมชน ปลอดขยะ (Zero Waste) และครัวเรือน ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยได้มีการบริหารจัดการขยะ และการลดใช้พลาสติก ผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ กิจกรรม การใช้ตะกร้า ถุงผ้าไปร้านค้า หิว้ ปน่ิ โตไปวัด คดั แยกขยะรีไซเคิลทุกครัวเรอื น ทาน้าหมักชีวภาพจากเศษอาหาร ทาปุ๋ยหมักจากใบไม้กงิ่ ไม้ เลี้ยงไส้เดือน เพื่อกาจดั ขยะอนิ ทรยี ์ ธนาคารขยะเพมิ่ ทรพั ย์ และกิจกรรมผ้าปา่ ขยะชุมชน _________________________________

๑๖๘ คร้ังที่ ๖ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้นื ที่ จังหวดั กล่มุ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (ตอนลา่ ง) ระหว่างวันท่ี ๖ - ๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ จังหวดั อบุ ลราชธานี จังหวัดอานาจเจริญ และจงั หวดั ยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี วันศุกร์ที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ แปลงเกษตรอินทรีย์บ้านหนองมัง ตาบลโนนกลาง อาเภอสาโรง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา และชี้แจง เกี่ยวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ที่วุฒิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีไดร้ ับฟังมา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดบั พื้นท่ี โดยเน้นการดาเนินงานของจังหวดั ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพือ่ รบั ฟงั ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลุ่มตา่ ง ๆ อาทิ ผู้นาทอ้ งถิ่น ทอ้ งที่ ผแู้ ทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงาน ภาครฐั ๔. ลงพ้นื ทตี่ ดิ ตามสถานการณจ์ รงิ ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนที่เพ่ือเยี่ยมชมพร้อมรับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ ดาเนนิ งานของชมุ ชนเกษตรอินทรยี บ์ ้านหนองมัง ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนนิ งานของชุมชนเกษตรอินทรีย์บา้ นหนองมงั ในประเด็นตา่ ง ๆ อาทิ โรงเรือนในการปลูกพืชไม่เพียงพอบางฤดูผลิตได้น้อย โรคพืชและศัตรูพืชที่ทาลายผลผลิตทางการ เกษตร ขาดวัสดุและอุปกรณ์ รวมถึงโรงเรือนในการแปรรูปสินค้าเกษตร ในบางฤดูกาลผลิตสินค้า ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ปัญหาที่ดินในการปลูกสร้างโรงเรือนผลิตสารชีวภัณฑ์ ตลอดจน แหล่งจาหน่าย เป็นต้น ซ่ึงกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์โนนกลางมีความต้องการขอให้ภาครัฐ ส่งเสริมสนบั สนนุ การจัดหาโรงเรือนคดั เลือกแสง โรงเรือนผลติ สารชีวภัณฑ์ และโรงเรือนแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตร

๑๖๙ ท้ังนี้ สมาชิกวุฒิสภา ได้ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการตลาดให้กับสินค้าเกษตรอินทรีย์เพิ่มเติม จากที่ต้องเช่าพื้นที่วางขายสินค้า ให้ปรับเป็นขายสินค้าผ่านทางตลาด E-commerce โดยในส่วนของ วฒุ สิ ภาอาจนาไปตั้งกระทถู้ ามรัฐบาลตอ่ ไป _________________________________ จังหวัดอุบลราชธานี วันศุกร์ท่ี ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ บ้านกระเดียน หมู่ที่ ๑ ตาบลกระเดียน อาเภอตระการพืชผล วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา และช้ีแจง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ที่วุฒิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเปน็ ๓ ระดับ คือ ระดับพ้นื ท่ี โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวัด ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซึ่งเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพื่อรบั ฟังข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อาทิ ผนู้ าทอ้ งถ่นิ ทอ้ งท่ี ผแู้ ทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและห น่วยงาน ภาครัฐ ๔. ลงพ้นื ทตี่ ิดตามสถานการณ์จริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภาได้ลงพ้ืนที่เพ่ือเย่ียมชมพร้อมรับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ ดาเนนิ งานของชุมชน พรอ้ มเย่ียมชมกจิ กรรมในหม่บู ้าน อาทิ วดั ราษฎรป์ ระดิษฐ์ (กุฏิลาย) กลุ่มออมทรัพย์ เพ่ือการผลิต ศูนย์สาธิตการตลาด ป๊ัมน้ามันหยอดเหรียญ ธนาคารขยะรีไซเคิล กลุ่มทอผ้าครัวเรือน ตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง กลุ่มแปรรปู อาหารจากเนื้อสัตว์ (แหนมคุณยา่ ) ดังน้ี จากการรับฟังทาให้สมาชกิ วฒุ ิสภา ได้ทราบวา่ บา้ นกระเดียนเป็นหมบู่ ้านที่ดาเนนิ ตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการรวมกลุ่มดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน แต่เนื่องจากสภาพพ้ืนท่ีเป็นที่ราบสูง ทาให้ผลผลิตตกต่า ความต้องการของชุมชนขณะน้ี คือ นา้ เพ่อื ทาการเกษตรและอุปโภคบรโิ ภค ทั้งน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้รับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะรวมถึงปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ตาบลกระเดยี นไว้ เพ่ือดาเนนิ การตามหน้าที่และอานาจของวุฒสิ ภาต่อไป _________________________________

๑๗๐ จงั หวัดอานาจเจริญ วนั ศุกรท์ ี่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวัดอานาจเจริญ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา และช้แี จง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ท่ีวฒุ ิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับพืน้ ที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวดั ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาที่ไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซึ่งเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพอื่ รับฟงั ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อาทิ ผู้นาท้องถิ่น ท้องท่ี ผู้แทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงาน ภาครฐั ๔. ลงพื้นทต่ี ดิ ตามสถานการณจ์ ริง ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนท่ีเพ่ือพบปะและหารือร่วมกับหัวหน้าสว่ นราชการ ผู้แทนภาคเอกชน และผู้แทนภาคประชาชนของจังหวัดอานาจเจริญ และบรรยายสรุปข้อมูลเก่ียวกับจังหวัด รวมถึง ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวัด โดยได้รับทราบประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังน้ี ปัญหาสาคัญท่ีพบในจังหวัด อาทิ ด้านเกษตรอินทรีย์ ยังพบข้อจากัดในการขับเคล่ือนเกษตร อินทรีย์อานาจเจริญ เกษตรกรยังขาดความเชื่อมั่นในการผลิต และขาดความเข้าใจในระบบการผลิต สินค้าเกษตรอินทรีย์ พ้ืนที่มีข้อจากัดเร่ืองความสมดุลของธรรมชาติ ความสมบูรณ์ของดินและน้า ยังมีน้อย สินค้าเกษตรไม่หลากหลาย มีคู่แข่งมาก มาตรฐานสินค้าเกษตรยังไม่เป็นท่ียอมรับของ ต่างประเทศ ส่วนด้านการตลาดยังมีช่องทางจัดจาหน่ายที่ไม่หลากหลาย ด้านปัญหาการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย ณ บอ่ ขยะดงสีบู ซง่ึ ปัจจบุ นั มขี ยะตกคา้ ง ๔ แสนตนั ไมส่ ามารถกาจดั ได้ทนั จึงมีปัญหาเรอื่ ง ขยะส่งกลิ่นเหม็น แมลงวัน สุนัขจรจัด และถุงพลาสติกปลิว ซึ่งท่ีผ่านมาทางเทศบาลตาบลไก่คา ได้ดาเนินโครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนเป็นพลังงานไฟฟ้าระบบปิดท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แต่ไมผ่ ่านการประชาสังคมจากประชาชนในพ้ืนท่ี ด้านปัญหาแหล่งน้าและการบริหารจัดการน้า น้าทว่ ม และแล้งในเวลาเดียวกันส่งผลให้ข้าวยืนต้นตาย น้าท่วมขังซ้าซาก และแหล่งกักเก็บน้ายังไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ และด้านปัญหาเอกสารสิทธ์ิในท่ีดินทากิน โดยมีข้อเสนอให้ผลักดันให้มีการแก้ไข

๑๗๑ พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏริ ูปทีด่ นิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ในท้องทอ่ี าเภอเมืองอานาจเจรญิ อาเภอปทุมราชวงศา ก่ิงอาเภอลืออานาจ อาเภอพนา จงั หวัดอานาจเจริญ ให้เปน็ เขตปฏิรปู ท่ีดินเพ่อื เกษตรกรรมเท่านน้ั จังหวัดอานาจเจรญิ มเี ปา้ หมายการพัฒนาจงั หวัดในหลายด้าน อาทิ การพฒั นาการผลิตสินค้า เกษตรอินทรยี ์และสนิ คา้ ปลอดภัย การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรเพ่ือเพิ่มคณุ คา่ มูลคา่ และยกระดบั สู่การเป็นเมืองสมุนไพรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาสู่เมืองการค้า การบริการ การค้าชายแดน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท่ีเข้มแข็งเพ่ือประชาชนมีรายได้ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง การ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ดิน น้า และพลังงานเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ท่ี สมดุล และยง่ั ยนื รวมทง้ั การพัฒนาคนคุณภาพสสู่ ังคมคุณธรรม มน่ั คง และสันติสุข มกี ารบรหิ ารจดั การ ภาครฐั ท่ีมธี รรมาภิบาลและทนั สมยั ทั้งนี้ สมาชิกวฒุ สิ ภา ได้รบั เรือ่ งไว้เพือ่ ดาเนนิ การตามหนา้ ที่และอานาจของวุฒสิ ภาตอ่ ไป _________________________________

๑๗๒ จงั หวัดยโสธร วันศุกร์ที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอเลิงนกทา อาเภอ กุดชุม และอาเภอไทยเจริญ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒสิ ภา และช้แี จง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ท่ีวุฒิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟังมา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดบั พืน้ ที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวัด ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซึ่งเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อาทิ ผู้นาท้องถิ่น ท้องที่ ผู้แทน ประชาชนในพ้ืนท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงาน ภาครัฐ ๔. ลงพน้ื ทีต่ ิดตามสถานการณ์จริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนท่ีเพื่อเยี่ยมชม พบปะพูดคุย พร้อมให้กาลังใจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน พร้อมรบั ฟังข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั การดาเนินงานของกลุม่ วิสาหกิจชุมชน ณ กลมุ่ วิสาหกิจ ชมุ ชนอาเภอเลิงนกทา อาเภอกดุ ชุม และอาเภอไทยเจริญ จังหวดั ยโสธร ดังน้ี ปัญหาสาคัญท่ีพบในจังหวัด อาทิ ต้องการให้เกิดการสนับสนุนส่งเสริมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน สินค้าโอท็อปของชุมชน รวมถึงการดาเนินงานของกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ในชุมชนพร้อมท้ังหาตลาดรองรับ สนิ ค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ให้เป็นท่รี ู้จักแพรห่ ลายมากยิ่งข้ึน เพ่ือสินค้า ทผ่ี ลติ ออกมาจะไดร้ ะบายออก นอกจากนี้ยังขอให้แก้ปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่า ซึ่งกระทบ ต่อระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนของคนในชุมชน ส่วนปัญหาด้านอ่ืน ๆ ท่ีพบ เช่น ด้านการคมนาคม ถนน ที่เช่อื มตอ่ ระหวา่ งตาบล หม่บู า้ น มีสภาพเป็นถนนลกู รงั ชารดุ เป็นหลุม เป็นบ่อ การเดินทางสัญจรไปมา มคี วามลาบาก ปัญหาน้าเพ่อื การเกษตรไมเ่ พียงพอต่อการทาการเกษตร และปัญหาการผลกั ดนั สนามบนิ เลิงนกทา ใหเ้ ปน็ สนามบินพาณิชย์ เป็นตน้ _________________________________

๑๗๓ ครัง้ ท่ี ๗ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพื้นที่ จงั หวดั กลมุ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ระหว่างวนั ที่ ๑๗ - ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ ณ จังหวัดศรสี ะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ วันศุกร์ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ วัดบ้านสร้างเรือง ตาบลหญ้าปล้อง อาเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒสิ ภา และชแี้ จง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหน้าท่ีวฒุ ิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดบั พ้ืนท่ี โดยเน้นการดาเนินงานของจังหวดั ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพื่อรับฟังข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชนกลมุ่ ต่าง ๆ อาทิ ผู้นาทอ้ งถิน่ ท้องที่ ผ้แู ทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงาน ภาครัฐ ๔. ลงพ้นื ท่ีติดตามสถานการณ์จริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพ้ืนที่เพื่อพบปะและรับฟังการสะท้อนปัญหาต่าง ๆ จากประชาชนในพื้นที่ ดังนี้ ประชาชนในพื้นที่ได้สะท้อนปัญหาให้สมาชิกวุฒิสภารับทราบ ได้แก่ ปัญหาท่ีดินสาธารณประโยชน์ โนนปา่ ยาง ซง่ึ เป็นปญั หาทด่ี นิ ทากนิ ทีเ่ รื้อรังมาเปน็ ระยะเวลานานหลายสบิ ปี _________________________________

๑๗๔ จังหวัดศรีสะเกษ วันศุกร์ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ บ้านโนน หมู่ที่ ๕ ตาบลโพนข่า อาเภอ เมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา และช้ีแจง เกี่ยวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ที่วฒุ ิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้รับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเปน็ ๓ ระดับ คือ ระดับพื้นที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจังหวดั ระดับกระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อาทิ ผู้นาท้องถิ่น ท้องท่ี ผู้แทนประชาชนในพ้ืนที่ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ๔. ลงพ้นื ทต่ี ิดตามสถานการณจ์ ริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นท่ีเพื่อพบปะพร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการ ดาเนนิ งานของกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนกลมุ่ เกษตรกร และชาวบ้านในพื้นที่ ดงั น้ี สาหรับปัญหาสาคัญท่ีพบในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกร และประชาชนในพ้ืนที่ อาทิ ผู้ประกอบการและประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการทาเกษตรอินทรีย์ ไม่มีสถานท่ี จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์แปรรูปวิสาหกิจชุมชน ปัญหาขาดแคลนแหล่งน้าในการทาการเกษตร และอุปโภคบริโภค และปัญหาด้านการตลาดข้าวหอมมะลิ แม้จะมีตลาดแต่ถูกจากัดด้วยระบบโควต้า ของโรงสี นอกจากน้ี ยังพบปญั หาเกยี่ วกับที่ดิน ส.ป.ก. ทีไ่ มอ่ าจถือกรรมสทิ ธ์ไิ ด้ ปัญหาการเสยี ค่าใชจ้ ่าย ในการตดิ มิเตอร์บอ่ บาดาลในท่ีดินของตนเอง โดยกฎหมายกาหนดใหก้ ารขุดเจาะบอ่ บาดาลตอ้ งขออนุญาต เพื่อตดิ ตง้ั มิเตอรแ์ ละเสียคา่ ใชจ้ า่ ย ทาให้เกษตรกรมตี น้ ทนุ มากขน้ึ โดยสมาชิกวุฒิสภา ได้ร่วมให้กาลังใจและข้อเสนอแนะ อาทิ สร้างเครือข่ายเพื่อเพิ่มพื้นที่ จาหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ในตลาดที่มีอยู่ เกษตรกรต้องรักษามาตรฐานและทาความเข้าใจ เก่ียวกับการปลูกข้าวอินทรีย์อย่างแท้จริงเพ่ือลดต้นทุนและเพ่ิมผลผลิต ซ่ึงในส่วนของการจัดหาตลาด จาหน่ายสินค้านั้นกระทรวงพาณิชย์จะเป็นผู้ดาเนินการ เกษตรต้องมีการส่งเสริมการปลูกข้าวที่เป็น เอกลักษณ์และเหมาะสมกับพื้นท่ีเพ่ือให้ได้ข้าวท่ีมีคุณภาพ และจาหน่ายได้ราคาดี และสาหรับประเด็น ปัญหาด้านอ่ืนๆ ทางคณะกรรมการโครงการฯ ได้รับเร่ืองไว้เพ่ือดาเนินการตามหน้าท่ีและอานาจของ วุฒิสภาตอ่ ไป _________________________________

๑๗๕ จงั หวดั ศรีสะเกษ วนั ศุกรท์ ี่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ ตลาดกรีนช๊อป และตลาดยูเทิร์น อาเภอ เมืองศรีสะเกษ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒสิ ภา และชแ้ี จง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ท่ีวฒุ ิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีได้รับฟังมา ไปดาเนินการ โดยแบง่ เป็น ๓ ระดับ คือ ระดับพื้นท่ี โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวดั ระดับกระทรวง คือ ปัญหาที่ไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพ่ือรบั ฟังขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชนกลมุ่ ต่าง ๆ อาทิ ผนู้ าท้องถ่นิ ท้องที่ ผ้แู ทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ๔. ลงพื้นที่ตดิ ตามสถานการณจ์ ริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นท่ีเพื่อสารวจตลาดและเพ่ือติดตามสถานการณ์การค้าขายตามโครงการ ตลาดประชารัฐของรัฐบาลกรนี ช๊อป และตลาดยูเทิร์น อาเภอเมอื งศรีสะเกษ จงั หวัดศรีสะเกษ โดยได้ร่วมให้กาลังใจพ่อค้าแม่ และมีข้อเสนอแนะ อาทิ การขยายตลาดในการจาหน่ายสินค้า ไปตามแหล่งชุมชน การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์เพ่ือดึงดูดความสนใจ นอกจากน้ี ทางคณะกรรมการโครงการฯ ยงั ได้ร่วมอดุ หนนุ สินค้าทางการเกษตรอกี ดว้ ย _________________________________ จังหวดั ศรสี ะเกษ วันเสารท์ ี่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ ณ ตลาดเช้าศรีสะเกษ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒสิ ภา และชีแ้ จง เก่ียวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหน้าที่วุฒิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเปน็ ๓ ระดับ คือ ระดบั พื้นที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวดั ระดบั กระทรวง คือ ปัญหาท่ีไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพือ่ รบั ฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลมุ่ ตา่ ง ๆ อาทิ ผนู้ าท้องถน่ิ ท้องที่ ผ้แู ทน ประชาชนในพ้ืนที่ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ

๑๗๖ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงาน ภาครฐั ๔. ลงพน้ื ที่ติดตามสถานการณ์จริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้ลงพื้นท่ีเพ่ือสารวจตลาดและเพื่อติดตามสถานการณ์การค้าขาย โดยสินค้า ทีว่ างจาหน่ายประกอบด้วย พริก กระเทียม และหอมแดง เปน็ หลัก ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจในพ้ืนทีจ่ ังหวัด ศรสี ะเกษ _________________________________ จังหวัดศรีสะเกษ วันเสาร์ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ ณ อาคารเอนกประสงค์องค์การบริหาร ส่วนตาบลทาม อาเภอกันทรารมย์ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒสิ ภา และชแี้ จง เกี่ยวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหน้าที่วุฒิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ไดร้ ับฟังมา ไปดาเนินการ โดยแบง่ เปน็ ๓ ระดับ คือ ระดบั พื้นที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจงั หวดั ระดับกระทรวง คือ ปัญหาที่ไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซ่ึงเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลุ่มต่าง ๆ อาทิ ผู้นาท้องถ่ิน ท้องท่ี ผู้แทน ประชาชนในพ้ืนที่ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ ๔. ลงพ้ืนทต่ี ดิ ตามสถานการณจ์ ริง

๑๗๗ ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนท่ีเพ่ือพบปะพร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับ การดาเนินงานของกลุ่มเกษตรกรในพื้นท่ี และกลุ่มเกษตรกรปลูกพริกในโครงการแปลงพริก (๑ ไร่ ๑ แสน) ดงั นี้ ปัญหาสาคัญท่ีพบในกลุ่มเกษตรกรปลูกพริก อาทิ ปัญหาต้นทุนการผลิตสูง โดยเฉพาะต้นทุน การเก็บเกี่ยว ข้อตกลงการค้าเสรีทาให้พริกจากประเทศเพ่ือนบ้านทะลักเข้ามายังตลาดประเทศไทย สง่ ผลใหก้ ลายเป็นตัวกาหนดราคาพรกิ ของประเทศไทย ปัญหาโรคพืชและศัตรพู ืช ปัญหาด้านโลจิสติกส์ เนื่องจากการส่งออกพริกไปขายยังต่างประเทศจะต้องใช้เวลานาน ส่งผลให้พริกเน่าเสีย นอกจากน้ี ยงั พบปัญหาการขาดเอกสารสิทธ์ิท่ีดิน ส.ป.ก. ปัญหาเร่ืองข้าว ที่ยังขาดน้าในการเพาะปลูก จากปัญหา อุทกภัยและภัยแล้ง ซ่ึงท่ีผ่านมาประชาชนได้เสนอให้ภาครัฐสร้างอ่างกักเก็บน้าไว้ใช้ในการเกษตร แตต่ ิดขดั ในดา้ นปญั หาเชงิ วิศวกรรม ท้ังนี้ สมาชิกวุฒิสภา ได้ร่วมให้กาลังใจและมีข้อเสนอแนะ อาทิ ปัญหาขาดแคลนน้า เพ่ือการเกษตร มอบหมายให้กรมชลประทานเข้ามาดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้า ทางการเกษตรให้กับประชาชน เกษตรกรต้องร่วมมือกันส่งเสริมการปลูกพริกแบบลดการใช้สารเคมี เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ไม่ขยายการเพาะปลูกเพียงเพราะว่าสินค้าชนิดน้ันขายได้ราคาสูง เพราะอาจทาให้สินค้าล้นตลาด และต้องรักษาคุณภาพของสินค้าการเกษตรเพื่อให้สินค้าขายได้ราคา สาหรับประเด็นปัญหาด้านอ่ืนๆ ทางคณะกรรมการโครงการฯ ได้รับเร่ืองไว้เพื่อดาเนินการตามหน้าท่ี และอานาจของวุฒสิ ภาต่อไป _________________________________ จังหวัดศรีสะเกษ วันเสาร์ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ ณ วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร และวัฒนธรรม เผ่าลาวละทายพอเพียงบ้านละทาย หมู่ท่ี ๑ ตาบลละทาย อาเภอกันทรารมย์

๑๗๘ วธิ ีการดาเนินกิจกรรม ๑. ใหค้ วามรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒสิ ภา และชี้แจง เกี่ยวกับการดาเนินการภายใต้บทบาทหนา้ ท่ีวฒุ ิสภา ในการนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้รับฟงั มา ไปดาเนินการ โดยแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับพืน้ ที่ โดยเน้นการดาเนินงานของจังหวัด ระดับกระทรวง คือ ปัญหาที่ไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับจังหวัด และระดับรัฐบาล ซึ่งเป็นการแก้ไขเชิงนโยบาย ๒. พบปะเพ่ือรบั ฟังขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชนกลุม่ ตา่ ง ๆ อาทิ ผนู้ าทอ้ งถิ่น ท้องท่ี ผ้แู ทน ประชาชนในพื้นท่ี และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้อง ๓. ให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขัดขอ้ งในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ๔. ลงพน้ื ทีต่ ิดตามสถานการณจ์ ริง ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนที่เพื่อพบปะพร้อมรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับ การดาเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม เผ่าลาวละทายพอเพียง บ้านละทาย ดังนี้ สาหรับปัญหาท่ีพบในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเท่ียวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม เผ่าลาวละทาย พอเพียงบ้านละทาย พบว่า ชาวบ้านมีความต้องการการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม เพ่ือที่จะเป็นการสร้างอาชีพ และรายไดใ้ ห้กบั คนในชุมชนไดม้ ากขึน้ สาหรับประเด็นปัญหาที่ทางกลุ่มได้นาเสนอมาน้ันทางคณะกรรมการโครงการฯ ได้รับเร่ืองไว้ เพื่อดาเนนิ การตามหนา้ ทแ่ี ละอานาจของวฒุ สิ ภาต่อไป _________________________________

๑๗๙ ครั้งที่ ๘ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชนในพน้ื ท่ี จงั หวัดกลมุ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื (ตอนลา่ ง) ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๔-๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ณ จังหวัดนครราชสมี า จังหวดั นครราชสีมา วันศกุ ร์ท่ี ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา และโรงพยาบาลค่ายสุรนารี วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. เยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้ได้รับบาดเจ็บท่ีพักรักษาตัวในโรงพยาบาล จานวน ๒๓ คน ๒. เยีย่ มเยยี นให้กาลงั ใจครอบครวั ผเู้ สยี ชวี ิต จานวน ๑ ครอบครัว ๓. พบปะแสดงความ ชนื่ ชมการทาหน้าท่ีของคณะครูและเจ้าหนา้ ท่รี ักษาความปลอดภัยท่ีปฏิบัติหนา้ ที่ในการดูแลลูกค้าทาให้ ได้รับความปลอดภัย ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนที่เพื่อเยี่ยมเยียนให้กาลังใจ พร้อมทั้งมอบกระเช้าของเยี่ยม ใหแ้ กผ่ ไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ จากเหตุการณ์ซงึ่ พกั รกั ษาตัว ณ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา รวมจานวน ๑๖ คน จากน้ัน เดินทางต่อไปโรงพยาบาลค่ายสุรนารี เพ่ือเยี่ยมเยียนให้กาลังใจ พร้อมทั้งมอบกระเช้าของ เยีย่ มให้แก่ผูไ้ ด้รับบาดเจ็บ จานวน ๔ คน จากการพบปะพูดคุยกับผู้ได้รับบาดเจ็บและครอบครัว พบว่า ส่วนใหญ่มีกาลังใจดี ได้รับการ ดูแลจากแพทย์ พยาบาล ในระหว่างการพักรักษาตัวเป็นอย่างดี อีกท้ังมีหน่วยงานต่าง ๆ มาพบเพื่อให้ กาลังใจอย่างสมา่ เสมอ สมาชิกวุฒิสภา ได้หารือกันในเบ้ืองต้น เห็นควรเร่งดาเนินการเพื่อเป็นการสร้างขวัญกาลังใจ ใหก้ ับประชาชนในพื้นทีใ่ ห้กลับคืนมาโดยเรว็ ทีส่ ุด อีกท้ังยังจะเปน็ การสร้างความเช่ือมั่นใหก้ ับผู้ประกอบ กิจการร้านค้า การลงทนุ ในด้านตา่ ง ๆ ของจังหวัดอกี ดว้ ย ซง่ึ วฒุ สิ ภาจะไดน้ าเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดขึ้นในครัง้ นี้ ไปถอดบทเรียนเพื่อพิจารณากฎหมายที่เก่ียวข้อง พรอ้ มมาตรการต่าง ๆ ท่ีจะนาไปสู่การป้องกนั การก่อ ความรนุ แรงในอนาคตอีกด้วย _________________________________

๑๘๐ จังหวดั นครราชสมี า วนั ศกุ ร์ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ วัดสุทธจินดาวรวิหาร อาเภอเมือง นครราชสีมา วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. เยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้ได้รับบาดเจ็บที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล จานวน ๒๓ คน ๒. เยี่ยมเยยี นให้กาลังใจครอบครวั ผ้เู สียชวี ิต จานวน ๑ ครอบครัว ๓. พบปะแสดงความ ชื่นชมการทาหน้าท่ีของคณะครูและเจ้าหนา้ ท่ีรักษาความปลอดภัยที่ปฏิบัติหนา้ ทใี่ นการดูแลลูกค้าทาให้ ไดร้ ับความปลอดภัย ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ไดเ้ ดนิ ทางลงพน้ื ทเ่ี พื่อเยยี่ มเยยี นใหก้ าลงั ใจ และร่วมพระพธิ ีสวดพระอภิธรรม ในพระบรมราชานุเคราะห์ครอบครัวผู้ประสบเหตุการณ์สูญเสียชีวิต พร้อมมอบเงินท่ีมาจากการสมทบ ทนุ ของสมาชิกวุฒสิ ภา _________________________________ จังหวัดนครราชสีมา วันเสาร์ท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โรงพยาบาลกรุงเทพ-ราชสีมา อาเภอเมืองนครราชสีมา วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. เยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้ได้รับบาดเจ็บท่ีพักรักษาตัวในโรงพยาบาล จานวน ๒๓ คน ๒. เยี่ยมเยียนให้กาลังใจครอบครัวผู้เสียชีวิต จานวน ๑ ครอบครัว ๓. พบปะแสดง ความชื่นชมการทาหน้าทขี่ องคณะครูและเจ้าหน้าท่ีรกั ษาความปลอดภัยท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในการดูแลลูกค้า ทาให้ได้รบั ความปลอดภัย

๑๘๑ ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนที่เพ่ือพบปะเยี่ยมเยียนให้กาลังใจ พร้อมมอบกระเช้าเยี่ยม ใหแ้ ก่ผู้ได้รับบาดเจบ็ จากเหตุการณ์ทีพ่ ักรักษาตวั จานวน ๒ คน ณ โรงพยาบาลกรุงเทพ-ราชสีมา อาเภอ เมืองนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา _________________________________ จังหวัดนครราชสมี า วันเสาร์ท่ี ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ศูนย์การค้าเทอร์มินอล ๒๑ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. เย่ียมเยียนให้กาลังใจผู้ได้รับบาดเจ็บท่ีพักรักษาตัวในโรงพยาบาล จานวน ๒๓ คน ๒. เย่ยี มเยยี นให้กาลงั ใจครอบครัวผู้เสียชวี ิต จานวน ๑ ครอบครัว ๓. พบปะแสดงความ ช่นื ชมการทาหน้าท่ีของคณะครูและเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่ปฏบิ ัติหน้าทใ่ี นการดูแลลูกค้าทาให้ ไดร้ ับความปลอดภัย ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบปะเย่ียมเยียนให้กาลังใจและแสดงความช่ืนชมแก่ คณะครูโรงเรียนสอนกวดวิชา Anny Talk และคณะเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของศูนย์การค้า เทอร์มินอล ๒๑ _________________________________

๑๘๒ คร้ังที่ ๙ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชนในพนื้ ที่ จงั หวดั กลุ่มภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ระหวา่ งวันท่ี ๒๒-๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ณ จังหวัดชยั ภูมิ จังหวัดชัยภูมิ วันเสาร์ท่ี ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ วิสาหกิจชุมชนทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ อาเภอหนองบัวแดง วิธกี ารดาเนินกิจกรรม ๑. พบปะเพอ่ื รบั ฟังข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชนกล่มุ ต่าง ๆ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ๒. ลงพ้ืนที่ศึกษาสภาพปัญหาจริงในพ้ืนที่ ๓. ให้ความรู้เกีย่ วกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๔. ให้ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะในด้านตา่ ง ๆ เพือ่ เป็นการแกข้ ้อขดั ข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนที่เพ่ือพบปะหารือและรับฟังข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะจาก กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน ดังนี้ สมาชิกกลุ่มตา่ ง ๆ ไดน้ าเสนอข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และประเดน็ ปญั หาเพ่อื สมาชิกวุฒสิ ภา รับทราบ ประกอบด้วย กลุ่มผู้เล้ียงจ้ิงหรีดบ้านหนองสโน มีเงินหมุนเวียน ๑ ล้านกว่าบาท กลุ่มปลูก กล้วยหอมทองปลอดสารเคมีส่งออกประเทศญ่ีปุ่น จานวน ๕๐๐ไร่ กลุ่มเล้ียงไส้เดือน กลุ่มปลูก หน่อไม้ฝรั่งส่งออกไปเวียดนาม กลุ่มเกษตรอินทรีย์/นาอินทรีย์/นาปราณีต กลุ่มปลูกหม่อนเล้ียงไหม บา้ นโนนสีสง่า มีพืน้ ที่ในการเล้ียงใหม่ จานวน ๑๐๐ ไร่ และบ้านนาทุ่งใหญ่ จานวน ๕๐๐ ไร่ กลุ่มปลูก ผักอินทรีย์ส่งโรงพยาบาลหนองบัวแดงและโรงพยาบาลภักดีชุมพล กลุ่มปลูกไผ่เป็นไม้เศรษฐกิจ กลุ่มสมาชิกผู้เล้ียงโค กลุ่มอนุรักษ์สมุนไพร กลุ่มปลูกเห็ดอินทรีย์ กลุ่มเมล็ดพันธ์ุ และตัวแทนนักเรียน โรงเรียนหนองบัวแดงวิทยา ได้ร่วมกันนาเสนอประเด็นปัญหา อาทิ ผลกระทบจากภัยแล้งและพายุ ฤดูร้อนซ่ึงส่งผลต่อภาคการเกษตรส่งผลให้พืชผลเสียหาย ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน ขาดตลาดส่งออกสินค้าทางการเกษตร ต้องการพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อสูบน้ามาใช้เพ่ือการอุปโภค

๑๘๓ บริโภค และทาการเกษตร เอกสารสิทธ์ิที่ดินทากิน และผลกระทบจากการก่อสรา้ งโรงงานอุตสาหกรรม ซง่ึ อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ ความเป็นอยูข่ องคนในชุมชน เช่น มลพษิ ทางอากาศ ฝุ่นละอองจากรถบรรทุก พ่วง อบุ ตั ิเหตุจากรถบรรทุกเนอื่ งจากถนนคับแคบ วิถีชีวติ วัฒนธรรมของชมุ ชนเปล่ียนแปลงไป ความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มต่าง ๆ เป็นที่น่าช่ืนชม ขณะเดียวกันได้รับทราบปัญหา โดยเฉพาะเร่ืองการขาดแคลนน้าท่ีตอ้ งนาไปประสานรัฐบาลช่วยแก้ไขปญั หา ท้ังวิธีการนาน้าใตด้ ินมาใช้ และการนาพลังงานแสงอาทิตย์หรือพลังงานทดแทนมาใช้ ซ่ึงสอดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชน สาหรับเรื่องการต้ังโรงงานอุตสาหกรรมในพ้ืนที่ท่ีประชาชนเกรงจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชนน้ัน จะนาไปประสานกับส่วนที่เก่ียวข้อง ทั้งน้ีหากจะต้ังโรงงานอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีจะต้องเป็น มติ รกับสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อชุมชนอยา่ งแท้จริงและเกดิ การยอมรับท้ังสองฝ่าย สาหรับประเด็นข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่พบในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและประชาชนในพื้นท่ี สมาชกิ วุฒิสภาได้รับเรื่องไว้ เพ่ือดาเนินการตามหนา้ ท่แี ละอานาจของวุฒสิ ภาตอ่ ไป _________________________________ จังหวัดชยั ภูมิ วนั เสาร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ บ้านนาทุ่งใหญ่ ตาบลกุดชุมแสง อาเภอ หนองบัวแดง วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. พบปะเพื่อรับฟงั ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากประชาชนกลุ่มตา่ ง ๆ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ๒. ลงพื้นท่ีศึกษาสภาพปัญหาจริงในพื้นที่ ๓. ให้ความร้เู ก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวุฒิสภา ๔. ใหข้ ้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านตา่ ง ๆ เพ่อื เปน็ การแกข้ อ้ ขัดขอ้ งในการดาเนนิ งานของประชาชนและหน่วยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนท่ีเพื่อพบปะรับฟังข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ พรอ้ มเย่ยี มชม การดาเนินงานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ณ บ้านนาทุ่งใหญ่ ตาบลกุดชุมแสง อาเภอ หนองบัวแดง จงั หวัดชัยภมู ิ โดยมีประเด็นข้อคิดเหน็ ดังน้ี

๑๘๔ การขาดแหล่งน้าในการปลูกต้นหม่อนเพื่อนามาเล้ียงหนอนไหม ต้องการวัสดุอุปกรณ์ในการ เลีย้ งไหม และต้องการตลาดสาหรับการส่งออกโดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ทั้งน้ี สาหรับประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ สมาชิกวุฒิสภาได้รับเร่ืองไว้เพื่อ ดาเนนิ การตามหน้าท่แี ละอานาจของวุฒสิ ภาตอ่ ไป _________________________________ จงั หวัดชัยภมู ิ วันอาทติ ย์ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ลานวัฒนธรรมบูรพา หมู่ท่ี ๑๔ ตาบล บ้านเขว้า อาเภอบ้านเขว้า วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลมุ่ ตา่ ง ๆ และรบั ฟังการดาเนินงานจากหนว่ ยงานภาครฐั ที่เกี่ยวข้อง ๒. ลงพื้นที่ศกึ ษาสภาพปัญหาจริง ในพื้นที่ ๓. ให้ความรู้เก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภา ๔. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในดา้ นตา่ ง ๆ เพ่ือเป็นการแก้ข้อขดั ข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครฐั ผลการดาเนนิ การ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดินทางลงพ้ืนที่เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกลุ่มปราชญ์ ชาวบ้าน ผผู้ ลติ ผา้ ไหมตามวถิ ีแบบดง้ั เดิมอาเภอบา้ นเขวา้ ดังนี้ ตอ้ งการใหผ้ ลกั ดนั เรอื่ งการจัดตง้ั ศนู ยเ์ รียนรู้ผ้าไหมบา้ นเขว้าเพ่อื เป็นศูนย์เรยี นรู้อนุรกั ษ์ผ้าไหม และถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นใหม่ในชุมชนต่อไป รวมถึงใช้เป็นพ้ืนที่สาธารณะประโยชน์ และจุดศูนย์ รวมในการผลิตผ้าไหมของคนในหมู่บ้าน อีกทั้ง ต้องการให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้ความรู้ความ เข้าใจแก่ชาวบ้านผู้ผลิตผ้าไหมในการคดิ คน้ ส่งเสริมลวดลายใหม่ ๆ ยกระดับคณุ ภาพของผ้าไหมด้ังเดิม ซงึ่ ถอื เป็นเสนห่ ์ของผา้ ไหมบ้านเขว้าใหเ้ ป็นที่รู้จักอยา่ งแพร่หลาย ทั้งน้ี สมาชิกวุฒิสภา ได้ร่วมกันให้กาลังใจและข้อเสนอแนะ อาทิ ผ้าไหมชัยภูมิเป็นผลิตภัณฑ์ ทมี่ ีอัตลกั ษณ์ มจี ุดเดน่ เรื่องการยอ้ มสีธรรมชาติ และจากการลงพื้นที่พบเกษตรกรโดยตรงทาให้ได้ทราบ ทกุ ข้ันตอนกวา่ จะมาเปน็ ผ้าไหม จงึ เหน็ ควรสนับสนุนใหม้ ีการปลูกหม่อนเลย้ี งไหมทั้งประเภทกลุ่มผู้เล้ียงไหม

๑๘๕ เพอ่ื ขายเส้นไหมให้กับพอ่ คา้ และกล่มุ ผ้ปู ลูกหมอ่ นเล้ยี งไหมเพอื่ นามาทอผ้าไหมขายเอง และปญั หาภัยแล้ง เปน็ เรื่องสาคัญทีต่ ้อง เร่งผลกั ดันชว่ ยเหลือ เพราะเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของประชาชน ท้ังปัญหานา้ หลาก และน้าแล้ง และในบางพน้ื ที่ประชาชนมีความตอ้ งการใช้พลังงานทดแทนเพือ่ นานา้ ใตด้ ินขนึ้ มาใช้ โดยจะ รบั เร่อื งนีไ้ ปผลกั ดนั ให้รฐั บาลรบั ทราบถึงปญั หาดงั กล่าวและแกไ้ ขปญั หาใหก้ บั ประชาชนต่อไป _________________________________ จังหวัดชัยภูมิ วันอาทิตย์ท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ หนองล่ม บ้านท่าแก หมู่ที่ ๒ ตาบล ลุ่มลาชี อาเภอบ้านเขว้า วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. พบปะเพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชน กลมุ่ ต่าง ๆ และรบั ฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครฐั ท่ีเก่ียวข้อง ๒. ลงพื้นท่ีศกึ ษาสภาพปัญหาจริง ในพนื้ ท่ี ๓. ให้ความร้เู กย่ี วกบั บทบาทหนา้ ท่แี ละอานาจของวุฒสิ ภา ๔. ให้ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะใน ดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ เปน็ การแก้ข้อขัดข้องในการดาเนินงานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ผลการดาเนินการ สมาชิกวุฒิสภา ได้เดนิ ทางลงพน้ื ท่ีเพอ่ื รับฟงั ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั ปัญหาภยั แล้ง ณ หนองหลม่ บา้ นทา่ แก ตาบลลุ่มลาชี อาเภอบา้ นเขวา้ จังหวดั ชยั ภูมิ ดังน้ี หนองหลม่ บ้านทา่ แกเป็นแหลง่ นา้ สาคญั ในพ้นื ทท่ี ีม่ คี ณะกรรมการบริหารจดั การน้าเพอ่ื ให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด และเกษตรกรในพื้นที่ทาการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปลูกพืชแบบผสมผสาน สาหรับ ประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีพบ อาทิ เรื่องการผันน้าจากแหล่งน้าเพื่อใช้ในการเกษตร โดยชาวบา้ นยงั ตอ้ งอาศยั เคร่อื งจกั รกลทีใ่ ชน้ ้ามนั เช้ือเพลิงเปน็ ตวั กลางในการขับเคลื่อนจึงทาใหต้ น้ ทนุ ใน กระบวนการผลิตผลผลิตทางการเกษตรมีราคาสูงข้ึน จึงต้องการได้รับการสนับสนุนพลังงานทดแทน พลงั งานแสงอาทติ ย์ หรือพลังงานไฟฟา้ แทนนา้ มันเช้ือเพลงิ เพ่ือลดต้นทุนการผลติ _________________________________

๑๘๖ จังหวัดชัยภูมิ วนั อาทิตย์ท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ วัดโคกสว่าง บ้านห้วยบงเหนือ ตาบล ห้วยบง อาเภอเมืองชัยภูมิ วิธีการดาเนินกิจกรรม ๑. พบปะเพอื่ รบั ฟังขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนกลมุ่ ต่าง ๆ และรับฟังการดาเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ๒. ลงพ้ืนที่ศึกษาสภาพปัญหาจริงในพ้ืนที่ ๓. ให้ความรูเ้ ก่ียวกับบทบาทหน้าที่และอานาจของวฒุ ิสภา ๔. ให้ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะในด้านตา่ ง ๆ เพอื่ เปน็ การแก้ข้อขดั ขอ้ งในการดาเนนิ งานของประชาชนและหนว่ ยงานภาครัฐ ผลการดาเนนิ การ สมาชกิ วุฒิสภา ไดเ้ ดนิ ทางลงพ้ืนทีเ่ พ่อื รับฟงั ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากประชาชนเก่ยี วกับ ปัญหาภยั แลง้ ดังน้ี สาหรับประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่พบ อาทิ ปัญหาประสบภาวะภัยแล้ง ซึ่งถือเป็น ปัญหาหลักเน่ืองจากตาบลห้วยบงต้ังอยู่บริเวณพื้นท่ีท่ีไม่มีแม่น้าสายหลักไหลผ่าน น้าในการอุปโภค และบรโิ ภค รวมถงึ น้าที่ใชเ้ พื่อการเกษตรมาจากปรมิ าณน้าฝนท่ีตกลงมาท้งั สิ้น ในสว่ นของนา้ ทใี่ ช้ในการ อปุ โภคและบริโภค มีระบบประปาหม่บู า้ น บรหิ ารจัดการโดยคณะกรรมการหม่บู า้ น ๑๔ หมู่บ้าน ภายใต้ การดูแลขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยบง โดยระบบประปาบาดาล ซ่ึงจะแห้งขอดใน หน้าแล้ง ไม่สามารถสูบน้าขนึ้ มาได้ ประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่พบจากการลงพ้ืนที่ สมาชิกวุฒิสภาได้รับเรื่องไว้ เพื่อดาเนนิ การตามหนา้ ทแ่ี ละอานาจของวฒุ ิสภาตอ่ ไป _________________________________

๒.๕ รายงานผลการดาเนนิ การโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนท่ี จงั หวัดกลมุ่ ภาคกลาง จานวน ๑๖ คร้งั ประกอบดว้ ย ๑. ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๒. ครง้ั ที่ ๒/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั ราชบรุ ี ๓. ครง้ั ที่ ๓/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ชัยนาท ๔. ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ๕. ครั้งท่ี ๕/๒๕๖๒ วันท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สมุทรสาครและจงั หวดั เพชรบุรี ๖. ครั้งที่ ๖/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สมุทรปราการ ๗. คร้ังที่ ๗/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั นครปฐม ๘. คร้งั ท่ี ๘/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ๙. ครง้ั ที่ ๙/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี ๑๐. ครง้ั ท่ี ๑๐/๒๕๖๒ วนั ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั อา่ งทอง ๑๑. ครั้งท่ี ๑๑/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ลพบรุ ี ๑๒. คร้ังท่ี ๑๒/๒๕๖๒ วันท่ี ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ปทุมธานี ๑๓. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๓ ณ จังหวดั สระบรุ ี ๑๔. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๑๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ จงั หวดั นนทบรุ ี ๑๕. คร้งั ที่ ๓/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๖ มนี าคม ๒๕๖๓ ณ จงั หวัดสมทุ รสงคราม ๑๖. คร้ังท่ี ๔/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ณ จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook