รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.3-17 สรุปจำนวนและร้อยละของประเภทของสนิ ค้าทีข่ นส่ง ประเภทสนิ คา้ จำนวน ร้อยละ (คัน) 35.03 สินคา้ อปุ โภคบรโิ ภค คา้ ปลกี ค้าสง่ (เช่น ของใชใ้ นครัวเรอื น อาหารแห้ง เสอ้ื ผ้า เครื่องดืม่ 69 บรรจขุ วด โชหว่ ย) 1.02 สินคา้ ในครัวเรอื นขนาดใหญ่ (เช่น เฟอรน์ เิ จอร์ ราวตากผา้ จกั รยาน) 2 1.02 สนิ ค้าเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (เชน่ ทีวี ต้เู ย็น เตาอบ คอมพิวเตอร)์ 2 0.51 สนิ คา้ เน่าเสยี ได้ง่าย (เชน่ ผัก ผลไม้ อาหารสดทไ่ี มต่ ้องแช่เย็น/แชแ่ ขง็ ) 1 0.51 สนิ ค้าเครอ่ื งจกั รกล ยานยนต์ (เชน่ เคร่อื งจกั ร จกั รยานยนต์ อะไหล่ยนต์ ยางรถยนต์) 1 28.43 สินค้าวสั ดกุ ่อสรา้ ง (เช่น แผ่นมงุ หลงั คา เหลก็ ไม้ กระเบื้อง เครอ่ื งมอื ก่อสร้าง ปนู กระสอบ) 56 0.51 สนิ ค้าเทกอง (เช่น หิน ดิน ทราย ซีเมนตผ์ งทไี่ ม่มีการบรรจหุ ีบหอ่ ) 1 1.52 สนิ คา้ เบด็ เตล็ด 3 4.06 สินค้าพสั ดุภณั ฑ์และไปรษณยี ภณั ฑ์ (เชน่ พัสดไุ ปรษณียไ์ ทย, Kerry, Flash, J&T, Ninja, 8 SCG เปน็ ต้น) 24.37 ไม่ทราบ 48 3.05 อน่ื ๆ 6 รปู ที่ 2.3-34 ร้อยละของประเภทของสนิ ค้าทขี่ นส่ง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-60
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) (5) ความถี่ในการมาติดตอ่ ทสี่ ถานขี นสง่ สนิ ค้า ความถ่ีในการมาติดต่อท่ีสถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้มากท่ีสุด คือ 1 - 2 วันต่อสัปดาห์ คิดเป็น รอ้ ยละ 34.72 ของความถี่ที่เหลือทั้งหมด รองลงมา คือ ทุกวัน คิดเป็นร้อยละ 27.98 ในส่วน ของ น้อยกว่า 1 วันต่อสัปดาห์ 3 - 4 วันต่อสัปดาห์ 5 - 6 วันต่อสัปดาห์ และคร้ังแรก คิดเป็น ร้อยละ 17.62, 9.87, 7.25 และ 2.59 ตามลำดับ โดยข้อมูลท้ังหมดสรุปได้ดังตารางท่ี 2.3-18 และรูปที่ 2.3-35 ตารางที่ 2.3-18 สรุปจำนวนและร้อยละของความถใี่ นการมาติดต่อท่สี ถานขี นสง่ สนิ คา้ ความถ่ี จำนวน (คนั ) ร้อยละ ครั้งแรก 5 2.59 น้อยกว่า 1 วันต่อสปั ดาห์ 34 17.62 1 - 2 วันต่อสัปดาห์ 67 34.72 3 - 4 วันตอ่ สัปดาห์ 19 9.84 5 - 6 วันต่อสปั ดาห์ 14 7.25 ทุกวนั 54 27.98 รปู ที่ 2.3-35 ร้อยละของความถี่ในการมาติดตอ่ ทส่ี ถานีขนสง่ สินคา้ (6) ระยะเวลาที่ใชภ้ ายในสถานขี นสง่ สินค้า ช่วงระยะเวลาท่ีใช้ภายในสถานีขนส่งสินค้ามากท่ีสุด คือ ไม่เกิน 1 ชม. คิดเป็นร้อยละ 70.47 ของระยะเวลาที่ เหลือทั้ งหมด รองลงมา คือ มากกว่า 1 แต่ ไม่ เกิน 2 ชม. คิ ดเป็ น ร้อยละ 11.92 ในส่วนของ มากกว่า 3 แต่ไม่เกิน 5 ชม. มากกว่า 8 ชม. มากกว่า 2 แต่ไม่เกิน 3 ชม. และมากกว่า 5 แต่ไม่เกิน 8 ชม. คิดเป็นร้อยละ 7.25, 4.66, 3.11 และ 2.59 ตามลำดับ โดยข้อมลู ทงั้ หมดสรุปได้ดังตารางที่ 2.3-19 และรปู ที่ 2.3-36 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-61
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 2.3-19 สรุปจำนวนและร้อยละของระยะเวลาทใี่ ช้ภายในสถานขี นสง่ สนิ ค้า ระยะเวลา จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ ไม่เกนิ 1 ชม. 136 70.47 มากกว่า 1 แตไ่ ม่เกนิ 2 ชม. 23 11.92 มากกว่า 2 แต่ไม่เกิน 3 ชม. 6 3.11 มากกว่า 3 แตไ่ มเ่ กนิ 5 ชม. 14 7.25 มากกวา่ 5 แตไ่ มเ่ กนิ 8 ชม. 5 2.59 มากกวา่ 8 ชม. 9 4.66 รูปท่ี 2.3-36 ร้อยละของระยะเวลาทใี่ ชภ้ ายในสถานขี นส่งสนิ ค้า (7) จำนวนผ้ตู ดิ ตามภายในรถ จำนวนผู้ติดตามภายในรถ (ไม่รวมคนขับรถ) ท่ีมากท่ีสุด คือ ไม่มีผู้ติดตาม คิดเป็นร้อยละ 68.39 ของจำนวนผู้ตดิ ตามท่ีเหลอื ทัง้ หมด รองลงมาเป็น 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 28.50 ในส่วน ของ 2 คน และ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.59 และ 0.52 ตามลำดบั โดยขอ้ มลู ท้ังหมดสรุปได้ดัง ตารางท่ี 2.3-20 และรปู ท่ี 2.3-37 ตารางท่ี 2.3-20 สรุปจำนวนและร้อยละของจำนวนผตู้ ดิ ตามภายในรถ จำนวนผ้ตู ิดตาม จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ ไม่มผี ู้ตดิ ตาม 132 68.39 1 คน 55 28.50 2 คน 5 2.59 3 คน 1 0.52 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-62
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 2.3-37 รอ้ ยละของจำนวนผู้ตดิ ตามภายในรถ 2.3.1.3 ผลการสำรวจความคดิ เหน็ ของผูใ้ ช้บรกิ ารสถานีขนสง่ สินค้ารม่ เกลา้ ทีป่ รึกษา ได้ทำการสำรวจขอ้ มูลจากคนขับรถขนส่งสินค้าท่ีเข้ามาตดิ ต่อภายในสถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกล้า โดยเก็บข้อมูลจากคนขับรถขนส่งสินค้าทั้งสิ้น 269 ราย บริเวณชานชาลาขนถ่ายสินค้าและบริเวณ ทางออกของสถานีขนส่งสินค้า (1) ประเภทรถบรรทุกที่สำรวจ ประเภทของรถบรรทุกส่วนใหญ่นั้นเป็นประเภทรถบรรทุก 10-12 ล้อ คิดเป็นรอ้ ยละ 32.71 ของประเภทรถบรรทุกทั้งหมด รองลงมาเป็นรถกระบะ คิดเป็นร้อยละ 31.23 ในส่วนของ รถพ่วง รถก่ึงพ่วง รถบรรทุก 4 ล้อ และรถบรรทุก 6 ล้อ คิดเป็นรอ้ ยละ 10.78, 10.41, 7.43 และ 7.43 ตามลำดบั โดยข้อมูลทั้งหมดสรปุ ไดด้ งั ตารางท่ี 2.3-21 และรปู ที่ 2.3-38 ตารางที่ 2.3-21 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของประเภทรถบรรทุกท่ีสำรวจ ประเภทรถ จำนวน (คนั ) ร้อยละ รถกระบะ 84 31.23 รถบรรทกุ 4 ล้อ (9.5 ตัน) 20 7.43 รถบรรทุก 6 ล้อ (15 ตัน) 20 7.43 รถบรรทุก 10-12 ล้อ 88 32.71 รถพ่วง 29 10.78 รถกง่ึ พ่วง (เทรลเลอร์) 28 10.41 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-63
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รถพว่ ง รูปท่ี 2.3-38 ร้อยละของประเภทรถบรรทุกท่สี ำรวจ (2) หมวดทะเบยี นรถบรรทุกท่ีสำรวจ หมวดทะเบียนรถของรถบรรทุกท่ีสำรวจส่วนใหญ่นั้นเป็นประเภทรถบรรทุกไม่ประจำทาง ตาม พรบ.การขนส่งทางบก คิดเป็นร้อยละ 61.34 ของหมวดทะเบียนท้ังหมด รองลงมาเป็น รถบรรทุกส่วนบุคคล ตาม พรบ.รถยนต์ (รย.3) คิดเป็นร้อยละ 34.20 และรถบรรทุก สว่ นบคุ คล พรบ. ขนส่งฯ คิดเปน็ ร้อยละ 4.46 ตามลำดบั โดยขอ้ มูลทั้งหมดสรปุ ไดด้ งั ตารางที่ 2.3-22 และรูปที่ 2.3-39 ตารางท่ี 2.3-22 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของหมวดทะเบียนรถบรรทกุ ท่สี ำรวจ หมวดทะเบียนรถ จำนวน รอ้ ยละ (คนั ) รถบรรทกุ ไมป่ ระจำทาง ตาม พรบ.การขนสง่ ทางบก (รถบรรทุกท่ีทะเบยี นขึ้นต้นดว้ ยเลข 165 61.34 60-69 และ 70-79) รถบรรทกุ ส่วนบุคคล พรบ.การขนส่งทางบก (รถบรรทุกท่ีทะเบียนขนึ้ ต้นดว้ ยเลข 12 4.46 50-59 และ 80-89) รถบรรทกุ สว่ นบุคคล ตาม พรบ.รถยนต์ (รย.3) (รถกระบะ/รถบรรทกุ ทีป่ ้ายทะเบยี น 92 34.20 พืน้ ขาวตวั หนงั สือสีเขยี ว) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-64
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) พรบ.การขนส่งทางบก ตาม พรบ.การขนส่งทางบก (4.5%) (61.3%) รปู ที่ 2.3-39 รอ้ ยละของหมวดทะเบียนรถบรรทกุ ท่สี ำรวจ (3) บรษิ ทั และอาคารทผ่ี ูป้ ระกอบการเขา้ มาตดิ ต่อ ประกอบด้วย 2 ชุดข้อมูลย่อย ได้แก่ บริษัทท่ีเข้ามาติดต่อ และชานชาลาและอาคารที่ติดต่อ โดยมผี ลการประมวลขอ้ มลู ในเบอ้ื งต้นดงั น้ี • บริษัททเ่ี ขา้ มาตดิ ต่อ บริษทั ท่ีผปู้ ระกอบการเขา้ มาติดต่อส่วนใหญ่เป็น บริษัท RTT คิดเป็นร้อยละ 23.05 ของ บริษัทท้ังหมด รองลงมาเป็น บริษัท ไดนามิค คิดเป็นร้อยละ 16.73 สำหรับข้อมูลของ บรษิ ทั อื่น ๆ ทเี่ หลอื ท้งั หมดสรุปไดด้ ัง ภาคผนวก ก (ตารางท่ี 3) • ชานชาลาและอาคารท่ีตดิ ต่อ อาคารท่ีผู้ประกอบการเข้ามาติดต่อส่วนใหญ่ คือ ชานชาลา 1 คิดเป็นร้อยละ 23.05 ของอาคารท้ังหมด รองลงมาเป็น ชานชาลา 3 คิดเป็นร้อยละ 19.70 สำหรับข้อมูลของ อาคาร อนื่ ๆ ทีเ่ หลอื ท้งั หมดสรปุ ไดด้ ัง ภาคผนวก ข (ตารางที่ 3) (4) ปรมิ าณสนิ คา้ และข้อมูลการขนสง่ ประกอบด้วย 5 ชุดข้อมูลย่อย ได้แก่ ปริมาณการขนส่งสินค้าขาเข้าสถานีขนส่งสินค้า จดุ ต้นทางการขนส่ง ปรมิ าณการขนสง่ สนิ ค้าขาออกสถานีขนส่งสนิ ค้า จุดปลายทางการขนส่ง และประเภทของสินค้าที่ขนส่ง โดยมีผลการประมวลขอ้ มลู ในเบื้องต้นดงั น้ี • ปริมาณการขนสง่ สนิ คา้ ขาเข้าสถานีขนสง่ สินคา้ ปริมาณสินค้าขาเข้าส่วนใหญ่เป็นรถบรรทุกเปล่า คิดเป็นร้อยละ 49.44 ของปริมาณอื่น ๆ ท่ีเหลือท้ังหมด รองลงมามีปริมาณเต็มคัน คิดเป็นร้อยละ 32.34 ในส่วนของปริมาณ 3/4 คัน 1/2 คัน และ 1/4 คัน คิดเป็นร้อยละ 10.41, 5.95 และ 1.86 ตามลำดับ โดยข้อมูลทั้งหมด สรุปได้ดังตารางท่ี 2.3-23 และรูปที่ 2.3-40 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-65
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.3-23 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของปริมาณการขนส่งสินคา้ ขาเขา้ สถานีขนสง่ สินค้า ปริมาณสนิ คา้ ขาเขา้ จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ รถบรรทุกเปล่า 133 49.44 1/4 คัน 5 1.86 1/2 คัน 16 5.95 3/4 คัน 28 10.41 เต็มคัน 87 32.34 รปู ที่ 2.3-40 ร้อยละของปรมิ าณการขนสง่ สนิ คา้ ขาเขา้ สถานีขนส่งสินค้า • จดุ ต้นทางการขนสง่ จุดต้นทางการขนส่งส่วนใหญ่มาจาก กรุงเทพมหานคร เขตลาดกระบัง คิดเป็นร้อยละ 26.39 ของจังหวัด/เขตในกรุงเทพมหานคร อ่ืนท้ังหมด รองลงมา คือ จังหวัดสมุทรปราการ คิดเป็นร้อยละ 21.93 สำหรับข้อมูลของจังหวัด/เขตในกรุงเทพมหานคร ที่เหลือทั้งหมด สรุปได้ดังตารางที่ 2.3-24 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-66
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 2.3-24 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของจดุ ต้นทางการขนส่ง จงั หวัด จำนวน (คนั ) ร้อยละ จงั หวัด จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ กรงุ เทพมหานคร ต่างจงั หวดั 1.86 คลองเตย 0.37 ดนิ แดง 1 0.37 เชียงใหม่ 5 1.12 ทุง่ ครุ 3 0.37 บางเขน 3 1.12 เพชรบุรี 1 4.46 บางแค 4 1.49 บางกะปิ 1 1.12 ขอนแก่น 3 2.97 บางขนุ เทียน 1 0.37 บางนา 5 1.49 จนั ทบรุ ี 1 3.35 พระโขนง 3 2.6 มนี บุรี 1 0.37 ฉะเชงิ เทรา 12 3.35 ลาดกระบงั 8 2.6 ลาดพร้าว 71 0.37 ชลบรุ ี 4 0.37 สวนหลวง 5 0.37 สมั พนั ธวงศ์ 2 1.86 นครปฐม 8 1.12 หนองจอก 1 21.93 2 1.12 นครพนม 1 5.58 0.37 0.37 นครราชสมี า 9 0.37 2.97 2.97 นนทบุรี 7 0.37 0.37 26.39 ปทมุ ธานี 9 1.86 ปราจีนบรุ ี 7 0.74 ระยอง 1 0.37 ราชบุรี 1 0.74 ศรสี ะเกษ 3 สมุทรปราการ 59 สมทุ รสาคร 15 สงิ หบ์ รุ ี 1 สุรินทร์ 1 พระนครศรีอยุธยา 8 อุดรธานี 1 อุบลราชธานี 1 • ปรมิ าณการขนสง่ สินคา้ ขาออกสถานีขนสง่ สินคา้ ปริมาณสินค้าขาออกส่วนใหญ่เป็นรถบรรทุกเปล่า คิดเป็นร้อยละ 49.44 ของปริมาณอ่ืน ๆ ทเ่ี หลือท้ังหมด รองลงมามีปริมาณเตม็ คนั คดิ เป็นร้อยละ 22.68 ในส่วนของปรมิ าณสินค้า 1/2 คัน 1/4 คัน และ 3/4 คัน คิดเป็นร้อยละ 13.01, 9.29 และ 5.58 ตามลำดับ โดยข้อมลู ทั้งหมดสรปุ ได้ดังตารางท่ี 2.3-25 และรปู ที่ 2.3-41 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-67
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 2.3-25 สรุปจำนวนและร้อยละของปริมาณการขนส่งสนิ คา้ ขาออก สถานีขนสง่ สินคา้ ปรมิ าณสนิ ค้าขาออก จำนวน (คนั ) ร้อยละ รถบรรทุกเปลา่ 133 49.44 1/4 คัน 25 9.29 1/2 คัน 35 13.01 3/4 คัน 15 5.58 เต็มคัน 61 22.68 รูปที่ 2.3-41 รอ้ ยละของปริมาณการขนส่งสนิ คา้ ขาออกสถานีขนส่งสนิ ค้า • จดุ ปลายทางการขนสง่ จุดปลายทางการขนส่งส่วนใหญ่ไปจังหวัดสมุทรปราการ คิดเป็นร้อยละ 23.42 ของ จังหวัด/เขตในกรุงเทพมหานคร อ่ืนทั้งหมด รองลงมาเป็น กรุงเทพมหานคร (เขตลาดกระบัง) คิดเป็นร้อยละ 16.36 สำหรับข้อมูลของจังหวัด/เขตในกรุงเทพมหานคร ที่เหลือท้ังหมด สรุปไดด้ งั ตารางที่ 2.3-26 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-68
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.3-26 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของจุดปลายทางการขนสง่ จงั หวดั จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ จงั หวัด จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ กรุงเทพมหานคร ต่างจังหวดั 2.97 0.37 ดินแดง 2 0.74 เชยี งใหม่ 8 0.37 1.49 ทุ่งครุ 1 0.37 เพชรบรุ ี 1 8.55 2.6 บางเขน 11 4.09 กำแพงเพชร 1 2.23 0.37 บางกะปิ 4 1.49 ขอนแก่น 4 2.97 1.86 บางขุนเทียน 3 1.12 ฉะเชงิ เทรา 23 3.35 0.37 บางนา 3 1.12 ชลบุรี 7 2.23 0.37 ประเวศ 1 0.37 นครปฐม 6 0.37 0.74 มีนบรุ ี 13 4.83 นครพนม 1 1.86 0.37 ลาดกระบงั 44 16.36 นครราชสมี า 8 0.37 23.42 ลาดพรา้ ว 1 0.37 นนทบุรี 5 2.6 0.37 หนองจอก 1 0.37 ปทุมธานี 9 1.86 5.2 บางเขน 2 0.74 ประเทศกัมพูชา 1 0.37 0.37 ปราจีนบรุ ี 6 พะเยา 1 มหาสารคาม 1 มุกดาหาร 2 ระยอง 5 ราชบุรี 1 สงขลา 1 สมทุ รปราการ 63 สมทุ รสาคร 7 สระบรุ ี 1 สิงหบ์ ุรี 5 พระนครศรีอยุธยา 14 อุดรธานี 1 อุบลราชธานี 1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-69
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • ประเภทของสินค้าท่ขี นสง่ ประเภทของสินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภคบริโภค ค้าปลีก ค้าส่ง คิดเป็นร้อยละ 45.79 ของประเภทสนิ ค้าทั้งหมด รองลงมาไม่ทราบชนิดสินค้า คิดเปน็ ร้อยละ 37.36 ในส่วนของ สินค้าเบ็ดเตล็ด สินค้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าเครื่องจักรกล ยานยนต์ สินค้าอันตรายและเคมีภัณฑ์ สินค้าเกษตรและพืชเศรษฐกิจ สินค้าวัสดุก่อสร้าง สินค้า ในครัวเรือนขนาดใหญ่ สินค้าเทกอง และสินค้าพัสดุภัณฑ์และไปรษณียภัณฑ์ คิดเป็น ร้อยละ 6.23, 2.93, 2.56, 1.83, 1.10, 1.10, 0.37, 0.37 และ 0.37 ตามลำดับ โดย ขอ้ มลู ทง้ั หมดสรุปได้ดงั ตารางท่ี 2.3-27 และรปู ท่ี 2.3-42 ตารางที่ 2.3-27 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของประเภทของสนิ ค้าทขี่ นส่ง ประเภทสินคา้ จำนวน (คนั ) ร้อยละ สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค คา้ ปลกี ค้าส่ง (เช่น ของใช้ในครัวเรือน อาหารแห้ง 125 45.79 เส้ือผ้า เครื่องดม่ื บรรจุขวด โชหว่ ย) สนิ ค้าในครวั เรอื นขนาดใหญ่ (เช่น เฟอร์นิเจอร์ ราวตากผา้ จกั รยาน) 1 0.37 สนิ คา้ เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ (เชน่ ทีวี ตู้เย็น เตาอบ 8 2.93 คอมพวิ เตอร์) สินค้าเกษตรและพชื เศรษฐกิจ (เชน่ ผลผลติ ข้าว ยางพารา นำ้ ตาล 3 1.10 นำ้ มันปาลม์ มันสำปะหลงั ) สนิ ค้าเคร่อื งจกั รกล ยานยนต์ (เชน่ เครอ่ื งจกั ร จักรยานยนต์ 7 2.56 อะไหลย่ นต์ ยางรถยนต)์ สนิ ค้าวสั ดกุ ่อสรา้ ง (เชน่ แผ่นมงุ หลงั คา เหล็ก ไม้ กระเบอ้ื ง เคร่อื งมอื 3 1.10 ก่อสร้าง ปูนกระสอบ) สนิ คา้ อนั ตรายและเคมภี ณั ฑ์ (เช่น เคมีภณั ฑท์ ี่ใช้ในอุตสาหกรรม) 5 1.83 สนิ ค้าเทกอง (เช่น หนิ ดนิ ทราย ซีเมนตผ์ งทไ่ี ม่มกี ารบรรจุหบี ห่อ) 1 0.37 สนิ ค้าเบด็ เตลด็ 17 6.23 สินคา้ พัสดุภณั ฑแ์ ละไปรษณียภัณฑ์ (เช่น พัสดุไปรษณียไ์ ทย, Kerry, 1 0.37 Flash, J&T, Ninja, SCG เป็นตน้ ) ไมท่ ราบ 102 37.36 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-70
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 2.3-42 ร้อยละของประเภทของสินค้าที่ขนส่ง (5) ความถี่ในการมาติดตอ่ ทส่ี ถานขี นสง่ สนิ ค้า ความถ่ีในการมาติดต่อที่สถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้มากท่ีสุด คือ 1 - 2 วันต่อสัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ 37.92 ของความถ่ีที่เหลือท้ังหมด รองลงมาเป็น ทุกวัน คิดเป็นร้อยละ 24.16 ในส่วนของ 3 - 4 วันต่อสัปดาห์ 5 - 6 วันต่อสัปดาห์ และน้อยกว่า 1 วันต่อสัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ 17.84, 17.10 และ 2.97 ตามลำดับ โดยข้อมูลท้ังหมดสรุปได้ดังตารางท่ี 2.3-28 และ รปู ที่ 2.3-43 ตารางท่ี 2.3-28 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของความถีใ่ นการมาติดต่อทสี่ ถานขี นสง่ สนิ ค้า ความถี่ จำนวน (วนั ) ร้อยละ น้อยกว่า 1 วันต่อสัปดาห์ 8 2.97 1-2 วันต่อสัปดาห์ 102 37.92 3-4 วันตอ่ สัปดาห์ 48 17.84 5-6 วันต่อสัปดาห์ 46 17.10 ทกุ วนั 65 24.16 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-71
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ที่ 2.3-43 ร้อยละของความถี่ในการมาตดิ ต่อท่สี ถานขี นส่งสนิ คา้ (6) ระยะเวลาที่ใชภ้ ายในสถานขี นส่งสนิ คา้ ชว่ งระยะเวลาท่ีใช้ภายในสถานีขนส่งสินค้ามากท่ีสุด คือ ไม่เกิน 1 ชม. คิดเป็นร้อยละ 73.98 ของระยะเวลาที่เหลือทั้งหมด รองลงมา คือ มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 2 ชม. คิดเป็น ร้อยละ 21.56 ในส่วนของ มากกว่า 2 แต่ไม่เกิน 3 ชม. มากกว่า 8 ชม. และมากกว่า 3 แต่ไม่เกนิ 5 ชม. คิดเป็นรอ้ ยละ 2.97, 1.12 และ 0.37 ตามลำดบั โดยข้อมูลท้งั หมดสรปุ ไดด้ ัง ตารางท่ี 2.3-29 และรูปที่ 2.3-44 ตารางที่ 2.3-29 สรุปจำนวนและร้อยละของระยะเวลาทใี่ ช้ภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า ระยะเวลา จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ ไมเ่ กิน 1 ชม. 199 73.98 มากกวา่ 1 แต่ไม่เกิน 2 ชม. 58 21.56 มากกวา่ 2 แต่ไมเ่ กิน 3 ชม. 8 2.97 มากกว่า 3 แต่ไม่เกนิ 5 ชม. 1 0.37 มากกว่า 8 ชม. 3 1.12 รปู ท่ี 2.3-44 ร้อยละของระยะเวลาทใี่ ชภ้ ายในสถานีขนส่งสินค้า 2-72 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (7) จำนวนผู้ติดตามภายในรถ จำนวนผู้ติดตามภายในรถ (ไม่รวมคนขับรถ) ที่มากท่ีสุด คือ ไม่มีคนติดตาม คิดเป็นร้อยละ 59.11 ของจำนวนผู้ติดตามท่ีเหลือท้ังหมด รองลงมาเป็น 1 คน คิดเป็นร้อยละ 36.06 และ 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.83 ตามลำดับ โดยข้อมูลทัง้ หมดสรุปไดด้ ังตารางท่ี 2.3-30 และรูปท่ี 2.3-45 ตารางท่ี 2.3-30 สรุปจำนวนและรอ้ ยละของจำนวนผู้ตดิ ตามภายในรถ จำนวนผตู้ ดิ ตาม จำนวน (คนั ) รอ้ ยละ ไมม่ ผี ู้ตดิ ตาม 159 59.11 1 97 36.06 2 13 4.83 รูปที่ 2.3-45 ร้อยละของจำนวนผู้ตดิ ตามภายในรถ 2.3.3 ประเภทสินค้า ในการวิเคราะห์ประเภทสินค้า ที่ปรึกษาได้ใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้จากระบบ GCS ของกรมการขนส่ง- ทางบก โดยสินค้าท่ีผู้ประกอบการขนส่งผ่านสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งในช่วง 7 ปีท่ีผ่านมา มที ง้ั หมด 14 ประเภทสนิ ค้า มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ • หนิ ดิน ทราย • อาหารแชแ่ ข็ง • วัสดกุ อ่ สรา้ ง • ผลิตภัณฑน์ ้ำมันเชอื้ เพลิง • ซีเมนต์ • สินคา้ เบ็ดเตล็ด (โชหว่ ย) • ขา้ ว • อ้อย • ผลติ ภณั ฑม์ ันสำปะหลัง • เคมภี ณั ฑ์ • ยางพารา • อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ • ผกั สด/ผลไม้ • สนิ คา้ อนื่ ๆ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-73
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) จากการรวบรวมปริมาณสินค้าของทั้ง 3 แห่งในช่วงปี 2558-2564 (เฉพาะจำนวนรถบรรทุก แยกตามชนิดสินค้า) พบว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีจำนวนรถมากท่ีสุด คือ ประมาณ 204,000-390,000 คันต่อปี รองลงมาคือ สถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง ประมาณ 38,000-83,000 คันต่อปี และสถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ ประมาณ 29,000-62,000 คนั ต่อปี เม่ือพิจารณาประเภทสินค้าท่ีผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง พบว่ามีสัดส่วนที่แตกต่างกัน ดังแสดงในรูปที่ 2.3-46 และแสดงรายละเอียดในตารางที่ 2.3-31 ถึงตารางท่ี 2.3-33 สรุปได้ ดังน้ี • สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล พบว่าสินค้าท่ีมีการขนส่งมากท่ีสุด 3 ลำดับแรก คือ สินค้า เบ็ดเตล็ด (โชห่วย) สินค้าอื่นๆ และวัสดุก่อสร้าง คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 78 ร้อยละ 15 และ รอ้ ยละ 3 ตามลำดบั คิดเปน็ สดั สว่ นรวมกันประมาณร้อยละ 96 ของสนิ คา้ ทัง้ หมด • สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง พบว่าสินค้าท่ีมีการขนส่งมากท่ีสุด 3 ลำดับแรก คือ สินค้า เบ็ดเตลด็ (โชห่วย) ซีเมนต์ และวสั ดุก่อสรา้ ง คิดเป็นสดั ส่วนร้อยละ 75 ร้อยละ 15 และร้อยละ 5 ตามลำดับคดิ เป็นสดั ส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 95 ของสินค้าทงั้ หมด • สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า พบว่าสินค้าที่มีการขนส่งค่อนข้างหลากหลายและกระจาย ในสัดส่วนท่ีใกล้เคียงกัน โดยสินค้าท่ีมีการขนส่งมากท่ีสุด 5 ลำดับแรก คือ สินค้าเบ็ดเตล็ด หรือโชหว่ ย (รอ้ ยละ 25) สินค้าอื่นๆ (รอ้ ยละ 21) หิน ดิน ทราย (ร้อยละ 19) ยางพารา (ร้อยละ 11) และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 11) ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 87 ของสินค้าทั้งหมด จากผลการวิเคราะห์ข้างต้น พบว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลเป็นศูนย์รวบรวมและกระจาย สินค้าเบ็ดเตล็ด (โชห่วย) เป็นหลัก ซ่ึงคล้ายกันกับที่สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ส่วนสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้ามีการขนส่งสินค้าท่ีหลากหลาย เน้นการกระจายสินค้าเป็นหลักมากกว่าการรวบรวม สินค้า สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-74
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 4,162, 1.2% 11,846, 3.3% หิน ดิน ทราย 7,200, 2.0% 1,322, 0.4% วัสดุก่อสรา้ ง ซเี มนต์ 53,453, 15.0% ขา้ ว ผลิตภณั ฑ์มันสาปะหลัง 277,263, 77.7% ยางพารา ผักสด ผลไม้ สถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล อาหารแชแ่ ขง็ นา้ มนั เชอื้ เพลงิ เบ็ดเตลด็ (โชห่วย) อ้อย เคมี อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์) สนิ คา้ อืน่ 2,712, 5.4% 7,415, 14.6% หิน ดิน ทราย 1,604, 3.2% 38,102, 75.2% วสั ดุก่อสรา้ ง 622, 1.2% ซเี มนต์ ข้าว สถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวง ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลงั ยางพารา ผักสด/ผลไม้ อาหารแชแ่ ข็ง น้ามันเชือ้ เพลิง เบด็ เตล็ด (โชหว่ ย) อ้อย เคมี อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สินค้าอน่ื ๆ 13,301, 21.4% 11,833, 19.0% 67, 0.1% หิน ดนิ ทราย วสั ดุก่อสรา้ ง 6,964, 11.2% 3,694, 5.9% ซเี มนต์ 6,990, 11.2% ข้าว ผลิตภัณฑม์ นั สาปะหลงั 2,296, 3.7% 15,608, 25.1% 318, 0.5% ยางพารา 800, 1.3% ผักสด ผลไม้ สถานีขนสง่ สินคา้ รม่ เกล้า อาหารแชแ่ ขง็ นา้ มนั เชอื้ เพลิง เบ็ดเตลด็ (โชหว่ ย) ออ้ ย เคมี อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์) สินค้าอน่ื ทมี่ า: วเิ คราะหจ์ ากฐานขอ้ มลู ระบบ GCS ของสำนกั การขนสง่ สนิ ค้า กรมการขนส่งทางบก รปู ท่ี 2.3-46 สดั ส่วนจำนวนรถบรรทุกแยกตามประเภทสินคา้ ทผี่ า่ นเข้าออกสถานขี นส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2563 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-75
ตารางที่ 2.3-31 สรุปจำนวนรถบรรทกุ แยกตามประเภท สถานขี นสง่ ปี พ.ศ. หนิ ดนิ วัสดุ ซเี มนต์ ขา้ ว ผลิตภัณฑ์ จำ สนิ คา้ ทราย ก่อสรา้ ง มนั สำปะหลัง ยางพารา 2564 78 1,689 1 4 82 (Q1) 0 2563 247 11,846 84 164 637 52 78 สถานีขนสง่ สินคา้ 2562 36 4,954 40 58 251 325 2 พทุ ธมณฑล 2561 232 17,712 1,211 191 1,174 2 - 2560 1 18,318 28 1 28 2559 4 14,952 27 7 22 2558 - 26 - - - ทม่ี า: วิเคราะหจ์ ากฐานข้อมูลระบบ GCS ของสำนกั การขนส่งสนิ ค้า กรมการขนสง่ ทางบก ตารางที่ 2.3-32 สรปุ จำนวนรถบรรทกุ แยกตามประเภท สถานีขนสง่ จำน สินคา้ ปี พ.ศ. หิน ดนิ วสั ดุ ซเี มนต์ ข้าว ผลิตภณั ฑ์ ยางพารา ผัก ทราย ก่อสรา้ ง มนั สำปะหลงั ผ 2564 6 132 332 2 04 (Q1) 2563 8 2,712 7,415 5 9 13 สถานขี นสง่ สินคา้ 2562 99 16,582 6,791 7 11 12 5 34,103 3,287 85 29 44 คลองหลวง 2561 2560 - - - - -- 2559 - - - - -- 2558 - - - - - - ท่มี า: วิเคราะหจ์ ากฐานข้อมลู ระบบ GCS ของสำนักการขนสง่ สนิ ค้า กรมการขนส่งทางบก สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ทสินคา้ ของสถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล ปี 2558-2564 ำนวนรถรบั ส่งสนิ ค้าแต่ละประเภท (คนั ) อ้อย เคมี อปุ กรณ์ สินคา้ รวม ผักสด อาหาร น้ำมัน เบ็ดเตลด็ คอมพิวเตอร์ อืน่ ผลไม้ แช่แข็ง เช้อื เพลิง (โชหว่ ย) 46,123 3,602 0 0 172 39,854 0 522 119 356,749 53,453 206,682 89 213 1,322 277,263 17 7,200 4,162 44,687 390,790 57 197 679 150,707 37 2,908 1,993 64,907 299,018 1,721 332 2,857 282,058 36 6,866 11,168 106,821 204,305 29 1 44 159,669 - 65 14,011 103,892 28 2 41 71,944 - 59 13,325 173 11 23 - - - 108 14 ทสินค้าของสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง ปี 2558-2564 นวนรถรบั สง่ สินคา้ แตล่ ะประเภท (คนั ) กสด อาหาร นำ้ มัน เบ็ดเตลด็ อ้อย เคมี อปุ กรณ์ สินค้า รวม ผลไม้ แช่แข็ง เช้อื เพลงิ (โชหว่ ย) คอมพิวเตอร์ อื่น 7,950 1 0 7 7,245 198 8 6 9 50,663 0 43 25 38,102 622 74 31 1,604 82,674 67 18 1,968 80,654 8 122 103 56,710 176 37 166 1,602 - 7 9 14 22 93 41,162 5 - - 2 - - - - - ----- - ----- ----- 2-76
ตารางท่ี 2.3-33 สรปุ จำนวนรถบรรทุก แยกตามประเภ สถานขี นสง่ ปี พ.ศ. หนิ ดนิ วสั ดุ ซเี มนต์ ขา้ ว ผลติ ภัณฑ์ ยางพารา สนิ ค้า ทราย ก่อสรา้ ง มันสำปะหลงั 798 2564 4,202 0 3 0 107 (Q1) 6,990 435 2563 11,833 67 124 69 3,694 1,643 สถานีขนสง่ สินคา้ 2562 2,694 34 6 6 3,812 - - รม่ เกลา้ 2561 23 202 34 776 4,972 - 2560 - - - - - 2559 - - - - - 2558 - - - - - ท่ีมา: วิเคราะห์จากฐานข้อมลู ระบบ GCS ของสำนกั การขนส่งสนิ ค้า กรมการขนสง่ ทางบก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ภทสนิ ค้าของสถานีขนสง่ สนิ คา้ รม่ เกล้า ปี 2558-2564 จำนวนรถรับส่งสินค้าแต่ละประเภท (คนั ) อ้อย เคมี อปุ กรณ์ สินคา้ รวม ผกั สด อาหาร นำ้ มัน เบด็ เตล็ด คอมพวิ เตอร์ อ่ืน ผลไม้ แช่แข็ง เช้อื เพลิง (โชหว่ ย) 6,645 1,010 1 2 0 172 0 0 350 62,268 13,301 29,203 318 800 136 15,608 68 2,296 6,964 3,931 43,550 1 695 10,847 7,147 7 107 6 6,622 6 890 15,131 2 -- - - 30 184 59 12,453 -- 2 - - -- - - ---- - ---- ---- 2-77
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.3.4 จุดตน้ ทาง-จดุ ปลายทางสนิ ค้า และเสน้ ทางการขนส่งสนิ คา้ ที่ปรึกษาได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ิมเติมโดยใช้ฐานข้อมูลท่ีได้รับจากระบบ Gate Control System (GCS) ของสำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก โดยใช้ข้อมูลปี 2563 (มกราคม - ธันวาคม 2563) มาทำการวิเคราะห์จุดต้นทางและจุดปลายทางของรถบรรทุกที่ขนส่งสินค้าเข้า และออกจากสถานีขนสง่ สนิ ค้าทั้ง 3 แหง่ โดยพบว่ามขี ้อคน้ พบดงั นี้ 2.3.4.1 สถานขี นสง่ สินค้าพทุ ธมณฑล สำหรับการขนส่งสินค้าขาเข้าจากจังหวัดต้นทางมายังสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลในปี 2563 พบว่ามาจาก 5 จังหวัดน้ีมากที่สุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครปฐม เชียงราย ขอนแก่น และ สมุทรสาคร ซึ่งมีปริมาณการขนส่งสินค้าคิดเป็นร้อยละ 83 ของปริมาณสินค้าขาเข้าทั้งหมด ส่วนในทิศทางขาออกจากสถานีขนส่งสินค้าไปยังจังหวัดปลายทางน้ัน พบว่าไปยัง 5 จังหวัดนี้ มากที่สุด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก อุบลราชธานี และขอนแก่น แต่อย่างไรก็ตาม ปริมาณ การขนส่งสินค้ารวมของ 5 จังหวัดน้ี คิดเป็นเพียงร้อยละ 26 ของปริมาณสินค้าขาออกท้ังหมด ดงั แสดงในตารางท่ี 2.3-34 ตารางที่ 2.3-34 ปริมาณสนิ ค้าผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑลสำหรบั 5 จังหวดั แรก ทีม่ กี ารขนสง่ สงู ทสี่ ุด ในปี 2563 จงั หวดั ต้นทาง ปรมิ าณสนิ ค้า จงั หวดั ปลายทาง ปริมาณสินคา้ สงู สุด 5 ลำดับแรก (ตันตอ่ ปี) กรุงเทพมหานคร (ตันต่อป)ี สงู สดุ 5 ลำดับแรก 5,162 นครปฐม 5,059 เชียงราย 39,022 เชียงใหม่ 4,422 ขอนแก่น 3,788 สมทุ รสาคร 19,561 เชียงราย 3,264 รวม 5 ลำดบั แรก (ตันต่อป)ี 21,695 ปริมาณสินค้าทง้ั หมด (ตนั ต่อป)ี 1,090 ตาก 79,972 27.1% สดั ส่วน 791 อบุ ลราชธานี 776 ขอนแก่น 61,240 รวม 5 ลำดบั แรก (ตันต่อปี) 73,539 ปริมาณสนิ คา้ ทงั้ หมด (ตันตอ่ ป)ี 83.3% สัดสว่ น สำหรับปริมาณสินค้าผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลของจังหวัดอ่ืนๆ ที่เหลือ แสดงใน รูปแผนท่ี ดังแสดงในรูปที่ 2.3-47 และรูปที่ 2.3-48 สำหรับจังหวัดจุดต้นทางมายังสถานีขนส่ง สินค้า และจังหวัดจุดปลายทางออกจากสถานีขนส่งสินค้า ตามลำดับ โดยเส้นท่ีมีความหนามาก หมายถงึ มีปริมาณการขนสง่ มาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-78
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา: วิเคราะห์จากฐานขอ้ มลู ระบบ GCS ของสำนักการขนสง่ สินค้า กรมการขนสง่ ทางบก 2-79 รูปท่ี 2.3-47 แผนทีแ่ สดงจังหวัดจุดต้นทางของการขนส่งสินค้า มายงั สถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล ปี 2563 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ท่ีมา: วเิ คราะหจ์ ากฐานข้อมลู ระบบ GCS ของสำนกั การขนสง่ สนิ ค้า กรมการขนสง่ ทางบก 2-80 รูปที่ 2.3-48 แผนท่ีแสดงจังหวดั จุดปลายทางของการขนส่งสินค้า ทอ่ี อกจากสถานีขนส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล ปี 2563 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.3.4.2 สถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวง สำหรับการขนส่งสินค้าขาเข้าจากจังหวัดต้นทางมายังสถานีขนส่งสินค้าพบว่า สถานีขนส่งสินค้า คลองหลวง มีการขนส่งสินค้ามาจาก 5 จังหวัดน้ีมากท่ีสุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สระบุรี ปทมุ ธานี พิษณุโลก และพระนครศรอี ยธุ ยา ซ่ึงปริมาณการขนส่งสินค้ารวมของ 5 จังหวดั นี้ คิดเป็น ร้อยละ 29 ของปริมาณสินค้าท้ังหมดที่เข้ามายังสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง ส่วนในทิศทางขาออก จากสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวงไปยังจังหวัดปลายทางในปี 2563 พบว่า 5 จังหวัดแรกท่ีสถานีขนส่ง สินค้ามีการขนส่งสินค้าไปมากท่ีสุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี ราชบุรี สระบุรี และพิษณุโลก ซ่ึงปริมาณการขนส่งสินค้าของ 5 จังหวัดนี้ คิดเป็นร้อยละ 41 ของปริมาณสินค้าท้ังหมดที่ออกจาก สถานีขนส่งสนิ ค้า ดงั แสดงในตารางที่ 2.3-35 ตารางท่ี 2.3-35 ปริมาณสนิ ค้าผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงสำหรับ 5 จงั หวัดแรก ท่มี กี ารขนสง่ สูงทส่ี ุด ในปี 2563 จังหวัดตน้ ทาง ปริมาณสนิ คา้ จังหวดั ปลายทาง ปริมาณสนิ ค้า สูงสดุ 5 ลำดับแรก (ตันตอ่ ปี) กรุงเทพมหานคร (ตนั ต่อปี) สูงสุด 5 ลำดับแรก 14,734 สระบรุ ี 2,008 ปทมุ ธานี 6,330 กรุงเทพมหานคร 909 พษิ ณโุ ลก 714 พระนครศรีอยธุ ยา 1,881 ปทมุ ธานี 367 รวม 5 ลำดับแรก (ตันตอ่ ป)ี 18,732 ปริมาณสนิ ค้าทั้งหมด (ตันตอ่ ป)ี 1,725 ราชบรุ ี 45,473 41.2% สดั ส่วน 352 สระบรุ ี 350 พษิ ณโุ ลก 10,638 รวม 5 ลำดบั แรก (ตันต่อป)ี 37,143 ปรมิ าณสินค้าท้ังหมด (ตันต่อป)ี 28.6% สดั ส่วน สำหรับปริมาณสินค้าผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงของจังหวัดอื่นๆ ที่เหลือ แสดงใน รูปแผนที่ ดังแสดงในรูปท่ี 2.3-49 และรูปที่ 2.3-50 สำหรับจังหวัดจุดต้นทางมายังสถานีขนส่ง สินค้า และจังหวัดจุดปลายทางออกจากสถานีขนส่งสินค้าตามลำดับ โดยเส้นท่ีมีความหนามาก หมายถึง มปี รมิ าณการขนสง่ มาก สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-81
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา: วเิ คราะห์จากฐานขอ้ มูลระบบ GCS ของสำนกั การขนสง่ สนิ คา้ กรมการขนส่งทางบก 2-82 รูปท่ี 2.3-49 แผนท่ีแสดงจังหวัดจุดต้นทางของการขนส่งสนิ คา้ เข้าสูส่ ถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวง ปี 2563 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา: วิเคราะหจ์ ากฐานขอ้ มลู ระบบ GCS ของสำนักการขนสง่ สนิ คา้ กรมการขนสง่ ทางบก 2-83 รูปท่ี 2.3-50 แผนทแ่ี สดงจงั หวัดจดุ ปลายทางของการขนส่งสินคา้ จากสถานขี นสง่ สนิ ค้าคลองหลวง ปี 2563 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.3.4.3 สถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ สำหรับการขนส่งสินคา้ ขาเข้าจากจังหวดั ต้นทางมายังสถานีขนส่งสินค้าพบว่า สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า มีการขนส่งสินค้ามาจาก 5 จังหวัดนี้มากท่ีสุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา ตาก ตราด และนครนายก ซ่ึงปริมาณการขนส่งสินค้ารวมของ 5 จังหวัดนี้ คิดเป็นร้อยละ 40 ของปริมาณสินค้า ทง้ั หมดท่ีเข้ามายังสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ ส่วนในทศิ ทางขาออกจากสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าไปยัง จังหวัดปลายทางในปี 2563 พบว่า 5 จังหวัดแรกที่สถานีขนส่งสินค้ามีการขนส่งสินค้าไปมากท่ีสุด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร บุรีรัมย์ นครปฐม ตราด และนครราชสีมา ซึ่งปริมาณการขนส่งสินค้า ของ 5 จังหวัดน้ี คิดเป็นร้อยละ 34 ของปริมาณสินค้าทั้งหมดท่ีออกจากสถานีขนส่งสินค้า ดงั แสดงในตารางที่ 2.3-36 ตารางท่ี 2.3-36 ปริมาณสนิ คา้ ผ่านเข้าออกสถานขี นส่งสินคา้ รม่ เกล้าสำหรับ 5 จังหวัดแรก ทีม่ กี ารขนสง่ สูงทส่ี ดุ ในปี 2563 จังหวัดต้นทาง ปรมิ าณสนิ ค้า จังหวดั ปลายทาง ปรมิ าณสินค้า สูงสดุ 5 ลำดบั แรก (ตนั ตอ่ ปี) กรุงเทพมหานคร (ตันต่อปี) สูงสดุ 5 ลำดับแรก 6,353 นครราชสมี า 1,262 ตาก 7,808 กรงุ เทพมหานคร 642 ตราด 470 นครนายก 1,634 บรุ ีรัมย์ 446 รวม 5 ลำดับแรก (ตันตอ่ ป)ี 9,173 ปริมาณสนิ คา้ ท้ังหมด (ตันต่อป)ี 477 นครปฐม 26,709 สัดส่วน 34.3% 377 ตราด 360 นครราชสมี า 10,656 รวม 5 ลำดบั แรก (ตนั ตอ่ ปี) 26,824 ปริมาณสินคา้ ทัง้ หมด (ตันต่อป)ี 39.7% สดั ส่วน สำหรับปริมาณสินค้าผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าของจังหวัดอื่นๆ ท่ีเหลือ แสดงในรูป แผนที่ ดังแสดงในรูปที่ 2.3-51 และรูปท่ี 2.3-52 สำหรับจังหวัดจุดต้นทางมายังสถานีขนสง่ สินค้า และจังหวัดจุดปลายทางออกจากสถานีขนส่งสินค้าตามลำดับ โดยเส้นที่มีความหนามาก หมายถึง มปี ริมาณการขนส่งมาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-84
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา: วเิ คราะหจ์ ากฐานขอ้ มลู ระบบ GCS ของสำนักการขนสง่ สินคา้ กรมการขนสง่ ทางบก 2-85 รปู ที่ 2.3-51 แผนทแี่ สดงจังหวดั จดุ ต้นทางของการขนส่งสนิ คา้ เข้าสู่สถานขี นส่งสินคา้ รม่ เกล้าปี 2563 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ทมี่ า: วเิ คราะห์จากฐานข้อมูลระบบ GCS ของสำนกั การขนสง่ สินค้า กรมการขนสง่ ทางบก 2-86 รูปที่ 2.3-52 แผนท่แี สดงจงั หวัดจุดปลายทางของการขนสง่ สินคา้ จากสถานีขนสง่ สินค้าร่มเกล้าปี 2563 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 2.3.5 จำนวนและประเภทรถบรรทุกสนิ ค้า จากการรวบรวมสถิติจำนวนรถบรรทุกที่ผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งในช่วงปี 2558- 2563 พบว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีรถบรรทุกสินค้าผ่านเข้าออกสูงที่สุด คือ อยู่ระหว่าง 137,000 - 313,000 คันต่อปี ทั้งน้ีในปี 2558 เพิ่งเร่ิมมีการใช้งานระบบ Gate Control System (GCS) ทำให้ฐานข้อมูลไม่สมบูรณ์ รองลงมา คือ สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ซึ่งมีรถบรรทุก ผ่านเข้าออกประมาณ 60,000 - 70,000 คันต่อปี (ข้อมูลเฉพาะปี 2561 - 2563 เท่านั้น) ส่วนสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ในช่วงปี 2561-2562 นับว่ามีจำนวนรถบรรทุกผ่านเข้าออกต่ำท่ีสุด คือ ประมาณ 47,000 - 53,000 คันต่อปีเท่านั้น แต่อย่างไรก็ดี ในปี 2563 กลับมีแนวโน้ม ของจำนวนรถบรรทุกสนิ คา้ ท่ีเพิ่มสงู ข้ึนถึงร้อยละ 50 เมอ่ื เทียบกบั ปี 2562 ดงั แสดงในรูปที่ 2.3-53 350,000 313,194 300,000 286,739 ป ิรมาณรถบรร ุทก ( ัคนต่อ ีป) 250,000 234,627 165,491 106,126 200,000 137,381 150,000 70,414 53,197 66,769 100,000 60,756 2562 2563 50,000 - 13 46,511 สถานขี นสง่ สินค้าร่มเกลา้ 12- 0 2 255- 9 - 2560 2561 สถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง 255- 8 สถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล ทมี่ า: ประมวลผลจากฐานข้อมูลของสำนักการขนส่งสินคา้ (สนค.) กรมการขนส่งทางบก รปู ท่ี 2.3-53 สถานีขนส่งสนิ ค้าชานเมืองกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล 3 แห่ง ระหวา่ งปี 2558-2563 เม่ือพิจารณาสัดส่วนของรถบรรทุกท่ีผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้ากรุงเทพมหานครและปริมณฑล ท้ัง 3 แห่ง ในปี 2563 พบว่ามสี ดั ส่วนทีแ่ ตกต่างอยา่ งชัดเจน ดงั แสดงในรปู ท่ี 2.3-54 สรปุ ไดด้ ังน้ี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-87
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล รถบรรทุกที่เข้ามาใช้บริการมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ รถบรรทุก 4 ล้อ หรือกระบะ (ร้อยละ 68) รถบรรทุก 6 ล้อ (ร้อยละ 18) และรถบรรทุก 10 ล้อ (ร้อยละ 10) คิดเป็นสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 97 ของจำนวนรถท้ังหมด โดยมีสัดส่วนของ รถบรรทุกเกนิ 10 ลอ้ (รถกึง่ พว่ งและรถพ่วงขนาดใหญ่) เพยี งรอ้ ยละ 3 เท่านั้น • สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง รถบรรทุกท่ีเข้ามาใช้บริการมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ รถบรรทุก 4 ล้อ หรือกระบะ (ร้อยละ 27) รถบรรทุก 6 ล้อ (ร้อยละ 21) และรถกึ่งพ่วง 18 ล้อ (ร้อยละ 20) คิดเป็นสัดส่วนรวมกันร้อยละ 68 ของจำนวนรถท้ังหมด โดยมีสัดส่วนของ รถบรรทุกเกนิ 10 ลอ้ (รถก่ึงพ่วงและรถพ่วงขนาดใหญ่) ประมาณรอ้ ยละ 41 • สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า รถบรรทุกท่ีเข้ามาใช้บริการค่อนข้างหลากหลายและกระจาย ในสดั ส่วนท่ีใกล้เคียงกัน โดยสัดส่วนรถท่ีเข้ามาใช้บริการมากที่สดุ 3 ลำดบั แรก คอื รถก่ึงพ่วง 18 ล้อ (ร้อยละ 32) รถบรรทุก 4 ล้อ หรือกระบะ (ร้อยละ 14) และรถบรรทุก 18 ล้อ (ร้อยละ 13) คิดเป็นสัดส่วนรวมกันเพียงร้อยละ 59 ของจำนวนรถท้ังหมด โดยมีสัดส่วน ของรถบรรทุกเกิน 10 ล้อ (รถกึง่ พว่ งและรถพ่วงขนาดใหญ)่ สงู ถงึ ร้อยละ 71 จากผลการวิเคราะห์ข้างต้น พบว่า พฤติกรรมการขนส่งสินค้าของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จะเน้นไปที่การเปล่ียนถ่ายสินค้าจากรถบรรทุกขนาดเล็กจำนวนมากเพื่อรวบรวมเป็นรถบรรทุก ขนาดใหญ่ ส่วนสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะมีการเปล่ียนถ่ายระหว่างรถบรรทุกขนาดเล็กและ รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ลดลง แต่เริม่ ใช้รถบรรทุกขนาดใหญ่เพ่ิมมากข้ึน ขณะท่ีสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า มรี ถบรรทุกขนาดเล็กลดลงไปชดั เจน และมีการใชร้ ถบรรทกุ ขนาดใหญ่เกือบทกุ ขนาดเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน รายละเอียดเพิ่มเติมของรถบรรทุกประเภทต่างๆ ที่ผ่านเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าในช่วงปีต่างๆ (ปี 2558 - 2563) แสดงไว้ในตารางที่ 2.3-37 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-88
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รถบรรทุก 4 ล้อ 51,219 , 17.9% 28,738 , 4,067 , 1.4% รถบรรทกุ 6 ล้อ 10.0% 1,592 , 0.6% รถบรรทุก 10 ล้อ รถบรรทุก 12 ล้อ 1,357 , 0.5% รถก่งึ พ่วง 14 ล้อ รถกง่ึ พว่ ง 18 ลอ้ 197,935 , 69.0% รถกง่ึ พว่ ง 20 ลอ้ รถกึ่งพ่วง มากกวา่ 20 ล้อ สถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล รถพ่วง 14 ล้อ รถพว่ ง 18 ลอ้ รถพ่วง 20 ล้อ รถพ่วงมากกว่า 20 ลอ้ รถบรรทกุ 4 ลอ้ 1,367 , 2.0% 2,438 , 3.7% รถบรรทุก 6 ลอ้ 645 , 1.0% รถบรรทกุ 10 ลอ้ 6,718 , รถบรรทกุ 12 ลอ้ 10.1% 2,789 , 4.2% รถก่ึงพว่ ง 14 ล้อ รถกง่ึ พ่วง 18 ลอ้ 13,211 , 19.8% รถกง่ึ พว่ ง 20 ล้อ รถก่งึ พ่วง มากกวา่ 20 ล้อ 8,238 , 12.3% 17,687 , 26.5% รถพ่วง 14 ลอ้ รถพ่วง 18 ลอ้ 13,520 , 20.2% รถพว่ ง 20 ล้อ รถพ่วงมากกวา่ 20 ลอ้ สถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง รถบรรทุก 4 ล้อ 703 , 0.7% 1,955 , 1.8% รถบรรทุก 6 ล้อ รถบรรทกุ 10 ลอ้ 554 , 0.5% 11,821 , 13,576 , 14,381 , รถบรรทุก 12 ล้อ 11.1% 12.8% 13.6% รถกง่ึ พ่วง 14 ลอ้ รถกง่ึ พว่ ง 18 ลอ้ 34,313 , 32.3% 12,638 , รถก่ึงพว่ ง 20 ล้อ 11.9% รถกึ่งพว่ ง มากกวา่ 20 ล้อ รถพ่วง 14 ล้อ 11,814 , 3,703 , 3.5% รถพ่วง 18 ล้อ 11.1% 512 , 0.5% รถพว่ ง 20 ล้อ รถพ่วงมากกว่า 20 ลอ้ สถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ ท่มี า: ประมวลผลจากฐานข้อมูลของสำนกั การขนส่งสนิ คา้ (สนค.) กรมการขนส่งทางบก รูปที่ 2.3-54 สัดส่วนประเภทรถบรรทกุ ทเี่ ขา้ มาใชบ้ ริการภายในสถานขี นส่งสินค้าชานเมอื ง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 3 แห่ง ปี 2563 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-89
ตารางท่ี 2.3-37 สรุปจำนวนรถบรรทุก แยกตามประเภ ประเภทรถ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล (คันต่อป)ี สถานีขนส รถบรรทุก 4 ล้อ 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2558 2559 รถบรรทุก 6 ล้อ 50 100,287 167,825 224,722 114,469 197,935 - - รถบรรทุก 10 ล้อ 10 22,572 38,372 56,795 31,409 51,219 - - รถบรรทุก 12 ล้อ 48 12,379 23,517 25,685 15,383 28,738 - - รถก่ึงพ่วง 14 ลอ้ 7 694 859 1,968 2,541 4,067 - - รถก่ึงพว่ ง 18 ลอ้ 2 131 128 157 180 158 - - รถก่ึงพว่ ง 20 ลอ้ 2 845 1,797 1,315 388 1,592 - - รถก่ึงพ่วง มากกว่า - 16 35 147 58 491 - - 20 ล้อ รถพ่วง 14 ลอ้ - 128 960 976 192 434 - - รถพ่วง 18 ลอ้ รถพ่วง 20 ลอ้ - 10 3 18 13 12 - - รถพ่วง มากกว่า 1 186 480 496 243 466 - - 20 ล้อ - 45 131 165 153 270 - - รวม - 88 520 750 462 1,357 - - 120 137,381 234,627 313,194 165,491 286,739 - - ท่ีมา: ประมวลผลจากฐานข้อมูลของสำนกั การขนส่งสนิ ค้า (สนค.) กรมการขนส่งทางบก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ภทรถของสถานีขนสง่ สนิ คา้ แต่ละแหง่ ปี 2558-2563 ส่งสนิ ค้าคลองหลวง (คันตอ่ ปี) สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า (คันตอ่ ปี) 2560 2561 2562 2563 2558 2559 2560 2561 2562 2563 13 12,052 12,794 17,687 - - - 13,548 6,890 14,381 - 13,327 20,568 13,520 - - - 7,444 6,962 12,638 - 5,828 6,376 8,238 - - 2 1,785 1,498 3,703 - 195 100 24 - - - 83 82 512 - 634 411 122 - - - 4,553 6,388 11,814 - 12,068 16,753 13,211 - - - 10,656 15,514 34,313 - 1,168 1,450 1,367 - - - 124 187 554 - 5,825 5,225 6,718 - - - 2,010 6,778 11,821 - 102 27 10 - - - 538 733 703 - 1,389 2,545 2,438 - - - 4,932 7,543 13,576 - 69 1,110 645 - - - 71 40 156 - 8,099 3,055 2,789 - - - 767 582 1,955 13 60,756 70,414 66,769 - - 2 46,511 53,197 106,126 2-90
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.3.6 ลกั ษณะการหมนุ เวียนของสนิ ค้าภายในสถานี 2.3.6.1 การหมุนเวยี นภายในสถานีขนสง่ สินคา้ พุทธมณฑล สินค้าขาเข้าเมื่อเข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลแล้ว จะมีการหมุนเวียนไปยังพ้ืนที่ต่างๆ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ ดังนี้ กรณีที่ปริมาณสินค้าหนาแน่นมากทำให้ต้องรอคิวหรือมาถึงก่อนเวลานัด รถบรรทุกจะเข้ามาจอดรถ ยังพ้ืนท่ีจอดรถ เพื่อเตรียมเข้าไปยังพื้นท่ีต่างๆ และใช้เวลาจอดรอตั้งแต่ 30 นาที จนถึง 12 ช่ัวโมง (ไม่นบั รถพว่ งทจ่ี อดทิ้งไวห้ ลายๆ วัน) อย่างไรก็ตาม หากพ้ืนท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลไม่ได้มีปริมาณสินค้าหนาแน่นมาก รถบรรทุกสินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการตามเวลาที่นัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลาขนถ่าย สินค้า ชานชาลาอเนกประสงค์ และคลังสินค้า โดยระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าขึ้นอยู่กับประเภทรถ และรูปแบบการจัดเรียง (หากเรียงด้วยมือจะใช้เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใช้รถโฟล์คลิฟท์ตัก) เช่น หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลาในการขนถ่ายเต็มคันประมาณ 1.5-2 ชั่วโมง กรณีเป็น รถบรรทุก 10 ล้อ หรือรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 3 ชั่วโมง และหากเปน็ รถบรรทกุ ตู้คอนเทนเนอรข์ นาด 40 ฟุต จะใชเ้ วลาขนถ่ายประมาณ 4 ช่ัวโมง การใช้งานชานชาลาขนถ่ายสินค้าพบว่า มีความแตกต่างในบางรายเช่นกัน อาทิ ในรายของรายใหญ่ จะแยกโซนการเข้าช่องจอดตามจังหวัดต่างๆ โดยลูกค้าจะต้องเข้าจอดเพื่อขนถ่ายสินค้าตามจังหวัด ปลายทางที่กำหนด (ตัวอย่างของบริษัท นอร์ธสตาร์ และน่ิมซ่ีเส็ง) ขณะที่ผู้ประกอบการขนาดเล็ก และกลางบางรายจะใช้ช่องจอดเพ่ือขนถ่ายสินค้าเพียงฝ่ังเดียว และใช้พื้นที่อีกฝ่ังหน่ึงเพื่อวางกอง สินค้า เน่ืองจากไม่มีพื้นท่ีสำหรับวางกองสินค้า (ตัวอย่างของบริษัท ชวาลกิต ขนส่ง) แต่ก็พบว่า ผู้ประกอบการบางราย อนุญาตให้มีการขนถ่ายสินค้าได้ท้ังสองฝ่ัง เน่ืองจากปริมาณสินค้าไม่มากนัก และยังมีพื้นท่ีเหลือสำหรับวางกองสินค้า (เป็นกรณีส่วนมากของผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง) ส่วนมากรถบรรทุกจะเข้ามามากช่วงวันธรรมดาและน้อยลงในวันเสาร์ ท้ังนี้ผู้ประกอบการส่วนมาก จะหยดุ ให้บริการในวนั อาทิตย์ สำหรับกรณีของคลังสินค้าน้ัน ผู้ประกอบการใช้จัดเก็บสินค้าเพ่ือรอจัดส่งให้กับลูกค้าตามระยะเวลา ที่ตกลงกันไว้ ซ่ึงพบว่ามีระยะเวลาจัดเก็บไม่เกิน 14 วัน (ส่วนใหญ่ไม่เกิน 2-3 วัน) โดยมีการใช้งาน คลังสินค้าเป็นพ้ืนท่ีรวบรวมและกระจายสินค้าเหมือนชานชาลาขนถ่ายสินค้าทุกประการ (แต่จัดเก็บ สินค้านานมากกว่า) โดยรถบรรทุกขาออกของคลังสินค้าท่ีน่ีจะมีท้ังรถบรรทุก 6 ล้อ 10 ล้อ และรถพ่วง เน่ืองจากมีทั้งการจัดส่งไปยังร้านค้าปลีกท่ัวประเทศ (รถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ) และจัดส่ง ไปยังศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าในภูมิภาค (ใช้รถพ่วง เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด) อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการหลายรายที่ไม่ได้สนใจเช่าคลังสินค้า เน่ืองจากยังไม่มีสินค้ามากพอ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-91
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ท่ีคุ้มค่ากับค่าเช่า และใช้พื้นที่ชานชาลาและพ้ืนท่ีหน้าชานชาลาเป็นที่วางกองและจัดเก็บสินค้า ชั่วคราวแทน (ในกรณีนี้ หากต้องการกองสินค้าข้ามคืน ผู้ประกอบการจะมีการจ้างเจ้าหน้าท่ีรักษา ความปลอดภัยเพ่ิมเติม เพื่อเฝ้าระวงั สินค้าของตัวเอง) นอกจากน้ี ยังพบว่า มีผู้ประกอบการรายใหญ่บางรายขออนุญาตต้ังเต็นท์บริเวณรอบชานชาลา ขนถ่ายสินค้า เฉพาะช่วงเดือนธันวาคม (ซ่ึงเป็นช่วงเวลาที่มีปริมาณสินค้าหนาแน่นมาก) เพื่อใช้วางกองสินค้าและบางรายใช้เป็นพื้นท่ีน่ังคอยสำหรับลูกค้า (แต่ไม่รบกวนการสัญจรเข้าออก ของรถบรรทุก) ส่วนในกรณีของชานชาลาอเนกประสงค์ พบว่า มีการใช้งานอยู่ 2 ประเภท คือ ใช้ขนถ่ายสินค้า คราวละ 1 คัน ซ่ึงมีทั้งรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ ใช้ระยะเวลาขนถ่ายประมาณ 1-2 ชม. และ ใช้เป็นพื้นท่ีจัดเก็บสินค้าช่ัวคราว (ตัวอย่างของบริษัท น่ิมซี่เส็ง 1988 จำกัด และบริษัทในเครือ) ดงั แสดงในรูปที่ 2.3-55 รถบรรทุก 6 ล้อ/ 10 ลอ้ / รถพ่วง รถบรรทุก 6 ล้อ/ 10 ล้อ/ รถพว่ ง รปู ที่ 2.3-55 ลกั ษณะการหมุนเวยี นของสนิ คา้ ภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล 2.3.6.2 การหมุนเวียนภายในสถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวง สินค้าขาเข้าเม่ือเข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงแล้ว จะมีการหมุนเวียนไปยังพ้ืนท่ีต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสินคา้ ดังนี้ รถบรรทุกสินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นที่ท่ีต้องการตามเวลาท่ีนัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลา ขนถ่ายสินค้า และคลังสินค้า ท้ังนี้การหมุนเวียนสินค้าจะมีทั้งแบบพักสินค้าภายในชานชาลา ขนถ่ายสินค้าไม่นาน และขนถ่ายไปยังรถบรรทุกขาออกทันที (ดังตัวอย่างของบริษัท พงษ์ศิริ โลจิสติกส์ จำกัด) อีกรูปแบบหนึ่ง คือ พักสินค้าไว้ภายในชานชาลาขนถ่ายสินค้าประมาณ 1 - 7 วัน จากน้ันจึงขนถ่ายไปยังรถบรรทุกขาออก เพื่อส่งต่อไปยังศูนย์กระจายสินค้าอื่นๆ (ดังตัวอย่างของ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-92
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) บริษัท กรีนสปอต จำกัด) โดยทางบริษัท กรีนสปอต ยังมีกิจกรรมตรวจสอบคุณภาพสินค้า (Quality Control) และเปลีย่ นบรรจภุ ัณฑ์ใหม่ (repackaging) ด้วย เน่ืองจากภายในชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า มักจะประสบปญั หาเร่อื งปนเปือ้ นขน้ี ก แม้วา่ ทางบรษิ ทั จะมกี ารตดิ ตง้ั ตาข่ายกนั นกแลว้ กต็ าม นอกจากนี้ยังพบว่า มีการใช้ชานชาลาขนถ่ายสินค้าเป็นพื้นท่ีเก็บรกั ษาสินค้าแบบควบคุมอุณหภูมิ โดยมีการกนั้ ผนังข้นึ มาและติดตั้งเครื่องปรบั อากาศ (ดังตวั อยา่ งของบริษัท พีเค อนิ เตอร์เฟรด จำกัด) โดยระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าข้ึนอยู่กับประเภทรถและรูปแบบการจัดเรียง (หากเรียงด้วยมือ จะใช้เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใช้รถโฟล์คลิฟท์ตัก) เช่น หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลา ในการขนถ่ายเต็มคันประมาณ 45 นาที ถึง 1.5 ชั่วโมง กรณีเป็นรถบรรทุก 10 ล้อหรือรถบรรทุกตู้ คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟตุ จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 2 ชว่ั โมง และหากเป็นรถบรรทกุ ตู้คอนเทนเนอร์ ขนาด 40 ฟตุ จะใชเ้ วลาขนถา่ ยประมาณ 3 ช่ัวโมง นอกจากนี้ พบว่า ยังมีการใช้ชานชาลาขนถ่ายสินค้าเป็นท่ีจอดรถพ่วง เพื่อนำไปรับบรรจุสินค้าเข้า ตูย้ งั โรงงานต่างๆ ในนิคมอตุ สาหกรรม (ดังตวั อย่างของบริษัท พงษศ์ ริ ิ โลจิสติกส์ จำกดั ) ส่วนคลังสินค้าน้ัน มีการใช้งานเพื่อจัดเก็บสินค้าแบบระยะสั้นและระยะยาว โดยระยะส้ัน คือ จัดเก็บ สินค้าไม่เกิน 7 วัน (ดังตัวอย่างของบริษัท กรีนสปอต จำกัด) เม่ือถึงเวลานัดหมาย จะมีการขนถ่าย สนิ ค้าออกไปสง่ ยังโรงงานของลูกคา้ และระยะยาว คือ จัดเก็บสินค้านานตง้ั แต่ 30 วันขึน้ ไป (ดงั ตัวอย่าง ของบรษิ ทั เอสซีจี โลจิสตกิ ส์ แมเนจเม้นท์ จำกัด และสำนกั งานตำรวจแห่งชาติ) ดงั แสดงในรปู ที่ 2.3-56 รถพว่ ง (รถเปลา่ ) รถพว่ ง (มสี ินค้า) รูปท่ี 2.3-56 ลักษณะการหมุนเวยี นของสนิ คา้ ภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ คลองหลวง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-93
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 2.3.6.3 การหมุนเวยี นภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้าร่มเกล้า สนิ ค้าขาเข้าเมื่อเขา้ มายังสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าแล้ว จะมีการหมนุ เวียนไปยังพ้ืนที่ต่างๆ ภายใน สถานี ดงั น้ี กรณีท่ีปริมาณสินค้าหนาแน่นมากทำให้ต้องรอคิวหรือมาถึงก่อนเวลานัด รถบรรทุกจะเข้ามาจอดรถ ยังพื้นท่ีจอดรถ เพ่ือเตรียมเข้าไปยังพ้ืนที่ต่างๆ และใช้เวลาจอดรอตั้งแต่ 30 นาที จนถึง 12 ชั่วโมง (ไม่นบั รถพว่ งที่จอดทง้ิ ไวห้ ลายๆ วัน) อย่างไรก็ตาม หากพื้นท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าไม่ได้มีปริมาณสินค้าหนาแน่นมาก รถบรรทุกสินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นท่ีท่ีต้องการตามเวลาที่นัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลา ขนถ่ายสินค้า โดยระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าข้ึนอยู่กับประเภทรถและรูปแบบการจัดเรียงสินค้า (หากเรียงด้วยมือจะใช้เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใช้รถโฟล์คลิฟท์ตัก) ทั้งนี้สินค้าท่ีเข้ามายัง สถานีขนส่งสินค้าจะเป็นสินค้าท่ีสามารถจัดเรียงบนพาเล็ตได้และใช้เวลาในการขนถ่ายสินค้า รวดเร็วกว่า ซ่ึงต่างจากสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลที่ค่อนข้างจะเป็นสินค้าเบ็ดเตล็ด จำเป็นต้อง ใชก้ ารเรียงด้วยมือ ระยะเวลาที่ใชใ้ นการขนถ่ายสินค้าขึ้นกบั ประเภทรถ หากเป็นรถกระบะ จะใช้เวลาประมาณไม่เกิน 30 นาที หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลาในการขนถ่ายเต็มคันประมาณ 45 นาที ถึง 1.5 ช่ัวโมง กรณีเปน็ รถบรรทุก 10 ล้อหรือรถบรรทุกตูค้ อนเทนเนอรข์ นาด 20 ฟุต จะใชเ้ วลาขนถ่ายประมาณ 1 ถึง 1.5 ชั่วโมง และหากเป็นรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 2 ถึง 2.5 ชม. สว่ นการใช้งานคลังสินค้า พบว่า สินค้าจะหมุนเวียนเข้ามา 2 รูปแบบ คือ สินค้าหมุนเวียนเข้ามา และพักไว้ไม่เกิน 14 วัน (ส่วนมากจะพักไม่เกิน 7 วัน) และมีการขนถ่ายขึ้นรถบรรทุกเพื่อจัดส่ง ไปยังศนู ย์กระจายสินค้าในภูมิภาค (ส่วนมากจะเป็นสินค้าในกลุ่มของโมเดิร์นเทรด) โดยตัวอย่างน้ี เป็นสินค้าของบริษัท บลูแอนด์ไวท์ โปรเฟสชันแนล จำกัด และบริษัท ทรานส์โลจิสติกส์ จำกัด และอีกรูปหน่ึง คือ สินค้าเข้ามาพักไว้ไม่เกิน 15 ชม. และขนถ่ายต่อไปยังรถกระบะและ รถบรรทุก 6 ล้อ เพื่อจัดส่งไปยังร้านค้าปลีก ซ่ึงสินค้าจะไม่มีการจัดเก็บค้างคืน โดยตัวอย่างนี้ เป็นสนิ คา้ ในกลมุ่ เบอเกอรขี่ องบริษัท ซีพอี อลล์ จำกัด (มหาชน) ดังแสดงในรูปท่ี 2.3-57 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-94
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รถพว่ ง (รถเปลา่ ) รถบรรทุก 6 ลอ้ / 10 ลอ้ รถพว่ ง รถบรรทุก 6 ลอ้ / 10 ล้อ รถพว่ ง รูปท่ี 2.3-57 ลกั ษณะการหมุนเวยี นของสนิ คา้ ภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกลา้ นอกจากนี้ หากพิจารณาพฤติกรรมการขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ในภาพรวมทั้งระบบ พบว่ามคี วามแตกต่างกัน ซึ่งสามารถสรุปได้ดังน้ี • รปู แบบที่ 1: ใชส้ ถานีขนส่งสนิ ค้าเปน็ จดุ รวบรวมและกระจายสินคา้ ภายในประเทศ สำหรับการขนส่งสินค้าภายในประเทศประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ (1) รวบรวมสินค้าที่สถานี ขนส่งสนิ ค้า และขนส่งต่อไปยงั ผู้บริโภคในจังหวัดต่างๆ โดยผ่านทางศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค (2) รวบรวมสินค้าที่สถานีขนส่งสินค้า และขนส่งต่อไปยังผู้บริโภคในจังหวัดต่างๆ โดยตรง และ (3) รวบรวมสินค้าที่สถานีขนส่งสินค้า จัดเก็บไว้ในคลังสินค้า และส่งต่อไปยังผู้ประกอบการ โมเดริ ์นเทรดภายในประเทศ โดยมรี ายละเอียดดังน้ี o รูปแบบย่อยท่ี 1.1: สินค้าจากโรงงานมาจัดส่งท่ีสถานีขนส่งสินค้า จากนั้นทำการคัดแยก สินค้าและขนส่งตอ่ ไปยังศนู ย์กระจายสินค้าในภูมิภาคและต่อไปยังผู้บรโิ ภคในจังหวัดต่าง ผู้ผลิตสินค้า/ผู้จำหน่ายสินค้าจัดส่งสินค้ามายังสถานีขนส่งสินค้าโดยใช้รถกระบะ จากนั้น ทำการคัดแยกสินค้าตามจุดหมายปลายทาง โดยพักสินค้าไว้ท่ีชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้าหรือ คลงั สนิ คา้ ตง้ั แต่ 2 - 10 วัน จากนนั้ บรรจุเข้าตู้สินคา้ เพ่อื ขนสง่ ตอ่ ไปยงั ศนู ยก์ ระจายสินค้า ในภูมิภาคโดยใช้รถบรรทุกขนาดใหญ่ เม่ือสินค้าถึงศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค จะมี การกระจายสินค้าเพ่ือจัดส่งไปยังจังหวัดต่างๆ ข้างเคียงโดยใช้รถกระบะ โดยใช้วิธวี ่าจ้างเหมา ผู้ประกอบการภายนอก ดังแสดงในรูปที่ 2.3-58 ซ่ึงรูปแบบนี้รวมถึงการจัดส่งพัสดุภัณฑ์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-95
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) แบบด่วนทางไปรษณีย์ด้วย (Express Delivery Service) ทั้งน้ีรูปแบบน้ีพบได้ท่ีสถานีขนส่ง สินคา้ ร่มเกลา้ และสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล รูปที่ 2.3-58 รูปแบบการรวบรวมและกระจายสนิ ค้าภายในประเทศผ่านสถานขี นสง่ สนิ ค้า แบบท่ี 1 o รูปแบบย่อยที่ 1.2: สินค้าจากโรงงานมาจัดส่งที่สถานีขนส่งสินค้า จากน้ันทำการคัดแยก สนิ ค้าและขนสง่ ตอ่ ไปยังร้านคา้ ปลีก ลักษณะการขนส่งคล้ายกับรูปแบบท่ี 1.1 แต่แตกต่างกันตรงที่สินค้าที่ออกจากสถานีขนส่ง สินค้า จะมีการขนส่งตรงไปยังผู้บริโภคโดยตรง โดยไม่ได้ผ่านศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค ดังแสดงในรปู ที่ 2.3-59 รูปท่ี 2.3-59 รูปแบบการรวบรวมและกระจายสินคา้ ภายในประเทศผ่านสถานีขนสง่ สนิ ค้า แบบท่ี 2 o รูปแบบย่อยที่ 1.3: สินค้าจากโรงงานมาจัดส่งท่ีสถานีขนส่งสินค้า จัดเก็บสินค้าใน คลงั สินค้า จากน้นั ขนส่งไปยงั ผู้ประกอบการโมเดิร์นเทรดภายในประเทศ ผู้ผลิตสินค้า/ผู้จำหน่ายสินค้าจัดส่งสินค้ามายังสถานีขนส่งสินค้าโดยใช้รถกระบะหรือ รถบรรทุกขนาดใหญ่ จากน้ันทำการจัดเก็บสินค้าไว้ในคลังสินค้า (Warehouse) โดยพัก สินค้าไว้ที่คลังสินค้าต้ังแต่ไม่กี่วันจนเป็นเดือน จากน้ันจัดส่งสินค้าต่อไปยังผู้ประกอบการ โมเดิร์นเทรดภายในประเทศโดยใช้รถกระบะหรือรถบรรทุกขนาดใหญ่ภายนอก ดังแสดงใน รูปที่ 2.3-60 ทัง้ นร้ี ปู แบบนี้พบได้ทสี่ ถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกล้าและสถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวง รปู ท่ี 2.3-60 รูปแบบการรวบรวมและกระจายสินคา้ ภายในประเทศผา่ นสถานีขนส่งสินค้า แบบท่ี 3 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-96
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • รปู แบบท่ี 2: ใช้สถานขี นส่งสนิ คา้ เปน็ จดุ รวบรวมและกระจายสินค้าเพ่ือขนส่งระหวา่ งประเทศ สำหรับการขนส่งสินค้าไปยังต่างประเทศประกอบด้วย 2 รปู แบบ คือ รวบรวมสินค้าท่ีสถานีขนส่ง สินค้า กับรวบรวมสินค้ายังโรงงานผู้ผลิตสินค้า/จำหน่ายสินค้า และขนส่งต่อไปยังท่าเรือหรือ ด่านชายแดนทางบก โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ o รูปแบบย่อยที่ 2.1: สินค้าจากโรงงานมาจัดส่งท่ีสถานีขนส่งสินค้า จากนั้นทำการคัดแยก สินค้าและขนสง่ ตอ่ ไปยังท่าเรือหรอื ด่านชายแดนทางบก ผู้ผลิตสินค้า/ผู้จำหน่ายสินค้าจัดส่งสินค้ามายังสถานีขนส่งสินค้าโดยใช้รถกระบะ จากน้ัน ทำการคัดแยกสินค้าตามจุดหมายปลายทางในต่างประเทศ โดยพักสินค้าไม่เกิน 24 ชั่วโมง ทีช่ านชาลาขนถา่ ยสินค้า จากนนั้ บรรจุเข้าตสู้ ินค้าเพื่อขนสง่ ต่อไปยงั ท่าเรือ/ด่านชายแดนทางบก และผู้ประกอบการขนส่งสินค้าในต่างประเทศมารับสินค้าไปกระจายต่อยังจุดหมายปลายทาง ดังแสดงในรูปที่ 2.3-61 ท้ังน้ีรูปแบบนี้พบได้ที่สถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง คือ สถานีขนส่ง สนิ คา้ รม่ เกล้า สถานขี นส่งสินค้าพทุ ธมณฑล และสถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง รปู ท่ี 2.3-61 รปู แบบการขนส่งสนิ คา้ ระหว่างประเทศผ่านสถานีขนส่งสินคา้ แบบท่ี 1 o รูปแบบย่อยที่ 2.2: ไปรับสินค้าท่ีโรงงานจากนั้นขนส่งต่อไปยังท่าเรือหรือด่านชายแดน ทางบก ผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าไปรับสินค้ายังโรงงานผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายสินค้า จากน้ัน ขนส่งต่อไปยังท่าเรือหรือด่านชายแดนทางบก และผู้ประกอบการขนส่งสินค้าในต่างประเทศ มารับสินค้าไปกระจายต่อยงั จุดหมายปลายทาง โดยผู้ประกอบการใช้พื้นที่โดยรอบชานชาลา ขนถ่ายสินค้าเป็นท่ีจอดพักตู้คอนเทนเนอร์เพ่ือเตรียมไปรับสินค้าท่ีโรงงาน ดังแสดงใน รปู ท่ี 2.3-62 ท้งั นรี้ ูปแบบนพ้ี บได้ท่ีสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง รูปที่ 2.3-62 รูปแบบการขนส่งสนิ คา้ ระหว่างประเทศผา่ นสถานีขนส่งสนิ คา้ แบบที่ 2 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-97
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) o รูปแบบย่อยท่ี 2.3: ใช้สำนักงานที่อาคารบริหารของสถานีขนส่งสนิ ค้าเป็นพน้ื ทส่ี ำนักงาน เพ่อื ดำเนินธุรกิจดา้ นขนสง่ และโลจิสติกสใ์ นพน้ื ท่ีโดยรอบ ผู้ประกอบการขนส่งมาเช่าพ้ืนที่ภายในสำนักงานที่อาคารบริหารเป็นสำนักงานเพ่ือประกอบ ธุรกิจด้านขนส่งและโลจิสติกส์ท่ีเกี่ยวข้องกับท้ังสถานีขนส่งสินค้า ไอซีดีลาดกระบัง และ พื้นท่ีโดยรอบ อาทิ รับขนตเู้ ปล่าและตหู้ นัก รบั บรรจุตู้สินคา้ ที่โรงงานผู้ผลติ โดยตรงและส่งไป ท่ีท่าเรอื แหลมฉบัง และท่าเรือกรุงเทพ โดยไม่ได้ใช้งานชานชาลาขนถ่ายสินคา้ และคลังสินค้า ภายในสถานีขนส่งสินค้า ดังแสดงในรูปที่ 2.3-63 ทง้ั นร้ี ูปแบบนีพ้ บไดท้ ่สี ถานขี นสง่ สินคา้ ร่มเกล้า รปู ที่ 2.3-63 รูปแบบการขนสง่ สนิ คา้ ระหวา่ งประเทศผ่านสถานีขนส่งสนิ คา้ แบบที่ 3 2.3.7 ผลการเปรยี บเทียบข้อมลู จากระบบฐานข้อมูล GCS กับท่ีได้จากการสำรวจในเบ้ืองต้น ในการประเมินประสิทธิภาพของข้อมูลท่ีได้รับมาจากฐานข้อมูล GCS ว่ามีความแม่นยำมากน้อย เพียงใดน้ัน ท่ีปรึกษาจำเป็นต้องเปรียบเทียบจากฐานข้อมูล GCS ในวันเดียวกันกับท่ีมีการสำรวจ เพิ่มเติม ดังแสดงรายละเอียดวันท่ีเก็บรวบรวมของข้อมูลและจำนวนตัวอย่างจากข้อมูลทั้ง 2 แหลง่ ใน ตารางที่ 2.3-38 ตารางที่ 2.3-38 รายการข้อมูลและจำนวนตัวอย่างจากฐานข้อมลู GCS และการสำรวจ สถานขี นสง่ ฐานขอ้ มลู จากระบบ GCS การสำรวจเพิ่มเตมิ สนิ คา้ วนั ที่รวบรวมขอ้ มลู จำนวนตัวอย่าง วันทส่ี ำรวจ จำนวนตัวอย่าง พุทธมณฑล 15 - 16 กมุ ภาพันธ์ 2564 978 คัน 15 - 16 กมุ ภาพันธ์ 2564 433 คัน คลองหลวง 22 กุมภาพันธ์ 2564 197 คัน 22 กมุ ภาพันธ์ 2564 193 คัน ร่มเกลา้ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 130 คัน 23 กุมภาพันธ์ 2564 269 คัน ทั้งน้ีที่ปรึกษาจะทำการเปรียบเทียบทั้งจุดต้นทาง-จุดปลายทางของสินค้า และประเภทสินค้าที่ได้รับ มาจากข้อมลู ทั้งสองแหล่ง 2.3.7.1 จดุ ต้นทาง-จุดปลายทางของสนิ คา้ • สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จากการสังเกตจุดต้นทางและจุดปลายทางของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลที่ได้จากฐานข้อมูล GCS เฉพาะในวันที่ 15 - 16 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งตรงกับการสำรวจข้อมูลจุดต้นทาง-จุด ปลายทางเพิ่มเตมิ พบวา่ จำนวนรถบรรทุกทีเ่ ขา้ มาส่งสนิ ค้ามีมากกว่ารถทเี่ ขา้ มารบั สนิ ค้าเล็กน้อย สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-98
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) สำหรับจังหวัดต้นทางของสินค้าน้ัน พบว่ารถบรรทุกท่ีเข้ามาส่งสินค้ายังสถานีขนส่งสินค้า พุทธมณฑล มาจากกรุงเทพมหานครและจังหวัดนครปฐมมากท่ีสุด คิดเป็นสัดส่วนรวมกัน ถึงร้อยละ 99 โดยแบ่งเป็น รถบรรทุกจากกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 54) และจากจังหวัด นครปฐม (รอ้ ยละ 45) ส่วนจังหวัดปลายทางของสินค้าน้ัน พบว่ารถบรรทุกท่ีออกจากสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จะขนสง่ สินค้าไปยงั จังหวัดดังต่อไปนีม้ ากท่ีสดุ 5 ลำดับแรก คือ จังหวัดขอนแก่น (ร้อยละ 16) จังหวัดเชียงราย (ร้อยละ 12) กรุงเทพมหานคร (รอ้ ยละ 12) และจังหวัดระนอง (ร้อยละ 10) และ จงั หวัดพังงา (ร้อยละ 8) คิดเปน็ สดั สว่ นท้งั หมดร้อยละ 58 ของจังหวดั ทงั้ หมด ส่วนรายละเอยี ดของจังหวัดอืน่ ๆ แสดงในตารางท่ี 2.3-39 ตารางท่ี 2.3-39 ผลการวเิ คราะห์จุดตน้ ทางและจุดปลายทางจากฐานข้อมูล GCS สถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล ภมู ภิ าค จงั หวัด จำนวนรถรับสง่ สินคา้ (คัน) ต้นทาง สัดส่วน ปลายทาง สดั ส่วน กรงุ เทพและปริมณฑล กรงุ เทพมหานคร 273 54.0% 55 12.0% นนทบุรี 1 0.2% สมุทรปราการ 1 0.2% ภาคกลาง กำแพงเพชร 3 0.7% นครปฐม 227 44.9% 7 1.5% นครสวรรค์ 6 1.3% พิษณุโลก 6 1.3% เพชรบรู ณ์ 2 0.4% ลพบุรี 2 0.4% สมุทรสาคร 1 0.2% สระบุรี 2 0.4% สิงห์บรุ ี 1 0.2% สุโขทัย 6 1.3% ภาคตะวนั ออก ฉะเชงิ เทรา 1 0.2% ชลบรุ ี 1 0.2% 6 1.3% ตราด 5 1.1% ปราจนี บุรี 2 0.4% ระยอง 1 0.2% สระแก้ว 1 0.2% สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-99
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 2.3-39 ผลการวิเคราะห์จุดต้นทางและจุดปลายทางจากฐานข้อมูล GCS สถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล (ต่อ) ภมู ภิ าค จังหวดั จำนวนรถรับสง่ สินคา้ (คัน) ต้นทาง สดั สว่ น ปลายทาง สดั สว่ น ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ กาฬสนิ ธ์ุ 2 0.4% ขอนแกน่ 73 15.9% ชัยภมู ิ 2 0.4% นครพนม 3 0.7% นครราชสมี า 9 2.0% บึงกาฬ 2 0.4% บรุ รี ัมย์ 5 1.1% มกุ ดาหาร 1 0.2% รอ้ ยเอด็ 2 0.4% เลย 2 0.4% ศรสี ะเกษ 3 0.7% สกลนคร 6 1.3% ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สรุ ินทร์ 3 0.7% หนองคาย 1 0.2% หนองบวั ลำภู 2 0.4% อำนาจเจรญิ 1 0.2% อดุ รธานี 3 0.7% อบุ ลราชธานี 11 2.4% ภาคเหนือ เชียงราย 55 12.0% เชียงใหม่ 21 4.6% น่าน 2 0.4% พะเยา 3 0.7% แพร่ 2 0.4% ลำปาง 3 0.7% ลำพนู 1 0.2% 7 1.5% ภาคตะวันตก กาญจนบรุ ี 4 0.9% ตาก 4 0.9% ประจวบครี ขี ันธ์ 1 0.2% เพชรบรุ ี 1 0.2% สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-100
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 2.3-39 ผลการวิเคราะหจ์ ุดตน้ ทางและจุดปลายทางจากฐานข้อมลู GCS สถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล (ต่อ) ภูมภิ าค จงั หวดั จำนวนรถรับส่งสินคา้ (คนั ) ตน้ ทาง สัดส่วน ปลายทาง สัดส่วน ภาคใต้ กระบ่ี 1 0.2% 2 0.4% ชุมพร 2 0.4% ตรงั 2 0.4% นครศรีธรรมราช 7 1.5% พงั งา 38 8.3% พทั ลงุ 3 0.7% ภูเกต็ 3 0.7% ยะลา 2 0.4% ระนอง 45 9.8% สงขลา 8 1.7% สตูล 2 0.4% สรุ าษฎรธ์ านี 5 1.1% รวม (คนั ) 506 100% 459 100% ทม่ี า: ฐานข้อมูล GCS วันท่ี 15 - 16 กมุ ภาพันธ์ 2564 หมายเหตุ: ตน้ ทาง หมายถึง สนิ ค้าถูกสง่ มาจากจังหวัดน้ันๆ มายงั สถานีขนส่งสินคา้ ปลายทาง หมายถงึ สินคา้ ถกู ส่งจากสถานีขนส่งสินคา้ ไปยังจังหวัดนั้นๆ ท้ังนี้ เมื่อเปรียบเทียบจังหวัดต้นทางและจังหวัดปลายทางของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ที่ได้มาจากฐานข้อมูล GCS (ข้อมูล 2 วัน) กับข้อมูลที่ได้จากการสำรวจเพ่ิมเติม (รายละเอียด ตามหัวข้อ 2.3.1) พบวา่ มีความแตกต่างกัน ดงั นี้ จังหวัดต้นทางที่ได้จากฐานข้อมูล 3 แหล่ง คือ ฐานข้อมูล GCS (2 วัน) ฐานข้อมูล GCS (ตลอดปี 2563) และท่ีสำรวจเพ่ิมเติมนั้น มีความใกล้เคียงกันมากในมุมมองของลำดับเมื่อเรียงจากมาก ไปน้อย กล่าวคือ มีจังหวัดท่ีติดอันดับตรงกันถึง 5 จังหวดั จาก 6 จังหวัดแรกเมื่อเรยี งจากมาก ไปน้อย ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และ จังหวัดสมุทรสาคร อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในเชิงสัดส่วนของปรมิ าณรถบรรทุกแล้ว ข้อมูล จากทั้ง 3 แหล่ง ยังมีความแตกต่างกันพอสมควร เน่ืองจากช่วงเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลมี ความแตกต่างกัน ทำให้เปรียบเทียบกันยาก (ข้อมูลท่ีสำรวจเพียงวันเดียว ไม่สามารถเป็น ตวั แทนของกลมุ่ ตวั อย่างทเี่ ก็บรวบรวมมาทัง้ ปไี ด)้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-101
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ส่วนจังหวัดปลายทางนั้นพบวา่ ข้อมูลท่ีได้มาจากฐานข้อมูล 3 แหลง่ มีความใกลเ้ คยี งกันบ้าง แต่น้อยกว่ากรณีของจังหวัดต้นทาง กล่าวคือ มีจังหวัดท่ีติดอันดับตรงกันถึง 3 จังหวัดจาก 7 จังหวัดแรกเมื่อเรียงจากมากไปน้อย และตรงกันถึง 4 จังหวัดจาก 10 จังหวัดแรก ซ่ึงได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดอุบลราชธานี ในทำนอง เดียวกันกับจังหวัดต้นทาง คือ หากพิจารณาในเชิงสัดส่วนของปริมาณรถบรรทุกแล้ว ข้อมูล จากทง้ั 3 แหล่ง ยังมคี วามแตกต่างกันพอสมควร เนื่องจากช่วงเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีความแตกต่างกัน ซ่ึงสามารถแสดงผลการเปรียบเทียบท้ังหมดในตารางที่ 2.3-40 โดยท่ีปรึกษาให้ข้อสังเกตเพ่ิมเติม คือ จังหวัดท่ีมีการแรเงาสีเข้ม หมายถึง จังหวัดท่ีติดอันดับ ในแหล่งข้อมูลทั้ง 3 แหล่ง ส่วนจังหวัดที่มีการแรเงาสีอ่อน หมายถึง จังหวัดที่ติดอันดับ ในแหลง่ ข้อมูลเพียง 2 แหล่ง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-102
ตารางที่ 2.3-40 ผลการเปรียบเทียบจดุ ต้นทา ระหว่างข้อมูลทไี่ ด้จากระบบฐานข้อ ลำดบั ท่ี จงั หวดั ตน้ ทาง (สัดส่วนจำนวนรถบรรทุก) (เรยี งจากมาก ฐานขอ้ มลู GCS ฐานขอ้ มลู GCS การสำรว ไปน้อย) 1 (2 วัน) (ตลอดปี 2563) 2 3 กรุงเทพมหานคร (54.0%) กรุงเทพมหานคร (62.0%) นครปฐม (26. 4 5 นครปฐม (44.8%) นครปฐม (33.7%) กรุงเทพมหาน 6 7 นนทบรุ ี (0.2%) สมุทรสาคร (0.5%) สมทุ รสาคร (1 8 9 สมุทรปราการ (0.2%) นนทบรุ ี (0.3%) นนทบรุ ี (9.7% 10 สมุทรสาคร (0.2%) สมทุ รปราการ (0.3%) ปทุมธานี (5.2 รวม 10 ลำดับ แรก ชลบรุ ี (0.2%) กาญจนบรุ ี (0.3%) สมุทรปราการ ลำพนู (0.2%) ราชบุรี (0.3%) ราชบุรี (2.9% กระบี่ (0.2%) พิษณุโลก (0.2%) เชียงใหม่ (2.3 - ปทุมธานี (0.2%) สุรนิ ทร์ (1.1% - จนั ทบุรี (0.2%) ชลบรุ ี (1.1%) 100% 98% 80 หมายเหต:ุ แรเงาสเี ทาเข้ม หมายถึง จงั หวดั ทซ่ี ำ้ กนั จากแหลง่ ขอ้ มลู ท้งั 3 แหล่ง สว่ นแรเงาสเี ทา สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) างการขนส่งสินค้าของสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล อมูล GCS กับทไ่ี ด้จากการสำรวจเพิ่มเติม จงั หวัดปลายทาง (สัดส่วนจำนวนรถบรรทกุ ) วจเพม่ิ เติม ฐานขอ้ มูล GCS ฐานขอ้ มลู GCS การสำรวจเพิม่ เตมิ .0%) (2 วนั ) (ตลอดปี 2563) นคร (23.0%) 16.5%) ขอนแก่น (15.9%) กรุงเทพมหานคร (17.4%) นครปฐม (31.4%) %) 2%) เชียงราย (12.0%) ขอนแก่น (9.9%) กรงุ เทพมหานคร (13.8%) ร (4.7%) %) กรงุ เทพมหานคร (12.0%) เชียงราย (8.0%) สมทุ รสาคร (9.0%) 3%) %) ระนอง (9.8%) ระนอง (4.2%) เชยี งใหม่ (7.2%) ) 0% พังงา (8.3%) หนองบัวลำภู (3.9%) นนทบุรี (6.6%) เชยี งใหม่ (4.6%) เชยี งใหม่ (3.1%) สมทุ รปราการ (6.3%) อบุ ลราชธานี (2.4 %) อุตรดิตถ์ (2.6%) เชียงราย (3.2%) นครราชสมี า (2.0%) อดุ รธานี (2.5%) ปทมุ ธานี (2.9%) สงขลา (1.7%) อบุ ลราชธานี (2.3%) ชลบุรี (2.5%) ลำพนู (1.5%) ชลบรุ ี (2.2%) อบุ ลราชธานี (1.4%) 70% 56% 84% าออ่ น หมายถึง จังหวดั ทซี่ ำ้ กันจากแหล่งขอ้ มูล 2 แหลง่ 2-103
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง จากการสังเกตจุดต้นทางและจุดปลายทางของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงท่ีได้จากฐานข้อมูล GCS เฉพาะในวันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 ซึ่งตรงกับการสำรวจข้อมูลจุดต้นทาง-จุดปลายทางเพิ่มเติม พบว่า จำนวนรถทเ่ี ขา้ มาสง่ สนิ คา้ มีน้อยกว่าเข้ามารบั สินคา้ สำหรับจังหวัดต้นทางของสินค้าน้ัน พบว่ารถบรรทุกท่ีเข้ามาส่งสินค้ายังสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง มาจากจังหวัดสระบุรี ปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร มากที่สุด โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46 ร้อยละ 39 และรอ้ ยละ 15 ตามลำดบั ส่วนจังหวัดปลายทางของสินค้านั้น พบว่ารถบรรทุกที่ออกจากสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง จะขนส่งสินค้าไปยังกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และพิษณโุ ลกมากที่สดุ โดยคิดเป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 57 รอ้ ยละ 14 และร้อยละ 7 ตามลำดบั คดิ เป็นสดั ส่วนรวมกันเทา่ กบั ร้อยละ 78 สว่ นรายละเอียดของจังหวดั อ่ืนๆ แสดงในตารางที่ 2.3-41 ตารางที่ 2.3-41 ผลการวิเคราะหจ์ ุดตน้ ทางและจุดปลายทางจากฐานข้อมูล GCS สำหรับสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ภมู ภิ าค จงั หวดั จำนวนรถรบั ส่งสนิ คา้ (คนั ) ตน้ ทาง สัดส่วน ปลายทาง สัดส่วน กรงุ เทพและปรมิ ณฑล กรงุ เทพมหานคร 2 15.4% 44 57.1% ปทุมธานี 5 38.5% 11 14.3% ภาคกลาง พระนครศรอี ยุธยา 0 0.0% 1 1.3% พษิ ณุโลก 0 0.0% 5 6.5% สมุทรสาคร 0 0.0% 1 1.3% สระบรุ ี 6 46.2% 1 1.3% สพุ รรณบุรี 0 0.0% 2 2.6% ภาคตะวนั ออก ฉะเชงิ เทรา 0 0.0% 2 2.6% ชลบุรี 0 0.0% 1 1.3% ระยอง 0 0.0% 1 1.3% ภาคใต้ สุราษฎรธ์ านี 0 0.0% 8 10.4% รวม (คัน) 13 100.0% 77 100.0% ทมี่ า: ฐานข้อมูล GCS วันที่ 22 กุมภาพนั ธ์ 2564 หมายเหตุ: ตน้ ทาง หมายถึง สินค้าถกู สง่ มาจากจังหวัดน้ันๆ มายงั สถานีขนสง่ สินค้า ปลายทาง หมายถงึ สินคา้ ถกู สง่ จากสถานีขนส่งสินคา้ ไปยงั จังหวัดนั้นๆ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-104
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 485
Pages: