Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

@เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Published by Rujira P., 2021-11-08 13:38:37

Description: @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Search

Read the Text Version

รายงานการวจิ ัย การประเมนิ หลักสูตรโรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ิราพร รามศริ ิ หวั หนา้ โครงการวิจยั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณชพงศ์ อดุ มศรี ผรู้ ่วมวิจัย รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท ดร.สุมติ ร สวุ รรณ ผู้ร่วมวจิ ัย งานวิจยั นไ้ี ดร้ ับทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั ในโครงการวิจยั ม่งุ เป้า ประจาปี 2562 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ปที ี่พมิ พ์เผยแพร่ 2564

Curriculum Evaluation of Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center According to the Basic Education Core Curriculum 2008 (Development Curriculum 2017) By Asst. Prof. Rujiraporn Ramsiri, Ph.D. Asst. Prof. Nachapong Udomsri, M.Ed. Assoc.Prof.Wg.Cder. Sumit Suwan, Ph.D. Supported by Target research project for the year 2019 Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus 2021

คำนำ การวิจัยการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เล่มน้ี เป็นการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน ของโรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา หลังจากท่ีมีการใช้หลักสูตรฉบับน้ีมาแล้วเป็นระยะเวลา 2 ปีการศึกษา แต่เป็นการนา หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับพ.ศ. 2551 มาปรับปรุงตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 1239/2560 เรื่องใหใ้ ช้มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การประเมินหลักสูตรคร้ังนี้ มี เป้าหมายสาคัญคือ เน้นการประเมินตามแนวคิดของ Stufflebeam (2007) ตามรูปแบบ CIPP Model เปน็ หลกั โดยพิจารณาความสอดคล้องของผลท่ีได้กับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และได้ใช้แนวคิดที่มีการขยาย Model เป็น CIPPI ให้ครอบคลุมการประเมิน 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านบริบท ด้านปัจจัยนาเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยเก็บรวบรวม ข้อมูลจากนักเรียน อาจารย์ ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ปกครอง รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ผลจากการประเมินหลักสูตรจะเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การปฏิบัติที่พึง ประสงค์ และเป็นแนวทางใหส้ ถานศึกษาเตรียมก้าวสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) เพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนใหม้ คี วามสามารถเชงิ สมรรถนะ ซึ่งประกอบด้วย มีความ รอบรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ประสบผลสาเร็จ และสร้างสรรค์ มีบุคลิกภาพทีด่ ี เปน็ ผนู้ า และดารงคณุ ธรรมตามทส่ี ังคมตอ้ งการ การวิจัยครั้งน้ีได้รับความอนุเคราะห์ในด้านข้อมูลต่างๆ จาก ผู้บริหารระดับคณะใน มหาวิทยาลัยท่ีมีโรงเรียนสาธิตและระดับโรงเรียน อาจารย์ผู้สอน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้ที่ เก่ียวข้อง ขอขอบคุณผู้บริหารและคณะกรรมการโครงการวิจัยมุ่งเป้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ท่ีได้กรุณาสนับสนุนทุนวิจัย ประจาปี 2562 ความสาเร็จจากผลการประเมิน หลักสตู รครัง้ นจี้ ะชว่ ยพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล รวมท้ังกิจกรรม และ สง่ิ สนบั สนุนตา่ ง ๆ ที่จาเปน็ ตอ่ การพฒั นาหลักสตู รใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลต่อไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศริ ิ) หัวหนา้ โครงการวิจยั 24 กันยายน 2564

บทคัดยอ่ ช่ือเร่อื ง การประเมนิ หลกั สูตรโรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คำสำคญั วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร ชื่อผู้วจิ ยั ปีทพี่ ิมพ์เผยแพร่ แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) การประเมนิ หลักสูตร/ โรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน/ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศิริ หัวหน้าโครงการวจิ ยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ณชพงศ์ อุดมศรี ผู้รว่ มวิจยั รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท ดร.สุมติ ร สุวรรณ ผ้รู ่วมวิจยั พ.ศ. 2564 การวิจัยคร้งั นี้มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื 1) ศกึ ษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 2) ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบริบท ด้าน ปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และ หลักสูตร English Program และ3) เสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรฯ โดยจำแนกเป็น หลักสูตรปกติ และหลกั สูตร English Program ใช้วิธีการประเมินแบบ CIPPI Model มีองค์ประกอบ 5 ด้านคอื ด้านบรบิ ท ด้านปจั จยั นำเขา้ ดา้ นกระบวนการ ด้านผลผลิต และดา้ นผลกระทบ ผ้ใู หข้ ้อมูล ประกอบด้วย นักเรียนหลักสูตรปกติ 454 คน หลักสูตร English Program 27 คน อาจารย์ผู้สอน หลักสูตรปกติ 89 คน หลักสูตร English Program 22 คน ผู้บริหาร 19 คน และผู้ปกครองหลักสูตร ปกติ 15 คน และหลักสูตร English Program 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการตรวจเอกสาร หลักสูตร การสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบ บันทกึ เอกสาร แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ และประเด็นสนทนากลมุ่ สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล คือ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะหเ์ นือ้ หา ผลการวจิ ัยมดี ังนี้ 1. สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษา พบว่ามีสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันท่ีควรต้องเร่งแกไ้ ขปรับปรุงและ พัฒนาคือ การนำหลักสูตรไปใช้ โดยครูไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน ซ่ึงเกิดจากความไม่พร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ีและไม่เข้าใจหลักสูตร สถานศึกษา และมีความต้องการจำเป็นมากที่จะต้องมีการประเมินหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและ พัฒนา โดยอาจประเมินทุกปีการศึกษาเพ่ือความต่อเนื่องหรือประเมินเมื่อครบรอบการใช้หลักสูตร อยา่ งน้อย 3 ปี 2. ผลการประเมินหลักสูตรฯ ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของ หลักสูตรปกติ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบอยู่ใน ข

ระดับมาก ส่วนด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต มีความคิดเห็นอยู่ใน ระดบั ปานกลาง สำหรับหลักสูตร English Program พบว่า ความคิดเห็นในภาพรวมและทุกด้านอยู่ ในระดบั มาก โดยด้านผลกระทบอยูใ่ นระดบั มากเป็นลำดับท่ี 1 3. แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรฯ หลักสูตรปกติ พบว่า ควรปรับโครงสร้าง เวลาเรียนให้สามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้มากขึ้น สถานศึกษาควรมีอิสระในการออกแบบ หลักสูตรได้อย่างแท้จริง ควรสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือประเมินที่สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมาย ของหลักสูตร ปรับปรุงวิสัยทัศน์ของหลักสูตรให้เน้นการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างทักษะการคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม เพิ่มเติมการคิดข้ันสูง กำหนด Creative Based, Technology Based ไว้ ในกรอบแนวคิดหลักสูตร ร่วมกับ Project Based และCareer Based โดยเน้น Competency Based และแนวทางการจัดหลักสูตรควรเน้นการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ให้มากขึ้น อาจารย์และ เจ้าหน้าท่ีควรเป็นต้นแบบที่ดีให้นักเรียน การเรียนการสอนควรเน้นปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี มีการ จัดการความรู้ร่วมกันอย่างต่อเน่ือง มีระบบการพัฒนาวิชาชีพครูแบบพลิกโฉมเพื่อก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง มี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” ที่ช่วยให้ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายของการ พัฒนาหลักสูตร และที่สำคัญที่สุดคือการสร้างความเข้าใจร่วมกันอย่างกัลยาณมิตรของทุกฝ่ายท่ี เก่ียวข้องและการมีเจตคติท่ีดีต่อหลักสูตร สำหรับหลักสูตร English Program พบว่า ส่วนใหญ่มี แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรฯ เช่นเดียวกับหลักสูตรปกติ และมีส่ิงท่ีเพิ่มเติมคือ ควรมี การติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำ แผนพัฒนาสถานศึกษา ควรเพิ่มความเข้มข้นของการใหบ้ ริการแนะแนว และพัฒนานักเรียน EP ให้มี ความเปน็ ผ้นู ำ ค

Abstract Research title : Curriculum Evaluation of Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Keywords : Development Center According to the Basic Education Core Researcher : Curriculum 2008 (Development Curriculum 2017) Year : Curriculum Evaluation/ Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus/ Basic Education Core Curriculum Asst. Prof. Rujiraporn Ramsiri, Ph.D. Asst. Prof. Nachapong Udomsri, M.Ed. Assoc.Prof.Wg.Cder. Sumit Suwan, Ph.D. 2021 The objectives of this research were; 1) to study the problematic condition of the current educational institute curricula and need to assess the educational institute curriculum, 2) to evaluate of Kasetsart University Laboratory school Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center According to the Basic Education Core Curriculum 2008 (Development Curriculum 2017) in context, inputs, process, product and impact classified into regular courses and English Program courses and 3) to propose guidelines for development and improvement of the curriculum classified as regular courses and English Program courses using the CIPPI Model assessment method, there were 5 components which were context, input, process, product and impact. Informant consisted of 454 regular courses students, 27 English Program students, 89 regular courses teachers, 22 English Program teachers, 19 administrators, 15 regular courses parents and 5 English program parents. The data were collected by reviewing of course materials, questionnaires, interviews, and group discussions. Research tools were document recording form, questionnaire, interview form, and group discussion issues. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results of research were as follows. 1. Problems in the current educational institute curricula and the need for assessment of the educational institute curricula it was found that there were problems in the current educational institutes' curricula that should be accelerated to be corrected, improved and developed. Implementing the course, teachers were unable to fully develop the quality of learners to reach the goals of learners in the 21st century due to their lack of readiness to perform their duties and lack of ง

understanding of the curriculum and the need for curriculum assessment for improvement and development. It might be assessed every academic year for continuity or at least 3 years after the completion of the course. 2. Results of the curriculum evaluation according to the opinions of students and teachers of the regular curriculum, it was found that the overall level was at a moderate level and had a high level of opinion on the impact. Context, input, process and product there were a moderate level of opinion. For the English Program curriculum, it was found that the overall opinion and all aspects were at a high level, in terms of impact was at the highest level, ranked No. 1 3. Guidelines for the development and improvement of the regular curriculum, it was found that the structure of the study time should be adjusted so that more courses could be organized according to the focus. School should have the freedom to truly design their curriculum. Assessment tools should be created and developed that reflect the outcomes for achieving the course goals. Improve the vision of the course to focus on educational management to enhance creativity and innovation skills. Adding more advanced thinking, setting creative based, technology based in the curriculum concept together with project based and career based, emphasizing competency based and curriculum guidelines should emphasize more creative integration. Teachers and staff should be good role models for students. Teaching should focus on practice rather than theory. There was ongoing knowledge management. There was a revolutionary teacher professional development system to keep pace with the changes. There was a “curricular development model” that helps the performance to achieve the goals of curriculum development and most importantly building a good understanding of all parties involved and having a good attitude towards the curriculum. For the English Program curriculum, it was found that most of them had guidelines for developing and improving the curriculum, same as regular course and there was something more there should be a systematic follow-up on the results of the course use and apply the results of the curriculum assessment to be used in the preparation of educational institution development plans should increase the intensity of guidance services and develop English Program students to be leaders. จ

สารบญั คำนำ หนา้ บทคดั ย่อภาษาไทย............................................................................................................. บทคัดย่อภาษาองั กฤษ........................................................................................................ ข สารบัญ ............................................................................................................................. ง สารบญั ตาราง..................................................................................................................... ฉ สารบัญแผนภาพ ................................................................................................................ ช ฎ บทท่ี 1 1 บทนำ..................................................................................................................... 1 3 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา................................................................ 7 กรอบแนวคิดการวจิ ยั ............................................................................................ 8 คำถามการวจิ ัย...................................................................................................... 8 วตั ถุประสงค์การวจิ ัย............................................................................................. 11 ขอบเขตการวิจยั ................................................................................................... 13 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ.................................................................................................. 14 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั ................................................................................................... 15 ขอ้ พจิ ารณาดา้ นจรยิ ธรรมการวิจยั ในมนุษย์ (Ethical consideration)................. 2 วรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้อง ........................................................................................... 15 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้องกับหลกั สตู รและการบริหารจดั การ 30 หลักสตู ร ............................................................................................................... แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เก่ยี วข้องกบั รูปแบบการประเมนิ หลกั สูตร .............. 69 หลกั สูตรโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน 105 ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 105 พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ....................................................... 106 3 วิธีดำเนินการวิจยั ................................................................................................. 107 กลุ่มเปา้ หมายท่ีใช้ในการวิจยั ................................................................................ 118 แบบแผนการวจิ ัยเชิงประเมิน .............................................................................. 121 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั ........................................................................................ 122 การเก็บรวบรวมข้อมูล .......................................................................................... 122 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ............................................................................................... สถิติท่ีใชใ้ นการวิจัย ............................................................................................... การนำเสนอข้อมลู ................................................................................................. ฉ

บทท่ี หน้า 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ............................................................................................ 123 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ทว่ั ไปของกล่มุ เปา้ หมาย ..................................................... 123 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลตามวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย ................................................... 127 ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพปญั หาของหลักสตู รสถานศึกษาในปัจจุบนั และ ความต้องการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา .......................................................... 127 ตอนท่ี 2 ผลการประเมินหลกั สตู รโรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลาง 144 การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวม และเปน็ รายด้าน 5 ดา้ น คือ ดา้ นบริบท ด้านปัจจยั นำเข้า ดา้ นกระบวนการ 205 ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเปน็ หลกั สูตรปกติ และหลักสตู ร 259 English Program................................................................................................ 260 ตอนท่ี 3 ผลการเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรยี นสาธติ 276 แห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการ 299 ศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 299 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสตู ร 306 English Program................................................................................................ 307 313 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ..................................................................... 314 สรปุ ผลการวิจัย..................................................................................................... อภิปรายผลการวิจยั .............................................................................................. 317 ข้อเสนอแนะในการวิจัย ........................................................................................ 319 ข้อเสนอแนะในการนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้..................................... 374 ข้อเสนอแนะเพ่ือการวจิ ัยครัง้ ต่อไป............................................................... รายการอ้างอิง .............................................................................................................. ภาคผนวก .................................................................................................................... ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชี่ยวชาญพจิ ารณาคุณภาพเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจัย ...... ภาคผนวก ข รายนามผทู้ รงคุณวฒุ ิสำหรบั การสมั ภาษณป์ ัญหาและแนวทาง การพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษา ................................ ภาคผนวก ค เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ................................................................ ประวัตผิ ู้วจิ ยั ................................................................................................................ ช

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 1 การประเมนิ หลกั สตู รเพ่ือการตัดสนิ ใจเกยี่ วกบั หลกั สูตร........................................ 50 2 บทบาทการประเมนิ หลกั สูตรในแตล่ ะชว่ ง ............................................................ 51 3 วัตถุประสงค์ของการประเมนิ หลกั สตู รในแต่ละดา้ นตามแนวคิดของ CIPP…......... 52 4 ประเด็นการประเมนิ ตามองค์ประกอบของการประเมนิ หลักสตู ร .......................... 106 5 ความสัมพนั ธข์ องการวิเคราะหข์ อ้ มูล .................................................................... 121 6 ข้อมูลทว่ั ไปของนักเรยี นหลักสูตรปกตแิ ละหลักสูตร English Program................ 123 7 ข้อมลู ทัว่ ไปของอาจารย์ผ้สู อนหลกั สตู รปกติและหลักสตู ร English Program ...... 125 8 ข้อมูลทั่วไปของผบู้ รหิ ารโรงเรียน ……................................................................... 126 9 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผปู้ กครอง..................................................................................... 127 10 ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารโรงเรยี นเกีย่ วกบั สภาพปญั หาของหลกั สตู รสถานศึกษา ในปจั จบุ นั และความตอ้ งการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา ........................................... 129 11 ผลการสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นทม่ี ีตอ่ หลักสูตรโรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลักสตู รปกติ .............................................................. 144 12 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอ่ หลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) หลกั สูตร English Program ....................................... 154 13 ผลการศึกษาความคดิ เหน็ ของอาจารย์ทมี่ ีตอ่ หลักสูตรโรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตรปกติ .............................................................. 161 14 ผลการศกึ ษาความคดิ เห็นของอาจารย์ท่ีมีตอ่ หลักสูตรโรงเรียนสาธติ แห่ง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) หลกั สตู ร English Program ....................................... 172 15 ผลการตรวจสอบองคป์ ระกอบและคุณภาพหลักสตู รสถานศึกษา .......................... 183 16 ผลการวเิ คราะห์ความเหมาะสมของรายวชิ าในหลกั สูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสตู รปกติ .............................................................. 189 ซ

ตารางท่ี หน้า 17 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของรายวิชาในหลกั สตู รโรงเรียนสาธติ แห่ง 193 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา 195 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 196 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลักสตู ร English Program 198 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น..................................................................................... 201 226 18 ผลการวิเคราะหค์ วามเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนในหลักสตู ร 243 โรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) หลักสูตรปกติ ................................ 19 ผลการวเิ คราะห์ความเหมาะสมของกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นในหลกั สูตร โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ..................................................................................... 20 ความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนท่ีมีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวม และจำแนกเป็นรายดา้ น ของ หลักสูตรปกติ ....................................................................................................... 21 ความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารยผ์ สู้ อนท่ีมตี ่อหลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ในภาพรวม และจำแนกเป็นรายด้าน ของหลักสตู ร English Program................................................................................................ 22 ผลการสงั เคราะห์ปัญหาและแนวทางการพฒั นาและปรับปรุงหลักสูตร โรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ัยและ พฒั นาการศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลกั สูตรปกติ จำแนกตามองค์ประกอบ 5 ดา้ น ของการประเมนิ หลกั สตู รโดยใช้ CIPPI Model .................................................... 23 ผลการสงั เคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ยว์ จิ ยั และ พัฒนาการศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program จำแนกตามองคป์ ระกอบ 5 ด้าน ของการประเมนิ หลักสตู รโดยใช้ CIPPI Model......................................... ฌ

สารบัญแผนภาพ แผนภาพท่ี หนา้ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ยั ............................................................................................ 7 2 ความสมั พันธ์ระหวา่ งองค์ประกอบทางการศึกษา.................................................. 41 3 รูปแบบการประเมินของ Provus .......................................................................... 45 4 ประเภทและความสัมพนั ธข์ อง Stufflebeam ตอ่ สิ่งที่คาดหวงั และสง่ิ ที่เปน็ จรงิ ... 47 5 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการประเมินผลกบั การตดั สนิ ใจ............................................ 49 6 ความคิดเหน็ ของนักเรียนและอาจารย์ผสู้ อนของหลกั สูตรปกติทม่ี ตี ่อหลักสตู ร 200 โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 203 พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ....................................................... 7 ความคดิ เหน็ ของนักเรียนและอาจารย์ผูส้ อนของหลักสตู ร English Program ที่มตี อ่ หลักสูตรโรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)...................... ญ

1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา ความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านต่างๆ ในปัจจุบัน มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ การเมืองและสงั คมเปน็ อย่างมาก การศึกษาจงึ เป็นเครื่องมือชี้นำในการพัฒนาคนในชาติให้ มีความเจริญทางด้านความคิด สติปัญญาเพื่อให้ก้าวทันความเจริญและความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน การจัดการศึกษาที่มคี ุณภาพชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการของผ้เู รียนและสังคม ส่ิงที่ผู้สำเร็จการศึกษา ได้รับคือ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ค่านิยม และคุณสมบัติต่างๆ ครบถ้วนตามท่ีหลักสูตร ต้องการและตามความคาดหวังของสังคม องค์ประกอบสำคัญของระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพคือ หลักสูตร เพราะหลักสูตรเปรียบเสมือนแผนแม่บทท่ีใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนท้ังใน ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ วธิ กี ารหรือกระบวนการนำหลักสตู รไปใช้เปรียบเสมอื นการนำแผนไปสกู่ าร ปฏิบัติในระดับสถานศึกษา (Beauchamp, 1981: 28) หลักสูตรท่ีมีคุณภาพเมื่อนำไปใช้ต้องมีการ ประเมินอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับในการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรท่ีเป็นปัจจุบัน การ ประเมินหลักสูตรอย่างสม่ำเสมอน้ันเป็นสาระสำคัญส่วนหนึ่งของแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จาก ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579 แผน ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2560-2571 คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา หลักสูตรเพื่อพัฒนากำลังคนของประเทศให้ก้าวทันกับการเปล่ียนแปลง ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาทาง การศึกษาเป็นไปตามวิสัยทัศน์ของประเทศท่ีมีความจำเป็นต้องพัฒนาตามบริบทสถานการณ์ของโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โรงเรียนจึงจำเป็นต้องนำยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ ยทุ ธศาสตร์ของสถาบันที่สังกัดมาใชเ้ ป็นกรอบแนวคิดในการออกแบบหลักสูตร และประเมินหลักสูตร เพื่อการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพของครู และนักเรียน รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาต่อไป การประเมินหลักสูตรทำให้ทราบถึงคุณค่าของหลักสูตรนั้น ๆ เพ่ือท่ีจะได้นำไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การประเมินหลักสูตรจึงเป็นข้ันตอนท่ีสำคัญย่ิงขั้นตอน หน่ึงของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ทำให้ได้ข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรให้ เหมาะสม (ปิยะ ศิลากุล, 2550: 1) โดยการกำกับ ติดตาม และการประเมินผลการใช้หลักสูตรยังคง ตอ้ งดำเนินการอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพื่อนำผลมาพจิ ารณาปรบั ปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การ วัดและประเมินผล ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกยุคปัจจุบัน กอปรกับโลกท่ีมีการ เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาการใหม่ๆ หลักสูตรจึงตอ้ งมีการปรบั ปรุงพัฒนาเป็นพลวัต เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ บริบทสังคมโลก และการประเมินผลการใช้หลักสูตรจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญเพ่ือท่ีจะปรับปรุง

2 พัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพอยู่เสมอ ทั้งน้ีการประเมินผลการใช้หลักสูตร เป็นกระบวนการรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับหลักสูตรเพ่ือนำมาตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพของ หลกั สูตรน้ัน การประเมินผลหลกั สูตรจงึ เป็นข้ันตอนหน่ึงท่สี ำคัญของการพัฒนาหลักสตู ร เพ่ือใหท้ ราบ ว่า หลักสูตรท่ีใช้อยู่ได้ผลตามความมุ่งหมายที่กำหนดไว้เพียงใด มีปัญหา หรืออุปสรรคใดบ้างจะได้ แก้ไข ปรับปรุง พัฒนาต่อไป การประเมินหลักสตู รจะต้องครอบคลมุ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร โดย มจี ดุ มุ่งหมายของประเมินหลักสูตร ดังท่วี ชิ ัย วงษ์ใหญ่ (2554) ใจทพิ ย์ เช้ือรตั นพงษ์ (2539) และสนุ ยี ์ ภู่พันธ์ุ (2546) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรในทำนองเดียวกันพอสรุปได้เป็น 3 ประเด็น คือ 1) เพ่ือปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่างๆที่พบในองค์ประกอบของหลักสูตร ระบบการบริหาร หลักสูตร การนิเทศกำกับดูแล การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน 2) เพื่อหา คุณค่าของหลักสูตรดูว่าหลักสูตรท่ีจัดทำข้ึนนั้นสนองวัตถุประสงค์ท่ีหลักสูตรน้ันต้องการหรือไม่ และ ช่วยในการตดั สินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอกี หรือควรยกเลกิ การใช้หลักสูตรเพียงบางสว่ น หรือยกเลิก ทัง้ หมด และ3) เพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตร คือ ผู้เรยี นมกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากการ ผ่านกระบวนการทางการศึกษามาแล้วตามหลักสูตรว่าเป็นไปตามความมุ่งหวังหรือไม่ นอกจากนี้ ใน การประเมินหลักสูตร ควรมีการตรวจสอบเป็นระยะ ซ่ึงโดยท่ัวไปจะแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การประเมินหลักสูตรก่อนนำหลักสูตรไปใช้ ระยะท่ี 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดำเนินการใช้ หลักสูตร และระยะที่ 3 การประเมินหลักสูตรหลังการใช้หลักสูตร (สุนีย์ ภู่พันธุ์, 2546: 252) เกณฑ์ การประเมินหลกั สตู รคอื ต้องมีความเที่ยงตรง มคี วามเช่อื ถอื ได้ มีความเปน็ ปรนัย และมีประสิทธิภาพ สำหรับรูปแบบการประเมินมีอยู่หลายรูปแบบ ดังน้ันในการออกแบบประเมิน ผู้ประเมินจะต้อง พิจารณาว่าจะดำเนินการประเมินอย่างไร จึงจะทำให้ผลการประเมินถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง ครอบคลุมและตอบสนองความต้องการของผู้ที่จะใช้ผลประเมิน ซึ่งจากการวิเคราะห์รูปแบบการ ประเมินท่ีใช้ในการประเมินหลักสูตรครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้การบูรณาการรูปแบบการประเมินที่ยึด จุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal Attainment Model) ตามแนวคิดของTyler (1969) รูปแบบการ ประเมินหลักสูตรที่ยึดเกณฑ์เป็นหลัก (Criterion Model) ตามแนวคิดของStake (1975) และ รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสินใจ (Decision–Making Model) ตามแนวคิดของ Stufflebeam (2003) ทั้งน้เี พื่อให้ได้ผลการประเมนิ ตรงตามจดุ ม่งุ หมายของการพัฒนาหลักสูตร ผ่าน เกณฑ์การประเมิน เป็นข้อมูลเพ่ือการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร และมีแนวทางการพัฒนาความ เขม้ แขง็ ทางวิชาการให้กับโรงเรยี นและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษามีการจัดการเรียนการสอนทัง้ หมด 4 หลักสูตรคือ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรปกติ หลักสูตร English Program (EP) และหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาตร์ (โครงการ วมว.) การประเมิน หลักสูตรสถานศึกษาในคร้ังนี้ ผู้วิจัยกำหนดให้มีการประเมิน 2 หลักสูตรท่ีเป็นหลักสูตรการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานและเป็นหลักสูตรที่โรงเรียนมีบทบาทและหน้าที่โดยตรงในการบริหารจัดการท้ัหลักสูตร คือ หลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program (EP) ส่วนหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาตร์ (โครงการ วมว.) เป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน กับโรงเรียนสาธิต และคณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ซ่ึงจำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับหลายฝ่ายในการบริหารจัดการ หลักสูตร สำหรับหลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program (EP) เป็นหลักสูตรสถานศึกษาของ

3 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ได้นำไปใช้ แล้ว 3 ปกี ารศึกษา ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2561 ถึงปีการศึกษา 2563 และยังไม่ไดม้ ีการประเมินหลักสูตร อย่างเป็นระบบเพื่อนำผลการประเมินมาสะท้อน ปรับปรุงและพัฒนา ทางโรงเรียนจึงกำหนดให้มกี าร ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) เพ่ือให้ได้ผลการประเมินที่มีความน่าเชื่อถือมาใช้ในการตัดสินใจปรับปรุงและพัฒนาความ เข้มแข็งทางวิชาการให้กับโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาผู้เรียน และการจัด การศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลให้สอดคล้องกบั การพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 กรอบแนวคิดการวจิ ัย การวิจยั เร่ือง การประเมนิ หลักสตู รโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการประเมินหลักสูตร มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 ในรูปของ ผลลัพธท์ ่ีพึงประสงค์ ความต้องการของหน่วยงาน/สงั คม และการเป็นท่ียอมรับของหนว่ ยงานวิชาชีพ ท่ีเกี่ยวข้อง นำมากำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยประกอบด้วย นโยบาย แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) และแนวคิด เกี่ยวกับรูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ใช้การประเมินแบบ CIPPI Model ตามแนวคิดของ Stufflebeam (2007) แนวคิดจากงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตร มาใช้เป็นแนวทางใน การประเมิน โดยมุ่งประเมินหลักสูตรให้ครอบคลุมองค์ประกอบ 5 ด้าน เพ่ือนำข้อค้นพบจากการ ประเมินหลั กสู ตรครั้งนี้ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒ นาแล ะปรับ ปรุงหลักสูตร สถานศึกษ าให้มี ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลตอ่ ไป ประกอบด้วยสาระสำคญั ดงั น้ี แนวคดิ เกยี่ วกับรปู แบบการประเมินหลกั สูตร ในการประเมินหลักสูตร โดยท่ัวไปมีรูปแบบ (Model) เพ่ือการประเมิน เช่น รูปแบบที่ยึด เป้าหมายเป็นฐาน (Goal Based Model) ตามแนวคิดของ Tyler (1969) Provus (1971) รูปแบบ การตอบสนอง (Responsive Model) ตามแนวคิดของ Scriven (1973) Stake (1975) รูปแบบท่ี ยึดผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship Model) ตามแนวคิดของ Eisner (1975) และรูปแบบท่ียึดการ ตัดสินใจ (Decision Making Model) ตามแนวคิดของ Stufflebeam (2007) ที่เรียกว่า CIPP Model ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้ (มาเรยี ม นิลพันธ์ุ, 2553: 31-32) 1. การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation) เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือให้ได้หลักการและเหตุผลมากำหนดจุดมุ่งหมาย การประเมินสภาพแวดล้อมจะช่วยให้ผู้พัฒนา หลักสูตรรู้ว่า สภาพแวดล้อมท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษามีอะไรบ้าง มีความต้องการ หรือปัญหา อะไรบ้างที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองหรือแก้ไข มีโอกาสและสรรพกำลังที่จำเป็นอะไรบ้างท่ียังไม่ได้ถูก นำมาใช้ในการศึกษา และสืบเน่ืองมาจากปัญหาอะไร ประเด็นการประเมินครอบคลุม เกี่ยวกับ วิสยั ทัศน์ จุดหมาย โครงสรา้ งหลักสูตร

4 2. การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลมาช่วยตัดสินใจว่าจะใช้ทรัพยากรหรือสรรพกำลังต่างๆ ที่มีอยู่เพื่อให้บรรลุผลตาม จุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างไร จะขอความช่วยเหลือด้านทรัพยากรและสรรพกำลังจากแหล่ง ภายนอกดีหรือไม่ อย่างไร ประเด็นการประเมินครอบคลุม เก่ียวกับงบประมาณ อาคารสถานที่ คุณลักษณะ/ คุณวุฒิ/ คุณสมบัติ/ประสบการณ์ของผู้บริหาร ผู้สอน/ จำนวน คุณภาพของผู้เรียน/ พ้ืนฐานความรู้ผู้เรียน สื่อ วัสดุ/อุปกรณ์/หนังสือตำรา เอกสารหลักสูตร การสนับสนุนส่งเสริมของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เวลาและชว่ งเวลา 3. การประเมิน ด้าน กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินท่ีมี จุดมุ่งหมายเพ่ือสืบค้นจุดเด่น จุดอ่อนหรือจุดท่ีควรพัฒนาของรูปแบบการดำเนินงานตามท่ีคาดหวัง เอาไว้ หรือ จุดเด่นจุดออ่ น หรอื จุดท่ีควรพฒั นาของการดำเนินงานในการใช้หลักสูตร เพ่ือนำมาใช้เป็น ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการเลือกวิธีการต่อไป ฉะน้ันจึงต้องมีการจดบันทึกผลการประเมิน กระบวนการนั้นจำเป็นต้องอาศัยวิธีการหลายๆ วิธีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประเด็นการ ประเมินครอบคลุมเกี่ยวกับการบริหารจัดการหลักสูตร การนิเทศ การกำกับติดตาม การจัดการเรยี น การสอน การวดั และประเมนิ ผล และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 4. การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมายจะ ตรวจสอบว่าผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนน้ันเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของหลักสูตรท่ีคาดหวัง เอาไว้มากน้อยเพียงใด ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสามารถ สมรรถนะ และคุณธรรม จริยธรรม เจตคติ รวมทั้งความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ สมรรถนะ จากการเรียนการสอนในหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติจริงได้หรือไม่อย่างไร อาจ ทำได้โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑส์ ัมพันธก์ ับหลกั สตู รอน่ื ที่มอี ยู่ก็ได้ ประเด็นการประเมินครอบคลุม เกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการเรียนรู้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะ ความสามารถใน การปฏบิ ตั ิ พฤตกิ รรม ในการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้รูปแบบการประเมินของ Daniel L. Stufflebeam ท่ีมีชื่อว่า CIPP Model และต่อมาขยายผลท่ีผลผลิต (Product) เป็น IEST จึงเป็น CIPPIEST Model โดย I (Impact) เป็นผลกระทบที่นอกเหนือจากผลผลิตที่ต้องการให้เกิด E (Effectiveness) เป็นประสิทธิผลที่เกิดข้ึน S (Sustainable) เป็นความยั่งยืนของผลที่เกิดข้ึน และ T (Transportation) เป็นผลท่ีสามารถถ่ายทอดขยายผลต่อเนื่องได้ ท้ังนี้โดยส่วนใหญ่การขยายผลการ ประเมินผลผลิตจะครอบคลุมถึงผลกระทบ (Impact) ด้วย คือเน้นการประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณาผลที่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่กำหนดไว้ อาจมีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ประเด็นการประเมินครอบคลุมเกี่ยวกับการศึกษาต่อ การมี งานทำ การไดร้ ับรางวลั เกียรติยศ เกียรติบตั ร การเป็นที่ยอมรับ การมีชื่อเสยี งของสถาบัน การนำไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และเน่ืองจากขณะนี้อยู่ในระหว่างการใช้หลักสูตรที่ยังไม่มีผู้สำเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง

5 พุทธศักราช 2560) ผู้วิจัยจึงประเมินผลผลิต (Product : P) ท่ีมีการขยายแนวคิดเพียงด้านเดียว คือ ด้านผลกระทบ (Impact : I) ซ่งึ เปน็ ผลที่นอกเหนือจากผลผลติ ท่ีตอ้ งการให้เกิด ใช้เป็นแนวทางในการ ประเมินหลักสูตรโดยใช้ชื่อการประเมินแบบ CIPPI Model ซึ่งเป็นรูปแบบการประเมินท่ีครอบคลุม องค์ประกอบทุกด้านของหลักสูตรอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ ไม่เน้นการวิเคราะห์จุดใดจุดหน่ึง แต่ เป็นรูปแบบการประเมินท่ีมีความต่อเน่ืองทำให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ซ่ึงจะนำไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับ หลกั สูตรทีม่ กี ารพิจารณาใน 5 ดา้ น คือ 1. การประเมินบริบท (C: Context Evaluation) เป็น การประเมินความสอดคล้องชัดเจน ของวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ความเหมาะสมในการนำไปปฏิบัติได้จริงสอดคล้องกับความต้องการ ของหน่วยงาน/สังคม เป็นท่ยี อมรับของหนว่ ยงานวชิ าชพี ทเี่ ก่ียวข้อง โครงสร้างรายวิชา รายวิชาท่ีเปิด สอน และเนื้อหาวชิ าของหลักสตู ร 2. การประเมินปัจจัยนำเข้า (I: Inputs Evaluation) เป็นการประเมินปัจจัยท่ีเอื้อต่อการ จัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยคุณวุฒิอาจารย์ พ้นื ฐานนักศึกษา และทรพั ยากรในการดำเนินการ ตามหลักสูตร ได้แก่ เอกสารตำรา อุปกรณ์การเรียนการสอน สถานท่ี และเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ี เออื้ ประโยชนต์ ่อการเรียนการสอน 3. การประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) เป็นการประเมินความเหมาะสม ของกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน พฤติกรรมของผู้สอน/ผู้เรียน ตลอดจนการบรกิ ารต่างๆ 4. การประเมินผลผลิต (P: Products Evaluation) เป็นการประเมินคุณลักษณะของ บัณฑิตในด้านความรู้ ความสามารถการนำความรู้ในหลักสูตรไปใช้ในการทำงาน ตลอดจนผลท่ีเกิด ขน้ึ กบั ผูม้ ่ีมีสว่ นไดส้ ่วนเสยี 5. การประเมินด้านผลกระทบ (I: Impact Evaluation) เป็นการประเมินผลผลิตท่ี นอกเหนือจากผลผลิตท่ีต้องการให้เกิดแก่บัณฑิต ได้แก่ การประเมินผลงาน หรือผลที่เกิดจากการ เรียน และนำไปใช้ในการทำงาน หรือพัฒนาหน่วยงานให้ดีย่ิงข้ึน เช่น การผลิตและเผยแพร่งานวิจัย หรือผลงานทางวิชาการ การยอมรบั จากชมุ ชนและสังคม แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา มีวิสัยทัศน์คือ องค์กรแห่งการวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา น้อมนำหลักธรรมาภิบาล ประสานสมั พันธช์ ุมชน มุ่งผลครูมืออาชีพ จุดประทีปทักษะทางปัญญา ดำรงคุณธรรม และเสริมสร้าง ความเป็นผนู้ ำอย่างอารยชน โดยมีวตั ถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพ่ือผลิตผู้เรยี นระดับการศึกษาข้ัน พืน้ ฐานให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ มีบุคลกิ ภาพผู้นำทางวิชาการ และมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และ 2) เพ่ือส่งเสริมการสร้างสรรค์องค์ความรู้ และนวัตกรรม โดยมีเป้าหมายของหลักสูตรคือ คุณภาพ ผู้เรียนเกี่ยวกับทักษะทางปัญญา 8 ด้าน ได้แก่ ด้านภาษา ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านมิติ สัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคล่ือนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านการเข้าใจตนเอง และ ด้ าน ธ รรม ช าติ วิท ย า บุ ค ลิ ก ภ าพ 5 ด้ าน ได้ แ ก่ Well Being, Belonging, Contribution,

6 Communication, และExploration และทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 8 ด้าน ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving, Creativity and Innovation, Cross-Cultural Understanding, Collaboration, Teamwork and Leadership, Communications, Information and Media Literacy, Career and Learning Skills, and Compassion แนวคดิ จากงานวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การประเมินหลกั สตู ร จากการศึกษาแนวคิดจากงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) การ ประเมินผลการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (มาเรยี ม นิลพันธุ์ และ คณะ, 2556) พบว่าผู้วิจัยได้นำแนวคิดของนักประเมิน คือ Goal Attainment Model ของ Tyler (1949) Criterion Model ของ Stake (1975) และ CIPPIEST Model ของ Stufflebeam (2007) มา ใช้เป็นแนวทางในการประเมินหลักสูตร ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบ 8 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านคุณภาพบัณฑิต ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความย่ังยืน และ ด้านการถ่ายโยงความรู้ แต่ในการประเมินหลักสูตรคร้ังนี้ ผู้วิจัยนำประเด็นในการประเมินหลักสูตร ดังกล่าวมาเป็นแนวทางในการกำหนดประเด็นในการประเมนิ หลักสูตรระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานครั้ง น้ีให้ครอบคลุมองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้าน ผลผลิต และด้านผลกระทบ ของหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) โดยเน้นท่ีการนำข้อค้นพบจากการประเมินหลักสูตรครั้งน้ี ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในครั้งตอ่ ไป จากแนวคิดเกี่ยวกับนโยบาย หลักสูตร รูปแบบการประเมินหลักสูตร และงานวิจัยที่ เกยี่ วขอ้ งกบั การประเมินหลกั สตู ร ผูว้ จิ ยั นำมาเสนอกรอบแนวคิดการวิจัย ดงั แผนภาพท่ี 1

7 หลักสูตรโรงเรยี นสาธติ แหง่ ผลการประเมนิ หลกั สูตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนา 1. ผลการศึกษาสภาพปญั หาของหลักสูตรสถานศกึ ษาใน การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง ปัจจุบนั และความต้องการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2. ผลการประเมนิ หลักสูตรตามแนวคดิ CIPPI Model 5 ดา้ น 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ประกอบดว้ ยหลักสตู รปกติ และ 2.1 ดา้ นบรบิ ท ได้แก่ ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ นโยบาย/พนั ธกจิ หลักสตู ร English Program คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น โครงสร้างหลกั สตู ร ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ คำอธบิ ายรายวชิ า รปู แบบการประเมินหลกั สตู ร หนว่ ยและแผนการจดั การเรียนรู้ Goal Attainment Model ของ Tyler 2.2 ด้านปจั จยั นำเข้า ไดแ้ ก่ คณุ วฒุ ิ ผลงานของอาจารย์พื้นฐาน (Tyler, 1969) ด้านความรคู้ วามสามารถของผ้เู รียนอาคารหอ้ งเรยี น/วัสดอุ ุปกรณ์ Criterion Model ของ Stake (Stake, งบประมาณการจดั สภาพแวดล้อมและวัสดอุ ปุ กรณ์ 1975) CIPPI Model ของ Stufflebeam 2.3 ดา้ นกระบวนการ ได้แก่ การบรหิ ารจดั การหลักสตู (Stufflebeam, 2007), กระบวนการจดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล การจดั การ การประเมินหลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ ระบบอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา การจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น พฤตกิ รรมของ (มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ, 2554) และ อาจารย์ พฤติกรรมของนกั เรียน การนเิ ทศติดตาม และการประกนั การประเมินผลการใช้หลกั สตู รแกนกลาง คณุ ภาพ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (มาเรยี ม นิลพันธุ์ และคณะ, 2556) 2.4 ดา้ นผลผลติ ได้แก่ ผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรยี น ผลงานของนกั เรยี น ความสามารถในการ แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การวจิ ัย อา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น บุคลกิ ภาพของนกั เรยี น ทกั ษะทางปญั ญา ของนกั เรยี น สมรรถนะดา้ นการจดั การเรยี นรขู้ องอาจารย์ และความคเิ หน็ ของนักเรยี น และอาจารยต์ อ่ หลกั สูตรฯ 2.5 ด้านผลกระทบ ได้แก่ การเผยแพรผ่ ลงานวิชาการของอาจารย์ ความรกั และภาคภูมใิ จตอ่ สถาบนั การยอมรับของชมุ ชน/สงั คม การมสี ่วนร่วมในการพฒั นากจิ กรรมการเรยี นการสอนของบุคลากร ภายในและภายนอกหนว่ ยงาน 3. ผลการเสนอแนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสตู ร โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการศกึ ษา ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) คำถามการวิจัย 1. สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษา เป็นอยา่ งไร 2. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดย จำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program มีผลการประเมินอยู่ในระดับใด และเป็น อยา่ งไร 3. แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program มอี ะไรบ้าง และควรดำเนนิ การอย่างไร

8 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมิน หลักสตู รสถานศกึ ษา 2. เพ่ือประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเขา้ ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลกั สูตรปกติ และหลักสตู ร English Program 3. เพื่ อ เส น อแ น ว ท างก ารพั ฒ น าแล ะป รับ ป รุงห ลัก สู ต รโรงเรีย น ส าธิต แ ห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็น หลกั สตู รปกติ และหลกั สูตร English Program ขอบเขตการวิจัย การวจิ ัยในคร้ังน้ไี ดก้ ำหนดขอบเขตการวจิ ยั 6 ดา้ น ดังนี้ 1. ขอบเขตด้านกลมุ่ เปา้ หมาย 1.1 นักเรียนหลักสูตรปกติ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 จำนวน 12 คน ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 และชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-5 รวมจำนวน 442 คน ที่เรียนในปีการศึกษา 2562 ซ่ึง ใช้หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) รวมท้ังส้ิน 454 คน และนักเรียนหลักสูตร English Program ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-2 จำนวน 27 คน ไดม้ าโดยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง 1.2 อาจารยผ์ ู้สอนรายวิชาต่าง ๆ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หลักสตู รปกตมิ ีจำนวน 89 คน และหลกั สูตร English Program มีจำนวน 22 คน ได้มาโดยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง 1.3 ผู้บริหาร ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับคณะ ผู้บริหารโรงเรียน และคณะกรรมการ ฝ่ายวิชาการ ซ่ึงประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ หัวหนา้ งานวดั และประเมนิ ผล รวมจำนวน 19 คน ได้มาโดยวธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง 1.4 ผู้ปกครองของนักเรียนที่ศึกษาในหลักสูตรปกติ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1-2 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 ของปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 15 คน และ หลักสูตร English Program ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-2 มีจำนวน 5 คน รวมท้ังหมด 20 คน ได้มา โดยวธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง โดยมกี ารคัดเลือกกลมุ่ เป้าหมายผูร้ ับการวิจัยตามเกณฑ์ ดังนี้ เกณฑ์การคัดเขา้ 1) เป็นนักเรียนโรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 และชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 ที่เรียนในปีการศึกษา 2562 โดยใช้หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย

9 เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) 2) เป็นอาจารย์ผูส้ อนรายวิชาต่าง ๆ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการศึกษา 3) สามารถอา่ น ฟงั เขียนภาษาไทยได้ 4) ไม่มีการเจบ็ ปว่ ยรุนแรงที่เปน็ อปุ สรรคตอ่ การใหข้ ้อมลู 5) กลมุ่ เปา้ หมายยินยอมเขา้ ร่วมการวจิ ัย เกณฑ์การคัดออก 1) ตอบคำถามในประเดน็ หลักไมค่ รบตามท่ีกำหนดไวใ้ นเคร่ืองมือวจิ ัย 2) ไมส่ มัครใจให้ข้อมูล 3) ไมอ่ ยู่ในพน้ื ที่ระหวา่ งช่วงเวลาเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4) มีการเจ็บป่วยรุนแรงท่ีไม่สามารถให้ข้อมูลได้ในระหว่างช่วงเวลาเก็บรวบรวม ข้อมลู 5) ลาออก หรือเปลี่ยนสายการปฏิบัติงาน หรือเปลี่ยนบทบาทหน้าท่ี ในระหว่าง ชว่ งเวลาเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกณฑ์การถอนตัว 1) กลุ่มเป้าหมายตัดสินใจออกจากโครงการ หรือไม่ยินยอม หรือไม่ต้องการให้ ข้อมลู ทั้งทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรและไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร 2) เกิดผลข้างเคียงต่อกลุ่มเป้าหมายระหว่างการให้ข้อมูลจนไม่สามารถให้ข้อมูลได้ ตามปกติ เชน่ ร้สู กึ เกิดความวติ กกังวลถึงความไม่ปลอดภยั ต่อการใหข้ ้อมูล 3) กลมุ่ เป้าหมายมกี ารเจบ็ ป่วยรุนแรงในระหว่างช่วงเวลาของโครงการวจิ ยั เกณฑก์ ารยตุ กิ ารวิจยั 1) พบผลขา้ งเคียงทีไ่ ม่พงึ ประสงคท์ ร่ี นุ แรงกว่าท่คี าดคดิ 2) แหลง่ ทุน ผสู้ นบั สนนุ การวิจยั ยตุ กิ ารวจิ ัย 3) ผูม้ อี ำนาจอนุมตั ิยุติการวจิ ัย 2. ขอบเขตดา้ นการประเมนิ ในการวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยใช้รูปแบบการประเมินของ Danial L. Stufflebeam แบบ CIPPI Model 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้าน ผลกระทบ 3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ในการวิจัยคร้ังนี้ใช้ระยะเวลาดำเนินการต้ังแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2562 ถึงเดือน กันยายน พ.ศ.2563 รวมระยะเวลา 12 เดอื น 4. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา ในการวิจัยประเมินหลักสูตรคร้ังนี้ ได้กำหนดเน้ือหาสำหรับการประเมิน ประกอบด้วย เนื้อหาหลัก 2 เรอื่ ง คอื

10 4.1 หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ซึง่ ประกอบด้วย 2 หลักสูตร คอื หลักสูตรปกติ และหลกั สตู ร English Program 4.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรตามแนวคิดท่ีเน้นการตัดสินใจของ Danial L. Stufflebeam แบบ CIPPI Model มี 5 ด้านคือ ด้านบริบท (C: Context) เป็นการประเมินความ สอดคลอ้ งชัดเจนและความเหมาะสมของปรัชญา วสิ ัยทัศน์ นโยบาย/พันธกิจ โครงสร้างหลกั สูตร ผล การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ คำอธิบายรายวชิ า หนว่ ยและแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านปัจจัยนำเข้า (I: Input) เป็นการประเมินปัจจัยท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ คุณวุฒิ และคุณลักษณะของ ผู้บริหารและอาจารย์ พ้ืนฐานด้านความรู้ความสามารถของผู้เรียน เอกสารหลักสูตร อาคารเรียน วัสดุอุปกรณก์ ารเรยี น งบประมาณ แหล่งเรียนรแู้ ละสภาพแวดล้อม และการสนับสนุนของชุมชน ด้าน กระบวนการ (P: Process) เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือสืบค้นจุดอ่อนของรูปแบบการ ดำเนินงานตามที่คาดหวังเอาไว้ ได้แก่ การบริหารจัดการหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การจัดการระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พฤติกรรม ของอาจารย์ พฤติกรรมของนักเรียน การนิเทศติดตาม และการประกันคุณภาพการศึกษา ด้าน ผลผลิต (P: Product) เป็นการประเมินคุณลักษณะของผู้เรียนเก่ียวกับการนำความรู้ในหลักสูตรไป ใช้ในการศึกษาต่อหรือทำงาน ตลอดจนผลท่ีเกิดข้ึนกับผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผลการเรียนรู้ของ นักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลงานของนักเรียน ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน บุคลิกภาพของนักเรียน ทักษะทางปัญญาของนักเรียน สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของ อาจารย์ และความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ต่อหลักสูตร และด้านผลกระทบ (I: Impact) เป็นการประเมินผลงาน หรือผลที่เกิดจากการเรียนในระดับที่สูงขึ้นหรือการพัฒนางานให้ดีย่ิงข้ึน ได้แก่ การเผยแพร่ผลงานวิชาการของอาจารย์และนักเรียน ความรู้สึกเป็นเจ้าของและภาคภูมิใจต่อ สถาบัน การยอมรับของชมุ ชน/สังคม และการมสี ่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนของ บุคลากรภายในและภายนอกหน่วยงาน 5. ขอบเขตดา้ นระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงประเมินโดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) ใช้วิธีท้ังเชิงปริมาณ (Quantitative methods) และเชิงคุณภาพ(Qualitative methods) และมกี ารตรวจสอบสามเสา้ (Triangulation) ดา้ นขอ้ มูลและดา้ นระเบียบวิธีการวิจัย 6. ขอบเขตดา้ นข้อมลู ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ ข้อมลู ที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วยข้อมลู เชิงปริมาณและข้อมูลเชงิ คณุ ภาพ ดังนี้ 6.1 ข้อมูลเชิงปรมิ าณ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง อาจารย์ ผู้บริหาร ระดับคณะ ผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ หวั หนา้ งานวัดและประเมนิ ผล 2) ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร

11 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ของนักเรียน อาจารย์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3) ข้อมูลจากแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาของ คณะกรรมการวชิ าการที่ประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หวั หน้างานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และหัวหนา้ งานวัดและประเมนิ ผล 6.2 ข้อมูลเชงิ คุณภาพ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลจากแบบบันทึกเอกสารในหัวข้อเก่ียวกับการประเมินหลักสูตร และ เอกสารหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) 2) ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ และประเด็นสนทนากลุ่มเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อ หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ของนกั เรยี น คณะกรรมการวชิ าการ ผู้บรหิ ารระดับคณะ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน และผทู้ รงคุณวุฒิ นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) หมายถึง สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนทจี่ ัดให้กับนกั เรยี นใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ศึกษา โดยสาระการเรียนรู้ประกอบด้วย 8 กลุ่ม คือ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและ พลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพ และ8) ภาษาต่างประเทศ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 กิจกรรมหลัก คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน และ3) กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ภายใต้วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียน ทั้งน้ีเพื่อให้นักเรียนมี สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด และตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.1239/2560 เร่ือง ให้ใช้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 รวมท้ังการบรรลุมาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนที่ หลักสูตรของโรงเรยี นได้กำหนดเพ่ิมเติมไว้ 5 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 การดำเนินชีวิตของตนเอง ท่ีดี (Well Being) มาตรฐานที่ 2 การอยู่ร่วมกันในสังคมและการปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืน (Belonging) มาตรฐานที่ 3 การมีส่วนร่วม มีจิตสาธารณะ (Contribution) มาตรฐานที่ 4 การติดต่อสื่อสาร (Communication) และมาตรฐานที่ 5 การแสวงหาความรู้ (Exploration) โดยโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้ดำเนินการจัด การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2 หลักสูตร คือหลักสูตรปกติ ประกอบด้วย นักเรียนที่เรียน ในระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 และหลักสูตร English Program

12 (EP) ประกอบด้วย นักเรยี นที่เรยี นในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 โดยทงั้ 2 หลักสูตร มอี งค์ประกอบ ของสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น รวมทั้งการบรรลุมาตรฐานคุณภาพของผู้เรยี นเดียวกัน แต่มีส่วนที่ต่างกันคือหลักสูตร English Program นักเรียนจะเรียนรายวิชาพื้นฐานกับผู้สอนซ่ึงเป็น อาจารย์ชาวต่างชาติ 3 รายวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และเรียนกับ อาจารย์ผู้สอนไทย 5 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย สังคมศึกษา สุขศีกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และศลิ ปะ 2. สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง สิ่งท่ีเป็น อุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรและความต้องการประเมินหลักสูตรของสถานศึกษาที่มี หน้าท่ีจดั การศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประเมินได้จากผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน 3 สังกัด คือ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) สังกัดองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่นิ (อปท.) และสังกัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมจำนวน 5 โรงเรียน โดยใช้แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบัน และประเมินจากผลการจัดสนทนากลุ่มคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ โดยใช้ประเด็นสนทนา กลุม่ สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษาในปจั จบุ ัน 3. การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการศึกษา ติดตาม และรวบรวมข้อมูลการใช้ หลักสูตรที่เป็นข้อเท็จจริงให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตรในการวิจัยครั้งนี้ ซ่ึง ได้มาด้วยวิธีการท่ีหลากหลายคือ จากการวิเคราะห์เอกสาร การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ของ นักเรียนท่ีเรียนในปีการศกึ ษา 2560-2562 จากผลการดำเนินงานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผู้เรยี น รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ปีการศึกษา 2562 และผลการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ปีการศกึ ษา 2562 รวมท้ังจากการสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ท่ีมีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ให้ครอบคลุมองค์ประกอบของรูปแบบการประเมิน CIPPI Model โดยพิจารณาองค์ประกอบท่ีจะนำมาประเมิน 5 ด้าน คือ 1) การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation) 2) การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) 3) การประเมินด้าน กระบวนการ (Process Evaluation) 4) การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) และ5) การประเมินด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) ซึ่งประเมินโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษา แบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ที่มีต่อหลักสูตร สถานศกึ ษา และแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสตู รสถานศึกษา 4. แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู ร หมายถึง วธิ ีการที่มีระบบเป็นเหตุเป็นผลใน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ใช้วิธีการสรุปแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรจากการจัด สนทนากลุ่มเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง อาจารย์และผู้บริหาร

13 และผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โดยใช้ประเด็นสนทนากลุ่ม เกีย่ วกับแนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 5. นักเรียน หมายถึง ผู้ท่ีศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 ท่ีเรียนในปีการศึกษา 2562 โดยใช้หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) 6. ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ท่ีมีบทบาทดูแลและรับผิดชอบการเรียนของนักเรียนในความ ปกครองท่ีเรียนในปีการศึกษา 2562 ซ่ึงใช้หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) 7. อาจารย์ หมายถงึ ผทู้ ำหนา้ ท่ีจดั การเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรโรงเรยี น สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) 8. ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งทางบริหารระดับโรงเรียน ได้แก่ ผู้อำนวยการ รอง ผู้อำนวยการ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับคณะในมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณบดี รอง คณบดี หัวหนา้ ภาควชิ า 9. ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึง ผู้ที่มีวุฒิสูงสุดทางการศึกษาในระดับปริญญาเอกทางด้าน หลักสูตร การสอน การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และมีประสบการณ์ในการสอนระดับ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หรือระดบั อดุ มศกึ ษา หรอื ทง้ั 2 ระดับรวมกนั อยา่ งนอ้ ยไม่ตำ่ กวา่ 10 ปี ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 1. อาจารย์ คณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนได้ทราบผลการ ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ ที่สะท้อน ถึงความเหมาะสมของผลการใช้หลกั สูตร เพอื่ นำไปใช้ในการวางแผนและดำเนินการพัฒนาโรงเรียนใน ปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป 2. คณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน สามารถนำผลการวิจัย เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรงุ หลักสูตรคร้งั นไ้ี ปใช้ในการพัฒนาหลักสตู รระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐานกลุ่มหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคล้องกบั ความต้องการจำเป็นและบรบิ ทของสถานศึกษามากขน้ึ 3. คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สามารถนำผลการวิจยั ประเมินหลักสตู รในระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ไปใชใ้ นการกำหนดนโยบายการ บริหารจัดการหลักสูตรของโรงเรียนท่ีอยู่ในความดูแลของคณะฯ และนำไปใช้เป็นกรณีศึกษาสำหรับ นิสิตสาขาการจัดการเรียนรู้ ภ าควิชาครุศาสตร์ คณ ะศึกษาศาสตร์และพั ฒ นศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน

14 ข้อพจิ ารณาด้านจรยิ ธรรมการวิจัยในมนษุ ย์ (Ethical consideration) การวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้รับการรับรองด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หมายเลขของ Certificate of Exemption คือ COE63/106 เม่ือวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2563 โดยได้ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมการวิจัยใน มนุษยค์ รบทง้ั 3 ข้อ คอื 1) หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person) โดยการให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน จนผู้ที่ได้รับเชิญให้เขา้ รว่ มในการวิจัยเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี และตัดสินใจอยา่ งอิสระในการให้ความยินยอม เข้าร่วมในการวิจัย ผู้วิจัยจะเคารพความเป็นส่วนตัวและการเก็บรักษาความลับของอาสาสมัครผู้รับ การวิจยั โดยในแบบบันทกึ ขอ้ มูลจะไม่มขี ้อมลู ที่บง่ ชี้ (Identifiers) ถึงอาสาสมคั รผ้รู ับการวิจยั 2) หลักการให้ประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (Beneficence/non-maleficence) อาสาสมัครผู้รับการวิจัยจะไมไ่ ด้รับประโยชน์ใดๆ อาจเกิดความเสี่ยงต่ออาสาสมัครผู้รับการวิจัยเพียง เล็กน้อย คือ ความลับของอาสาสมัครผู้รับการวิจัยอาจถูกเปิดเผย ผู้วิจัยจะเก็บรักษาความลับของ อาสาสมคั รผูร้ บั การวจิ ยั เปน็ อย่างดี 3) หลักความยุติธรรม (Justice) คือ มีเกณฑ์การคัดเข้าและเกณฑ์การคัดออกชัดเจน มี การกระจายประโยชน์และความเสี่ยงอยา่ งเทา่ เทียมกัน และไม่มอี คติ

15 บทที่ 2 วรรณกรรมท่เี กยี่ วขอ้ ง การวิจัยเร่ือง การประเมนิ หลกั สตู รโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎี จาก เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้องกับการประเมนิ หลักสูตร เพอ่ื ตอ้ งการให้มองเหน็ ภาพรวมและแนวทาง ในการทำวจิ ัยให้ชัดเจน ครอบคลุมสิ่งท่ีตอ้ งการศกึ ษา โดยไดน้ ำเสนอเน้ือหาตามลำดบั ดงั น้ี 1. แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับหลกั สตู รและการบรหิ ารจดั การหลักสูตร 2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องกบั รปู แบบการประเมินหลกั สตู ร 3. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) 1. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้องกับหลกั สตู ร และการบริหารจัดการหลกั สตู ร 1.1 หลักสูตร ความหมายของหลักสูตร “หลักสูตร” ตามความหมายท่ีนักการศึกษาได้กล่าวไว้มีหลากหลายตามความเช่ือใน เชิงปรัชญา (philosophical beliefs) ของแต่ละบุคคล โดยสามารถจัดกลุ่มความหมายของหลักสูตร ทกี่ ล่าวในทำนองเดียวกันคือ หลกั สตู ร เป็นโปรแกรมการศึกษารายวิชา กลุ่มวิชา โครงการหรอื เนอ้ื หา ความรู้ต่างๆ ที่สถาบันศึกษาจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนเพื่อเตรียมสู่สมาชิกท่ีมีประสิทธิภาพ ของประเทศชาติ (Good, 1973: 149, ทิศนา แขมมณี, 2545: 133 และบุญชม ศรสี ะอาด, 2546: 7) หลักสูตร คือ แผนการจดั การศึกษาหรือเอกสารท่ีกำหนดกลวธิ ีการปฏิบัติเพื่อนำไปจัดการเรียนรู้ท่ีทำ ให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการแก่ผู้เรียนเป็นกระบวนการจัดระบบให้กับบุคลากรและการดำเนินการนำ ระบบไปใช้ตามแผนที่จัดไว้ ประกอบด้วย จุดประสงค์ จุดประสงค์เฉพาะ การเลือกและการจัดเน้อื หา วิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ และ พฤติกรรมตามที่กำหนดในจุดมุ่งหมายของการศึกษา (Wheeler, 1974: 11, Crow, 1980: 250, Bobbit, 1981: 42, Sowell, 1996: 5, Ornstein and Hunkins, 2004: 10 และใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์, 2539: 3) และหลักสูตร คือ มวลประสบการณ์การเรยี นรู้ทสี่ ถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียนได้รับการฝึกฝน อบรมต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรจึงเป็นเสมือนแผนท่ีกำหนดทิศทาง ในการพัฒนาผู้เรียนไปสมู่ าตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเปา้ หมาย และมีการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เพ่ือให้ทราบความก้าวหน้าของผู้เรียนในการพัฒนาไปสู่มาตรฐานท่ีกำหนด (ธำรง บัวศรี, 2542: 7, วชิ ยั วงษใ์ หญ่, 2552: 469, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, 2553: 8)

16 จากความหมายของหลักสูตรดังกล่าว สรุปได้ว่า หลักสูตร คือ แผนการจัดการศึกษา และประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ โดยบุคลากรทางการศึกษาสามารถนำระบบ ไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและความต้องการ เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและคุณลกั ษณะตามเป้าหมายของการพัฒนาผูเ้ รยี นทกี่ ำหนดไว้ในแผน องคป์ ระกอบของหลกั สูตร Taba (1996) และTyler (1969) เสนอองค์ประกอบของหลักสูตรท่ีสอดคล้องกันว่า หลักสูตรมีองค์ประกอบท่ีสำคัญ 4 ประการ คือ 1) จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงเป็น วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรว่า เม่ือผู้เรียนผ่านประสบการณ์ตามหลักสูตรแล้ว จะเกิด อะไรกับผู้เรียน 2) การจัดโครงสร้างเนื้อหาหรือมวลประสบการณ์เป็นการเลือกสรรเน้ือหาสาระ ความรู้ และประสบการณ์มาจัดและเรียงลำดับให้ผู้เรียนได้รับ 3) แผนการจัดการเรียนการสอน หรือ การจัดการเรียนรู้เป็นการนำวิธีการสอนแบบต่าง ๆ มาใช้ให้เหมาะสมกับวัยและเน้ือหา และ4) การ ประเมินผลลัพธ์ของหลักสูตรเป็นการหาคำตอบว่าการดำเนินการของหลักสูตรเป็นไปตามความ มุ่งหมายหรือไม่ เพียงใด ส่วน Beauchamp (1981) มองว่าหลักสูตรประกอบด้วยระบบอยู่ 3 ระบบ คือ ระบบท่ีป้อนเข้า (Input) ระบบกระบวนการ (Process) และระบบการประเมินผลลัพธ์ท่ีได้ (Output) ในขณะที่ธำรง บัวศรี (2542) ให้รายละเอียดขององค์ประกอบของหลักสูตรเพิ่มเติมอีกว่า ควรมีองค์ประกอบด้านวัสดุหลักสูตรและส่ือการเรียนการสอนด้วย องค์ประกอบของหลักสูตรทำให้ มองเหน็ ถงึ โครงสร้างของหลักสูตรท้ังระบบ โดยทวั่ ไปต้องประกอบด้วยความมุ่งหมายหรือจุดประสงค์ ของหลักสูตร สาระเน้ือหาวิชาภายในหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อและวัสดุท่ีใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้ และกระบวนการประเมินผลการเรียนรู้ โดยองค์ประกอบเหล่าน้ีมี ความสัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวกันจะขาดส่ิงใดส่ิงหนึ่งไปไม่ได้ เพ่ือเป็นแนวทางในการกำหนดทิศทางการ พัฒนาผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบ ความสำคัญของหลักสตู ร หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอันสำคัญย่ิงอย่างหนึ่งของการจัดการศึกษา เพราะหลักสูตร จะมีโครงร่างกำหนดไว้ว่าเด็กจะได้รับประสบการณ์อะไรบ้าง และหลักสูตรเป็นแนวทางที่จะสร้าง ความเจริญเติบโตให้แก่ผู้เรียน และเป็นเครื่องช้ีให้เห็นภาพของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร ซึ่ง การจัดการศึกษาจะไม่มีวันสำเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาได้ถ้าปราศจากหลักสูตร หลักสตู รจึงเปรยี บเสมือนหวั ใจสำคญั ของการศกึ ษา (สนุ ยี ์ ภพู่ ันธ์ุ, 2546: 16) นอกจากน้ี ธำรง บวั ศรี (2542: 7) และใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์ (2539: 10) ได้เสนอแนวคิดเก่ียวกับความสำคัญของหลักสูตรไว้ สอดคล้องกันว่า หลักสูตรมีความสำคัญต่อการศึกษา และมีความสำคัญต่อการสอนคือ เป็นเคร่ืองมือ ท่ีถ่ายทอดเจตนารมณ์หรือเป้าประสงคข์ องการศกึ ษาของชาติลงสู่การปฏิบัติ อาจกล่าวได้ว่าหลักสูตร คือ ส่ิงท่ีนำเอาความมุ่งหมายและนโยบายการศึกษาไปแปลงเป็นการกระทำข้ันพ้ืนฐานในโรงเรียน หรือสถานศึกษา ความสำคัญต่อการเรียนการสอนนั้นคือ การนำหลักสูตรไปแปลงเป็นภาคปฏิบัติ จริงๆ หลักสูตรจึงมีความสำคัญต่อการเรียนการสอนอย่างย่ิง และเป็นความจำเป็นท่ีครูผู้สอนจะต้อง ศึกษาหลกั สูตรให้เขา้ ใจอยา่ งถ่องแทพ้ ร้อมท้ังชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมคี วามเข้าใจด้วย นอกจากน้ี Print (1993: 110) ได้ให้ความสำคัญของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตรมีความสำคัญอย่างย่ิงสำหรับวิชาชีพครู การศึกษา ทางด้านหลักสูตรเป็นส่วนหน่ึงของโปรแกรมการศึกษาวิชาชีพครู ดังน้ันครูจึงมีความจำเป็นต้องมี

17 ความรู้เก่ียวกับหลักสูตรและมีความเข้าใจในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร จึงสรุปได้ว่า หลักสูตรเป็น หัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา เป็นการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติจริงเพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายของการจดั การศกึ ษา คณุ ลกั ษณะของหลักสตู รทด่ี ี สงดั อุทรานันท์ (2532: 211–212) ได้กล่าวถงึ ลักษณะของหลกั สูตรทดี่ มี ดี ังน้ี 1) จุดมุ่งหมายของหลักสูตรควรต้ังอยู่บนรากฐานทางการศึกษาอย่างถูกต้อง ได้แก่ พ้ืนฐานทางปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยา และธรรมชาติของความรู้ และต้องตั้งอยู่บนรากฐานของ ความจรงิ และสามารถนำไปปฏิบัตไิ ด้ 2) สอดคล้องกับความต้องการของสังคม สามารถสนองความต้องการของสังคมและ ประเทศชาติ โดยมุ่งให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์ของส่วนรวมและเสียสละ มีความรู้สึกภาคภูมิใจใน ประเทศชาติ 3) สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ วัย 4) จุดมุ่งหมายของหลักสูตรท่ีดีจะต้องมุ่งสร้างเสริมค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม 5) จุดมุ่งหมายของหลกั สตู รที่ดี มุ่งสร้างคณุ ลกั ษณะของผูเ้ รียนให้มคี วามเจรญิ งอกงาม ทางสติปญั ญา มที กั ษะในอาชพี มคี ุณธรรม มวี ินัยทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง จากแนวคดิ ดงั กล่าว สรุปลักษณะของหลักสูตรท่ีดีคือ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและ สงั คมในประเทศ สนองความตอ้ งการของผู้เรียนและสงั คม มีความยืดหยุ่น และนำมาใช้ไดส้ ะดวก 1.2 การบรหิ ารจัดการหลักสูตร ความหมายของการบริหารจดั การหลกั สตู ร การบริหารจัดการหลักสูตร หมายถึง กระบวนการและกิจกรรมการดำเนินการเพ่ือให้ การใช้หลักสตู รมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล การบรหิ ารจัดการหลักสูตรมีขอบขา่ ยหลายด้าน ได้แก่ การวางแผนเพ่ือใช้หลักสูตร การจัดการฝึกอบรมครู การจัดการครูเข้าสอน การจัดตารางสอน การ จัดบริการวัสดุประกอบหลักสูตรและส่ือการเรียน การประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตร การจัด สภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ การจัดโครงการประเมินผลการใชห้ ลักสตู รและการปรบั ปรุงหลกั สูตรมี เป้าหมายคือ คุณภาพของผู้เรียน (ชวลิต ชูกำแพง, 2551; รุจิร์ ภสู่ าระ, 2551; วชิ ัย วงษ์ใหญ่, 2551; Oliva, 2013; Armstrong, 2003; Wiles and Joseph, 2011; Wiles, 2009) องคป์ ระกอบของการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร องค์ประกอบของการบริหารจัดการหลักสูตร จากการสังเคราะห์เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการหลักสตู ร สรุปองคป์ ระกอบของการบริหารจัดการหลักสูตรได้ดังนี้ (ชวลิต ชูกำแพง, 2551; รุจิร์ ภู่สาระ, 2551; วิชัย วงษ์ใหญ่, 2551; ฆนัท ธาตุทอง, 2550; วิชัย วงษ์ใหญ่, 2537; Oliva, 2013; Armstrong, 2003; Wiles and Joseph, 2011; Wiles, 2009) 1) การเตรียมวางแผน เพื่อใช้หลักสูตร ผู้บริหารและคณะกรรมการหลักสูตรจะต้องศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรว่าจุดมุ่งหมาย ของการพัฒนาหลักสูตรคร้ังนี้ มีเป้าประสงค์ที่แท้จริงคืออะไร และสอดคล้องกับความต้องการและ ความสนใจของผู้เรียนและชุมชนเพียงใด สถานศึกษามีความพร้อมต่อการนำหลักสูตรมาปรับใช้

18 อย่างไร องค์ประกอบหลักสูตรและแหล่งข้อมูลต่างๆ ท่ีจะนำเข้ามา มีส่วนช่วยในการพัฒนาหลักสูตร นี้จะจดั หาได้อย่างไรและโดยวิธีใด งบประมาณและอาคารสถานที่พอเพียงหรือไม่ การเตรยี มบุคลากร เก่ียวกับการใช้หลักสูตรจะทำโดยวิธีใด การวางแผนงานเพ่ือใช้หลักสูตรใหม่อย่างละเอียดรอบคอบ และมีข้ันตอนจะทำให้การใช้หลักสูตรบรรลุจุดหมายได้ง่าย 2) การจัดการฝึกอบรมครูเพื่อให้ใช้ หลกั สูตรใหม่ ควรจัดอบรมในรปู ของการประชุมเชิงปฏิบตั ิการให้ครูได้ศึกษาถึงปัญหาของหลกั สตู รไป ปรับใช้ในห้องเรียน สร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้ ประมวลการจัดการเรียนรู้ การเลือกและจัด ประสบการณ์เรียน และทดลองสอนเพ่ือแก้ไขปรับปรุงหลังจากประชุมเชิงปฏิบัติการแล้วผู้บริหาร จะตอ้ งคอยดูแลนเิ ทศและบรหิ ารครอู ยา่ งใกลช้ ิดเกี่ยวกับการใช้หลักสตู ร 3) การจดั ครูเข้าสอน การจัด ครูเข้าสอนเป็นส่ิงท่ีจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เพราะครูเป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้นครูจะต้องมองเห็นความสำคัญของการเปล่ียนแปลงใน สงั คมครูจะต้องกา้ วให้ทนั เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ เพราะจะเปน็ ผนู้ ำให้นกั เรียน ทุกคนมีโอกาสและมีส่วนร่วมในชีวิตสังคมปัจจุบันมากท่ีสุด การคัดเลือก 4) การจัดตารางสอน ควร คำนึงถงึ การเรียนรู้วชิ าต่างๆ ไม่จำเป็นต้องใช้เวลาเท่ากัน ระดับของความยากงา่ ยของการเรียนรู้ย่อม แตกต่างกัน ช่วงเวลาของการเรียนรู้ต้องเป็นไปเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน นอกจากน้ีการใช้ อาคารสถานท่ี ห้องเรียน โรงฝึก ห้องทดลองจะต้องมีการใช้ตลอดเวลาจึงจะถือว่าการใช้อาคาร สถานท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5) การจัดบริการวัสดุประกอบหลักสูตรและส่ือการเรียนการสอน จัดทำกำหนดการจัดการเรียนรู้ ประมวลการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาคู่มือครู แบบเรียนและส่อื การสอน เปน็ สง่ิ สำคัญที่จะตอ้ งทำ โดยเฉพาะแผนการสอนจะชว่ ยให้ครูเหน็ แนวทาง ว่าจะเลือกกิจกรรมอะไรให้กบั ผเู้ รยี น และกิจกรรมอะไรที่จะทำให้ผู้เรยี นอยากเรียน การจดั ทำสื่อการ เรียน การเรียนรู้ควรจะทำร่วมกัน เพราะจะเป็นการประหยัดแรงงาน งบประมาณ และครอบคลุม เน้ือหาสาระได้มากกว่า และท่ีสำคัญคือผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถความสนใจ และตรงกับ ความต้องการของชุมชน 6) การประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตรกับผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน และประชาชนในชุมชนนนั้ เปน็ สงิ่ ทีจ่ ะชว่ ยให้เกิดความเข้าใจ และ ความสามารถในการแก้ไขปัญหาการประชาสัมพันธ์หลักสูตรต้องทำติดต่อกัน การใช้ส่ือมวลชนเป็น เคร่ืองช่วยประชาสัมพันธ์หลักสูตร เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ จะช่วยให้การ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรได้ผลมาก 7) การจัดสภาพแวดล้อมเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ คือ การรวมกลุ่มกันของผู้ประกอบวิชาชีพครูโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงวิชาชีพ และ คุณภาพของผู้เรียนร่วมกัน ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมมือร่วมใจ การเรียนรู้ประสบการณ์การ ปฏิบัติงานในพื้นที่และการแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 8) การทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย (routine to research) เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ การค้นคว้าหาความรู้ โดยกระบวนการท่ีเช่ือถือได้ (กระบวนการวิจัย) เพื่อการแก้ปัญหาหรือยกระดับคุณภาพงานประจำให้ดียิ่งขน้ึ บนฐานความรู้ท่ีไดร้ ับ จากการวิจัย องค์ประกอบของการทำงานประจำ ให้เป็นงานวิจัย 4 ประการ ได้แก่ 1) ปัญหาวิจัยมา จากงานการจัดการเรียนรู้ 2) ผู้ทำวิจัย คือ ผู้สอนมีบทบาททำวิจัยด้วยตนเอง 3) ผลการวิจัยถูกต้อง เชื่อถือได้ 4) ใช้ประโยชน์กับงานของผู้สอนเอง การวิจัยในงานประจำสำหรับผู้สอน เริ่มท่ีการจัดการ เรียนรู้ปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะคุณภาพของผู้เรียนคือจุดเริ่มต้นที่ดีของการ วิจัย 9) การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล ในการใช้หลักสูตร ควรจัดให้มีการนิเทศ กำกับ

19 ติดตามและประเมินผล เพ่ือศึกษาปัญหาและร่วมกันแก้ไขและพัฒนาภารกิจในส่วนท่ีต้องการให้มี ประสิทธิภาพและคณุ ภาพของการใช้หลักสูตรสถานศึกษาสูงข้ึน และ10) การจัดโครงการประเมินผล การใช้หลักสูตรและการปรับปรุงหลักสูตร การจัดโครงการประเมินผลการใช้หลักสูตรและการ ปรับปรุงหลักสูตรเป็นสิ่งที่สำคัญและจะต้องกระทำเป็นข้ันตอน มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ (2556: 61-74) กล่าวถึง องค์ประกอบที่ส่งผลต่อคุณภาพการใช้หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มี สาระสำคัญที่ผู้บริหาร ครู อาจารย์ ผู้เรียน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ควรตระหนักถึงความสำคัญในเร่ือง ของการติดตามให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก ท้ังก่อน ระหว่าง และหลังการนำ หลกั สูตรสกู่ ารปฏิบตั ใิ นช้ันเรยี น จากความหมายและองค์ประกอบของการบริหารจัดการหลักสูตร จะเป็นแนวทางให้ครู นำหลักสูตรไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน อย่างไรก็ตามยังมี องค์ประกอบท่ีส่งผลต่อคุณภาพการใช้หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ซึ่งผู้บริหารควรให้ ความสำคัญ ได้แก่ การนิเทศการจัดการเรียนรู้ ระบบพี่เล้ียง การสอนงาน การจัดการความรู้ ชุมชน แหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวิชาชพี และการประเมินหลักสูตร มีรายละเอียดดังน้ี 1. การนิเทศการจดั การเรียนรู้ ความหมายการนิเทศการจดั การเรียนรู้ การนิเทศการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน แนะนำ รวมทั้งการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ระหว่างผู้ให้การนิเทศกับผู้สอน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจดั การเรียนรู้ ซึ่งมหี ลกั การดังตอ่ ไปน้ี 1) มีการยอมรับและให้เกียรติ และไว้วางใจซ่ึงกันและกันระหว่างผู้ให้การนิเทศ และผู้รับการนิเทศ 2) มีความเข้าใจว่าการนิเทศเป็นการทำงานร่วมกันเพื่อช่วยพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนรู้สูงข้นึ 3) มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทง้ั ความรู้ ประสบการณ์ และความสำเร็จ 4) มงุ่ เนน้ การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่อง 5) ดำเนินการนเิ ทศอย่างเปน็ ระบบและนำผลไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นา การนิเทศการจัดการเรียนรู้มียุทธศาสตร์หลัก 2 ประการ คือ การมีส่วนร่วม (participation) และความเปน็ ระบบ (systematic) 1) การมีสว่ นร่วม หมายถึง การทำงานร่วมกันระหว่างผนู้ ิเทศกับผู้รับการนิเทศที่มี การแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ การให้ข้อเสนอแนะต่อการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสรรค์ ให้เกียรติและจริงใจต่อกัน ซ่ึงการมีส่วนร่วม มี แนวทางการปฏิบัติดังนี้ 1) การสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน 2) การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมในการจัดการ เรยี นรู้ 3) การเคารพและให้เกยี รตซิ ่งึ กนั และกัน 2) ความเป็นระบบ หมายถึง การดำเนินการนิเทศการจัดการเรียนรู้โดยมีข้ันตอน การดำเนินการอย่างเป็นระบบที่ชัดเจน ได้แก่ การวางแผนการนิเทศ การดำเนินการนิเทศ การ ประเมนิ ผลการนิเทศ และการปรบั ปรุงและพัฒนา

20 บทบาทของผบู้ ริหารในการนเิ ทศ ผู้บริหารเป็นหัวใจของการนิเทศการจัดการเรียนรู้ซ่ึงถ้าการนิเทศดำเนินไปอย่างมี คุณภาพย่อมส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ และส่งผลทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ด้วยเหตุนผี้ บู้ ริหารจึงมีบทบาทในการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ ดงั น้ี 1) ส่งเสริมและจัดให้มีการนิเทศการจัดการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา โดยมุ่งเน้น การนิเทศเพ่ือการปรับปรุงและพัฒนาและความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายรวมท้ังผู้เก่ียวข้องกับการ จัดการศึกษาในชมุ ชนและท้องถิ่น 2) ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาช่วยการ ดำเนินการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ 3) ส่งเสริมการนำผลการนิเทศมาปรับปรุงและพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการ เรียนรขู้ องผู้สอนรายบุคคลดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย มีประสทิ ธภิ าพ และสรา้ งสรรค์ 4) ส่งเสริมให้มีการประเมินผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนำสารสนเทศจาก การประเมนิ มาปรบั ปรุงและพัฒนาระบบการนิเทศการจดั การเรยี นรูข้ องสถานศึกษา 5) ส่งเสริมขวัญและกำลังใจในการพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ตลอดจนให้แนวคิดและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้กับผู้สอน รายบคุ คล บทบาทของคณะกรรมการดำเนินการนิเทศ 1) กำหนดนโยบายการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา 2) ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้ 3) รว่ มประชมุ วางแผนการดำเนินการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ 4) สนบั สนุนดา้ นงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ 5) กระตุน้ ให้ครูเห็นความสำคญั และเกิดการเรยี นรจู้ ากกระบวนการนิเทศ 6) ปฏิบตั กิ ารนิเทศตามแผนการนเิ ทศการจัดการเรยี นร้ขู องสถานศกึ ษา 7) เปดิ โอกาสการมสี ว่ นรว่ มและการประเมินตนเองของครู 8) ประเมินและปรับปรุงระบบการนิเทศการจดั การเรียนรู้ บทบาทของครผู รู้ ับการนิเทศ 1) ร่วมกจิ กรรมการนเิ ทศการจดั การเรียนรู้ด้วยใจทเี่ ปดิ กว้าง 2) นำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ 3) ใหข้ อ้ มลู ทีเ่ ก่ียวข้องกับการจดั การเรียนรแู้ ละเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้นเิ ทศ 4) มสี ่วนร่วมในกิจกรรมการประเมินผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 1) การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการนิเทศการจัดการเรียนรู้ เป็นการ วเิ คราะหท์ ่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบสภาพปัจจุบันปัญหา รวมท้ังความตอ้ งการต่างๆ ที่เกย่ี วข้องกับการ จดั การเรียนรู้ ซง่ึ จะนำไปสู่การวางแผนการนิเทศการจดั การเรียนร้ทู ่ีสอดคล้องกบั กับสภาพปัญหาและ ความต้องการได้รับการนิเทศ โดยที่การดำเนินการสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การสอบถาม การ

21 สังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ การสัมภาษณ์ผู้สอน การศึกษาผลการประเมินคุณภาพการจัด การศกึ ษา เปน็ ตน้ 2) การวางแผนการนเิ ทศ เป็นการนำผลการวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจำเป็นของการ นิเทศการจัดการเรียนรู้ มากำหนดวัตถุประสงค์การนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ ช่วงเวลาการนิเทศ ผู้ให้ การนิเทศ ผู้รับการนิเทศ และการประเมินผลการนิเทศ อย่างเป็นระบบ โดยความร่วมมือกันของ ผู้บริหาร ผู้สอน และผู้เก่ียวข้อง และนำไปสู่การเขียนโครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้ภายใน สถานศกึ ษา 3) การเตรียมการนิเทศ เป็นการวางแผนการนิเทศตามกิจกรรมท่ีกำหนดใน โครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา การเตรียมการนิเทศท่ีดีจะส่งผลทำให้การ ปฏิบัติการนเิ ทศประสบความสำเร็จบรรลวุ ัตถุประสงค์ 4) การปฏิบตั ิการนิเทศ เป็นการดำเนินกจิ กรรมการนิเทศ ตามแผนการนิเทศซึ่งใน การปฏบิ ัติการนิเทศภายในโรงเรียน ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นหรือผูน้ เิ ทศนำหลกั การนิเทศ เทคนคิ ทกั ษะ สื่อ กจิ กรรม และเคร่ืองมอื นเิ ทศไปใชใ้ ห้เหมาะสมกับสถานการณและครผู ู้รบั การนิเทศ 5) การประเมินผลและการรายงานผลการนิเทศ เมื่อปฏิบัติการนิเทศแล้ว ควรมี การประเมนิ ผลการนิเทศว่าเป็นไปตามวัตถปุ ระสงคห์ รือไม่ อยา่ งไร มปี ัญหาหรือขอ้ จำกัดในการนิเทศ หรือไม่ และมีประเด็นท่ีต้องปรับปรุงแก้ไขการนิเทศอะไรบ้าง อย่างไรก็ตามถ้าการนิเทศประสบ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ควรวิเคราะห์ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ เพื่อเก็บไว้เป็นองค์ความรู้ใน การนิเทศ การจัดการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังควรมีการรายงานผลการนิเทศ โดยครอบคลุมประเด็นที่ สำคัญ ได้แก่ ชื่อผู้นิเทศ ชื่อผู้รับการนิเทศ วันเดือนปีท่ีนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ เนื้อหาสาระท่ีนิเทศ การประเมินผลผู้รบั การนิเทศ แนวทางการปรบั ปรุงและพฒั นาผ้สู อนทส่ี บื เน่ืองจากการนเิ ทศ 2. ระบบพี่เลีย้ ง พเี่ ลย้ี งเป็นระบบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคลากรทมี่ ีประสบการณม์ ากกวา่ กับบคุ ลากร ท่ีมปี ระสบการณ์นอ้ ย โดยพเี่ ลี้ยงหรือผู้ท่มี ีประสบการณ์สงู กว่าจะทำหน้าทีใ่ นการให้คำปรกึ ษาแนะนำ และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพในการทำงานให้กบั บุคลากรที่มปี ระสบการณ์นอ้ ยกว่า ระบบพ่เี ลีย้ ง มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้และผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ท่ีดีข้ึน สามารถจำแนก ออกเปน็ 3 ดา้ น ดังน้ี 1) การทำให้เห็นความท้าทายในการทำงาน ได้แก่ การแนะนำให้รู้จักระบบงาน ใหม่ การแนะนำให้ทราบวัฒนธรรมองค์กร การแนะนำให้เข้าใจหลักสูตร การเรียนรู้ และการ ประเมนิ ผล การแนะนำใหเ้ ขา้ ใจในความเป็นวิชาชีพ 2) การพัฒนาให้เกิดการพัฒนาการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ได้แก่ การพัฒนา ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาให้เกิดภาวะผู้นำและทักษะการ จัดการ 3) การพัฒนาโรงเรียนสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ได้แก่ การ พฒั นาใหเ้ กิดการเรียนรู้ตลอดชวี ติ

22 คณุ ลักษณะของพเ่ี ล้ยี ง 1) การสร้างสัมพันธภาพที่ดี (Interpersonal Skills) เป็นคุณลักษณะที่สำคัญ อย่างแรกของผู้ที่จะเป็นพี่เล้ียง เพราะการมีสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันจะเป็นปัจจัยให้เกิดการรับฟังความ คดิ เห็น ข้อเสนอแนะ และนำไปสู่การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมการจดั การเรียนรทู้ ่ีดีขน้ึ 2) การมีบารมีทางวิชาการ (Influence Skills) เป็นปัจจัยท่ีทำให้ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นต่างๆ ของพ่ีเล้ียง มีความหนักแน่น เช่ือถือได้ว่าเป็นส่ิงท่ีถูกต้อง พ่ีเล้ียงท่ีมีบารมีทาง วิชาการเป็นผู้ทีม่ ีความรู้และประสบการณส์ งู จะทำใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างรวดเร็ว 3) การให้การยอมรับและยินดกี บั ความสำเรจ็ ในการทำงานของผู้อนื่ (Recognized other’s accomplishment) การแสดงความยนิ ดี การช่ืนชม การใหก้ ำลังใจในการพัฒนาต่อยอด สิ่ง นีจ้ ะทำใหผ้ ทู้ ่รี ับการนิเทศเกดิ กำลังใจในการพฒั นาการจดั การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง 4) การมที ักษะของการกำกบั ดูแลท่ีดี (Supervisory Skills) เป็นทักษะท่ีสำคัญท่ีพ่ี เลี้ยงจะคอยกระตุ้นและชักจูงใจให้เกิดการเปล่ียนแปลง รวมทั้งการประคับประคองให้ครูจัดการ เรยี นรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพต่อเน่ือง 5) มีความรู้ประสบการณ์ในสายวชิ าชีพหรอื สายงานของตน (Technical Knowledge) ซ่ึงส่งผลทำใหก้ ารให้ขอ้ เสนอแนะ คำแนะนำตา่ งๆ ต้ังอย่บู นพืน้ ฐานทางวิชาการ และ ประสบการณ์ตรงที่สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ไดจ้ รงิ บทบาทของพ่ีเลย้ี ง 1) มองภาพรวมสงิ่ ที่จะเกดิ ข้ึนในระยะยาว 2) เพิม่ ศักยภาพในการทำงานควบคกู่ บั วฒั นธรรมองคก์ ร 3) วเิ คราะห์จุดออ่ น จุดแข็งและพัฒนาจุดแข็งใหด้ ยี ่ิงขน้ึ 4) มที ักษะการฟัง ต้ังใจฟัง ได้เน้ือหาสาระ ใส่ใจฟัง ฟงั แลว้ คิดตาม 5) ฟังแล้วถามเพอื่ ใหค้ ิดตอ่ และพฒั นาเตบิ โตเป็นอสิ ระทำงานได้ในอนาคต 6) มบี ทบาทชว่ ยใหบ้ คุ คลแก้ไขปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง 7) มีทัศนคติท่ีดี ต้ังใจท่ีจะช่วยเหลือและให้เกิดผลลักษณะท่ีดี เสียสละและอุทิศ ตนทจี่ ะดูแลชว่ ยเหลอื 8) การจดั การระบบพ่ีเล้ยี งทีเ่ ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ 9) มุ่งเน้นกลุ่มคนเก่งท่ีจะต้องดูแลรักษาและพัฒนาในลักษณะการบริหารจัดการ คนเกง่ (Talent management) 10) มีประสบการณ์ความสำเร็จในการทำงาน ใส่ใจ มีเวลาทีจ่ ะเข้ามาดูแล ช่วยเหลือ 11) มีการใหแ้ ละมกี ารรับในลักษณะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 12) ทำงานเชิงรกุ (proactive) มคี วามรักที่จะให้ ตัง้ ใจทจ่ี ะชว่ ยเหลอื 3. การสอนงาน ความหมายของการสอนงาน การสอนงาน หมายถึง การที่ผู้สอนงานให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ตลอดจนฝึกทักษะการปฏิบัติงานให้กับผู้ที่ได้รับการสอนงานด้วยวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องกับ

23 วัตถุประสงค์ของการสอนงาน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ท่ีได้รับการสอนงานมีความรู้ ทักษะ ความ ชำนาญ ความเช่ียวชาญในการปฏิบัติงาน ตลอดจนเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน การสอนงานมี ความสำคัญมากในการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะเป็นไปตามที่องค์กรต้องการ เพราะทำให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองในระยะเวลาอันรวดเร็ว (Sweeney, 2011) องคป์ ระกอบของการสอนงาน 1) มลี ักษณะเป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยการวางแผน การดำเนินการ และการ ประเมนิ ผล 2) มีเป้าหมายหลัก 3 ด้าน ได้แก่ การแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการดำเนินการ จัดการเรียนรู้ 3) มีปฏิสัมพันธ์ มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนงานและผู้รับการสอนงาน อาจ เป็นลกั ษณะรายบุคคลหรือกลุ่มเล็ก และดำเนนิ การอย่างตอ่ เนือ่ ง 4) มีการเสริมพลัง (empowerment) ให้กับผู้รับการสอนงานให้มีความเชื่อม่ันใน ตนเองว่าสามารถเรียนรู้และพัฒนาไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง มสี ทิ ธแิ ละศักดิศ์ รใี นความเป็นมนุษย์ หลกั การสอนงาน 1) การสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ (trust and rapport) การสอนงาน เก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้การสอนงานและผู้รับการสอนงาน ไม่ว่าจะเป็นการสอนงาน รายบุคคลหรือกลุ่มก็ตาม ด้วยเหตุน้ีความเชื่อถือและความไว้วางใจของผู้รับการสอนงานที่มีต่อผู้ให้ การสอนงานจึงเป็นปัจจัยสำคัญลำดับแรกที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้การสอนงานดำเนินไปด้วยความ เรยี บรอ้ ย มปี ระสทิ ธิภาพ และประสบความสำเรจ็ 2) การเสริมพลัง (empowerment) การสอนงานเป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้สอน ค้นพบพลังท่ีมีอยู่ในตนเอง เป้าหมายประการหนึ่งของการสอนงาน คือ การทำให้ผู้รับการสอนงาน สามารถพัฒนาการจัดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถกำกับตนเองได้ ซึ่งในระยะแรกผู้ให้การสอน งาน จะให้การช่วยเหลือ ชี้แนะ อย่างใกล้ชิด จนกระท่ังผู้รับการสอนงานค้นพบความสามารถของ ตนเอง เป็นการช่วยค้นหาพลังท่ีซ่อนอยู่ในตัวผู้รับการสอนงาน แล้วชี้แนะให้สามารถพัฒนาตนเองได้ อยา่ งตอ่ เน่ือง 3) การทำงานอย่างเป็นระบบ (systematic approach) การดำเนินการสอนงาน มีขั้นตอนการดำเนินการอย่างเป็นระบบ ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ของการสอนงาน มีการวางแผนการสอน งาน การดำเนินการสอนงาน และการประเมินผลการสอนงาน รวมท้ังการนำผลการสอนงานมา ปรบั ปรงุ และพัฒนาประสิทธิภาพของการสอนงานดว้ ย 4) การพัฒนาที่ตอ่ เน่ือง (ongoing development) การสอนงานเน้นกระบวนการ เรียนรูแ้ ละพัฒนาบุคลากรอย่างตอ่ เน่ือง ไม่วา่ จะเปน็ ความรู้ ทักษะ ความสามารถตลอดจนเจตคติที่ดี ต่อการปฏิบัตงิ าน

24 5) การมีจดุ เน้น (focusing) การสอนงานที่ดีจะตอ้ งมวี ัตถุประสงค์และจุดเน้นในสิ่ง ทีต่ ้องการพัฒนาที่ชัดเจน ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งด้านความรู้ ทักษะ เทคนิควิธกี ารที่จะทำให้การจดั การ เรยี นรู้มปี ระสทิ ธิภาพ 6) การเช่ือมโยงกับการปฏิบัติงานจริง (onsite coaching) การสอนงานที่ดีต้อง เช่ือมโยงกับการปฏิบัติงานจริงของผู้สอน ผู้ท่ีให้การสอนงานควรให้คำชี้แนะหรือการสอนงานอย่าง เป็นรูปธรรม เชื่อมโยงความรู้เชิงทฤษฎีกับบริบทการปฏิบัติงานจริงจนผู้รับการสอนงานเกิดความ เข้าใจท่ีชัดเจนจนสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับจากการสอนงาน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ใน ชนั้ เรียนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 7) การท บ ท วน และสะท้ อ น ผล การสอน งาน (after action review and reflection) เป็นการประเมินผลและทบทวนการดำเนินการสอนงานว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ อยา่ งไร เพอื่ นำผลการประเมินมาปรบั ปรุงและพฒั นาการสอนงานอย่างต่อเนือ่ ง ประเภทการสอนงาน 1) การสอนงานเพื่อการเปล่ียนแปลงคุณภาพทั้งโรงเรียน (change coach) เป็น การสอนงานท่ีมีจุดเน้นการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้สอนเพ่ือนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงคุณภาพท้ัง สถานศึกษา (whole – school improvement) มุ่งพัฒนาให้ผู้สอนมคี วามเชื่อม่นั และใช้กลยทุ ธ์การ จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียน ผู้สอนงานเพื่อการเปลี่ยนแปลงจะไม่เน้นการสอน งานการจัดการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชาหรือระดับช้ันแบบแยกส่วน แต่จะสอนงานในภาพรวมมากกว่า แตกต่างจากผู้สอนงานด้านการจัดการเรียนรู้ การสอนงานเพื่อการเปล่ียนแปลงคุณภาพท้ังโรงเรียนมี กจิ กรรมที่สำคัญ ซ่ึงผู้สอนงานควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.1) ส่งเสรมิ การประเมินผลคุณภาพผู้เรียนและนำผล การประเมินมาวางแผนพัฒนา 1.2) กระตุ้นผู้สอนให้มีภาวะผู้นำในการจัดการเรียนรู้และความเช่อื ม่ัน ในตนเอง 1.3) กระตุน้ ผู้สอนให้มีจิตสำนึกความรบั ผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ 1.4) พัฒนาผู้สอนให้มี ทักษะและความสามารถในการประเมินและสะท้อนตนเอง และ1.5) พัฒนาผู้สอนให้มีทักษะการวาง แผนการเรยี นรู้และการบริหารจดั การเวลา 2) การสอนงานเพื่อการจัดการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา (content coach) มุ่งเน้น การสอนงานเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชาที่มีความเฉพาะเจาะจงมากกว่าการสอนงาน เพื่อการเปล่ียนแปลง เช่น การสอนงานด้านการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของครูช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นต้น การสอนงานเพื่อการจัดการเรียนรู้นี้มีจุดมุ่งหมายเพ่อื พฒั นาประสิทธภิ าพการจัดการเรียนรู้ ของผู้สอนเป็นสำคัญ ซ่ึงจะต้องสอนลงลึกไปในรายละเอียดของเน้ือหาสาระท่ีสอน และเทคนคิ วิธีการ สอน ซึ่งแต่ละรายวิชาจะมีธรรมชาติการเรียนร้ทู ่ีแตกต่างกัน ดังน้ันผู้สอนงานเพื่อการจัดการเรียนร้จู ึง ต้องมีความรู้ในเน้ือหาสาระที่ถกู ต้องแมน่ ยำ การสอนงานเพื่อการจัดการเรียนรู้มีกิจกรรมท่ีผู้สอนงาน ควรปฏิบัติ ได้แก่ 2.1) มีส่วนร่วมในการวางแผนและการดำเนินการการจัดการเรียนรู้ 2.2) สอนให้ เกิดการพัฒนากลยุทธ์ การจัดการเรียนรู้อย่างเฉพาะเจาะจง 2.3) สอนให้พัฒนาส่ือการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้แหล่งการเรียนรู้ 2.4) สอนงานใหค้ รูใหมพ่ ัฒนาวิธกี ารวางแผนการจัดการเรยี นรู้ 2.5) กระตุ้นให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูป้ ระสบการณ์จากการปฏิบัติจริง 2.6) สังเกตกระบวนการจัดการ เรยี นร้แู ละให้ผลยอ้ นกลบั เพอื่ การพฒั นา และ2.7) สาธติ การจัดการเรยี นรู้ในบางหัวขอ้ ที่จำเปน็

25 ภารกิจและทกั ษะการสอนงาน การสอนงานมีภารกจิ และทกั ษะท่จี ำเปน็ ดังต่อไปนี้ 1) การสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการสอนงานระหว่างผู้สอนงานและผู้รับการ สอนงาน ให้การสอนงาน ให้ข้อเสนอแนะ ให้แนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับความหลากหลายทาง วฒั นธรรมของผู้รบั การสอนงาน 2) การสรา้ งพนั ธะสญั ญาร่วมกันระหว่างผู้ให้การสอนงานและผรู้ ับการสอนงาน ว่า จะรว่ มกันพฒั นาความร้คู วามสามารถในการปฏบิ ัติงานอยา่ งต่อเนื่อง 3) การประเมินผลเป็นภารกิจท่ีสำคัญในการตรวจสอบการบรรลุวัตถุประสงค์ ของ การสอนงาน โดยใชว้ ิธกี ารที่หลากหลายและยืดหยุ่น ยึดหลักการมีส่วนรว่ มในการประเมินตนเองของ ผ้รู ับการสอนงาน นำผลการประเมนิ ไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นา 4) การวางแผนการพฒั นา เป็นภารกิจแรกทผ่ี ู้ใหก้ ารสอนงานและผรู้ ับการสอนงาน จะต้องดำเนินการร่วมกัน โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการสอนงาน ประเด็นหรือขอบเขตท่ีจะสอน งาน ไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นความรู้ ทกั ษะ หรอื ด้านเจตคติ 5) การอำนวยความสะดวกในการพัฒนาและการเปล่ียนแปลง เป็นบทบาทหน้าที่ ของผู้ให้การสอนงานที่จะต้องปฏิบัติต่อผู้รับการสอนงานด้วยการส่งเสริม สนับสนุนให้ข้อเสนอแนะ แนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นประโยชน์ต่อผู้รับการสอนงาน คณุ ลกั ษณะของผสู้ อนงาน 1) มีความรู้ในเรอ่ื งท่ีตนเองจะต้องสอนงาน ซ่ึงเป็นความรู้ที่ถูกตอ้ ง ทันสมัย เชน่ มี ความรู้ในเนื้อหาสาระ (content) การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้การสร้างสื่อ การ ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นตน้ 2) มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ท้ังในรูปแบบท่ีเป็นทางการ และไม่เป็น ทางการ เช่น การสอนตัวต่อตัว การสอนกลุ่มเล็ก การเล่าประสบการณ์ที่ตนเองเคยประสบ เป็นต้น ซ่ึงการถ่ายทอดความรู้เป็นคุณลักษณะท่ีสำคัญของผู้สอนงานท่ีจะทำให้ผู้รับการสอนงานมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบตั งิ านสูงขึน้ 3) มีความสามารถในการประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบว่าผู้รับการสอนงาน เกิดการเรียนรู้และพัฒนาเป็นอย่างไร เลือกใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมินที่มีความหลากหลาย สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการประเมิน มีความสามารถในการสรุปและรายงานผล รวมทั้งการให้ข้อเสนอ เพื่อการปรับปรงุ และพฒั นาทต่ี ้งั อยู่บนพ้ืนฐานผลการประเมิน 4) มีความใจกว้างและยืดหยุ่น เป็นคุณสมบัติที่สำคัญอย่างหน่ึงของผู้สอนงาน ความมีใจกว้างจะทำให้เป็นคนท่ีเปิดรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอ่ืนท่ีแตกต่างจากตนเอง พร้อมท่ีจะ ปรับเปล่ียนวิธกี ารสอนงานหรือแนวคิดต่างๆ เปน็ ปัจจัยเอื้อให้ผู้รับการสอนงานรู้สึกถึงความมีศักดิ์ศรี ส่วนการยืดหยุ่นเป็นผลสืบเน่ืองมาจากความมีใจกว้าง ซ่ึงคนท่ีมีความยืดหยุ่นจะสามารถปรับเปลี่ยน แนวคิด และวิธกี ารสอนงานได้สอดคล้องกับธรรมชาตแิ ละความต้องการของผูร้ บั การสอนงาน 5) เป็นบุคคลท่ีเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงจะทำให้ผสู้ อนกา้ วทันองค์ ความรู้และนวัตกรรมนำไปสู่การสอนงานที่มีประสิทธิภาพ ผู้รับการสอนงานเห็นคุณค่าและ ความสำคญั ของผู้สอนงานทำให้มนี วตั กรรมการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเน่อื ง

26 กระบวนการสอนงาน การสอนงานเป็นการดำเนินการที่เป็นข้ันตอนและมีความเป็นระบบ ประกอบด้วย ข้นั ตอนหลกั 4 ขั้นตอนดังนี้ 1) การเตรียมการสอนงาน เป็นการสังเกตสังเกตพฤติกรรมเพ่ือค้นหาจดุ อ่อน และ จุดแข็งของบุคลากรท่ีจะได้รับการสอนงาน ซ่ึงหัวหน้างานสามารถนำผลที่ได้จากการประเมินมาใช้ ประกอบร่วมกบั ข้อมูลจากการสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านของครู เพื่อใหม้ ่ันใจว่าอะไรเปน็ จุดออ่ น ท่คี รูควรได้รับการพฒั นา อะไรคือจดุ แขง็ ที่ควรส่งเสริมให้ดียง่ิ ข้นึ 2) การกำหนดแผนการสอนงานร่วมกันระหวา่ งผสู้ อนงานและผู้รับการสอนงาน ท่ี มลี ักษณะเป็นแผนการพัฒนาส่วนบุคคล โดยระบวุ ัตถุประสงค์และเป้าหมายของการสอนงาน ซึ่งผู้ให้ การสอนงานต้องสร้างความเข้าใจให้กบั ผู้รบั การสอนงานให้เห็นความสำคญั ของการพัฒนาตนเองเพื่อ การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพหรืองานท่ีท้าทายมากข้ึน ขั้นตอนนี้มุ่งเน้นการกระตุ้นและสร้างแรง บนั ดาลใจใหบ้ ุคลากรตอ้ งการพฒั นาและเปลี่ยนแปลงตนเอง 3) การดำเนินการสอนงาน เป็นการปฏิบัติการสอนงานตามแผนท่ีกำหนดไว้ โดย ผสู้ อนงานจะทำหน้าที่ให้ความรู้ คำช้ีแนะ คำแนะนำ และการให้ผลย้อนกลับ (feedback) ท้ังในด้าน พฤติกรรมและผลการปฏิบัตงิ านทัง้ ในดา้ นทด่ี ีและด้านทคี่ วรปรบั ปรุง เพอื่ นำไปปรบั ปรุงตนเอง 4) การติดตามและประเมินผล เป็นการตรวจสอบและประเมินการบรรลุ วัตถุประสงค์ของการสอนงานเป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึงการติดตามและประเมินผลทำได้ หลายวธิ ี เชน่ การสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน การสมั ภาษณ์ การพูดคุย เป็นต้น 4. การจดั การความรู้ ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถึง กระบวนการ แสวงหา การรวบรวม การสร้าง รวมทงั้ การประมวลขอ้ มูล สารสนเทศ ความคดิ การกระทำ ตลอดจน ประสบการณ์ของบุคคล เพื่อสร้างเป็นความรู้ หรือนวัตกรรม รวมท้ังการจัดเก็บความรู้ท่ีสามารถ เข้าถึงโดยอาศัยช่องทางต่าง ๆ ท่ีองค์กรจัดเตรียมไว้เพื่อนำความรู้ที่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอนความรู้ซ่ึงในที่สุดความรู้ท่ีมีอยู่จะแพร่กระจายและ ไหลเวียนท่ัวทั้งองค์กรอย่างสมดุลเพ่ือความสามารถในการพัฒนาผลผลิตและพัฒนาองค์กรให้มี ความสามารถในการแขง่ ขนั ได้ ขั้นตอนการจดั การควมรู้ การจัดการความรู้มี 4 ขัน้ ตอน ทมี่ ีลกั ษณะเป็นวงจร (cycle) ดังนี้ 1) ก า รส ร้า งค ว า ม รู้ ห รื อ ก า รพั ฒ น าค ว า ม รู้ (Knowledge Creation & Acquisition) เปน็ ข้นั ตอนของการพัฒนาและการสร้างความร้ใู หม่ 2) การกระจายความรู้ (Knowledge Distribution) เป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ ให้บริการความรู้ไปสู่บุคลากรในสถานศึกษา และเป็นการพัฒนาบุคลากรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ท่ีมีความสามารถโดยการใช้เคร่ืองมือในการสืบค้นสารสนเทศทางความรู้จากฐานข้อมูลท่ีจัดเก็บแล้ว กระจายสู่หน่วยงานต่างๆ เพ่ือการใช้งานการเผยแพร่สารสนเทศให้คนในองค์กร สามารถเข้าถึง ความร้ใู นองคก์ รได้

27 3) การประยกุ ต์ใช้ความรู้ (Knowledge Application) เป็นกระบวนการนำความรู้ ที่มีอยู่ในสถานศึกษาไปใช้ในการปฏิบัติงานเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร มีลักษณะเป็นวงจร ของการพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื ง 4) การจัดระบบความรู้และการจัดเก็บความรู้ (Knowledge Organization & Storage) เป็นข้นั ตอนของการประมวลและจดั ระบบฐานข้อมูลสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ โดยอาศยั เทคโนโลยี สารสนเทศมาช่วยในการสังเคราะห์และจัดเก็บข้อมูลความรู้และจัดการให้เกิดเป็นการบริการผ่าน ระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศแก่บุคลากรในองค์กร 5. ชมุ ชนการเรียนรู้เชิงวชิ าชีพ ความหมายของชุมชนการเรยี นรูเ้ ชงิ วชิ าชพี ชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็น การผสมผสานแนวคิด 2 ประการ ได้แก่ ความเป็นมืออาชีพ (professional) และชุมชนการเรียนรู้ (learning community) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของบุคคลผู้ประกอบวิชาชีพครู โดยมีจุดมุ่งหมาย เพ่อื พฒั นาสมรรถนะเชงิ วิชาชีพ และคุณภาพของผู้เรียนร่วมกนั ผา่ นกระบวนการเรียนรู้รว่ มมอื รว่ มใจ (collaborative learning) การเรียนรู้ประสบการณ์ การปฏิบัติงานในพ้ืนที่ (field) และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (sharing learning) อย่างต่อเนื่อง จุดเน้นของชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพครู คือ การเรียนรู้ร่วมกันท่ีเป็นมากกว่าการแลกเปลี่ยนวิธีสอน (focus on learning rather than on teaching) การทำงานร่วมกัน (work collaborative) และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง (self - accountable) มีลักษณะชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพของสถานศึกษา ดังนี้ 1) องค์กรเล็กและมี คุณภาพ (small) 2) มีองค์ความรู้ (smart) 3) มีน้ำใจ ย้ิมแย้ม แจ่มใส (smile) 4) มีความร่วมมือ ไร้ความขัดแย้ง (smooth) 5) การดำเนินงานเรียบง่าย มีประสิทธิภาพ (simplicity) บุคลากรเกิด ความผูกพันกับองค์กรโดยมีการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกนั ตามลำดบั ความสำคัญของภารกิจ การ พัฒนาภาวะผู้นำกับผู้บริหารการทุ่มเทการสื่อสารค่านิยมขององค์กรกับพันธะกิจให้บุคลากรเข้าใจ ตรงกัน องค์ความรู้ท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูแต่ละคนจะถูกนำมาจัดการความรู้ อย่างเป็นระบบ และนำมาแลกเปลย่ี นเรียนรู้ซึง่ กันและกันอยา่ งต่อเน่อื ง โดยอาศัยกระบวนการจัดการ ความรู้ ช่วยทำให้ครูมีความรู้ในเน้ือหา และเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ ส่งผลทำให้สามารถจัดการ เรยี นร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล เกดิ การปรบั ปรุงและพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง องค์ประกอบของชุมชนการเรียนรเู้ ชิงวิชาชีพ การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพมีองค์ประกอบ 5 ประการ ดังน้ี 1) การแลกเปล่ียนคุณค่าและวิสัยทัศน์ (shared values and vision) หมายถึง การแลกเปล่ียนแบ่งปัน และกำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตลอดจนการมีพันธะสัญญา รว่ มกนั ระหวา่ งครแู ละผบู้ ริหารในการยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศึกษา 2) วัฒนธรรมความร่วมมือร่วมใจ (collaborative culture) หมายถึง พันธะ สญั ญาเก่ียวกบั ความรว่ มมือรว่ มใจของครูทกุ คน รวมท้ังผบู้ รหิ าร สำหรบั การดำเนินกิจกรรมตา่ งๆ ใน ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพโดยมีเป้าหมายเดียวกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันเก่ียวกับการเรยี นรู้ ของผ้เู รียน

28 3) มุ่งเน้นการตรวจสอบและปรับปรุงผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (focus on examining outcomes to improve student learning) หมายถึง การให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ การเรียนรู้ของผู้เรยี น (learning outcomes) โดยการประเมินผลการเรียนรู้ และนำข้อมลู สารสนเทศ จากการประเมนิ มาวางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นอยา่ งต่อเนื่อง ซงึ่ ครูและผู้บริหาร ต้องมีความรับผดิ ชอบต่อผลการตรวจสอบดงั กลา่ วซึง่ ถอื ว่าเปน็ ความรบั ผิดชอบร่วมกนั 4) ก ารส นั บ ส นุ น แ ล ะแล ก เป ล่ี ยน ภ าว ะผู้ น ำ (supportive and shared leadership) หมายถึง การให้การสนับสนุนการดำเนินการของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ รวมทั้งการให้ครูทุกๆ คน เป็นผู้นำในการตัดสินใจ บนพ้ืนฐานความเท่าเทียมกัน และข้อมูล สารสนเทศ บทบาทภาวะผู้นำ มีจุดเน้นท่ีการกระตุ้นให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันให้มากที่สุด เพอ่ื ใหช้ มุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี นั้นบรรลเุ ป้าหมายคือคุณภาพของผู้เรยี น 5) การแลกเปล่ียนประสบการณ์การปฏิบัติส่วนบุคคล (shared personal practice) หมายถึง การนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดการเรียนรู้ในชัน้ เรียน จากการ ประเมินตนเอง การสังเกตการจัดการเรียนรู้ของเพ่ือนครู และผลการประเมินต่างๆ เช่น ทักษะการ เรียนรู้ของผู้เรียนมาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพ่ือนครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ซึ่งการแบ่งปัน ประสบการณ์ การปฏิบัติส่วนบุคคลน้ีจะช่วยทำให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาความเป็นมืออาชีพ (professional) อย่างตอ่ เนอื่ งและย่งั ยนื 6. การประเมนิ หลักสตู ร ความหมายของการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตร หมายถึง การพิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตรโดยใช้ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องมาประกอบการตัดสินใจให้คุณค่าว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่ อย่างไร เพ่ือนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข การพัฒนา หรือการยุติหลักสูตร (มารุต พัฒผล , 2555; Daimond, 2006) การประเมินหลักสูตรมีความสำคัญสำหรับการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรหลาย แงม่ มุ เช่น ความเหมาะสมของเอกสารหลกั สูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบนั คุณภาพการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การบริหารจัดการหลักสูตร การควบคุมคุณภาพ หลักสูตร ตลอดจนการวิจัยหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ดังน้ันการประเมินหลักสูตรจึงเป็นปัจจัย ชี้นำว่าหลักสูตรท่ีใช้อยู่นั้นควรปรับปรุงแก้ไขในประเด็นใด อย่างไร การประเมินหลักสูตรช่วยบ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพ และความสำเร็จของการใช้หลักสูตร เปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มี คุณภาพโดยการประเมินหลักสูตรจะช่วยให้มีข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการปรับปรุง เปล่ียนแปลง หลักสูตรให้มีความเหมาะสม ทันสมัยมากขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนและบัณฑิตจากการนำผล การประเมนิ ไปใช้จริง การประเมินหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายหลายประการคือ 1) เพ่ือตรวจสอบว่าเอกสาร หลักสูตร ไดแ้ ก่ หลักการ จุดหมาย โครงสร้าง เนื้อหา การจดั การเรียนรู้ ส่ือ การวัดและประเมนิ ผลว่า มีความสอดคล้องกันหรือไม่ 2) เพ่ือตรวจสอบว่าการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติหรือกระบวนการใช้ หลักสูตรมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักการและวัตถุประสงค์หรอื ไม่ 3) เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนมี คุณภาพตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่ 4) เพ่ือตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้เรียน และสังคมหรือไม่เพียงใด ในการประเมินหลักสูตรแบ่งเป็น 3 ช่วงระยะเวลาได้แก่ การ

29 ประเมนิ กอ่ นการใชห้ ลักสตู ร การประเมินระหว่างการใช้หลักสูตรและการประเมินหลงั การใชห้ ลักสูตร ผู้วิจัยขอกล่าวถึงสาระสำคญั เพ่อื เป็นแนวทางในการประเมนิ หลักสูตรดังน้ี 1) การประเมินกอ่ นการนำหลกั สตู รไปปฏิบตั ิ เป็นการประเมินหลงั จากไดว้ างแผน พัฒนาหลักสูตรแล้ว เพ่ือตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรฉบับร่าง โดยการพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสตู ร เช่น เอกสารหลักสูตร เน้ือหาสาระการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลโดยผเู้ ช่ียวชาญหลาย ฝ่าย 2) การประเมินระหว่างการนำหลักสูตรไปปฏิบัติ เป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบ คุณภาพของหลักสูตรระหว่างการใช้หลักสูตร โดยการพิจารณาว่า หลักสูตร การเรียนรู้และการวัด ประเมนิ ผลท่ีปฏิบัตอิ ย่นู ั้นเปน็ อยา่ งไร การเรยี นรู้และการวัดประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกับเอกสารหลักสูตร หรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคอะไร และควรปรบั ปรุงแกไ้ ขใหด้ ขี ึ้นโดยวิธกี ารใด 3) การประเมินหลังการใช้หลักสูตร เป็นการประเมนิ ท่ีดำเนินการภายหลงั เสร็จสิ้น การใช้หลักสูตร โดยการพิจารณาประสิทธิภาพในการวางแผนหลกั สูตรกระบวนการทำหลักสูตรไปใช้ การเรยี นรู้ การวัดประเมนิ ผล รวมท้ังผลผลติ ท่ีเกิดขึ้นจากการใชห้ ลักสตู ร โดยใชเ้ ครื่องมือสำหรับการ เก็บรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกบั ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน ความคดิ เห็นของผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย กระบวนการประเมนิ หลักสตู ร กระบวนการประเมินหลกั สตู รทั้งระบบ มดี งั น้ี 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตร ว่าการดำเนินการประเมิน หลักสูตรท่ีจะดำเนินการน้ัน มีเป้าประสงคเ์ พื่ออะไร เชน่ เพ่ือการปรับปรงุ หลักสูตรให้มีความทันสมัย สอดคลอ้ งกับบริบทของสงั คม และมาตรฐานการศึกษา เปน็ ตน้ 2) การกำหนดรูปแบบการประเมินหลักสูตร เป็นการเลือกใช้ หรือประยุกต์ใช้ รูปแบบการประเมินหลักสูตรต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้วในหัวข้อที่ 7 ให้ตอบสนองเป้าประสงค์ของการ ประเมินหลักสูตร ซ่ึงการกำหนดรูปแบบการประเมินหลักสูตรท่ีดีควรนำไปสู่การตอบคำถามของการ ประเมนิ หลกั สูตรไดค้ รอบคลุม ถกู ตอ้ ง และชัดเจน 3) การวางแผนการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรจะมีความถูกต้องก็ ตอ่ เมอ่ื มีการวางแผนการประเมินท่ีเป็นระบบชัดเจน ท้ังมิติการประเมิน ประเดน็ การประเมิน คำถาม การประเมิน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือ และแหล่งข้อมูล การวางแผนการประเมินหลักสูตร เป็นกระบวนการ ท่ีมีความสำคัญมาก อาจต้องใช้ข้อมูลอย่างหลากหลายทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 4) การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการประเมินหลักสูตร เป็นการ สร้างเคร่ืองมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ตามท่ีกำหนดไว้ในพิมพ์เขียวการประเมินหลักสูตร เช่น แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบสมั ภาษณ์ เป็นตน้ 5) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สำหรับการ ประเมินหลักสูตร โดยใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ เช่น การตรวจสอบเอกสาร การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นต้น มีการบันทึกผลการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งขอ้ มูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีครบถ้วน สมบรู ณ์

30 6) การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาดำเนินการวิเคราะห์ทาง สถิติ เช่น ค่าเฉลี่ย ความถี่ ร้อยละ เป็นต้น รวมท้ังการวิเคราะห์เน้ือหา ในกรณีท่ีเป็นข้อมูลเชิง คุณภาพ โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลดิบก่อนดำเนินการวิเคราะห์ โดยท่ีการวิเคราะห์ ข้อมูลในขั้นตอนนี้ มุ่งหาข้อสรุปของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้จำนวนมาก โดยยังไม่มีการลงสรุปผล การประเมนิ หลกั สูตร 7) การลงสรุปผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะ เป็นการนำข้อสรุปของการ วิเคราะห์ข้อมูลไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินหลักสูตรที่กำหนดไว้ ถ้าผลการเปรียบเทียบ ปรากฏว่าเป็นไปตามเกณฑ์ นั่นหมายความว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน แต่ถ้าผลการเปรียบเทียบไม่ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด แสดงว่าไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินจะต้องมีการปรับปรุงให้มี คุณภาพมากข้นึ 8) การรายงานผลการประเมนิ หลกั สูตร เป็นการสื่อสารผลการประเมินหลกั สูตรไป ยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหาร ผู้สอน ชุมชน ผู้ปกครอง ผู้เรียน เป็นต้น เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับคุณภาพของหลักสตู รในประเด็นตา่ งๆ ตรงกนั และนำไปสู่การปรบั ปรุงและพัฒนา หลักสตู รใหม้ คี ณุ ภาพมากย่ิงข้ึน จากสาระสำคัญขององค์ประกอบของการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีส่งผลต่อคุณภาพการใช้ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนท่ีกล่าวข้างต้น เป็นบทบาทหน้าที่สำคัญของผู้บริหาร และผู้ท่ี เกย่ี วข้องกับการพัฒนาหลักสูตรซ่ึงจะสะท้อนถงึ คณุ ภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของหลักสูตร เน่ืองจากหลักสตู รเป็นหัวใจสำคัญสำหรับการจัดการศึกษาทุกระดบั เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ พัฒนาในทุกด้าน สอดคล้องตามจุดมุ่งหมายท่ีพึงประสงค์ ซึ่งหลักสูตรที่ดีควรสนองตอบต่อความ ต้องการของสังคม 2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้องกับรปู แบบการประเมินหลกั สตู ร 2.1 ความหมายของการประเมินหลกั สตู ร การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศตลอดจน กิจกรรมต่างๆเก่ียวกับหลักสูตรเพ่ือนำมาตัดสินค่าหรือคุณภาพของหลักสูตรนั้น อย่างไรก็ตามมี นักวิชาการหลายท่านที่ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรไว้ค่อนข้างเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ว่า การประเมนิ หลกั สูตร หมายถึง การรวบรวมข้อมลู การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพ่ือจะดวู า่ กระบวนการการ จัดกิจกรรมหลักสูตรและการสอนได้ดำเนินไปว่ามีประสิทธิผล มีคุณค่าตามเป้าหมาย หรือมีคุณภาพ ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือไมเ่ พียงใดเพื่อนำมาตัดสินใจวางแผนในกิจกรรมต่าง ๆ ในหลักสตู รให้ดี ขึ้น (Cronbach, 1970, Stufflebeam. et al., 1971, Good, 1973, วิชัย วงษ์ใหญ่, 2554, มารุต พฒั ผล, 2558) การประเมินหลักสูตรเป็นข้ันตอนหน่ึงที่สำคัญของการทำงานด้านหลักสูตรเมื่อมีการใช้ หลักสูตรทุกคร้ังจำเป็นต้องมีการประเมินหลักสูตรเพื่อให้ทราบว่าการทำงานด้านหลักสูตรน้ันได้ผล ตามความมุ่งหมายท่ีกำหนดไว้เพียงใด มีปัญหาหรืออุปสรรคใดบ้างจะได้แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา ต่อไป

31 2.2 จุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลกั สตู ร การประเมินหลักสูตรจะต้องครอบคลุมข้ันตอนของการพัฒนาหลักสูตรฉะน้ันการ ประเมินหลักสูตรจึงมีขอบเขตของการประเมินที่กว้าง แต่ละขั้นตอนมีจุดมุ่งหมายท่ีแตกต่างกัน แต่ ส่วนใหญแ่ ลว้ จะมจี ดุ มุ่งหมายของการประเมินใกลเ้ คียงกัน ซงึ่ มีนกั การศึกษาได้เสนอแนวคิดไว้ ดงั น้ี วิชัย วงษ์ใหญ่ (2537: 218) ไดก้ ล่าวถึง จดุ มุ่งหมายของการประเมนิ หลักสตู รไว้ 3 ประการคือ 1) เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตร โดยตรวจสอบว่าหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นมานั้นบรรลุตาม วัตถุประสงคห์ รือไม่ 2) เพื่อวดั ผลดวู า่ การวางเค้าโครงและรปู แบบระบบของหลกั สูตร รวมท้ังวัสดปุ ระกอบ หลักสูตร และการบรหิ ารและบริการหลกั สตู ร เป็นไปในทางท่ถี กู ตอ้ งหรอื ไม่ 3) การประเมินจากผู้เรียนเอง หรือการประเมินผลผลิตเพ่ือตรวจสอบดูว่ามีลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ เป็นไปตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตรหรือไมเ่ พียงใด ใจทิพย์ เช้ือรัตนพงษ์ (2539: 192) ได้กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรใดๆ ก็ตามจะมี จุดมุ่งหมายสำคญั ท่ีคล้ายคลึงกนั ดังน้ี 1) เพ่ือหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องท่ีพบในองคป์ ระกอบต่างๆของหลกั สตู ร 2) เพ่ือหาทางปรับปรุงแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตร การนิเทศกำกับดูแล และการ จดั กระบวนการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ 3) เพ่ือช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีก หรือควรยกเลิก การใช้หลกั สตู รเพียงบางส่วน หรือยกเลิกทั้งหมด 4) เพ่ือต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตของหลักสูตรว่ามีการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามความมุ่งหวังของหลักสูตรหลังจากผ่านกระบวนการทางการศึกษา มาแล้วหรือไม่ อย่างไร สุนยี ์ ภู่พนั ธ์ุ (2546: 250) ได้กล่าวถงึ จดุ มุง่ หมายของการประเมนิ หลักสูตรไวด้ ังนี้ 1) เพ่ือหาคุณค่าของหลักสูตรน้ัน โดยดูว่าหลักสูตรนั้นสามารถสนองวัตถุประสงค์ที่ หลกั สูตรนน้ั ต้องการหรือไม่ สนองความตอ้ งการของผู้เรียน และ สังคมอยา่ งไร 2) เพื่ออธิบายและพิจารณาลักษณะของส่วนประกอบต่างๆ ของหลักสูตรในแง่ต่างๆ เช่น หลักการ จุดมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอน และการวดั ผลว่าสอดคลอ้ งกนั หรือไม่ 3) เพอ่ื ตัดสนิ ว่าหลักสูตรมคี ุณภาพดหี รือไม่ เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมกับการนำไปใช้ 4) เพ่ือตัดสินว่า การบริหารงานด้านวิชาการและการบริหารด้านหลักสูตรเป็นไปใน ทศิ ทางท่ถี ูกตอ้ งหรอื ไม่ 5) เพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตร คือ ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจาก การผ่านกระบวนการทางการศกึ ษามาแลว้ ตามหลกั สตู รวา่ เป็นไปตามความมุ่งหวงั หรือไม่ 6) เพื่อหาทางปรับปรุงแกไ้ ขสิง่ บกพร่องทพี่ บในองค์ประกอบต่างๆในหลกั สตู ร 7) เพ่ือชว่ ยในการตัดสินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปหรือไม่ หรือควรปรับปรุงพัฒนาในส่ิง ใดสงิ่ หนง่ึ หรอื เพื่อยกเลกิ การใชห้ ลักสตู รนั้นทั้งหมด

32 จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้นสามารถสรุปจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร ได้ 3 ประการคือ เพ่ือปรับปรุงแก้ไขส่ิงต่างๆท่ีพบในองค์ประกอบของหลักสูตร ระบบการบริหารหลักสูตร การนิเทศกำกับดูแล การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน เพื่อหาคุณค่าของ หลักสูตรดูว่าหลักสูตรท่ีจัดทำขึ้นนั้นสนองวัตถุประสงค์ที่หลักสูตรนั้นต้องการหรือไม่ และช่วยในการ ตัดสินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีก หรือควรยกเลิกการใช้หลักสูตรเพียงบางส่วน หรือยกเลิกทั้งหมด และเพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตร คือ ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากการผ่าน กระบวนการทางการศึกษามาแลว้ ตามหลกั สูตรวา่ เปน็ ไปตามความมุ่งหวังหรอื ไม่ 2.3 ระยะเวลาของการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรควรมีการดำเนินเป็นระยะๆท้ังน้ีเน่ืองจากข้อบกพร่องหรือ ขอ้ ผิดพลาดของหลักสูตรอาจมีสาเหตุมาจากหลายปัจจยั และในระยะต่างกัน เชน่ อาจมีสาเหตมุ าจาก ตอนจัดทำ หรือยกร่างหลักสูตรซึ่งทำให้ตัวหลักสูตรไม่มีคุณภาพที่ดี หรือไม่สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของผู้เรียน และสังคมที่เปลี่ยนไป หรืออาจมีสาเหตุมาจากตอนนำหลักสูตรไปใช้ การ ประเมินหลักสูตรที่ดีจึงต้องตรวจสอบเป็นระยะเพ่ือลดปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึน โดยท่ัวไปจะแบ่งเป็น 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะท่ี 1 การประเมินหลกั สูตรกอ่ นนำหลักสูตรไปใช้ ในช่วงระหว่างที่มีการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรอาจมีการดำเนินการตรวจสอบทุก ข้ันตอนของการจัดทำ นับแต่การกำหนดจุดมุ่งหมายไปจนถึงการกำหนดการวัดและประเมินผลการ เรียน เมื่อสร้างหลักสูตรฉบับร่าง เสร็จแล้ว ก่อนจะนำหลักสูตรไปใช้จริง จึงควรมีการประเมิน ตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรฉบับร่างและองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร การประเมินหลักสูตร ในระยะนี้ต้องอาศัยความคิดเห็นจากผู้เช่ียวชาญทางด้านพัฒนาหลักสูตร ทางด้านเนื้อหา ทางด้าน วิชาชพี ครู ทางด้านการวดั ผล เป็นต้น ระยะที่ 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดำเนนิ การใช้หลกั สตู ร ในขณะที่มีการดำเนินการใช้หลักสูตรที่จัดทำข้ึนควรมีการประเมินเพื่อตรวจสอบว่า หลักสูตรสามารถนำไปใช้ได้ดีเพียงใดจะได้แก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสม เช่น ประเมินกระบวนการใช้ หลักสูตรในด้านการบริหารการจัดการหลักสูตร การนิเทศกำกับดูแล และการจัดกระบวนการเรียน การสอน ระยะที่ 3 การประเมนิ หลกั สูตรหลงั การใชห้ ลักสูตร หลังจากที่มีการใชห้ ลักสูตรมาแล้วระยะหนึ่งหรือครบกระบวนการเรยี บร้อยแล้วควรจะ ประเมินหลักสูตรทั้งระบบ ซ่ึงได้แก่ การประเมินองค์ประกอบด้านต่างๆของหลักสูตรท้ังหมด คือ เอกสารหลกั สูตร วสั ดุหลักสตู ร บคุ ลากรทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การใช้หลักสูตร การบรหิ ารหลกั สตู ร การนิเทศ กำกบั ติดตาม การจัดกระบวนการเรียนการสอน ฯลฯ เพ่ือสรปุ ผลตัดสินว่าหลกั สตู รที่จดั ทำขนึ้ น้ันควร จะดำเนนิ การใชต้ อ่ ไป หรือควรปรับปรงุ แกไ้ ขใหด้ ีข้นึ หรอื ควรจะยกเลิก จากแนวคิดดังกล่าวสรุปได้ว่าระยะเวลาในการประเมินหลักสูตร มีความจำเป็นท้ัง 3 ระยะ คอื ก่อนนำหลักสตู รไปใช้ ระหว่างการนำหลกั สตู รไปใช้ และหลงั การใช้หลกั สูตร

33 2.4 เกณฑใ์ นการประเมนิ หลกั สตู ร เน่ืองจากการประเมินหลักสูตรเป็นเร่ืองท่ีมีความละเอียดอ่อนมาก ผู้ทำหน้าท่ี ประเมินผล จำเป็นต้องยึดหลักการท่ีสำคัญในการประเมินผลเพ่ือท่ีจะทำให้การประเมินผลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลจากการประเมินหลักสูตรที่มีคุณค่าเพียงพอที่จะนำไปเป็นข้อมูลในการ พัฒนาหลักสูตรได้จริง เป็นข้อมูลหรือหลักฐานท่ีเช่ือถือได้สูง มีความเท่ียงตรง เราจะพบว่าในการ ประเมินหลกั สูตรผลจากการประเมนิ หลายตอ่ หลายเร่ืองมิได้ถกู นำไปใช้ก็ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทั้ง ๆ ที่ การประเมินผลหลักสูตรแต่ละครั้งเป็นงานใหญ่ต้องลงทุนลงแรงสูงเพราะฉะน้ันในการประเมิน หลักสูตรเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่มีคุณค่าเราจึงมีหลักเกณฑ์ที่จะช่วยในการประเมินดังนี้ (สุนีย์ ภู่พนั ธ์, 2546: 254) 1) มีจุดประสงค์ในการประเมินท่ีแน่นอน การประเมนิ ผลหลกั สูตรจะต้องกำหนดลงไป ใหแ้ นน่ อนชัดเจนวา่ จะประเมินอะไร 2) มีการจะวดั ทเ่ี ชอื่ ถอื ได้ โดยมีเครื่องมอื และเกณฑ์การวดั ซ่ึงเปน็ ที่ยอมรบั 3) ขอ้ มูลเป็นสิ่งที่จำเปน็ อย่างยิ่งสำหรบั การประเมนิ ผล ดังน้ันข้อมูลจะต้องได้มาอย่าง ถกู ต้องและเชื่อถือได้ และมากพอทจ่ี ะใชเ้ ป็นตัวประเมินคา่ หลกั สูตรได้ 4) มีขอบเขตทแ่ี นน่ อนชดั เจนว่าเร่ืองตอ้ งการประเมนิ ในเรื่องใดแคไ่ หน 5) ประเดน็ ของเรอื่ งท่ปี ระเมนิ อย่ใู นช่วงเวลาทน่ี า่ สนใจ 6) การรวบรวมข้อมูลมาเพอื่ กำหนดกฎเกณฑ์ และกำหนดเครื่องมือในการประเมนิ ผล จะตอ้ งพิจารณาอย่างรอบคอบ 7) การวิเคราะห์ผลการประเมินต้องทำอย่างระมัดระวังรอบคอบ และให้มีความ เทีย่ งตรงในการพจิ ารณา 8) การประเมนิ ผลหลักสูตรควรใชว้ ิธีหลาย ๆ วิธี 9) มเี อกภาพในการตัดสนิ ผลการประเมนิ 10) ผลต่าง ๆ ท่ีได้จากการประเมินควรนำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรทั้งในด้านการ ปรับปรุง เปลย่ี นแปลงในโอกาสตอ่ ไป เพ่ือให้ไดห้ ลักสตู รท่ดี ีและมคี ุณคา่ สงู สดุ ตามทต่ี ้องการ 11) ต้องถือปฏบิ ตั ติ ่อเน่ืองตลอดเวลา ทั้ งน้ี วิ ชั ย ว งษ์ ให ญ่ (2554: 139-141) แ ล ะ PhiDelta Kappa National Study Committee on Evaluation (อ้างถึงใน รุจริ ์ ภู่สาระ, 2546: 150-152) มีความคิดเห็นสอดคลอ้ งกัน ว่า ผลการประเมินหลักสูตรจะมีความเชื่อถือเพียงใด อยู่ที่เกณฑ์สำหรับการใช้พิจารณาตัดสิน การ ประเมินหลักสูตรของคณะกรรมการประเมินหลักสูตรเลือกใช้ได้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการ ประเมิน เกณฑท์ ี่ใช้พิจารณาสำหรับการประเมนิ หลักสูตร มดี งั นี้ 1) ความเที่ยงตรงภายใน (Internal validity) หมายถึง การออกแบการประเมินเพ่ือ การเก็บรวบรวมข้อมูลทำให้ได้ข้อมูลตรงตามวัตถุประสงค์ที่ประเมินผลของการประเมินตรงตาม ปรากฏการณ์เปน็ ตัวแทนภายในขอบข่ายของการพิจารณาอยา่ งถกู ต้องและเป็นจรงิ 2) ความเที่ยงตรงภายนอก (External validity) หมายถึง ผลการประเมินหลักสูตรที่ ได้ สามารถนำไปอ้างองิ สรุปได้กว้างขวางเพียงใดเกี่ยวกับเรือ่ งเวลา สิ่งแวดลอ้ ม ภูมิภาค และบุคคล ท่ี มีสภาพความคลา้ ยคลึงกับกล่มุ ทปี่ ระเมิน

34 3) ความเช่ือถือได้ (Reliability) หมายถึง ความคงที่ของข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จาก การใชเ้ ครอ่ื งมือวดั หลายอยา่ ง ผปู้ ระเมินหลักสูตรควรคำนึงถึงความเพียงพอของการเก็บหรือวัด หรือ อาจจะทำการวัดหลายๆคร้ัง หรือวัดคร้ังเดียวด้วยเทคนิคการวัดแบบต่างๆ เพ่ือตรวจสอบความคงท่ี ของคำตอบเรื่องน้ีผู้ประเมินหลักสูตรต้องเข้าไปเก่ียวข้องกับการวัดค่อนข้างมากและมีความละเอียด รอบคอบและมคี วามรบั ผดิ ชอบ 4) ความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง คนส่วนใหญ่มีความเข้าใจข้อมูลที่ได้จาก การวัดตรงกันมากน้อยเพียงไรผู้ประเมินรวบรวมข้อมูล รายละเอียดและตัดสินใจ แปลผลตรงกับ บคุ คลที่รว่ มประเมินดว้ ยความเป็นปรนยั ของการประเมนิ จึงจะเกิดข้ึน 5) ความสอดคล้องสัมพันธ์ (Relevance) หมายถึงข้อมูลท่ีได้จากการประเมินความ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการประเมินเพียงไร การกำหนดจุดมุ่งหมายของการประเมินไว้ชัดเจน จะช่วยให้ผู้ประเมินมีความระมัดระวังในการเก็บรวบรวมข้อมูลและตรวจสอบตนเองเสมอ ได้ทำ กจิ กรรมการประเมินสอดคล้องกับประเด็นทีส่ ัมพันธ์กับจดุ มุ่งหมาย 6) ความสำคัญ (Importance) หมายถึง การจัดลำดับความสำคัญขององค์ประกอบ หลักสูตรท่ีจะประเมิน การวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูลวา่ ข้อมูล ส่วนใดมีประโยชน์มากกว่ากัน เพราะ การประเมินหลกั สูตรบางครั้งตอ้ งทำการประเมินที่มีลกั ษณะกว้างและลกึ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลถ้าไม่ มีการจัดลำดับความสำคัญขององค์ประกอบหลักสูตรที่จะประเมิน จะทำให้การเก็บข้อมูลในเร่ือง เดียวกันจำนวนมาก ผู้ประเมินหลักสูตรจะต้องถือเป็นความรับผิดชอบที่จะต้องจัดลำดับความสำคัญ ให้กับข้อมลู ทจ่ี ะไปเกบ็ รวบรวม 7) ขอบข่ายของการประเมิน (Scope) หมายถึง ระบบและแบบแผนของการประเมิน ท่ีจะเอ้ืออำนวยให้ทำการศึกษาได้กว้างและลึก ผู้ประเมินจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ และไม่ควร หยิบยกวธิ กี ารประเมินเพยี งอยา่ งใดอย่างหนึง่ มาใชใ้ นการประเมินหลักสตู ร 8) ความเช่ือถือและการยอมรับ (Credibility) หมายถึง ผู้ท่ีต้องการใช้ผลการประเมิน มีความเชื่อถือในผู้ประเมิน และยอมรับข้อมูลจากผลการประเมินได้มากน้อยเพียงใด เพราะ ความสัมพันธ์ของผู้ประเมินหลักสูตรกับผู้ใช้ผลการประเมินหลักสูตรจะมีอิทธิพลต่อการประเมิน หลกั สตู รมาก 9) เวลา (Timeliness) หมายถึง การรายงานผลการประเมินจะทันใช้ในเวลาท่ี ต้องการหรือไม่ การใช้เวลาสำหรับกิจกรรมการประเมิน การเขียนรายงานการประเมินเป็น รายละเอียดที่จะต้องใช้เวลาอาจทำให้พลาดโอกาสท่ีจะใช้ผลการประเมินซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบัติการใชห้ ลกั สตู ร 10) ขอบเขตของการใช้ผลการประเมิน (Pervasiveness) หมายถึง การนำผลการ ประเมินหลักสูตรไปใช้อย่างกว้างขวางและมีการเผยแพร่อย่างไร การเขียนรายงานการประเมิน หลักสูตรจะต้องกำหนดกลุ่มเป้าหมายท่ีจะนำเสนอให้ถูกต้อง และใช้ผลการประเมินกว้างและลึกใน ลกั ษณะทแี่ ตกต่างกัน 11) ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การพิจารณาทางเลือกในการปฏิบัติเม่ือการ ประเมินเสรจ็ เรียบร้อย ทางเลือกน้นั อาจจะเกี่ยวข้องกับผรู้ ว่ มงาน คา่ ใช้จา่ ย ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการ

35 ประเมนิ หลกั สตู รคร้ังน้ี การดำเนนิ การประเมินสว่ นมากจะพบข้อจำกดั ต่างๆ ผู้ประเมินหลักสูตรต้องมี ความตระหนกั และรับผิดชอบตอ่ จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสตู รให้มาก เกณฑ์สำหรับการพิจารณาการประเมินหลักสูตรทั้ง 11 ข้อน้ี ข้อ 1-4 เป็นเกณฑ์ท่ี เหมาะสมกบั กระบวนการโดยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์นำเสนอโดย Stufflebeam and other (1983) ส่วนข้อที่ 6-10 เป็นเกณฑ์ท่ีช่วยในการปฏิบัติเก่ียวกับการประเมินหลักสูตรดำเนินไปได้อย่าง เหมาะสมซึ่งตอ้ งคำนงึ อยู่เสมอเมือ่ วางแผนการประเมินหลักสูตร และขอ้ 11 เป็นเกณฑ์ท่ีเพ่ิมขึ้น โดย Worthen & Scanders (1987) ซ่ึงเป็นเกณฑเ์ ก่ียวกบั ประสิทธิภาพของหลกั สตู ร จากแนวคิดดังกล่าวสรุปเกณฑ์การประเมนิ หลักสูตรได้คอื ต้องมีความเท่ียงตรง เชื่อถือ ได้ มคี วามเป็นปรนยั และมีประสิทธภิ าพ 2.5 ข้ันตอนในการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการพิจารณาคุณค่าหรือค่านิยม (Worth or Value) ของหลักสูตร ขั้นตอนหรือวิธีการประเมินจึงมีความสำคัญมาก ซ่ึงนักศึกษาหลายท่านได้ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับข้นั ตอนในการประเมนิ หลักสูตรดังนี้ Taba (1962: 324) ได้ใหแ้ นวทางในการประเมินผลหลักสูตรเปน็ กระบวนการมีขั้นตอน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. วิเคราะห์และตีความวัตถุประสงค์ของหลักสูตรให้มองเห็นกระจ่างชัดในเชิง พฤตกิ รรม คอื ปฏิบตั ิไดจ้ รงิ (Formulation and Clarification for Objective) 2. คัดเลือกและสร้างเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับค้นหลักสูตร (Selection and Construction of the Appropriate Instruments for Getting Evidences) 3. ใช้เครื่องมือท่ีสร้างข้ึนประเมินผลหลักสูตรตามเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ (Application of Evaluative Criteria) 4. รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับภูมิหลังของนักเรียนและลักษณะของการสอนเพื่อนำมา ประกอบในการแปลผลของการประเมิน (Information on the Background of Students and the Nature of Instruction in the light of Which to Interpret the Evidences) 5. แปลผลของการประเมินเพื่อนำไปปรับปรุงหลักสูตรและการสอนต่อไป ( Translation of Evaluation Findings into Improvement of the Curriculum and Instruction) ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539: 198–202) และสุนีย์ ภู่พันธ์ (2546: 256) ได้เสนอ แนวคิดในการกำหนดขั้นตอนการประเมินหลักสูตรไว้สอดคล้องกันว่า ในการประเมินหลักสูตรนั้นผู้ ประเมนิ ควรดำเนนิ ตามข้นั ตอนอย่างเป็นระบบดงั ต่อไปน้ี 1. ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกำหนด วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมนิ ให้ชัดเจนก่อนว่าจะประเมินในส่วนใดหรือเร่ืองใด และใน แตล่ ะเรอื่ งจะศึกษาบางสว่ นในเรอื่ งน้นั ๆก็ได้ 2. ขั้นวางแผนออกแบบการประเมนิ 2.1 การกำหนดกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2.2 การกำหนดแหล่งข้อมูล

36 2.3 การพัฒนาเครอื่ งมอื และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.4 การกำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ 2.5 การกำหนดเวลา 3. ขน้ั รวบรวมข้อมลู 4. ข้นั วิเคราะหข์ อ้ มลู 5. ข้ันรายงานผลการประเมนิ นอกจากน้ี ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม (2550: 175-191) ได้เสนอข้ันตอนการประเมิน หลักสูตรแบ่งเป็น 5 ข้นั ตอน สรุปไดด้ ังนี้ 1. การบรหิ ารจดั การกอ่ นการประเมนิ หลกั สตู ร 1.1 การกำหนดนโยบาย แนวทาง หลักการในการประเมนิ หลกั สูตร 1.2 การแตง่ ต้ังทมี งานประเมนิ หลกั สูตร 1.3 การเตรียมความพรอ้ มก่อนการประเมินหลกั สตู ร 2. การออกแบบการประเมนิ หลกั สตู ร 2.1 การกำหนดวัตถุประสงค์การประเมินหลกั สตู ร 2.2 การออกแบบการประเมนิ หลกั สตู ร 2.3 การวางแผนในการประเมินหลักสตู ร 3. การดำเนินการประเมนิ หลักสตู ร 3.1 การกำหนดตวั บง่ ชี้และเกณฑ์การประเมินหลักสูตร 3.2 การกำหนดกลมุ่ ผใู้ ห้ขอ้ มูล 3.3 การกำหนดเครือ่ งมอื ในการประเมิน 3.4 การเก็บรวบรวบข้อมลู และการวิเคราะหข์ อ้ มูล 4. การรายงานผลและเผยแพร่ผลการประเมินหลกั สูตร 5. การรบั รองผลการประเมินหลักสตู ร จากข้ันตอนในการประเมนิ หลักสูตรที่กลา่ วมา สรปุ ขัน้ ตอนการประเมินหลกั สตู รได้ดงั น้ี 1. ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายในการประเมิน การกำหนดจุดมุ่งหมายใน การประเมินเป็นข้ันตอนแรกของกระบวนการในการดำเนินการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินต้อง กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนว่าจะประเมินอะไร ในส่วนใด ด้วย วตั ถุประสงค์อย่างไร เช่น ต้องการประเมินเอกสารหลักสูตรเพ่ือดูว่าเอกสารหลักสูตรถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากแค่ไหน หรอื จะประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ในเร่ืองอะไร แค่ไหนหรือการนำหลักสตู รไปใช้ทั้งหมด หรือประเมินหลักสูตรทัง้ ระบบ การกำหนดวัตถุประสงคใ์ น การประเมินที่ชดั เจนทำให้เราสามารถกำหนดวิธี เคร่อื งมอื และขนั้ ตอนในการประเมินได้อย่างถูกต้อง และทำให้การประเมินหลักสูตรดำเนนิ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และได้ผลถกู ตอ้ งเป็นท่เี ชอื่ ถือได้ 2. ข้ันกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการทจ่ี ะใช้ในการประเมินผล การกำหนดเกณฑแ์ ละวิธกี าร ประเมินเปรียบเสมือนเขม็ ทิศที่จะนำไปสู่เป้าหมายของการประเมินเกณฑ์การประเมินเป็นเคร่ืองบ่งชี้ คุณภาพของหลักสูตรท่ีถูกประเมิน การกำหนดวิธีการท่ีจะใช้ในการประเมินผลทำให้เราสามารถ ดำเนนิ งานไปตามขัน้ ตอนอยา่ งราบร่นื

37 3. ข้ันการสร้างเคร่ืองมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมิน หรือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นส่ิงที่มีความสำคัญ ที่จะมีผลทำให้การประเมิ นนั้น นา่ เชื่อถือมากนอ้ ยแค่ไหน ข้ันตอนการสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินหรอื เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลมีหลายอย่าง ซึ่งผู้ประเมินจะต้องเลือกใช้และสร้างอย่างมีคุณภาพ มีความเช่ือถือได้ และมีความเท่ยี งตรงสูง 4. ข้ันเก็บรวบรวมข้อมูล ในข้ันการรวบรวมข้อมูลนั้นผู้ประเมินตอ้ งเกบ็ รวบรวมข้อมูล ตามขอบเขตและระยะเวลาท่ีได้กำหนดไว้ ในบางครั้งถ้าจำเป็นต้องอาศัยผู้อื่นในการรวบรวมข้อมูล ควรพิจารณาผทู้ ี่จะมาทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลที่มคี วามเหมาะสม เพราะผ้เู กบ็ รวบรวมข้อมลู มสี ่วน ชว่ ยใหข้ อ้ มลู ทร่ี วบรวมได้มคี วามเทย่ี งตรงและน่าเชื่อถอื 5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นน้ีผู้ประเมินจะต้องกำหนดวิธีการการจัดระบบข้อมูล พิจารณาเลือกใช้สถิติในการใช้ข้อมูลท่ีเหมาะสม แล้วจึงวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเหล่าน้ันอโดย เปรียบเทยี บกับเกณฑท์ ่ีได้กำหนดไว้ 6. ขั้นสรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมูลและรายงานผลการประเมนิ ในขั้นน้ีผู้ประเมนิ จะสรุป และรายงานผลจากการวิเคราะหข์ อ้ มลู ในขั้นต้น ผู้ประเมินจะต้องพิจารณารูปแบบของการรายงานผล ว่าควรจะเป็นรูปแบบใด และการรายงานผลจะมุ่งเสนอข้อมูลท่ีบ่งชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรมีคุณภาพ หรอื ไม่ เพยี งใด มสี ว่ นใดบ้างท่ีควรแก้ไข ปรบั ปรงุ หรือยกเลกิ 2.6 ประโยชน์ของการประเมนิ หลักสตู ร การประเมินผลหลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญและส่ิงจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะทำให้เราทราบถึง คณุ ภาพและประสิทธิภาพของหลักสูตร การประเมนิ ผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษาการจัดทำหรือ พัฒนาหลักสูตรต้องอาศัยผลจากการประเมินผลเป็นสำคัญ ประโยชน์ของการประเมินผลหลักสูตรมี ดังนี้ (สุนยี ์ ภู่พันธ์ุ, 2546: 257–258) 1. ทำให้ทราบว่าหลักสูตรท่ีสร้างหรือพัฒนาขึ้นน้ันมีจุดดีหรือจุดเสียตรงไหน ซึ่งจะ เปน็ ประโยชน์ในการวางแผนปรบั ปรุงได้ถูกจุด สง่ ผลให้หลกั สตู รมคี ุณภาพดยี ิง่ ข้ึน 2. สร้างความน่าเช่ือถือ ความม่ันใจและค่านิยมท่ีมีต่อโรงเรียนให้เกิดขึ้นในหมู่ ประชาชน 3. ชว่ ยในการบริหารทางดา้ นวิชาการ ผู้บริหารจะไดร้ วู้ ่าควรจะตดั สนิ ใจและสนบั สนุน ชว่ ยเหลือหรอื บริการทางใดบา้ ง 4. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมคี วามเขา้ ใจในความสำคัญของการศึกษา 5. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับโรงเรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพ่ือให้การ เรยี นการสอนนักเรียนไดผ้ ลดีด้วยความร่วมมอื กันท้งั ทางโรงเรยี นและทางบ้าน 6. ให้ผู้ปกครองทราบความเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหาทางส่งเสริมและปรับปรุง แกไ้ ขรว่ มกนั ระหว่างผปู้ กครองนักเรียนกบั ทางโรงเรยี น 7. ช่วยให้การประเมินผลเป็นระบบระเบียบ เพราะมีเครื่องมือและหลักเกณฑ์ทำให้ เป็นเหตผุ ลในทางวิทยาศาสตรม์ ากข้ึน 8. ช่วยช้ีใหเ้ หน็ ถึงคณุ คา่ ของหลักสตู ร ช่วยใหส้ ามารถวางแผนการเรยี นในอนาคตได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook