Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:34:58

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ หน้า บทท่ี 1 บทนำ 1-1 1.1 ความเปน็ มา 1-2 1.2 วัตถุประสงค์ 1-2 1.3 ขอบเขตพื้นท่ีศกึ ษา 1-4 1.4 กรอบการดำเนนิ งาน 1-5 1.5 ข้อมลู ทวั่ ไปของสถานีขนส่งสินคา้ ชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 1-5 1.5.1 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 1-12 1.5.2 สถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง 1-19 1.5.3 สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า 1-26 1.6 ผลผลติ และผลลัพธ์ของโครงการ 2-1 บทท่ี 2 การสำรวจและวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมและรูปแบบการใช้งานสถานขี นสง่ สินคา้ 2-1 2.1 สถิติการใช้ประโยชนพ์ นื้ ทแ่ี ละสงิ่ อำนวยความสะดวกของสถานีขนส่งสนิ ค้า 2-10 2.1.1 การใชป้ ระโยชนพ์ ื้นท่ีและสง่ิ อำนวยความสะดวก 2-13 2.1.2 กจิ กรรมที่มกี ารดำเนนิ การภายในสถานีขนส่งสินคา้ 2-23 2.2 สถิติรายรับของสถานขี นส่งสินค้าและค่าใช้จา่ ยสาธารณปู โภค 2-23 2.3 รูปแบบการขนส่งสนิ ค้า 2-41 2.3.1 ขอ้ มูลจากระบบฐานข้อมลู ควบคุมประตูอัตโนมตั ิ (GCS) 2-73 2.3.2 การสำรวจขอ้ มูลการขนส่งสินค้า และจดุ ตน้ ทาง-จดุ ปลายทางสินคา้ 2-78 2.3.3 ประเภทสนิ ค้า 2-87 2.3.4 จุดตน้ ทาง-จดุ ปลายทางสินคา้ และเสน้ ทางการขนสง่ สินค้า 2-91 2.3.5 จำนวนและประเภทรถบรรทุกสนิ ค้า 2-98 2.3.6 ลกั ษณะการหมุนเวียนของสินค้าภายในสถานี 2.3.7 ผลการเปรยี บเทยี บข้อมลู จากระบบฐานข้อมูล GCS 2-117 กบั ทไี่ ดจ้ ากการสำรวจในเบอ้ื งตน้ 2-117 2.4 คุณลกั ษณะของผู้ประกอบการขนสง่ ทีเ่ ขา้ ใช้บรกิ าร 2-120 2.4.1 ข้อมูลจากระบบฐานข้อมลู ของสำนักการขนส่งสนิ คา้ 2-121 2.4.2 ขนาดกิจการ 2-138 2.4.3 จำนวนรถ 2-139 2.4.4 พ้นื ที่ทำการขนส่ง 2.4.5 ประเภทสนิ ค้าที่ทำการขนส่ง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั สารบัญ 1/11

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 2-139 2.4.6 การใหบ้ ริการอืน่ ๆ นอกเหนือจากการขนส่ง 2-140 2.5 สรุปผลการศึกษา 3-1 บทที่ 3 การสำรวจข้อคดิ เห็นและความพึงพอใจต่อสถานขี นสง่ สินคา้ 3-2 ของกล่มุ ผู้ประกอบการขนส่งภายในสถานี 3-2 3.1 ข้อมูลทวั่ ไปของการดำเนนิ งาน 3-3 3.2 ข้อมลู ท่วั ไปของผ้เู ช่าใชพ้ น้ื ท่ีในปจั จุบนั 3-4 3.2.1 ธรุ กิจหลักของเอกชนผ้เู ชา่ ใชพ้ ื้นทีภ่ ายในสถานีขนสง่ สินคา้ 3-5 3.2.2 ูปแบบของการขนสง่ ท่มี ีการใหบ้ รกิ าร 3-5 3.2.3 ประเภทของสนิ คา้ ทรี่ ับขนสง่ โดยท่ัวไป 3-6 3.2.4 การใชต้ ้คู อนเทนเนอรใ์ นการขนส่งสินค้าผ่านสถานขี นส่งสินคา้ 3-9 3.2.5 สิ่งอำนวยความสะดวกและเคร่อื งมือสนบั สนุนการปฏิบตั งิ านขนสง่ 3-9 3.3 ความคดิ เห็นต่อภาพรวมการใช้งานสถานีขนส่งสนิ ค้าในปัจจุบัน 3-11 3.4 ปัญหาทพ่ี บจากการใช้บรกิ ารอาคารบริการกิจกรรมการขนสง่ 3-12 3.4.1 ชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ 3-12 3.4.2 คลังสนิ คา้ 3.14 3.4.3 ชานชาลาอเนกประสงค์ (เฉพาะสถานขี นส่งสินคา้ พุทธมณฑล) 3-14 3.5 ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าเพิ่มเติม 3-17 3.6 ผลการสมั ภาษณเ์ ชิงลึกและประเด็นเชงิ คุณภาพ 3-18 3.6.1 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 3-20 3.6.2 สถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 3.6.3 สถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกล้า 4-1 3.7 สรุปผลการศึกษา 4-3 4-7 บทท่ี 4 การสำรวจข้อคดิ เหน็ และความพึงพอใจต่อสถานีขนส่งสินคา้ 4-11 ของกลมุ่ พนกั งานขบั รถบรรทกุ และผู้มาติดตอ่ 4.1 ข้อมลู ทวั่ ไปของการดำเนนิ งาน 4.2 ข้อคิดเหน็ และความพึงพอใจตอ่ สถานขี นส่งสนิ คา้ ของกลมุ่ พนกั งานขบั รถบรรทุก 4.3 ข้อคิดเห็นและความพึงพอใจต่อสถานขี นสง่ สินคา้ ของกลุ่มผ้มู าตดิ ต่อ 4.4 สรุปผลการศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั สารบัญ 2/11

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 5 การตรวจสอบเชิงกายภาพและวศิ วกรรม ของสถานขี นส่งสนิ คา้ 5-1 5.1 การตรวจสอบความมั่นคงแขง็ แรงและความชำรดุ ทรุดโทรม ของอาคารและสิ่งปลกู สร้าง 5-2 5.1.1 การตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธา: สว่ นงานอาคาร 5-4 5.1.2 การตรวจสอบทางดา้ นวิศวกรรมโยธา: ส่วนงานถนน 5-6 5.1.3 การตรวจสอบทางด้านสถาปัตยกรรม 5-8 5.1.4 การตรวจสอบงานระบบและงานอ่ืนๆ 5-11 5.2 ผลการตรวจสอบเชิงกายภาพและวิศวกรรมของสถานขี นส่งสินคา้ พุทธมณฑล 5-25 5.3 ผลการตรวจสอบเชิงกายภาพและวิศวกรรมของสถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง 5-36 5.4 ผลการตรวจสอบเชงิ กายภาพและวิศวกรรมของสถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ 5-53 5.5 การตรวจสอบการใชง้ านและการดดั แปลงต่อเติมอาคารและสิ่งปลกู สรา้ ง 5-53 5.5.1 ลกั ษณะของการดดั แปลงต่อเติมอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่พบภายใน สถานีขนส่งสนิ ค้า 5-56 5.5.2 แนวทางการตรวจสอบและประเมนิ การต่อเติมดัดแปลงอาคาร 5-57 5.5.3 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเติมดัดแปลงอาคาร สถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล 5-60 5.5.4 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเติมดัดแปลงอาคาร สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง 5-62 5.5.5 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเติมดัดแปลงอาคาร สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 5-64 5.6 ผลการตรวจสอบสิง่ อำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค 5-64 5.6.1 การตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค 5-67 5.6.2 ผลการตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค 5-69 5.7 การวิเคราะห์ขอ้ มูลการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมและบำรุงรักษาย้อนหลงั 6 ปี 5-69 5.7.1 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 5-72 5.7.2 สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง 5-75 5.7.3 สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า 5-77 5.8 การประเมินประสทิ ธภิ าพการดำเนินการตามแผนพัฒนาและปรบั ปรุงซ่อมแซม 5-81 5.9 สรุปผลการศึกษา สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั สารบญั 3/11

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 6 การวเิ คราะหป์ ระเมนิ ศกั ยภาพของสถานขี นสง่ สนิ ค้า 6.1 แนวทางการวเิ คราะหป์ ระเมินศักยภาพ 6-1 6.2 มติ ิดา้ นทำเลท่ีต้งั 6-3 6.3 มิติด้านกายภาพและการออกแบบ 6-5 6.4 มิตดิ ้านเศรษฐกจิ 6-8 6.5 สรปุ ผลการวิเคราะหป์ ระเมนิ ศกั ยภาพของสถานีขนสง่ สินค้า 3 แหง่ ในปจั จุบัน 6-11 6.6 สรุปผลการศกึ ษา 6-21 บทที่ 7 การศึกษาและวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการและรูปแบบ การขนส่งสนิ คา้ ทางถนนระหว่างภูมิภาค 7.1 การทบทวนการศกึ ษาทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การขนส่งสินค้าทางถนนภายในประเทศไทย 7-1 7.1.1 การทบทวนการศึกษาเกี่ยวกับสถานีขนส่งสนิ ค้าเมืองหลัก 7-1 7.1.2 การศึกษาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนสง่ อื่นๆ ทมี่ ีคล้ายคลงึ กับสถานีขนส่งสินคา้ 7-9 7.1.3 ข้อสังเกตจากการทบทวนการศึกษาในอดีต 7-14 7.2 การวเิ คราะห์ข้อมลู การขนสง่ สนิ ค้าภายในประเทศไทยจากฐานขอ้ มลู GPS 7-14 7.2.1 ภาพรวมปริมาณและรูปแบบการขนส่งสินค้าในระดับประเทศจากข้อมลู GPS 7-15 7.2.2 พฤติกรรมการขนส่งสนิ ค้าผ่านสถานีขนส่งสนิ ค้าท้ัง 3 แห่ง 7-20 ของรถบรรทุกที่ติดต้ัง GPS 7.3 การเปรียบเทยี บรปู แบบและการกระจายตวั ของการขนส่งสนิ ค้าผา่ นสถานีขนส่งสนิ คา้ 7-28 จากฐานข้อมลู GPS ระบบ GCS และการสำรวจภาคสนาม 7.4 การคาดการณ์แนวโนม้ ปรมิ าณการขนสง่ สนิ ค้าทีจ่ ะเขา้ ใชส้ ถานขี นส่งสนิ ค้า 7-34 7.4.1 การคาดการณป์ ริมาณการขนส่งสนิ ค้าผา่ นสถานีขนส่งสนิ ค้า 7-34 ตามอตั ราการเติบโตแบบปกติ 7.4.2 การคาดการณ์ปริมาณการขนส่งสินค้าผา่ นสถานีขนส่งสนิ ค้า 7-39 ภายใต้สถานการณ์และเง่ือนไข 7.5 สรปุ ผลการศึกษา 7-43 บทท่ี 8 การศึกษาดงู านสถานีขนสง่ สินค้า ศนู ย์การขนสง่ สนิ คา้ คลงั สินคา้ 8-1 หรือพื้นทใ่ี ห้บริการกิจกรรมโลจิสติกส์ 8.1 การศกึ ษาดงู านสถานขี นสง่ สินคา้ ศนู ยก์ ารขนส่งสินคา้ คลังสินค้า 8-3 หรือพ้นื ที่ใหบ้ รกิ ารกิจกรรมโลจสิ ติกส์ 8-12 8.1.1 บรษิ ัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสตกิ ส์ จำกัด 8.1.2 บรษิ ัท เอก-ชยั ดีสทรบิ วิ ชั่น ซิสเทม จำกัด สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั สารบัญ 4/11

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 8.1.3 สถานบี รรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง 8-15 8.1.4 ศนู ย์การขนส่งตูส้ ินคา้ ทางรถไฟ ทีท่ ่าเรือแหลมฉบัง (SRTO) 8-19 8.1.5 หา้ งหุ้นสว่ นจำกดั พรของแม่ขนสง่ 8-28 8.2 สรุปผลการสมั ภาษณ์ผู้บรหิ ารสถานีขนส่งสินคา้ ศนู ย์การขนส่งสินค้า คลงั สนิ คา้ 8-32 หรอื พน้ื ท่ีใหบ้ รกิ ารกิจกรรมโลจิสติกส์ 8.3 การจดั ทำกรอบแนวปฏิบัตทิ ่ีดี (Best Practice) ของการจัดการสถานีขนสง่ สินค้า 8-41 8.4 สรุปผลการศกึ ษา 8-43 บทท่ี 9 การศึกษารวบรวมข้อมลู การบริหารจดั การศูนยก์ ระจายสินค้า และคลังสนิ ค้าของ 9-1 ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ e-Commerce 9-1 9.1 ทิศทางของธรุ กจิ e-Commerce 9-2 9.1.1 ธรุ กิจ e-Commerce 9-3 9.1.2 ภาพรวมของธุรกิจ e-Commerce 9-5 9.1.3 กลยุทธ์ของธุรกจิ e-Commerce 9-6 9.1.4 แนวโน้มของธรุ กิจ e-Commerce 9-6 9.2 ผู้ประกอบการธรุ กจิ e-Commerce 9-11 9.2.1 บริษัท ลาซาด้า จำกัด 9-16 9.2.2 บริษัท เซน็ ทรลั เจดี คอมเมริ ์ซ จำกัด 9.3 สรุปผลการศกึ ษา บทที่ 10 การศึกษาและวิเคราะหข์ อ้ มูลการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ในการบริหารจัดการ โครงสรา้ งพืน้ ฐานด้านการขนส่ง ของหน่วยงานภาครัฐ 10.1 สถานบี รรจุและแยกสนิ ค้ากล่องลาดกระบัง (ไอซีดี ลาดกระบัง) การรถไฟแห่งประเทศไทย 10-1 10.1.1 โครงสร้างบุคลากรและอตั รากำลัง 10-3 10.1.2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 10-4 10.1.3 การประเมินผลงานและตวั ชว้ี ัดประสิทธภิ าพของบุคลากร 10-14 10.1.4 ภาระงานจากการปฏบิ ตั ิงานจริง 10-14 10.2 ศูนย์การขนสง่ ตู้สินค้าทางรถไฟ (Single Rail Transfer Operator: SRTO) 10-15 ที่ทา่ เรือแหลมฉบงั การท่าเรอื แห่งประเทศไทย 10.2.1 โครงสร้างบุคลากรและอตั รากำลงั 10-17 10.2.2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบตั ิเฉพาะตำแหนง่ 10-19 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั สารบัญ 5/11

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 10.2.3 การประเมินผลงานและตัวชี้วดั ประสิทธภิ าพของบุคลากร 10-28 10.2.4 ภาระงานจากการปฏบิ ตั งิ านจริง 10-28 10.3 ศูนยเ์ ปล่ยี นถ่ายรูปแบบการขนส่งสนิ คา้ เชยี งของ จังหวดั เชยี งราย กรมการขนส่งทางบก 10-29 10.3.1 โครงสร้างบุคลากรและอตั รากำลงั 10-31 10.3.2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 10-32 10.3.3 การประเมินผลงานและตวั ช้ีวดั ประสิทธภิ าพของบุคลากร 10-36 10.3.4 ภาระงานจากการปฏิบัติงานจริง 10-36 10.3.5 การสมั ภาษณบ์ ุคลากรของศูนย์เปลีย่ นถา่ ยรูปแบบการขนส่งสนิ ค้าเชียงของ 10-37 10.4 งานศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานของส่วนสถานีขนสง่ สนิ ค้า 10-3 10.4.1 โครงสร้างการบรหิ ารงานบคุ ลากรและอตั รากำลงั 10-39 10.4.2 ข้อสงั เกตเก่ียวกับโครงสร้างองคก์ รและการบรหิ ารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้า 10-44 ในปัจจุบนั 10-44 10.4.3 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ โครงสร้างองคก์ รและการบริหารงาน 10-45 สว่ นสถานีขนส่งสนิ คา้ บนเงอ่ื นไขปจั จุบัน (ระยะสั้น) 10.4.4 ข้อสงั เกตเก่ียวกับโครงสร้างองคก์ รและการบริหารสถานีขนส่งสินค้า 10-61 10.4.5 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและการบรหิ ารงาน 10-77 สว่ นสถานีขนส่งสินค้าเม่ือมสี ินค้าในรูปแบบการรว่ มลงทุนฯ (PPP) เพ่ิมมากขน้ึ (ระยะยาว) 10.5 การประเมินผลงานและตวั ช้วี ดั ประสทิ ธภิ าพของบคุ ลากร 10-80 10.6 การจัดทำคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ 10-83 10.6.1 รปู แบบและแนวทางการจัดทำคมู่ ือการปฏิบตั ิงาน 10-83 10.6.2 การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับสถานีขนส่งสินค้า 10-86 10.7 แผนพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างการบรหิ ารงาน 10-87 10.7.1 แนวคิดประกอบการจัดทำข้อเสนอแนะด้านบุคลากรและ 10-87 โครงสร้างการบริหารงาน 10.7.2 แผนและข้อเสนอแนะในการพัฒนาบุคลากรและโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน 10-89 10.7.3 แผนงานท่ี 1 การปรับโครงสรา้ งการบริหารงานภายในองค์กร 10-89 10.7.4 แผนท่ี 2 การจัดทำคู่มือการปฏิบตั ิงานสำหรับกิจกรรมหลัก 10-90 10.7.5 แผนท่ี 3 การจัดฝกึ อบรมเพมิ่ ทกั ษะและสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงานภายในหนว่ ย 10-92 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง สารบญั 6/11

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 10-95 10.7.6 แผนที่ 4 การพฒั นาระบบการจดั การความรู้ (Knowledge Management: KM) และการพฒั นาระบบเทคโนโลยเี พื่อช่วยในการจัดการความรู้ (Digital-KM) 10-97 10.7.7 แผนท่ี 5 การสนบั สนนุ ส่งเสริมให้บุคลากรศกึ ษาตอ่ หรอื ขอรับทนุ เพอ่ื ศกึ ษาต่อ 10-97 ในหัวขอ้ ที่มคี วามต้องการ 10-98 10.7.8 แผนที่ 6 การพฒั นาระบบวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององคก์ ร (Enterprise Resource Planning: ERP) และการนำเทคโนโลยมี าใช้ 10-99 ในการชว่ ยบรหิ ารองค์กร 11-1 10.7.9 แผนท่ี 7 การพฒั นาระบบสารสนเทศเพือ่ การวเิ คราะห์ข้อมูลและช่วยผู้บรหิ าร 11-1 ในการตดั สินใจในการแก้ปญั หาการพฒั นา (Decision Support System: DSS) 11-2 11-4 10.7.10 แผนที่ 8 การพฒั นาระบบบริหารผลงาน (PM) 11-6 11-6 บทที่ 11 การศกึ ษาและวิเคราะหป์ ญั หาทางด้านข้อกฎหมายและระเบยี บ 11-13 ที่เก่ยี วข้องกับการดำเนินกจิ การสถานีขนส่งสินคา้ 11.1 การจดั ใหม้ /ี จัดต้ังสถานขี นส่งสนิ ค้า 11-22 11.1.1 องค์ประกอบตามกฎหมายของสถานีขนส่งสนิ ค้า 11-28 11.1.2 การจัดให้มี/จัดต้ัง สถานีขนส่งสินค้า 11-28 11.1.3 รายไดจ้ ากการบริหารกิจการสถานขี นสง่ สินค้า 11-32 11.2 การดำเนินกจิ การสถานแี ละความเปน็ ไปไดใ้ นการรว่ มลงทนุ ระหว่างรฐั และเอกชน 11-34 11.2.1 ทบทวนกฎหมายการร่วมลงทุนระหว่างรฐั และเอกชน 11-37 11.2.2 ความเป็นไปได้ในการรว่ มลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน 11-47 กรณีสถานีขนส่งสนิ ค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 11-64 ทั้ง 3 แห่ง ในปัจจุบนั 11.2.3 ข้อสงั เกตทางกฎหมายเกี่ยวกับการรว่ มลงทุนระหว่างรฐั และเอกชน 11.3 ประเด็นกฎหมายอ่ืนๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกับการบริหารสถานีขนส่งสินค้า 11.3.1 ประเด็นท่ีเกย่ี วข้องกบั พ.ร.บ. คุม้ ครองขอ้ มลู สว่ นบุคคล พ.ศ. 2562 11.3.2 การซ้อื ประกนั วินาศภยั สำหรบั สถานขี นส่งสนิ คา้ 11.3.3 การจ้างบรหิ ารสถานขี นสง่ สินคา้ ตาม พ.ร.บ. จัดซอ้ื จัดจา้ ง พ.ศ. 2562 11.4 กฎระเบยี บและประกาศทางราชการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการบรหิ ารสถานขี นสง่ สนิ ค้า 11.5 สญั ญาและการบรหิ ารและกำกบั สญั ญาเช่าพนื้ ทภ่ี ายในสถานขี นส่งสนิ ค้า 11.6 สรปุ ผลการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง สารบญั 7/11

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 12 การศกึ ษาออกแบบและปรบั ปรงุ โครงสร้างพน้ื ฐานสถานีขนสง่ สินค้า 12-2 12.1 งานปรับปรงุ อาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้าและจดั ทำแบบมาตรฐาน 12-2 12.1.1 งานซ่อมบำรุงอาคารชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ 12-7 12.1.2 งานปรบั ปรงุ ตอ่ เติมอาคารชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ 12-14 12.1.3 งานจัดทำแบบมาตรฐานสำหรับงานต่อเติมอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้า 12-20 12.2 งานออกแบบกอ่ สร้างอาคารซ่อมบำรุงและทำความสะอาดรถบรรทกุ 12-28 12.3 ขอ้ เสนอแนะในงานออกแบบและปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานอน่ื ๆ 12-28 12.3.1 งานก่อสรา้ งป้ายสถานีขนส่งสินค้า 12-29 12.3.2 งานปรับปรุงอาคารที่พักอาศัย 12-30 12.3.3 งานปรับปรุงดาดฟ้าอาคารสำนักงาน 12-31 12.4 งานจดั ทำแผนการลงทุนและแผนการซอ่ มบำรงุ สถานีขนสง่ สนิ ค้า 12-48 12.5 สรุปผลการศึกษา 13-1 บทที่ 13 การศกึ ษาและการวิเคราะหแ์ นวทางการบรหิ ารจดั การ และกำกับดแู ลการใช้พ้นื ที่ 13-1 13.1 การใช้ประโยชน์พ้ืนที่วา่ ง 13-8 13.1.1 แผนบริหารจัดการการใชป้ ระโยชน์พื้นท่ีวา่ งภายในอาคาร 13-10 13.1.2 แผนบริหารจัดการการใชป้ ระโยชนพ์ ้ืนท่วี า่ งภายนอกอาคาร 13-11 13.2 การจดั การจราจร 13-30 13.2.1 การบริหารจดั การจราจรของสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล 13-46 13.2.2 การบริหารจดั การจราจรของสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง 13-59 13.2.3 การบริหารจดั การจราจรของสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า 13-61 13.3 การจัดการทจ่ี อดรถและการจอดรถ 13-70 13.3.1 พื้นที่จอดรถภายในสถานขี นส่งสินค้าในปจั จบุ ัน 13-74 13.3.2 ลักษณะการหมุนเวยี นของรถบรรทุกสนิ ค้าภายในสถานขี นส่งสินคา้ 13-90 13.3.3 การวเิ คราะห์จำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้พน้ื ทส่ี ถานีในปัจจบุ ัน 13-107 13.3.4 ข้อมูลการเช่าใช้พืน้ ที่ภายในสถานีของผูป้ ระกอบการ 13-111 13.3.5 แผนการบริหารจัดการทจี่ อดรถบรรทุกภายในสถานี 13-129 13.3.6 แผนการดำเนินการ 13-129 13.4 การจดั การสาธารณูปโภค 13-133 13.4.1 การบริหารจดั การพ้ืนที่สาธารณปู โภคส่วนกลางในภาพรวม 13.4.2 แผนการซ่อมบำรงุ ระบบประปาเร่งด่วนสำหรับสถานีขนสง่ สนิ คา้ พุทธมณฑล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สารบัญ 8/11

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) 13.5 การจดั การรกั ษาความปลอดภยั หนา้ 13.6 การจัดการอาคารท่มี กี ารตอ่ เติมพื้นทใ่ี ชส้ อยนอกเขตอาคารเดมิ 13-135 13-136 13.6.1 สภาพปัญหาการต่อเติมพืน้ ที่ใชส้ อยนอกเขตอาคารเดิม 13-136 13.6.2 แนวทางในการจดั การแก้ไข 13-136 13.7 การจัดการความเสยี่ งและการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งของธุรกิจ 13-139 13.8 สรปุ ผลการศึกษา 13-141 13.8.1 การใช้ประโยชน์พน้ื ทีว่ ่าง 13-141 13.8.2 การบริหารจดั การจราจร 13-141 13.8.3 การบริหารจัดการท่จี อดรถและการจอดรถ 13-142 13.8.4 การจัดการสาธารณปู โภค 13-142 13.8.5 การจดั การรักษาความปลอดภยั 13-143 13.8.6 การจัดการอาคารที่มีการต่อเติมพ้นื ทใี่ ชส้ อยนอกเขตอาคารเดิม 13-143 13.8.7 การจดั การความเสี่ยงและการบรหิ ารความต่อเนื่องของธรุ กิจ 13-144 บทท่ี 14 การศกึ ษาและการวเิ คราะห์ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับเทคโนโลยี 14.1 การพัฒนาระบบและฐานข้อมูลขนาดใหญ่ทมี่ ีในปัจจบุ ัน 14-1 14.1.1 ข้อเสนอแนะที่ 1.1 : การเช่ือมโยงและบูรณาการขอ้ มลู 14-3 14.1.2 ข้อเสนอแนะที่ 1.2 : การปรบั ปรุงการนำเขา้ ขอ้ มูลสนิ ค้าในระบบ GCS 14-4 14.1.3 ขอ้ เสนอแนะท่ี 1.3 : การปรับปรงุ ขดี ความสามารถของระบบ TTMS 14-4 14.2 การนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการสนับสนุนการบริหารงาน 14-5 14.2.1 ขอ้ เสนอแนะท่ี 2.1 : การพัฒนาระบบการจัดการเอกสาร e-document 14-6 หรอื e-office โดยเป็นสว่ นหนึง่ ของระบบ TTMS 14.2.2 ขอ้ เสนอแนะท่ี 2.2 : การปรับปรุงระบบ Data Query Interface ของระบบ TTMS 14-7 14.2.3 ข้อเสนอแนะที่ 2.3 : การปรบั ปรงุ ระบบแสดงผลรวม (Dashboard) ของระบบ TTMS 14-8 14.2.4 ขอ้ เสนอแนะที่ 2.4 : การปรับปรงุ เพ่ิมเตมิ ชุดขอ้ มูลที่มคี วามนา่ สนใจและ 14-11 เป็นประโยชนก์ บั การบรหิ ารงานสถานชี นส่งสนิ ค้า และเพิม่ เตมิ ระบบ Business Intelligence เพ่อื สนบั สนุนการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในระบบ TTMS 14.2.5 ขอ้ เสนอแนะที่ 2.5 : การพฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ 14-12 (Decision Support System) 14.2.6 ขอ้ เสนอแนะท่ี 2.6 : การพัฒนา Data Catalogue ในการบรหิ ารกิจการ 14-13 สถานีขนสง่ สนิ คา้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง สารบญั 9/11

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 14-14 14.2.7 ข้อเสนอแนะท่ี 2.7 : ระบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานของบุคลากร และ กระบวนการจัดการความรู้ Knowledge Management (KM) 14-14 บนระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 14-15 14.2.8 ขอ้ เสนอแนะที่ 2.8 : การเพ่ิมเตมิ ระบบการบรหิ ารและกำกับสญั ญา PPP ในระบบ TTMS 14.2.9 ข้อเสนอแนะท่ี 2.9 : จัดทำ Mobile Application ใหก้ บั ผู้ใช้บรกิ าร สถานขี นส่งสนิ ค้า 14.3 ระบบเทคโนโลยอี ่นื ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การดำเนนิ การสถานีขนสง่ สินค้า 14-16 14.3.1 การติดต้งั ระบบบรหิ ารการจอดรถและจัดเกบ็ ค่าทจ่ี อดรถภายในสถานขี นสง่ สินค้า 14-16 14.3.2 การปรับปรงุ จำนวนจดุ และขีดความสามารถของระบบ GCS 14-16 14.3.3 การปรับปรงุ และซอ่ มบำรงุ ระบบกลอ้ ง CCTV ใหอ้ ย่ใู นสภาพพร้อมใช้งาน 14-17 14.3.4 การตดิ ตัง้ ระบบบรหิ ารจัดการพลงั งานและระบบแสงสว่างประหยดั พลงั งาน 14-18 14.4 การเตรยี มพร้อมรองรบั เทคโนโลยีและดจิ ทิ ัลท่เี ข้ามามีบทบาทกับโลกยุคปจั จุบนั 14-21 14.5 สรปุ ผลการศกึ ษา 14-23 บทที่ 15 การวิเคราะห์การเงินและอตั ราค่าบรกิ าร 15-1 15.1 การวิเคราะหก์ ารเงินของสถานี 15-1 15.1.1 แผนประมาณการรายไดจ้ ากค่าบรกิ ารสถานี 15-4 15.1.2 แผนการใชจ้ า่ ยเงินนอกงบประมาณค่าบรกิ ารสถานี 15-10 15.1.3 ประมาณการกระแสเงนิ สดของสถานี 15-15 15.2 การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งอตั ราคา่ บรกิ ารของสถานี 15-15 15.2.1 แนวทางการวเิ คราะหอ์ ัตราค่าบริการของสถานีขนส่งสนิ ค้า 15-16 15.2.2 ผลการวิเคราะหอ์ ัตราคา่ บริการของสถานีขนสง่ สนิ คา้ 15-23 15.3 การเปรยี บเทียบความแตกตา่ งวธิ ีการวเิ คราะหค์ วามเป็นไปได้ทางการเงินของ งานวิจัยโดยมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ในปีงบประมาณ 2560 – 2561 15-23 15.3.1 การเปรยี บเทยี บความแตกต่างวิธีการวิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ทางการเงิน ของงานวจิ ยั ก่อนหน้าและปปี ัจจุบัน 15-24 15.3.2 ขอ้ มลู นำเข้าท่ใี ช้ในการศกึ ษาวิเคราะห์ 15-25 15.3.3 กระบวนการวเิ คราะห์ความเป็นไปไดท้ างการเงนิ 15-26 15.4 การวิเคราะหแ์ นวทางการลงทนุ อาคารซอ่ มบำรงุ และทำความสะอาดรถบรรทกุ 15-31 15.5 สรปุ ผลการศกึ ษา สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั สารบญั 10/11

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทที่ 16 การจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ 16-1 16.1 ภาพรวมของการพัฒนาแผน 16-1 16.1.1 กรอบแนวคิดเบ้ืองต้น 16-1 16.1.2 ความท้าทาย 16-3 16.1.3 ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 16-4 16.2 โครงสรา้ งของแผน 16-14 16.3 แผนพัฒนาสถานขี นส่งสนิ ค้า 17-1 บทที่ 17 การจดั สัมมนารบั ฟังความคิดเหน็ 17-11 17.1 รูปแบบการสัมมนารบั ฟงั ความคดิ เห็น 17-12 17.2 กำหนดการและลำดบั การดำเนินการสัมมนา 17-12 17.3 ประเด็นการนำเสนอ 17-13 17.4 ประเด็นการเสวนา 17-15 17.5 จำนวนผเู้ ข้าร่วมการประชมุ สัมมนารับฟังความคดิ เหน็ 17-18 17.6 สรปุ ประเด็นคำถามจากการสมั มนา 17-20 17.7 สรุปผลจากแบบสอบถามข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการประชุมสัมมนา 17.8 ประมวลภาพบรรยากาศการสัมมนารบั ฟงั ความคิดเหน็ ภาคผนวก ก : ผลการสำรวจจำนวนผู้มาตดิ ตอ่ งานภายในสถานขี นสง่ สินค้าจำแนกรายบริษัท ข : ผลการสำรวจจำนวนผู้มาติดตอ่ งานภายในสถานีขนสง่ สินคา้ จำแนกรายอาคาร ค : ผลการตรวจสอบเชิงกายภาพและวิศวกรรมของสถานขี นสง่ สนิ ค้า ง : คมู่ อื การปฏิบตั งิ านสถานีขนสง่ สนิ คา้ จ : ร่างบันทกึ ความตกลงเกยี่ วกับการใช้สถานีขนสง่ สนิ คา้ ฉ : ร่างสัญญาเชา่ พนื้ ทีห่ รือใชพ้ ้นื ทสี่ ถานขี นส่งสนิ ค้า ช : วิธปี ฏิบตั เิ กย่ี วกับสัญญาเช่า ซ : แบบรายละเอียดและปรมิ าณงานบริหารจดั การดา้ นจราจร ฌ : แผนบรหิ ารความต่อเนอื่ ง ญ : คมู่ อื การตรวจสอบอาคาร สาธารณูปโภค อปุ กรณ์ประกอบ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ ตามวงรอบประจำปี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั สารบญั 11/11

บทที่ 1 บททนำ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมา สถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal) จัดเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกด้าน การขนส่งสินค้าทางถนนที่มีความสำคัญต่อระบบโลจิสติกส์ โดยสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง จะทำหน้าที่รองรับและสนับสนุนกิจกรรมรวบรวมและกระจายสินค้า ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ นำไปสกู่ ารลดต้นทนุ การขนส่งสินค้าทางถนนของผู้ประกอบการ ขนส่งสินคา้ และภาพรวมด้านเศรษฐกจิ ของประเทศ ปัจจุบันกรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม มีสถานีขนส่งสินค้าท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ จำนวน 3 แห่ง ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า เปิดให้บริการมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2543 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและเช่ือมโยงโครงข่ายการขนส่งสินค้าระหว่างพ้ืนท่ี กรุงเทพมหานครและภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ รวมถึงจำกัดจำนวนรถบรรทุกขนาดใหญ่ที่มี การขนส่งสินค้าภายในพื้นท่ีช้ันในของกรุงเทพมหานคร ซ่ึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหา ด้านการจราจร โดยปัจจุบันมีผู้ประกอบการขนส่งสินค้าให้ความสนใจเข้าใช้พื้นท่ีภายในสถานี ขนส่งสนิ คา้ ชานเมืองกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ทงั้ 3 แห่ง เป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม รูปแบบและแนวโน้มทางด้านโลจิสติกส์ของประเทศและของโลกในปัจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว อันเนื่องมาจากหลายปัจจัย อาทิเช่น การเติบโตของ ธุรกิจ e-Commerce การให้ความสำคัญกับข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) การเช่ือมโยงฐานข้อมูล และสารสนเทศระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ความต้องการการใช้พ้ืนที่และส่ิงอำนวยความ สะดวกภายในสถานขี นส่งสินค้าของผู้ประกอบการขนสง่ สนิ ค้าเปลยี่ นแปลงไปดว้ ยเช่นกนั ดงั นั้น กรมการขนส่งทางบกจึงได้ดำเนินโครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) เพ่ือเป็นการศึกษาแนวทางการพัฒนายกระดับ และเพิ่ม ศักยภาพโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอำนวยความสะดวกต่างๆ ตลอดจนพัฒนาบุคลากรภาครัฐท่ี ปฏิบัติงานภายในสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ท้ัง 3 แห่ง ท่ีเปิด ให้บริการมากว่า 20 ปี เพ่ือให้สามารถปรับตัวสอดรับกับสถานการณ์ทางด้านการขนส่งสินค้าและ โลจิสติกส์ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการขนส่ง สนิ ค้าอย่างแทจ้ รงิ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-1

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 1.2 วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ และประเมินศกั ยภาพการใช้งานสถานขี นส่งสินค้าชานเมอื งกรงุ เทพมหานคร และปริมณฑล ทั้ง 3 แห่ง ของกรมการขนส่งทางบกในปัจจุบัน พร้อมศึกษา และวิเคราะห์ แนวทางการ พัฒนาและเพิ่มศักยภาพการใช้งาน และจัดทำเป็นแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) โดยครอบคลุมด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ และกำกับดูแลการใช้พื้นท่ี ด้านการพัฒนาและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล และด้านการบริหารงบประมาณและบริหารความต่อเนื่อง พร้อมเปิดรับฟัง ความคิดเห็นและประชาสมั พันธใ์ หผ้ มู้ ีสว่ นเก่ียวข้องทราบ 1.3 ขอบเขตพน้ื ที่ศกึ ษา พื้นที่ศึกษา คือ สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ดังแสดงในรปู ที่ 1.3-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-2

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 1.3-1 ตำแหน่งทต่ี ั้งสถานีขนส่งสนิ ค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-3

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 1.4 กรอบการดำเนนิ งาน กรอบการดำเนินงาน (Study Framework) ประกอบด้วยงานทั้งหมด 4 งาน ได้แก่ • งานที่ 1 งานสำรวจ วเิ คราะห์ และประเมินศักยภาพการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า เป็นขน้ั ตอน การวิเคราะห์ปัจจัยภายในของสถานีขนส่งสินค้าปริมณฑลทั้ง 3 แห่ง เพ่ือหาจุดอ่อน จุดแข็ง การบริหารจัดการสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน Internal Factors Analysis : Strength & Weakness • งานท่ี 2 งานศึกษา รวบรวมขอ้ มูล และวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาและเพ่ิมศกั ยภาพการใช้ งานสถานีขนส่งสินค้า เป็นขัน้ ตอนการวเิ คราะห์ปัจจัยแวดล้อมภายนอกเพ่ือหาโอกาส ข้อจำกัด และถอดบทเรียนการบริหารสถานีขนส่งสินค้าจากที่อ่ืน (External Environment Analysis: Opportunity & Threat and Best Practices) • งานท่ี 3 งานจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า เป็นข้ันตอนการยกร่าง แผนพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในมิติต่างๆ Truck Terminal Development Plan Formulation • งานที่ 4 งานจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น และการจัดทำสื่อประชาสัมพนั ธ์ เป็นกระบวนการ มสี ว่ นร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาและสื่อประชาสัมพันธ์ (Stakeholder Participation) ดงั แสดงในรปู ที่ 1.4-1 รปู ท่ี 1.4-1 กรอบแนวทางการดำเนินการศึกษาตามขอบเขตของงาน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-4

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 1.5 ข้อมลู ท่วั ไปของสถานีขนสง่ สินค้าชานเมอื งกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในขอบเขตของการศึกษาในครั้งน้ีมี ทั้งส้ิน 3 แห่ง ประกอบด้วย สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง และ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า โดยก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดให้บริการมาต้ังแต่ปี 2543 หรือมีอายุ การใช้งานถึงปจั จบุ ันราว 20 ปีเศษ ทงั้ นี้สำหรบั ขอ้ มลู ทวั่ ไปของสถานขี นส่งสินค้าแต่ละแห่งมีดงั น้ี 1.5.1 สถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล (1) ท่ตี ้ังของสถานขี นส่งสินค้า 133 หมู่ 1 ถนนบรมราชชนนี ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม (2) พื้นท่ีและสง่ิ อำนวยความสะดวกภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีพ้ืนที่ 207 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา ประกอบด้วย ส่ิงอำนวย ความสะดวกด้านการขนถ่ายสินค้า ได้แก่ ชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินคา้ อาคารที่พกั และ โรงอาหาร อาคารสำนักงานกลาง นอกจากนี้ยังได้มีการก่อสร้างชานชาลาอเนกประสงค์ เพิ่มเติมอีก 3 หลัง โดยมีรายละเอียดขององค์ประกอบต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสินค้า ดังแสดงในตารางท่ี 1.5-1 และสำหรับตำแหน่งของอาคารต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสินค้า ดังแสดงในรูปที่ 1.5-1 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-5

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 1.5-1 ขอ้ มลู กายภาพของสถานขี นสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑล รายการ รายละเอยี ด 1. พน้ื ทส่ี ถานี (ไร่-งาน-วา) 207-3-42 2. จำนวนชานชาลาขนถ่ายสินค้า (Cross Deck Platform) (ชาน) 8 3. จำนวนชอ่ งจอดรถชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า (ช่อง) 384 4. คลงั สินคา้ ขนาด 1,000 ตร.ม. (Warehouse) (หลงั x ตร.ม.) 4 x 1,000 5. อาคารทพ่ี กั และโรงอาหาร (ขนาด 3 ชัน้ ) (หลัง x ตร.ม.) 1 x 4,900 6. อาคารสำนกั งานกลาง (ขนาด 5 ชัน้ ) (หลัง x ตร.ม.) 1 x 4,560 7. สถานบี ริการน้ำมัน ที่ล้างรถ และบำรุงรักษารถ* (ตร.ม.) 1 x 2,550 8. จำนวนผู้ถูกเวนคนื (ราย) 20 9. จำนวนคา่ ทดแทนอสงั หารมิ ทรพั ย์ (บาท) 167,398,462 10. ค่าก่อสร้าง (บาท) 921,900,000 11. คา่ ควบคมุ งาน (บาท) 13,800,000 12. คาดการณ์จำนวนรถบรรทกุ ขนาดใหญท่ ี่จะเข้าใช้สถานี (เท่ียว/วัน) 300 13. คาดการณ์จำนวนรถบรรทุกขนาดเลก็ ท่จี ะเขา้ ใชส้ ถานี (เที่ยว/วนั ) 440 14. ปริมาณสนิ ค้าท่ีแต่ละสถานีจะสามารถรองรบั ได้ (ตัน/วัน) 6,517 15. ชานชาลาอเนกประสงค์** 3 หลงั (94 คูหา) ทม่ี า : การออกแบบก่อสร้างตามผลการศกึ ษาของ JICA ปี 2535 หมายเหตุ : * สถานีบรกิ ารนำ้ มนั ทล่ี ้างรถ และบำรงุ รกั ษารถ ปจั จบุ นั มีการยกเลกิ การใช้งาน ** อาคารที่มกี ารกอ่ สรา้ งเพมิ่ เติมภายหลังเมอื่ ปี 2560 รายละเอยี ดจะกลา่ วถงึ ใน (3) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-6

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 1.5-1 ผังแสดงตำแหน่งอาคารหลักภายในสถานขี นสง่ สินค้าพทุ ธมณฑล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-7

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (3) ชานชาลาอเนกประสงค์ภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑล จากความต้องการใช้งานสถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑลเพ่ิมสงู ข้ึนมาก กรมการขนส่งทางบกได้ มีการก่อสร้างชานชาลาอเนกประสงค์เพิ่มเติมจำนวน 3 หลัง (ชานชาลาที่ 9 10 และ 11) โดยเปิดให้บริการเมื่อปี 2560 ทีผ่ า่ นมา สามารถรองรับช่องขนถ่ายสินคา้ ไดเ้ พิ่มเติมอีกจำนวน 94 ช่องขนถ่ายสินค้า มีลักษณะเด่นคือเป็นอาคารแบบ Front Load หรือเป็นลักษณะการใช้ งานท่มี ีทางเขา้ ออกและทจี่ อดรถสำหรับขนส่งสนิ ค้าเพียงด้านเดยี ว ดังแสดงในรปู ที่ 1.5-2 รปู ท่ี 1.5-2 ชานชาลาอเนกประสงค์ภายในสถานีขนส่งสินค้าพทุ ธมณฑล ภายในของชานชาลาอเนกประสงค์ของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล เป็นอาคาร 2 ชั้น ประกอบด้วย พ้นื ที่สำนักงานบริเวณช้ันสอง และพน้ื ท่ีชนั้ หนงึ่ ประกอบดว้ ย ชานชาลาขนถา่ ย สินค้า คลังสินค้า ห้องน้ำ ซิงค์ล้างจาน บันไดทางขึ้นชั้นสอง และห้องเก็บของใต้บันได ซึง่ สามารถเข้าไปจอดภายในอาคารได้ ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.5-3 รปู ที่ 1.5-3 ภายในชานชาลาอเนกประสงค์ 1-8 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (4) พื้นท่ใี ห้บรกิ ารทก่ี ่อให้เกดิ รายได้และอตั ราคา่ บรกิ าร พืน้ ท่ใี ห้บริการท่กี อ่ ให้เกดิ รายได้และอัตราค่าบริการ ณ ปี 2564 แสดงในตารางที่ 1.5-2 ตารางที่ 1.5-2 พ้นื ท่ใี ห้บรกิ ารและอัตราคา่ บรกิ ารสถานขี นส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล รายการ จำนวน พ้ืนทต่ี ่ออาคาร พน้ื ท่ีรวม คา่ เชา่ ณ ปี 2564 อาคาร (ตร.ม.) (ตร.ม.) (บาท/ตร.ม./เดอื น) 28,000 ชานชาลาขนถา่ ยสินค้า 8 3,500 102.0 2,120 86.0 หอ้ งพัก 106 20 280 70.8* 97.0 พน้ื ที่จำหน่ายอาหาร 10 28 9,600 92.0 2,910 122.0 สำนักงานทอี่ าคารชานชาลา 8 1,200 4,000 112.0 21,338 72.5* อาคารบรหิ าร 1 2,910 40 คลงั สนิ คา้ 4 1,000 ชานชาลาอเนกประสงค์ 94 227 ห้องวีไอพี 2 20 หมายเหตุ: *เฉลี่ยจากอัตราค่าเช่าของผู้เช่าทุกราย (5) สัดส่วนการใช้งานพนื้ ท่ภี ายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ในปจั จบุ ัน สัดส่วนการใช้งานพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ณ ส้ินปีงบประมาณ 2564 แสดงใน ตารางที่ 1.5-3 ตารางท่ี 1.5-3 สดั ส่วนการใชง้ านพนื้ ท่ภี ายในสถานีขนสง่ สินค้าพทุ ธมณฑล รายการ พนื้ ท่ีรวม (ตร.ม.) อัตราการใช้งานในปัจจบุ นั ชานชาลาขนถา่ ยสินค้า 28,000 หอ้ งพกั 2,120 100% พนื้ ทจี่ ำหน่ายอาหาร 280 86% สำนักงานที่อาคารชานชาลา 9,600 90% อาคารบรหิ าร 2,910 68% คลังสินคา้ 4,000 0% ชานชาลาอเนกประสงค์ 21,338 100% ห้องวไี อพี 40 100% 100% หมายเหตุ: ข้อมลู ณ ส้นิ ปงี บประมาณ 2564 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-9

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (6) โครงขา่ ยคมนาคมโดยรอบ โดยรอบพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ประกอบด้วยโครงข่ายทางหลวงสายหลักท่ีสำคัญ 3 สายทาง ได้แก่ ถนนบรมราชชนนี (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338) ถนนพุทธมณฑลสาย 5 (ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 3414) และถนนพุทธมณฑลสาย 6 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3316) ดงั แสดงในรูปที่ 1.5-4 รูปท่ี 1.5-4 โครงข่ายถนนโดยรอบพื้นที่สถานขี นส่งสินค้าพทุ ธมณฑล สำหรับข้อมูลทางกายภาพของโครงข่ายคมนาคมโดยรอบ ที่ปรึกษาฯ ได้รวบรวมข้อมูล ลักษณะทางกายภาพของถนนเส้นทางสายหลักโดยรอบของพ้ืนที่ศึกษา ประกอบด้วย จำนวนช่องจราจร ความกว้างของช่องจราจร และความกว้างเขตทาง ซ่ึงได้รวบรวมจาก ระบบสารสนเทศโครงข่ายทางหลวง (Roadnet) ของสำนักบริหารบำรุงทาง กรมทางหลวง โดยมีรายละเอยี ดต่างๆ ประกอบด้วย • ถนนบรมราชชนนี (ทางหลวงหมายเลข 338) เป็นถนนสายหลักตามแนวตะวนั ออก-ตะวันตก มีขนาด 10 ช่องจราจร (ช่องทางหลัก 6 ช่อง ทางคู่ขนาน 4 ช่อง) โดยแบ่งเป็น 5 ช่องจราจร ต่อทิศทาง มีเกาะกลางแบบยกข้ึน ความกว้างเขตทางท้ังฝ่ังซ้ายและขวาประมาณ 30 เมตร พ้นื ทีพ่ ฒั นาสองข้างทางส่วนใหญเ่ ปน็ ร้านคา้ และอาคารพาณิชย์ ดังแสดงในรปู ท่ี 1.5-5 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-10

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปท่ี 1.5-5 ถนนบรมราชชนนี • ถนนพุทธมณฑลสาย5 (ทางหลวงหมายเลข 3414) เป็นถนนสายหลกั ตามแนวเหนือ-ใต้ มีขนาด 6 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 3 ช่องจราจรต่อทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบกดเป็นรอ่ ง ความกว้างเขตทางท้ังฝงั่ ซ้ายและขวาประมาณ 25 เมตร พ้นื ท่พี ัฒนาสองข้างทางเปน็ พน้ื ท่ี เกษตรกรรม ร้านค้า และอาคารพาณิชย์ ดงั แสดงในรูปที่ 1.5-6 รูปท่ี 1.5-6 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 5 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-11

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • ถนนพุทธมณฑลสาย 6 (ทางหลวงหมายเลข 3316) เป็นถนนสายรองทีส่ ามารถเดินทาง เชื่อมต่อเข้าถนนบรมราชชนนี อยู่ทางฝั่งทิศตะวันตกของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล มีขนาด 2 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 1 ช่องจราจรต่อทิศทาง ความกว้างเขตทางทั้งฝ่ังซ้าย และขวาประมาณ 7-10 เมตร พื้นที่พัฒนาสองข้างทางส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัย พ้ืนที่ เกษตรกรรม และอาคารพาณชิ ย์ ดงั แสดงในรูปท่ี 1.5-7 รปู ที่ 1.5-7 ถนนพุทธมณฑลสาย 6 1.5.2 สถานีขนส่งสนิ คา้ คลองหลวง (1) ท่ีตง้ั ของสถานีขนส่งสนิ คา้ ตั้งอยู่ท่ี 18 หมู่ท่ี 8 ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 9 (ถนนกาญจนาภิเษก หรือ วงแหวนรอบนอกด้านตะวนั ออก) ตำบลคลองสี่ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (2) พน้ื ทีแ่ ละส่งิ อำนวยความสะดวกภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงมีพ้ืนที่ 225 ไร่ 1 งาน 25 ตารางวา ประกอบด้วย สิ่งอำนวย ความสะดวก ด้านการขนถ่ายสินค้า ได้แก่ ชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินค้า อาคารท่ีพัก และโรงอาหาร อาคารสำนักงานกลาง โดยมีรายละเอียดขององค์ประกอบต่างๆ ภายใน สถานีขนส่งสนิ ค้า แสดงในตารางที่ 1.5-4 และสำหรับตำแหน่งของอาคารตา่ งๆ ภายในสถานี ขนสง่ สินค้าดงั แสดงในรปู ที่ 1.5-8 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-12

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 1.5-4 ขอ้ มลู กายภาพของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง รายการ รายละเอียด 1. พ้นื ทสี่ ถานี (ไร่-งาน-วา) 225-1-25 2. จำนวนชานชาลาขนถ่ายสินค้า (Cross Deck Platform) (ชาน) 10 3. จำนวนช่องจอดรถชานชาลาขนถ่ายสินค้า (ชอ่ ง) 480 4. คลังสนิ คา้ ขนาด 1,000 ตร.ม. (Warehouse) (หลัง x ตร.ม.) 5 x 1,000 5. อาคารทีพ่ ักและโรงอาหาร (ขนาด 3 ชั้น) (หลัง x ตร.ม.) 1 x 4,900 6. อาคารสำนักงานกลาง (ขนาด 5 ชั้น) (หลัง x ตร.ม.) 1 x 4,560 7. สถานบี รกิ ารน้ำมนั ท่ีลา้ งรถ และบำรุงรักษารถ* (ตร.ม.) 1 x 3,300 8. จำนวนผูถ้ ูกเวนคนื (ราย) 9 9. จำนวนค่าทดแทนอสงั หารมิ ทรพั ย์ (บาท) 152,198,778 10. คา่ กอ่ สรา้ ง (บาท) 1,069,569,123 11. คา่ ควบคมุ งาน (บาท) 12,500,000 12. คาดการณ์จำนวนรถบรรทุกขนาดใหญ่ที่จะเข้าใชส้ ถานี (เที่ยว/วนั ) 400 13. คาดการณจ์ ำนวนรถบรรทุกขนาดเล็กท่จี ะเข้าใชส้ ถานี (เทีย่ ว/วนั ) 650 14. ปริมาณสนิ คา้ ที่แตล่ ะสถานีจะสามารถรองรบั ได้ (ตัน/วนั ) 9,530 ทีม่ า : การออกแบบก่อสร้างตามผลการศึกษาของ JICA ปี 2535 หมายเหตุ : * สถานีบรกิ ารน้ำมัน ที่ลา้ งรถ และบำรงุ รกั ษารถ ปจั จบุ นั มีการยกเลิกการใช้งาน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-13

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) รูปท่ี 1.5-8 ผังแสดงตำแหน่งอาคารหลักภายในสถานขี นสง่ สินคา้ คลองหลวง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-14

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (3) พ้ืนที่ให้บรกิ ารทกี่ ่อให้เกิดรายได้และอตั ราคา่ บรกิ าร พื้นที่ให้บริการที่ก่อให้เกดิ รายได้และอตั ราค่าบริการ ณ ปี 2564 แสดงในตารางที่ 1.5-5 ตารางที่ 1.5-5 พืน้ ทใี่ ห้บรกิ ารและอตั ราค่าบริการสถานขี นสง่ สนิ ค้าคลองหลวง รายการ จำนวน พ้นื ทตี่ อ่ อาคาร พ้ืนท่ีรวม คา่ เชา่ ณ ปี 2564 อาคาร (ตร.ม.) (ตร.ม.) (บาท/ตร.ม./เดอื น) 35,000 ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ 10 3,500 102.0 2,120 86.0 หอ้ งพัก 106 20 280 54.2* 97.0 พืน้ ทีจ่ ำหนา่ ยอาหาร 10 28 12,000 92.0 2,910 122.0 สำนกั งานทอี่ าคารชานชาลา 10 1,200 5,000 60.0* อาคารบริหาร 1 2,910 40 คลงั สนิ คา้ 5 1,000 หอ้ งวีไอพี 2 20 หมายเหตุ: *เฉลี่ยจากอัตราคา่ เช่าของผเู้ ช่าทุกราย (4) สดั ส่วนการใชง้ านพืน้ ทภ่ี ายในสถานขี นส่งสนิ คา้ ในปจั จบุ ัน สัดส่วนการใช้งานพ้ืนท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ณ ส้ินปีงบประมาณ 2564 แสดงใน ตารางท่ี 1.5-6 ตารางที่ 1.5-6 สัดสว่ นการใชง้ านพน้ื ทภ่ี ายในสถานขี นส่งสนิ คา้ คลองหลวง รายการ พืน้ ท่ีรวม (ตร.ม.) อตั ราการใชง้ านในปจั จุบัน ชานชาลาขนถา่ ยสินค้า 28,000 63% หอ้ งพัก 2,120 0% พื้นท่จี ำหน่ายอาหาร 280 30% สำนกั งานท่อี าคารชานชาลา 9,600 28% อาคารบริหาร 2,910 50% คลงั สินค้า 4,000 100% หอ้ งวไี อพี 40 50% หมายเหตุ: ขอ้ มลู ณ สิ้นปีงบประมาณ 2564 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-15

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (5) โครงข่ายคมนาคมโดยรอบ โดยรอบพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ประกอบด้วยโครงข่ายทางหลวงสายหลักที่สำคัญ 5 สายทาง ได้แก่ ถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (ทางบริการด้านในของทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3901 (ทางบริการด้านนอก ของทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 352 ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3214 โดยมรี ายละเอยี ดดงั แสดงในรปู ท่ี 1.5-9 รูปท่ี 1.5-9 โครงข่ายถนนโดยรอบพ้นื ท่ีสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง สำหรับข้อมูลทางกายภาพของโครงข่ายคมนาคมโดยรอบ ที่ปรึกษาฯ ได้รวบรวมข้อมูล ลักษณะทางกายภาพของถนนเส้นทางสายหลักโดยรอบของพื้นที่ศึกษา ประกอบด้วย จำนวนช่องจราจร ความกว้างของช่องจราจร และความกว้างเขตทาง ซ่ึงได้รวบรวมจาก ระบบสารสนเทศโครงข่ายทางหลวง (Roadnet) ของสำนักบริหารบำรุงทาง กรมทางหลวง โดยมรี ายละเอยี ดต่างๆ ประกอบด้วย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-16

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • ถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) เป็นถนนสายหลักตามแนวตะวันออก เฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ มีขนาด 6 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 3 ช่องจราจรต่อทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบกดเป็นร่อง ความกว้างเขตทางทั้งฝ่ังซ้ายและขวาประมาณ 35 เมตร พื้นทพ่ี ฒั นาสองขา้ งทางสว่ นใหญ่เป็นรา้ นค้า และอาคารพาณิชย์ ดังแสดงในรปู ท่ี 1.5-10 รปู ท่ี 1.5-10 ถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 1) • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 เป็นถนนสายหลักตามแนวเหนือ-ใต้ มีขนาด 8 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 4 ช่องจราจรต่อทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบกดเป็นร่องกว้าง 15 เมตร ความกว้างเขตทางท้ังฝั่งซ้ายประมาณ 75 เมตร และฝ่ังขวาประมาณ 90 เมตร พื้นท่ีพัฒนา สองขา้ งทางเปน็ พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม ร้านค้า และอาคารพาณชิ ย์ ดังแสดงในรูปท่ี 1.5-11 รปู ท่ี 1.5-11 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 เป็นถนนทางบริการด้านนอกของทางหลวงพิเศษ หมายเลข 9 ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ มีขนาด 2 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 1 ช่องจราจรต่อทิศทาง และยังรวมถึงสะพานต่างระดับขาออกจากสถานีขนส่ง สินค้าคลองหลวง โดยพื้นที่พัฒนาสองข้างทางส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่เกษตรกรรม และร้านค้า ดังแสดงในรูปท่ี 1.5-12 รปู ท่ี 1.5-12 ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 3901 • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 เป็นถนนทางบริการด้านในของทางหลวงพิเศษ หมายเลข 9 ถนนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ มีขนาด 2 ชอ่ งจราจร โดยแบ่งเป็น 1 ช่องจราจรต่อทิศทาง โดยพื้นที่พัฒนาสองข้างทางเป็นพ้ืนที่เกษตรกรรม รา้ นคา้ และอาคารพาณชิ ย์ ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.5-13 รูปท่ี 1.5-13 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-18

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214 เป็นถนนสายหลักตามแนวตะวันออก-ตะวันตก มีขนาด 6 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 3 ช่องจราจรต่อทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบยกข้ึน ความกว้างเขตทางทั้งฝ่ังซ้ายและขวาประมาณ 25 เมตร พ้ืนที่พัฒนาสองข้างทางเป็น รา้ นค้า และอาคารพาณิชย์ ดังแสดงในรูปที่ 1.5-14 รปู ที่ 1.5-14 ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 3214 1.5.3 สถานีขนสง่ สนิ ค้ารม่ เกล้า (1) ที่ตงั้ ของสถานีขนส่งสนิ ค้า ตง้ั อยทู่ ี่ 14 ถนนไอซีดี แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบงั กรุงเทพมหานคร (2) พื้นทแ่ี ละสิง่ อำนวยความสะดวกที่มี สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้ามีพื้นที่ 225 ไร่ 1 งาน 31 ตารางวา ประกอบด้วย สิ่งอำนวย ความสะดวกด้านการขนถ่ายสินค้า ได้แก่ ชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินค้า อาคารที่พัก และโรงอาหาร อาคารสำนักงานกลาง โดยมีรายละเอียดขององค์ประกอบต่างๆ ภายในสถานี ขนส่งสินค้า ดังแสดงในตารางท่ี 1.5-7 และสำหรับตำแหน่งของอาคารต่างๆ ภายในสถานี ขนสง่ สินคา้ ดังแสดงในรปู ท่ี 1.5-15 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-19

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 1.5-7 ข้อมลู กายภาพของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า รายการ รายละเอยี ด 1. พื้นทส่ี ถานี (ไร่-งาน-วา) 225-2-31 2. จำนวนชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ (Cross Deck Platform) (ชาน) 10 3. จำนวนชอ่ งจอดรถชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ (ช่อง) 480 4. คลงั สินคา้ ขนาด 1,000 ตร.ม. (Warehouse) (หลงั x ตร.ม.) 5 x 1,000 5. อาคารที่พักและโรงอาหาร (ขนาด 3 ชั้น) (หลงั x ตร.ม.) 1 x 4,900 6. อาคารสำนกั งานกลาง (ขนาด 5 ชัน้ ) (หลงั x ตร.ม.) 1 x 4,560 7. สถานีบริการน้ำมัน ที่ลา้ งรถ และบำรุงรักษารถ* (ตร.ม.) 1 x 4,600 8. จำนวนผ้ถู ูกเวนคนื (ราย) 32 9. จำนวนคา่ ทดแทนอสังหารมิ ทรพั ย์ (บาท) 304,815,383 10. คา่ ก่อสรา้ ง (บาท) 1,054,314,000 11. ค่าควบคุมงาน (บาท) 15,310,000 12. คาดการณ์จำนวนรถบรรทกุ ขนาดใหญ่ทีจ่ ะเขา้ ใช้สถานี (เที่ยว/วนั ) 440 13. คาดการณจ์ ำนวนรถบรรทุกขนาดเลก็ ที่จะเขา้ ใชส้ ถานี (เท่ยี ว/วัน) 660 14. ปริมาณสนิ คา้ ท่แี ต่ละสถานจี ะสามารถรองรับได้ (ตัน/วัน) 9,891 ท่มี า : การออกแบบกอ่ สร้างตามผลการศกึ ษาของ JICA ปี 2535 หมายเหตุ : * สถานบี รกิ ารน้ำมัน ทล่ี า้ งรถ และบำรุงรักษารถ ปัจจบุ ันมกี ารยกเลกิ การใช้งาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-20

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ที่ 1.5-15 ตำแหน่งทต่ี ้ังและผังบรเิ วณของสถานีขนส่งสินค้ารม่ เกล้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-21

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) (3) พ้นื ทใี่ ห้บรกิ ารท่ีก่อใหเ้ กดิ รายได้และอัตราคา่ บรกิ าร พืน้ ทใ่ี ห้บริการที่กอ่ ให้เกิดรายได้และอัตราค่าบริการ ณ ปี 2564 แสดงในตารางที่ 1.5-8 ตารางที่ 1.5-8 พ้ืนท่ใี ห้บรกิ ารและอัตราคา่ บรกิ ารสถานีขนสง่ สนิ ค้าร่มเกล้า รายการ จำนวน พ้นื ทตี่ ่ออาคาร พนื้ ที่รวม ค่าเชา่ ณ ปี 2564 อาคาร (ตร.ม.) (ตร.ม.) (บาท/ตร.ม./เดอื น) 35,000 ชานชาลาขนถ่ายสินคา้ 10 3,500 102.0 2,120 86.0 หอ้ งพกั 106 20 280 54.2* 97.0 พ้นื ท่ีจำหนา่ ยอาหาร 10 28 12,000 92.0 2,910 122.0 สำนกั งานทอี่ าคารชานชาลา 10 1,200 5,000 60.0* อาคารบริหาร 1 2,910 40 คลังสินค้า 5 1,000 ห้องวไี อพี 2 20 หมายเหตุ: *เฉลีย่ จากอัตราค่าเช่าของผูเ้ ช่าทุกราย (4) สดั สว่ นการใชง้ านพน้ื ทภ่ี ายในสถานขี นสง่ สนิ ค้าในปจั จุบนั สัดส่วนการใช้งานพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ณ ส้ินปีงบประมาณ 2564 แสดงใน ตารางท่ี 1.5-9 ตารางที่ 1.5-9 สัดส่วนการใช้งานพื้นทภี่ ายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ ร่มเกลา้ รายการ พนื้ ที่รวม (ตร.ม.) อตั ราการใช้งานในปัจจุบัน ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ 28,000 85% ห้องพัก 2,120 91% พนื้ ทจ่ี ำหนา่ ยอาหาร 280 80% สำนกั งานทีอ่ าคารชานชาลา 9,600 65% อาคารบริหาร 2,910 86% คลังสินคา้ 4,000 72% ห้องวไี อพี 40 100% หมายเหตุ: ขอ้ มูล ณ ส้นิ ปงี บประมาณ 2564 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-22

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (5) โครงข่ายคมนาคมโดยรอบ โครงข่ายคมนาคมโดยรอบพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มีเส้นทางสายสำคัญ 4 เส้นทาง ได้แก่ ถนนร่มเกล้า (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ทางบริการด้านซ้ายทาง ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7) ถนนเจ้าคุณทหาร (ถนนเชื่อมต่อ ระหว่างถนนร่มเกล้ากับถนนฉลองกรุง รับผิดชอบโดยสำนักการโยธา) และ ถนนฉลองกรุง (ติดต่อระหว่างเขตลาดกระบังกับเขตหนองจอก รับผิดชอบโดยสำนักการโยธา) โดยมีรายละเอียด ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.5-16 รปู ที่ 1.5-16 โครงข่ายถนนโดยรอบพื้นท่ีสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า สำหรับข้อมูลทางกายภาพของโครงข่ายคมนาคมโดยรอบ ที่ปรึกษาฯ ได้รวบรวมข้อมูล ลักษณะทางกายภาพของถนนเส้นทางสายหลักโดยรอบของพื้นท่ีศึกษา ประกอบด้วย จำนวนช่องจราจร ความกว้างของช่องจราจร และความกว้างเขตทาง ซึ่งได้รวบรวมจาก ระบบสารสนเทศโครงข่ายทางหลวง (Roadnet) ของสำนักบริหารบำรุงทาง กรมทางหลวง โดยมีรายละเอยี ดต่างๆ ประกอบด้วย • ถนนร่มเกล้า (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119) เป็นถนนสายหลักตามแนวทิศเหนือ-ใต้ มีขนาด 6 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 3 ช่องจราจรต่อทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบยกขึ้น ความกว้างเขตทางทั้งฝั่งซ้ายและขวาประมาณ 15 เมตร พ้นื ท่ีพฒั นาสองขา้ งทางเปน็ พื้นท่ี เกษตรกรรม ร้านคา้ และอาคารพาณิชย์ ดงั แสดงในรปู ที่ 1.5-17 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-23

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 1.5-17 ถนนร่มเกล้า • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ทางบริการด้านซ้ายทาง ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7) มีขนาด 2 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 1 ช่องจราจรต่อทิศทาง ความกว้างเขตทางท้ังฝั่งซ้าย ประมาณ 10.5 เมตรและฝ่งั ขวาประมาณ 10 เมตร ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.5-18 รูปท่ี 1.5-18 ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 3701 • ถนนเจ้าคุณทหาร เป็นถนนสายหลักอยู่ทางด้านทิศเหนือของสถานี สามารถเดินทาง เชื่อมต่อเข้าถนนร่มเกล้า และเข้าสู่พ้ืนท่ี ICD ลาดกระบังได้ มีขนาด 6 ช่องจราจร โดยแบ่งเปน็ 3 ช่องจราจรตอ่ ทิศทาง มีเกาะกลางถนนแบบยกขึ้น พ้นื ที่พัฒนาสองข้างทาง ส่วนใหญเ่ ปน็ ท่อี ยู่อาศยั และอาคารพาณิชย์ ดงั แสดงในรปู ที่ 1.5-19 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1-24

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปท่ี 1.5-19 ถนนเจ้าคุณทหาร • ถนนฉลองกรุง เป็นถนนสายหลักอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของสถานี สามารถเดินทาง เช่ือมต่อเข้าถนนเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ทางขนานมอเตอร์เวย์) เพื่อเข้าสู่พ้ืนที่สถานีและ ICD ลาดกระบังได้ มีขนาด 8 ช่องจราจร โดยแบ่งเป็น 4 ชอ่ งจราจรต่อทิศทาง มเี กาะกลางถนนแบบยกขน้ึ พนื้ ที่พัฒนาสองข้างทาง สว่ นใหญ่เป็นทอ่ี ยอู่ าศัย และอาคารพาณิชย์ ดงั แสดงในรูปท่ี 1.5-20 รูปที่ 1.5-20 ถนนฉลองกรุง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-25

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 1.6 ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ (1) ผลผลิตหลักของโครงการ ได้แก่ แผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้ง 3 แห่ง ให้สำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก นำไปใช้เป็นกรอบในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านงบประมาณในระยะ 10 ปี โดยแผน จะครอบคลุมด้านต่างๆ ได้แก่ • ด้านการบรหิ ารจัดการและกำกับดูแลการใชพ้ ืน้ ที่ • ด้านการพฒั นาและบำรุงรักษาโครงสรา้ งพื้นฐาน • ดา้ นการบริหารทรพั ยากรบุคคล และ • ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณและบริหารความต่อเนอ่ื ง ดงั แสดงในรูปที่ 1.6-1 รปู ที่ 1.6-1 ผลผลิตหลักของโครงการ (2) ผลลัพธ์ของโครงการ คือ เมื่อสำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก นำแผนพัฒนาฯ ไปปฏิบตั ิจะทำให้สถานีขนส่งสินคา้ ชานเมืองกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล ทัง้ 3 แหง่ • มีประสิทธภิ าพการใชง้ านมากขึ้น • มีการบำรุงรักษาให้โครงสร้างพ้ืนฐานละสิ่งอำนวยความสะดวกของสถานีให้มีสภาพ พรอ้ มใช้งานมากข้ึน • มีการปรบั ปรุงพน้ื ท่ีที่ยังไมใ่ ช้งานเต็มที่ให้มีการใช้งานตามศักยภาพได้มากขนึ้ • ในกรณีฉุกเฉิน ยังสามารถบริหารความต่อเนื่องเพื่อให้บริการขนส่งสินค้าได้รับ ผลกระทบน้อยที่สดุ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 1-26

บทท่ี 2 การสำรวจและวิเคราะห์พฤตกิ รรมและรปู แบบการใชง้ านสถานีขนส่งสนิ คา้

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) บทท่ี 2 การสำรวจและวิเคราะห์พฤตกิ รรมและรูปแบบการใช้งานสถานีขนสง่ สินค้า 2.1 สถิตกิ ารใช้ประโยชน์พ้ืนท่แี ละส่ิงอำนวยความสะดวกของสถานขี นส่งสนิ ค้า 2.1.1 การใช้ประโยชน์พืน้ ท่แี ละสิ่งอำนวยความสะดวก จากการรวบรวมสถิติการเช่าพ้ืน ที่และส่ิงอำนวยความสะดวกของสถานี ขน ส่งสินค้า ใน ช่วง ปี 2558-2563 (โดยปี 2558 เป็นปีแรกที่มีการจัดเก็บสถิติบนฐานข้อมูล TTMS) โดยพิจารณาจาก อัตราการเช่าพ้ืนท่ี (Occupancy Rate) จะเห็นภาพความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเช่าแบบปีต่อปี ซึ่งสะทอ้ นให้เห็นถึงแนวโน้มการใชง้ านส่งิ อำนวยความสะดวกในอนาคตได้เป็นอยา่ งดี 1) สถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล ส่ิงอำนวยความสะดวกของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีการเช่าพ้ืนที่ไม่ครบท้ังหมด จากสถิติ ในช่วง ปี 2558-2564 พบว่า คลังสินค้าและชานชาลาขนถ่ายสินค้ามีการใช้งานเต็มท้ังหมด มาตั้งแต่ปี 2558 เนื่องจากมีผู้ประกอบการรายใหญ่สนใจเข้าใช้บริการและเช่าแบบประจำ ติดต่อกันมาหลายปี ขณะที่ชานชาลาอเนกประสงค์ พ้ืนที่จำหน่ายอาหาร และห้องวีไอพีนั้น มีการเช่าพื้นท่ีเต็มทั้งหมดเช่นกัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความต้องการใช้งานที่สูง ส่วนสำนักงาน ที่ชานชาลาและห้องพักน้ัน มีการใช้งานบางส่วน กล่าวคือ ประมาณร้อยละ 68 และร้อยละ 86 ในปี 2564 ตามลำดับ สำหรับสำนักงานที่อาคารบริหาร พบว่าไม่มีการเช่าพ้ืนท่ีมานานหลายปี สะท้อนให้เห็นว่า พื้นที่ดังกล่าวไม่สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบันแล้ว ดังแสดงใน ตารางที่ 2.1-1 ตารางที่ 2.1-1 ขอ้ มูลพนื้ ทใ่ี หเ้ ชา่ และสถานการณ์การเชา่ ใช้ของสถานขี นส่งสินคา้ พุทธมณฑล ต้ังแตป่ ี 2558-2563 ส่งิ อำนวยความสะดวก พ้นื ท่ใี หเ้ ช่า 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ท้ังหมด คลงั สนิ ค้า 4 คลัง 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% ชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ 8 ชาน 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% ชานชาลาอเนกประสงค์ 94 ชอ่ งขนถ่าย 0% 0% 47% 100% 100% 98% 100% พื้นทีจ่ ำหนา่ ยอาหาร 10 ห้อง 0% 0% 0% 0% 100% 98% 90% ห้องวีไอพี 2 ห้อง 0% 0% 0% 0% 100% 100% 100% สำนกั งานท่อี าคารชานชาลา 8 ชาน 89% 89% 89% 89% 77% 68% 68% สำนักงานท่ีอาคารบรหิ าร 28 หอ้ ง 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% ห้องพัก 106 หอ้ ง 34% 70% 80% 88% 89% 75% 86% ที่มา: ขอ้ มลู ณ สิน้ ปีงบประมาณ ระหว่างปงี บประมาณ 2558 ถงึ 2564 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-1

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สำหรับพ้ืนท่ีจอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลน้ัน ประกอบด้วย พ้ืนท่ีจอดรถยนต์ ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทุกสินค้า โดยพบว่า พ้ืนท่ีจอดรถยนต์ส่วนบุคคลของ เจ้าหน้าที่และพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ท่ีบริเวณลานจอดรถหน้าสำนักงานที่อาคารบริหาร (รองรับรถยนต์ได้ประมาณ 100 คัน) และบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้า (รองรับรถยนต์ ได้ประมาณ 8 คันต่อพื้นที่หัวชานชาลา 1 จุด) ซ่ึงรองรับรถยนต์รวมกันได้ประมาณ 230 คัน สว่ นรถจักรยานยนต์จะจอดบริเวณหัวชานชาลาขนถา่ ยสินค้าเช่นกนั ส่วนพื้นทีจ่ อดรถบรรทุกนั้น พบว่า ผปู้ ระกอบการได้นำรถบรรทุกและรถพ่วงจอดในพืน้ ที่ต่างๆ ประมาณ 4 จุด ได้แก่ (1) ลาน จอดรถด้านหน้าและด้านหลังอาคารสำนักงานท่ีอาคารบริหารและห้องพัก (2) พื้นที่ด้านหลัง ชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 5 และ 6 (3) พ้ืนที่ด้านข้างระหว่างคลังสินค้าหมายเลข 2 และ 3 และ (4) พื้ น ท่ีด้านข้างชาน ชาลาอเนกป ระสงค์ห มายเลข 11 ดังแสดงใน รูปท่ี 2.1-1 ซึ่งรองรับรถบรรทุกได้รวมกันทั้งหมด 420 คัน (ไม่นับช่องจอดรถของชานชาลา ขนถ่ายสินค้าที่รองรับรถบรรทุกได้ 16 ช่องจอดต่อ 1 ด้าน) โดยในช่วงวันธรรมดา จะมีการใช้ พ้ืนทเ่ี หลา่ นี้จอดรถประมาณร้อยละ 40-50 ของพนื้ ทั้งหมด สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-2

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) พื้นที่จอดรถบรรทุก พืน้ ที่จอดรถสว่ นบคุ คลและรถจักรยานยนต์ ทมี่ า: ท่ปี รกึ ษา รปู ท่ี 2.1-1 ตำแหนง่ ของพื้นท่จี อดรถภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑลในปัจจบุ นั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-3

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 2) สถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง ส่งิ อำนวยความสะดวกของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงมีการเช่าพ้ืนท่ีไม่ครบทั้งหมด จากสถิติ ในช่วงปี 2558-2564 พบว่า คลังสินค้า มีการใช้งานเต็มท้ังหมดมาตั้งแต่ปี 2558 เน่ืองจาก มีผู้ประกอบการสนใจเข้าใช้บริการและเช่าแบบประจำติดต่อกันมาหลายปี ส่วนชานชาลา ขนถ่ายสินค้าเคยมีการใช้งานเต็มทั้งหมดในช่วงปี 2558-2561 แต่ต้ังแต่ปี 2562 เป็นต้นมา มีแนวโน้มเช่าพื้นท่ีลดลงเหลือเพียงร้อยละ 44 ในปัจจุบัน สำหรับพื้นที่จำหน่ายอาหารและ ห้องวีไอพี พบว่า เร่ิมมีการเช่าพ้ืนท่ีบางส่วนตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา โดยปัจจุบันมีการเช่า พน้ื ที่อยู่ท่ีประมาณรอ้ ยละ 30 และร้อยละ 50 ตามลำดับ สว่ นสำนักงานชานชาลาขนถ่ายสินค้า มีการใช้งานประมาณร้อยละ 30 ในปัจจุบัน โดยเพิ่มข้ึนเล็กน้อยจากปี 2561 ขณะท่ีสำนักงาน ที่อาคารบริหารตั้งแต่เดือนธันวาคม 2560 เป็นต้นมา สำนักงานขนส่งจังหวัดปทุมธานี ได้เปิด ให้บริการสำนักงาน สาขาอำเภอคลองหลวง โดยใช้พ้ืนที่ชั้น 1 ปีกซ้าย ชั้น 2 และ ช้ัน 3 ทั้งหมด (มีการใช้งานแต่ไม่ก่อให้เกิดรายได้) จึงเหลือพ้ืนท่ีว่างในบริเวณชั้น 4 และ 5 เท่านั้น แต่จนปัจจุบัน ยังไม่มีเอกชนเช่าใช้บริการ เช่นเดียวกับห้องพักซ่ึงปัจจุบันมีการผู้เช่าใช้บริการ ดังแสดงใน ตารางท่ี 2.1-2 ตารางที่ 2.1-2 ข้อมูลพนื้ ท่ีให้เชา่ และสถานการณ์การเชา่ ใช้ของสถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง ตงั้ แต่ปี 2558-2563 ส่งิ อำนวยความสะดวก พ้นื ท่ีให้เช่า 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ทง้ั หมด คลังสินค้า 5 คลัง 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% ชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า 10 ชาน 100% 100% 100% 100% 79% 44% 63% พืน้ ท่จี ำหน่ายอาหาร 10 ห้อง 0% 0% 0% 0% 30% 30% 30% ห้องวไี อพี 2 ห้อง 0% 0% 0% 0% 50% 50% 50% สำนักงานทอี่ าคารชาน 10 ชาน 27% 27% 27% 27% 30% 30% 28% ชาลา สำนกั งานท่อี าคาร 28 หอ้ ง 2% 2% 0% 50% 50% 50% 50% บริหาร หอ้ งพัก 106 หอ้ ง 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% ทม่ี า: ขอ้ มูล ณ สิ้นปีงบประมาณ ระหวา่ งปงี บประมาณ 2558 ถงึ 2564 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-4

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) สำหรับพื้นท่ีจอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงน้ัน ประกอบด้วย พื้นท่ีจอดรถยนต์ ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทุกสินค้า โดยพบว่า โดยพบว่า พื้นที่จอดรถยนต์ ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าท่ีและพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ที่บริเวณลานจอดรถหน้าสำนักงาน ที่อาคารบริหาร และบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าทั้งสองด้าน ซึ่งรองรับรถยนต์รวมกันได้ ประมาณ 300 คัน ส่วนรถจักรยานยนต์จะจอดบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าเช่นกัน ส่วนพื้นที่จอดรถบรรทุกนั้น พบว่ามีพื้นท่ีที่สามารถใช้จอดรถบรรทุกได้รวมกันประมาณ 420 คัน ได้แก่ (1) ลานจอดรถด้านหน้า ด้านหลงั และดา้ นข้างของสำนกั งานที่อาคารบรหิ ารและหอ้ งพัก (2) พื้นที่ด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 1, 2, 3, 4, 7 และ 10 และ (3) พื้นท่ีด้านข้าง ของชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้าหมายเลข 6 และ 7 ดังแสดงในรูปท่ี 2.1-2 อยา่ งไรก็ตาม ปัจจุบันในช่วง วันธรรมดา ผู้ประกอบการมีการใช้พื้นท่ีเหล่าน้ีจอดรถบรรทุกเพียงร้อยละ 20 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด เนอ่ื งจากยังมชี านชาลาขนถ่ายสินคา้ ท่ยี งั ว่างอยู่ 4 หลงั และยังเชา่ ไมเ่ ต็มอกี 2 หลงั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-5

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ท่มี า: ที่ปรกึ ษา รปู ท่ี 2.1-2 ตำแหนง่ ของพ้นื ท่จี อดรถภายในสถานขี นส่งสนิ ค้าคลองหลวงในปัจจบุ นั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-6

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 3) สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกลา้ สิ่งอำนวยความสะดวกของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้ามีการเช่าพื้นท่ีไม่ครบท้ังหมด จากสถิติ ในช่วงปี 2558-2564 พบว่าส่วนมากมีการเช่าพื้นท่ีลดลง กล่าวคือ คลังสินค้าเคยมีการใช้งาน เต็มทั้งหมดในช่วงปี 2558-2560 จากน้ันลดลงเหลือประมาณร้อยละ 60 ในปัจจุบัน ชานชาลา ขนถ่ายสินค้าเคยมีการใช้งานเต็มท้ังหมดในปี 2558-2559 จากน้ันลดลงเหลือร้อยละ 85 ในปัจจุบัน สำนักงานชานชาลาขนถ่ายสินค้าและสำนักงานที่สำนักงานที่อาคารบริหาร เคยมีการใช้งานเต็มทั้งหมดในปี 2558 จากนั้นลดลงเหลือร้อยละ 65 และร้อยละ 86 ในปัจจุบัน และพื้นท่ีจำหน่ายอาหารลดลงจากร้อยละ 100 ในปี 2562 เหลือร้อยละ 70 ในปัจจุบัน ยกเว้นห้องพักที่มีแนวโน้มใช้งานเพ่ิมข้ึนและคงที่ ปัจจบุ ันมีการใช้งานประมาณร้อยละ 90 ส่วน ห้องวีไอพียังมีการใช้งานเต็มทั้ง 2 ห้อง ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีส่วนหนึ่งของพื้นท่ีจำหน่ายอาหาร ดังแสดงใน ตารางท่ี 2.1-3 ตารางท่ี 2.1-3 ข้อมูลพนื้ ทใ่ี หเ้ ช่าและสถานการณ์การเช่าใช้ของสถานขี นสง่ สินคา้ ร่มเกลา้ ต้ังแต่ปี 2558-2563 สิ่งอำนวยความสะดวก พื้นท่ีให้เช่า 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ท้ังหมด คลงั สินคา้ 5 คลัง 100% 100% 100% 60% 40% 60% 72% ชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ 10 ชาน 100% 100% 95% 89% 79% 81% 85% พ้ืนท่จี ำหนา่ ยอาหาร 10 หอ้ ง 0% 0% 0% 0% 100% 70% 80% ห้องวไี อพี 2 ห้อง 0% 0% 0% 0% 100% 100% 100% สำนักงานทอ่ี าคารชานชาลา 10 ชาน 100% 97% 91% 93% 65% 68% 65% สำนักงานที่อาคารบรหิ าร 28 ห้อง 100% 94% 100% 88% 88% 81% 86% ห้องพัก 106 หอ้ ง 68% 0% 90% 88% 88% 90% 91% ทีม่ า: ขอ้ มลู ณ ส้นิ ปงี บประมาณ ระหว่างปีงบประมาณ 2558 ถึง 2564 สำหรบั พ้ืนท่ีจอดรถภายในสถานขี นสง่ สนิ ค้าร่มเกล้าน้ัน ประกอบด้วย พืน้ ท่ีจอดรถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทุกสินค้า โดยพบว่า พ้ืนที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าท่ี และพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ที่บริเวณลานจอดรถหน้าสำนักงานที่อาคารบริหาร และ บริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าทั้งสองด้าน ซ่ึงรองรับรถยนต์รวมกันได้ประมาณ 300 คัน ส่วนรถจักรยานยนต์ จะจอดบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าเช่นกัน ส่วนพื้นท่ีจอดรถบรรทุกน้ัน พบว่า ผู้ประกอบการนำรถบรรทุกและรถพ่วงจอดในพื้นที่ต่างๆ เกือบทุกพื้นที่ ได้แก่ (1) ลานจอดรถด้านหน้า ด้านหลัง รวมทั้งพ้ืนท่ีโดยรอบทุกด้านของสำนักงานที่อาคารบริหาร และห้องพัก (2) พื้นท่ีว่างด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 1, 5, 6 และ 10 และ (3) พื้นท่ีว่างด้านข้างของคลังสินค้าหมายเลข 1 และ 5 ดังแสดงในรูปท่ี 2.1-3 คิดเป็นพ้ืนท่ี สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-7

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) จอดรถบรรทุกรวมกันประมาณ 500 คัน ท้ังนี้ในช่วงวันธรรมดา จะมีการใช้พ้ืนที่เหล่าน้ีจอดรถ ประมาณร้อยละ 70-80 ของพ้นื ท้งั หมด เน่ืองจากผู้ประกอบการท่ีเช่าพื้นท่ีสำนักงานที่อาคารบริหาร มีการนำรถบรรทุกทั้งสว่ นหวั ลากและสว่ นหางพว่ งเขา้ มาจอดพกั ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกล้าเป็น จำนวนมาก ซ่ึงรถพ่วงเหล่านี้ส่วนมากไม่ได้ใช้ขนถ่ายสินค้าภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แต่มี การนำออกไปรับจ้างขนส่งภายนอก เม่ือเสร็จงานจึงนำเข้ามาจอดภายในสถานีขนส่งสินค้าร่ม เกล้า โดยปัญหาพื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าน้ี ได้รับร้องเรียนจากผู้ประกอบการท่ี เชา่ พ้ืนท่ีทอ่ี ยู่ภายในสถานีขนสง่ สินค้า พ้ืนทีจ่ อดรถบรรทกุ พืน้ ทจี่ อดรถสว่ นบคุ คลและรถจกั รยานยนต์ ทีม่ า: ท่ปี รกึ ษา รูปที่ 2.1-3 ตำแหน่งของพ้นื ท่ีจอดรถภายในสถานขี นสง่ สินคา้ ร่มเกลา้ ในปัจจบุ ัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-8

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ผลการวิเคราะห์อัตราการใช้ประโยชน์พื้นท่ีของสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งในช่วงปี 2558-2563 โดยใช้เกณฑด์ ังน้ี • พนื้ ที่ที่มีการใช้ประโยชน์สูง ได้แก่ พืน้ ท่ีท่ีมกี ารใช้งานเตม็ พน้ื ทที่ ้ังหมด หรอื พ้ืนที่ทมี่ ีแนวโน้ม ใช้งานเพ่มิ ข้นึ อยา่ งตอ่ เน่อื ง • พื้นท่ีท่ีมีการใช้ประโยชนปานกลาง ได้แก่ พ้ืนท่ีท่ีมีการใช้งานบางส่วน หรือเคยมีการใช้งาน เต็มท้ังหมด ปัจจุบันอาจจะมีการใช้งานลดลง แต่ยังมีแนวโน้มใช้งานค่อนข้างคงที่หรือ ลดลงเล็กน้อย • พน้ื ทท่ี ่ีมีการใชป้ ระโยชน์ต่ำ ไดแ้ ก่ พ้นื ที่ท่ีไมม่ ีการใชง้ าน หรือเคยมกี ารใช้งาน แต่ปจั จบุ ัน มกี ารใช้งานลดลงไปมาก พบว่า พื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ระดับกลางถึงสูง ได้แก่ คลังสินค้า ชานชาลาขนถ่ายสินค้า ชานชาลาอเนกประสงค์ พื้นที่จำหน่ายอาหาร ห้องวีไอพี ส่วนพื้นท่ีที่มีการใช้ประโยชน์ ระดับกลาง ได้แก่ สำนักงานที่อาคารชานชาลา ขณะที่พ้ืนท่ีที่มีการใช้ประโยชน์ต่ำ ได้แก่ สำนักงานที่อาคารบริหาร ส่วนห้องพักนั้น เป็นพ้ืนท่ีที่อยู่ในระดับต่ำสำหรับสถานีขนส่ง สินค้าคลองหลวง แต่อยู่ในระดับสูงสำหรับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลและสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า ดังแสดงในตารางที่ 2.1-4 ตารางที่ 2.1-4 การใชป้ ระโยชน์ของพนื้ ที่ให้เชา่ และสถานการณก์ ารเช่าใช้ ของสถานีขนสง่ สินค้าท้งั 3 แห่ง สิง่ อำนวยความสะดวก สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานขี นส่งสินคา้ สถานขี นสง่ สินค้า พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกลา้ ตำ่ กลาง สูง ตำ่ กลาง สูง ตำ่ กลาง สงู คลังสนิ ค้า        ชานชาลาขนถ่ายสินคา้ ชานชาลาอเนกประสงค์        พืน้ ที่จำหนา่ ยอาหาร หอ้ งวีไอพี      สำนักงานทีอ่ าคารชานชาลา สำนักงานทอ่ี าคารบรหิ าร        ห้องพกั          *    *เปน็ การใชง้ านโดยสำนักงานขนส่งจังหวดั ปทุมธานี สาขาอำเภอคลองหลวง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook