Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Published by rujipas.kansuwan, 2020-09-13 06:52:44

Description: เล่มรายงานติดตาม สว. พบฯ เล่มเต็ม

Search

Read the Text Version

๔๘๓ ๔. ปัญหาด้านการคมนาคม จานวน ๑๑ เร่ือง อยู่ระหว่างการดาเนินการของคณะกรรมาธิการ การคมนาคม และหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง - ขอให้มกี ารกอ่ สร้างถนนหรอื ขยายถนนเพ่ืออานวยความสะดวกดา้ นการคมนาคม ปั ญ ห า ด้า น ก า ร ค ม น า ค ม ส่ว น ให ญ่ เ ป็ น เ รื่ อ ง เ ก่ี ยว กั บ ก า ร ข อ ใ ห้ มี ก า ร ก่ อ สร้ า ง ถ น น หรือขยายถนนเพ่ืออานวยความสะดวกด้านการคมนาคม เช่น เรื่อง ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ โครงการถนนคลองลาน-อุ้มผาง (ปี ๒๕๖๓) เนื่องจากชาวอุ้มผางได้ดิ้นรนต่อสู้เรียกร้องให้รัฐบาลแล้ว รัฐบาลเล่า ร้ือฟ้ืน “โครงการถนนคลองลาน-อุ้มผาง” จนในท่ีสุด ครม.สัญจร นครสวรรค์ ซึ่งมี ฯพณฯ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในการประชุมได้มีมติเม่ือวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๑ อนมุ ตั แิ ละจัดสรรงบประมาณใหท้ าการบูรณะปรบั ปรุงคณุ ภาพ ทล.๑๑๑๗ ตอน : คลองแมล่ าย- อุ้มผาง เพ่ือเช่ือมโยงแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลกในพื้นที่อุ้มผาง แต่กลับปรากฏว่า กระทรวงคมนาคม โดยกรมทางหลวงได้จัดสรรงบประมาณในปี ๒๕๖๒ จานวน ๕๒ ล้าน ให้ดาเนินการบูรณะปรับปรุง คุณภาพ ทล.๑๑๑๗ ช่วงที่อยู่ในพ้ืนที่จังหวัดกาแพงเพชร เท่าน้ัน (กม.๐+๐๐๐-กม.๙๓+๐๐๐) ไม่ได้จัดสรรให้กับถนนช่วงที่อยู่ในพื้นท่ีอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก แต่อย่างใด จึงไม่เป็นไปตาม เจตนารมณ์ของข้อมติ ครม.สัญจร นครสวรรค์ ผู้ร้องจึงได้มีหนังสือร้องเรียนขอความเป็นธรรมไปยัง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้จัดสรรงบประมาณ จานวน ๓๐-๕๐ ล้านบาท ของปี ๒๕๖๒ เป็นการ ทดแทน หรือจะบรรจุโครงการถนนคลองลาน-อุ้มผาง ไว้ในแผนโครงการงบประมาณของรัฐบาล ในปี ๒๕๖๓ ก็ได้ แต่ติดปญั หาท่ีกรมอุทยานแห่งชาตฯิ มีความเห็นว่าไม่สมควรให้มีการบูรณะปรับปรุง เส้นทางสายน้ี เนือ่ งจากจะมผี ลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลการดาเนนิ การ คณะกรรมาธิการการคมนาคม ได้พิจารณาประเด็นร้องเรียนดังกล่าวโดยได้รับทราบข้อมูล ข้อเทจ็ จรงิ จากผู้ร้องเรียนและผู้แทนหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และไดพ้ ิจารณาให้กรมทางหลวงจัดทาข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๑๑๗ เพ่ิมเติม เพ่ือนามาประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมาธกิ ารตอ่ ไป ๕. ปญั หาด้านเศรษฐกิจ จานวน ๒๕ เรื่อง ปญั หาทด่ี าเนนิ การสาเรจ็ จานวน ๒ เรอื่ ง - ปญั หาด้านการทอ่ งเท่ียว ๑) ปัญหามคั คเุ ทศกท์ อ้ งถิน่ เนอื่ งจากเขตตาบลเมอื งเกา่ เปน็ พ้นื ที่ทอ่ งเท่ียวเมืองมรดกโลก มัคคเุ ทศก์ท้องถนิ่ ซ่ึงผา่ น การอบรมแล้วสามารถนาเที่ยวชมสถานที่ต่างๆ ได้ แต่ปัจจุบันยังไม่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพอื่ รองรับอาชพี มัคคเุ ทศก์อย่างถกู ต้อง จึงทาให้ไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้

๔๘๔ ผลการดาเนนิ การ คณะกรรมาธกิ ารการท่องเท่ียว ไดเ้ ชญิ ผู้แทนกรมการท่องเท่ยี วเขา้ รว่ มประชมุ กับคณะกรรมาธกิ าร และได้รบั ทราบข้อมูลว่า กรณขี ั้นตอนในการขอเป็นมัคคุเทศกท์ ้องถน่ิ ของคนในชุมชนหรือปราชญช์ าวบา้ น ต้องมีการประกาศเขตพื้นท่ีน้ันเป็นเขตท่องเท่ียวชุมชนหรือท้องถิ่นก่อน โดยเขตตาบลเมืองเก่า อยู่ระหว่างรอการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วคนในท้องถิ่น สามารถยื่นคาขออนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิน่ ได้ทันที ซ่ึงได้ดาเนินการเสนอไปยังสานักงานเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี เมื่อต้นเดือนมกราคม ๒๕๖๓ เมื่อประกาศแล้วสามารถแจ้งใหช้ าวบ้านรับทราบได้ทันที เน่ืองจากมกี ารประสานกันทางกลุ่มแอปพลิเคชันไลน์อยแู่ ลว้ ๒) ขอให้จดั อบรมเพ่อื เพม่ิ จานวนมัคคเุ ทศก์ทอ้ งถิ่น ผลการดาเนนิ การ คณะกรรมาธกิ ารการทอ่ งเทยี่ ว ได้เชิญผูแ้ ทนกรมการทอ่ งเท่ียวเข้ารว่ มประชมุ กบั คณะกรรมาธกิ าร และได้รับทราบข้อมูลว่า การขอให้เป็นเขตท่องเที่ยวชุมชนหรือท้องถิ่นชุมชนจะส่งคาร้องมาท่ี กรมการท่องเทย่ี ว โดยกรมการท่องเที่ยวจะมีการพิจารณาว่าเป็นไปตามหลกั เกณฑก์ ารประกาศเป็นเขต ท่องเท่ียวชุมชนหรือท้องถิ่นตามที่กาหนดหรือไม่ หากพิจารณาแล้วเป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดจะ ดาเนินการประกาศเป็นเขตท่องเท่ียวชุมชนหรือท้องถิน่ และจะมีการจัดฝึกอบรมให้กับปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ท่ีมีความสามารถในการส่อื ความหมาย ซ่ึงจะเป็นการดาเนินการตามกลุ่มเปา้ หมายที่จะได้รับการ ประกาศให้เป็นเขตท่องเที่ยวชุมชนหรือท้องถิ่น เพ่ือเตรียมความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยวที่จะ เดนิ ทางเข้ามาทอ่ งเทย่ี วในชุมชน ปัญหาด้านเศรษฐกิจ จานวน ๒๓ เร่ือง อยู่ระหว่างการดาเนินการของคณะกรรมาธิการ และหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง - ปญั หาการพัฒนาพนื ท่ีชายแดนเพื่อส่งเสรมิ การคา้ การลงทุน และเศรษฐกิจของประเทศ ๑) การพิจารณาข้อกฎหมาย พื้นท่ีด่านภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ เพ่ือทาเป็นด่านการค้า เน่ืองจากการขับเคลื่อนการค้าชายแดนด่านถาวรภูดู่ มีปัญหาและอุปสรรคในเรื่องกฎหมายที่ทับซ้อน จึงทาให้เกิดความล่าช้า มีผลกระทบทาให้ภาคเอกชนไม่สามารถผลักดันให้เกิดประโยชน์ทางการค้า และการท่องเทีย่ วได้ ๑.๑) เร่ืองกาหนดบริเวณพ้ืนทีใ่ ห้ส่วนราชการหรอื องค์กรของรัฐเขา้ ใช้ประโยชน์ภายใน เขตป่าสงวนแห่งชาติ ฉบับที่ ๕๒/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ มีปัญหาเร่ืองวัตถุประสงค์ ท่ีอนุญาตให้ก่อสร้างตลาดการค้าชายแดนช่องภูดู่ท่ีดูเหมือนยังไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการเข้าใช้พ้ืนท่ีของ กรมศุลกากรเพ่ือปลูกสร้างอาคาร และการขอใช้พื้นท่ีของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน

๔๘๕ และพ้ืนท่ี ๙๙ ไร่ ทีจ่ ะใช้ก่อสร้างอาคารและทาพ้ืนที่ขายสินคา้ ในตลาดฯ เพ่ือตคี วามและแก้ไขข้อความ ในประกาศใหส้ อดคลอ้ งกบั คาขอใช้พืน้ ท่ีในการทาด่านศลุ กากร และตลาดการคา้ ๑.๒) ปัญหาการก่อสร้างถนนรอยต่อจากประตูหน้าด่านภูดู่-ประตูด่าน สปป.ลาว ติดปัญหาดาเนนิ การปรับปรงุ ถนนรอยตอ่ ระหว่างหน้าด่านภูดู่-หน้าด่าน สปป.ลาว ระยะทาง ๑,๔๙๐ เมตร และถนนในบริเวณจากปากทางแยกม่วงเจ็ดต้นถึงหน้าด่าน จึงควรเร่งรัดผลักดันให้หน่วยงาน ที่รับผิดชอบสามารถดาเนินการสรา้ งถนนใหแ้ ล้วเสรจ็ โดยขอใหพ้ จิ ารณากฎหมายและเรง่ รดั เร่อื งดังกล่าว ผลการดาเนนิ การ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ติดตามเร่ืองดังกล่าว มีความ คบื หนา้ การดาเนินการ ดงั น้ี ๑. ประเด็นเกี่ยวกับการขอใช้พืนท่ีในเขตป่าสงวนป่านาปาดเพ่ือการก่อสร้างตลาด และ การคา้ ชายแดน และเปน็ ที่ตงั สว่ นราชการ เนอื ทจี่ านวน ๙๙ ไร่ ๔๘ ตารางวา คณะกรรมการพิจารณาการใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้พิจารณา ให้ความเห็นชอบในการประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ ๓/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๓ อยรู่ ะหวา่ งการออกประกาศกรมป่าไม้เพอื่ ให้จงั หวดั เพ่มิ วัตถุประสงคด์ ังกล่าว ๒. ประเด็นเกี่ยวกับการเข้าทาประโยชน์ในเขตป่าสงวนป่านาปาดเพ่ือการปรับปรุงถนน สายบา้ นมะม่วงเจด็ ตน้ -ดา่ นภดู ู่ กรมป่าไม้ไดอ้ อกหนังสืออนญุ าต เลม่ ที่ ๐๑๔ ฉบบั ท่ี ๑๘ ลงวันท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ให้มหาวิทยาลัยนเรศวรพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Evaluation : IEE) ปั จ จุ บั นอ ยู่ ร ะ ห ว่ าง ร อผ ลก า ร พิ จา ร ณ า ร า ยง า น ผ ลก ร ะ ท บสิ่ งแ ว ด ล้ อม เบ้ื อ งต้ น ( IEE) ของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร กรณีเรื่องดังกล่าวเป็นเร่ืองกระบวนการทางกฎหมายของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องระหว่าง จังหวดั อตุ รดิตถแ์ ละกรมป่าไม้ ขณะนเ้ี รื่องดังกล่าวได้เข้าสูก่ ระบวนการของกฎหมายในการขอใชพ้ ืน้ ทแ่ี ล้ว ๒) ขอรับการสนับสนุนและผลักดันการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และโปรดพิจารณาเร่งรัดการประสานแผนงานโครงการเพ่ือรองรับการพัฒนาเช่ือมโยงพื้นท่ีเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พิเศษตากและเมอื งที่มลี กั ษณะพเิ ศษนครแมส่ อดใหเ้ กดิ เปน็ รูปธรรมโดยเร็ว เน่ืองจากเทศบาล นครแม่สอด จังหวัดตาก เปน็ พ้ืนท่ีมีลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะ มีความสาคญั เปน็ เมืองศูนย์กลางการค้าชายแดน และมีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูง จึงขอรับการสนับสนุนและผลักดันการพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก และพิจารณาเร่งรัดการประสานแผนงานโครงการเพ่ือรองรับการพัฒนาเชื่อมโยง พน้ื ที่เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษตากและเมอื งท่ีมีลักษณะพิเศษ นครแม่สอดให้เกดิ เป็นรูปธรรมโดยเร็ว

๔๘๖ ผลการพจิ ารณา กรณีขอรับการสนับสนุนและผลักดันการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ได้ส่งเรื่องไปยังคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่น เพ่ือพิจารณาดาเนินการตามหน้าที่และอานาจ ขณะน้อี ยู่ระหวา่ งการพิจารณาดาเนนิ การของคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถนิ่ ๖. ปญั หาดา้ นส่ิงแวดล้อม จานวน ๑ เรอื่ ง อยูร่ ะหว่างการดาเนนิ การของหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง - ขอใช้พืนท่ีขยายเขตถนนเข้าหมู่บ้านในเขตอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า ประชาชนบ้านโละโคะ และบ้านป่าหมาก ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร จังหวัด กาแพงเพชร ปัจจุบันมีจานวนครัวเรือนรวมทั้งสองหมู่บ้าน ๑๘๑ ครัวเรือน ประชากรรวม ๗๘๔ คน สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นท่ีหุบเขาอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน่ืองจากท้ังสองหมู่บ้านสัญจรไปมาด้วย ความลาบาก ทาใหไ้ ด้รับความเดอื ดรอ้ น ซงึ่ ตามพระราชบญั ญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี ๗ พ.ศ. ๒๕๖๒ องค์การบริหารส่วนตาบลมีหน้าที่ต้องทา ในเขต องค์การบริหารสว่ นตาบล ตามมาตรา ๖๗ (๑) จดั ให้มีและบารงุ รักษาทางนา้ และทางบก พระราชบัญญตั ิ กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้กบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๒) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า และทางระบายน้า แต่เน่ืองจากพ้ืนท่ีดังกล่าวอยู่ในเขต พ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโกสมั พี จงึ ไมอ่ าจดาเนินการได้ เน่ืองจากผล แห่งกฎหมาย ผลการดาเนินการ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่า การเข้าใช้ประโยชน์ในเขตอุทยานแห่งชาติ ควรจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการอุทยาน แห่งชาติตามความในมาตรา ๑๖ ของพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งกาหนดให้ คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ มีหน้าท่ีและอานาจในการกาหนดนโยบายการจัดการอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ และสวนรุกขชาติ เสนอแนะการกาหนดพ้ืนที่ใดเป็นอุทยานแห่งชาติ การขยายหรือการเพิกถอนอุทยาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดิน และทรัพยากรดินของประเทศ ดังน้ัน คณะกรรมาธิการจึงส่งเร่ืองร้องเรียนดังกล่าวไปยังกระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพืช พิจารณาดาเนนิ การ ตามหน้าทีแ่ ละอานาจตอ่ ไป

๔๘๗ ๗. ปัญหาด้านสงั คมและอ่นื ๆ จานวน ๖๓ เร่ือง อยู่ระหว่างการดาเนนิ การของคณะกรรมาธกิ าร การบริหารราชการแผ่นดนิ และคณะกรรมาธกิ ารการปกครองทอ้ งถน่ิ - ปญั หาการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ปัญหาด้านสังคมและอ่ืนๆ ส่วนใหญ่เป็นปัญหาการบริหารจัดการขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เชน่ ๑) การเพ่ิมเงินตอบแทนกานันและผ้ใู หญ่บา้ น กรณีการเพม่ิ เงนิ ตอบแทนกานนั และผใู้ หญ่บา้ น ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ย การเบิกจ่ายเงนิ ตอบแทนตาแหน่งและอ่นื ๆ ให้แก่ กานนั ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวตั รกานัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กาหนดอัตราการจ่ายเงินตอบแทนของกานนั เดอื นละ ๑๐,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท และของผู้ใหญ่บ้าน ได้รับเงินตอบแทนเดือนละ ๘,๐๐๐-๑๓,๐๐๐ บาท โดยการประเมินเพื่อปรับเล่ือนระดับเงินตอบแทน ของกานัน และผู้ใหญ่บ้านจะดาเนินการประเมินปีละ ๑ คร้ัง และในแต่ละคร้ังจะได้รับค่าตอบแทน เพมิ่ ขึน้ ครง้ั ละ ๒๐๐ บาท แตเ่ นื่องจากกานนั และผู้ใหญ่บา้ นมภี าระหน้าที่ เปน็ จานวนมาก ประกอบกับ ค่าครองชีพท่เี พ่ิมสูงขึ้น ทาให้เงนิ ค่าตอบแทนทไ่ี ด้รับไม่เพยี งพอตอ่ คา่ ใช้จา่ ย จงึ ขอให้กระทรวงมหาดไทย พิจาณาเพิ่มคา่ ตอบแทนใหก้ บั กานนั และผู้ใหญ่บา้ น ๒) ปัญหาการบงั คบั ใชพ้ ระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กรณีการบังคับใช้พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้มีประกาศยกฐานะท้องถ่ินเป็นเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ทาให้ท้องถิ่นท่ีได้รับการยกฐานะ เป็นเทศบาลเมือง และเทศบาลนครแล้ว ไม่สามารถดาเนินการเลือกกานัน ผู้ใหญ่บ้านได้ ตามพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ มาตรา ๑๒ มาตรา ๔๘ เตวสี ติ แตพ่ ระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองทอ้ งที่ พทุ ธศักราช ๒๔๕๗ มาตรา ๓ วรรคสอง กาหนดให้ “การยกเลิก ตาแหน่งกานนั ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทาไม่ได้” ทาให้เกิดปัญหา การบังคับใช้กฎหมาย ดังนั้น จึงขอให้แก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ เพื่อให้มีการเลือกตั้ง กานนั และผ้ใู หญบ่ า้ นในท้องถิ่นทีไ่ ด้รับการยกฐานะเปน็ เทศบาล ๓) ปัญหาการดารงตาแหน่งของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ที่มกี ารยกฐานะเปน็ เทศบาลเมือง เทศบาลนคร กรณีปัญหาการดารงตาแหน่งของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ที่มีการยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศยกฐานะท้องถ่ิน เป็นเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ทาให้ท้องถิ่นที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง และเทศบาลนครแล้ว

๔๘๘ ไม่สามารถดาเนินการเลือกกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ได้ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ มาตรา ๑๒ มาตรา ๔๘ เตวสี ติ แต่พระราชบัญญัตลิ ักษณะปกครองท้องที่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๗ มาตรา ๓ วรรคสอง กาหนดให้ “การยกเลิก ตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจะกระทาไม่ได้” ทาให้เกิดปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย ดังน้ัน ขอให้แก้ไข พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ เพ่ือให้มีการ เลือกต้งั กานัน และผู้ใหญ่บ้านในท้องถ่ินที่ได้รับการ ยกฐานะเปน็ เทศบาล ผลการดาเนินการเร่ืองร้องเรียน/ประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จานวน ๑๖๖ เรื่อง ส่งเร่ืองไปยังคณะกรรมาธิการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้รับแจ้งผลการพิจารณา จานวน ๓๕ เรื่อง โดยคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา ได้รับเรื่องร้องเรียนมากท่ีสุด จานวน ๕๑ เร่อื ง และแจง้ ผลมายงั คณะอนุกรรมการฯ จานวน ๑๖ เรอ่ื ง รองลงมา คือ คณะกรรมาธิการ การปกครองท้องถ่ิน จานวน ๑๘ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๖ เร่ือง คณะกรรมาธิการ การท่องเท่ียว จานวน ๑๐ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๘ เร่ือง คณะกรรมาธิการการคมนาคม จานวน ๑๓ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เร่ือง คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน จานวน ๗ เรื่อง แจ้งผลการพจิ ารณา จานวน ๑ เรื่อง คณะกรรมาธิการการสาธารณสขุ จานวน ๙ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เรื่อง โดยเร่ืองร้องเรียนส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการพิจารณาดาเนินการ ของคณะกรรมาธกิ ารและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

๔๘๙ ๓.๓ สรุปผลการดาเนนิ การเร่อื งร้องเรยี น/ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะโครงการสมาชกิ วุฒิสภา พบประชาชนในพ้นื ทจ่ี ังหวัดภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนบน) ประเภท : ประเภท : ปญั หาเร่อื งเก่ียวกบั จงั หวัด หนงั สือ วาจา จานวน/เร่ือง จานวน/เรอ่ื ง ทีด่ ิน นา้ เกษตร คมนาคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม สงั คม ๑. จงั หวดั อุดรธานี ๒. จังหวดั หนองบวั ลาภู ๑๓ ๓๔ ๔ ๔ ๕ ๓ ๑ ๒ ๒๘ ๓. จงั หวัดหนองคาย ๔. จงั หวดั เลย ๖ ๙ ๑๑ ๒ ๑ ๑ -๙ ๕. จงั หวัดบงึ กาฬ ๕ ๒๑ ๒ ๘ ๓ ๑ ๔ ๑๗ ๖. จงั หวัดมกุ ดาหาร ๗. จังหวดั สกลนคร - ๑๑ ๓๑ ๑ - - ๕๑ ๘. จังหวดั นครพนม ๙. จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ - - -- - - - -- ๑๐. จังหวัดขอนแกน่ ๑๑. จงั หวัดมหาสารคาม ๑ ๑๖ ๑ ๓ ๓ ๒ ๓ -๕ ๑๒. จังหวดั ร้อยเอด็ ๒๖ ๒๒ ๓ ๑๙ ๘ ๕ ๔ ๑๘ จานวนเรอ่ื ง แยกตามประเภท ๔ ๒๐ ๒ ๓ ๒ ๓ - - ๑๔ รวมเรื่องทง้ั หมด ๖ ๓๘ ๙ ๗ ๕ ๖ ๔ ๑ ๑๒ - - -- - - - -- - - -- - - - -- ๗ ๓๐ - ๑๓ ๙ ๑ - - ๑๔ ๖๘ ๒๐๑ ๒๕ ๕๙ ๓๘ ๒๒ ๑๗ ๑๐ ๙๘ รวมทัง้ สน้ิ ๒๖๙ เรือ่ ง ข้อมูล ณ วนั ที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ คณะอนกุ รรมการด้านรวบรวม แยกเร่อื งและตดิ ตามเรอื่ งรอ้ งเรยี น วุฒิสภา คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) รับผิดชอบในการลงพื้นที่ จานวน ๑๒ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดบึงกาฬ เลย หนองคาย หนองบัวลาภู อุดรธานี นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด ท่ผี ่านมามีการลงพนื้ ที่ จานวน ๙ จงั หวัด มกี ารยนื่ เปน็ หนงั สอื จานวน ๖๘ เรื่อง และเป็นการแสดงความ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ จานวน ๒๐๑ เร่ือง รวมทั้งสนิ้ ๒๖๙ เร่ือง ๑. ปญั หาดา้ นสงั คมและอน่ื ๆ จานวน ๙๘ เรื่อง ๒. ปัญหาแหล่งน้า จานวน ๖๐ เรอ่ื ง ๓. ปญั หาดา้ นการเกษตร จานวน ๓๘ เรื่อง ๔. ปญั หาทีด่ นิ จานวน ๒๕ เรือ่ ง ๕. ปญั หาดา้ นการคมนาคม จานวน ๒๑ เร่ือง ๖. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ จานวน ๑๗ เร่อื ง ๗. ปญั หาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม จานวน ๑๐ เร่อื ง

๔๙๐ ประเดน็ ปัญหาที่ไดร้ บั การแกไ้ ขปัญหา แยกตามประเด็นปญั หา ดงั น้ี ๑. ปัญหาทดี่ ิน ๑.๑ ขอให้เร่งรัดหน่วยงานที่เก่ียวข้องดาเนินการ จัดสรรท่ีดินทากินให้ราษฎร ที่ผ่านกระบวนการพิสูจน์แล้ว จานวน ๙๕ คน ในพื้นท่ีจังหวัดกาฬสินธ์ุตามมติ คทช. และมติ ครม. กรณีราษฎรในพ้ืนที่จังหวัดกาฬสินธ์ุ และจังหวัดใกล้เคียง เคยทากินในพ้ืนท่ีป่านาจารย์ – ดงขวาง อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ต่อมาเมื่อปี ๒๕๐๗ รัฐได้ประกาศให้ป่านาจารย์-ดวงขวางเป็นป่าสงวน แห่งชาติ ต่อมาปี ๒๕๑๗ อ.อ.ป. นาพื้นท่ีป่านาจารย์-ดงขวางไปสร้างสวนป่าสมเด็จทับท่ีทากิน ของราษฎรและถูกให้ออกจากพ้นื ท่ีท่เี คยทากิน คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เรื่อง รอ้ งเรียนดังกลา่ วข้างตน้ เปน็ ปญั หาเกีย่ วกับที่ดิน ซ่ึงพระราชบญั ญัตคิ ณะกรรมการนโยบายท่ดี นิ แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้กาหนดให้คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติมีหน้าท่ีและอานาจในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพที่ดินและศักยภา พที่ดิน ทุกประเภท ดังนั้น คณะกรรมาธิการฯ จึงส่งเร่ืองร้องเรียนดังกล่าวไปยังคณะกรรมการนโยบายที่ดิน แห่งชาติพิจารณาดาเนินการตามหนา้ ที่และอานาจ โดยคณะกรรมาธิการฯ จะได้ติดตามการดาเนินงาน ของคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแหง่ ชาตใิ นภาพรวมต่อไป ๑.๒ ขอให้พจิ ารณาออกเอกสารสทิ ธ์ิท่ีทากินในเขตอาเภอโคกศรสี ุพรรณ จังหวัดสกลนคร คณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มได้พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ เร่ืองร้องเรียนดังกล่าวข้างต้นเป็นปัญหาเกี่ยวกับที่ดิน ซึ่งพระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้กาหนดให้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ มีหน้าท่ีและอานาจในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ท่ีดินของประเทศให้เหมาะสม กับสภาพท่ีดินและศักยภาพท่ีดินทุกประเภท ดังนั้น คณะกรรมาธิการจึงส่งเร่ืองร้องเรียนดังกล่าวไปยัง คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติพิจารณาดาเนินการตามหน้าที่และอานาจ โดยคณะกรรมาธิการฯ จะได้ตดิ ตามการดาเนนิ งานของคณะกรรมการนโยบายทด่ี นิ แหง่ ชาตใิ นภาพรวมต่อไป ๑.๓ ร้องทกุ ข์เรือ่ งสทิ ธทิ ากินในท่ีดนิ ของชาวบ้านภพู านทอง หมู่ ๒ ตาบลหนองบวั อาเภอ เมืองหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบัวลาภู เน่ืองจากชาวบ้านใช้ประโยชน์ท่ีดินมาก่อนปี ๒๕๐๐ แตเ่ น่ืองจากพนื้ ท่ีดังกลา่ วอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ ป่าสงวนแห่งชาติ พื้นท่ี ของสานักงานธนารกั ษ์ และมีหน่วยงานทหารเข้ามาใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีดังกลา่ วในการใช้เปน็ พ้ืนท่ีซ้อม ยุทธวธิ ีทางทหาร จึงทาให้ประชาชนไม่มีสทิ ธิในทดี่ นิ ทากนิ ทถี่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา พิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นเร่ืองเกย่ี วกบั การจดั ทดี่ ินทากนิ ให้ราษฎรผยู้ ากไร้ ซง่ึ เปน็ การดาเนนิ การตามความในพระราชบัญญัติ

๔๙๑ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายท่ีดิน (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังนั้น คณะกรรมาธิการฯ จึงส่งเรอ่ื งไป ยังคณะกรรมการจัดท่ีดิน เพ่อื พิจารณาดาเนินการตามหน้าทแี่ ละอานาจต่อไป ๑.๔ การออกเอกสารสิทธ์ิในเขตปฏิรปู ทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) สานักงานปฏิรูปท่ีดินจังหวัดสกลนคร ได้ดาเนินการออกเอกสารสิทธิในเขตปฏิรูป ที่ดนิ ในรูปแบบหนังสืออนุญาตใหเ้ ข้าทาประโยชนใ์ นเขตปฏิรูปทีด่ นิ ทง้ั ในพืน้ ที่ประเภทที่ดนิ เกษตรกรรม และที่อยู่อาศัยให้กับเกษตรกรผู้ครองครองท่ีดินเดิม ซึ่งเป็นที่ดินของรัฐที่รับมอบจากกรมป่าไม้ โดยได้ จัดสรรให้กับเกษตรกรในพื้นท่ีจังหวัดสกลนคร จานวน ๘๘,๙๒๔ ราย ๑๑๐,๑๖๖ แปลง ๑,๐๐๘,๙๘๑ ไร่ โดยใช้มาตรการในการบังคับใช้กฎหมายในปัจจุบัน อาจไม่ใช่การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ครอบคลุม ทกุ ดา้ น เน่ืองจากผู้เป็นเกษตรกรที่กระทาผดิ ระเบยี บถกู สั่งใหส้ ้นิ สทิ ธิและให้ออกจากทดี่ นิ และบคุ คลอน่ื ทเี่ ข้ามาทากนิ ในที่ดนิ โดยมิชอบ ซึ่งต้องถูกฟ้องขับไลใ่ หอ้ อกจากที่ดนิ ดว้ ย โดยท้งั ๒ ฝา่ ย ตอ้ งกลายเป็น ผูไ้ ร้ท่ีดินทากินในท่สี ดุ ทรี่ ัฐจะต้องให้ความช่วยเหลอื ตามมา ๑.๕ ปัญหาท่ีดินทากนิ เน่อื งจากประชาชน ร้อยละ ๓๐ ยังไมม่ ีท่ดี ินทากนิ เป็นของตนเอง ต้องเช่าท่ดี ิน สานกั งานปฏิรูปท่ีดนิ จังหวัดสกลนครไดด้ าเนนิ การออกเอกสารสทิ ธใิ นเขตปฏริ ปู ทด่ี นิ ในรูปแบบหนงั สอื อนุญาตให้เข้าทาประโยชนใ์ นเขตปฏิรูปที่ดนิ ท้งั ในพ้ืนท่ีประเภทท่ดี ินเกษตรกรรมและ ท่ีอยูอ่ าศัยให้กบั เกษตรกรผู้ครอบครองท่ดี นิ เดิม ซึ่งเปน็ ท่ีดนิ ของรฐั ทร่ี บั มอบจากกรมปา่ ไม้ โดยได้จัดสรร ให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดสกลนคร จานวน ๘๘,๙๒๔ ราย ๑๑๐,๑๖๖ แปลง ๑,๐๐๘,๙๘๑ ไร่ โดยใช้มาตรการในการบังคับใช้กฎหมายในปัจจุบัน อาจไม่ใช่การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นได้ครอบคลุม ทกุ ด้าน เนื่องจากผู้เปน็ เกษตรกรทก่ี ระทาผิดระเบียบถูกสั่งให้สน้ิ สทิ ธิและให้ออกจากทด่ี นิ และบคุ คลอ่นื ที่เข้ามาทากินในที่ดินโดยมิชอบ ซึ่งต้องถูกฟ้องขับไล่ให้ออกจากที่ดินด้วย โดยท้ัง ๒ ฝ่าย ต้องกลาย เป็นผู้ไร้ทด่ี ินทากนิ ในทีส่ ุดที่รัฐจะตอ้ งให้ความช่วยเหลือตามมา ท้ังนี้ อาเภอและสว่ นราชการทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ได้ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เก่ียวกับระเบียบ ข้อกฎหมายในการออกเอกสารสิทธิหรือการขอรับ การจัดสรรทีด่ ินทากินตามนโยบายของรัฐบาล แกร่ าษฎรที่ไดร้ บั ผลกระทบ ๑.๖ ท่ีดินของประชาชนส่วนหนึ่งเป็นที่ของ สปก. ๔-๐๑ และบางส่วนเป็นท่ีดิน ทีไ่ มม่ เี อกสารสิทธ์ิ ทาให้ไมส่ ามารถใชป้ ระโยชน์ในทีด่ ินไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี สานักงานที่ดินจังหวัดมุกดาหารได้ดาเนินการตรวจสอบแล้วพบว่า ทอ้ งที่ตาบลบ้าน โคกมีพื้นท่ีส่วนหนึ่งต้ังอยู่เขตที่ดินของรัฐ ได้แก่ เขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เขตป่าสงวน แห่งชาติดงบังอ่ี แปลงท่ีหน่ึง เขตป่าสงวนแห่งชาติป่าดงหมู และเขตปฏิรูปท่ีดิน ซึ่งเปน็ พ้ืนที่ท่ีมีให้ออก โฉนดทีด่ ิน คิดเป็นประมาณรอ้ ยละ ๖๐ ของพ้ืนทีต่ าบลบา้ นโคกท้ังหมด และมีพ้นื ท่ีสว่ นหนึ่งอยนู่ อกเขต ท่ีดินของรัฐ คิดเป็นประมาณร้อยละ ๔๐ ซ่ึงพื้นที่นอกเขตท่ีดินของรัฐน้ี ได้มีการออกหนังสือแสดงสิทธิ

๔๙๒ ตามประมวลกฎหมายที่ดนิ ใหก้ ับราษฎรแล้วเกือบเต็มพื้นที่ แยกได้เป็นโฉนดทีด่ ิน จานวน ๔,๒๒๓ แปลง น.ส.๓ ก. จานวน ๓๕๒ แปลง และ น.ส.๓ ก. จานวน ๔๗ แปลง สานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดมุกดาหาร ได้ดาเนินการในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง พบว่า พ้ืนที่ตาบลบ้านโคก อาเภอเมอื ง จังหวัดมุกดาหาร ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเขตปฏิรปู ท่ีดิน เนื้อท่ี ประมาณ ๑๕,๑๖๘ ไร่ จัดสรรท่ีดินให้แก่เกษตรแล้ว เน้ือท่ีประมาณ ๑๐,๕๓๐ ไร่ พ้ืนท่ีส่วนท่ียังไม่ได้ จัดท่ีดินเน่ืองจากเกษตรกรแจ้งว่ามีหนังสือสาคัญตามประมวลกฎหมายท่ีดิน และพ้ืนที่บางส่วน มีสภาพป่า ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ส.ป.ก. มุกดาหาร ได้รับมอบแผนงานจัดที่ดินทากิน ให้แก่เกษตรกร จานวน ๖๕๕ ราย เนื้อที่ประมาณ ๔,๙๐๐ ไร่ ท้ังนี้ ได้ดาเนินการประกาศให้เกษตรกร ผถู้ ือครองทาประโยชน์ในเขตปฏิรูปทด่ี ินและยังไม่ได้รับหนังสืออนญุ าตให้เข้าทาประโยชน์ในเขตปฏิรูป ท่ีดิน (ส.ป.ก. ๔-๐๑) ให้ย่ืนคารอ้ งขอเขา้ ทาประโยชน์ในเขตปฏิรูปทีด่ ินจงั หวดั มกุ ดาหาร ต้ังแต่วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ รวม ๙๐ วัน เพ่ือ ส.ป.ก. มุกดาหาร จะดาเนินการ จดั ทีด่ ินใหแ้ กเ่ กษตรกรตามระเบยี บและออกเอกสาร ส.ป.ก. ๔-๐๑ ให้เกษตรกรต่อไป ๒. ปญั หาแหลง่ นา้ ๒.๑ ขอความอนุเคราะห์ติดตามการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูหนองปฏิรูปพร้อม ระบบกระจายน้า เนื่องจากองค์การบริหารส่วนตาบลศรีสงครามไดร้ ับแจ้งจากผู้ใหญ่บา้ น หมู่ท่ี ๕ และ หมู่ที่ ๙ ว่าการดาเนินงานโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูหนองปฏิรูปพร้อมระบบกระจายน้า ของสานักงาน ทรัพยากรน้า ภาค ๓ อุดรธานี ซ่ึงได้ดาเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และในสัญญาจ้าง ได้ส้ินสุด เม่ือวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๙ แต่โครงการดังกล่าวยังก่อสร้างไม่แล้วเสร็จ ราษฎรประสบ ปญั หาขาดแคลนน้าอปุ โภคบริโภค จึงขอให้ชว่ ยประสานงานไปยังหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ให้เร่งดาเนินงาน ให้แลว้ เสร็จ เพอื่ ประชาชนในพ้นื ท่ีบา้ นปฏริ ูป หมทู่ ่ี ๕ และหมู่ที่ ๙ จะได้ใชง้ านจากระบบกระจายน้า คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมพิจารณาแล้วเห็นว่า เร่ือง ดงั กล่าวเป็นเรื่องเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองซึ่งอยู่ในเขตอานาจของศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยเร่ืองดังกล่าว อยู่ในหน้าท่ีและอานาจของกรมทรัพยากรน้า ดังนั้น คณะกรรมาธิการฯ จึงส่งเรื่องร้องเรียนดังกล่าว ไปยังกรมทรพั ยากรนา้ พิจารณาและดาเนนิ ในส่วนท่เี ก่ียวขอ้ งต่อไป ๒.๒ ขอรบั การสนับสนนุ โครงการกอ่ สรา้ งฝายกัน้ ลานา้ ปาวเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาภัยแล้ง สานักงานชลประทานที่ ๖ (ขอนแกน่ ) พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ เปน็ ลกั ษณะของโครงการ ชลประทานขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง จึงได้มอบให้สานักบริหาร โครงการ กรมชลประทาน เป็นผู้พิจารณา ทั้งนี้ ได้นาเข้าแผนการศึกษาโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ แลว้

๔๙๓ ๒.๓ การบริหารจัดการแม่น้าสงคราม กรณีหน้าแล้งน้าไม่มีหน้าน้าหลากน้าจะไหลลง แมน่ ้าโขงไม่สามารถกกั เกบ็ น้าไว้ใชใ้ นฤดแู ล้ง โครงการชลประทานสกลนคร และอาเภอคาตากล้า ได้เล็งเห็นความสาคัญ ของการบริหารจัดการน้าเขตแม่น้าสงคราม และได้จัดทาแผนงานแก้มลิงพร้อมระบบกระจายน้า จานวน ๑๑ แห่ง งบประมาณ ๘๘๓.๙๐ ล้านบาท และได้บรรจุไว้ในแผน MTEE (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๘) ของกรมชลประทานเรยี บร้อยแลว้ โดยมีการดาเนินงานในพน้ื ทอี่ าเภอคาตากล้า จานวน ๑ โครงการ งบประมาณ ๑๔๖.๒๐๐ ล้านบาท (ปี พ.ศ. ๒๕๖๔) คือ โครงการแก้มลิงหนองหลวง พร้อมระบบกระจายนา้ ลมุ่ น้าสงครามบา้ นโพนกอ่ ตาบลหนองบวั สิม อาเภอคาตากลา้ จงั หวัดสกลนคร ๒.๔ ปญั หาน้าท่วม และปัญหาน้าแล้ง จึงขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐในการสร้างฝาย น้าลน้ เพอ่ื กกั เก็บนา้ ไว้ใชด้ า้ นการเกษตรในชว่ งฤดูแล้ง สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสกลนคร ได้ตรวจสอบพบว่า สานักงานเทศบาลตาบลไฮหย่อง อยู่ระหว่างดาเนินการสารวจและทาประชาคมหมู่บ้านที่ได้รับ ผลกระทบเพ่ือจัดทาโครงการและส่งให้สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสกลนคร เพ่ือดาเนินการในส่วนที่เก่ียวข้อง โดยสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดสกลนคร จะส่งเอกสารข้อมูลดังกล่าวให้สานักงานทรัพยากรน้าภาค ๓ เพ่ือขอสนับสนุนบุคลากรร่วมสารวจ ความเหมาะสมการดาเนนิ โครงการ และสนับสนุนงบประมาณต่อไป ๒.๕ ขอเพ่ิมอ่างเก็บน้าคอนกรีต ณ บ้านดงน้อย เพ่ือเพิ่มปริมาณการส่งน้าให้เกษตรกร ในพ้นื ทบ่ี ้านดงนอ้ ย บ้านทา่ ศรี บา้ นหนองฝาย บ้านโนนปลาขาว ซงึ่ จะไดร้ บั ผลประโยชนม์ ากกว่า ๒,๐๐๐ ไร่ โครงการชลประทานกาฬสินธ์ุ แจ้งว่าองค์การบรหิ ารส่วนตาบลภูสิงห์จะเป็นผูข้ อรับ การสนับสนุนงบพฒั นาจงั หวดั ผ่านอาเภอสหัสขนั ธต์ ่อไป ๒.๖ ปัญหาน้าไม่เพียงพอในการทาการเกษตร และอุปโภค บริโภค บริเวณตาบลโนนน้า เกลย้ี ง ซึ่งเป็นพืน้ ทเ่ี หนอื เขื่อนลาปาว ต้องการให้หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องจดั ทาระบบชลประทานเพอ่ื สบู น้า ไปกักเกบ็ น้าไว้บนอ่างเก็บนา้ ภูสิงห์ ซึ่งเปน็ พ้ืนท่ีสูงแล้วปลอ่ ยลงมาใหเ้ กษตรกรมนี า้ ใช้เพยี งพอ โครงการชลประทานกาฬสนิ ธุ์ แจง้ ว่า เนือ่ งจากเปน็ โครงการทีต่ ้องศกึ ษาความเป็นไปได้ ดังนัน้ โครงการชลประทานกาฬสินธ์ุจะประสานกับพืน้ ท่ีเพอื่ พิจารณารว่ มกนั ๒.๗ ขอยกระดบั สนั เข่ือน เพื่อเพมิ่ ความจุในการกกั เกบ็ น้าห้วยเสียว บริเวณพื้นที่บ้านโคก รวมถึงภเู ขาของหมบู่ ้าน ไม่มีแหล่งนา้ โครงการชลประทานมุกดาหารได้ประสานโครงการก่อสร้าง สานักงานชลประทาน ท่ี ๗ และมีบันทึกสอบถาม ส่วนวิศวกรรม สานักงานชลประทานท่ี ๗ ซึ่งได้พิจารณาข้อมูลดา้ นอุทกศาสตร์ และทางภมู ปิ ระเทศแล้ว ให้ความเหน็ วา่ อา่ งเกบ็ น้าห้วยเสียว ได้ออกแบบเตม็ ศกั ยภาพของภมู ิประเทศแล้ว

๔๙๔ โดยมีระดับกักเก็บท่ีไม่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่น้าท่วมบริเวณเหนืออ่างและการระบายน้าด้าน ท้ายอ่าง อีกท้ังพ้ืนท่ีอ่างเก็บน้าห้วยเสียวยังติดกับพน้ื ที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ป่าดงหม)ู ดังนั้น การเพิ่มระดับความจุ อ่างอาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ เขตพืน้ ท่ปี า่ บริเวณน้ัน แนวทางการช่วยเหลือ โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้ตรวจสอบแผนงานโครงการ ดังกล่าวแล้ว พบว่า มีแผนงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ โครงการแก้มลิงห้วยเสียวพร้อมอาคาร ประกอบ ด้านท้ายอ่างเก็บน้าห้วยเสียว ตามคาร้องขอของราษฎรในพ้ืนที่ เพ่ือรองรับการขาดแคลนน้า ของราษฎรบ้านโคกและราษฎรหมู่บา้ นใกลเ้ คียง ๓. ปญั หาด้านการเกษตร ๓.๑ ขอรับการสนับสนุนปัจจัยการผลิต กลุ่มเลี้ยงปลาหมอไทยแปลงเพศ บ้านดอนดู่ หมทู่ ่ี ๖ ตาบลต้นผ้ึง อาเภอพังโคน จังหวดั สกลนคร เพ่ือเลยี้ งปลาหมอไทยแปลงเพศในบ่อดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมายให้กรมประมงพิจารณาดาเนินการ ดังนี้ ศนู ย์วิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด เขต ๓ (สกลนคร) ได้สารวจพ้ืนท่ีเพาะเลยี้ งสัตว์นา้ และร่วมประชุมกับ กลุ่มเกษตรกรเรียบร้อยแล้ว พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้นา้ ฝนในการเพาะเล้ียงสัตว์น้าและมีเกษตรกร จานวน ๔-๕ ราย ใช้ระบบไฟฟ้าสูบน้าจากห้วยลาปลาหาง มาใช้ในการเพาะเล้ียงสัตว์น้า โดยในช่วง เดือนมกราคม ๒๕๖๓ จะดาเนินการสนับสนุนพันธุ์ปลาหมอไทยให้กับเกษตรกร จานวน ๕ ราย และ ในช่วงเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ จะดาเนินการสนับสนุนพันธุ์ปลากินพืช (นิล/ตะเพียน) ให้กับเกษตรกร จานวน ๑๑ ราย ทงั้ น้ี กล่มุ เกษตรกรไม่ขอรับการสนบั สนนุ ปจั จยั การผลิต ๓.๒ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ในพ้ืนท่ีตาบลนาแก อาเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลาภู ในการซ่อมแซมประตูปิด/เปิดน้า ณ อ่างห้วย ลาดกัว่ อยู่ในพ้นื ทบี่ า้ นผาเวยี ง หม่ทู ่ี ๙ ตาบลนาแก ชลประทานหนองบวั ลาภไู ดต้ งั้ เป็นงบซ่อมแซมประตปู ิด/เปิดนา้ และคลองระบายนา้ อ่างเกบ็ น้าหว้ ยลาดกั่ว บา้ นผาเวียง หม่ทู ี่ ๙ ตาบลนาแก อาเภอนาวัง จังหวดั หนองบวั ลาภู ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของกรมชลประทานแลว้ ๓.๓ ขอความอนเุ คราะหป์ ระสานความรว่ มมอื การสนับสนุนกลุ่มสหกรณ์ สานักงานเกษตรจงั หวัดกาฬสินธ์ุ ได้จัดทาแผนงานโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ในการพัฒนาและเพ่ิม ศักยภาพให้กับเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร ผู้ผลิตสินค้าเกษตร สินค้าเกษตรปลอดภัย สามารถยกระดับสู่ สินค้าเกษตรอินทรีย์ ซง่ึ ดาเนินกิจกรรมโดยการอบรมถ่ายทอดความรู้และสนับสนนุ ปัจจยั การผลติ ใหก้ ับ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ

๔๙๕ ๓.๔ ขอรับการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานด้านไฟฟ้าสู่ภาคการเกษตร เนื่องจาก ยังไม่มีไฟฟ้าใชใ้ นพื้นท่ีการเกษตร เช่น สวนยางพารา เปน็ ต้น อาเภอบ้านม่วง รายงานผลการสารวจข้อมูลครัวเรือนท่ียังไม่มีไฟฟ้าเพื่อการเกษตร และการขยายไฟฟ้าไม่ท่ัวถึง จานวน ๖ หมู่บ้าน โดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อาเภอบ้านม่วง จังหวัด สกลนคร ได้แจ้งข้อมูลไปยังการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อาเภอวานรนิวาส เพื่อพิจารณาแก้ไขและทาเป็น โครงการชว่ ยเหลอื แลว้ ๓.๕ สหกรณ์การเกษตรหนองสงู จากัด ต้องการพัฒนาสายพันธุโ์ คให้มีคณุ ภาพมากยิ่งข้ึน เพอ่ื ลดตน้ ทุนการเลี้ยงโค และเพอื่ เพิม่ รายไดใ้ หเ้ กษตรกร สานักงานปศุสัตว์จังหวัดมุกดาหาร แจ้งว่า กรมปศุสัตว์โดยสานักเทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปศุสัตว์เป็นหน่วยงานที่ผลิตน้าเช้ือโคแช่แข็ง สาหรับผสมเทียมโค ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ การทดสอบโรคก่อนรดี น้าเช้ือ กระบวนการผลิตท่ีปลอดโรค และทดสอบคุณภาพนา้ เชื้อให้แก่ ศูนย์วิจัย การผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพแต่ละภูมิภาคเพ่ือกระจายน้าเชื้อให้แก่สานักงานปศุสัตว์จังหวัด น้าเช้ือที่ผลิตมีพันธุ์ชาโรเล่ห์ แองกัส ตาก วากิว ซึ่งสานักงานปศุสัตว์อาเภอจะขอเบิกจากสานักงาน ปศุสัตว์จังหวัดเพื่อไปบริการในพื้นที่โดยเจ้าพนักงานสัตวบาล หรืออาสาปศุสัตว์ในหมู่บ้านหรือหมู่บ้าน ใกล้เคียง นอกจากสายพันธุ์โคท่ีคัดเลือกมาเลี้ยงแล้ว อาหารสัตว์และการดูแลสัตว์ให้ถูกสุขลักษณะ และเหมาะสมกบั แต่ละช่วงอายุสตั วท์ ีด่ ี จงึ ส่งผลใหผ้ ลผลิตปลายทางทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูง ก็มีความสาคัญไม่น้อย ทั้งน้ี แจ้งอาเภอหนองสูง ได้ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงโคขอรับบริการผสมเทียมโค จากสานักงานปศุสัตว์อาเภอในพ้ืนที่ แทนการไปรับบริการจาก ภาคประชาชน ซง่ึ ต้องมีค่าใช้จ่าย และขอรบั คาปรึกษา – คาแนะนาได้จากสานกั งานปศสุ ัตวอ์ าเภอ ๔. ปญั หาด้านการคมนาคม ๔.๑ โครงการกอ่ สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กภายในหม่บู ้าน ถนนสาย สน.ถ. ๗๒-๐๐๕ บา้ นโนนตูม ตาบลตาลเนิง้ – บ้านโคกพุทรา อาเภอาสว่างแดนดิน จังหวักสกลนคร คณะกรรมาธิการการคมนาคม ได้มีหนังสือประสานไปยังกรมส่งเสริมการปกครอง ทอ้ งถ่ิน และไดร้ ับแจ้งว่า โครงการดงั กล่าวอยู่ระหวา่ งการพจิ ารณาของสานักงบประมาณแลว้ ๔.๒ ขอความอนุเคราะห์สนับสนุนงบประมาณในการก่อสรา้ งสะพานขา้ มลาหว้ ยด่านภูตอนล่าง บ้านด่านไชโย หมู่ที่ ๖ ตาบลมาย อาเภอบ้านม่วง จังหวดั สกลนคร คณะกรรมาธิการการคมนาคมไดม้ ีหนังสอื ประสานไปยงั กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น และกรมทางหลวงชนบท กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินแจ้งว่า กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินไม่มีงบประมาณ เงินอุดหนนุ เฉพาะกจิ กรณีโครงการดงั กล่าว หากองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลมาย มคี วามจาเป็นจะจัดทาโครงการ ดังกล่าว สามารถพิจารณาใชเ้ งนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไปตามอานาจหนา้ ทท่ี ี่ได้รบั การจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สมทบกับงบประมาณรายได้ขององค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อพิจารณาดาเนินการโครงการดังกล่าวได้

๔๙๖ เนื่องจากงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนท่ัวไปท่ีได้จัดสรรให้องค์กรปครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระ ในการใช้จ่ายตามอานาจหน้าที่หากงบประมาณไม่เพียงพอ องค์การบริหารส่วนตาบลมายอาจพิจารณาจัดทา แผนงาน/โครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง พจิ ารณาดาเนินการตามหนา้ ทตี่ ่อไป กรมทางหลวงแจ้งว่า หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความประสงค์จะให้กรมทางหลวง ชนบทสนับสนุนการดาเนินงานด้านเทคนิค เช่น การสารวจออกแบบและการประมาณราคา เพ่ือนาไปจัดทา แผนพัฒนาท้องถิ่น หรือขอรับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรืออาจนา โครงการเพ่ือพิจารณาบรรจุเข้าแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดอีกทางหนึ่ง ขอให้แจ้งความจานงไปยัง แขวงทางหลวงชนบทสกลนครโดยตรง ๔.๓ การซอ่ มแซมถนนแอสฟสั ทต์ ิกคอนกรีต สายบ้านผาเวยี ง อาเภอนาวัง ถึงบ้านป่าแดงงาม อาเภอนากลาง จังหวดั หนองบัวลาภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลาภู ดาเนินการรับไปปรับในแผนงานเท่าที่ สามารถดาเนนิ การได้และจะไปดาเนนิ การซ่อมแซมเพอ่ื แก้ไขปัญหา เช่น การนาอปุ กรณ์เคร่ืองจกั รและ หนิ คลกุ ไปซ่อมแซม ๔.๔ ปัญหาการคมนาคมไม่มีความสะดวก จึงขอรบั การสนับสนุนด้านงบประมาณในการ กอ่ สรา้ งสะพานเพอ่ื เชือ่ มโยงพื้นทห่ี มบู่ า้ นทตี่ ดิ กับลาห้วย สานักงานแขวงทางหลวงชนบทสกลนคร และอาเภอพังโคน ได้ลงพ้ืนที่ตรวจสอบ เส้นทางตามทผ่ี ู้ใหญบ่ ้านสงเปลือยรอ้ งขอ ผลปรากฏว่า ชาวบ้านสงเปลือยมเี สน้ ทางคมนาคมเข้า – ออก สายหลัก ๒ เส้นทาง คือ ออกปากทางสาย ทล. ๒๒๒ ทางอาเภอพังโคน และปากทาง สาย ทล. ๒๒ ทางบ้านฝ่ังแดง ทั้งน้ี เส้นทางท่ีชาวบ้านขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างสะพานน้ัน เป็นเขตติดต่อระหว่างตาบลไฮหย่อง อาเภอพังโคน และตาบลเดื่อศรีคันไชย อาเภอวานรนิวาส ซงึ่ ปัจจุบันอย่รู ะหว่างการทาประชาคม โดยมีทางหลวงชนบทได้ร่วมกบั เทศบาลตาบลไฮหย่อง อาเภอพงั โคน และเทศบาลตาบลเดื่อศรีคันไชย อาเภอวานรนิวาส และจัดทาโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุ น งบประมาณจากกรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ๔.๕ ปัญหาการคมนาคมภายในหมู่บ้านยังไม่ได้รับความสะดวก จึงขอรับการสนับสนุน ดา้ นงบประมาณเพือ่ ดาเนนิ การดงั กลา่ ว แขวงทางหลวงชนบทได้ลงพน้ื ที่ตรวจสอบเส้นทางตามทีป่ ระชาชนไดแ้ สดงความเห็น และข้อเสนอแนะเรียบร้อยแล้ว ท้ังนี้ เส้นทางดังกล่าวอยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลตาบลไฮหย่อง ซ่ึงแขวงทางหลวงชนบทได้แจ้งเทศบาลตาบลไฮหย่องทราบและให้พิจารณาดาเนินการแก้ไขปัญหา ให้ประชาชน ซ่ึงปัจจุบันอยู่ระหว่างการทาประชาคม โดยมีทางหลวงชนบทได้ร่วมกับเทศบาลตาบล ไฮหย่อง อาเภอพังโคน และจัดทาโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริม การปกครองสว่ นท้องถ่ิน

๔๙๗ ๕. ปญั หาด้านเศรษฐกจิ ๕.๑ ปญั หาการค้าขายท่ฝี ดื เคอื ง โดยเฉพาะธรุ กิจขนาดเลก็ ที่มยี อดขายตกตา่ ๕.๒ การดาเนินธุรกิจในปัจจุบันมีปัญหาด้านการติดต่อกับหน่วยงานราชการ หลายหน่วยงาน ควรมกี ารบรหิ ารจดั การแบบ One Stop Service ๕.๓ ความนิยมในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค มีผลกระทบต่อยอดขาย และ ราคาสนิ คา้ ทีไ่ ม่สามารถแขง่ ขันกับตลาดออนไลน์ได้ สานักงานพาณชิ ยจ์ งั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ไดด้ าเนินการ ดงั นี้ ๑. จัดโครงการส่งเสริมตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้า OTOP/SMEs/วิสาหกิจชุมชน จดั สรรพ้ืนทจ่ี าหนา่ ยสินค้า เพือ่ แกไ้ ขปัญหาการค้าฝดื เคือง ๒. จัดทาระบบการดาเนินการงานบริการแบบ MOC Single point เพื่อลดระยะเวลา ของประชาชนผู้มาตดิ ตอ่ ในการจดทะเบียนนิติบคุ คล รวมท้ังการออกหนังสือรับรองสามารถออกไดท้ ่ีธนาคาร ไม่ต้องมาทส่ี านกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวัดทุกจังหวดั ๓. ดาเนินการได้ให้ความรู้ด้านการทาการตลาดสมัยใหม่ให้กับผู้ประกอบการ ใหส้ ามารถปรับรูปแบบการทาธุรกิจสมัยใหม่ ซึง่ เป็นวิวัฒนาการดา้ นการตลาดสมัยใหม่ ในขณะเดียวกัน กจ็ ัดหาตลาดออฟไลนภ์ ายในจงั หวัดและที่สว่ นราชการ ภาคเอกชนจัดขึ้น เพื่อฝึกหัดการคา้ ใหก้ ับผผู้ ลิต รายยอ่ ยทีส่ นใจ ๕.๔ ขอให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องมาทาการสารวจขยายเขตเสาไฟฟ้าและเพมิ่ แรงดนั ไฟฟา้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอาเภอยางตลาด ได้ส่งงานให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต ๒ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดอุบลราชธานี พิจารณาอนุมัติเข้าโครงการขยายเขตไฟฟ้า ให้พ้ืนทท่ี ากินทางการเกษตร (คขก.) ประจาปี ๒๕๖๒ และพิจารณาจัดสรรงบประมาณต่อไป ๕.๕ ปัญหาเศรษฐกิจ อาเภอคาตากล้า ได้ช่วยเหลือเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในเบื้องต้น ดังนี้ ๑) ประสานธนาคารออมสินและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอาเภอคาตากลา้ เพ่ือจดั หาแหลง่ เงินทุนสนบั สนุนเกษตรกรในระยะยาว ๒) จัดกิจกรรมอาเภอยิ้มเคล่ือนท่ี และให้ประชาชนนาสินค้ามาจาหน่าย ท้ังนี้ ประชาชนได้เสนอใหร้ ัฐบาลสนบั สนนุ ใหม้ ปี ระกนั ราคาสนิ ค้าทางการเกษตรทกุ ประเภท

๔๙๘ ๖. ปญั หาดา้ นสงิ่ แวดล้อม ๖.๑ คัดค้านโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน และ ขอให้ติดตามกรณี บรษิ ทั ปริน๊ ซ์ รบั เบอร์ จากดั ตง้ั อยเู่ ลขท่ี ๑๐๕ หมู่ ๑๒ ถนนปา่ ก้าว-บ้านกงั้ ตาบลผกั ตบ อาเภอหนองหาน จังหวัดอดุ รธานี ไดน้ านา้ เสยี จากบ่อบาบดั น้าเสยี ไปทิ้งนอกโรงงาน คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาแล้วเห็นว่า กรณี ดังกล่าวเป็นเรื่องเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ซึ่งดาเนินกระบวนการจัดทา รายงานการประเมนิ ผลกระทบสิง่ แวดล้อมไมถ่ ูกตอ้ ง และโรงงานเอกชนปลอ่ ยนา้ เสยี ลงสู่ภายนอก จึงส่ง เร่ืองไปยังเลขาธิการสานกั งานนโยบายและแผนรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และรฐั มนตรีว่าการ กระทรวงอตุ สาหกรรม ซ่งึ มีหนา้ ทแี่ ละอานาจที่เกีย่ วขอ้ งโดยตรงในการจดั การและแก้ไขปัญหา ๖.๒ ความเดือดร้อนของผู้ประกอบการในการขออนุญาตดูดทรายแม่น้าโขงและ แม่นา้ เหือง ซ่งึ เปน็ ผลกระทบท่ีเกดิ จากบันทึกขอ้ ตกลงคณะกรรมการร่วมไทย - ลาว เพ่ือดูแลการดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ตามแม่นา้ โขงและแม่น้าเหือง คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา พิจารณาแล้วเห็นว่า ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการอนุญาตให้ดูดทราย พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๖ บัญญัติให้ คณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ดูดทราย (กพด.) มีอานาจหน้าท่ีพิจารณาอนุญาตให้ทาการดูดทราย ในเขตพื้นท่ีระหว่งประเทศพิจารณาปัญหาและอุปสรรคข้อขัดข้องเกี่ยวกับการดูดทรายทั้งปวง ดังนั้น จึงส่งเรื่องไปยังปลัดกระทรวงมหาดไทยในฐานะประธาน กพด. ผู้อานวยการส่วนจัดการที่ดินของรัฐ กรมท่ีดิน ในฐานะเลขานุการ กพด. และเลขาธิการคณะกรรมการแม่น้าโขงแห่งชาติ เพ่ือพิจารณา ดาเนนิ การตามหน้าท่แี ละอานาจ ๗. ปัญหาดา้ นสงั คมและอื่น ๆ ๗.๑ ร้องเรียน/ร้องทุกข์ขอความเป็นธรรม กรณีคณะกรรมการพนักงานส่วนตาบลจงั หวัด หนองบัวลาภู นายอาเภอโนนสงั และนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลนคิ มพัฒนาละเวน้ การปฏิบัติหนา้ ท่ี และกล่ันแกลง้ พนกั งานสว่ นตาบล คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรม และการตารวจ วุฒิสภา ได้ตรวจสอบ ขอ้ มูลเพิ่มเติมปรากฏข้อเท็จจริงรับฟงั ได้ว่า คณะกรรมการพนักงานส่วนตาบลจงั หวัดหนองบัวลาภแู ละ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาคมพัฒนาซึ่งเป็นผู้ถูกร้องเรียนและเป็นผู้ฟ้องในคดีได้ย่ืนอุทธรณ์คา พิพากษาของศาลปกครองอุดรธานี และศาลปกครองอุดรธานีได้ส่งคาอุทธรณ์สานวนคดีไปยังศาล ปกครองสูงสุดเพ่ือพิจารณา เมื่อวันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ โดยศาลปกครองสูงสุดได้รับอุทธรณ์ไว้ พิจารณา เป็นคดีหมายเลขดาที่ อบ. ๒๖๙/๒๕๖๒ คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ดังน้ัน เห็นควรให้เรื่อง ดงั กล่าวเปน็ ไปตามขนั้ ตอนของกฎหมาย กระบวนการยุตธิ รรม

๔๙๙ ๗.๒ ร้องเรียน/ร้องทุกข์ขอความเป็นธรรม (เหมืองแร่หินปูน) ในท้องท่ีตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู กรณีศาลปกครองอุดรธานีได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนหนังสือ อนุญาตเข้าทาประโยชน์หรืออยู่อาศัยภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เก่ากลอยและป่านากลางในท้องที่ ดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู เพ่ือทาเหมืองแร่ หินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูน (เพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้าง) คณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม วุฒิสภา พจิ ารณาแลว้ เห็นว่า กรณคี กู่ รณียงั ไมป่ ฏบิ ตั ิตามคาบังคบั ของศาลปกครองหรือมขี อ้ ขดั ขอ้ งในการปฏบิ ตั ิตามคาบังคบั ของศาล ปกครองใหศ้ าลปกครองมีอานาจพิจารณาหรือไต่สวนและมีคาสง่ั กาหนดวิธีการดาเนินการใหเ้ ป็นไปตาม คาพิพากษาหรือคาสั่ง หรือมคี าส่งั ใด ๆ เพือ่ ใหก้ ารบงั คบั คดเี สร็จส้ินไปโดยเรว็ กรณนี ี้ผูร้ อ้ งมสี ทิ ธทิ จี่ ะยน่ื คาขอให้ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาหรือไตส่ วนและมีคาสงั่ กาหนดวธิ ีการดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามคา พพิ ากษาหรอื คาสงั่ หรือมคี าสัง่ ใด ๆ เพ่อื ใหก้ ารบงั คบั คดีเสรจ็ สิ้นไปโดยเร็วได้ ๗.๓ ขอให้ภาครัฐส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวในเขตอาเภอสหัสขันธ์ เน่อื งจากเปน็ พื้นทท่ี ีม่ ีสถานทส่ี าคญั ทนี่ ่าสนใจหลายแหง่ สานกั งานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ดาเนนิ การ ดังนี้ ๑) ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมโฮมสเตย์ไทย สถานที่ดาเนินการ คือ สหัสขันธ์ ไดโนโรด โฮมสเตย์ ตาบลโนนบุรี อาเภอสหสั ขนั ธ์ จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ จานวน ๑๙ หลงั ๒) ดาเนินกิจกรรมสื่อสัญจร ON Tour : สไตล์นวัตวิถีอาเภอสหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธ์ุ โดยเป็นการเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวหลักของอาเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุกับ ๘ วิถีวฒั นธรรม ได้แก่ อาหาร การแต่งกาย ท่อี ยอู่ าศัย ประเพณี ภาษา อาชพี ความเชอื่ และศิลปวัฒนธรรม ท่ีแสดงถึงจดุ เดน่ เอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ของชุมชนสุดยอดผลติ ภณั ฑ์เดน่ และสถานท่ที อ่ งเท่ยี วเพอื่ เปน็ จุดขาย ของชุมชนมคี วามนา่ สนใจและดงึ ดดู นกั ท่องเทยี่ วให้เดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเท่ียวมากข้นึ ๗.๔ ขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณในการกอ่ สร้างพทุ ธมณฑลร้อยเอ็ด คณะกรรมาธกิ ารการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะและวัฒนธรรม วุฒิสภา แจ้งว่า การดาเนินงานท่ีผ่านมาของคณะกรรมาธิการฯ ได้มีการเชิญผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติเข้าร่วมประชุมและมขี ้อสังเกตและข้อเสนอแนะให้สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติพจิ ารณา ดาเนินการเก่ียวกับการจัดตั้งพุทธมณฑล ๔ ภาคแล้ว ดังนั้น จึงได้แจ้งข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดงั กล่าวไปยังสานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ เพอื่ เป็นข้อมูลประกอบการพจิ ารณาในส่วนทเ่ี ก่ียวข้อง ต่อไป และแจ้งผลการพิจารณาดงั กล่าวใหน้ ายประเสรฐิ สมอดุ ร ทราบด้วยแล้ว

๕๐๐ ๗.๕ กรณีปัญหาประชาชน โค กระบือ ประสบภัยพบิ ัติฟ้าผ่าและไม่ได้รับความช่วยเหลือ เยียวยาความเสียหายด้านชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ทาใหป้ ระชาชนไดร้ ับความเดอื ดรอ้ นเปน็ อยา่ งมาก สานกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดสกลนคร และสานักงานคลงั จังหวัด สกลนคร ได้ตรวจสอบกรณีดังกล่าวพบว่า ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๕ ให้คานิยาม “ภัยพิบัติ” หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ฟ้าผ่า.....ฯ (ระบุฟ้าผ่าเป็นสาธารณภัย อยู่ในนิยามภัยพิบัติ) โดยมีหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพ่อื ช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ้ ๕.๓.๒ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณสี ัตว์ตาย หรือสูญหาย ๕.๓.๒.๑ โค กระบือ ให้ความช่วยเหลือตามจานวนที่เสียหาย แต่ไมเ่ กนิ รายละ ๒ ตัว และ มีอัตราสูงสุดการช่วยเหลือตามอายุสัตว์ โดยอายุมากกว่า ๒ ปี อัตราตัวละไม่เกิน ๑๕,๘๐๐ บาท ประชาชนเกษตรกรได้รับเงินเยียวยาช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนในระดับหนึ่ง แต่ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๕ ให้คานิยาม “ภัยพิบัติ” หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนท้ิงช่วง ภัยจากลูกเห็บ..... (ตัด “ฟ้าผ่า” ออกจากสาธารณภัย ไม่อยู่ในนิยาม “ภยั พิบตั ิ”) ส่งผลให้ยกเลิกการช่วยเหลือเยียวยา กรณชี ว่ ยเหลอื สัตวเ์ ล้ียง เช่น โค กระบอื ทต่ี ายเพราะ ถูกฟ้าผ่า โดยกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ฝ่ายกฎหมายให้เหตุผลในการยกเลิกระเบียบการให้ ความเหลือ คือ ภัยที่เกิดข้ึนต้องมีลักษณะเป็นภัยพิบัติ โดยมีการกระทาหรือเหตุต่าง ๆ ไม่ว่าเกิดจาก ธรรมชาติหรือมีบุคคลหรือสัตว์ทาให้เกิดข้ึน เกิดอันตรายหรือเสียหายแก่ชีวิตร่างกายหรือทรัพย์สินคน ในสังคม ชมุ ชน ต้องเป็นสาธารณภัยท่เี กิดแก่คนหมูม่ าก มใิ ช่เกดิ แกบ่ ุคคลใดบุคคลหน่ึง เป็นภัยท่ีเกดิ ขึ้น โดยปจั จบุ ันทันด่วน จาเปน็ ต้องรบี แก้ไขโดยฉับพลนั และอยู่ระหวา่ งทย่ี งั ไมไ่ ด้รบั เงนิ งบประมาณรายจา่ ย ๗.๖ ปัญหายาเสพตดิ อาเภอคาตากล้า ได้เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข ดงั นี้ ๑) บูรณาการร่วมกันระหว่างฝ่ายปกครองและตารวจในด้านการข่าวและการ ปราบปรามยาเสพติดโดยไดจ้ ัดชดุ ปฏิบตั กิ ารประจาตาบล ต้ังดา่ นตรวจคน้ ตามเส้นทางท่กี ลุม่ ผู้ค้ายาเสพ ตดิ อาจจะใชเ้ ป็นเสน้ ทางในการลาเลยี งยาเสพตดิ เขา้ มาในพ้ืนท่ี ๒) ให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในพื้นท่ีโดยเฉพาะตาบลท่ีมีปัญหายาเสพติดรุนแรง ผนวกเปน็ ศนู ย์ดารงธรรมเคลื่อนที่ เพื่อแกไ้ ขปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชน ๓) จัดชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจฝ่ายปกครองประกอบด้วยพนักงานฝ่ายปกครอง สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านสนธิกาลังร่วมกับ ตารวจ ออกตรวจพื้นที่เสี่ยงหรือล่อแหลมต่อการกระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเดือนละ ๒ ครั้ง

๕๐๑ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ สามารถจับกุมผูเ้ สพยาเสพตดิ จานวน ๒๔ ราย นาเข้าสู่กระบวนการบาบัดยาเสพติด ค่ายปรับเปล่ียนพฤติกรรมในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ จานวน ๑๐ ราย ส่วนอีก ๑๔ ราย เคยเข้าสู่ กระบวนการบาบดั ฯ แลว้ ๔) รัฐบาลควรสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์ที่เก่ียวกับการปฏิบัติหน้าที่ในการ ออกตรวจแก่ผู้ปฏิบัติหน้าท่ี เพ่ือเป็นขวัญกาลังใจในการปฏิบัติหน้าท่ีและการปฏิบัติหน้าท่ีก็จะมี ประสิทธภิ าพในการทางานมากขึน้ ๗.๗ ปัญหาองคก์ รปกครองท้องถ่ิน อาเภอคาตากล้า ได้มขี ้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ดังนี้ ๑) ให้หน่วยงานท่ีเป็นเจ้าของภารกิจเร่งดาเนินการถ่ายโอนภารกิจให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถนิ่ ในพน้ื ทเ่ี พ่อื องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินจะไดต้ ง้ั บประมาณบรหิ ารจัดการ ๒) ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องติดตามผลการเสนอของบประมาณต่าง ๆ ที่องค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ เสนอและแจ้งให้ทราบเป็นระยะ ๆ ๓) สนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือประโยชน์ สาธารณะ ๗.๘ ปัญหางบอดุ หนนุ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน อาเภอคาตากล้า ได้เสนอแนะให้มีการลดขั้นตอนในการจัดทาคาของบประมาณ เงินอุดหนุน เพม่ิ ระยะเวลาในการของบประมาณฯ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ต้องสารวจและจดั ทา คาของบประมาณไว้ล่วงหน้า เม่ือถึงห้วงเวลาท่ีส่วนราชการได้เปิดให้ของบประมาณจะได้ดาเนินการได้ ทันตามระยะเวลาท่กี าหนด ๗.๙ ปัญหาไม่มีไฟฟ้าในบางพ้ืนทที่ าใหไ้ ม่สามารถสูบนา้ บาดาลเพ่อื ใชใ้ นการเกษตร การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค สาขาพงั โคน ไดด้ าเนินการสารวจและจัดทา ปร. ๔ ปร.๕ และ ประมาณการค่าใช้จ่าย พร้อมทั้งได้เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สานักงานใหญ่ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ วงเงิน ๗๐๐,๐๐๐ บาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างรอรับการ จดั สรรงบประมาณ ๗.๑๐ ความเหล่ือมล้าทางสงั คม โดยมกี ารเปรียบเทยี บการจดั สรรงบประมาณในการพฒั นา กรงุ เทพมหานครและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร ตรวจสอบแล้วเนื่องจาก กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการพัฒนา มีโรงงาน สถานประกอบการ มากมายสามารถจัดเก็บรายไดเ้ อง มงี บประมาณเพยี งพอเพื่อบรหิ ารจดั การและใช้จ่ายงบประมาณในการ พัฒนากรุงเทพมหานครโดยไม่ต้องรอรับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล ซ่ึงแตกต่างจากองค์กร

๕๐๒ ปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมีขนาดเล็กหรือมีสถานประกอบการในพื้นท่ีน้อย ทาให้การจัดเก็บรายได้น้อย ไม่เพียงพอในการบริหารงาน จึงต้องขอรับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลงบพัฒนาด้านโครงสร้าง พ้ืนฐานมีประมาณร้อยละ ๑๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจาปี จึงมีข้อเสนอแนะออกกฎหมายให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บรายได้ให้เพียงพอต่อการบริหารงาน และจัดทาโครงสร้างพื้นฐานให้ เปน็ ไปตามความตอ้ งของประชาชนในเขตองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ หากมรี ายได้ไม่เพยี งพอ ไมส่ ามารถ บริหารจัดการพฒั นาองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ไดใ้ หย้ ุบรวมองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินเพ่อื ลดรายจ่าย ประจา ๗.๑๑ ปัญหาข้อกฎหมายการขออนุญาตใช้พื้นที่สาธารณประโยชน์ ซ่ึงได้รับการบริจาค ให้แก่สมาชกิ กลุ่ม ปันบญุ เพอ่ื จัดสร้างโรงเรือนลา้ งผักและบรรจหุ ีบห่อ กรณีดังกล่าวเกิดจากความสาคัญผิดในส่ิงอันเป็นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม เพราะ ทีด่ ินแปลงน้คี วามจริงจะใช้ประโยชน์เฉพาะกลุ่มวิสาหกิจชุมชนปันบุญ โดยใชเ้ ปน็ สถานทก่ี ่อสรา้ งอาคาร โรงล้างแพ็คผัก ขณะนี้อยู่ระหว่างสานักงานที่ดินจังหวัดกาฬสินธ์ุ แจ้งให้อาเภอฆ้องชัยและเทศบาล ตาบลฆ้องชัยพัฒนาตรวจสอบขอ้ เท็จจริงเพิม่ เติม ๗.๑๒ ขอให้พิจารณาออกกฎหมายให้นายจ้างท่ีมีการจ้างงานลูกจ้าง ตั้งแต่จานวน ๑ คน ขึ้นไป ให้แจ้งการจ้างงานท่ีหน่วยงานส่วนท้องถิ่น เทศบาล ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การ บริหารส่วนจงั หวดั เพือ่ ให้มีการบนั ทกึ ข้อมูลเขา้ สรู่ ะบบออนไลน์ท่ีเชือ่ มโยงไปยังฐานขอ้ มลู ของกระทรวง แรงงาน เพื่อโยชน์ในการดูแลคุ้มครองแรงงาน และขอให้พิจารณาออกกฎหมายบูรณาการข้อมูล Big Data กลุ่มแรงงานนอกระบบในการแจ้งกลุ่มอาชีพต่อหน่วยงานส่วนท้องถิ่น เทศบาล ตาบล องคก์ ารบริหารส่วนตาบล องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เพอ่ื ให้มกี ารดแู ลคุม้ ครองแรงงาน คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปประเทศด้านแรงงาน ในคณะกรรมาธิการการแรงงาน ชีแ้ จงตอ่ ขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี ประเด็นท่ี ๑ กระทรวงแรงงาน โดยสานักงานประกันสังคม มีกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ กาหนดให้นายจ้างท่ีมีลูกจ้างที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปีบริบูรณ์ จานวนต้ังแต่ ๑ คนขึ้นไป ขึ้นทะเบียนลูกจ้างผู้ประกันตนและชาระเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ในอัตราที่กฎหมายกาหนด ซึ่งโดยหลักกฎหมายแล้วกระทรวงแรงงานจึงมีฐานข้อมูลการจ้างงาน ในภาคเอกชน (จานวนนายจ้าง จานวนลูกจ้างประกันตน) ท้ังประเทศ และหากนายจ้างผู้ใดฝ่าฝืน ก็มีบทลงโทษจาคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ สาหรับลูกจ้าง ที่เป็นแรงงานต่างด้าว พระราชกาหนดการบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ กาหนดให้ผู้ท่ีจ้างคนต่างด้าวทางาน (ไม่ว่าจะเป็นนายจ้างหรือผู้ว่าจ้าง) มีหน้าที่ต้องแจ้งข้อมูลเก่ียวกับ การทางานของคนต่างด้าวให้นายทะเบียนทราบ เพื่อการตรวจสอบข้อมูลหาที่จ้างคนต่างด้าวทางาน ฝ่าฝืน ก็มีบทลงโทษ ดังน้ัน จึงไม่จาเป็นต้องออกกฎหมายอ่ืนมากาหนดให้นายจ้างที่มีลูกจ้าง (ไม่ว่า

๕๐๓ แรงงานไทยหรือแรงงานต่างด้าว) ต้งั แต่ ๑ คนข้ึนไป แจง้ การจ้างงานต่อหน่วยงานอื่น เพอ่ื บนั ทึกข้อมูล เข้าสู่ระบบออนไลน์ที่เช่ือมโยงกับฐานข้อมูลของกระทรวงแรงงานแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามหากองค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ ประสงคจ์ ะเช่ือมโยงฐานข้อมูลกับกระทรวงแรงงาน เพอ่ื ประโยชน์ในการปฏิบตั ิงาน ท้องถ่นิ ท่ีเกี่ยวข้อง ก็ย่อมสามารถประสานการดาเนนิ การได้ โดยพจิ ารณาเป็นรายกรณี ประเด็นท่ี ๒ กระทรวงแรงงาน โดยสานักงานปลัดกระทรวงแรงงานอยู่ระหว่างการ จดั ทาร่างกฎหมายว่าดว้ ยการบริหารจัดการแรงงานนอกระบบ โดยใช้ช่ือว่า ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ พ.ศ. .... ซ่ึงเหตุผลในการยกร่าง คือ ปัจจุบันยังไม่มี บทบัญญัติของกฎหมายเก่ียวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบไว้อย่างชัดเจน ทาให้แรงงานนอกระบบซึ่งเป็นกาลังแรงงานกลุ่มใหญ่ของประเทศ และเป็นกาลังสาคัญท่ีมีส่วนสร้าง ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ไมส่ ามารถเขา้ ถึงขนั้ พ้ืนฐานในการทางานหรือการประกอบอาชพี ความ ปลอดภัยในการทางาน หลกั ประกันทางสงั คม ตลดจนการรวมกล่มุ รวมตวั ในการจัดตง้ั องค์กรเพือ่ สร้าง อานาจต่อรองใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมในการทางาน ดงั นั้น เพ่ือใหแ้ รงงานนอกระบบได้รับการสง่ เสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี คาดว่าจะเสนอร่างพระราชบัญญัติเข้าสู่ การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีภายในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ ท้ังนี้ หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประสงค์จะเช่ือมโยงฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบกับกระทรวงแรงงาน เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ทอ้ งถ่นิ ท่เี กย่ี วข้อง กย็ อ่ มสามารถประสานการดาเนินการได้ ผลการดาเนินการเร่ืองร้องเรียน/ประเด็นข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ จากจานวนเรื่องทัง้ หมด ๒๖๙ เรื่อง ส่งเร่ืองไปยังคณะกรรมาธกิ ารและหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง จานวน ๑๙๓ เรื่อง ไดร้ บั แจ้งผลการ พิจารณา จานวน ๕๗ เร่ือง โดยคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา ได้รับเรื่องร้องเรียน มากที่สุด จานวน ๒๔ เร่ือง และแจ้งผลการพิจารณามายังคณะอนุกรรมการฯ จานวน ๔ เรื่อง รองลงมา คือ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จานวน ๒๐ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๖ เรือ่ ง คณะกรรมาธิการการศึกษา จานวน ๑๗ เรอื่ ง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เร่อื ง คณะกรรมาธิการ การคมนาคม จานวน ๑๒ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เร่ือง และคณะกรรมาธิการการปกครอง ท้องถ่ิน จานวน ๑๑ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๗ เร่ือง ตามลาดับ ส่วนประเด็นข้อคิดเห็นและ ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาของคณะกรรมาธิการและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง สาหรบั ประเด็น ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีไม่ได้ส่งไปยังคณะกรรมาธิการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใด ส่วนใหญ่เป็น เรื่องท่ีคณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) ได้มีการช้ีแจงในรายละเอียดและข้อมูลในเรื่องนั้น ๆ ให้แก่ผู้เสนอประเด็นข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะได้รับทราบและเป็นที่เข้าใจแล้ว หรือได้มอบหมายให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงานหรือ ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ีรับเรื่องน้ัน ๆ ไปดาเนินการแก้ไขหรือดาเนินการในส่วนที่เก่ียวข้องกับ หน้าทแ่ี ละอานาจตอ่ ไป

๕๐๔ สาหรับหน่วยงานที่มีการส่งเรื่องร้องเรียนและประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปมากท่ีสุด คือ ผวู้ ่าราชการจงั หวัดรอ้ ยเอด็ จานวน ๒๔ เร่อื ง รองลงมา คือ ผูว้ ่าราชการจังหวดั สกลนคร จานวน ๒๒ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๑๔ เรือ่ ง ผู้วา่ ราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน ๑๕ เรื่อง แจ้งผลการ พิจารณา จานวน ๑๑ เรื่อง ผวู้ ่าราชการจังหวัดมุกดาหาร จานวน ๔ เร่ือง แจง้ ผลการพิจารณา จานวน ๓ เรื่อง และผวู้ ่าราชการจังหวดั นครพนม จานวน ๓ เร่อื ง สว่ นเรื่องรอ้ งเรียนและประเด็นข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะท่ียงั ไม่มีการดาเนนิ การหรอื แจ้งผล การดาเนินการนั้น เป็นเร่ืองที่ต้องดาเนินการตามกระบวนการของกฎหมาย การช้ีแจงทาความเข้าใจ ให้แก่ประชาชนจึงเป็นวิธีทส่ี ามารถทาได้ แต่จะดาเนินการแกไ้ ขจนสาเร็จตามความประสงคต์ ้องซงึ่ ต้อง ใช้เวลาในการดาเนนิ การและเป็นไปตามขัน้ ตอนกระบวนการทางกฎหมาย

๕๐๕ ๓.๔ สรปุ ผลการดาเนนิ การเรอ่ื งรอ้ งเรยี น/ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภา พบประชาชนในพน้ื ท่จี งั หวัดภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ตอนลา่ ง) ข้อมูล ณ วนั ที่ ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ คณะอนกุ รรมการดา้ นรวบรวม แยกเรื่องและติดตามเรือ่ งร้องเรียน วุฒิสภา การจาแนกลาดับเรือ่ งรอ้ งเรียนด้วยหนงั สอื ๑. ปญั หาดา้ นนา้ จ้านวน ๑๒ เรอ่ื ง ๒. ปญั หาดา้ นเกษตร จา้ นวน ๖ เร่อื ง ๓. ปญั หาด้านการคมนาคม จา้ นวน ๔ เรื่อง ๔. ปญั หาดา้ นสงั คมและอน่ื ๆ จา้ นวน ๔ เร่อื ง ๕. ปญั หาดา้ นที่ดนิ จา้ นวน ๓ เรอ่ื ง ๖. ปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ จา้ นวน ๒ เรอ่ื ง ๗. ปญั หาด้านสิง่ แวดลอ้ ม จ้านวน ๑ เร่อื ง ผลการดาเนนิ การคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน คณะกรรมการอ้านวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน โดยคณะอนุกรรมการด้าน รวบรวมแยกเรื่อง และตดิ ตามเร่อื งรอ้ งเรยี น ไดด้ า้ เนินการพิจารณาเรือ่ งเรยี นของประชาชนในพืนที่ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื (ตอนล่าง) โดยได้สง่ เรอื่ งรอ้ งเรียนไปยังคณะกรรมาธกิ ารสามัญประจ้าวฒุ สิ ภา และ หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง เพ่ือพจิ ารณาด้าเนินการในสว่ นที่เก่ียวข้องตามหน้าทีแ่ ละอ้านาจ ดังนี ๑. ส่งเร่อื งไปยงั คณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจา้ วฒุ สิ ภา จา้ นวน ๑๙ เรอื่ ง ๒. สง่ เรือ่ งไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง จา้ นวน ๑๒ เรื่อง

๕๐๖ ขอ้ มูลของเรอ่ื งเรียนตามลกั ษณะปัญหา ๑. ปัญหาดา้ นท่ีดนิ จานวน ๓ เรือ่ ง ๑.๑ พนื้ ที่บ้านน้าออ้ มน้อย หมู่ท่ี ๖ และ หมู่ท่ี ๑๐ ต้าบลหวา้ นค้า อา้ เภอราษีไศล จังหวดั ศรีสะเกษ กรณที ี่ดินท้ากินไมม่ เี อกสารสิทธ์ิ ซ่งึ ว่าไดท้ ้ากินและใช้ประโยชนใ์ นพนื ทีม่ าเป็นระยะเวลานาน และเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินมาก่อนการประกาศใช้พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ แต่พืนที่ที่ใช้ประโยชน์ดังกล่าวนัน ยังไม่ได้รับเอกสารสิทธ์ิในที่ดินท้ากิน รวมทังที่ดิน ดังกล่าวเป็นท่ีดินตกส้ารวจไม่ใช่ท่ีสาธารณประโยชน์ จึงขอร้องเรียนมาเพื่อให้มีการออกเอกสารสิทธ์ิ ในท่ีดนิ สถานะเร่ืองร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหวา่ งการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการเกษตร และสหกรณ์ วุฒิสภา ๑.๒ ราษฎรในเขตเทศบาลต้าบลบึงบูรพ์ อ้าเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ ร้องขอให้ ออกโฉนดที่ดินที่ตกหล่น ซึ่งได้ครอบครองและเข้าท้าประโยชน์ในท่ีดินมาก่อนการประกาศเป็น เขตปฏริ ูปทีด่ ินจึงร้องเรยี นมาเพ่อื ขอใหม้ กี ารออกโฉนดทดี่ นิ โดยการเดนิ ส้ารวจและขอให้ยกเลกิ ประกาศ เขตปฏริ ูปที่ดนิ ในพืนที่ สถานะเร่ืองรอ้ งเรียนในปัจจุบันอยู่ระหวา่ งการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการเกษตร และสหกรณ์ วฒุ ิสภา ๑.๓ ประชาชนในพื้นท่ีอ้าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ น้าเสนอปัญหาเพื่อขอรับการแก้ไข ปญั หาท่ีดินสาธารณประโยชน์โนนป่ายาง อ้าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ จ้านวน ๔,๑๒๕ ไร่ ซ่ึงในพืนที่ ดังกล่าวผู้ร้องเรียนได้ให้ข้อมูลว่าประชาชนในพืนท่ีได้อาศัยและท้ากินในที่ดิน มาตังแต่ปี ๒๔๕๐ จนถึงปัจจุบันชาวบ้านอาศัยอยู่ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน ซึ่งในการประกาศที่ดินสาธารณประโยชน์ แปลงโนนป่ายาง นัน ไม่สามารถพสิ จู นข์ อบเขตตามทีไ่ ด้อา้ งอิงไว้ ตลอดจนไมส่ อดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ สถานะเร่ืองร้องเรียนในปัจจุบัน คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา พิจารณาแล้ว เห็นว่าเรื่องดังกล่าวอยู่ในหน้าท่ีและอ้านาจของกระทรวงมหาดไทย ตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ส้าหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. ๒๕๕๓ และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนตามพระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ก้าหนดให้คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ มีหน้าที่และอ้านาจในการตรวจสอบและประเมินผลการใช้ท่ีดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพที่ดิน และศักยภาพทดี่ นิ ทกุ ประเภท ดังนัน คณะกรรมาธิการ จงึ ได้มีหนังสอื สง่ เรอ่ื งดงั กลา่ วไปยงั กระทรวงมหาดไทย และคณะกรรมการนโยบายทีด่ ินแหง่ ชาติเพอ่ื พจิ ารณาตามหน้าทแี่ ละอา้ นาจ ตอ่ ไป

๕๐๗ กรณีเร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหาด้านที่ดิน ของพืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) เปน็ ประเด็นทมี่ ีความเกยี่ วข้องและเช่ือมโยงกบั ปัญหาภาคการเกษตร ในลักษณะท่ปี ระชาชน ให้ข้อมลู ว่าได้ใช้ประโยชน์ในทีด่ ินมาเป็นระยะเวลานาน แต่ไม่สามารถออกเอกสารสิทธิ์ในทด่ี ินท้ากินได้ จึงต้องการเอกสารสิทธ์ิในท่ีดินท้ากิน ซ่ึงเร่ืองร้องเรียนทัง ๓ เร่ือง อยู่ระหว่างการด้าเนินการของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแต่เน่ืองจากการแก้ไขปัญหาต้องแก้ปัญหาในภาพรวมทังประเทศ แนวทางการแก้ไข จึงอาจจะต้องใช้เวลาในการดา้ เนินการ ๒. ปญั หาด้านนา้ จานวน ๑๒ เรือ่ ง ๒.๑ กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม บ้านนาทุ่งใหญ่ ต้าบลกุดชุมแสง อ้าเภอหนองบัวแดงจังหวัด ชัยภูมิ เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณโครงการขดุ เจาะบ่อบาดาลและตดิ ตังระบบโซลาร์ เซลล์ โครงการแปรรูปเส้นไหมสู่ตลาดโลก โครงการจัดซือวัสดุอุปกรณ์ส้าหรับการเลียงไหม โครงการขุด ลอกอ่างเกบ็ น้าลา้ ห้วยเด่อื คณะกรรมการฯ ได้ส่งเรื่องดังกล่าวไปยังคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา เพ่ือพิจารณาด้าเนินการตามหน้าท่ีและอ้านาจ ต่อมาประธานคณะกรรมาธิการกา รเกษตร และสหกรณ์ วุฒิสภา ได้มีหนังสือแจ้งว่าได้ส่งเรื่องร้องเรียนดังกล่าวไปยังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อพิจารณาในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมายให้กรมหม่อนไหม ตรวจสอบขอ้ มูลและพจิ ารณาโครงการของผู้ร้อง กรมหม่อนไหม ได้รายงานผลการด้าเนินการตรวจสอบพบว่า กลุ่มเกษตรกร ปลูกหม่อนเลียงไหม บ้านนาทุ่งใหญ่ ได้รับการถ่ายทอดความรู้และสนับสนุนวัสดุด้านการเกษตร จากงบประมาณของกรมหม่อนไหมและงบพัฒนาจังหวัด ไปแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๖๒ ทังนี กรมหม่อนไหม ได้มอบหมายใหห้ น่วยงานในพืนทป่ี ระสานกลุม่ เกษตรกรรว่ มวางแผนและพจิ ารณาจดั ทา้ โครงการตามความต้องการเพ่ือเสนอในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ต่อไป ๒.๒ พ้นื ทีบ่ า้ นหนองโงง้ ต้าบลหว้านค้า อ้าเภอราษไี ศล จังหวดั ศรสี ะเกษ ขอรับสนบั สนุน งบประมาณเพ่ือจัดท้าโครงการขุดลอกหนองโง้ง หมู่ท่ี ๑๑ เพื่อให้เกษตรกรในพืนที่ได้ใช้ประโยชน์ ทางด้านการเกษตร สถานะเร่ืองรอ้ งเรยี น คณะกรรมการฯ ได้มหี นังสือไปยงั ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ศรีสะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดได้ส่ง เรื่องไปยังเกษตรและสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษและนายอ้าเภอราษีไศล เพื่อพิจารณาด้าเนินการตาม หนา้ ทแ่ี ละอ้านาจ ต่อไป ๒.๓ ประชาชนพ้ืนที่หมู่ที่ ๘ ต้าบลหวา้ นค้า อ้าเภอราศีไศล จังหวัดศรสี ะเกษ ขอให้มีการ ขดุ ลอกหนองขนี้ กขนาด ซึ่งตืนเขินทา้ ใหใ้ นฤดูฝนนา้ ท่วมพนื ทกี่ ารเกษตร ส่วนฤดแู ล้งนา้ ลดลงไมเ่ พียงพอ ตอ่ การใชอ้ ุปโภคบรโิ ภค อีกทังมสี แี ละกลนิ่ พร้อมทา้ สะพานเพอื่ การระบายนา้

๕๐๘ สถานะเรอ่ื งรอ้ งเรียน คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยงั ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ศรสี ะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดได้ส่งเร่ืองไปยังเกษตรและสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษและนายอ้าเภอราษีไศล เพ่ือพจิ ารณาดา้ เนินการตามหน้าที่และอ้านาจ ต่อไป ๒.๔ เกษตรกรในพ้ืนที่ต้าบลโจดม่วง อ้าเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ ขาดแคลนน้า ในการทา้ นาปี จงึ ขอจัดตง้ั สถานีสบู น้าไฟฟา้ ทีบ่ ้านสงยาง ตา้ บลกงุ อ้าเภอศลิ า จงั หวดั ศรสี ะเกษ สถานะเรอื่ งร้องเรียน คณะกรรมการฯ ได้มหี นังสอื ไปยังผวู้ ่าราชการจังหวดั ศรีสะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดได้ส่งเรื่องไปยังเกษตรและสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษและนายอ้าเภอศิลา ลาด เพ่ือพิจารณาด้าเนินการตามหน้าท่ีและอา้ นาจ ต่อไป ๒.๕ พ้ืนท่ีต้าบลชีวึก อ้าเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา ได้เกิดปัญหาภัยแล้ง มาเป็นระยะเวลานาน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล รวมทัง ไม่มีแหล่งน้าธรรมชาติในการอุปโภค บริโภค และไม่เพียงพอต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเลียงสัตว์จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดท้าโครงการระบบประปาหมู่บ้าน แต่เน่ืองจากเป็นโครงการขนาดใหญ่ ซ่ึงเกินศักยภาพของ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ และอา้ เภอ จึงขอสนบั สนุนงบประมาณในการดา้ เนนิ โครงการฯ ดงั กลา่ ว สถานะเร่ืองร้องเรียน คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด นครราชสีมา เพื่อพิจารณาด้าเนินการตามหน้าท่ีและอ้านาจ ๒.๖ ประชาชน หมู่ท่ี ๒ หม่ทู ี่ ๔ หมู่ที่ ๕ หมทู่ ี่ ๗ และหมทู่ ่ี ๘ ต้าบลดา่ นในอ้าเภอดา่ นขุนทด จังหวัดนครราชสมี าจ้านวน ๖๔๙ ครัวเรอื น กา้ ลงั ประสบปญั หาขาดแคลนน้าอปุ โภค บริโภค เพราะปัจจบุ ัน แหล่งน้าดิบซึ่งใช้ในการผลิตน้าประปาหมู่บ้าน คือ บึงใหญ่ มีปริมาณน้าเหลือน้อยไม่เพียงพอต่อการผลิต นา้ ประปา จึงขอรับการสนับสนนุ งบประมาณในการขยายเขตประปาในเขตพนื ท่ี สถานะเรื่องร้องเรียน คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทย เพือ่ พิจารณาด้าเนินการตามหน้าที่และอ้านาจ ๒.๗ ประชาชนในพืนที่อ้าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ มีหนังสือร้องเรียน จานวน ๖ ฉบบั ที่มีลกั ษณะเดียวกนั คือ ประสบปัญหาปริมาณนา้ ไมเ่ พียงพอตอ่ การใช้ทงั ในส่วนอปุ โภค และบริโภค จึงมีความประสงค์ในการสนับสนุนพลังงานทดแทน หรือ พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ ในการสูบน้า รวมทัง มีความประสงค์การขุดเจาะบ่อบาดาล เพ่ือให้ประชาชนในพืนท่ีได้น้าน้าไปใช้ ในการเกษตร สถานะเรื่องร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณ์ วฒุ สิ ภา

๕๐๙ กรณีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหาด้านน้า ของพืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) เป็นประเด็นที่เก่ียวข้องกับการขาดแคลนน้าส้าหรับการอุปโภค บริโภค ตลอดจน ภาคการเกษตร รวมทังขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพอ่ื ขุดลอกแหลง่ น้า และการสร้างระบบประปา ตลอดจนการขุดเจาะบ่อบาดาลและติดตังระบบโซลาร์เซลล์ แต่เนื่องจากการน้าเสนอประเด็น ของประชาชนเป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนเป็นเร่ืองที่อยู่ใน หน้าท่ีและอ้านาจของหน่วยงานในพืนท่ี การแก้ไขปัญหาจึงอาจจะต้องใช้ระยะเวลาในการด้าเนินการ และการประสานงาน ๓. ปัญหาดา้ นเกษตร จานวน ๖ เร่ือง ๓.๑ กรณีปัญหาความเดือดร้อนของพี่น้องเกษตรกรในเขตพ้ืนที่ต้าบลดู่ อ้าเภอราศีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ มีความประสงค์ ขอรับการสนับสนนุ โครงการต่าง ๆ อาทิ โครงการขุดลอกห้วยน้าเค็ม ประชาชนยังไม่ได้รับหนังสือรับรองการท้าประโยชน์ในท่ีดินท้ากิน โครงการแหล่งน้าประปาขนาดใหญ่ เพื่อใช้ทังต้าบล โครงการพลงั งานแสงอาทิตย์ สถานะเร่ืองร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณ์ วฒุ ิสภา ๓.๒ ขอความอนุเคราะห์อนุญาตให้เลี้ยงปลาในกระชัง กรณีผู้ร้องและกลุ่มผู้เลียงปลา ในกระชงั เขอ่ื นล้านางรอง อ้าเภอโนนแดง จงั หวัดบุรรี ัมย์ เพ่ือขอใหใ้ นระหว่างทกี่ รมชลประทานยงั ไม่ได้ ส่งพืนที่คืนกรมป่าไม้ ขอให้อนุญาตผู้ร้อง และคณะ ได้ประกอบอาชีพเลียงปลาในกระชังบริเวณพืนที่ เข่ือนล้านางรองและควรมีมาตรการในการเยียวยาในการรือถอน เน่ืองจากในขณะรือถอนผู้ร้อง ไมส่ ามารถเก็บเกยี่ วผลผลิตได้ รวมทังไม่มพี นื ท่ใี ห้ประกอบอาชีพ กรณีดังกล่าวผู้ร้องและคณะ ถูกเจ้าหน้าที่โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาล้านางรอง ร้องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน เก่ียวกับการบุกรุกพืนที่และเข้าใช้พืนที่โดยไม่ได้รับอนุญาต และศาลจังหวัดนางรอง ได้มีค้าพิพากษาถึงที่สุดว่าผู้ร้องในฐานะจ้าเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติ ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ ฐานบกุ รุกเข้าไปยึดถือครอบครองก่นสร้าง และแผว้ ถางป่าสงวนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาและมีความเห็นว่ากรณีดังกล่าวศาลได้มีค้าพิพากษาถึงท่ีสุดแล้ว จงึ อยูน่ อกเหนือหน้าทแ่ี ละอ้านาจของวุฒสิ ภา ๓.๓ ประชาชนในพื้นที่บ้านราษฎร์ด้าเนินและชุมชนบ้านลาดเหนือ ต้าบลหนองบัวแดง อ้าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ น้าเสนอปัญหา จ้านวน ๒ ฉบับ ที่มีลักษณะเดียวกัน คือ ขอรับการ แก้ไขเก่ียวกับเอกสารสิทธ์ิในท่ีท้ากินและที่อยู่อาศัย เน่ืองจากพืนท่ีบางส่วนไม่มีเอกสารสิทธ์ิในการ ครอบครองท่ีดิน รวมทังเป็นพืนที่ท่ีมีการช้าระภาษีบ้ารุงท้องท่ี (ภ.บ.ท.๕) ซึ่งไม่สามารถน้าที่ดินไปใช้ ประกอบการพิจารณาเพ่ือขอรับการสนับสนุนโครงต่าง ๆ ของรัฐและเอกชน และปัญหาแหล่งน้า

๕๑๐ ไม่เพียงพอต่อภาคการเกษตร อุปโภค และบริโภค สถานะเรื่องร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหว่างการ พิจารณาของคณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา ๓.๔ ประชาชนในพ้ืนที่ต้าบลหนองใหญ่ อ้าเภอเมืองจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ ต้องการให้ ด้าเนนิ การเพื่อขุดลอกแหล่งน้าให้แก่เกษตรกร ขยายแนวเขตไฟฟ้าเพอื่ การเกษตรให้ครอบคลุมทุกพื้นท่ี เพือ่ อ้านวยความสะดวกในการใชป้ ระโยชนข์ องเกษตร สถานะเรื่องรอ้ งเรียนในปัจจุบนั อยู่ระหวา่ งการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการเกษตร และสหกรณ์ วฒุ ิสภา ๓.๕ เกษตรกรบ้านทุ่งแลนคา บ้านนาทุ่งใหญ่ บ้านกุดชุมแสง ต้าบลกุดชุมแสงอ้าเภอ หนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ขอความอนุเคราะห์ระบบไฟฟ้าเพื่อเป็นการอ้านวยความสะดวกในการ ดา้ รงชวี ิตและประกอบอาชพี เกษตรกรรม สถานะเรื่องร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ การพลังงานวุฒิสภา กรณีเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับปัญหาด้านเกษตร ของพืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ส่วนใหญ่เป็นปัญหาที่มีความเช่ือมโยงกับปัญหาด้านน้า ด้านท่ีดิน และความต้องการระบบ ไฟฟา้ ซง่ึ ผลกระทบตอ่ ความขาดแคลนนา้ ในภาคการเกษตร และเกษตรกรไมม่ ีเอกสารสทิ ธใ์ิ นที่ดนิ ท้ากิน มคี วามต้องการแหลง่ นา้ เพ่ือใช้ในภาคการเกษตรและต้องการเอกสิทธ์ิในที่ดนิ ทา้ กิน โดยในปัจจุบนั เร่ือง ร้องเรยี นอยรู่ ะหว่างการพจิ ารณาของคณะกรรมาธิการที่เก่ียวขอ้ ง ๔. ปญั หาดา้ นการคมนาคม จานวน ๔ เรอื่ ง ๔.๑ ประชาชนในพื้นท่ีต้าบลหนองใหญ่ อ้าเภอเมืองจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ มีความ ประสงค์ขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณกอ่ สรา้ งถนนลาดยางบ้านหนองดุม สถานะเรอ่ื งร้องเรยี น คณะกรรมการฯ ไดม้ ีหนังสอื ไปยงั ผู้วา่ ราชการจงั หวัดศรีสะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ได้สง่ เร่อื งไปยังนายอา้ เภอเมอื งจนั ทร์ เพ่ือพจิ ารณาดา้ เนินการตามหนา้ ที่และอ้านาจ ตอ่ ไป ๔.๒ ขอรับสนับสนุนงบประมาณเพื่อด้าเนินโครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก สายบ้านส้มป่อย หมู่ที่ ๑๕ ต้าบลส้มป่อย ถึงบ้านหนองหมี หมู่ที่ ๑ ต้าบลหนองหมี อ้าเภอราศีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ สถานะเรอ่ื งรอ้ งเรยี น คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสอื ไปยงั ผู้วา่ ราชการจังหวดั ศรีสะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจัง หวัด ไดส้ ง่ เรอื่ งไปยังนายอา้ เภอราศไี ศล เพื่อพิจารณาด้าเนนิ การตามหนา้ ทีแ่ ละอา้ นาจ ตอ่ ไป

๕๑๑ ๔.๓ ประชาชนในพื้นที่ต้าบลชีวึก อ้าเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา ประสบ ปัญหาเส้นทางคมนาคมในพื้นที่มีสภาพช้ารุด ในช่วงฤดูฝนมีน้าท่วมขังจากหลุมของถนน ฤดูแล้ง มีฝุ่นละอองจ้านวนมาก สร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพ่อื ดา้ เนนิ การแกไ้ ขปญั หาเส้นทางคมนาคม สถานะเร่ืองร้องเรียน คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด นครราชสีมาเพอื่ พจิ ารณาดา้ เนนิ การตามหน้าท่แี ละอ้านาจ ๔.๔ องค์การบริหารส่วนต้าบลหนองบัวละคร อ้าเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ขอรับการสนับสนุนงบประมาณตามโครงการปรับปรุงซ่อมแซมถนนทางหลวงท้องถิ่น เพ่ือขอรับการ สนับสนุนงบประมาณอุดหนุนเฉพาะกิจประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (เพิ่มเตมิ ) โครงการปรับปรุง ถนนผิวจราจร Cape Seal สถานะเรื่องร้องเรียน คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด นครราชสีมาเพ่อื พจิ ารณาดา้ เนนิ การตามหน้าทแ่ี ละอ้านาจ กรณีเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับปัญหาด้านการคมนาคม ของพืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ทังหมด ๔ เรื่อง เป็นกรณีขอความอนุเคราะห์เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมถนน ท่ีประชาชนใช้สัญจร คณะกรรมการฯ จึงส่งเร่ืองไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดในพืนท่ี เพื่อพิจารณาด้าเนินการ แต่เนื่องจากเร่ืองร้องเรียนในประเด็นคมนาคมจ้าเป็นท่ีจะต้องใช้งบประมาณ การแก้ไขจึงต้องใช้เวลา ในการพิจารณาและดา้ เนนิ การ ๕. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ จานวน ๒ เรอื่ ง ๕.๑ กรณีประชาชนน้าเสนอปัญหาของประชาชนในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ กรณีกระบวนการพิจารณาเพ่ือแก้ปัญหาหน้ีนอกระบบผ่านกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกร และผู้ยากจน (สป.กษ.) มีความล่าช้า และงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลเพ่ือแก้ปัญหาหนี้ในระบบ หนี้สถาบันการเงินหนี้สหกรณ์การเกษตรผ่านกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร มีการจัดสรรน้อย ไมท่ ว่ั ถงึ เกษตรกร คณะกรรมการฯ ได้ส่งเรื่องดังกล่าวไปยังคณะกรรมาธิการการแก้ไขปัญหา ความยากจนและลดความเหลือ่ มล้า วุฒิสภา เพ่อื พิจารณา ตอ่ มาคณะกรรมาธกิ ารฯ ได้มีหนังสือแจ้งว่า กรณีดงั กล่าวมีการฟอ้ งร้องอย่ใู นชนั ศาลจึงอย่นู อกเหนอื หน้าทีแ่ ละอ้านาจของวฒุ ิสภา ๕.๒ กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนเลยี้ งจิ้งหรีดบ้านหนองโสน จังหวัดชัยภูมิ น้าเสนอความตอ้ งการ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนประสบปัญหาดา้ นความไม่เพยี งพอของห้องเย็นในการเกบ็ ผลติ ภณั ฑ์ ตลอดจนปัญหา ดา้ นการตลาดในประเทศและตา่ งประเทศ รวมทงั้ ปญั หาอนื่ ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกับภาคการผลิต

๕๑๒ สถานะเรื่องร้องเรียนในปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณ์ วุฒสิ ภา กรณีเรื่องร้องเรยี นเก่ียวกับปัญหาด้านเศรษฐกิจ ของพืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ทัง ๒ เร่ือง เป็นเรื่อง ท่ีเก่ียวข้องกับการขอรับการสนับสนุนด้านปัจจัยด้านแหล่งเงินทุน อุปกรณ์การผลิตการจ้าหน่ายสินค้าของวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงในกรณีขอรับสนับสนุนงบประมาณ รวมถึง ปจั จัยในการผลิต เป็นประเด็นท่ีอาจจะอยู่นอกเหนือหน้าท่ีและอ้านาจของวุฒิสภา การด้าเนินการตาม ขอบหน้าท่ีและอ้านาจของคณะกรรมาธิการจึงเป็นไปในแนวทางการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพอื่ น้าไปสู่แนวทางการแก้ไขในทางปฏิบตั ิ ต่อไป ๖. ปญั หาด้านส่ิงแวดลอ้ ม จานวน ๑ เรอ่ื ง ประชาชนหมทู่ ี่ ๑๕ บ้านลาดวงั ม่วง ตา้ บลหนองบวั แดง อ้าเภอหนองบัวแดง จังหวดั ชยั ภูมิ น้าเสนอปัญหาเพ่ือขอคัดค้านการก่อสร้างโรงงานน้าตาลเกษตรสมบูรณ์ เน่ืองจากมีในพืนท่ีอ้าเภอ หนองบัวแดงเป็นพืนที่ภูเขาและแหล่งต้นน้า ตลอดจนมีพืนที่ติดต่อกับเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าและ เขตอุทยานแห่งชาติ ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง การใช้ทรัพยากรน้า ตลอดจนวิถีชวี ติ ของชุมชน คณะกรรมการฯ สง่ เร่อื งไปยงั คณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม วุฒสิ ภา เพื่อพิจารณา ต่อมา คณะกรรมาธิการฯ ได้มีหนังสือแจ้งว่า ได้มีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย นายกเทศมนตรีต้าบลหนองบัวแดง และเลขาธิการส้านักงานนโยบายและ แผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เพอ่ื พิจารณาดา้ เนินการในสว่ นทเี่ กยี่ วข้อง ๗. ปญั หาดา้ นสงั คมและอื่น ๆ จานวน ๔ เร่ือง ๗.๑ ส้านักงานพัฒนาชุมชนอ้าเภอราษีไศล ได้มีหนังสือน้าเสนอปัญหาเพื่อขอรับ การอนุเคราะห์ กรณีขอให้เพิ่มเจ้าหน้าที่ธุรการ ๘๗๘ อ้าเภอ ๆ ละ ๑ คน เพ่ือแบ่งเบาภาระของพัฒนากร ที่ท้างานในพน้ื ที่ และขอปรบั อตั ราผู้ช่วยพัฒนาการอา้ เภอระดบั ช้านาญการพเิ ศษเหมอื นหน่วยงานอน่ื ๆ คณะกรรมการฯ ส่งเรื่องดังคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา เพ่ือพิจารณา ต่อมา คณะกรรมาธิการฯ ได้แจ้งว่าได้ส่งเร่ืองดังกล่าวเพ่ือสอบถามข้อมูลและแนวทาง การด้าเนินการไปยังกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และคณะกรรมาธิการได้พิจารณา เรือ่ งดังกลา่ วเสร็จสินแล้ว ซึง่ กรมการพฒั นาชุมชนมขี อ้ เสนอแนะและได้ด้าเนินการ ดงั นี ๑. การก้าหนดต้าแหน่งนักวิชาการพัฒนาชุมชนให้สูงขึนจากระดับช้านาญการ เป็นระดับช้านาญการพิเศษ จา้ นวน ๕๕๖ ต้าแหน่งโดยการน้าเข้าแผนการก้าหนดต้าแหน่งเพอ่ื ปรับปรุง การก้าหนดต้าแหน่งเป็นระดับที่สูงขึน รอบที่ ๒ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ จ้านวน ๕๕๖ ต้าแหน่ง

๕๑๓ ๒. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และการเสนอกรอบอัตราก้าลังพนักงานราชการ รอบท่ี ๕ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ ต้าแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ สังกัดส้านักงานพัฒนาชุมชนอ้าเภอ จา้ นวน ๘๗๘ อัตรา ทังนี กรมการพัฒนาชุมชน ได้รายงานการด้าเนินงานในเร่ืองดังกล่าวต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยและปลัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อทราบดว้ ยแล้ว ๗.๒ ผู้อ้านวยการโรงเรียนบ้านกระเดาอุ่มเสง ต้าบลดู่ อ้าเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จ้านวน ๓๒๐,๐๐๐ บาท ส้าหรับโครงการก่อสร้างโดมเอนกประสงค์ เพื่อการเรียนรูโ้ รงเรียนบา้ นกระเดาอมุ่ เสง สถานะเร่ืองร้องเรยี น คณะกรรมการฯ ไดม้ หี นังสอื ไปยังผวู้ า่ ราชการจงั หวัดศรีสะเกษ ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมการฯ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ได้ส่งเรื่องไปยังผู้อ้านวยการส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาศรีสะเกษประถมศึกษา เขต ๒ เพ่ือพิจารณา ด้าเนนิ การตามหนา้ ที่และอา้ นาจ ต่อไป ๗.๓ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจแนวใหม่ในอาเซียน จังหวัดศรีสะเกษ ขอความ อนุเคราะห์เครื่องจักรในการผลิตรองเท้ายางพาราผสมเปลือกทุเรียน เน่ืองจากมีลูกค้าส่ังสินค้า จา้ นวนมากแตไ่ มส่ ามารถผลิตได้ทันตามความต้องการ เนื่องจากขาดเครอื่ งจกั รในการผลิตพื้นรองเทา้ คณะกรรมการฯ ได้ส่งเรื่องดังกล่าวไปยังคณะกรรมาธิการการพาณิชย์และ การอุตสาหกรรม วุฒิสภา เพ่ือพิจารณา ตอ่ มาคณะกรรมาธิการฯ ได้มีหนงั สือแจง้ ว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ เป็นผู้ประกอบกิจการซ่ึงสามารถเข้าถึงเงินกู้ยืมจากกองทุนพัฒนายางพาราได้ หากมกี ารจดทะเบียนกับ การยางแห่งประเทศไทย ทงั นี การยางแห่งประเทศไทยได้มอบหมายให้การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัด ศรีสะเกษ ประสานงานกับผู้ร้องเพ่ือให้ข้อมูลในการขึนทะเบียนกับการยางแห่งประเทศไทย แต่ในกรณี ดงั กล่าวผู้ร้องไม่ไดไ้ ปขึนทะเบยี นกับการยางแห่งประเทศไทย แต่มีความประสงค์ขอให้ส่งเรื่องร้องเรียน ไปยังจงั หวดั ศรสี ะเกษเพอ่ื พิจารณา โดยหากพิจารณาตามความประสงค์ของผรู้ อ้ งจะเป็นการด้าเนินการ เกินกว่าหน้าท่ี และอ้านาจของคณะกรรมาธิการ ๗.๔ ประชาชนต้าบลชีวึก อ้าเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา มีความต้องการ ก่อสร้างศูนย์การเรียนเศรษฐกิจพอเพียง (แห่งใหม่) เน่ืองจากมีบุคคลมาศึกษาดูงานในพ้ืนท่ีบ้านหนองโพธิ์ จ้านวนมาก ซ่ึงในพ้ืนท่ีศูนย์การเรียนเศรษฐกิจพอเพียง (แห่งเดิม)มีสภาพทรุดโทรม คับแคบ ไม่สามารถ รองรับจ้านวนผู้มาศึกษาดูงานได้อย่างเพียงพอ จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือก่อสร้าง ศูนยก์ ารเรยี นเศรษฐกิจพอเพยี ง (แหง่ ใหม่) สถานะเรอ่ื งร้องเรยี น คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา เพื่อพิจารณาด้าเนนิ การตามหน้าทีแ่ ละอ้านาจ

๕๑๔ ปัญหาด้านสังคมและอื่น ๆ ของพืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) ส่วนใหญ่ เป็นประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการขอรับการสนับสนุนด้านงบประมาณเพื่อใช้ในการด้าเนินการก่อสร้าง ปรับปรุง สถานที่วัสดุและอุปกรณ์ รวมทังมีการน้าเสนอปัญหาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ของหนว่ ยงานราชการสว่ นภมู ิภาค ผลการดาเนนิ การเรอ่ื งร้องเรียน/ประเด็นขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะ เร่ืองร้องเรียนในโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนล่าง) เป็นเรื่องร้องเรียนที่เป็นหนังสือ จ้านวน ๓๒ เร่ือง และเป็นประเด็นข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ จ้านวน ๑๑๒ ประเด็น ทังนี คณะกรรมการฯ ได้ด้าเนินส่งเร่ืองร้องเรียนที่เป็นหนังสือ ไปยังคณะกรรมาธิการสามัญประจ้าวุฒิสภา จ้านวน ๑๙ เรื่อง โดยคณะกรรมาธิการการเกษตร และสหกรณ์ ได้รับเร่ืองร้องเรียนมากที่สุด จ้านวน ๑๑ เรื่อง ซ่ึงได้แจ้งผลการด้าเนินการมายัง คณะกรรมการฯ จ้านวน ๑ เรื่อง และอยู่ระหว่างการพิจารณา จ้านวน ๑๐ เร่ือง รองลงมา คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จ้านวน ๓ เรื่อง แจ้งผลการด้าเนินการมายัง คณะกรรมาธกิ าร ครบทงั ๓ เรือ่ ง คณะกรรมาธกิ ารการพลังงาน จ้านวน ๒ เรื่อง แจง้ ผลการด้าเนินการ มายังคณะกรรมการฯ จ้านวน ๑ เร่ือง อยู่ระหว่างการพิจารณา จ้านวน ๑ เรื่อง และคณะกรรมาธิการ การพาณิชย์และการอุตสาหกรรม คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน และคณะกรรมาธิการ แก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้า ได้รับเรื่องร้องเรียนคณะกรรมาธิการ ละ ๑ เร่ือง ซึ่งทังหมดไดแ้ จ้งผลการด้าเนนิ การยงั คณะกรรมการฯ ครบทงั ๓ เร่อื ง นอกจากนี คณะกรรมการฯ ยังได้ ดา้ เนินการส่งเร่ืองร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง จ้านวน ๑๒ เร่ือง ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย จ้านวน ๑ เร่ือง ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ จ้านวน ๗ เร่ือง และผู้ว่าราชการ จงั หวดั นครราชสีมา จา้ นวน ๔ เร่ือง

๕๑๕ ๓.๕ สรปุ ผลการดาเนินการเรือ่ งรอ้ งเรยี น/ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะโครงการสมาชกิ วุฒิสภา พบประชาชนในพนื้ ท่จี งั หวัดภาคกลาง ประเภท : ประเภท : ปญั หาเรื่องเกย่ี วกบั หนังสือ วาจา จังหวัดท่ลี งพน้ื ที่ จานวน/ จานวน/ ทีด่ ิน น้า เกษตร คมนาคม เศรษฐกจิ ส่งิ แวดล้อม สงั คมและ เรือ่ ง เร่อื ง ๑ ๑ ๑๐ อืน่ ๆ ๑. พระนครศรีอยธุ ยา ๑๑ ๑ ๒. ราชบุรี ๘ ๓ ๔๒ ๑ ๑ ๑๓ ๓. ชยั นาท ๑ ๗ ๕ ๑ ๑๕ ๔. สุพรรณบุรี ๑ ๑๒ ๘๒ ๒ ๓ ๑ ๕. สมทุ รสาคร ๕ ๑ ๒ ๓ ๑๑๖ ๖. เพชรบุรี ๒ ๖ ๑๓ ๑ ๑ ๗. สมุทรปราการ ๑๑ ๖ ๑ ๘. นครปฐม ๑ ๒ ๑๒ ๒ ๙. กาญจนบุรี ๕ ๙ ๒ ๒๑ ๑๑ ๑๐. สิงหบ์ รุ ี ๘ ๓ ๑๑. อ่างทอง ๗ ๑๑ ๒๒ ๑๒. ลพบรุ ี ๔ ๑๒๑ ๑๓. ปทมุ ธานี ๒ ๑ ๑๕ ๑๔. สระบรุ ี ๑๕. นนทบุรี ๑๒ ๑๖. สมทุ รสงคราม ๑ ๑๗.ประจวบครี ีขันธ์ ๑ จานวนเรอ่ื ง ๑๓ ๑ ๑๒ แยกตามประเภท ๑๕ ๑ ๓๑ ๑๑ รวม รวมเรื่องท้ังหมด ๓๒ ๙๔ ๑ ๑ ๒๑ ๑๒๖ ๑๓ ๕ ๑ ๘ ๒ ๓๒ ๒ ๑๒ ๒ ๒ ๕ ๑๒ ๓๐ ๑๘ ๙ จานวน ๓๔ ๑๔ ๒ ๗ ๔๒ ๑๒๖ เรอื่ ง ข้อมูล ณ วันท่ี ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ คณะอนกุ รรมการดา้ นรวบรวม แยกเรือ่ งและตดิ ตามเรือ่ งรอ้ งเรยี น วุฒิสภา

๕๑๖ คณะกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดภาคกลาง รับผิดชอบในการ ลงพน้ื ท่ี จานวน ๑๗ จังหวดั ประกอบด้วย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จงั หวัดราชบุรี จังหวดั ชยั นาท จงั หวัด สุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่างทอง จังหวัดลพบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระบุรี จังหวัดนนทบุรี จังหวัด สมุทรสงคราม และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยคณะกรรมการมีการลงพ้ืนท่ีพบปะประชาชน ต้ังแต่ วันพฤหัสบดที ี่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ถึงวนั ศุกรท์ ี่ ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๓ รวมจานวนทง้ั หมด ๑๖ ครง้ั เปน็ การ ลงพื้นทคี่ รบท้ัง ๑๗ จังหวัด ซง่ึ อย่ใู นความรบั ผิดชอบ มกี ารรบั เรอื่ งร้องเรียนเปน็ หนังสอื และการแสดงความ คิดเห็นด้วยวาจา รวมท้ังหมด จานวน ๑๒๖ เรื่อง แบ่งเป็น เร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็น เป็นหนังสือ จานวน ๓๒ เร่ือง และการแสดงความคิดเห็นด้วยวาจา จานวน ๙๔ เร่ือง โดยแยกตาม ประเด็นปัญหา ไดด้ ังน้ี ๑. ปัญหาทีด่ นิ จานวน ๑๘ เรื่อง ๒. ปัญหาแหลง่ น้า จานวน ๙ เร่อื ง ๓. ปัญหาด้านการเกษตร จานวน ๓๔ เรือ่ ง ๔. ปญั หาด้านการคมนาคม จานวน ๑๔ เรอื่ ง ๕. ปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ จานวน ๒ เรอ่ื ง ๖. ปญั หาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม จานวน ๗ เรอ่ื ง ๗. ปัญหาด้านสงั คมและอืน่ ๆ จานวน ๔๒ เรือ่ ง โดยมีรายละเอียดการดาเนินการอันนาไปสู่การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ในแตล่ ะประเด็นปญั หา สรุปได้ ดังนี้ ๑. ปญั หาที่ดิน ๑.๑ สภาพปญั หาในภาพรวม ปัญหาท่ดี ินในพื้นที่จงั หวัดภาคกลางในภาพรวม แบง่ ออกได้เปน็ ๒ ประเดน็ ปญั หาหลัก ดงั น้ี ๑) ประเด็นปญั หาเกยี่ วกับสทิ ธิในที่ดนิ ๑.๑) ปัญหาจากการร้องเรียนของประชาชนเกี่ยวกับการออกกฎหมายกาหนด เขตหวงห้ามในท่ีดินโดยมิชอบ นาไปสู่การข้ึนทะเบียนท่ีราชพัสดุโดยมิชอบ เช่น ในพื้นที่อาเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ซึ่งประชาชนมีการกล่าวอ้างว่า พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตต์หวงห้ามที่ดินในท้องที่ อาเภอเมืองกาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวนและอาเภอวงั กะ จังหวดั กาญจนบุรี พุทธศกั ราช ๒๔๘๑ ได้กาหนดเขตหวงหา้ มตามแผนท่แี นบท้ายครอบคลุมถึงอาเภอสวนผึ้งและอาเภอจอมบงึ จงั หวัด ราชบุรี ซ่ึงขัดแย้งกับเนื้อความในพระราชกฤษฎีกา ในพ้ืนท่ีอาเภอหัวหิน และอาเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ประชาชนมีการกล่าวอ้างว่า พระราชกฤษฎีกากาหนดบริเวณเขตปลอดภัยในราชการ

๕๑๗ ทหารของท่ีทหารในท้องท่ีอาเภอหัวหิน และอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ กาหนดให้บริเวณซึ่งอยู่ในท้องท่ีอาเภอหัวหิน และอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภายในแนว เขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกา เป็นเขตปลอดภัยในราชการทหารของที่ทหาร ปรากฏว่าพ้ืนที่ ดังกล่าวได้ทับพื้นท่ีซึ่งเป็นท่ีดินทากินของประชาชน ซึ่งมีการครอบครองและทากินมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ จากข้อร้องเรยี นของประชาชนเกี่ยวกับการออกกฎหมายกาหนดเขตหวง หา้ มในที่ดินโดยมิชอบ ต่อมาหน่วยงานของรัฐได้นาพ้ืนท่ีดังกล่าวไปข้นึ ทะเบยี นเปน็ ท่ีราชพัสดุ เป็นเหตุ ให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน โดยขอให้มีการพิสูจน์สิทธิในที่ดินทากิน และยกเลิกกฎหมายที่ออก โดยมิชอบดังกล่าว รวมท้ังยังมีปัญหาความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับพื้นที่ที่เป็นท่ีราชพัสดุอันนาไปสู่การบุกรุก พ้นื ท่ีดงั กล่าว ๑.๒) ปัญหาเก่ียวกับการไม่มีเอกสารสิทธิในที่ดิน เช่น ในพ้ืนท่ี จังหวัด กาญจนบุรี มีประชาชนร้องเรียนเก่ียวกับปัญหาซ่ึงไม่ได้รับการแก้ไขมากว่า ๕๐ ปี คือ การท่ีประชาชน ไม่มีเอกสารสิทธ์ิในท่ีดนิ ทากินของตน ทั้งที่จริงแล้วประชาชนได้ทากินในที่ดินน้ีมาตลอดตั้งแต่รุ่น ปู่ ย่า ตา ทวด และไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินได้ ทาให้การลงทุนและการพัฒนาของ จังหวดั ไม่มีความเจริญก้าวหนา้ นามาซ่ึงปัญหาการครอบครองท่ดี นิ ทไ่ี ม่มเี อกสารสิทธิ มกี ารซอ้ื ขายทดี่ ิน ทีไ่ ม่ถกู ตอ้ ง มีการลกุ ลา้ ที่ดินบุคคลอื่นและนาไปขาย ทาใหเ้ กิดกรณพี ิพาทเรือ่ งที่ดิน นาไปสู่การเสียชีวิต เป็นต้น ๑.๓) ปัญหาเก่ียวกับการไม่มีสาธารณูปโภคสาหรับประชาชนท่ีอาศัยในพื้นที่ท่ี เป็นที่ราชพัสดุ หรือที่ดินท่ีไม่มีเอกสารสิทธิ เช่น ในพื้นที่ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ประชาชนซ่ึงอาศัยในที่ราชพัสดุไม่มีไฟฟ้าใช้ โดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคชี้แจงว่า เน่ืองจากเป็นพื้นที่ท่ีอยู่ในเขตท่ีราชพัสดุ จงึ ต้องได้รบั อนุญาตจากหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งจึงจะดาเนินการ ขยายเขตไฟฟ้าโดยการปักเสาพาดสายไฟฟ้าได้ ในพ้ืนท่ีตาบลหนองโรง อาเภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบุรี ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นท่ีดังกล่าว ซึ่งเป็นท่ีดินไม่มีเอกสารสิทธิ เมื่อก่อสร้างบ้านขึ้นใหม่ ไม่สามารถขอติดตั้งไฟฟ้าและน้าประปาได้ เป็นต้น โดยประชาชนมีความประสงค์ที่จะให้มีการ ประสานงานเพอื่ ใหส้ ามารถใชส้ าธารณปู โภคในพื้นที่ดงั กลา่ วได้ ๒) ประเด็นปัญหาเกยี่ วกับการไมม่ ที ด่ี ินทากนิ หรอื ที่อยู่อาศัย กรณีประชาชนซ่ึงได้รับความเดือดร้อนจากการไม่มีที่ดินทากินหรือที่อยู่อาศัย ย่ืนหนังสือร้องเรียนขอให้มีการประสานเพ่ือให้มีการจัดสรรท่ีดินทากินหรือที่อยู่อาศัยให้แก่ประชาชน ดังกล่าว เช่น กรณีประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดกาญจนบุรีได้ย่ืนหนังสือร้องเรียนโดยขอให้มีการประสาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขอใช้พ้ืนท่ีท่ีเป็นท่ีราชพัสดุ หรือพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เพ่ือให้ประชาชนผู้ไร้ท่ีดินทา

๕๑๘ กนิ หรือทอี่ ยอู่ าศยั ได้มที ี่ดินทากินหรือท่ีอยู่อาศัย อันเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ดังกล่าว ๑.๒ การดาเนนิ การเพอื่ นาไปสกู่ ารแก้ไขปัญหาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองร้องเรียน เก่ียวกับปัญหาท่ีดินไปยังคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา เพื่อพิจารณา ดาเนินการตามหน้าที่และอานาจ โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้ส่งเร่ืองร้องเรียนในแต่ละประเด็นไปยัง หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง เพื่อดาเนินการตามหน้าทแ่ี ละอานาจ ดงั นี้ ๑) ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน ได้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการนโยบายท่ีดิน แหง่ ชาติ (คทช.) ซงึ่ มีหนา้ ทีแ่ ละอานาจตามพระราชบญั ญตั ิคณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ในการกาหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรดินของประเทศเพื่อขอความ เห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรี ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ท่ีดินของประเทศให้เหมาะสม กับสภาพท่ีดินและศักยภาพท่ีดิน และเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา แนวเขตท่ดี นิ ของรัฐ และมาตรการช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการกาหนดแนวเขตท่ีดนิ ของรัฐ ๒) ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการไม่มีที่ดินทากิน หรือที่อยู่อาศัย ได้ส่งเร่ืองให้ คณะกรรมการจัดที่ดิน ซ่ึงมีหน้าที่และอานาจตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายท่ีดิน (ฉบับท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ในการกาหนดแนวทางการจัดท่ีดิน เพื่อให้ประชาชนมีท่ีดินสาหรับอยู่อาศัย และหาเลี้ยงชีพตามควรแก่อัตภาพและสอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดินและ ทรัพยากรดนิ ของประเทศ ๒. ปัญหาแหล่งน้า ๒.๑ สภาพปญั หาในภาพรวม จากการรับฟังความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดว้ ยวาจาของประชาชน ทาให้ทราบปัญหา แหล่งน้าในพนื้ ทจ่ี งั หวัดภาคกลาง โดยในภาพรวมจะมกี ารนาเสนอปัญหาเก่ยี วกบั ภัยแล้ง การขาดแคลนน้า เพ่ือการอุปโภค - บรโิ ภค และมีการเสนอให้มีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือสร้างแหล่งกักเก็บน้าหรือการวาง ท่อส่งน้า ซ่ึงปัญหาแหล่งน้าส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับปัญหาด้านการเกษตร เช่น ประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัด เพชรบุรี ขอให้ติดตามการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภค - บริโภค และน้าเพื่อการเกษตร โดยเสนอให้มีการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรในพ้ืนท่ีจังหวัดดังกล่าว ซึ่งได้รับความ เดือดร้อนไมส่ ามารถเพาะปลกู พชื ผลทางการเกษตรได้ ประชาชนในพืน้ ทจ่ี ังหวดั กาญจนบุรีขอให้หน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ไขปัญหาเร่ืองภัยพิบัติในเขตพื้นที่ดังกล่าวสารวจพ้ืนที่ท่ีเป็นไปได้ในการสร้างแหล่ง กักเก็บน้าขนาดเล็กหรือฝายสาหรับการเก็บน้าช่วงฤดูฝนไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ ท้ังในเร่ืองน้าท่วมและน้าแล้ง และขอให้มีการพิจารณาอุดหนุนงบประมาณให้กับการประปาส่วนภูมิภาค

๕๑๙ เพื่อนาไปจัดสรรสาหรับการวางท่อขยายเขตจ่ายน้าบริเวณตาบลดอนตาเพชร อาเภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบรุ ี เปน็ ต้น ๒.๒ การดาเนินการเพอ่ื นาไปสกู่ ารแก้ไขปญั หาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งข้อมูลความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาของประชาชนไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดในพ้ืนท่ีท่ีได้มีการรับฟัง ความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาดังกล่าว เพ่ือพิจารณาดาเนินการตามหน้าที่และอานาจตามควรแก่ กรณตี ่อไป ๓. ปัญหาด้านการเกษตร ๓.๑ สภาพปัญหาในภาพรวม สภาพปัญหาด้านการเกษตรในพ้ืนทีจ่ ังหวดั ภาคกลางในภาพรวม เปน็ ปัญหาเกี่ยวกับ การขาดแคลนนา้ ในการทาเกษตรกรรม ปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกตา่ เชน่ จากการลงพนื้ ที่ใน จังหวัดกาญจนบุรีทาให้ได้รับเร่ืองร้องเรียนจากประชาชนกรณีพ้ืนที่ตาบลหนองโรง อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เป็นพื้นที่ประสบปัญหาภัยแห้งแล้ง ทาให้ประชาชนในพ้ืนท่ีไม่มีน้าท่ีใช้ในการทา เกษตรกรรม ส่งผลใหพ้ ชื ผลทางเกษตรได้รบั ความเสยี หาย โดยแนวทางในการแก้ไขปัญหา คือ ต้องมกี าร ประสานงานกบั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องเพ่ือศกึ ษาแนวทางทเ่ี หมาะสมในการส่งน้าไปยังพ้ืนทที่ าการเกษตร รวมทั้งประสานงานเพ่ือให้มีการจัดหางบประมาณสนับสนุนในการส่งน้าให้กับพื้นท่ีดังกล่าว จากการ ลงพ้ืนที่ในจังหวัดอ่างทอง มีประชาชนยื่นหนังสือเพื่อแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการบริหาร จดั การน้าเพื่อการเกษตร เป็นตน้ ๓.๒ การดาเนินการเพอื่ นาไปสู่การแกไ้ ขปัญหาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองไปยัง คณะกรรมาธิการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือพจิ ารณาดาเนินการตามหน้าทแ่ี ละอานาจต่อไป ๔. ปญั หาด้านการคมนาคม ๔.๑ สภาพปญั หาในภาพรวม สภาพปัญหาด้านการคมนาคมในพ้ืนท่ีจังหวัดภาคกลางในภาพรวม เป็นปัญหา เกี่ยวกับการท่ีประชาชนมีข้อเสนอให้ภาครัฐก่อสร้างถนนในพื้นที่ต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาจราจรติดขัด รวมทัง้ ยงั มปี ญั หาข้อร้องเรียนเก่ียวกบั การก่อสรา้ งสนามบินทอ่ี าจมผี ลกระทบต่อประชาชน เชน่ จากการลงพนื้ ทใ่ี นจงั หวดั นครปฐม ได้มปี ระชาชนย่นื หนังสือรอ้ งเรยี น เรอื่ ง ขอ้ เสนอ ภาคประชาชนเพ่ือทบทวนการศกึ ษาฯ ก่อสร้างสนามบินนครปฐม เพื่อร้องเรยี นกรณีกรมทา่ อากาศยาน กระทรวงคมนาคม ได้ว่าจ้างบริษัทท่ีปรึกษา เพ่ือศึกษาความเหมาะสมในการก่อสร้างสนามบินพาณิชย์

๕๒๐ แห่งใหม่ในจังหวัดนครปฐม โดยได้มีการกาหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการก่อสร้างสนามบินแล้ว คือ ท่ีอาเภอบางเลนและอาเภอนครชัยศรี โดยประชาชนในพื้นที่มีความวิตกกังวลต่อความเหมาะสมของ พื้นท่ีที่ถูกคัดเลือกหลายประการ เช่น เป็นพ้ืนท่ีเกษตรกรรมท่ีสาคัญอย่างย่ิง เป็นพ้ืนที่แก้มลิงตะวันตก ของแม่น้าเจา้ พระยาในการปอ้ งกนั อุทกภัย เปน็ พน้ื ทีท่ ี่ในระยะยาวจะมีผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ ดังนั้น จึงขอให้วุฒิสภาพิจารณาให้ความช่วยเหลือในการให้ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพอื่ ทบทวนความเหมาะสมของการกอ่ สร้างสนามบนิ ดงั กล่าว จากการลงพื้นที่ในจังหวัดอ่างทอง มีประชาชนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ ด้วยวาจาให้ช่วยประสานเพื่อให้มีการเร่งดาเนินการก่อสร้างถนนสายโพธิ์พระยา - ท่าเรือ และถนน สายปา่ โมกข์ - บางปะหัน ใหแ้ ลว้ เสรจ็ โดยเรว็ จากการลงพื้นท่ีในจังหวัดสมุทรสงคราม มีประชาชนย่ืนหนังสือ เร่ือง ปัญหา และข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาประมง เกษตร การแปรรูป และการท่องเท่ียว จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีข้อเสนอแนะเก่ียวกับการขอให้เร่งรัดระบบขนส่งมวลชนทางรางท่ีเชื่อมต่อจากกรุงเทพมหานคร ไปยังจงั หวดั สมทุ รสงครามไดแ้ บบตอ่ เดยี ว โดยไมห่ ยดุ ขาดตอนท่ีจงั หวดั สมทุ รสาคร ๔.๒ การดาเนินการเพือ่ นาไปสูก่ ารแกไ้ ขปญั หาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองไปยัง คณะกรรมาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมีการดาเนินการเพ่ือนาไปสู่การแก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชน ดงั นี้ ๑) ประเด็นข้อร้องเรียนเก่ียวกับการก่อสร้างสนามบินในจังหวัดนครปฐม คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเรื่องไปยังคณะกรรมาธิการการ คมนาคม วฒุ สิ ภา และคณะกรรมาธิการฯ ได้พจิ ารณาเรอื่ งร้องเรยี นดังกล่าว โดยรับฟังข้อมูลข้อเทจ็ จริง จากกรมท่าอากาศยาน บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) และสานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซ่ึงคณะกรรมาธิการมีความเห็นต่อกรณีดังกล่าว สรุปได้ว่า กระทรวง คมนาคมควรมุ่งเน้นการพัฒนาและขยายศักยภาพของสนามบินสุวรรณภูมิ สนามบินดอนเมือง และ สนามบินอู่ตะเภา ให้เต็มขีดความสามารถ เพื่อบรรเทาความแออัดของผู้โดยสาร แทนการก่อสร้าง สนามบินในพื้นที่ดงั กลา่ ว เนอ่ื งจากการก่อสรา้ งสนามบินในพ้นื ทีด่ ังกล่าวจะมีผลกระทบตอ่ ความเปน็ อยู่ ของประชาชนในพ้ืนที่ ตลอดจนมีผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการเกษตรอย่างมาก กระทรวง คมนาคมจึงควรทบทวนความเหมาะสมของโครงการดงั กล่าว โดยพจิ ารณาถงึ ความคิดเห็นของประชาชน ท่ีได้รับผลกระทบ รวมทั้งข้อมูลจากภาควิชาการ หนว่ ยงานด้านการบิน และภาคส่วนต่าง ๆ อย่างรอบ ด้าน ท้ังนี้ คณะกรรมาธิการฯ ได้ทาหนังสือแจ้งผลการพิจารณาไปยังผู้ร้อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม และอธบิ ดกี รมท่าอากาศยาน ดว้ ยแล้ว

๕๒๑ ๒) ประเด็นข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการก่อสร้างถนนในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเรื่องไปยังกระทรวงคมนาคม ซ่ึงต่อมากรมทางหลวงได้แจ้งผลการดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว สรุปได้ว่า กรณีขอให้ช่วยเร่ง ดาเนนิ การก่อสร้างถนนสายโพธิ์พระยา - ทา่ เรือ ทีต่ ัดแยกตรงป่าง้ิวข้ามไปถนนสายเอเชยี และถนนสาย ป่าโมก - บางปะหัน กรมทางหลวงให้ข้อมูลว่า ถนนแนวใหม่ท่ีขอให้เช่ือมแยกป่าง้ิวไปยังทางหลวง หมายเลข ๓๒ กรมทางหลวงขอรับไว้พิจารณาความเหมาะสมในการพัฒนาโครงการดังกล่าวต่อไป สาหรับถนนสายป่าโมก - บางปะหัน คือทางหลวงหมายเลข ๓๓ ซึ่งทางหลวงช่วงดังกล่าวปัจจุบันเป็น ทางขนาด ๔ ช่องจราจรแล้ว ทั้งนี้ กรมทางหลวงได้รับจัดสรรงบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่อื ขยายทางหลวงหมายเลข ๓๓ ช่วงอาเภอบางปะหัน - อาเภอนครหลวง ช่วงบ้านภาชี - บา้ นหินกอง ใหเ้ ปน็ ทางขนาด ๔ ชอ่ งจราจร ปัจจุบันอยูร่ ะหว่างกอ่ สรา้ ง โดยกรมทางหลวงจะได้เรง่ ดาเนินการใหแ้ ล้ว เสร็จโดยเรว็ ต่อไป ๓) ประเด็นข้อเสนอแนะเก่ียวกับการขอให้เร่งรัดระบบขนส่งมวลชนทางราง ท่ีเชื่อมต่อจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวดั สมทุ รสงครามได้แบบตอ่ เดียว โดยไมห่ ยดุ ขาดตอนทจ่ี ังหวัด สมุทรสาคร คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองไปยัง คณะกรรมาธิการการคมนาคม วุฒิสภา โดยคณะกรรมาธกิ ารพจิ ารณาแลว้ และได้มีหนงั สอื ประสานไปยงั กระทรวงคมนาคมเพ่ือขอให้พิจารณาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังกล่าวข้างตัน ในการนี้ กระทรวง คมนาคม ได้มีหนังสือตอบช้แี จงประเด็นดังกล่าว สรปุ สาระสาคญั ได้ว่า การรถไฟแห่งประเทศไทยได้รับ การจัดสรรงบประมาณประจาปี ๒๕๖๔ จากสานักงบประมาณ เพ่ือดาเนินการศึกษาทบทวน ความเหมาะสมและการออกแบบรถไฟความเร็วสูงช่วงกรงุ เทพ - หวั หนิ – สรุ าษฎรธ์ านี ซงึ่ มีแนวเสน้ ทาง ผ่านพ้ืนท่ีจังหวัดสมุทรสงคราม บริเวณอาเภอปากท่อกระทรวงจึงเห็นสมควรให้มีการพิจารณาศึกษา ความเหมาะสมในการกาหนดให้อาเภอปากท่อเป็นสถานีรถไฟความเร็วสูงเพื่อเช่ือมโยงการเดินทาง ของประชาชนด้วยระบบรางจากจังหวัดสมุทรสงครามเข้าส่กู รงุ เทพมหานคร ๕. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ ๕.๑ สภาพปญั หาในภาพรวม จากการรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาของประชาชน ทาให้ทราบถึง สภาพปัญหาด้านเศรษฐกิจในพื้นท่ีจังหวัดภาคกลาง ซ่ึงในภาพรวมเป็นปัญหาเกี่ยวกับราคาผลผลิต ทางการเกษตรตกต่า ส่งผลให้เกษตรกรมีหนี้สินเพ่ิมมากขน้ึ การเสนอให้รัฐผลักดนั ใหพ้ ้ืนจงั หวดั ของตน เป็นพื้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ การเสนอให้รฐั บาลมมี าตรการตา่ งๆ เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกจิ เช่น ประชาชน ในจังหวัดสุพรรณบุรี มีความเห็นว่า ปัญหาราคาข้าวตกต่า ซ่ึงสวนทางกับต้นทุนในการทานาข้าว ทเี่ พิ่มสูงข้ึน ราคาสินค้าอปุ โภคและบริโภคเพ่มิ สูงข้ึน ส่งผลทาให้ชาวนามีหนี้สนิ ในครัวเรือนเพมิ่ มากข้ึน เนื่องจากชาวนาไม่สามารถกาหนดราคาขายข้าวได้เอง และไม่มีอานาจต่อรองกับพ่อค้าคนกลาง

๕๒๒ หรือนายทุนได้ ประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการ เสนอให้ภาครัฐช่วยผลักดันให้จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มคี วามพร้อมทัง้ ดา้ นการคมนาคมขนส่ง ดา้ นอตุ สาหกรรมและดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว เพือ่ ให้ เป็นพ้ืนท่ีที่ได้รับการประกาศให้เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ หรือเข้าสู่โครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ดังเช่นพื้นท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ประชาชนใน จังหวัดนนทบุรี เสนอให้รัฐบาลมีมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เช่น การส่งเสริมให้มีการจัด ประชมุ สัมมนาท่ัวประเทศ หรือจัดกิจกรรมทีเ่ ป็นการอบรมให้ความรู้แกป่ ระชาชน เพ่ือเป็นการกระจาย รายได้ เปน็ ตน้ ๕.๒ การดาเนนิ การเพ่ือนาไปส่กู ารแก้ไขปัญหาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของประชาชนไปยังคณะกรรมาธิการที่เก่ียวข้องเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา ศึกษาตามหนา้ ทแ่ี ละอานาจ เช่น คณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ คณะกรรมาธิการการพาณชิ ย์ และการอุตสาหกรรม คณะกรรมาธิการการเศรษฐกจิ การเงนิ และการคลงั เปน็ ต้น ๖. ปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม ๖.๑ สภาพปญั หาในภาพรวม สภาพปญั หาดา้ นสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทจ่ี ังหวดั ภาคกลางในภาพรวม เป็นปญั หาเกีย่ วกับ การปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติและการตั้งโรงงานในพื้นที่ที่อาจส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ปัญหาสตั ว์ปา่ ทาลายทรัพยส์ นิ และพืชผลทางการเกษตรของประชาชน เชน่ จากการลงพน้ื ท่ใี นจังหวัดราชบุรี ไดม้ ีประชาชนย่ืนหนังสือรอ้ งเรียน เรื่อง วิกฤตนา้ เสีย จากฟาร์มสุกรไหลลงน้าใต้ดินและแหล่งน้าธรรมชาติสู่ทะเล กรณีประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัด ราชบุรี สมทุ รสงคราม และเพชรบรุ ี ได้รบั ผลกระทบและความเดือดรอ้ นจากฟารม์ สกุ รทล่ี ักลอบระบาย น้าเสียลงสู่พ้ืนที่ทาการเกษตรและแม่น้าลาคลอง จนเป็นเหตุให้ทรัพยากรในแหล่งน้าและชายฝั่งทะเล เสียหาย เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชน โดยขอให้มีการนาปัญหาดังกล่าวนี้เข้าสู่การพิจารณา ของวุฒิสภา และต้องการให้มีการกาหนดพ้ืนที่การเลี้ยงสุกรให้ชัดเจน มีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด และปรับปรงุ กฎหมายว่าด้วยการสง่ เสรมิ และรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มใหม้ ีความเหมาะสมกับ สถานการณ์ในปัจจุบันและเพ่ิมอัตราโทษให้มีความรุนแรงมากข้ึนเพื่อป้องปรามให้ผู้กระทาความผิด เกรงกลัวตอ่ กฎหมาย จากการลงพื้นท่ีในจังหวัดสิงห์บุรี ได้มีประชาชนย่ืนหนังสือร้องเรียนเกี่ยวกับ การขออนญุ าตขยายโรงงานของโรงงานผลิตกระดาษหนงั สอื พิมพ์ และหนว่ ยผลติ พลังงานไฟฟา้ ในพ้ืนท่ี ตาบลโพกรวม อาเภอเมืองสงิ หบ์ ุรี จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี โดยประชาชนในพ้นื ท่ดี ังกลา่ ว เห็นว่า ที่ต้ังของโรงงาน

๕๒๓ อยู่ในแหล่งชุมชนที่มีประชาชนพักอาศัยอย่างหนาแน่นและเป็นพื้นท่ีการเกษตร การประกอบกิจการ ดงั กล่าวอาจก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม สุขภาพอนามัย และการดาเนินชีวติ ของประชาชน ๖.๒ การดาเนนิ การเพือ่ นาไปส่กู ารแก้ไขปญั หาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วฒุ ิสภาพบประชาชน ไดส้ ่งเร่อื งรอ้ งเรียนไป ยังคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา เพื่อพิจารณาดาเนินการตามหน้าท่ี และอานาจ และคณะกรรมาธิการฯ ได้ส่งเรื่องให้หน่วยงานที่เก่ียวเพ่ือพิจารณาดาเนินการแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของประชาชน กล่าวคือ กรณีเรื่องร้องเรียนของประชาชนในจังหวัดราชบุรี คณะกรรมาธิการฯ ได้ส่งเร่ืองไปยังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ส่วนเรื่องร้องเรียนของประชาชนในจังหวัดสิงห์บุรี คณะกรรมาธิการฯ ได้ส่งเรื่องไปยัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และองค์การบริหารส่วนตาบลโพกรวม เพื่อแก้ไขปัญหา ความเดือดรอ้ นของประชาชนตอ่ ไป ๗. ปญั หาดา้ นสังคมและอ่นื ๆ ๗.๑ สภาพปัญหาในภาพรวม สภาพปัญหาด้านสังคมและอืน่ ๆ ในพื้นทีจ่ ังหวัดภาคกลางในภาพรวม มีการนาเสนอ ประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะซ่ึงเป็นปัญหาเก่ียวกับความเดือดร้อนของประชาชนโดยท่ัวไป เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากการถูกฉ้อโกง ปัญหาด้านการสาธารณสุข ข้อเสนอแนะให้มีการแก้ไขกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการทางานของผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้มีการจากัดอายุ ผ้ทู างานและผู้ประกนั ตน เปน็ ต้น โดยมีกรณตี ัวอยา่ งดงั น้ี จากการลงพ้ืนท่ีในจังหวัดชัยนาท ได้มีประชาชนย่นื หนังสือร้องเรียน กรณีผู้เสียหาย หลายรายได้ถูกกลุ่มบุคคลหลอกซ้ือสิทธิเช่าซื้อรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ เม่ือได้รับมอบรถยนต์หรือ รถจักรยานยนต์ไปแล้วบุคคลดังกล่าวจะไม่ผ่อนชาระค่าเช่าซื้อให้กับผู้ให้เช่าซ้ือ และเม่ือขอให้นารถมา คืน ปรากฏว่าไม่สามารถติดตามรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์กลับคืนมาได้ เมื่อผู้เสียหายไปร้องทุกข์ต่อ พนักงานสอบสวน ปรากฏว่าพนักงานสอบสวนรับแจ้งไว้เป็นหลักฐานในรายงานประจาวันเท่านั้น โดย ไม่ได้รับเป็นคาร้องทุกข์ในคดีอาญาเพื่อดาเนินคดีตามกฎหมายแต่อย่างใด จึงขอความเป็นธรรมในการ ประสานงานเพอื่ การดาเนนิ คดีกบั ผูก้ ระทาความผดิ ต่อไป จากการลงพื้นท่ีในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีประชาชนแสดงความคิดเห็นด้วยวาจา ในประเด็นเก่ียวกับการสาธารณสุข กล่าวคือ การท่ีประชาชนในพื้นท่ีมีความเส่ียงต่อโรคไข้เลือดออก เนือ่ งจากปัญหายงุ ลายชกุ ชุม รวมทั้งยังขาดความรูค้ วามเขา้ ใจในการดูแลรกั ษาสุขภาพ

๕๒๔ ๗.๒ การดาเนนิ การเพ่ือนาไปสูก่ ารแก้ไขปญั หาของประชาชน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองร้องเรียน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนไปยังคณะกรรมาธิการท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงมีการดาเนินการ เพ่ือนาไปสู่การแกไ้ ขปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชน ดงั น้ี ๑) กรณีเร่ืองร้องเรียนของประชาชนในจังหวัดชัยนาท คณะกรรมการอานวยการ โครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเรือ่ งไปยังคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรม และ การตารวจ วุฒิสภา โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า กรณีดังกล่าวมีผู้เสียหายหลายราย ท่ีได้รับผลกระทบ โดยกลุ่มคนร้ายมีพฤติกรรมของการกระทาความผิดเป็นลักษณะเดียวกันทั่วประเทศ กระทาเป็นขบวนการและมีเครือข่ายผู้กระทาความผิดเช่ือมโยงกัน เพ่ือเป็นการอานวยความยุติธรรม และบรรเทาความเสียหายแก่ประชาชน จึงมมี ติให้แจ้งข้อสงั เกตไปยังสานักงานตารวจแห่งชาติเกี่ยวกับ การต้ังคณะทางานเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางในการดาเนินคดีประเภทน้ีโดยเฉพาะ เพ่ือให้การ ดาเนินคดีกับกลุ่มผู้ต้องหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สามารถแก้ไข เยยี วยาปญั หาใหก้ บั ผูเ้ สยี หายได้ ๒) กรณีข้อเสนอแนะของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี คณะกรรมการอานวยการ โครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ได้ส่งเร่ืองไปยังคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา โดยคณะกรรมาธกิ ารฯ เหน็ ควรใหม้ ีการส่งขอ้ มูลและข้อเสนอแนะจากประชาชนไปยังหน่วยงานในพ้นื ที่ ซ่ึงสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้มีหนังสือแจ้งผลการดาเนินการมายังคณะกรรมาธิการฯ สรุปได้ว่า สานักงานสาธารณสุขอาเภอบางปลาม้าได้มีการประสานกับชุมชน โดยมีการให้ความรู้ แก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและกาจัดยุงลาย วิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออก รวมทั้งมีมาตรการ รณรงคใ์ ห้มีการทาลายแหลง่ เพาะพันธ์ยุ ุงลายทุก ๓ เดือน ผลการดาเนนิ การเรอ่ื งรอ้ งเรียน/ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ จานวน ๑๒๖ เรื่อง โดยมี การส่งเร่ืองเรียนเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา เพ่ือพิจารณาดาเนินการตาม หน้าที่และอานาจ ส่งความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะด้วยวาจาของประชาชน เพอ่ื เป็นข้อมลู ประกอบการ พิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา ตามหน้าที่และอานาจ รวมทั้งส่งเร่ือง ร้องเรียนเป็นหนังสือและความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาของประชาชนไปยังหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาดาเนินการตามควรแก่กรณีภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เก่ียวข้อง โดยส่ง เรื่องร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการกีฬา จานวน ๑ เรื่อง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๑ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๑ เรื่อง ส่งเร่ือง ร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ จานวน ๒ เร่ือง ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดว้ ยวาจา จานวน ๓๔ เรื่อง แจ้งผลการพจิ ารณา จานวน ๑ เร่ือง ส่งเรื่องร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการคมนาคม จานวน

๕๒๕ ๓ เรื่อง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๘ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๓ เร่ือง ส่งเร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง จานวน ๑ เรื่อง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๒ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เรื่อง ส่งเร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยัง คณะกรรมาธกิ ารการทหารและความมัน่ คงของรัฐ จานวน ๓ เรื่อง ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดว้ ยวาจา จานวน ๑ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เรื่อง ส่งเร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็น เปน็ หนงั สือไปยังคณะกรรมาธิการการทอ่ งเท่ียว จานวน ๑ เร่ือง ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๔ เร่ือง ส่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยังคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่น จานวน ๑๐ เรอื่ ง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๖ เรอื่ ง ส่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยังคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน จานวน ๗ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๑ เร่ือง ส่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยัง คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน จานวน ๑ เร่ือง แจ้งผล การพิจารณา จานวน ๑ เร่ือง ส่งเรื่องร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรม และการตารวจ จานวน ๒ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๒ เร่ือง ส่งเร่ืองร้องเรียน หรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการแรงงาน จานวน ๑ เร่ือง แจ้งผล การพิจารณา จานวน ๑ เรื่อง ส่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยังคณะกรรมาธิการการเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการโทรคมนาคม จานวน ๑ เรื่อง ส่งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยัง คณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะและวฒั นธรรม จานวน ๑ เร่อื ง ส่งความคิดเห็น และข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยังคณะกรรมาธิการการศึกษา จานวน ๔ เร่ือง ส่งความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะด้วยวาจาไปยังคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข จานวน ๓ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๓ เร่ือง ส่งเร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จานวน ๙ เร่ือง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๙ เร่ือง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๘ เร่ือง ส่งเรื่องร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือ ไปยังคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล จานวน ๒ เรื่อง แจ้งผลการพิจารณา จานวน ๑ เรื่อง ส่งเร่ืองร้องเรียนหรือการแสดงความคิดเห็น เป็นหนังสือไปยังคณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม จานวน ๑ เรื่อง ความคิดเห็นและ ขอ้ เสนอแนะด้วยวาจา จานวน ๓ เรอื่ ง สง่ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดว้ ยวาจาไปยงั คณะกรรมาธิการ สิทธิมนุษยชน สทิ ธเิ สรภี าพและการค้มุ ครองผู้บริโภค จานวน ๑ เร่ือง

๕๒๖ ส่วนการส่งเร่อื งเรียนเป็นหนังสอื และความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดว้ ยวาจาของประชาชน ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาดาเนินการตามควรแก่กรณีภายใต้บทบัญญัติแห่ง กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี จานวน ๗ เร่ือง จังหวัดอ่างทอง จานวน ๗ เรื่อง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จานวน ๑ เร่ือง จังหวัดนครปฐม จานวน ๑ เร่ือง จังหวัดสิงห์บุรี จานวน ๔ เร่ือง จงั หวัดสมุทรสงคราม จานวน ๒ เรื่อง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จานวน ๑ เร่ือง กระทรวงคมนาคม จานวน ๒ เร่ือง โดยมีการแจ้งผลการพิจารณาจากจังหวัดสิงห์บุรี จานวน ๔ เรื่อง กระทรวงคมนาคม จานวน ๒ เร่ือง

๕๒๗ ๓.๖ สรปุ ผลการดาเนนิ การเรอื่ งรอ้ งเรยี น/ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะโครงการสมาชกิ วุฒิสภา พบประชาชนในพื้นทจ่ี ังหวัดภาคตะวันออก หนังสือ วาจา ปัญหาเร่ืองเกย่ี วกบั จังหวัด จานวน จานวน/ น้า เกษตร คมนาคม เศรษฐกจิ ส่งิ แวดล้อม สังคม ขอ้ /เร่ือง เรอ่ื ง ท่ีดนิ เสนอแนะ ๑. จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๑ ๓ ๑๒๑ ๒. จงั หวดั ชลบรุ ี ๒ ๑๑ ๑ ๓๓ ๑ ๕ ๓. จังหวดั ระยอง ๓ ๘ ๑ ๔ ๑๕ ๔. จงั หวดั จนั ทบรุ ี ๑ ๓ ๑ ๒๑ ๕. จงั หวดั ตราด ๔๗๕ ๑๒ ๓ ๖. จังหวดั นครนายก ๖ ๖ ๔ ๑๒ ๑๔ ๗. จังหวดั ปราจนี บุรี ๔ ๑ ๑๒ ๘. จังหวดั สระแก้ว ๔ ๑๒ ๑ จานวนเรือ่ ง ๑๗ ๔๖ ๑๐ ๒ ๔ ๑๒ ๙ ๓ ๒๒ ๑ แยกตามประเภท รวมเรื่องท้ังหมด ๖๓ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ คณะอนุกรรมการดา้ นรวบรวม แยกเรื่องและติดตามเรื่องร้องเรยี น วุฒสิ ภา จากการลงพ้ืนท่ีเพ่ือพบประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดภาคตะวันออกท้ัง ๘ คร้ัง ได้รับเรื่องร้องเรียน เปน็ หนงั สือ จานวน ๑๗ เรอื่ ง และขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะ จานวน ๔๖ เร่อื ง ดังน้ี ๑. ปัญหาท่ีดิน จานวน ๑๐ เรื่อง ๒. ปญั หาแหลง่ นา้ จานวน ๒ เรือ่ ง ๓. ปัญหาดา้ นการเกษตร จานวน ๔ เร่ือง ๔. ปญั หาด้านการคมนาคม จานวน ๑๒ เรอื่ ง ๕. ปัญหาดา้ นเศรษฐกจิ จานวน ๙ เรอ่ื ง ๖. ปญั หาส่งิ แวดล้อม จานวน ๓ เรอ่ื ง ๗. ปัญหาสงั คมและอ่ืนๆ จานวน ๒๒ เรอ่ื ง ๘. ขอ้ เสนอแนะ จานวน ๑ เรอ่ื ง

๕๒๘ ๑. ปญั หาที่ดนิ จานวน ๑๐ เรือ่ ง ปญั หาที่ดินเป็นเรื่องเก่ียวกบั ท่ีดินทางการเกษตรท่ีไม่มีเอกสารสิทธิ์ การประกาศเขตที่ดิน ทับท่ดี ินทากนิ ของราษฎร และการขอใชท้ ่ดี นิ ซง่ึ เป็นของรฐั เรือ่ งท่ดี าเนนิ การสาเรจ็ เรื่องร้องเรียนของนายวีระชาญ ประทีปาระยะกุล กรณีการขอใช้ที่ราชพัสดุเพ่ือก่อสร้าง สานักงานเทศบาลคลองใหญ่ ซึ่งแต่เดิมสมัยท่ีเป็นสุขาภิบาล ได้กันพื้นท่ีไว้และได้ถมที่ดินจานวน ๑๘ ไร่ แต่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมาก จึงต้องใช้วิธีการกู้เงินเพ่ือการถมดินและการก่อสร้างสานักงาน โดยในการกู้เงินจะต้องมีเอกสารสิทธ์ิ ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงแนะนาให้โอนพื้นที่สุขาภิบาลเป็นท่ีราชพัสดุ และให้ดาเนินการทาเรื่องขอใช้ในภายหลัง แต่เมื่อดาเนินการโอนเป็นท่ีราชพัสดุเรียบร้อยแล้วปัญหาคือ ไม่สามารถขอใช้ท่ีราชพัสดุได้ เน่ืองจากติดข้อกฎหมายของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินและ กฎหมายของกรมการปกครอง คณะกรรมาธิการการปกครองท้องถ่ิน วุฒิสภา ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการโครงสร้าง หน้าท่ีและอานาจสาหรับท้องถิ่นรูปแบบท่ัวไป พิจารณาศึกษา รวบรวมข้อมูลและติดตามความคืบหน้า กรณีเทศบาลตาบลคลองใหญ่ขอใช้ท่ีราชพัสดุในความครอบครองใช้ประโยชน์ของกรมการปกครอง ไปยังกรมการปกครองและจังหวัดตราด บัดน้ี กรมการปกครองได้มีหนังสือแจ้งมายังคณะกรรมาธิการ ว่าได้มีหนังสือยินยอมให้เทศบาลตาบลคลองใหญ่ใช้ที่ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียนท่ี ตร.๔๗๒ เนือ้ ท่ี ๑๒-๒-๒๕ ไร่แลว้ ๒. ปญั หาแหล่งนา้ จานวน ๒ เร่อื ง ปัญหาแหล่งน้าเป็นเรื่องเก่ียวกับปัญหาอุทกภัยและน้าทะเลหนุนแม่น้าปราจีนบุรี และ ปญั หานา้ ท่วมในเขตเมอื งพทั ยา ๓. ปัญหาด้านการเกษตร จานวน ๔ เรือ่ ง ปัญหาด้านการเกษตรเป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในการทา การเกษตร การขาดแคลนแหล่งนา้ ในการทาการเกษตร ปญั หาดนิ เปรีย้ ว ๔. ปญั หาด้านการคมนาคม จานวน ๑๒ เรื่อง ปญั หาด้านการคมนาคมเป็นเร่ืองเก่ียวกับความเดือดรอ้ นจากการโครงการทางหลวงพิเศษ การก่อสร้างถนน สะพานและเขื่อนป้องกันตลิ่ง การซ่อมแซมถนน การเช่าที่ดินของการรถไฟ ถนน ไมม่ ไี หล่และทางเทา้ ถนนไมม่ ีไฟส่องสวา่ ง และการจราจรหนาแน่น

๕๒๙ เรอ่ื งทีด่ าเนนิ การสาเรจ็ ๔.๑ เรือ่ งรอ้ งเรียนของ นายณฐั ธีระธร พงค์ธนบญุ ปรีดา จำนวน ๒ ฉบับ ๔.๑.๑ กรณีความเดือดร้อนจากมลพิษของจุดพักรถบรรทุกตามโครงการทางหลวง พิเศษระหวา่ งเมอื งสายชลบรุ ี – หนองคาย ตอนชลบุรี (ทา่ เรือแหลมฉบัง) – ปราจีนบรุ ี (ทางหลวงหมายเลข ๓๕๙) และผลกระทบจากการก่อสร้างถนน ชบ ๓๐๐๙ ของทางหลวงชนบท (กาลังดาเนินการก่อสร้าง) ทาให้เกดิ น้าท่วม ๔.๑.๒ กรณีผลกระทบจากโครงการก่อสรา้ งถนนเชื่อมต่อทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข ๗ (ถนน ๓๐๐๙ บริเวณ กม.๑๐๗+๒๐๐) -ท่าเรือแหลมฉบัง อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ของทางหลวง ชนบท (กาลังดาเนินการก่อสร้าง) เนื่องจากถนนมีความสูง ไม่สามารถระบายน้าตามซอยได้ ความกว้าง ของถนน จานวน ๖ ช่องจราจร มีจุดรับโค้งจานวนมาก เป็นอุปสรรคต่อการตั้งร้านขายของชาของ ประชาชน และถนนเขา้ ซอยติดกบั โครงการ มปี ัญหาชว่ งทางเข้าออก เนอ่ื งจากถนนมคี วามลาดชนั คณะกรรมาธิการการคมนาคม วฒุ ิสภา ได้พิจารณาโดยเชญิ ผู้แทนกรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และผู้ร้องเรียนเข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงข้อมูลข้อเท็จจริงแล้ว ปรากฏผลการพิจารณา เป็นดังน้ี กรมทางหลวงชนบทได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในเบ้ืองต้นให้แก่ผู้ร้องเรียน ซึง่ ผู้รอ้ งเรียนมีความพอใจในแนวทางการแก้ไขปัญหาดงั กล่าว และกรมทางหลวง ได้ช้ีแจงกระบวนการ ในการรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชน โดยชแ้ี จงเปน็ เอกสาร ซ่งึ ผูร้ อ้ งเรยี นแถลงวา่ ไมต่ ิดใจในประเดน็ ดังกลา่ ว ๔.๒ เร่ืองร้องเรียนของ นายอิทธิ แจ่มแจ้ง กรณีขอความอนุเคราะห์ประสานโครงการ เพ่ือแก้ไขปญั หาและการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เน่ืองจากชมุ ชนหนองแฟบได้รับ ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งเน่ืองมาจากการถมทะเลเพื่อก่อสร้างท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ขณะเดียวกันกาลังจะมีโครงการถมทะเลเพื่อก่อสร้างท่าเรือมาบตาพุด เฟส ๓ ออกไปอีกประมาณ ๑๐๐๐ เมตร และทางหลวงมอเตอร์เวย์บ้านฉางกาลังจะเปิดใช้งาน จะเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้รถยนต์ เพ่ิมขึน้ ในพ้นื ท่ีมาบตาพุด คณะกรรมาธิการการคมนาคม วุฒิสภา ได้มีหนังสือประสานไปยังหน่วยงาน ทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพ่อื ขอรบั ทราบความคบื หน้าและผลการดาเนนิ การเกี่ยวกับเรือ่ งร้องเรยี นดงั กลา่ ว ในการนี้ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง จงั หวัดระยอง และองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ระยอง ได้มีหนังสือรายงาน ความคืบหนา้ การพิจารณาประเด็นเร่ืองรอ้ งเรียนดังกลา่ ว ดงั นี้ ๔.๒.๑ กรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ลงพ้ืนที่ตรวจสอบสภาพปัญหาพร้อมศึกษา ออกแบบโครงการศึกษาและกอ่ สร้างเขอื่ นก้ันคล่นื หน้าหาดหนองแฟบและหาดสนกระซิบเรยี บร้อยแล้ว

๕๓๐ ซึ่งปัจจุบันโครงการดังกล่าวได้ถูกบรรจุอยู่ในแผนงานงบประมาณปี พ.ศ.๒๕๖๔ ผูกพันงบประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๖๕ และปี พ.ศ.๒๕๖๖ วงเงินงบประมาณจานวน ๖๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท เรยี บรอ้ ยแล้ว ๔.๒.๒ องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง ได้สารวจและตรวจสอบถนนสายหนอง แฟบ – พลา หรอื ถนน รย.ถ. ๑๐๐๕๒ สายบ้านฉาง – บ้านกงเพชร พบว่าผิวจราจรเป็นถนนลาดยาง แอสฟัสทต์ ิกคอนกรีต ขนาดกว้าง ๗ เมตร แบ่งช่องจราจรออกเป็น ๒ ช่องจราจร ขนาดกว้างข้างละ ๒.๕๐ เมตร ระยะทางยาว ๒.๔๓๐ กิโลเมตร บริเวณสองข้างทางชิดบ้านเรือนและที่ดินของราษฎร ไมส่ ามารถดาเนินการขยายถนนสายดังกล่าวได้ อน่งึ องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดระยอง ไดป้ ระสานงาน โดยตรงกับผู้ร้องเรียน และทราบว่าชุมชนหนองแฟบเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือจัดทา ทางจักรยานบริเวณไหล่ทางทั้งสองข้างเพ่ือแบ่งช่องจราจรให้ชัดเจนและติดต้ังไฟฟ้าแสงสว่างเพิ่มเติม จานวน ๑๒๒ ต้น ใช้งบประมาณดาเนินการ ๒๘,๔๐๐,๐๐๐ บาท ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ระยอง ไดน้ าโครงการปรบั ปรุงถนนสายดังกลา่ วบรรจเุ ข้าเพิม่ เตมิ แผนพฒั นาทอ้ งถิ่นส่ปี ี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – พ.ศ. ๒๕๖๔) แล้ว ๔.๒.๓ เทศบาลเมืองมาบตาพุด ได้ร่วมกับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ประสาน หาแนวทางแก้ไขปัญหาการจราจรหนาแน่นบริเวณถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ด้วยการก่อสร้าง สะพานข้ามแยกตวั วายซ่ึงเป็นจุดตดั ของถนนท่ที าให้เกิดปัญหาจราจรตดิ ขดั ปัจจุบันได้รบั ความรว่ มมือ จากแขวงทางหลวงชนบทระยองในการจัดหางบประมาณจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสมและ ออกแบบก่อสร้างโครงการก่อสร้างสะพานและการจัดการระบบการจราจรในบริเวณถนนโครงข่าย ดังกล่าว ซึ่งจะมีความต่อเน่ืองกับถนนบูรพาพัฒน์ที่อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงชนบท ระยอง ทั้งน้ี เทศบาลเมืองมาบตาพุดได้ขยายผิวจราจรถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์เพิ่มข้ึนอีก ๑ ช่องทางจราจร เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนในระยะแรก ซ่ึงคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ๔.๓ เรื่องร้องเรียนของ นายไพโรจน์ สุวรรณวิจิตร กรณีประเด็นปัญหาและข้อร้องเรียน ตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกบั พื้นท่ีเมืองมาบตาพุด กล่าวคือ โครงการสร้างถนนไม่มปี ้ายบอกไฟส่องสว่างชารุดบอ่ ย หรือแสงสว่างไม่เพียงพอในเวลากลางคืนช่วงดาเนินการก่อสร้าง เจ้าหน้าที่ของโครงการหรือเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานภาครัฐไม่รับฟังปัญหาและผลกระทบ แบริเออร์ก้ันไม่เพียงพอ ไม่มีการรดน้าบนถนนเพ่ือลดฝุ่น เม่ือประชาชนนานา้ ประปามารดถนนกลบั โดนตอ่ วา่ การดาเนินโครงการไม่เปน็ ไปตามท่ีมกี ารทาประชาคม คณะกรรมาธิการคมนาคม วุฒิสภา ได้มีหนังสือสอบถามข้อเท็จจริงไปยัง กรมทางหลวง ซ่ึงเป็นส่วนราชการที่รับผดิ ชอบโครงการดังกล่าวข้างต้น ต่อมา กรมทางหลวงได้นาส่ง หนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงประเด็นเรื่องร้องเรียนดังกล่าวมายังคณะกรรมาธิการ โดยชี้แจงความ ตามประเด็นปัญหาและข้อร้องเรียนต่างๆ ซึ่งท่ีประชุมคณะกรรมาธิการได้มีมติรับทราบหนังสือช้ีแจง ดังกล่าว และแจ้งผลการพจิ ารณาไปยงั ผู้ร้องเรยี นเพ่อื ทราบด้วยแลว้

๕๓๑ ๕. ปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ จานวน ๙ เรือ่ ง ปัญหาด้านเศรษฐกิจเป็นเรื่องเก่ียวกับการเสียภาษีนิติบุคคลของห้าง Modern Trade การเพิ่มประเภทชนิดของไม้ตามกฎหมาย การขยายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก การประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว ลานประชารัฐ การขยายพื้นที่ท่าเรือแหลมฉบัง โครงการ พัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก และโครงการรถไฟความเร็วสูง เชื่อม ๓ สนามบิน (ดอนเมอื ง – สวุ รรณภูมิ – อตู่ ะเภา) แบบไร้รอยตอ่ และปญั หาการค้าชายแดน เรื่องทด่ี าเนินการสาเรจ็ เรื่องร้องเรียนของ นายพิพัฒน์ ฤกษ์สหกุล กรณีห้าง Modern Trade (ธุรกิจค้าปลีก สมัยใหม่) ที่เข้ามาทาธุรกิจในท้องถ่ิน ไม่เสียภาษีนิติบุคคลปลายปีให้กับท้องถ่ิน แต่เสียภาษีรวม ท่ีสานักงานใหญ่ ส่งผลกระทบต่อยอดรวมภาษีนิติบุคคลของแต่ละจังหวัด ทาให้ผู้ประกอบการท้องถิ่น ทุกจงั หวัดถกู แยง่ สว่ นแบ่งทางการคา้ และตอ้ งรับภาษที เ่ี พม่ิ ข้ึน ซ่งึ ไม่เป็นธรรมกบั ผู้ประกอบการรายย่อย (SME) คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง วุฒิสภา ได้เชิญกรมสรรพากร เข้าช้ีแจงในประเดน็ ดังกล่าว และแจง้ ผรู้ อ้ งเพื่อทราบแลว้ ๖. ปญั หาส่งิ แวดล้อม จานวน ๓ เรือ่ ง ปัญหาส่ิงแวดล้อมเป็นเรื่องเกี่ยวกับความเดือดร้อนด้านมลพิษจากโรงงาน การจัดตั้ง โรงแยกกา๊ ซ ปตท. ในพ้นื ที่ตาบลมาบตาพดุ และปญั หาขยะในเมืองพทั ยา ๗. ปญั หาสงั คมและอน่ื ๆ จานวน ๒๒ เรื่อง ปัญหาสังคมและอื่นๆ เป็นเร่ืองเกี่ยวกับความเดือดร้อนจากการไม่มีน้าประปาใช้ ของหมู่บ้านจัดสรร การขนย้ายวัสดุกัมมันตรังสีออกจากพื้นที่ การเตรียมความพร้อมในการรองรับ กฎหมายท่ีจะมีผลใช้บังคับ การควบคุมและกากับดูแลเรอ่ื งกัญชา การขยายหรือปรับปรุงโรงพยาบาล ผลกระทบจากปัญหาแรงงานย้ายถิ่น ผลกระทบจากการดาเนินการของเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก การกัดเซาะชายฝ่ังในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง เรือประมงพาณิชย์ลักลอบทาประมงในเขต ประมงพ้ืนบ้าน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว งบประมาณในการก่อสร้างบ่อขยะ การขาดแคลนแรงงาน ในชว่ งเกบ็ เก่ียวผลผลติ ทางการเกษตร ไฟฟ้า – ประปาไมเ่ พียงพอ ยาเสพตดิ ในกลมุ่ เดก็ และเยาวชน ๘. ข้อเสนอแนะ จานวน ๑ เรอ่ื ง ข้อเสนอแนะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้า ระบบคมนาคมและการขนส่ง ระบบการพัฒนาพลังงานและพลังงานทดแทน การสาธารณสุขในจังหวัดจันทบุรี การวางผังเมือง ของจังหวัดจนั ทบรุ ี ระบบการศกึ ษาจงั หวดั จันทบรุ ี และทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

๕๓๒ ผลการดาเนนิ การเรื่องรอ้ งเรียน/ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมการฯ ได้ส่งผลการดาเนินการเร่ืองร้องเรียน/ประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่ภาคตะวันออกไปยังคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา จานวน ๕๗ เรอ่ื ง และหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง จานวน ๑๑ เรอื่ ง โดยคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม ได้รับเรื่องรอ้ งเรยี นมากท่สี ดุ จานวน ๑๓ เร่อื ง ซ่ึงได้แจ้งผลการดาเนนิ การมายงั คณะกรรมการฯ จานวน ๑๑ เร่อื ง รองลงมาคณะกรรมาธิการการคมนาคม จานวน ๑๐ เร่ือง ซ่งึ ได้แจง้ ผลการดาเนินการมายัง คณะกรรมการฯ จานวน ๕ เรื่อง ลาดับที่ ๓ คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม จานวน ๘ เรื่อง ซึ่งได้แจ้งผลการดาเนินการมายังคณะกรรมการฯ จานวน ๓ เร่ือง นอกจากนี้ ยังมีเร่ืองร้องเรียน ที่อย่ใู นระหวา่ งการพิจารณาของคณะกรรมาธกิ ารสามญั ประจาวุฒสิ ภาคณะตา่ ง ๆ ตลอดจนเรอ่ื งทอี่ ยรู่ ะหวา่ ง การดาเนนิ การของหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง จานวน ๓๖ เร่ือง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook