๑๘๗ ครง้ั ที่ ๑ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชนในพื้นท่ี จงั หวดั กลุ่มภาคกลาง วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ สานักงานสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. จากัด พระนครศรอี ยธุ ยา วิธีการดาเนินกจิ กรรม เปดิ เวทเี พ่ือแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และรบั ฟังปญั หาความเดอื ดร้อน ผลการดาเนนิ การ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เปิดเวทีเพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟังปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน โดยสมาชกิ วฒุ ิสภาได้ชี้แจงถงึ บทบาทหน้าท่แี ละอานาจของสมาชกิ วุฒิสภา วัตถปุ ระสงค์ ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน และในฐานะท่ีสมาชิกวุฒิสภาถือเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทย ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของกิจการสหกรณ์การเกษตรที่รัฐจาต้อง ให้การส่งเสริมและสนับสนุนตาม แนวทางการปฏิรูปประเทศ ท้ังนี้ วุฒิสภามีหน้าที่และอานาจในการรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะ จากประชาชน เพอ่ื ทจ่ี ะไดน้ าข้อเสนอแนะไปส่กู ารดาเนินนโยบายของฝ่ายบรหิ าร ตามทีพ่ ลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา ในอันท่ีจะพัฒนาภาคเกษตร โดยพัฒนาองค์กร
๑๘๘ เกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยเพ่ิมทักษะการประกอบการและพัฒนาความเช่ือมโยงของกลุ่ม เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ ในทกุ ระดับ เพ่อื ขยายฐานการผลติ และฐานการตลาดของสถาบนั เกษตรกรให้เข้มแข็งมีความสามารถในการแข่งขัน เพื่อการพัฒนาภาคเกษตรได้อย่างมั่นคงต่อไป ในอนาคต ทั้งนี้ โดยอาศัยกลไกของวุฒิสภาในการตรวจสอบกลั่นกรองกฎหมายและการควบคุมการ บริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เพ่ือ ให้บรรลุ เปา้ หมาย ตามหมวด ๑๖ การปฏิรปู ประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง การปฏิรปู ประเทศดา้ นกฎหมายซ่งึ ตอ้ ง มกี ารประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องกฎหมายทป่ี ระกาศใชบ้ ังคับแล้ว ตอ่ ไป สาหรับพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นไปตามแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมาย เพื่อจัดให้มีกลไกทางกฎหมายเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในการปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกบั ภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยวและบริการโดยมี เจตนารมณ์ในการปรับปรงุ บทบญั ญัติของพระราชบัญญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพอ่ื การพฒั นา ค้มุ ครอง และสรา้ งเสถียรภาพแกร่ ะบบสหกรณ์ให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น โดยเพ่ิมการกาหนดคุณสมบตั ิของสมาชิก สหกรณ์ การกาหนดคุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ แก้ไขเพ่ิมเติมอานาจหน้าที่ของนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น กาหนดประเภท ลกั ษณะของสหกรณ์ วัตถุประสงค์ และขอบเขตแห่งการดาเนินกิจการของสหกรณ์ ปรบั ปรุงบทบัญญัติ เกี่ยวกับสมาชกิ สมทบของสหกรณ์ กาหนดหน้าท่ีและความรับผิดของคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ กรรมการ ผู้จัดการ และเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์เกี่ยวกับการดาเนินกิจการของสหกรณ์ แก้ไขเพ่ิมเติม บทบัญญัตเิ กี่ยวกับผู้ตรวจสอบกจิ การ บทบัญญตั ิ เกี่ยวกับงบการเงินและบทบญั ญัติเกย่ี วกับการสอบบัญชี เพ่ิมบทบัญญัติเก่ียวกับการดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียน ท่ีดาเนินกิจการในทานองเดียวกันกับสถาบันการเงินไว้เป็นการเฉพาะ และกาหนดให้มีคณะกรรมการ สมาชกิ วุฒสิ ภาได้พูดคยุ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นกับประชาชนมีสาระสาคญั โดยสรปุ กลา่ วคือ ในฐานะท่ี สมาชิกวุฒิสภาถือเปน็ ผแู้ ทนปวงชนชาวไทยได้เลง็ เห็นถึงความสาคญั ของกิจการสหกรณ์การเกษตรท่ีรัฐ จาต้องให้การส่งเสริมและสนับสนุนตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ ท้ังน้ี วุฒิสภามีหน้าท่ีและอานาจ ในการรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะจากประชาชน เพ่ือท่ีจะได้นาข้อเสนอแนะไปสู่การดาเนินนโยบาย ของฝา่ ยบริหาร ตามทพี่ ลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายตอ่ รัฐสภา ในอันท่จี ะ พฒั นาภาคเกษตร โดยพฒั นาองค์กรเกษตรกรและเกษตรกรร่นุ ใหม่ โดยเพม่ิ ทักษะการประกอบการและ พฒั นาความเชือ่ มโยงของกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ ในทกุ ระดับ เพ่อื ขยายฐานการผลติ และฐานการตลาดของสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็งมีความสามารถในการแข่งขัน เพ่ือการพัฒนา ภาคเกษตรได้อยา่ งมน่ั คงตอ่ ไปในอนาคต
๑๘๙ ทั้งน้ี โดยอาศัยกลไกของวุฒิสภาในการตรวจสอบกลั่นกรองกฎหมายและการควบคุม การบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย ตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ซ่งึ ตอ้ งมกี ารประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องกฎหมายที่ประกาศใช้บงั คบั แลว้ ต่อไป สาหรบั พระราชบัญญัตสิ หกรณ์ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ไปตามแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมาย เพื่อจัดให้มีกลไกทางกฎหมายเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในการปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเท่ียวและบริการ โดยมีเจตนารมณ์ในการปรับปรุงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพ่ือการพัฒนา คุ้มครอง และสร้างเสถียรภาพแก่ระบบสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น โดยเพ่ิมการกาหนดคุณสมบัติ ของสมาชิกสหกรณ์ การกาหนดคุณสมบตั ขิ องกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์ แห่งชาติ แก้ไขเพ่ิมเติมอานาจหน้าที่ของนายทะเบียนสหกรณ์เพ่ือให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น กาหนด ประเภท ลักษณะของสหกรณ์ วัตถุประสงค์ และขอบเขตแห่งการดาเนินกิจการของสหกรณ์ ปรับปรุง บทบัญญัติเกี่ยวกับสมาชิกสมทบของสหกรณ์ กาหนดหน้าที่และความรับผิดของคณะกรรมการ ดาเนินการสหกรณ์ กรรมการ ผูจ้ ัดการ และเจ้าหนา้ ทีข่ องสหกรณ์เกยี่ วกบั การดาเนินกจิ การของสหกรณ์ แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้ตรวจสอบกิจการ บทบัญญัติ เกี่ยวกับงบการเงินและบทบัญญัติ เก่ียวกับการสอบัญชี เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยนที่ดาเนินกิจการใน ทานองเดียวกันกับสถาบันการเงินไว้เป็นการเฉพาะ และกาหนดให้มีคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณเ์ พ่อื ให้การพิจารณาวินิจฉยั อทุ ธรณส์ ะดวก รวดเรว็ ย่ิงข้นึ รวมถงึ กาหนดให้สหกรณ์จงั หวัดเป็นนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจาจงั หวดั เพ่ือประสิทธิภาพ ในการ กากบั ดแู ลกลมุ่ เกษตรกร และปรบั ปรุงบทกาหนดโทษและอัตราโทษให้มคี วามเหมาะสมยิง่ ขนึ้ จากน้ัน ประธานกลุ่มเกษตรกรกลุ่มต่าง ๆ และเกษตรกร ตลอดจนประชาชนผู้เป็นสมาชิก สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. พระนครศรีอยุธยา จากัด ได้เสนอแนะข้อมูล ตลอดจน เสนอสภาพปญั หาและขอ้ รอ้ งเรยี น สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี นายสมยศ แสงจันทร์ เกษตรกร ตาบลกบเจา อาเภอบางบาล ได้เสนอข้อร้องเรียนว่า เกษตรกรริมคลองบางหลวง ๒ กลุ่มที่ทานาแปลงใหญ่ในหมู่ ๓ และหมู่ท่ี ๗ ท่ีอยู่พ้ืนที่ปลายน้า จาเป็นต้องใช้เงินทุนในการสูบน้าเพื่อการทานาสูงมาก จึงมีความต้องการการสนับสนุนการใช้พลังงาน แสงอาทิตย์หรอื พลังงานทางเลอื กอืน่ เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนและลดต้นทนุ ของเกษตรกร สุรินทร์ กฤษสุริยา ประธานเกษตรนาแปลงใหญ่ อาเภอท่าเรือ และกลุ่มเกษตรกรได้กล่าว ช่ืนชมการดาเนินงานลงพ้ืนท่ีของสมาชิกวุฒิสภา และเสนอข้อร้องเรียนในประเด็นเร่ืองราคาข้าวตกต่า และการขาดแคลนทรัพยากรน้า ตลอดจนข้อจากัดด้านการคมนาคมขนส่งปัจจัยการผลิตซึ่งมีผลต่อ
๑๙๐ ต้นทุนการทานาท่ีสูงข้ึนและปัญหาการบุกรุกที่ดินเน่ืองจากมีลักษณะที่นาไม่มีทางออกสู่ ทางสาธารณะ ทงั้ นี้ บางแปลงไม่สามารถทานาได้มาเปน็ ระยะเวลากวา่ ๖ ปี นางวันทิพย์ มงคลเกดิ เกษตรกร ตาบลทางช้าง อาเภอบางบาล เสนอขอ้ รอ้ งเรียนไม่สามารถ ชาระเงินต้นและดอกเบี้ยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้ เนื่องจากราคา ผลผลิตตกต่า แม้ได้รับการผ่อนผันจากธนาคาร แต่ก็ยังไม่เพียงพอในการดารงชีพและชาระหน้ีได้ จึงขอให้เร่งรดั มาตรการฟ้นื ฟูและพัฒนาเกษตรกรตามท่ีได้มกี ารเสนอรา่ งกฎหมายที่เก่ยี วข้องไปแล้ว (อน่ึง ร่างพระราชบัญญัติกองทุนฟ้ืนฟูและพัฒนาเกษตรกร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ท่ีคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการแล้ว เม่ือวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา ปัจจุบันยังอยู่ใน ข้ันตอนการตรวจพิจารณาของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ก่อนที่จะเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ตอ่ ไป) นายชลิต ชิงชัย เกษตรกร ประธานกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตาบลหนองปลิง อาเภอนครหลวง เสนอให้มีการจัดทา “ธนาคารน้าใต้ดิน” เพ่ือกักเก็บน้าและแจกจ่ายเพ่ือการเกษตรให้ได้มากขึ้น และเป็นแก้มลิงท่ีใช้บรรเทาปัญหาน้าท่วมได้ จากนั้นให้มีโครงการ “ธนาคารต้นไม้” โดยรัฐพึงอุดหนุน งบประมาณให้เกษตรกรมีรายได้เพิม่ มากย่งิ ขึ้น วา่ ท่ี ร.อ. สมพงษ์ หอมหวล เกษตรกรตาบลชา้ งใหญ่ เสนอข้อร้องเรยี นวา่ หน่วยงานภาครัฐ ไม่บูรณาการการทางานอย่างเป็นรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร สาหรับในพ้ืนท่ีตาบลช้างใหญ่ มีความต้องการขยายพ้ืนท่ีทาการของสหกรณ์การเกษตรตาบลช้างใหญ่ไปยังพื้นท่ีข้างเคียง ซ่ึงเป็นท่ีดิน ราชพสั ดแุ ละเกิดปัญหาในทางปฏบิ ตั ซิ งึ่ ไม่สามารถไดร้ บั อนญุ าตเข้าใชพ้ ื้นท่ีเพอ่ื ประโยชนส์ าธารณะได้ นายณรงค์ บัวขจร เกษตรกรตาบลบ้านกุ่ม อาเภอบางบาล เสนอข้อร้องเรียนเรื่องการขาดน้า สาหรับทานาและมีน้าท่วมพ้ืนที่การเกษตร มีบ่อทรายทาให้น้าเส่ือมคุณภาพ ต้นทุนการทานามีราคาสูง และขาดแหลง่ การพฒั นาองคค์ วามร้ภู าคการเกษตร นายปราโมทย์ กาญจนเลขา เสนอข้อร้องเรียนปัญหาความล่าช้าในการออกเอกสารสิทธ์ิ ของทางราชการ นางสาวอัญชิสา พันธุ์ศุภผล เกษตรกรตาบลวัดยม อาเภอบางบาล เสนอข้อร้องเรียน เร่ืองบ่อทรายปล่อยน้าเสียลงสู่คลองชลประทานและเข้าสู่พื้นที่การเกษตร ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๑ เป็นเหตุให้ดินเค็มไม่สามารถทานาได้กว่า ๕๐๐ ไร่ แม้จะได้ทาการล้างดินเพื่อปรับปรุงคุณภาพดิน แลว้ กต็ าม ทั้งน้ี ได้ร้องเรยี นไปยงั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งแล้วแต่ไมเ่ ปน็ ผล นายมาโนชญ์ รักษาธรรม สมาชิกสภาเกษตรกรอาเภอบางบาล เสนอข้อร้องเรียนปัญหาการ ประกันพืชผลท่ีไม่มีความเท่าเทียมและท่ัวถึงกันในพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ควรมีการประกาศ
๑๙๑ พ้ืนที่ภัยแล้งให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาท่ีแท้จริงในแต่ละพื้นที่ โดยไม่ต้องรอประกาศภัยพิบัติ ระดับจังหวดั นายสมนึก บรรจงศิริ เกษตรกรอาเภอนครหลวง เสนอให้รัฐสนับสนุนการดาเนินการของ สหกรณ์การเกษตรทุกแห่งให้สามารถรับซ้ือข้าวของเกษตรกรได้ และลดปัญหาการขัดกันแห่ง ผลประโยชน์ในการดาเนินกิจการสหกรณ์การเกษตร เพื่อเพิ่มอานาจการต่อรองกับผู้ประกอบธุรกิจ เอกชน นายณรงค์ ผึ่งผาย เกษตรกรตาบลบ้านคลัง อาเภอบางบาล เสนอข้อร้องเรียนเรื่อง คลองสาธารณะสง่ นา้ ใช้ประโยชนไ์ ปไม่ถงึ ทีด่ นิ ทานา นายสงิ หช์ ัย เรอื งขจร เกษตรกร อาเภอมหาราช เสนอขอ้ รอ้ งเรยี นเกยี่ วกบั ปญั หาการบริหาร จัดการน้าสาหรับใช้ในการทานาใน “พื้นท่ีทุ่งมหาราช” ซึ่งมีภูมิประเทศลักษณะเป็นแอ่งกระทะ ทีไ่ ม่เหมาะสมในการทานา นายสอาด สุขสุแดน ประธานกลุ่มนาแปลงใหญ่ เสนอข้อร้องเรียนด้านการประกันรายได้ ของเกษตรกร นายวิรัช จาปานาค เกษตรกร อาเภอท่าเรือ เสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพรอง ของเกษตรกรอย่างจริงจังตามความสามารถและความถนดั ของเกษตรกร เพ่ือเสริมรายได้ของเกษตรกร นอกฤดูการทานาและเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่น การมีแนวทางให้สถาบันการศึกษามีบทบาทในการส่งเสริม อาชีพรองและรายได้ของเกษตรกรอยา่ งครบวงจร ทั้งองคค์ วามรู้และการตลาด นางไอยวรินทร์ ภาษี เกษตรกร อาเภอท่าเรือ เสนอสภาพปัญหาการทานาในพ้ืนท่ีอาเภอ วังน้อยมีปัญหาฝนแล้งซ่ึงขาดนวัตกรรมการสร้างฝนเทียม และดินเป็นพิษจากบ่อน้าท่ีมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเห็นว่าอาจเป็นผลมาจากพื้นทใ่ี กลเ้ คยี งมีการทาบอ่ ดินและมกี ารปล่อยนา้ เสยี ออกมา และนายสุรินทร์ วิงวอน เกษตรกรตาบลกบเจา อาเภอบางบาล เสนอสภาพปัญหาราคา รบั ซ้ือข้าวเปลือกตกตา่ ในการนี้ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้ร่วมกันตอบชี้แจงข้อร้องเรียนในเบื้องต้น และช้ีแจงข้ันตอน กลไกของวุฒิสภาท่ีสามารถใช้ในการแกไ้ ขปัญหาในเบื้องต้นได้ จากน้ันจะมีการตอบชี้แจงความคืบหน้า และผลการดาเนนิ งานกลับมายงั ผูเ้ สนอขอ้ ร้องเรียนในพืน้ ทตี่ อ่ ไป --------------------------------------------
๑๙๒ ครั้งท่ี ๒ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดกลุ่มภาคกลาง วันท่ี ๕ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ราชบุรี จงั หวดั ราชบุรี ณ หอประชมุ โรงเรยี นสวนผึง้ วทิ ยา ตาบลสวนผงึ้ อาเภอสวนผึ้ง วธิ ีการดาเนินกิจกรรม เปดิ เวทีรบั ฟงั ความคดิ เหน็ เพอื่ สะท้อนปญั หาเกี่ยวกบั การบงั คบั ใช้ กฎหมาย รวมทัง้ รบั ฟังปญั หาความเดอื ดร้อนของประชาชน
๑๙๓ ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เปิดเวทีเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟังปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน โดยสมาชิกวุฒิสภาได้ช้ีแจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนใน พื้นที่จังหวัดภาคกลาง รวมทั้งหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และประเดน็ ปญั หาเกีย่ วกับการบังคบั ใชก้ ฎหมายท่นี า่ สนใจ โดยนายวิทยา ผิวผ่อง รองประธานกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดภาคกลาง คนท่ีหนึ่ง ได้กล่าวทักทายพูดคุยกับประชาชน พร้อมทั้งอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของ โครงการสมาชกิ วฒุ ิสภาพบประชาชนในพื้นท่ีจงั หวัดภาคกลาง รวมทง้ั หนา้ ที่และอานาจของวุฒสิ ภาตาม รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ พลเอก ดนัย มีชูเวท ได้บรรยายความรู้เกี่ยวกับกฎหมายโดยเฉพาะกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง กับชีวิตประจาวันของประชาชนในพื้นที่ให้ประชาชนได้รับฟัง ได้แก่ พระราชบัญญัติการเช่าที่ดิน เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ พระราชบญั ญตั กิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ และพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครอง ประชาชนในการทาสัญญาขาย ฝากท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ และได้แนะนาให้ประชาชนศึกษาหาข้อมูลด้านกฎหมายเพ่ิมเติมด้วยตนเอง โดยการสืบค้นผ่านระบบ อนิ เทอร์เนต็ นายปานเทพ กล้าณรงคร์ าญ ไดก้ ล่าวทกั ทายประชาชน พรอ้ มกลา่ วว่าการลงพนื้ ท่ีในจงั หวัด ราชบุรีในครั้งนี้ สมาชิกวุฒิสภาต่างมากันด้วยมิตรไมตรี และจะปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเป็นกัลยาณมิตร และเป็นการมาเพ่ือรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการตรากฎหมายและ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายทีม่ ีผลกระทบตอ่ พี่น้องประชาชน รวมท้ังได้กล่าวถงึ ความสาคัญของทรัพยากรปา่ ไม้ ประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้ วิกฤติป่าไม้ไทย ตลอดจนแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้โดย อาศัยความร่วมมือระหว่างภาครฐั และชมุ ชน นายลักษณ์ วจนานวัช ได้กล่าวทักทายประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ และกล่าวว่า การลงพื้นที่ในจังหวัดราชบุรีในคร้ังนี้ เป็นนโยบายที่สาคัญที่จะทาให้สมาชิกวุฒิสภาเข้าถึงและเข้าใจ ประชาชนได้มากยิ่งขึ้น และสามารถทางานประสานกับประชาชนเพื่อพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ ชาติได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน จากน้ันได้กล่าวถึงความเป็นมาและสภาพปัญหาท่ีดินทากินของ ประชาชนในอาเภอสวนผึ้ง และอาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีดินทากิน ของภาครฐั อน่ึง ปัญหาที่ดินทากินในอาเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี นั้นสืบเนื่องมาจากการกาหนดเขต หวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามท่ีดินในท้องท่ีอาเภอเมืองกาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พทุ ธศักราช ๒๔๘๑ ซึ่งออกตามความในมาตรา ๕
๑๙๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๘ และมผี ลบังคบั ใช้ต้งั แตว่ ันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๔๘๑ เป็นตน้ ไป เนื้อที่ ๓,๕๐๐,๐๐๐ ไร่ ซ่ึงปัจจุบันครอบคลุมพ้ืนที่ของอาเภอเมืองกาญจนบุรี อาเภอบ่อพลอย อาเภอท่าม่วง อาเภอพนมทวน อาเภอไทรโยค อาเภอศรีสวัสด์ิ อาเภอด่านมะขามเต้ีย อาเภอห้วยกระเจา ของจังหวัดกาญจนบุรี และอาเภอสวนผึ้ง อาเภอจอมบึง ของจังหวัดราชบุรี ซึ่งต่อมาพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ มาตรา ๔ (๖) ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่า อนั เปน็ สาธารณสมบัติของแผน่ ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๘ แตม่ าตรา ๑๐ แห่งพระราชบญั ญัติให้ใช้ประมวล กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ กาหนดให้ทด่ี นิ ซึง่ ได้หวงหา้ มไวเ้ พอ่ื ประโยชน์ตามพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการ หวงหา้ มที่ดินรกรา้ งวา่ งเปล่าอันเปน็ สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดนิ พุทธศกั ราช ๒๔๗๘ หรอื ตามกฎหมายอนื่ อยู่ก่อนวันท่ีประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ ให้คงเป็นท่ีหวงห้ามต่อไป ซึ่งต่อมาได้มีการตรา พระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ ขึ้นมาใช้บังคับ และมาตรา ๔ ของกฎหมายฉบับน้ีได้กาหนดให้ พ้ืนที่ตามแผนท่ีท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวเป็นท่ีราชพัสดุประเภทอสังหาริมทรัพย์อันเป็นสาธารณ สมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ และกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ได้ข้ึน ทะเบียนพื้นท่ีหวงห้ามเขตพ้ืนที่อาเภอจอมบึงและอาเภอสวนผ้ึง จังหวัดราชบุรี เนื้อที่ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ เป็นแปลงหมายเลข รบ.๕๕๓ ตามหนังสือ รบ.๐๐๐๓/๑๓๕๗๓ ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐ และได้มกี ารมอบให้กองทัพบกเปน็ ผดู้ ูแลพืน้ ทด่ี ังกลา่ ว ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ผู้แทน ของจังหวัดราชบุรี และส่วนราชการผู้ใช้ประโยชน์ ได้สารวจการครอบครองใช้ประโยชน์พ้ืนที่ด้วยการ เดินสารวจเข้าไปในพ้ืนที่จริงเพ่ือจัดทาแผนท่ีกายภาพ จากการสารวจพบว่ามีผู้บุกรุก ๖,๖๕๕ แปลง เน้ือท่ี ๑๔๙,๙๒๖ ไร่ จึงได้จัดทาแผนท่ีการครอบครองและใช้ประโยชน์ดังกล่าวเรียกว่า “แผนท่ี กายภาพ” ส่วนพ้ืนที่ที่ประชาชนไม่ได้ครอบครองและทาประโยชน์เรียกว่า “พื้นที่นอกแผนที่กายภาพ” ตอ่ มาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๕ อนุมัติมาตรการในการแก้ไขปัญหาการบุกรุก ที่ราชพัสดุ โดยให้กรมธนารักษ์พิจารณาในเรื่องที่ราษฎรได้บุกรุกท่ีดินของรัฐดังกล่าว ซ่ึงกรมธนารักษ์ ได้เสนอโครงการรัฐเอ้ือราษฎร์เพ่ือให้ผู้ที่บุกรุกพ้ืนที่และไม่โต้แย้งสิทธิ์มาทาสัญญาเช่ากับกรมธนารักษ์ โดยกาหนดคณุ สมบัติว่าตอ้ งเป็นราษฎรทอี่ ยูก่ ่อนวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ และมีสทิ ธิได้รับการเช่าจากรัฐ ตามจานวนเน้อื ท่ที ่ีครอบครองและใช้ประโยชน์ หากเป็นการบกุ รุกเขา้ ถอื ครองทาประโยชนภ์ ายหลงั วันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๔๕๖ กรมธนารักษ์จะไม่รับรองสิทธิโดยการจัดให้เช่าและจะดาเนินคดีตามกฎหมาย เพื่อผลักดันให้ผู้บุกรุกออกจากพื้นที่และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุกพ้ืนที่เพ่ิมเติม อย่างไรก็ตาม ได้มีกลุ่ม ผูม้ อี ทิ ธพิ ลทั้งระดับทอ้ งถน่ิ และระดบั ชาติ และผมู้ ชี อ่ื เสียงทางสงั คมไดเ้ ข้ามายึดถือครอบครองที่ดนิ ทรี่ าช พัสดุของอาเภอสวนผึ้งเป็นจานวนมาก ทั้งท่ีเข้ามายึดถือครอบครองโดยการบุกเบิกแผ้วถางป่าไม้ ธรรมชาติทาให้เกิดผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผู้ท่ีเข้ามาซ้ือที่ดินต่อจาก
๑๙๕ ผู้บุกรุกโดยอ้างว่าตนสุจริตทั้งท่ีรู้อยู่แล้วว่าท่ีดินบริเวณดังกล่าวเป็นท่ีดินของรัฐไม่สามารถทาการ ซ้ือขายกันได้ โดยเฉพาะท่ีดินที่มีสภาพเป็นท่ีเขาหรือภูเขา มีการยึดถือ ครอบครอง แผ้วถาง ก่อสร้าง ในพน้ื ท่ีจนได้รับความเสียหายเป็นจานวนมากและนาที่ดินเหลา่ นี้มาดาเนนิ การทางการค้าและทาการซ้ือ ขายกันอย่างเปิดเผย ซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้เกิดเป็นปัญหาสะสมมาเป็นระยะเวลายาวนาน จนกระท่ังยาก ต่อการแกไ้ ขปญั หาได้ในปัจจุบัน หลังจากน้ันได้เปิดโอกาสให้ประชาชนในอาเภอสวนผึ้งและบริเวณใกล้เคียงได้แสดง ความคดิ เหน็ เสนอแนะข้อมลู ตลอดจนเสนอสภาพปญั หาและข้อรอ้ งเรยี น ซึง่ มีผแู้ สดงความคิดเห็น และเสนอเรื่องเปน็ หนงั สือ จานวน ๑๖ คน สรปุ สาระสาคัญโดยแยกเป็น ๑) ประเด็นเก่ียวกบั ทีด่ นิ ทา กินของเกษตรกร ๒) ประเด็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้าและระบบสาธารณูปโภค ๓) ประเด็น เกีย่ วกับการปฏิบตั ิหน้าท่ขี องเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั หรือเจา้ หน้าทอ่ี น่ื ของรฐั ได้ดังนี้ ๑) ประเด็นเกีย่ วกบั ทด่ี นิ ทากินของเกษตรกร มีผู้แสดงความคิดเห็นและเสนอเรื่องเปน็ หนังสอื จานวน ๘ คน ดังน้ี ๑.๑) นางพิมพ์ภรณ์ พรมเวหา เลขานุการสมาคมเกษตรกรพอเพียงเพื่อการท่องเท่ียว สวนผ้ึง ได้ร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา เรื่องที่ดินในอาเภอสวนผึ้ง อาเภอจอมบึง ฝ่ังซ้ายของแม่น้าภาชี จังหวัดราชบุรี ไม่ใช่ที่ดินหวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามที่ดิน ในท้องท่ีอาเภอเมือง กาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๔๘๑ ซง่ึ กาหนดเขตท่ีดินหวงห้ามไว้ในจังหวัดกาญจนบุรี ได้แก่ อาเภอวังขนาย อาเภอบา้ นทวน อาเภอวังกะ อาเภอเมืองกาญจนบุรี เท่านั้น ไม่มีข้อความใดกาหนดพาดพิงมาถึงอาเภอสวนผึ้ง อาเภอจอมบึง แต่ประการใด จึงไม่ใช่ท่ีดินหวงห้ามเพ่ือประโยชน์ในราชการทหาร และไม่ใช่ที่ดินราชพัสดุ ฝ่ายทหาร หรือกรมธนารักษ์จึงไม่มีสิทธิในการนาที่ดินท้ังหมด ๕ แสนไร่เศษ ไปข้ึนทะเบียนเป็นที่ดินราชพัสดุ แล้วนามาให้ราษฎรเช่าท่ีดินของตนเองเพ่ือทากิน ซ่ึงดูเหมือนเป็นการจัดระเบียบท่ีดี เป็นการดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ แต่ในความเป็นจริงแล้วถือเป็นการนากฎหมายต่าง ๆ ของหน่วยงานท่ีมี หน้าท่เี ก่ียวข้องไปรวมอยู่ที่กรมธนารักษแ์ ละฝา่ ยทหาร ทาให้คนเพียงกลุ่มเดียวมีอานาจอนุมัติ อนุญาต ตามท่ีตนเห็นชอบ ดังนั้น จึงพบว่ามีการปลูกสวนยางพาราบนสันเขาได้โดยไม่เป็นความผิด มีการตั้ง สถานประกอบการบนพื้นที่สูงโดยไม่เป็นความผิด มีการใช้ทรัพยากรน้าไปทาสวนสนุก และท้ิงขยะ ลงในแหล่งน้าได้โดยไม่เป็นความผิด เพราะได้รับอนุญาตมาถูกต้องแล้วน่ันเอง จึงขอนาเรียนปัญหา ที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น เพื่อให้มีการตั้งกรรมาธิการเพื่อแก้ไขปัญหาท่ีดินในอาเภอสวนผ้ึง และอาเภอ จอมบงึ อย่างเปน็ ระบบ ๑.๒) นางยุพา พันนา ได้ร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา กรณีได้รับความเดือดร้อน ไม่สามารถเข้าไปเก็บเก่ียวผลผลิตท่ีตนปลูกไว้ในที่ดินของตนเองได้ โดยเม่ือวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙
๑๙๖ ขณะท่ีบุตรชายได้เข้าไปทาไร่ในท่ีดินของตนเอง ได้มีเจ้าหน้าท่ีของรัฐพร้อมอาวุธครบมือจานวนหน่ึง เข้าจบั กมุ เพอ่ื ดาเนนิ คดีในขอ้ หาบุกรุกที่ราชพัสดุ และตอ่ มาในวนั ที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๙ เจา้ หน้าทตี่ ารวจ ไดจ้ บั กมุ นางยุพาฯ ท่ีบา้ นพกั โดยอ้างประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๔ กลา่ วหาว่า นางยุพาฯ จา้ งวาน ใช้ ให้บุตรชายเข้าไปกระทาความผิดฐานบุกรุก หลังจากนั้นนางยุพาฯ ถูกดาเนินคดีในศาล ศาลจังหวัด ราชบุรีได้ตัดสินคดีให้นางยุพาฯ แพ้คดีในศาลชั้นต้น และพิพากษายึดท่ีดินทากิน จาคุกคนละ ๑ ปี ๖ เดือน และปรับคนละ ๑๖,๐๐๐ บาท ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น ซ่ึงขณะน้ี คดีดังกล่าวอยู่ในระหว่างรอคาพิพากษาจากศาลฎีกา นางยุพาฯ และครอบครัวได้รับความเดือดร้อน เป็นอย่างมาก เน่ืองจากศาลไม่อนุญาตให้เข้าไปในที่ดินดังกล่าวเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ปลูกไว้ ทาให้ ขาดรายได้ในการเล้ียงดูครอบครัว จึงขอความอนุเคราะห์ช่วยเหลือให้ตนสามารถเข้าไปเก็บผลผลิต ในท่ีดินดังกล่าวได้ ๑.๓) นายเสน่ห์ สุวรรณ ไดร้ ้องเรียนเรื่องปัญหาที่ดินทากินในอาเภอสวนผึ้ง โดยกล่าวว่า ประชาชนได้อยู่อาศัยในพ้ืนท่ีของอาเภอสวนผ้ึงมาต้ังแต่สมัยต้นรัตน โกสินทร์ คือก่อนที่ จะมีการประกาศเขตหวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตต์หวงห้ามท่ีดินในท้องท่ีอาเภอเมือง กาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๔๘๑ ดังนั้น การดาเนินการจัดการพ้ืนท่ีราชพัสดุของกรมธนารักษ์จึงเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้กับ ประชาชน ทาให้ประชาชนไม่มีท่ีดินทากิน และขอความอนุเคราะห์ให้สมาชิกวุฒิสภาได้ประสานผู้ท่ีมี ส่วนเกยี่ วข้องเพือ่ ให้ความเปน็ ธรรมแก่ประชาชนชาวอาเภอจอมบงึ และอาเภอสวนผึง้ ๑.๔) นายสกล คุณาพิทักษ์ ประธานเครือข่ายเรียกร้องสิทธิท่ีดินทากิน ได้ขอเป็นตัวแทน ประชาชนในตาบลสวนผง้ึ กล่าวขอบคุณสมาชิกวุฒสิ ภาที่ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการลงพ้ืนที่รบั ฟัง ปัญหาความเดือดร้อนของชาวบ้าน และร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา เรื่องการพิสูจน์สิทธิทากิน ในท่ีดิน โดยต้องการให้มีการแก้ไขปัญหาให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการแก้ไข ปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๕ เร่ืองพื้นที่อาเภอสวนผ้ึง อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ไม่ได้อยู่ในเขตหวงหา้ มตามพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตต์หวงห้ามท่ีดินในท้องที่อาเภอเมืองกาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๔๘๑ และเรื่อง บนั ทึกความเขา้ ใจว่าดว้ ยความรว่ มมอื การจัดการแกไ้ ขปญั หาทด่ี นิ ทากนิ ในอาเภอสวนผ้ึง จงั หวัดราชบรุ ี ระหว่างราษฎรกับส่วนราชการต่าง ๆ โดยต้องการให้มีการพิสูจน์สิทธิในท่ีดินด้วยความรวดเร็ว และในระหว่างที่มีการดาเนินการพิสูจน์สิทธิน้ันต้องการให้มีการชะลอการบังคับใช้กฎหมายชั่วคราว เพื่อบรรเทาความเดอื ดร้อนของประชาชน ๑.๕) นางสายฝน ดีบญุ มี ร้องเรียนต่อสมาชิกวฒุ สิ ภา กรณที ่ีดินทากนิ เดมิ เปน็ ท่ีดนิ ส.ป.ก. ๔-๐๑ แต่กลับไม่สามารถแบง่ แยกหรือโอนให้ทายาทได้ เน่ืองจากเจา้ หน้าที่ ส.ป.ก. แจ้งว่าพ้ืนท่ีดงั กลา่ ว
๑๙๗ เป็นท่ีดินทับซ้อนกับท่ีดินราชพัสดุ จึงขอความอนุเคราะห์ให้ช่วยประสานหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ออกกฎหมายเพื่อยกเลิกการแบ่งท่ีดินจากที่ดิน ส.ป.ก. มาเป็นท่ีดินราชพัสดุ ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น เน่ืองจากมีประชาชนท่อี าศัยอยใู่ นบริเวณใกล้เคยี งได้รับความเดือดรอ้ นจานวนมาก ๑.๖) นายชยพล จารุรัฐฐานันท์ ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตาบลสวนผ้ึง ได้เสนอแนะแนวทางการพัฒนาชุมชน โดยที่ผ่านมาองค์การบริหารส่วนตาบลสวนผ้ึง ไม่สามารถพัฒนา ชุมชนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เนื่องจากติดปัญหาเร่ืองท่รี าชพัสดุ ทาให้เกิดความไม่สะดวกในการเข้าถึง พ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนา อาทิเช่น การเข้าดาเนินการซ่อมแซมถนนที่มีใช้อยู่เดิม ไม่ใช่เป็นการสร้างถนนข้ึนใหม่ ก็ไม่สามารถกระทาได้หากไม่ได้รับอนุญาต หรือการติดต้ังแท็งค์น้าบาดาลเพื่อจ่ายน้าให้แก่ประชาชน ในพน้ื ท่ีก็จาเปน็ ทจ่ี ะต้องไดร้ ับอนุญาตจากหนว่ ยงานท่ีครอบครองและใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีราชพสั ดดุ ังกล่าว เสียก่อน และต้องชาระค่าเช่าท่ีดินเพ่ือติดตั้งแท็งค์น้าบาดาลให้กับหน่วยงานท่ีครอบครองและ ใช้ประโยชน์ในอัตราเดือนละ ๒,๘๐๐ บาท จึงเห็นว่าเป็นการทาให้เสียโอกาสในการพัฒนาชุมชนและ เป็นการเสียคา่ ใชจ้ ่ายโดยไม่จาเป็น ๑.๗) นายทวน แป้นโก๋ อาชีพเกษตรกรอาเภอจอมบึง และคุณสาเนียง แขกสันเทียะ ได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดินทากิน โดยกล่าวว่าประชาชนในอาเภอจอมบึงและอาเภอ สวนผึ้ง จงั หวัดราชบุรี น้ัน อาศยั อยู่ในพื้นท่ีมาก่อนทจ่ี ะมีการกาหนดเขตหวงหา้ มตามพระราชกฤษฎีกา กาหนดเขตหวงห้ามทด่ี ินในท้องที่อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๔๘๑ อีกทั้งพ้ืนที่ในอาเภอจอมบึงและอาเภอสวนผึ้งก็ไม่ใช่พ้ืนท่ี หวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกาแต่อย่างใด ดังน้ัน จึงขอเสนอแนะให้ภาครัฐเข้ามาช่วยดูแลแก้ไขปัญหา เรอ่ื งที่ดินทากนิ อย่างจริงจงั และต้องการที่สะท้อนปัญหาท่ีเกิดข้ึนไปให้ถึงนายกรฐั มนตรดี ว้ ย ๒) ประเดน็ เก่ยี วกับการบริหารจัดการนา้ และระบบสาธารณูปโภค มีผูแ้ สดงความคดิ เห็นและเสนอเรือ่ งเปน็ หนังสอื จานวน ๔ คน ดังน้ี ๒.๑) นายทนงศักด์ิ เหลืองจรุงรัตน์ ได้ร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา เร่ืองปัญหาการ ขาดแคลนแหล่งน้าในการทาเกษตรกรรม ในบริเวณลาน้าบ้านห้วยคลุม บ้านนาขุนแสน บ้านถ้าหิน ซึ่งลาน้าบ้านห้วยคลุมมีความยาวถึง ๕๐ กิโลเมตร เหมาะสาหรับการสร้างฝายทดน้า ฝายชะลอน้า เพ่ือเก็บกักน้าไว้สาหรับปลกู พืชไร่และทาการเกษตร จึงขอความอนุเคราะห์ให้สมาชิกวุฒิสภาช่วยเหลือ และประสานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่องการพัฒนาแหล่งน้าในพื้นท่ีเพื่อ ให้เกิดประโยชน์แก่ ประชาชน ๒.๒) คุณสมรส เฮ่งเพชรบูรณ์ ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการลุ่มน้าและการกาหนด ชั้นคุณภาพของลุ่มน้า โดยต้องการให้มีการกาหนดพ้ืนท่ีลุ่มน้าใหม่โดยการผสมผสานระหว่างหลักการ
๑๙๘ ทางวิชาการและการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นท่ี เพ่ือให้มีทรัพยากรน้าใช้อย่างยั่งยืน เพียงพอ ต่อความตอ้ งการของประชาชน และเหมาะสมกบั สภาพพน้ื ทีอ่ ย่างแทจ้ ริง ๒.๓) นายพัฒนกฤษ พ่วงทอง ตัวแทนชมรมคนรักษ์ต้นน้าราชบุรี และคณะ ได้ร้องเรียน ต่อสมาชิกวุฒิสภา กรณีประชาชนท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ได้รับ ผลกระทบและความเดือดร้อนจากฟาร์มสุกรที่ลักลอบระบายน้าเสียลงสู่พื้นท่ีทาการเกษตรและแม่น้า ลาคลอง จนเป็นเหตุให้ทรัพยากรในแหล่งน้าและชายฝ่ังทะเลเสียหาย เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิต ของประชาชน โดยขอให้มีการนาปัญหาดังกล่าวนี้เข้าสู่การพิจารณาของสภา และต้องการให้มีการ กาหนดพนื้ ที่การเลยี้ งสกุ รให้ชัดเจน มกี ารบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเครง่ ครัด และปรับปรุงกฎหมายวา่ ด้วย การส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันและเพิ่มอัตรา โทษให้มคี วามรุนแรงมากข้ึนเพ่ือป้องปรามให้ผ้กู ระทาความผดิ เกรงกลวั ต่อกฎหมาย ๒.๔) นางสาวอารียา เลิศวิไล ไดร้ บั มอบหมายจาก วา่ ทพ่ี ันตรสี มภพ หว่ งทอง นกั วชิ าการ สาธารณสุขชานาญการ รักษาการผ้อู านวยการโรงพยาบาลบ้านคา เพ่อื รอ้ งเรียนตอ่ สมาชกิ วฒุ สิ ภา กรณี ปัญหากระแสไฟฟ้าท่ีใช้ภายในโรงพยาบาลบ้านคาขัดข้องหรือไฟตกบ่อยครั้ง ทาให้อุปกรณ์ ทางการแพทย์เสียหาย และปัญหาเรื่องน้าประปาไม่เพียงพอ ทาให้โรงพยาบาลต้องนาน้าจาก บ่อน้าบาดาลมาใช้ ทาให้เกิดปัญหาในเร่ืองคุณภาพและความสะอาดของน้าที่นามารักษาผู้ป่วย ภายในโรงพยาบาล จึงขอความอนุเคราะห์ให้ช่วยเหลือในปัญหาดังกล่าว ทั้งนี้ โรงพยาบาลบ้านคา ตงั้ อยู่หมู่ท่ี ๓ ตาบลบา้ นบงึ อาเภอบ้านคา จังหวัดราชบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๒ ๒๐๖๘๗๙ ๓) ประเดน็ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิหน้าทข่ี องเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั หรือเจ้าหน้าที่อ่นื ของรัฐ มีผู้แสดงความคดิ เห็นและเสนอเรื่องเป็นหนังสอื จานวน ๔ คน ดงั นี้ ๓.๑) นายจาลอง จันทร์พันธ์ ข้าราชการบานาญ และนายบัณฑิต เปาะ ราษฎร หมู่ ๖ บ้านห้วยคลุม ได้ร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา ก รณีเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นท่ีประพฤติตน ไมเ่ หมาะสมต่อประชาชนชาวอาเภอสวนผง้ึ ใช้วาจากา้ วร้าว ข่มขู่ คุกคามชาวบ้าน และใช้อานาจหนา้ ท่ี ขม่ ขขู่ ่มเหงประชาชน พรอ้ มขอให้ช่วยดาเนินการเร่ืองดงั กลา่ ว โดยเหตเุ กดิ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓.๒) นายสงคราม เอื้อนยศ ได้ร้องเรียนต่อสมาชิกวุฒิสภา ขอให้ลงพ้ืนท่ีตรวจสอบ ข้อเท็จจริงในกรณีที่มีกลุ่มนายทุนร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ บุกรุก ยึดถือครอบครอง ก่อสร้าง แผ้วถาง พ้ืนที่ป่า โดยไม่ได้รับอนุญาต และออกเอกสารสิทธิโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย พร้อมท้ังติดตาม ความคืบหน้าของเรื่องร้องเรียนดังกล่าว ซ่ึงผู้ร้องเรียนได้ย่ืนหนังสือร้องเรียนต่อสานักงานผู้ตรวจการ แผ่นดินและกรมสอบสวนคดีพิเศษ และปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาของสานักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
๑๙๙ ๓.๓) นายทองเจือ อุดร ประธานสถาบันการเงินชุมชนตาบลหนองพันจันทร์ ได้ร้องเรียน ต่อสมาชิกวุฒิสภา กรณีเจ้าหน้าท่ีของสถาบันการเงินชุมชนตาบลหนองพันจันทร์ จานวน ๒ คน ทุจริตเงินของสถาบันฯ เป็นเงนิ ประมาณ ๒๒ ลา้ นบาท ทาให้สถาบันฯ ถูกผู้ฝากฟ้องร้องดาเนินคดีตาม กฎหมาย โดยขอความอนุเคราะห์ให้มีการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาในเร่ืองดังกล่าว รวมถึงให้คาปรึกษา แนะนาแก่สถาบันฯ เพื่อให้ทราบแนวทาง แก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากทางสถาบันฯ ขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ อีกทง้ั เรอ่ื งดังกล่าวยังส่งผลกระทบตอ่ ประชาชนผูฝ้ ากเงนิ จานวนมาก บทวเิ คราะห์ และข้อเสนอ จากประเด็นการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอดังกล่าวข้องต้น สมาชิกวุฒิสภา ได้พิจารณา และมคี วามเหน็ ในแตล่ ะประเดน็ พร้อมทงั้ มขี ้อเสนอแนะเพ่ือดาเนนิ การตอ่ ไป ดังน้ี ๑) ประเดน็ เกีย่ วกบั ทด่ี นิ ทากนิ ของเกษตรกร ปญั หาทด่ี ินทากินในเขตอาเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เป็นปัญหาสืบเน่ืองมาจากการบังคับ ใช้กฎหมายที่เก่ียวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณ สมบัตขิ องแผน่ ดนิ พทุ ธศักราช ๒๔๗๘ พระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตตห์ วงห้ามที่ดนิ ในทอ้ งท่ีอาเภอเมือง กาญจนบุรี อาเภอวังขนาย อาเภอบ้านทวน และอาเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๔๘๑ พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ และมีหน่วยงานฝ่ายบริหารที่เก่ียวข้อง คือ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง และกองทัพบก กระทรวงกลาโหม ซ่ึงปัญหาดังกล่าว คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเม่ือวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ กาหนด มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาข้อพิพาทเกี่ยวกับที่ดินทากินให้มีการพิสูจน์สิทธิ์ โดยประชาชน สามารถแสดงพยานหลักฐานการอยู่อาศัยในท่ีดินของตนก่อนมีการประกาศเป็นพื้นท่ีป่าเพ่ือ ให้ได้มา ซง่ึ สทิ ธใิ นที่ดนิ ทากินได้ และต่อมาคณะรัฐมนตรีไดม้ ีมติ เม่ือวนั ท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๕ อนุมัตมิ าตรการ ในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีราชพัสดุ โดยให้กรมธนารักษ์พิจารณาในเรื่องที่ราษฎรได้บุกรุกที่ดินของ รัฐดังกล่าว ซงึ่ กรมธนารักษไ์ ด้เสนอโครงการรัฐเอ้ือราษฎร์เพื่อให้ผทู้ ่ีบุกรุกพ้ืนท่ีและไม่โต้แย้งสิทธ์ิมาทา สัญญาเช่ากับกรมธนารักษ์ โดยกาหนดคุณสมบัติว่าต้องเป็นราษฎรท่ีอยู่ก่อนวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ และมีสิทธิได้รับการเช่าจากรัฐตามจานวนเน้ือท่ีท่ีครอบครองและใช้ประโยชน์ หากเป็นการบุกรุก เขา้ ถอื ครองทาประโยชนภ์ ายหลงั วนั ที่ ๔ ตลุ าคม ๒๔๕๖ กรมธนารักษจ์ ะไม่รับรองสทิ ธโิ ดยการจดั ให้เชา่ และจะดาเนินคดีตามกฎหมายเพ่ือผลักดันให้ผู้บุกรุกออกจากพ้ืนที่และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุกพ้ืนท่ี เพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม ได้มีกลุ่มผู้มีอิทธิพลท้ังระดับท้องถิ่นและระดับชาติ เข้ายึดถือครอบครองท่ีดิน ท่ีราชพัสดุของอาเภอสวนผ้ึงเป็นจานวนมาก และเรื่องดังกล่าวนี้เกิดเป็นปัญหาสะสมมาเป็นระยะเวลา ยาวนาน และหลายกรณีได้เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล ประกอบกับปัจจุบันนโยบาย และแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศมีการกาหนดไว้ในกฎหมายหลายฉบับ
๒๐๐ และการบังคับใช้กฎหมายจะอยู่ภายใต้กรอบอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบรวม ถึงวัตถุประสงค์ ของกฎหมายน้ัน ๆ โดยไม่มีการทางานร่วมกันทาให้การควบคุมดูแลและการบริหารจัดการที่ดิน และทรัพยากรดินของประเทศไม่เป็นเอกภาพและไม่มีกรอบแนวทางเพื่อ ให้การกาหนดแนวทางการ พัฒนา ภารกิจ และการปฏิบัติงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อแก้ไขปัญหา การบรหิ ารจัดการท่ดี ินและทรัพยากรดนิ ก ร ณี ดั ง ก ล่ า ว ส ภ า นิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ช า ติ ไ ด้ พิ จ า ร ณ า ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษามีผลใช้บังคับ เป็นกฎหมายเรียบร้อยแล้ว โดยพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบายและแผนการ บริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ โดย คทช. จะนาเอาที่ดินของรัฐทุกประเภท มาพิจารณาถึงความจาเป็นต้องใชเ้ พ่ือประโยชนด์ ้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม และความ ม่ันคงมากน้อยเพียงใด ถ้ารัฐไม่มีความจาเป็นต้องใช้ ก็จะนาท่ีดินของรัฐมาจัดสรรให้กับประชาชน ท่ีไม่มีท่ีดินทากิน โดยการบูรณาการการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน และภูมิสังคม ซึ่งจะทาให้การบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศที่มีอยู่อย่างจากัด ให้มีประสิทธิภาพ ประโยชน์สูงสุด สมดุล เป็นธรรม และย่ังยืน แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชนที่ไม่มีท่ดี นิ ทากิน และลดความเหลื่อมลา้ ในสงั คมได้ ดังน้ัน ปัญหาท่ีดินทากินในเขตอาเภอสวนผ้ึง จังหวัดราชบุรี จึงเป็นปัญหาเกี่ยวกับ บังคับใช้กฎหมายหรือการดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลหรือเป็นกรณีท่ีสามารถใช้มาตรการ ทางบริหารในการแก้ไขปัญหาได้ จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการ อานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน เพ่ือพิจารณาเสนอเรื่องไปยังคณะกรรมาธิการสามัญ ประจาวุฒิสภาท่ีเก่ียวข้อง เพอ่ื ดาเนนิ งานตามหนา้ ท่แี ละอานาจต่อไป ๒) ประเด็นเกย่ี วกับการบริหารจัดการน้าและระบบสาธารณปู โภค รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๒ กาหนดให้รัฐพึงดาเนินการเก่ียวกับท่ีดินและทรัพยากรน้า โดยวางแผนการใช้ที่ดินของ ประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพ้ืนที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน จัดให้มี มาตรการกระจายการถือครองท่ีดินเพื่อให้ประชาชนสามารถมที ี่ทากินได้อยา่ งทั่วถงึ และเป็นธรรม และ จัดให้มีทรัพยากรน้าที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมท้ังการประกอบ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และการอื่น ซึง่ ตลอดระยะเวลาท่ผี ่านมาประเทศไทยไดป้ ระสบกับปญั หาการ บริหารทรพั ยากรน้าในหลายดา้ นโดยมีหน่วยงานเก่ียวขอ้ งท่ีมีหน้าท่ีและอานาจตามกฎหมายหลายฉบับ ถงึ แม้รฐั บาลจะได้แตง่ ต้งั ให้มคี ณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติทาหน้าท่ีในการบูรณาการและบริหาร
๒๐๑ ทรัพยากรน้าอย่างเป็นระบบในทุกมิติแล้วก็ตาม แต่ก็ยังคงมีความจาเป็นที่สมควรจะมีกฎหมาย ในการบูรณาการเกี่ยวกับการจัดสรร การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบารุงรักษา การฟ้ืนฟู การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า และสิทธิในน้า เพ่ือให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถบริหารทรัพยากรน้า ให้มีความประสานสอดคล้องกันในทุกมิติอย่างสมดุลและยั่งยืน รวมทั้งวางหลักเกณฑ์ในการประกัน สิทธิข้นั พื้นฐานของประชาชนในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรน้าสาธารณะ ตลอดจนจัดให้มอี งค์กรบรหิ ารจดั การ ทรัพยากรน้า ท้ังในระดับชาติ ระดับลุ่มน้า และระดับองค์กรผู้ใช้น้าซ่ึงสะท้อนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน เพื่อร่วมกันบริหารทรัพยากรน้าอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงกรณีดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาและให้ความเห็นชอบพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๑ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยมีผลใช้บังคับเม่ือพ้นสามสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๒ เว้นแต่บทบัญญัติ ในหมวด ๔ การจัดสรรน้าและการใช้น้า และมาตรา ๑๐๔ ให้บงั คับใช้ เมื่อพ้นกาหนด ๒ ปี นับแต่วันท่ี พระราชบัญญัติน้ีบังคับใช้เป็นต้นไป กฎหมายฉบับดังกล่าว กาหนดให้มี “คณะกรรมการทรัพยากรน้า แห่งชาติ” เรียกโดยย่อว่า “กนช.” มีหน้าท่ีและอานาจเกีย่ วกบั การบริหารทรพั ยากรน้าเพื่อใหบ้ รรลุ วัตถุประสงค์ในการบูรณาการเกี่ยวกับการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบารุงรักษา การ ฟ้ืนฟู และการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรนา้ ให้เกิดความเป็นเอกภาพ โดยได้แบง่ การใช้ทรัพยากรนา้ สาธารณะ เป็น ๓ ประเภท คือ การใช้น้าประเภทที่หนึ่ง ได้แก่ การใช้ทรัพยากรน้าสาธารณะเพ่ือการดารงชีพ การอุปโภคบริโภคในครัวเรือน การเกษตรหรือการเลี้ยงสัตว์เพ่ือยังชีพ การอุตสาหกรรมในครัวเรือน การรักษาระบบนิเวศ จารีตประเพณี การบรรเทาสาธารณภัย การคมนาคม และการใช้น้าในปริมาณ เล็กน้อย การใช้น้าประเภทท่ีสอง ได้แก่ การใช้ทรัพยากรน้าสาธารณะเพ่ือการอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว การผลิตพลงั งานไฟฟ้า การประปาและกิจการอื่น การใช้น้าประเภทท่ีสาม ได้แก่ การใช้ทรัพยากรน้าสาธารณะเพื่อกิจการขนาดใหญ่ที่ใช้น้าปริมาณมาก หรืออาจก่อให้เกิด ผลกระทบขา้ มล่มุ นา้ หรือครอบคลุมพ้ืนท่ีอยา่ งกวา้ งขวาง ดงั นั้น ประเด็นเก่ียวกบั การบรหิ ารจดั การน้าและระบบสาธารณูปโภค ภายในจงั หวัด ราชบุรี ดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นปัญหาเก่ียวกับการบังคับใช้กฎหมายท่ีมีอยู่แล้วหรือเป็นการ ดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาล จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการ อานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน เพื่อพิจารณาเสนอเร่ืองไปยังคณะกรรมาธิการ สามัญประจาวุฒิสภาที่เก่ียวข้อง เพื่อติดตามการออกกฎหมายลาดับรองของฝ่ายบริหารหรือ ดาเนนิ งานตามหนา้ ทแี่ ละอานาจตอ่ ไป
๒๐๒ ๓) ประเด็นเกยี่ วกบั การปฏิบตั หิ นา้ ทข่ี องเจา้ หน้าท่ขี องรฐั หรือเจา้ หน้าทอี่ นื่ ของรัฐ เห็นว่า ประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ดังกล่าวข้างต้น เป็นกรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยทุจริต หรือไม่ดาเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ ดังนั้น จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหา ดังกล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน เพื่อพิจารณาเสนอเร่ือง ไปยังคณะกรรมาธิการสามัญประจาวฒุ ิสภาท่เี กี่ยวข้อง เพื่อดาเนนิ งานตามหน้าทแี่ ละอานาจต่อไป --------------------------------------------
๒๐๓ คร้ังท่ี ๓ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพื้นที่ จงั หวัดกลุ่มภาคกลาง วันท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั ชัยนาท จังหวดั ชยั นาท ณ โรงเรียนชัยนาทพทิ ยาคม ตาบลบ้านกล้วย อาเภอเมืองชยั นาท วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม แบ่งกลุม่ การแลกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชน และเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ผลการดาเนนิ การ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้พบปะเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นและรับฟังปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน โดยสมาชิกวุฒิสภาได้ช้ีแจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพื้นที่จังหวัดภาคกลาง รวมท้ังหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และประเดน็ ปญั หาเกี่ยวกบั การบังคับใชก้ ฎหมายทน่ี า่ สนใจ โดยนายวิทยา ผิวผ่อง สมาชิกวุฒิสภา ได้กล่าววัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชนในพนื้ ท่จี งั หวดั ภาคกลาง รูปแบบท่ีมาและการทาหนา้ ทีข่ องสมาชกิ วุฒิสภา วฒุ สิ ภามหี นา้ ที่ และอานาจในการรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะจากประชาชน เพ่ือท่ีจะได้นาข้อเสนอแนะไปสู่การ ดาเนินนโยบายของฝ่ายบรหิ าร ทั้งนี้ โดยอาศยั กลไกของวฒุ ิสภาในการตรวจสอบกลน่ั กรองกฎหมายและ การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ
๒๐๔ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การปฏิรูปประเทศด้าน กฎหมายซงึ่ ตอ้ งมกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องกฎหมายทป่ี ระกาศใชบ้ ังคับแลว้ ตอ่ ไป ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายเปน็ จานวนมากต้องมกี ารทาความเข้าใจว่ามีกฎหมายบังคับ ใช้เรื่องต่าง ๆ อย่างไร ซึ่งวันน้ีจะได้มาพูดคุยแลกเปล่ียนความรู้ เสนอแนะแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย โดยเฉพาะในประเด็นปญั หาของจังหวัดชยั นาททเี่ ก่ยี วกับการขายฝากที่ดินและปัญหาเรอื่ งอัตราดอกเบ้ยี ของ Non-Bank จากนั้นคณะกรรมการฯ ได้เปิดส่ือวีดีทัศน์เพื่อแนะนาหน้าที่และอานาจของวุฒิสภาตาม รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสานักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา นายจเด็จ อินสว่าง สมาชิกวุฒิสภา ในการจัดทาโครงการคร้ังน้ีสมาชิกวุฒิสภาจะได้นา ความรู้ทางกฎหมายมาให้ความรู้แก่ประชาชน และมารับฟังความคิดเห็นของประชาชน เช่น พระราชบญั ญัตลิ กั ษณะปกครองทอ้ งท่ี การบงั คับใช้พระราชบญั ญัติลกั ษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓ วรรค ๒ ที่บัญญัติว่า “การยกเลิกตาแหน่งกานันผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจา ตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทามิได้” แต่ในพื้นท่ีเขตเทศบาลเมืองและ เขตเทศบาลนครหลายแห่งไม่มีกานันผู้ใหญ่บ้าน เน่ืองจากตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ บัญญัติว่า “เม่ือพ้นกาหนดหน่ึงปีนับแต่วันที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะ ทอ้ งถ่ินใดเป็นเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครแล้ว หา้ มมิให้ใช้กฎหมายว่าดว้ ยลกั ษณะปกครองท้องที่ ในส่วนที่บัญญัติถึงการแต่งต้ังกานนั ผู้ใหญ่บ้าน ผ้ชู ่วยผูใ้ หญบ่ ้าน แพทยป์ ระจาตาบล และสารวัตร กานันในท้องถิ่นนั้น และให้บรรดาบุคคลท่ีเป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจา ตาบล และสารวัตรกานันพ้นจากตาแหน่งและหน้าท่ีเฉพาะในเขตท้องถิ่นน้ัน” ส่งผลให้การเลือก กานัน ผู้ใหญ่บ้านในเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร มิได้ดาเนินการเลือกตลอดมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ ซึ่งในวันนี้จะได้มีการพูดคยุ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นในประเด็นนกี้ ันตอ่ ไป พลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช สมาชิกวุฒิสภา ได้กล่าววัตถุประสงค์โครงการต้องการ ให้ความรู้ ความเข้าใจประชาชนและรับฟังประเด็นปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านกฎหมาย เน่ืองจาก ประชาชนที่อยู่ห่างไกลจะไม่ค่อยรู้ถึงสิทธิของตนตามกฎหมาย ในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมารัฐบาลในสมัย พลเอกประยทุ ธ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ไดม้ ีการตรากฎหมายออกมาเป็นจานวนมาก กฎหมาย ท่ีออกมามุ่งให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ในเรื่องการปกครองท้องถ่ิน การปกครองท้องท่ีก็ให้โอกาส ท้องถ่ินในการปกครองตนเอง โดยล่าสุดได้มีกฎหมายองค์กรปกครองท้องถ่ินออกมาใหม่จานวน ๗ - ๘ ฉบับ นามาสู่การเลือกต้ังท้องถ่ิน ปัจจุบันมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๗,๘๐๐ กว่าแห่ง และทุกที่ต้องจัดให้มีการเลือกตั้ง ซึ่งการเลือกต้ังน้ันอยู่ในอานาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง คณะกรรมการการเลือกตั้งมอบอานาจให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ช่วยในการจัดการเลือกต้ังระดับ
๒๐๕ ท้องถ่ินได้ การเลือกตั้งระดับท้องถ่ินเป็นหัวใจของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็นหัวใจในการ กระจายอานาจไปสู่ท้องถ่ิน ให้หน่วยงานระดับชุมชน ตาบล หมู่บ้าน มีโอกาสที่จะเลือกผู้นาของตน ให้สอดคล้องกบั วถิ ีชวี ติ สอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมของตนได้ พลเอก ดนยั มีชูเวท สมาชกิ วุฒิสภา ได้ให้ข้อมูลกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งโดยสรปุ ไดด้ ังน้ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๗๗ ได้กาหนดให้รัฐพึงจัดให้มีกฎหมาย เพียงเทา่ ที่จาเปน็ และยกเลกิ หรอื ปรบั ปรุงกฎหมาย ทห่ี มดความจาเปน็ หรอื ไมส่ อดคลอ้ งกับสภาพการณ์ หรอื ทีเ่ ป็นอปุ สรรคต่อการดารงชีวิตหรอื การประกอบอาชพี โดยไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน และเมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว รฐั พึงจัดให้มีการประเมินผลสมั ฤทธ์ิของกฎหมายทุกรอบระยะเวลา ท่ีกาหนด โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เกีย่ วข้องประกอบด้วย เพอื่ พัฒนากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับบริบทตา่ ง ๆ ท่เี ปลี่ยนแปลงไป ในการจดั โครงการวฒุ ิสภาพบประชาชนครั้งนก้ี จ็ ะนามา เปน็ ขอ้ สงั เกตเพอ่ื ที่จะมาปรับปรุงแก้ไขตอ่ ไป จังหวัดชัยนาท มีประเด็นปัญหาของเกษตรกร นอกจากปัญหาภัยพิบัติ และยังมีประเด็น เร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีน่าสนใจ เช่น พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประกาศใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยมีหลกั การและเหตผุ ลว่า โดยท่ีพระราชบัญญตั กิ ารเช่าที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้ใชบ้ ังคับ มาเป็นเวลานาน และมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการควบคุมการเช่าท่ีนาท่ีไม่สอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สมควรกาหนดมิให้นาพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับกับการเช่าที่ผู้เช่า เป็นนิติบุคคล ปรับปรุงโครงสร้างและอานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และกาหนดระยะเวลาการเช่านาและค่าเช่านา เพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทั้งผู้เช่าและผู้ให้เช่า ตลอดจนการกาหนดห้ามคนต่างด้าวเช่าท่ีดินเพ่ือประกอบเกษตรกรรม และกาหนดหน้าท่ีของ นายอาเภอในการสารวจนาท่ที งิ้ ว่างไว้โดยไมไ่ ด้ให้เชา่ เพอื่ ให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากทรพั ยากร ทดี่ นิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ จงึ จาเป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี โดยมีมาตราที่สาคัญ คอื มาตรา ๕/๒ ห้ามมิให้คนต่างด้าวเชา่ ทดี่ นิ เพ่ือประกอบเกษตรกรรม หรือดาเนนิ การ ไม่วา่ ด้วยวธิ กี ารใดเพือ่ หลกี เลีย่ งมิให้ตกอย่ภู ายใตบ้ งั คับแหง่ พระราชบัญญัตนิ ้ี พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงมีการบัญญัติ กฎหมายห้ามคนต่างด้าวเข้ามาเช่าท่ีดิน เพื่อเกษตรกรรมครอบคลุมมากย่ิงขึ้น รวมทั้งยังมีบทลงโทษ ทถ่ี ือวา่ คอ่ นขา้ งหนักและมีผลตอ่ หลายฝ่ายทเี่ กี่ยวข้องกบั การให้บคุ คลต่างด้าวเช่าทดี่ ิน เช่น เจ้าของที่ดนิ หรือ ผู้ครอบครองที่ดินรายใดให้บุคคลอ่ืนเช่า ที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมโดยรู้อยู่แล้วว่าบุคคล ดังกล่าวเป็นคนต่างด้าว หรือเป็นผู้แทนของคนต่างด้าว ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับ ไมเ่ กิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ท้ังจาทัง้ ปรบั หรือคนต่างดา้ วผใู้ ด ฝ่าฝืนมาตรา ๕/๒ หรือใช้ให้ผมู้ ีสัญชาติไทย
๒๐๖ ดาเนินการเช่าท่ีดินเพ่ือประกอบเกษตรกรรมแทนตน ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่ ๖ เดือนถึง ๓ ปี และปรับต้ังแต่ ๒๐๐,๐๐๐ บาทถึง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท เป็นต้น ในกรณีท่ีอาจจะมีปัญหาคนต่างด้าว เข้ามาลงทุนเชา่ ท่ีดินเกษตรกรรม โดยอาศยั กลยทุ ธต์ า่ ง ๆ เชน่ การถอื หนุ้ แทนกันน้ัน กฎหมายได้บญั ญัติ มาตรการป้องกันไว้ โดยการกาหนดโทษกรณีผู้มีสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลท่ีไม่ใช่คนต่างด้าวตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้ความช่วยเหลือสนับสนุน หรือดาเนินการใดๆ เพื่อให้คนต่างด้าวได้เช่าที่ดิน เพ่ือประกอบเกษตรกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๕/๒ ต้องระวางโทษ เช่นเดียวกับผู้กระทาความผิด ตามวรรคหน่ึงต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือท้งั จาทัง้ ปรับ ดงั นนั้ คนตา่ งด้าวจะมาใชพ้ ื้นท่เี กษตรกรรมไมไ่ ด้ และมีกฎหมายอีกฉบับที่น่าสนใจ คือ พระราชบัญญัติการทวงถามหน้ี พ.ศ. ๒๕๕๘ มสี าระสาคัญโดยสรุปไดด้ ังน้ี มาตรา ๙ การทวงถามหน้ีให้ผ้ทู วงถามหนี้ปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี (๒) เวลาในการติดต่อ การติดต่อโดยบุคคล โทรศัพท์ส่ืออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศประเภทอ่ืน ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ ถึงเวลา ๒๐.๐๐ นาฬิกา และในวนั หยดุ ราชการ เวลา ๐๘.๐๐ ถงึ เวลา ๑๘.๐๐ นาฬกิ า หากไม่สามารถตดิ ต่อตามเวลาดังกลา่ วได้ หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตาม หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไข ทีค่ ณะกรรมการประกาศกาหนด มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหน้ีขอรับชาระหน้ี ผู้ทวงถามหน้ีต้องแสดงหลักฐาน การรับมอบอานาจให้รับชาระหน้ีจากเจ้าหน้ีต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพ่ือการทวงถาม หนี้ด้วย และเมื่อลูกหนี้ได้ชาระหน้ีแก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหน้ีออกหลักฐานการชาระหน้ี แก่ลกู หนด้ี ว้ ย มาตรา ๑๓ ห้ามผทู้ วงถามหนกี้ ระทาการทวงถามหนใ้ี นลกั ษณะท่ไี มเ่ ปน็ ธรรม ดังตอ่ ไปนี้ (๑) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด (๒) การเสนอหรือจงู ใจให้ลูกหนอี้ อกเช็คท้ังทร่ี ู้อยู่วา่ ลกู หนี้อยูใ่ นฐานะทีไ่ มส่ ามารถชาระหนไี้ ด้ มาตรา ๓๐ เพ่ือประโยชน์ในการรับเรือ่ งร้องเรียนเก่ยี วกับการทวงถามหนี้ให้ท่ีว่าการอาเภอ และสถานีตารวจเปน็ สถานท่ีรับเรอ่ื งร้องเรยี นเก่ียวกับการทวงถามหน้ีได้ดว้ ย รวมทั้งให้หวั หนา้ หนว่ ยงาน ดังกล่าวมีอานาจหน้าท่ีรวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารเพ่ือส่งเร่ืองต่อไปยังท่ีทาการปกครองจังหวัด หรือ กองบญั ชาการตารวจนครบาล แล้วแต่กรณี ท้ังนีต้ ามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทคี่ ณะกรรมการกาหนด จากประเด็นปัญหาจากศูนย์ดารงธรรมจังหวัดชัยนาท เสนอให้ยกเลิกกฎหมายขายฝาก เนอ่ื งจากประชาชนส่วนใหญ่ไม่เขา้ ใจหลักเกณฑ์การทาสัญญาขายฝาก เมือ่ ทาสญั ญาขายฝากทดี่ ิน และ เลยกาหนดระยะเวลา ทาให้ทด่ี นิ ตกเป็นของผู้ซ้อื ฝาก
๒๐๗ พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองประชาชนในการทาสัญญาขายฝากทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรมหรือท่อี ยู่ อาศยั พ.ศ. ๒๕๖๒ มสี าระสาคัญดังนี้ มาตรา ๗ ได้กาหนดว่า การขายฝากถ้ามิได้ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ เป็นโมฆะ ในการจดทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีระบุไว้ในสารบัญ สาหรับจดทะเบียนให้ชดั เจนว่าเปน็ การขายฝากท่ีดินเพ่อื เกษตรกรรม หรือการขายฝากท่ีอย่อู าศัย มาตรา ๘ ไดก้ าหนดให้หนังสอื สัญญาขายฝาก อย่างนอ้ ยตอ้ งมรี ายการดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ช่ือและทอี่ ย่ขู องคสู่ ัญญา (๒) รายการและลักษณะแห่งทรพั ย์สินทีข่ ายฝาก (๓) ราคาที่ขายฝาก (๔) จานวนสินไถ่ (๕) วันทข่ี ายฝากและกาหนดวันท่ีครบกาหนดไถ่ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหน้าที่ตรวจสอบหนังสือสัญญาขายฝากว่ามีรายการครบถ้วน ตามวรรคหน่ึง แต่ไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใด ผู้ใดจะอ้างว่าสัญญาเป็นโมฆะเพราะเหตุมีรายการ ไม่ครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมิได้ จานวนสินไถ่จะกาหนดไว้สูงกว่าราคาขายฝากก็ได้ แต่เม่ือคานวณ เปน็ ดอกเบี้ยแลว้ ต้องไมเ่ กนิ ร้อยละ ๑๕ ตอ่ ปี คานวณนบั แต่วันทข่ี ายฝากจนถงึ วนั ครบกาหนดเวลาไถ่ ไม่ว่าในสัญญาจะมีข้อความระบุไว้เป็นประการใด หากผู้ซื้อฝากได้รับเงิน ทรัพย์สิน หรือ ประโยชนอ์ ่ืนใดอนั อาจคานวณเป็นเงินไดจ้ ากผู้ขายฝากอันเนอ่ื งมาจากการซื้อฝาก รวมท้ังค่าตอบแทนที่ ผูซ้ ้ือฝากได้รบั จากการให้บุคคลอนื่ ใชป้ ระโยชนใ์ นทรพั ย์สนิ ท่ีขายฝากตามมาตรา ๑๓ วรรคสอง ให้ถอื ว่า เงิน ทรัพย์สิน ประโยชน์ หรือค่าตอบแทนนัน้ เปน็ ส่วนหนึง่ ของสนิ ไถ่ทไี่ ด้ชาระแล้ว เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนและคุ้มครองผู้ขายฝาก กรมท่ีดิน จะจดั ให้มแี บบพมิ พเ์ พื่อใชใ้ นการทาสัญญาขายฝากกไ็ ด้ มาตรา ๑๗ ได้กาหนดให้ก่อนวันครบกาหนดเวลาไถ่ไม่น้อยกว่า ๓ เดือนแต่ไม่มากกว่า ๖ เดือน ให้ผู้ซื้อฝาก แจง้ เป็นหนังสอื ส่งทางไปรษณียล์ งทะเบยี นตอบรับไปยงั ผู้ขายฝากเพอ่ื ให้ผู้ขายฝาก ทราบกาหนดเวลาไถ่ และจานวนสินไถ่ พร้อมทั้งแนบสาเนาสัญญาขายฝากไปด้วย ในกรณีท่ีผู้แจ้ง มิใช่ผซู้ ื้อฝากเดมิ ต้องแจง้ ไปด้วยว่าผขู้ ายฝากจะตอ้ งไถ่กบั ผู้ใดและสถานท่ีที่จะต้องชาระสินไถ่ ในกรณที ่ีผซู้ ือ้ ฝากไมไ่ ด้ดาเนนิ การแจง้ เปน็ หนังสือไปยังผูข้ ายฝากภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ตามวรรคหนึ่งหรือมิได้ส่งสาเนาสัญญาขายฝากไปด้วย ให้ผู้ขายฝากมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝาก ได้ภายใน ๖ เดือนนับแต่วันครบกาหนดไถ่ที่ระบุไว้ในสัญญาขายฝาก โดยผู้ขายฝากมีหน้าท่ีชาระสินไถ่ ตามจานวนท่ีกาหนดไวใ้ นสญั ญา
๒๐๘ มาตรา ๑๘ ได้กาหนดให้ผู้ขายฝากมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินท่ีขายฝากภายในเวลาท่ีกาหนดไว้ใน สัญญาหรือภายในเวลาที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ี โดยอาจชาระสินไถ่ให้แก่ผู้ซ้ือฝาก หรือวางทรัพย์ อันเป็นสินไถ่ ต่อสานักงานวางทรัพย์หรือสานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินท่ีรับจดทะเบียน การขายฝาก ทรัพย์สินน้นั โดยสละสทิ ธถิ อนทรัพยท์ ไ่ี ดว้ างไว้ ในกรณีที่ผู้ขายฝากไม่อาจใช้สิทธิไถ่กับผู้ซ้ือฝากได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดอันมิใช่เป็นความผิดของ ผู้ขายฝาก ให้ผู้ขายฝากมีสิทธิวางทรัพย์อันเป็นสินไถ่ต่อสานักงานวางทรัพย์หรือสานักงานที่ดินจังหวัด หรื อ ส า นัก ง า น ท่ี ดิน ที่ รั บ จด ท ะ เ บี ยน ก า ร ข าย ฝ า ก ทรั พ ย์ สิ น น้ัน ไ ด้ ภ า ยใ น ส า มสิ บ วั น นั บแ ต่ วั น ถึ ง กาหนดเวลาไถ่ หรือนับแตว่ ันทเี่ หตทุ ที่ าให้ไม่อาจใช้สิทธไิ ถด่ งั กล่าวได้ส้นิ สุดลง แล้วแต่กรณี และให้ถือวา่ ผ้ขู ายฝากได้ไถ่ทรัพย์สินทีข่ ายฝากตามกาหนดเวลาไถ่แลว้ ให้ทรัพย์สินที่ขายฝากตกเป็นกรรมสิทธ์ิของผู้ขายฝากตั้งแต่เวลาที่ผู้ขายฝากได้ชาระสินไถ่ หรอื วางทรัพย์อนั เป็นสินไถ่ แล้วแตก่ รณี ในกรณีที่ได้วางทรัพย์ตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ให้เจ้าพนักงานของสานักงานวางทรัพย์ หรอื สานักงานท่ีดนิ แล้วแต่กรณี มหี นา้ ทแี่ จง้ เป็นหนงั สอื ส่งทางไปรษณียล์ งทะเบยี นตอบรับให้ผซู้ ้ือฝาก ทราบถึงการวางทรัพย์โดยพลัน โดยผู้ขายฝากไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๓๓๓ วรรคสาม แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ นายลกั ษณ์ วจนานวชั สมาชกิ วฒุ สิ ภา ได้ให้ขอ้ มลู เรอื่ งอตั ราดอกเบ้ียเงนิ กู้ ภาพรวมของ สถาบันการเงนิ ในประเทศไทย ประเภทที่ ๑ ไดแ้ ก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษทั เงินทุน บริษทั เครดติ ฟองซเิ อร์ ประเภทที่ ๒ เป็นของภาครัฐ ได้แก่ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME-bank) นอกจากนี้ จะมีสหกรณ์ ๗ ประเภท ดังน้ี สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ประมง สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์นิคม สหกรณ์บริการ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน อยู่ภายใต้กฎหมายสหกรณ์ กากับดูแลโดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ การเกษตร กฎหมายที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญตั ิว่าด้วยธุรกิจ สถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบ้ีย เกนิ อตั รา พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖๕๔ บัญญัติว่า “ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ย เกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี ถ้าในสัญญา กาหนดดอกเบี้ยเกนิ กว่านนั้ ก็ให้ลดลงมาเป็นรอ้ ยละ ๑๕ ต่อปี” ต่อมาได้มีพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบ้ียเกินอัตรา พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้ึนมาใช้บังคับแทน โดยกาหนดอตั ราโทษให้สูงขึน้ เป็นตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกิน ๒ ปหี รอื ปรบั ไมเ่ กนิ ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรือ
๒๐๙ ทั้งจาทั้งปรับ ดังน้ัน การที่บุคคลท่ัวไปให้กู้ยืมโดยตกลงคิดดอกเบ้ียเกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี ข้อตกลงเรื่อง ดอกเบ้ีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่กาหนดว่าเป็นความผิดและมีโทษอาญา ดอกเบี้ยจึงเป็นโมฆะ ไปท้งั หมด ไมใ่ ช่เป็นโมฆะเฉพาะดอกเบี้ย สว่ นทีเ่ กนิ ร้อยละ ๑๕ ต่อปี กรณีผู้ให้กู้ยืมเงินเป็นสถาบันการเงิน เช่น ธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ผใู้ หก้ ู้ สามารถเรยี กดอกเบ้ยี ในอัตราทเ่ี กินกวา่ ร้อยละ ๑๕ ตอ่ ปไี ด้ ซ่งึ เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ดิ อกเบ้ีย เงนิ ให้กยู้ มื ของสถาบันการเงนิ พ.ศ. ๒๕๒๓ และพระราชบญั ญัติธรุ กิจสถาบนั การเงนิ พ.ศ. ๒๕๕๑ ทั้งนี้ ปัจจุบันกระทรวงการคลังได้อนุญาตให้มีการประกอบธุรกิจสินเชื่อรายย่อย ประเภทใหม่ คือ “สินเชื่อรายย่อยระดับจังหวัดภายใต้การกากับ (สินเชื่อพิโกไฟแนนซ ” ซ่ึงผู้ประกอบ ธุรกิจสามารถเรียกเก็บดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียมใด ๆ ได้ไม่เกินร้อยละ ๓๖ ตอป (effective rate) เพิ่มช่องทางการเข้าถึงสินเชื่อในระบบ ผู้มีรายได้น้อยมีโอกาสเข้าถึงทรัพยากร ทางสังคม โดยเฉพาะการเขถึงแหล่งเงินทุนเพอ่ื ใชป้ ระกอบอาชีพ และส่งเสรมิ การหารายได้ เพ่ือนาไปสู การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งยังเป็นเคร่ืองมือในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ สินเช่ือพิโกไฟแนนซ์อยู่ ภายใต้ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง กิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ ๕ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๕๘ (เรื่อง สินเชื่อรายย่อยระดับจังหวัดภายใต้การกากับ) อาศัยอานาจตามความในข้อ ๕ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๑๓ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๘ ในการออกประกาศฉบับนี้ โดยประกาศ ฉบบั นีไ้ ด้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา วนั ที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ กาหนดเก่ยี วกบั ผปู้ ระกอบธุรกิจสนิ เช่อื พิโกไฟแนนซ์ ๑. เปน็ นติ บิ ุคคลที่ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ๒. เป็นผู้ประกอบธุรกิจให้สินเชื่อในระบบประเภทผู้ให้บริการทางการเงิน ท่ีไม่ใช่ธนาคาร (Non - Bank) ๓. ให้บริการได้เฉพาะในจงั หวัดท่สี านักงานใหญ่ต้ังอยู่ ๔. ผกู้ ู้เปน็ บุคคลธรรมดาท่มี ภี ูมิลาเนาหรอื ถ่นิ ทอี่ ยู่ในจงั หวดั เดียวกับผใู้ ห้กู้ ๕. ให้สินเชอ่ื อเนกประสงค์ วงเงินไม่เกินรายละ ๕๐,๐๐๐ บาท ๖. คิดอัตราดอกเบ้ียไม่เกนิ ร้อยละ ๓๖ ตอ่ ปี (effective rate) ๗. มหี รือไม่มีหลักประกนั \"Non-Bank\" หมายถงึ ผใู้ ห้บริการทางการเงินท่ีไม่ใชส่ ถาบนั การเงินแบง่ เปน็ ๒ สว่ น ๑. Non-Bank ถูกกากับโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ผู้ให้บริการบัตรเครดิต ผู้ให้บริการสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ ผู้ให้บริการสินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพสาหรับบุคคล รายย่อย (นาโนไฟแนนซ์) ผู้ให้บริการทางการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ผู้ให้บริการ ดา้ นการแลกเปลี่ยนเงินหรอื โอนเงินตราตา่ งประเทศ ซ่งึ วธิ ีการคานวณอตั ราดอกเบ้ียจะอยูภ่ ายใต้กากับของ
๒๑๐ ธนาคารแห่งประเทศไทย ล่าสุดมีหนังสือ สนส. ๒/๒๕๖๒ เร่ืองการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เง่ือนไขในการประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับสาหรับผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ส่วนบุคคลภายใต้การกากับท่ีมิใช่สถาบันการเงิน ลงวันท่ี ๓ มกราคม ๒๕๖๒ ซึ่งได้ลงประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา ฉบับประกาศและงานท่วั ไป เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๘ ง ลงวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๒ ประกาศดังกลา่ วมวี ัตถุประสงค์เพอื่ ขยายขอบเขตการกากับดแู ลธรุ กิจสนิ เชือ่ สว่ นบคุ คลภายใตก้ ารกากับ ให้ครอบคลุมสินเชื่อที่มีทะเบยี นรถเป็นประกัน ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสินเชื่อ ไดด้ ว้ ยราคาที่เหมาะสมและได้รับการปฏบิ ตั ิจากผู้ประกอบธุรกิจอยา่ งเปน็ ธรรมย่ิงขนึ้ ๒. Non-Bank ที่ยังไม่มีการกากับดูแล เช่นการเช่าซื้อรถที่เป็นการประกอบการค้าปกติ จะไมม่ ีกฎหมายเขา้ ไปควบคมุ ดแู ล มีพระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขปรับปรุง พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการกาหนดธุรกิจท่ีควบคุมสัญญาและลักษณะ สญั ญา พ.ศ. ๒๕๒๒ และต่อมาได้มีประกาศคณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญา เรื่อง ให้ธรุ กิจให้เช่าซ้ือรถยนต์ และรถจักรยานยนต์เป็นธุรกิจทีค่ วบคุมสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๕ ทวิ แห่งพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึง่ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครอง ผู้บรโิ ภค (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ประกอบกับมาตรา ๓ มาตรา ๔ และมาตรา ๕ แห่งพระราชกฤษฎกี า กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการกาหนดธุรกิจที่ควบคุมสญั ญาและลักษณะของสัญญา พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เร่ือง ให้ธรุ กิจให้เช่าซ้ือรถยนต์และรถจักรยานยนต์เป็นธุรกิจ ทคี่ วบคุมสญั ญา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ลงวนั ที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑ และให้มีผล ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ท้ังน้ี เพ่ือคุ้มครองผเู้ ช่าซอ้ื รถยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์ จากเง่ือนไขสัญญาเชา่ ทไ่ี มเ่ ป็นธรรม จากนั้น ได้มีการแบ่งกลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็น เสนอแนะข้อมูล ตลอดจนเสนอสภาพ ปัญหาและขอ้ รอ้ งเรียนจากผแู้ ทนภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชน โดยแบง่ ออกเปน็ ๔ กลมุ่ คอื กลมุ่ ที่ ๑ ประเดน็ เกยี่ วกบั กฎหมายลักษณะปกครองทอ้ งท่ี นายวิชัย โพธิ์ชน กานันตาบลบ้านเชี่ยน อาเภอหนั คา จังหวัดชัยนาท ในฐานะประธาน ชมรมกานันผู้ใหญบ่ ้าน ไดเ้ สนอความคิดเห็นในประเด็น ดังน้ี ๑. ขอให้พิจารณาการบังคับใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓ วรรค ๒ ที่บัญญัติว่า “การยกเลิกตาแหน่งกานันผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจา ตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทามิได้” แต่ในพื้นที่เขตเทศบาลเมอื งและเขตเทศบาล นครหลายแห่งไม่มีกานันผู้ใหญ่บ้าน เน่ืองจากตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ บญั ญัติว่า “เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นใดเป็น เทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครแล้ว ห้ามมิให้ใช้กฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ในส่วน
๒๑๑ ท่ีบัญญัติถึงการแต่งตั้งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานัน ในท้องถ่ินน้ัน และให้บรรดาบุคคลท่ีเป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันพน้ จากตาแหนง่ และหน้าทเี่ ฉพาะในเขตท้องถน่ิ นั้น” ในประเด็นดังกล่าวข้างตันน้ีสมาคมกานันผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทยขอ ให้ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องดาเนินการเพ่ือให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ซึ่งขณะน้ี ยังไม่สมารถดาเนินการได้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยเนื่องจากการตีความตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๔ ท้ังน้ี ภายหลังท่ีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓ วรรคสอง มีผลบังคับใช้แล้วยังไม่มีกฎหมายอ่ืนใดที่ได้ประกาศใช้ในส่วน ที่เก่ยี วข้องกบั กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น และในสว่ นการเลอื กกานนั ผูใ้ หญบ่ า้ นในเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร ก็มิได้ดาเนินการเลือกตลอดมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ ดังนั้น สมาคมกานัน ผู้ใหญ่บ้านจังหวัดชัยนาท ขอนา เรียนปัญหาดังกล่าวข้างต้น เพ่อื จะได้ให้มีการดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบกระทรวงมหาดไทย ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการเลือกกานัน ผใู้ หญบ่ ้าน เป็นลาดบั ต่อไป ๒. กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เป็นบุคคลในพื้นท่ี ท่ีมีความใกล้ชิดกับราษฎรในการปฏิบัติงานตามกฎหมายและแนวนโยบายของรัฐบาล และเป็น ผู้ช่วยเหลือนายอาเภอ มีบทบาทหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ โดยเฉพาะการรักษาความสงบเรียบร้อย การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาในกรณีตา่ ง ๆ นอกจากนยี้ ัง ทาหน้าท่ีเป็นคนกลางในการไกลเกล่ีย ประนีประนอม และระงับปัญหาความคัดแย้งในท้องท่ี ดงั น้ัน สมาคมกานันผู้ใหญบ่ ้านจังหวัดชัยนาท ขอนาเรียนเสนอให้มีตาแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษา ความสงบ (ผรส.) ในทุกหมู่บ้าน เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและแก้ไขปัญหา ในพืน้ ที่ไดอ้ ย่างเต็มที่และเกดิ ประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ประชาชนและประเทศชาติ นอกจากนี้ ยงั มีการนาเสนอประเดน็ เกี่ยวกับกฎหมายควบคุมเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ ดังนี้ โดยที่พระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๗ และ ๓๑ ได้กาหนดหา้ มขายหรอื ดืม่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลใ์ นสถานทห่ี รอื บรเิ วณดังต่อไปนี้ (๑) วัดหรือสถานที่สาหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เว้นแต่การดื่มน้ันเป็นส่วนหน่ึงของ พธิ กี รรมทางศาสนา (๒) สถานบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และ รา้ นขายยาตามกฎหมายว่าดว้ ยยา ยกเวน้ กรณีการดมื่ สามารถดมื่ ได้ในบริเวณท่จี ดั ไวเ้ ป็นทพี่ ักสว่ นบุคคล (๓) สถานที่ราชการ ยกเว้น กรณีการขายสามารถขายได้ในบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้าหรือ สโมสร ส่วนกรณกี ารด่มื สามารถดื่มได้ในบริเวณท่ีจัดไวเ้ ปน็ ที่พักสว่ นบุคคล หรือสโมสร หรือการจดั เลย้ี ง ตามประเพณี
๒๑๒ (๔) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ เว้นแต่กรณีการด่ืมสามารถด่ืม ในบริเวณท่ีจัดไว้เป็นทพี่ ักส่วนบุคคล หรือสโมสร หรือการจัดเล้ียงตามประเพณี หรือสถานศึกษาที่สอน การผสมเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์และได้รบั อนญุ าตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศกึ ษาแห่งชาติ (๕) สถานีบริการน้ามนั เช้ือเพลิงตามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง หรือรา้ นคา้ ในบรเิ วณสถานีบริการนา้ มันเชื้อเพลิง (๖) สวนสาธารณะของทางราชการที่จดั ไวเ้ พ่ือการพักผ่อนของประชาชนโดยท่ัวไป (๗) หา้ มมิให้ขายในสถานทห่ี รือบรเิ วณของหอพักตามกฎหมายว่าดว้ ยหอพกั (๘) สถานทีอ่ ่นื ทีร่ ฐั มนตรปี ระกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ บทบัญญตั ิดังกล่าวเป็นปัญหาในทางปฏิบัติ กล่าวคือ ในพื้นท่ีจงั หวัดชัยนาทหรือจังหวัดอื่น ๆ ในชนบท การจัดงานประจาปี งานตามประเพณี หรืองานร่นื เริง มักจะมกี ารขอใชพ้ นื้ ท่ีของส่วนราชการเพ่ือ จัดงาน เน่ืองจากผู้จัดงานไม่มีพื้นที่เพียงพอ ซ่ึงการจัดงานดังกล่าวอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติ ควบคมุ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๗ และ ๓๑ ดังนั้น ขอเสนอว่า ควรมีการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ เพ่ือยกเว้นให้การจัดงานประจาปี งานตามประเพณี หรืองานร่ืนเริง ที่จัดข้ึนโดยได้รับ อนุญาตถูกต้อง และจัดขึ้นในสถานที่ราชการ ในบางกรณี ให้ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๗ และ ๓๑ ประเด็นอ่ืน ๆ - ขอให้หน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องสนับสนุนเครื่องสูบน้าพลังงานแสงอาทิตย์อย่างน้อย หมู่บ้านละ ๑ เครอ่ื ง เพ่อื บรรเทาความเดอื ดรอ้ นจากปญั หานา้ แล้ง และเป็นการลดต้นทุนของเกษตรกร กลมุ่ ที่ ๒ ประเด็นปัญหาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ๒.๑ ข้อเสนอเก่ียวกับการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังน้ี ๒.๑.๑ ประเด็นการแก้ไขพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติมถึง (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๑๓ มาตรา ขอ้ กฎหมายเดมิ ประเด็นท่ขี อแกไ้ ข ๓๕/๒ - นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั มีวาระอยใู่ น เหน็ ควรยกเลิกประเดน็ การจากัด ตาแหน่งคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกต้ัง แต่จะ ระยะเวลาของวาระในการดารง ดารงตาแหน่งติดต่อกนั เกนิ สองวาระไม่ได้ ตาแหนง่ ของผู้บรหิ ารท้องถนิ่ ควรให้ - ในกรณีนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประชาชนผมู้ สี ทิ ธิเลอื กตั้งเปน็ ผู้ ดารงตาแหน่งไม่ครบระยะเวลาสี่ปี ก็ให้ถือว่า ตัดสนิ ใจในการเลือกต้ังผบู้ รหิ าร เป็นหนึ่งวาระและเมื่อได้ดารงตาแหน่ง ทอ้ งถนิ่ สองวาระติดต่อกันแล้วจะดารงตาแหน่งได้อีก เม่อื พ้นระยะเวลาส่ปี นี บั แตว่ นั พ้นจากตาแหน่ง ๓๖ วรรคสี่ ในระหว่างท่ีไม่มีนายกองค์การบริหารส่วน - เจตนารมณ์ของกฎหมายบัญญตั ิให้ จังหวัดให้ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่นท่ีได้รับเลือกตั้งจาก ปฏิบัติหน้าท่ีของนายกองค์การบริหารส่วน ประชาชนเป็นผู้รับผิดชอบในการ จังหวัดเท่าที่จาเป็นได้เป็นการชั่วคราวจนถึง บริหารและพัฒนาท้องถิ่น เม่ือครบ วันประกาศผลการเลือกตั้งนายกองค์การ วาระการดารงตาแหน่ง เห็นควรให้ บริหารสว่ นจงั หวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏบิ ตั ิหน้าที่เป็นการชวั่ คราวจนกว่า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง จ ะ ประกาศผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็น นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดคน ใหม่ หรือหากไม่สามารถดาเนินการได้ กค็ วรเปน็ - กรณีนายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดออกจากตาแหน่งตามวาระ กาหนดให้ปลัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดปฏิบัติหน้าท่ีนายกองค์การ บ ริ ห า ร ส่ ว น จั ง ห วั ด ไ ด้ เ ป็ น ก า ร ชั่วคราวจนถึงวันประกาศผลการ เลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วน จงั หวัด
๒๑๔ การเสนอให้ยกเลิกประเด็นการจากัดระยะเวลาของวาระในการดารงตาแหน่ง ของผู้บริหารท้องถิ่นน้ัน หากพิจารณาเปรียบเทียบกับผู้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็นผู้บริหาร สงู สุดของประเทศ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๕๘ วรรคส่ี บัญญตั ิว่า “นายกรัฐมนตรี จะดารงตาแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดารงตาแหน่งติดต่อกันหรือไม่ แตม่ ิให้นบั รวมระยะเวลาในระหวา่ งที่อยูป่ ฏิบัติหน้าทีต่ อ่ ไปหลังพน้ จากตาแหน่ง” สาหรับประเด็นเกี่ยวกับวาระการดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถ่ิน มีท้ังข้อดี และข้อเสีย ดังนี้ ข้อดี ขอ้ เสยี ๑. มีความต่อเนอ่ื งในดา้ นนโยบายในการบรหิ าร ๑. เกดิ การผูกขาดอานาจในการบริหาร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ๒. มีความต่อเนื่องในการดแู ลและจดั ทาบรกิ าร ๒. เกดิ ระบบอุปถมั ภ์ในองคก์ รปกครอง สาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะ สว่ นทอ้ งถนิ่ ๓. มแี นวโน้มในการทจุ ริตในองคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถิ่นอยา่ งเป็นระบบและยาก ตอ่ การตรวจสอบ ๔. ขาดความกระตือรือรน้ ในการแกไ้ ขปัญหา ข้อเสนอแนะ เน่ืองจากประเด็นเร่ืองวาระการดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถ่ินมีนัยสาคัญต่อการจัดทา บริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะในท้องถิน่ จงึ ควรพิจารณาข้อดขี ้อเสยี ให้รอบคอบ โดยควรเสนอ ประเด็นดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถ่ิน วุฒิสภา ซึ่งมีหน้าท่ีและอานาจพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ปกครองทอ้ งถิน่ เพ่อื ดาเนินการตามหน้าทีแ่ ละอานาจต่อไป
๒๑๕ ๒.๑.๒ ประเด็นการแก้ไขพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ถงึ (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังน้ี มาตรา ขอ้ กฎหมายเดิม ประเดน็ ทข่ี อแก้ไข ๔๘ สัตต - นายกเทศมนตรมี วี าระอย่ใู นตาแหนง่ คราว เห็นควรยกเลิกประเดน็ การจากัด ละสี่ปีนบั แต่วนั เลอื กตง้ั แตจ่ ะดารงตาแหนง่ ระยะเวลาของวาระในการดารง ติดต่อกนั เกนิ สองวาระไม่ได้ ตาแหนง่ ของผ้บู รหิ ารทอ้ งถน่ิ - ในกรณนี ายกเทศมนตรดี ารงตาแหนง่ ควรใหป้ ระชาชนผมู้ สี ทิ ธิเลือกต้ัง ไม่ครบระยะเวลาส่ีปกี ็ให้ถือวา่ เปน็ หนึ่งวาระ เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจในการเลอื กตงั้ และเม่อื ไดด้ ารงตาแหน่งสองวาระติดตอ่ กนั ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ แล้วจะดารงตาแหนง่ ไดอ้ กี เมื่อพ้นระยะเวลาสี่ ปีนับแตว่ ันพน้ จากตาแหนง่ ๔๘ ปญั จทศ กรณีนายกเทศมนตรีออกจากตาแหนง่ ตาม - เจตนารมณข์ องกฎหมายบญั ญตั ิให้ วรรคหนงึ่ (๑) วาระ กาหนดใหป้ ลดั เทศบาลปฏิบัตหิ น้าท่ี ผบู้ ริหารท้องถน่ิ ทไี่ ด้รบั เลอื กต้ังจาก ประกอบ นายกเทศมนตรเี ท่าทจี่ าเปน็ ไดเ้ ป็นการ ประชาชนเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบในการ วรรคสี่ ชัว่ คราวจนถึงวนั ประกาศผลการเลอื กตง้ั บริหารและพัฒนาท้องถิน่ เมอื่ ครบ นายกเทศมนตรี วาระการดารงตาแหนง่ เห็นควรให้นายกเทศมนตรปี ฏบิ ตั ิ หนา้ ทเ่ี ป็นการชวั่ คราวจนกวา่ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั จะ ประกาศผูท้ ไี่ ดร้ ับการเลือกตงั้ เป็น นายกเทศมนตรคี นใหม่ หรือหากไม่สามารถดาเนินการได้ กค็ วรเป็น - กรณนี ายกเทศมนตรอี อกจาก ตาแหนง่ ตามวาระ กาหนดให้ ปลัดเทศบาลปฏิบัตหิ นา้ ท่ี นายกเทศมนตรไี ดเ้ ปน็ การชัว่ คราว จนถงึ วันประกาศผลการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรี
๒๑๖ ประเด็นการปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างที่ไม่มีผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่เสนอให้ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประกาศ ผู้ไดร้ ับการเลือกตั้งเป็นผ้บู ริหารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ คนใหม่ เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบกับกรณีคณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตาแหน่งตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๖๘ บัญญัติว่า “ให้คณะรัฐมนตรีท่ีพ้นจากตาแหน่งอยู่ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป ภายใตเ้ งือ่ นไข ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ในกรณีพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๑๖๗ (๑) (๒) หรือ (๓) ให้อยู่ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป จนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ต้ังข้ึนใหม่จะเข้ารับหน้าท่ี เว้นแต่ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่งตาม มาตรา ๑๖๗ (๑) เพราะเหตุขาดคณุ สมบัตหิ รือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๙๘ หรอื มาตรา ๑๖๐ (๔) หรอื (๕) นายกรฐั มนตรีจะอยปู่ ฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ่อไปมไิ ด้ (๒) ในกรณีพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๑๖๗ (๔) คณะรัฐมนตรีท่ีพ้นจากตาแหน่งจะอยู่ ปฏิบัตหิ น้าทีต่ อ่ ไปมิได้ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีอยู่ปฏิบตั ิหน้าท่ตี ่อไปมิได้ตาม (๒) หรือคณะรัฐมนตรีที่อยู่ปฏิบตั ิหน้าท่ี ตอ่ ไปลาออกทั้งคณะ และเป็นกรณีที่ไมอ่ าจดาเนินการตามมาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ ได้ไม่ว่าด้วย เหตุใดหรือยงั ดาเนินการตามมาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ ไมแ่ ลว้ เสร็จ ให้ปลัดกระทรวงปฏิบตั หิ น้าที่ แทนรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงน้ัน ๆ เฉพาะเท่าท่ีจาเป็นไปพลางกอ่ น โดยให้ปลดั กระทรวงคัดเลอื กกนั เอง ให้คนหนงึ่ ปฏิบตั หิ น้าทแ่ี ทนนายกรฐั มนตรี” รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา ๑๖๙ บัญญัติว่า “คณะรัฐมนตรีท่ีพ้นจากตาแหน่ง ตามมาตรา ๑๖๗ (๒) และต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อไปตามมาตรา ๑๖๘ ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามเง่ือนไข ดังต่อไปน้ี (๑) ไม่กระทาการอันมีผลเป็นการอนุมัตงิ านหรือโครงการ หรือมผี ลเปน็ การสร้างความผูกพัน ตอ่ คณะรัฐมนตรชี ดุ ตอ่ ไป เวน้ แตท่ ่ีกาหนดไว้แล้วในงบประมาณรายจ่ายประจาปี (๒) ไม่แต่งตั้งหรือโยกย้ายข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจาหรือพนักงานของ หนว่ ยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ หรือกจิ การที่รัฐถอื หนุ้ ใหญ่ หรือให้บุคคลดังกลา่ ว พน้ จากการปฏบิ ัติหน้าที่ หรือพ้นจากตาแหน่ง หรอื ให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าท่ีแทน เวน้ แต่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การเลือกตั้งกอ่ น (๓) ไม่กระทาการอันมีผลเป็นการอนุมัติให้ใช้จ่ายงบประมาณสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือ จาเปน็ เว้นแต่จะได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตง้ั ก่อน (๔) ไม่ใช้ทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพ่ือกระทาการใดอันอาจมีผลต่อการเลือกต้ัง และไม่กระทาการอนั เปน็ การฝา่ ฝนื ข้อหา้ มตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการการเลือกตง้ั กาหนด”
๒๑๗ ขอ้ เสนอแนะ การให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าคณะกรรมการการ เลือกต้ังจะประกาศผไู้ ดร้ ับการเลือกตง้ั เป็นผ้บู รหิ ารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคนใหม่น้ัน อาจจะทาให้ เกิดการกระทาท่ขี ัดกันแห่งผลประโยชน์ เนื่องจากกฎหมายเก่ยี วกับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น กาหนด วา่ “ให้ปฏิบตั ิหน้าที่เท่าทจี่ าเปน็ ” เปน็ ถ้อยคาทีไ่ มช่ ัดเจนว่าอะไรทาไดห้ รือทาไม่ได้ในระหว่างการปฏบิ ตั ิ หน้าที่เป็นการช่ัวคราว จึงอาจจะทาให้เกิดการใช้อานาจเพ่ือประโยชน์ในการเลือกต้ัง เช่น การใช้จ่าย งบประมาณเพ่ือให้เกิดความนิยมต่อตนเองในการเลือกต้ัง การใช้อานาจครอบงาเจ้าหน้าที่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในการเลือกต้ัง การใช้อานาจกล่ันแกล้งผู้สมัครรับเลือกตั้งคนอ่ืน ๆ เปน็ ต้น ๒.๑.๓ ประเด็นการแก้ไขกฎหมายพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหาร สว่ นตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังน้ี มาตรา ขอ้ กฎหมายเดิม ประเดน็ ท่ีขอแก้ไข ๕๘/๑ (๒) สาเรจ็ การศึกษาไมต่ ่ากว่ามธั ยมศึกษาตอน (๒) สาเรจ็ การศึกษาไมต่ า่ กวา่ ปลายหรอื เทยี บเทา่ หรือเคยเป็นสมาชิกสภา ปริญญาตรีหรอื เทียบเท่า หรอื เคย ตาบล สมาชกิ สภาทอ้ งถิ่น ผบู้ รหิ ารท้องถนิ่ เป็นสมาชกิ สภาตาบล สมาชิกสภา หรือสมาชิกรัฐสภา ท้องถน่ิ ผบู้ ริหารทอ้ งถน่ิ หรอื สมาชกิ รัฐสภา (เพ่ือใหเ้ ป็นไปในมาตรฐานเดยี วกัน กับนายกเทศมนตรี ตามมาตรา ๔๘ เบญจ วรรคหนึ่ง (๒) แหง่ พ.ร.บ. เทศบาลฯ และนายองค์การบริหาร ส่วนจงั หวดั ตามมาตรา ๓๕/๑ (๒) แห่ง พ.ร.บ. องคก์ ารบรหิ ารสว่ น จงั หวดั ) ๕๘/๒ - นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลมีวาระอยใู่ น เห็นควรยกเลิกประเดน็ การจากัด ตาแหนง่ คราวละส่ีปนี บั แตว่ นั เลือกต้งั แต่จะ ระยะเวลาของวาระในการดารง ดารงตาแหนง่ ตดิ ตอ่ กันเกนิ สองวาระไมไ่ ด้ ตาแหนง่ ของผบู้ ริหารท้องถนิ่ - ในกรณีทีน่ ายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ควรใหป้ ระชาชนผ้มู สี ิทธิเลอื กตัง้ ดารงตาแหนง่ ไมค่ รบระยะเวลาส่ีปีก็ให้ เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจในการเลอื กตง้ั ถอื วา่ เปน็ หนงึ่ วาระและเมอื่ ไดด้ ารงตาแหนง่ ผู้บรหิ ารท้องถ่ิน
๒๑๘ มาตรา ขอ้ กฎหมายเดมิ ประเด็นที่ขอแก้ไข สองวาระตดิ ตอ่ กนั แล้ว จะดารงตาแหนง่ ไดอ้ กี เมอื่ พน้ ระยะเวลาสปี่ นี ับแตว่ ันพ้นตาแหน่ง ๖๔ วรรค - ในระหวา่ งทไี่ มม่ นี ายกองคก์ ารบริหารสว่ น - เจตนารมณข์ องกฎหมายบญั ญตั ิให้ สี่ ตาบล ให้ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนตาบลปฏบิ ตั ิ ผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ ทไี่ ด้รบั เลอื กตัง้ จาก หนา้ ทข่ี องนายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล ประชาชนเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในการ เทา่ ทีจ่ าเปน็ ไดเ้ ปน็ การชว่ั คราวจนถงึ วัน บริหารและพฒั นาท้องถน่ิ เมอื่ ครบ ประกาศผลการเลอื กตงั้ นายกองค์การบริหาร วาระการดารงตาแหนง่ สว่ นตาบล เห็นควรให้นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตาบลปฏิบัตหิ นา้ ที่เปน็ การชว่ั คราว จนกวา่ คณะกรรมการการเลอื กต้งั จะประกาศผทู้ ่ไี ดร้ บั การเลอื กตง้ั เปน็ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล คนใหม่ หรอื หากไม่สามารถดาเนินการได้ กค็ วรเป็น - กรณีนายกองคก์ ารบริหารสว่ น ตาบลออกจากตาแหนง่ ตามวาระ กาหนดใหป้ ลัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตาบลปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีนายกองคก์ าร บริหารส่วนตาบลไดเ้ ปน็ การชวั่ คราว จนถงึ วันประกาศผลการเลือกตง้ั นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ประเด็นเร่ืองคุณสมบัติเก่ียวกับคุณวุฒิทางการศึกษาของนายกองค์การบริหารส่วน ตาบล ซึ่งเสนอให้ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ต้องสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่า ปริญญาตรี ทั้งนี้ เพื่อให้คุณสมบัติทางการศึกษาของนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นมาตรฐาน เดียวกันกับนายกเทศมนตรี และนายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด หากพิจารณาเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และ รฐั มนตรี จะพบวา่
๒๑๙ (๑) สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ไม่ได้กาหนดคณุ วฒุ ิทางการศกึ ษาเป็นคุณสมบตั ิในการสมคั ร รับเลอื กต้ังเป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (๒) สมาชกิ วุฒสิ ภา ไม่ไดก้ าหนดคณุ วฒุ ทิ างการศกึ ษาเปน็ คุณสมบัติในการสมัครรบั เลือกตัง้ เป็นสมาชกิ สภาวฒุ สิ ภา (๓) รฐั มนตรีผู้ท่จี ะไดร้ ับการแตง่ ตั้งเป็นรฐั มนตรตี ้องสาเรจ็ การศกึ ษาไมต่ ่ากวา่ ปรญิ ญาตรีหรือ เทยี บเท่า ข้อเสนอแนะ ประเด็นเรื่องคุณสมบัติเกี่ยวกับคุณวุฒิทางการศึกษาของนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ควรเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในฐานะผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติสภาตาบล และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ พิจารณาตามหนา้ ทีแ่ ละอานาจตอ่ ไป ๒. ปญั หาเรอ่ื งการขออนุญาตใช้ทีด่ นิ สาธารณะประโยชน์เพือ่ บรกิ ารสาธารณะ นายเจษฎา อนิ สว่าง นายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบลไพรนกยูง ตาบลไพรนกยูง อาเภอหนั คา จังหวดั ชัยนาท ไดเ้ สนอปัญหาเกยี่ วกบั การดาเนินการทางธุรการของหนว่ ยงานที่มอี านาจในการพิจารณา อนุญาต เช่น อาเภอ จังหวัด สานักงานป่าไม้จังหวัด สานักงานที่ดินจังหวัด ดาเนินการล่าช้าไม่ทันการ บริหารจัดการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงการจัดทาโครงการตามข้อบัญญัติของ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เม่อื ดาเนินการโดยไม่ได้รับอนุญาตก็จะถูกดาเนินคดฐี านปฏิบัตหิ รือละเว้น การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีโ่ ดยมชิ อบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ขอ้ เสนอแนะ ปัจจุบันนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรดินของประเทศมีการกาหนดไว้ ในกฎหมายหลายฉบับและการบังคับใช้กฎหมายจะอยู่ภายใต้กรอบอานาจหน้าท่ีและความรับ ผิดชอบ รวมถึงวัตถุประสงคข์ องกฎหมายนั้น ๆ โดยไมม่ ีการทางานร่วมกันทาให้การควบคุมดูแลและการบริหาร จัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศไม่เป็นเอกภาพและไม่มีกรอบแนวทางเพ่ือ ให้การกาหนด แนวทางการพัฒนา ภารกิจ และการปฏิบัติงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการท่ีดนิ และทรัพยากรดินทัง้ ระบบ พระราชบญั ญัติคณะกรรมการนโยบาย ท่ีดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) เพื่อทาหน้าที่ กาหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ดี นิ และทรัพยากรดินของประเทศ โดย คทช. จะนาเอาทด่ี ิน ของรัฐทกุ ประเภทมาพจิ ารณาถงึ ความความจาเปน็ ต้องใช้เพ่อื ประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สงิ่ แวดล้อม และความมั่นคงมากน้อยเพียงใด ดังนั้น เพ่ือแก้ไขปัญหาข้อพิพาทเก่ียวกับการใช้ และการ ขออนญุ าตใชท้ ่ีดินของรฐั แต่ละประเภท ควรเสนอประเดน็ ปัญหาดังกล่าวตอ่ คทช. เพื่อดาเนนิ การแกไ้ ข ปญั หาตามหนา้ ทแ่ี ละอานาจตอ่ ไป
๒๒๐ กลมุ่ ท่ี ๓ ประเด็นปัญหาการบังคับใชก้ ฎหมายเกี่ยวกบั การขายฝากทด่ี ิน นางสาวกัญญา นิลกาแหง ประชาชน ได้เสนอข้อร้องเรียนว่าขอแก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๑๐ พระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการทาสัญญาขายฝากท่ีดินเพ่ื อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ จากเดิมที่บัญญัติว่า “มาตรา ๑๐ สัญญาขายฝากจะกาหนดเวลาไถ่ต่ากว่าหนึ่งปีหรือ เกินสิบปีมิได้...” แก้ไขเป็น “มาตรา ๑๐ สัญญาขายฝากจะกาหนดเวลาไถ่ต่ากว่าสามปีหรือ เกินสิบปีมิได้” เนื่องจากระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในการขายฝากขั้นต่า ๑ ปี ถือเป็นเวลาท่ีน้อยเกินไป ไม่เพียงพอท่ีจะสามารถหาเงินมาไถท่ รพั ยส์ นิ ที่ขายฝากได้ พ.จ.ท. เฉลียว น้อยแสง ผู้แทนสภาเกษตรกรชัยนาท ได้สนับสนุนขอร้องเรียนดังกล่าว โดยให้เหตผุ ลวา่ การทานาปรังใช้ระยะเวลา ๔ เดือน การทานาจะคนื ตน้ ทนุ เมอ่ื ทานาเปน็ ระยะเวลา ๓ ปี ขึ้นไป นายสาเริง ม่วงสังข์ เจา้ พนักงานท่ดี ินจังหวัดชัยนาท สานักงานทีด่ ินจังหวัดชัยนาท ได้ให้ ความเห็นในเรื่องดังกล่าวว่า การเสนอแก้ไขกฎหมายดังกล่าว อาจจะมีผลให้ผู้ซื้อฝากบางรายไม่ ตอ้ งการซื้อฝาก ไมย่ อมจดทะเบยี น ส่งผลให้ผู้ทต่ี อ้ งการขายฝากหาแหล่งเงินยากขึ้น กล่มุ ท่ี ๔ ประเด็นปัญหาเกย่ี วกับอตั ราดอกเบยี้ ของผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงินอ่นื ๆ ทไ่ี มใ่ ช่ สถาบนั การเงิน (Non – Bank) ผู้ให้บริการโฮมสเตยแ์ ละโรงแรม ๔.๑ ประเด็นปัญหาเก่ียวกับอัตราดอกเบี้ยของผู้ให้บริการทางการเงินอ่ืน ๆ ท่ีไม่ใช่สถาบัน การเงนิ (Non - Bank) นางสาวพรเพญ็ โตประเสรฐิ ผอู้ านวยการกลุ่มงานศนู ย์ดารงธรรมจงั หวดั สานกั งาน จังหวัดชัยนาท ได้เสนอข้อร้องเรียน ให้บริษัทไฟแนนซ์เลิกคิดดอกเบี้ยล่วงหน้าในการเช่าซื้อรถยนต์ และลดอัตราค่าติดตามทวงถามหน้ีซึง่ ปัจจุบันมอี ตั ราทส่ี ูงเกินไป นางสาวธนิตา แก่นเฟื่อง รองเลขาธิการหอการค้า จังหวัดชัยนาท ได้เสนอข้อร้องเรียน การคดิ อัตราดอกเบ้ียของบรษิ ทั ไฟแนนซ์ท่ีปัจจุบันมอี ัตราทส่ี งู เกนิ ไป ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันกระทรวงการคลังเล็งเห็นถึงความจาเป็นที่ต้องเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในระบบให้แก่ประชาชนรายย่อย โดยจะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาหน้ีนอกระบบแก่ประชาชนไป ด้วยในเวลาเดียวกัน จงึ ได้อนุญาตให้มีการประกอบธุรกิจสินเชื่อรายย่อยประเภทใหม่ ได้แก่ สินเชื่อราย ยอ่ ยระดับจังหวดั ภายใต้ การกากับ (สนิ เชื่อพิโกไฟแนนซ)์ ซึ่งผู้ประกอบธรุ กจิ สามารถเรียกเก็บดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียมใด ๆ ได้ไม่เกินร้อยละ ๓๖ ต่อปี ตามประกาศกระทรวงการคลัง
๒๒๑ เรือ่ ง กจิ การทต่ี ้องขออนญุ าต ตามขอ้ ๕ แห่งประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับท่ี ๕๘ (เรือ่ ง สนิ เชื่อรายย่อย ระดับจงั หวดั ภายใต้การกากบั ) ธรุ กจิ เช่าซื้อไม่วา่ จะเชา่ ซอ้ื รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือสนิ ค้าอะไรก็ตาม ไมอ่ ยู่ ในการกากับดแู ลของธนาคารแห่งประเทศไทย เพราะไม่ได้เป็นการกู้ยืมเงิน ดงั นั้น จงึ มีสิทธิคิดดอกเบ้ีย ไดเ้ กนิ ร้อยละ ๑๕ ต่อปี ไม่อยู่ภายใต้บังคบั ของกฎหมายแพง่ มาตรา ๖๕๔ ดงั นนั้ จึงมีนายทนุ เงินก้นู อก ระบบอาศัยชอ่ งว่างของกฎหมายปลอ่ ยก้โู ดยคดิ ดอกเบยี้ สงู กวา่ รอ้ ยละ ๑๕ ตอ่ ปี โดยอาศยั การทาสัญญา เช่าซ้ือบังหน้า ปัจจุบันมีประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เร่ือง ให้ธุรกิจให้เช่าซื้อรถยนต์และ รถจักรยานยนตเ์ ป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๑ ในสัญญาต้องแสดงอัตราดอกเบีย้ ท่ีแท้จริงต่อปี (Effective Interest Rate) (ลดต้นลดดอก) และอัตราดอกเบ้ียคงท่ีต่อปี (Flat Interest Rate) (ลดต้น ไม่ลดดอก) ให้ผบู้ รโิ ภครบั รดู้ ว้ ย แต่กฎหมายมไิ ด้บงั คับให้ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ตอ้ งเปลี่ยนมาใช้อัตราดอกเบ้ีย แบบลดต้นลดดอก และดอกเบี้ยค่าปรับกรณีผู้เช่าซื้อผิดนัดชาระค่างวด ให้คิดจากอัตราดอกเบี้ยตาม สัญญาเชา่ ซอ้ื ทแ่ี ปลงเป็นอตั ราดอกเบ้ียแท้จริงตอ่ ปี บวกรอ้ ยละ ๓ ต่อปี แต่ต้องไมเ่ กินรอ้ ยละ ๑๕ ต่อปี ๔.๒ ประเดน็ ปัญหาโรงแรม นางสาววรรณาชิด ดวงยหิ วา เจา้ ของกิจการโรงแรมชยั นาทอินน์ ได้เสนอข้อร้องเรยี น ปัญหาการสร้างถนนท่ีแคบและไม่มีท่อระบายน้า และเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้าที่เกะกะไม่เป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ยบรเิ วณถนนหน้าโรงแรม ประเด็นปญั หาอื่นๆ โดยสรปุ ได้ดังนี้ นางประวงษ์ กานนท์รังสี ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท และนางกิตติยา กิตติรัตน สนุ ทร รองประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวัดชัยนาท ไดเ้ สนอข้อร้องเรยี น สภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท ขาดงบประมาณในการจดั กิจกรรม ในการนี้ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้ร่วมกันตอบช้ีแจงข้อร้องเรียนในเบ้ืองต้น และช้ีแจงขั้นตอน กลไกของวุฒิสภาท่ีสามารถใช้ในการแกไ้ ขปัญหาในเบ้ืองต้นได้ จากน้ันจะมีการตอบชี้แจงความคืบหน้า และผลการดาเนนิ งานกลบั มายงั ผู้เสนอข้อร้องเรยี นในพน้ื ท่ีตอ่ ไป บทวเิ คราะห์และข้อพจิ ารณา จากประเด็นการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอดังกล่าวข้างต้น สมาชิกวุฒิสภาได้พิจารณา และมีความเหน็ ในแตล่ ะประเดน็ พรอ้ มท้งั มขี ้อเสนอแนะเพ่อื ดาเนินการต่อไป ดังน้ี
๒๒๒ ๑. ประเด็นข้อเสนอเกยี่ วกบั กฎหมาย ๑.๑ ประเด็นเกยี่ วกบั กฎหมายลกั ษณะปกครองท้องที่ ๑.๑.๑ การยกเลิกตาแหน่งกานัน ผ้ใู หญบ่ ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในพื้นที่ที่มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถ่ินใดเป็นเทศบาลเมืองและ เทศบาลนคร นั้น เนื่องจากเป็นประเด็นปัญหาการตีความกฎหมายท่ีขัดแย้งกันระหว่างพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔ ที่บัญญัติว่า “เม่ือพ้นกาหนด หน่ึงปีนับแต่วันที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นใดเป็นเทศบาลเมืองหรือเทศบาล นครแล้ว ห้ามมิให้ใช้กฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ในส่วนท่ีบัญญัติถึงการแต่งต้ังกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันในท้องถิ่นน้ัน และให้บรรดา บุคคลท่ีเป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล และสารวัตรกานันพ้นจาก ตาแหน่งและหน้าท่ีเฉพาะในเขตท้องถิ่นนั้น ” กับพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓ วรรคสอง ท่ีบัญญัติว่า “การยกเลิกตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานันและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จะกระทามิได้” และมขี ้อเสนอให้มตี าแหนง่ ผ้ชู ว่ ยผใู้ หญบ่ ้านฝ่ายรักษาความสงบ (ผสร.) ในทกุ หมู่บ้าน เนือ่ งจากประเด็นปัญหาดังกล่าวน้ีเป็นเร่อื งที่เกี่ยวพันระหว่างท้องที่กับทอ้ งถิ่น โดยตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ถือเป็น ฝ่ายปกครองที่ช่วยเหลืองานของราชการส่วนภูมภิ าคในการบาบัดทุกข์บารุงสุขให้กับประชาชน สาหรับ เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร ถือเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่มีจานวนประชากรและรายได้ ตามเกณฑ์ท่ีกฎหมายกาหนด และมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองและ เทศบาลนคร มีภารกิจในด้านการพัฒนาพื้นที่ การจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ ในท้องถ่ิน โดยกาหนดให้ประชาชนเลอื กนายกเทศมนตรีและสมาชิกสภาเทศบาลเพื่อเข้ามาบริหารและ ติดตามตรวจสอบการบรหิ าร รวมทั้งการแก้ไขปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชนในพื้นท่ีทาให้ภารกิจ ของนายกเทศมนตรีและสมาชิกสภาเทศบาลกับกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อาจจะทับซ้อนกันและเกิดปัญหาในทางปฏิบัติ จึงเห็นควรเสนอประเด็นดังกล่าว ต่อคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา ซึ่งมีหน้าที่ศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการ บริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และคณะกรรมาธกิ ารการปกครองท้องถิ่นซ่ึงมีหน้าท่ี ศกึ ษาเรื่องใด ๆ ที่เก่ียวกับการปกครองทอ้ งถ่ิน เพ่ือพิจารณาศึกษาข้อดี ขอ้ เสยี เก่ียวกับปญั หาดังกล่าว ให้ครบถ้วนรอบดา้ น และดาเนนิ การแก้ไขปัญหาตามกลไกของวุฒสิ ภาต่อไป สาหรับข้อเสนอให้มีตาแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ (ผสร.) ในทุกหมู่บ้านน้ัน เป็นประเด็นที่เก่ียวข้องกับทุกหมู่บ้านของประเทศ และเกี่ยวข้องกับการจัดสรร
๒๒๓ งบประมาณเป็นค่าตอบแทนของตาแหน่งท่ีขอให้เพิ่มขึ้น จึงเห็นควรเสนอประเด็นดังกล่าวต่อ คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา ซ่ึงมีหน้าที่ศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการบริหาร ราชการแผ่นดินส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อพิจารณาศึกษาข้อดี ข้อเสีย เก่ียวกับปัญหาดังกล่าว ให้ครบถว้ นรอบด้าน และดาเนินการแกไ้ ขปญั หาตามกลไกของวฒุ สิ ภาต่อไป ๑.๑.๒ การเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เพอ่ื ยกเว้นการจัดงานประจาปี งานตามประเพณี หรอื งานรื่นเริง ในพื้นท่ีของส่วนราชการ ที่จัดขึ้นโดยได้รับอนุญาตถูกต้องจากส่วนราชการ ให้ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติควบคุม เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๗ และมาตรา ๓๑ เนื่องจากพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ มีเนื้อหา เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข จึงเห็นควรเสนอปัญหาดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการการสาธารสุข วฒุ ิสภา เพื่อพิจารณาศึกษาปญั หาดังกล่าวให้ครบถว้ นรอบดา้ น และดาเนินการตามหนา้ ท่แี ละอานาจตอ่ ไป ๑.๒ ประเด็นเก่ยี วกับกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ๑.๒.๑ ประเดน็ เร่อื งวาระการดารงตาแหน่งของผู้บรหิ ารทอ้ งถ่ิน เนื่องจากประเด็นเรื่องวาระการดารงตาแหนง่ ของผบู้ ริหารท้องถิ่นมีนัยสาคัญ ตอ่ การจดั ทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะในท้องถิน่ จงึ ควรพิจารณาข้อดีขอ้ เสยี ให้รอบคอบ โดยควรเสนอประเด็นดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถ่ิน วุฒิสภา ซ่ึงมีหน้าที่และอานาจ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับการปกครองท้องถ่ิน เพือ่ ดาเนนิ การตามหน้าที่และอานาจต่อไป ๑.๒.๒ ประเดน็ การปฏิบตั หิ น้าที่ในระหว่างทไ่ี มม่ ีผบู้ ริหารองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ การให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า คณะกรรมการการเลือกต้ังจะประกาศผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน คนใหม่น้ัน อาจจะทาให้เกิดการกระทาท่ีขัดกันแห่งผลประโยชน์ เนื่องจากกฎหมายเกี่ยวกับองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น กาหนดว่า “ให้ปฏบิ ัติหน้าทีเ่ ท่าทจ่ี าเป็น” เป็นถ้อยคาทไ่ี ม่ชดั เจนวา่ อะไรทาไดห้ รือ ทาไม่ได้ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่เป็นการช่ัวคราว จึงอาจจะทาให้เกิดการใช้อานาจเพ่ือประโยชน์ใน การเลือกต้ัง เช่น การใช้จ่ายงบประมาณเพื่อให้เกิดความนิยมต่อตนเองในการเลือกต้ัง การใช้อานาจ ครอบงาเจา้ หน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพอ่ื ประโยชนใ์ นการเลอื กตั้ง การใช้อานาจกลั่นแกล้ง ผูส้ มัครรับเลอื กตั้งคนอ่นื ๆ เป็นต้น ดงั น้ัน เหน็ ควรเสนอประเดน็ ปญั หาดงั กลา่ วตอ่ คณะกรรมาธกิ ารการ ปกครองท้องถิ่น วุฒิสภา เพื่อพิจารณาศึกษาให้ครบถ้วนรอบด้านและดาเนินการตามหนา้ ท่ีและอานาจ ตอ่ ไป
๒๒๔ ๑.๒.๓ ประเด็นเร่อื งคุณสมบัติเก่ียวกับคุณวุฒทิ างการศกึ ษาของนายกองค์การบริหาร ส่วนตาบล ประเด็นเรื่องคณุ สมบัติเกี่ยวกับคุณวฒุ ิทางการศกึ ษาของนายกองค์การบรหิ าร ส่วนตาบล ถือเป็นการยกระดับของนายกองค์การบริหารส่วนตาบลในด้านคุณวุฒิการศึกษา อย่างไร ก็ตามเนื่องจากองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมีพื้นท่ีนอกเขตเทศบาล ในบางพ้ืนท่ีอาจจะยังไมม่ ีความพร้อมในดา้ นบคุ ลากรท่ีมคี ณุ วุฒกิ ารศึกษาในระดับปรญิ ญาตรี ซ่ึงอาจจะ ทาใหเ้ กิดปญั หาในทางปฏิบัตเิ นือ่ งจากไมม่ ีบคุ คลทม่ี ีคณุ สมบตั ิในการสมัครรบั เลือกตง้ั เป็นนายกองค์การ บริหารส่วนตาบล จึงเห็นควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวต่อคณะกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่น วุฒสิ ภา เพ่ือพจิ ารณาศึกษาให้ครบถว้ นรอบด้านและดาเนินการตามหนา้ ทีแ่ ละอานาจต่อไป ๑.๒.๔ ปัญหาเรอื่ งการขออนุญาตใช้ที่ดนิ สาธารณะประโยชนเ์ พ่ือบริการสาธารณะ กรณีนายเจษฎา อินสว่าง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลไพรนกยูง ตาบล ไพรนกยูง อาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ไดเ้ สนอปัญหาเก่ียวกับการดาเนินการทางธุรการของหน่วยงาน ท่ีมีอานาจในการพิจารณาอนุญาต เช่น อาเภอ จังหวัด สานักงานป่าไม้จังหวัด สานักงานท่ีดินจังหวัด เนินการลา่ ช้าไมท่ นั การบริหารจัดการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ซ่งึ การจัดทาโครงการ ตามข้อบญั ญัตขิ ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เมื่อดาเนนิ การโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาตก็จะถูกดาเนินคดฐี าน ปฏบิ ัตหิ รอื ละเวน้ การปฏบิ ัติหนา้ ท่โี ดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ ปัจจุบันนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรดินของ ประเทศมีการกาหนดไว้ในกฎหมายหลายฉบบั และการบงั คบั ใช้กฎหมายจะอยู่ภายใต้กรอบอานาจหนา้ ที่ และความรับผิดชอบรวมถึงวัตถุประสงค์ของกฎหมายนั้น ๆ โดยไม่มีการทางานร่วมกันทาให้การ ควบคุมดูแลและการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศไม่เป็นเอกภาพและไม่มีกรอบ แนวทางเพ่ือให้การกาหนดแนวทางการพัฒนา ภารกิจ และการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินทั้งระบบ พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบาย ที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เพื่อทาหน้าท่ีกาหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรดิน ของประเทศ โดย คทช. จะนาเอาที่ดินของรัฐทุกประเภทมาพิจารณาถึงความความจาเป็นต้องใช้ เพ่ือประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงมากน้อยเพียงใด ดังนั้น เพื่อแกไ้ ขปญั หาข้อพพิ าทเก่ยี วกบั การใช้ และการขออนุญาตใชท้ ี่ดินของรฐั แต่ละประเภท จึงเห็นสมควร เสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบปร ะชาชน เพ่ือพิจารณาเสนอเร่ืองไปยังคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแห่งชาติเพ่ือดาเนินการแกไ้ ขปญั หาตามหน้าที่ และอานาจต่อไป
๒๒๕ ๑.๓ ประเด็นเกย่ี วกบั กฎหมายขายฝาก การเสนอขอแก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๑๐ ของพระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการ ทาสัญญาขายฝากท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมหรือท่ีอยู่อาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ จากเดิมที่บัญญัติว่า “มาตรา ๑๐ สัญญาขายฝากจะกาหนดเวลาไถ่ต่ากว่าหน่ึงปีหรือเกินสิบปีมิได้...” แก้ไขเป็น “มาตรา ๑๐ สัญญา ขายฝากจะกาหนดเวลาไถ่ต่ากว่าสามปีหรือเกินสิบปีมิได้” เนื่องจากระยะเวลาที่กาหนดไว้ในการขาย ฝากข้ันต่า ๑ ปี ถอื เป็นเวลาทนี่ อ้ ยเกินไป ไมเ่ พยี งพอทจี่ ะสามารถหาเงนิ มาไถ่ทรพั ยส์ นิ ทข่ี ายฝากได้ การแกไ้ ขเพิม่ เติมเกีย่ วกับระยะเวลาขัน้ ต่าในการไถท่ รพั ย์ทข่ี ายฝากจากไม่ต่ากวา่ ๑ ปี เป็นไม่ต่ากว่า ๓ ปี นั้น ถือเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้ขายฝาก ในการมีระยะเวลาในการหาเงิน มาไถ่ทรัพย์ที่ขายฝาก อย่างไรก็ตาม การแก้ไขระยะเวลาดังกล่าว อาจจะส่งผลกระทบต่อผู้ซ้ือฝาก และทาให้ผู้ซ้ือฝากไม่รับซ้ือฝาก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ ประกอบอาชีพและการดารงชีวิต จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมาธิการ การเกษตรและสหกรณ์ วฒุ ิสภา และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องเพอ่ื ดาเนนิ การตามหนา้ ท่ีและอานาจตอ่ ไป ๑.๔ ประเด็นเกีย่ วกับอตั ราดอกเบย้ี ของผู้ให้บรกิ ารทางการเงนิ อนื่ ๆ ท่ไี ม่ใชส่ ถาบันการเงิน (Non-Bank) สาหรับปัญหาเก่ียวกับอัตราดอกเบ้ียของผู้ให้บริการทางการเงินอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สถาบัน การเงิน (Non-Bank) น้ัน ในปัจจุบันกระทรวงการคลังเล็งเห็นถึงความจาเป็นท่ีต้องเพ่ิมช่องทาง การเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบให้แก่ประชาชนรายย่อย โดยจะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหา หน้ีนอกระบบแก่ประชาชนไปด้วยในเวลาเดียวกัน จึงได้อนุญาตให้มีการประกอบธุรกิจสินเช่ือรายย่อย ประเภทใหม่ ได้แก่ สินเชื่อรายย่อยระดับจังหวัดภายใต้การกากับ (สินเชื่อพิโกไฟแนนซ์) ซึ่งผู้ประกอบ ธุรกิจสามารถเรียกเก็บดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียมใด ๆ ได้ไม่เกินร้อยละ ๓๖ ต่อปี ตามประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง กิจการท่ีต้องขออนุญาต ตามข้อ ๕ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๘ (เร่ือง สินเชอ่ื รายยอ่ ยระดบั จังหวัดภายใตก้ ารกากบั ) สาหรับธุรกิจเช่าซื้อไมว่ ่าจะเช่าซื้อรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือสินค้า อะไรก็ตาม ท่ีไม่อยู่ในการกากับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย เพราะไม่ไดเ้ ป็นการก้ยู ืมเงิน จึงมีสทิ ธิ คิดดอกเบี้ยได้เกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี และไม่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายแพ่ง มาตรา ๖๕๔ ปัจจุบันมี ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจให้เช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์เป็นธุรกิจท่ี ควบคุมสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๑ ในสัญญาต้องแสดงอัตราดอกเบ้ียที่แท้จริงต่อปี (Effective Interest Rate) (ลดต้นลดดอก) และอัตราดอกเบยี้ คงท่ตี ่อปี (Flat Interest Rate) (ลดตน้ ไม่ลดดอก) ให้ผ้บู รโิ ภค รับรู้ด้วย แต่กฎหมายมิได้บังคับให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องเปล่ียนมาใช้อัตราดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก และดอกเบ้ียค่าปรับกรณีผู้เช่าซื้อผิดนัดชาระค่างวด ให้คิดจากอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าซ้ือที่ แปลงเป็นอัตราดอกเบ้ียแท้จริงต่อปี บวกร้อยละ ๓ ต่อปี แต่ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี ดังน้ัน
๒๒๖ จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชน เพื่อพิจารณาเสนอเรื่องไปธนาคารแห่งประเทศไทยและหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือ ดาเนินการแก้ไขปญั หาตามหนา้ ทีแ่ ละอานาจต่อไป ๒. ประเดน็ ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ๒.๑ ประเดน็ ปญั หาเกย่ี วกบั โรงแรม รีสอร์ท โฮมสเตย์ ๒.๑.๑ กรณีนางสาววรรณาชิด ดวงยิหวา เจ้าของกิจการโรงแรมชัยนาทอินน์ ได้เสนอข้อร้องเรียนปัญหาการสร้างถนนท่ีแคบและไม่มีท่อระบายน้า และเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้าท่ีเกะกะ ไม่เปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยบริเวณถนนหน้าโรงแรม เน่ืองจากสภาพปัญหาดังกล่าวเก่ียวข้องกับหน่วยงานของรัฐหลายแห่ง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และเปน็ ปัญหาในทางปฏบิ ัติ ซ่ึงสามารถแก้ไขปัญหา โดยการใชม้ าตรการในทางบรหิ าร ดงั นั้น จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปญั หาดงั กลา่ วไปยังคณะกรรมการ อานวยการโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชน เพ่ือพิจารณาเสนอเร่ืองไปยงั หนว่ ยงานของรัฐที่กากับ ดูแลองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค เพอ่ื ดาเนนิ การตามหน้าทแี่ ละอานาจต่อไป ๒.๑.๒ กรณีผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม รีสอร์ท ขอให้ช่วยแก้ไขปัญหา เนื่องจากได้ กอ่ สรา้ งโรงแรม รสี อร์ท ในพ้ืนที่ทีต่ ้องห้ามตามกฎกระทรวงให้ใชบ้ ังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วย ผังเมือง และประชาชนท่ีนาเอาบ้านพักอาศัยมาให้บริการในรูปแบบโฮมสเตย์ ขอให้แก้ไขเรื่องจานวน ห้องพักของโฮมสเตย์ จากไม่เกิน ๔ ห้อง เป็นไม่เกิน ๘ ห้อง โดยไม่ให้ถือว่าเป็นโรงแรมตาม พระราชบญั ญตั ิโรงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗ ปัญหาเรื่องการประกอบธุรกิจโรงแรม รีสอร์ท และโฮมสเตย์ ท่ีไม่ชอบด้วย กฎหมายนั้น ได้มีคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๖/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ เรื่อง มาตรการส่งเสรมิ และพฒั นามาตรฐานการประกอบธรุ กิจโรงแรมบางประเภท ซึ่งมีสาระสาคญั เป็น การผ่อนปรนให้ โรงแรม ๒ ประเภท คือ ๑) โรงแรมที่บริการเฉพาะห้องพัก ๒) โรงแรมท่ีให้บริการ ห้องพักและห้องอาหาร หรือสถานท่ีสาหรับบริการอาหาร หรือสถานที่สาหรับประกอบอาหาร ได้รับ ยกเว้นการบังคับใช้กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยผังเมือง และข้อบัญญัติ ท้องถิ่นเร่ืองการกาหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้าย ใช้หรือเปล่ียนการใช้อาคาร ตามกฎหมายควบคุมอาคาร โดยให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม ๒ ประเภท ดังกล่าว แจ้งเจ้าพนักงาน ท้องถ่ินถึงการฝ่าฝืนประกอบธุรกิจโรงแรมโดยไม่ได้รับอนุญาต ฝ่าฝืนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมือง ฝ่าฝืนดัดแปลงอาคารโดยไม่ได้รับอนุญาต ฝ่าฝืนใช้อาคารประเภทควบคุม ฝ่าฝืนเปลี่ยนการใช้อาคาร โดยไม่ได้รับอนุญาต จากนั้นให้ปรับปรุงเปล่ียนแปลงอาคารให้เข้าลักษณะเป็นโรงแรมให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย โดยจะได้รับยกเว้นโทษทางอาญาตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม กฎหมายว่าด้วยผังเมือง กฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ อาคาร จนถึงวันท่ี ๑๘ สงิ หาคม ๒๕๖๔
๒๒๗ เมื่อพ้นวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ หากสถานท่ีพักที่มีจานวนห้องพกั ในอาคาร เดียวกันหรือหลายอาคารรวมกนั ไมเ่ กิน ๔ ห้อง และมจี านวนผ้พู กั รวมกนั ท้งั หมดไม่เกิน ๒๐ คน ซึง่ จัดตั้ง ข้ึนเพื่อให้บริการที่พักชั่วคราวสาหรับคนเดินทางหรือบุคคลอ่ืนใดโดยมีค่าตอบแทน อันมีลักษณะเป็น การประกอบกจิ การเพอื่ หารายได้เสรมิ และไดแ้ จ้งให้นายทะเบยี นทราบตามแบบทีร่ ฐั มนตรีกาหนด ซง่ึ ไม่ ถอื ว่าเป็นโรงแรมตามพระราชบญั ญัตโิ รงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๔ ของบทนิยาม คาว่า “โรงแรม” (๓) เช่น บ้านพัก รีสอร์ท โรงแรมขนาดเล็ก โฮมสเตย์ แห่งใด ไม่สามารถดาเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพ อาคารให้ถูกต้องตามกฎหมายได้ เน่ืองจากมีข้อจากัดเรื่องการใช้ประโยชน์ที่ดิน หรือมีข้อจากัดตาม กฎหมายอื่น เช่น กฎหมายป่าไม้ กฎหมายปฏิรูปท่ีดนิ ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบตามกฎหมาย รวบรวม ขอ้ เท็จจริง สภาพปญั หา และแนวทางแก้ไข เสนอคณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แห่งชาติ (คทช.) เพอื่ ให้มี ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั แนวทางแก้ไขปญั หาตอ่ คณะรฐั มนตรตี ่อไป ดังนั้น ปัญหาของผู้ประกอบการโรงแรม รีสอร์ท ท่ีก่อสร้างในพ้ืนท่ีท่ีต้องห้าม ตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผงั เมืองรวมตามกฎหมายว่าดว้ ยผงั เมือง นน้ั เปน็ ประเดน็ ปญั หาข้อกฎหมาย ท่ีจะต้องชั่งน้าหนักระหว่างการส่งเสริมให้มีการลงทุนเพ่ือให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กับการ รักษาส่ิงแวดล้อม วิถีชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชน จึงเป็นประเด็นที่จะต้องศึกษา ให้เกิดความ รอบคอบ จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิก วุฒิสภาพบประชาชน เพ่ือพิจารณาเสนอเรื่องไปยังคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เพื่อ ดาเนนิ การแก้ไขปญั หาตามหน้าทแี่ ละอานาจต่อไป สาหรับการขอให้แก้ไขเรื่องจานวนห้องพักของโฮมสเตย์ จากไม่เกิน ๔ ห้อง เปน็ ไมเ่ กนิ ๘ หอ้ ง โดยไม่ให้ถือวา่ เป็นโรงแรมตามพระราชบญั ญัตโิ รงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗ นนั้ จะต้องแก้ไข กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์การประกอบธรุ กจิ โรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๑ ซึ่งการแกไ้ ข กฎกระทรวงถือเป็นอานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงเห็นสมควรเสนอประเด็นปัญหา ดงั กล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชน เพ่ือพจิ ารณาเสนอเรอ่ื งไป ยังรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยต่อไป ๒.๒ สภาวัฒนาธรรมจงั หวัดชยั นาทขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรม กรณีนางประวงษ์ กานนท์รังสี ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท และนางกิตติยา กติ ตริ ตั นสนุ ทร รองประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั ชัยนาท ได้เสนอขอ้ ร้องเรียน สภาวัฒนธรรมจงั หวัด ชัยนาทขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรม เนื่องจากปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไขได้โดยใช้มาตรการในทางบริหาร จึงเห็นสมควร เสนอประเด็นปัญหาดังกล่าวไปยังคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน เพื่อพิจารณาเสนอเร่ืองไปยังหน่วยงานของรัฐที่กากับดูแลสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท เพือ่ ดาเนินการตามหนา้ ทแี่ ละอานาจตอ่ ไป
๒๒๘ ๒.๓ ประเดน็ การหลอกลวงซื้อสทิ ธิการเชา่ ซอื้ รถยนตห์ รือรถจกั รยานยนต์ นายอภิชัย รุ่งพึ่ง ประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนพัฒนาการบริหารงานยุติธรรม จังหวัดชัยนาท ไดม้ ีหนังสือกราบเรยี นประธานวฒุ ิสภา เรือ่ ง “ขอความเป็นธรรมและประสานหนว่ ยงาน ที่เก่ียวข้องอานวยความเป็นธรรมในการดาเนินคดีในคดีท่ีมีประชาชนได้รับความเสียหายจานวนมาก ” โดยมีข้อเท็จจริงสรุปได้ว่า มีการหลอกซ้ือสิทธิเช่าซ้ือรถยนต์และรถจักรยานยนต์จากผู้ เช่าซื้อ ซ่งึ นายอภชิ ัยฯ เปน็ ผู้เสยี หายคนหนึ่งจากขบวนการนี้ โดยมพี ฤติการณ์ในการกระทา คอื ผถู้ ูกกลา่ วหาจะ มาตดิ ต่อขอซื้อรถยนต์หรือรถจกั รยานยนตจ์ ากผเู้ สยี หายท่ผี ดิ นัดชาระคา่ เชา่ ซอื้ หรอื ไมส่ ามารถผอ่ นชาระ ค่าเช่าซื้อและได้ประกาศขายสิทธิเช่าซ้ือ (ขายดาวน์รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์) ผ่านทางส่ือต่าง ๆ เมือ่ ได้รบั มอบรถยนต์หรอื รถจักรยานยนตไ์ ปแล้ว ผู้ถูกกลา่ วหาจะไมผ่ ่อนชาระค่าเชา่ ซื้อให้กบั ผู้ให้เชา่ ซื้อ และเม่ือผู้เสียหายติดตามทวงถามและขอให้ผู้ถูกกล่าวหานารถยนต์มาคืน ปรากฏว่าไม่พบรถยนต์หรือ รถจักรยานยนต์และไม่สามารถติดตามรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์กลับคืนมาได้ ซ่ึงการกระทา ในลักษณะดังกล่าวน้ีได้เกิดขึ้นกับผู้เสียหายหลายรายในหลายจังหวัด และมีมูลค่าความเสียหายเป็น จานวนมาก จึงน่าเช่ือว่าเป็นการกระทาอย่างเป็นขบวนการ แต่เมื่อผู้เสียหายไปร้องทุกข์ต่อพนักงาน สอบสวน ปรากฏวา่ พนักงานสอบสวนรับแจ้งไวเ้ ป็นหลักฐานในรายงานประจาวนั เท่าน้ันแต่ไมไ่ ด้รับแจ้ง ความเป็นคดีอาญาเพื่อดาเนินคดีตามกฎหมาย โดยพนักงานสอบสวนให้เหตุผลว่าการกระทาดังกล่าว เป็นการสมยอมกนั ระหว่างผูข้ ายสทิ ธิเช่าซ้ือกบั ผูถ้ ูกกลา่ วหา และเป็นข้อพพิ าททางแพง่ ---------------------------------------- จังหวัดชยั นาท ณ ห้องประชุมสานกั งานชลประทานท่ี ๑๒ เขือ่ นเจา้ พระยา อาเภอสรรพยา วิธีการดาเนนิ กจิ กรรม ศกึ ษาดงู านสภาพปัญหา สถานการณน์ า้ และการจดั การน้าเขื่อนเจ้าพระยา
๒๒๙ ผลการดาเนินการ สมาชกิ วุฒสิ ภา ได้ศกึ ษาดงู านและและประชมุ รว่ มกับผอู้ านวยการสานักงานชลประทานที่ ๑๒ และบุคลากรท่ีเกีย่ วข้อง ในประเด็นสภาพปัญหา สถานการณ์น้า และการจดั การน้าเข่ือนเจ้าพระยาโดย รับทราบสถานการณ์น้าในปัจจุบันของเขื่อนเจ้าพระยา แนวทางการบริหารจัดการน้าในช่วงฤดูฝน ปี ๒๕๖๒ ตามแนวทางของกรมชลประทานมีมาตรการในการบริหารจัดการน้าเพ่ือให้ปริมาณน้าต้นทุนในอ่าง เกบ็ น้ามีเพียงพอสาหรับการใชน้ ้าตลอดฤดูฝนและเกบ็ กักไวใ้ ช้ในฤดแู ลง้ ต่อไป --------------------------------------------
๒๓๐ ครัง้ ที่ ๔ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จงั หวัดกลมุ่ ภาคกลาง วนั ที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี จังหวัดสุพรรณบุรี ณ เทศบาลตาบลแหลมพัฒนา อาเภอบางปลาม้า และเทศบาลตาบล ยา่ นยาว อาเภอสามชกุ วิธีการดาเนินกิจกรรม เปิดเวทีรบั ฟังและเปลย่ี นความคิดเห็น ประชาชน ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ . ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟังปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน โดยสมาชิกวุฒิสภาได้ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพ้ืนที่จังหวัดภาคกลาง รวมทั้งหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และนาเสนอกฎหมายทีน่ า่ สนใจ
๒๓๑ โดยนายวิทยา ผิวผ่อง สมาชิกวุฒิสภา รองประธานกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดภาคกลาง คนที่หน่ึง ได้กล่าวทักทายพูดคุยกับพ่ีน้องประชาชน พร้อมทั้ง อธิบายถึงวัตถุประสงคข์ องโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวัดภาคกลาง รวมทั้งหน้าที่ และอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จากนั้น นายวิทยา ผิวผ่อง ได้กล่าวเชิญให้ นายลักษณ์ วจนานวัช และพลเอก ดนัย มีชูเวท ตัวแทนคณะกรรมการฯ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแนะนาขอ้ กฎหมายให้แก่ประชาชนในตาบลบา้ นแหลมพฒั นา อาเภอบางปลาม้า จังหวดั สุพรรณบุรี ดังน้ี พลเอก ดนัย มีชูเวท สมาชิกวุฒิสภา ได้บรรยายความรู้เก่ียวกับกฎหมายโดยเฉพาะ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ชีวิตประจาวันของประชาชนในพนื้ ทีจ่ ังหวัดสุพรรณบุรีให้ประชาชนไดร้ ับฟงั ไดแ้ ก่ ๑. พระราชบัญญัติการเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ ซึ่งเป็นกฎหมายท่ีมีข้ึนเพื่อ กาหนดระยะเวลาการเช่านาและคา่ เช่านาเพ่ือให้เกดิ ความเป็นธรรมแก่ทงั้ ผ้เู ช่าและผู้ให้เชา่ ตลอดจนการ ห้ามคนตา่ งดา้ วเชา่ ท่ีดนิ เพอื่ ประกอบเกษตรกรรมดว้ ย ๒. พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซ่ึงเป็นกฎหมายท่ีมีขึ้นเพ่ือกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการทวงถามหน้ี ป้องกันการกระทาท่ีไม่เหมาะสมต่อลูกหนี้ ไม่ว่าจะเป็น การใช้ถ้อยคาทเ่ี ป็นการละเมดิ สทิ ธสิ ่วนบุคคลอยา่ งรุนแรง การคกุ คามโดยขู่เขญ็ การใช้กาลงั ประทุษร้าย หรอื การทาให้เสียช่ือเสียง และการสรา้ งความเดือดร้อนราคาญให้แกบ่ ุคคลอน่ื ๓. พระราชบัญญัติคุ้มครองประชาชนในการทาสัญญาขายฝากท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมหรือที่อยู่ อาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงเป็นกฎหมายทม่ี ีขึ้นเพ่ือการควบคมุ สัญญาขายฝากทด่ี นิ เพ่ือเกษตรกรรมและที่อยู่ อาศยั และอานวยความสะดวกแก่ประชาชนในการวางทรัพย์อนั เปน็ สนิ ไถ่ นายลกั ษณ์ วจนานวชั สมาชิกวฒุ ิสภา รองประธานกรรมการ คนท่ีสอง ได้กล่าวทกั ทายรอง ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชน และกล่าวว่าการลงพื้นท่ีในจังหวัด สุพรรณบุรีในครง้ั นี้ เปน็ นโยบายที่สาคัญทีจ่ ะทาให้สมาชกิ วุฒสิ ภาเข้าถงึ และเขา้ ใจประชาชนไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ และสามารถทางานประสานกับประชาชนเพ่ือพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติได้ จากนั้นได้กล่าวถึง เปา้ หมายของการปฏริ ปู ประเทศตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๗ ซึ่งได้แก่ ๑. ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างย่ังยืน ๒. สังคมมีความสงบสุขเป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพ่ือขจัดความเหล่ือมล้า ๓. ประชาชน มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง พร้อมกล่าวว่า การร่วมแสดงความคิดเห็นของประชาชนในครั้งน้ีย่อมเป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินการปฏิรูปประเทศ อกี ด้วย
๒๓๒ นายอนุศกั ด์ิ คงมาลัย สมาชกิ วุฒสิ ภา ได้กลา่ วถึงความสาคัญของการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ซ่งึ เกย่ี วข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ในด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เป็นการเสริมสรา้ ง ศักยภาพของชุมชนในการพึ่งพาตนเอง โดยการสนับสนุนให้ประชาชนสามารถรวมกลุ่มและมีเวทีกลาง เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และกล่าวถึงความสาคัญของการลงพ้ืนท่ีรับทราบปัญหาและ แนวทางในการร่วมกันแก้ไขปัญหาของสมาชิกวุฒิสภาและประชาชนในพ้ืนท่ี โดยได้แบ่งสภาพปัญหา ที่เกดิ ขึน้ ออกเปน็ ๖ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑. ดา้ นการเกษตร ๒. ด้านเศรษฐกจิ การค้า อุตสาหกรรม ๓. ด้านทรพั ยากรนา้ ส่งิ แวดลอ้ ม ๔. ดา้ นวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ๕. ด้านสังคม คุณภาพชีวติ และความปลอดภัย ๖. ดา้ นการมสี ่วนร่วมของคนในชุมชน โดยแบง่ เปน็ ๖ กล่มุ ย่อย เพ่อื ให้ประชาชนได้บอกกลา่ วถงึ สภาพปญั หาที่เกิดข้ึนในชมุ ชน โดยมี สมาชิกวุฒิสภาเข้าร่วมรับฟังสภาพปัญหาในแต่ละด้าน พร้อมทั้งให้คาแนะนาเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไข ปญั หาในเบ้ืองต้น ตลอดจนนาประเดน็ ปัญหาที่ประชาชนไมส่ ามารถแก้ไขไดด้ ้วยตนเองและต้องการความ ชว่ ยเหลือจากภาครัฐเข้าส่กู ารพจิ ารณาของสภาเพอ่ื อาศัยกลไกของวฒุ สิ ภาในการดาเนนิ การตอ่ ไป นายวิทยา ผิวผ่อง ได้กล่าวสรุปการเสวนาระดมความคิดเห็นพร้อมกล่าวขอบคุณประชาชน ทีม่ ีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และฝากข้อคิดเอาไว้ว่าทุกปัญหาย่อมมีหนทางแก้ไขข้ึนอยู่กับว่าทุกคน ไดร้ ่วมมอื กันอย่างเตม็ ท่ีแล้วหรือยัง สาหรับปัญหาทย่ี ากเกนิ กว่าจะแกไ้ ขได้ด้วยตนเอง ก็ให้หาคนมาชว่ ย แก้ไขปัญหานั้นเสีย นอกจากน้ี นายลักษณ์ วจนานวัช ได้กล่าวเพ่ิมเติมว่า เพ่ือให้ชุมชนเข้มแข็งและ สามารถพึ่งพาตนเองได้ สมควรจะมีวิทยากรอาสาสมัครคอยให้คาแนะนาแก่ประชาชนให้ประชาชนได้มี ความรู้ เพ่อื ที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยไม่ต้องรอคอยความชว่ ยเหลอื จากภายนอกแตเ่ พียงอย่างเดียว ต่อมาเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา สมาชิกวุฒิสภา พร้อมคณะ ได้เดินทางมาถึงเทศบาลตาบล ยา่ นยาว อาเภอบางปลาม้า จังหวดั สพุ รรณบรุ ี โดยมีนายจริ ศกั ด์ิ ชานาญภกั ดี นายอาเภอสามชุก กล่าวตอ้ นรับคณะ นายอนุศักด์ิ คงมาลัย กรรมการ ได้กล่าวทักทายประชาชนและได้แนะนาสมาชิกวุฒิสภา ทีไ่ ด้เดินทางมาในการลงพ้ืนท่ีพบปะประชาชนในครั้งนี้ นายวิทยา ผิวผ่อง รองประธานกรรมการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่ จังหวัดภาคกลาง คนท่ีหนึ่ง ได้กล่าวทักทายพูดคุยกับประชาชน พร้อมทั้งอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของ โครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนในพื้นที่จังหวัดภาคกลาง รวมทั้งกล่าวถึงการแสดงออกถึงการมี
๒๓๓ สว่ นรว่ มของประชาชนในปัจจุบันว่า นอกจากจะมีบทบัญญัติของกฎหมายขึน้ มารองรับแล้ว ประชาชนเอง ยังต่ืนตัวและแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมอย่างหลากหลาย ซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาท้องถิ่นและ ชุมชน จากน้ันได้กล่าวเชิญให้นางฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร และพลเอก ดนัย มีชูเวท ตัวแทนคณะกรรมการฯ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแนะนาข้อกฎหมายให้แก่ประชาชนในตาบลบ้านย่านยาว อาเภอ สามชุก จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ดงั น้ี นางฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร ได้กล่าวทักทายประชาชนและผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ และ กล่าวถึงหน้าท่ีและอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ว่า วฒุ ิสภาตามบทบัญญัติหลักมีหน้าท่ีและอานาจในการพิจารณาและกลั่นกรองกฎหมาย การควบคุมการ บริหารราชการแผ่นดิน การให้คาแนะนาหรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดารงตาแหน่ง นอกจากนี้ ตามบท เฉพาะกาลยังกาหนดให้วุฒิสภามีหน้าที่และอานาจในการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติเพื่อดาเนินการตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ การพิจารณา ร่างพระราชบัญญตั ทิ ีว่ ุฒสิ ภาหรือสาผู้แทนราษฎรยบั ยง้ั ไว้ตามมาตรา ๑๓๗ (๒) หรือ (๓) ของรัฐธรรมนญู และการพจิ ารณาให้ความเห็นชอบของบุคคลซึง่ สมควรไดร้ ับการแต่งตัง้ เปน็ นายกรัฐมนตรดี ้วย พลเอก ดนัย มีชูเวท ได้บรรยายความรู้เกี่ยวกับกฎหมายโดยเฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจาวันของประชาชนในพืน้ ที่ซ่งึ ส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรให้ประชาชนไดร้ ับฟงั ไดแ้ ก่ พระราชบัญญตั ิการเช่าที่ดินเพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ พระราชบัญญตั ิการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองประชาชนในการทาสัญญาขายฝากที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือทอ่ี ยูอ่ าศยั พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ตลอดจนได้ให้คาแนะนาให้ประชาชนศึกษา หาข้อมูลด้านกฎหมายเพมิ่ เติมดว้ ยตนเองโดยการสืบค้นผ่านระบบอินเทอร์เนต็ โดยประชาชนไดโ้ ต้ตอบ และร่วมแสดงความคิดเห็นตลอดการบรรยาย นายอนุศักดิ์ คงมาลยั ไดก้ ล่าวทักทายประชาชนและกล่าวถงึ ความสาคัญของการลงพน้ื ที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อรับทราบปญั หาและแนวทางในการร่วมกันแก้ไขปัญหาของสมาชิกวุฒิสภาและ ประชาชนในพน้ื ที่ โดยไดแ้ บ่งสภาพปัญหาทเ่ี กิดข้นึ ออกเปน็ ๖ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑. ดา้ นการเกษตร ๒. ด้านเศรษฐกจิ การคา้ อตุ สาหกรรม ๓. ดา้ นทรัพยากรนา้ ส่งิ แวดลอ้ ม ๔. ดา้ นวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ๕. ด้านสังคม คณุ ภาพชวี ิตและความปลอดภัย ๖. ด้านการมสี ว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน
๒๓๔ เวลา ๑๔.๓๐ นาฬิกา กจิ กรรมระดมความคดิ เหน็ โดยแบ่งเปน็ ๖ กลมุ่ ยอ่ ย เพื่อให้ประชาชน ไดบ้ อกกล่าวถงึ สภาพปัญหาทเี่ กิดข้ึนในชมุ ชน โดยมีสมาชกิ วุฒิสภาเขา้ รว่ มรับฟงั สภาพปญั หาในแตล่ ะดา้ น พร้อมทั้งให้คาแนะนาเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ตลอดจนนาประเด็นปัญหาท่ีประชาชน ไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองและต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐเข้าสู่การพิจารณาของวุฒิสภา เพอ่ื อาศัยกลไกของวฒุ ิสภาในการดาเนินการตอ่ ไป --------------------------------------------
๒๓๕ คร้งั ท่ี ๕ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ จังหวัดกล่มุ ภาคกลาง วนั ที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ จังหวดั สมุทรสาครและจงั หวดั เพชรบุรี จังหวัดสมุทรสาคร ห้องประชุมศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน วัดกลางอ่างแก้ว อาเภอเมือง สมุทรสาคร วธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม พบกลุม่ เปา้ หมายตามวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื พบปะ เยยี่ มเยอื น และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ผลการดาเนินการ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟังปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน โดยสมาชิกวุฒิสภาได้ช้ีแจงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ในพ้ืนท่ีจังหวัดภาคกลาง รวมท้ังหน้าที่และอานาจของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และนาเสนอกฎหมายท่นี า่ สนใจ อาทิ นายวิทยา ผิวผ่อง สมาชิกวุฒิสภาและรองประธานกรรมการ คนที่หน่ึง ได้กล่าวถึง วตั ถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชนในพ้ืนท่จี ังหวัดภาคกลาง รูปแบบ ท่ีมา และบทบาท หน้าท่แี ละอานาจของสมาชิกวุฒิสภา โดยการรบั ฟังสภาพปญั หาและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากประชาชน ในครั้งนี้จะนาไปสู่การดาเนินนโยบายของฝ่ายบริหาร ทั้งนี้ โดยอาศัยกลไกของวุฒิสภาในการตรวจสอบ
๒๓๖ กลั่นกรองกฎหมายและการควบคมุ การบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัด การปฏิรูปประเทศ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปฏิรูป ประเทศด้านกฎหมายซ่ึงต้องมีการประเมนิ ผลสมั ฤทธข์ิ องกฎหมายทีป่ ระกาศใช้บงั คับแล้วตอ่ ไป จากนั้นคณะกรรมการฯ ได้เปิดสื่อวีดีทัศน์เพื่อแนะนาหน้าที่และอานาจของวุฒิสภาตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา นายจเด็จ อินสวา่ ง สมาชกิ วุฒสิ ภาและที่ปรึกษาคณะกรรมการ ได้กลา่ วว่า ปจั จุบันประเทศ ไทยมีกฎหมายเป็นจานวนมากและจาเป็นต้องทาความเข้าใจว่ากฎหมายแต่ละฉบับได้บังคับใช้ในเร่ืองใด ซ่ึงการจัดโครงการในคร้ังนี้ สมาชิกวุฒิสภาจะได้นาความรู้ทางกฎหมายมาเผยแพร่แก่ประชาชนและเพื่อรับ ฟังความคิดเหน็ ของประชาชนดว้ ย โดยกฎหมายฉบบั หนึง่ ท่ถี ือวา่ เป็นเรอื่ งใกล้ตวั และมคี วามจาเปน็ ทปี่ ระชาชน ต้องรับรู้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอันเป็นเท็จ บิดเบือน หรือปลอมแปลง อันสร้างความเสยี หาย วุ่นวาย และลกุ ลามเปน็ ประเดน็ ในโลกสงั คมออนไลน์หรือฟอ้ งร้องเป็นคดคี วามกัน และหากฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษทางอาญา ก็คือ “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐” ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยบทบัญญัติท่ีสาคัญ คือ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ ซ่ึงมี หลักการว่า ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลง แหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเปน็ การรบกวนการใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ของบุคคลอ่ืนโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และหากการส่งข้อมูลนั้นมีลักษณะเป็นการก่อให้เกิด ความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รับข้อมูลโดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์ เพื่อปฏิเสธการตอบรบั ไดโ้ ดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ท้ังน้ี ถ้าการกระทาความผิด ดังกล่าวเป็นการกระทาตอ่ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์หรอื ระบบคอมพวิ เตอรท์ ีเ่ กย่ี วกับการรกั ษาความมนั่ คงปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือโครงสร้างพ้ืนฐานอนั เป็น ประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่ ๑ - ๗ ปี และปรับต้งั แต่ ๒๐,๐๐๐ - ๑๔๐,๐๐๐ บาท นอกจากนี้ มาตรา ๑๔ ยังกาหนดว่า ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกิน ๕ ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ทัง้ จาท้ังปรับ (๑) โดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลท่ีบิดเบือนหรือปลอมไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ ประชาชน อนั มใิ ช่การกระทาความผิดฐานหม่นิ ประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงขอ้ มลู คอมพิวเตอร์อนั เป็นเทจ็ โดยประการที่นา่ จะเกิดความ เสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงในทาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 571
Pages: