Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:34:58

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ระบบไฟฟา้ ชำรดุ เสยี หายและเสอื่ มสภาพภายในอาคารทพี่ กั และโรงอาหาร สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-50

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ระบบดับเพลิงภายในอาคารทพ่ี กั และโรงอาหารไมอ่ ยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน ห้องน้ำสาธารณะมสี ภาพเกา่ และชำรดุ ทรดุ โทรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-51

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตำแหนง่ ที่พบผวิ จราจรชำรดุ ภายในสถานขี นสง่ สนิ คา้ ร่มเกลา้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-52

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.5 การตรวจสอบการใช้งานและการดัดแปลงตอ่ เตมิ อาคารและสง่ิ ปลกู สรา้ ง 5.5.1 ลักษณะของการดดั แปลงต่อเติมอาคารและสิ่งปลูกสร้างท่ีพบภายในสถานีขนสง่ สินคา้ ด้วยสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง มีผู้เช่าพื้นท่ีจำนวนหนึ่งได้ทำการต่อเติมอาคารเพ่ือให้เหมาะสม กับการใช้งานในกิจการ อย่างไรก็ดี การต่อเติมดังกล่าวส่งผลต่อสถานีขนส่งสินค้าท้ังในมิติของ ทัศนียภาพและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานีขนส่งสินค้า และความม่ันคงแข็งแรงของ โครงสร้างหลักของแต่ละอาคาร ในการศึกษาครั้งน้ีท่ีปรึกษาได้ทำการสำรวจและตรวจสอบข้อมูล การดัดแปลงต่อเติมอาคารและส่ิงปลูกสร้างภายในสถานีขนส่งสินค้า โดยเฉพาะในส่วนของอาคาร ชานชาลาขนถ่ายสินค้าและอาคารคลังสินค้า โดยแบ่งกลุ่มการต่อเติมดัดแปลงอาคารออกได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ โดยมีรายละเอียดและขอ้ พจิ ารณาท่ีสำคญั ดงั ต่อไปนี้ (1) การต่อเติมดัดแปลงทไ่ี ม่กระทบโครงสรา้ งหลกั การต่อเติมท่ีไม่กระทบกับโครงสร้างหลัก หมายถึงการต่อเติมใดๆ ที่ไม่มีการถ่ายเทน้ำหนัก หรือแรงทั้งในแนวด่ิงและแนวราบ ลงบนโครงสร้างอาคารที่ตั้งอยู่บนระบบฐานราก ไม่ว่าจะ เป็นพื้น ผนัง โครงหลังคา แผ่นมุงหลังคา ซึ่งการต่อเติมในลักษณะน้ีจะไม่ส่งผลใดๆ ต่อความ แข็งแรงของโครงสรา้ งหลักของอาคารและความปลอดภัยในการใช้งานอาคาร อย่างไรก็ดีการต่อ เติมในลักษณะน้ีอาจเกิดปัญหาได้ในกรณีท่ีการก่อสร้างต่อเติมนั้นๆ ไม่ม่ันคงแข็งแรงเพียงพอ ส่งผลให้อาจเกิดอันตรายกับผู้ใช้งานในพื้นที่บริเวณดังกล่าวได้ นอกจากนี้ อีกหน่ึงประเด็น สำคัญของการต่อเติมในลักษณะน้ไี ดแ้ ก่ปญั หาด้านทัศนียภาพของสถานีขนส่งสินค้า เน่ืองจาก การต่อเติมมักเป็นในลักษณะชั่วคราวหรือกึ่งถาวรจึงไม่ได้มีการออกแบบก่อสรา้ งและเลือกใช้ วัสดุท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับภาพรวมของภูมิทัศน์สถานีขนส่งสินค้า ตัวอย่างของการต่อเติม ในลกั ษณะนี้ มักเป็นการต่อเติมพืน้ ที่จอดรถ หรือพื้นที่กองเก็บสินค้าและวัสดภุ ายนอกอาคาร ดงั แสดงในรูปท่ี 5.5-1 รูปท่ี 5.5-1 การตอ่ เติมดดั แปลงทีไ่ ม่กระทบโครงสร้างหลกั สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-53

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (2) การตอ่ เติมดดั แปลงที่เกีย่ วขอ้ งกับโครงหลังคา การต่อเติมดัดแปลงท่ีเก่ียวขอ้ งกับโครงหลังคา หมายถึงการต่อเติมใดๆ ท่ีมีการถ่ายเทน้ำหนัก หรือแรงท้ังในแนวด่ิงและแนวราบลงบนโครงหลังคาของอาคาร ซึ่งการต่อเติมในลักษณะน้ี หากโครงสร้างที่ต่อเติมมีน้ำหนักหรือขนาดท่ีใหญ่จนเกิดไปจะส่งต่อความแข็งแรงของโครง หลังคาอาคารโดยทันที แต่หากเป็นการต่อเติมท่ีมีขนาดและน้ำหนักรวมถึงการเลือกใช้วัสดุ ที่เหมาะสม (มีน้ำหนักเบาและ/หรือสามารถให้กระแสลมทะลุผ่านได้บางส่วน) ก็ยังสามารถ ดำเนินการได้ การตอ่ เตมิ ในลักษณะน้พี บไดม้ ากในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลโดยวัตถุหลัก ของการตอ่ เตมิ ไดแ้ ก่การบังแดดบงั ฝนให้กับสินค้าในอาคารชานชาลา ดังแสดงในรูปท่ี 5.5-2 รูปที่ 5.5-2 การตอ่ เติมดดั แปลงทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับโครงหลังคา (3) การต่อเติมดดั แปลงทเ่ี ก่ยี วข้องกบั พื้นอาคารและลานจอดเทยี บชานชาลา การต่อเติมดัดแปลงท่ีเกี่ยวข้องกับพื้นอาคารและลานจอดเทียบชานชาลา หมายถึงการต่อเติมใดๆ ท่ีมีการถ่ายเทน้ำหนักหรือแรงทั้งในแนวดิ่งและแนวราบลงบนพื้นชานชาลาหรือลานจอดเทียบ ชานชาลาโดยรอบอาคาร แบ่งได้เป็น 2 กรณี โดยการต่อเติมในกรณีที่ 1 คือเป็นการต่อเติมบน พืน้ ชานชาลาจะต้องพิจารณาถึงน้ำหนักทกี่ ดลงบนแผ่นพ้ืนเนื่องจากมีผลต่อโครงสร้างพื้นและ น้ำหนักกดทับบนโครงสร้างหลักและฐานราก ขณะที่กรณีท่ี 2 การต่อเติมบนลานจอดเทียบ ชานชาลาโดยรอบอาคารจะไม่มีผลโดยตรงต่อความมั่นคงของโครงสร้างหลักและตัวอาคาร ทั้งนี้จากการสำรวจพบว่าทั้งหมดของการต่อเติมในลักษณะน้ีเป็นการต่อเติมในกรณีที่ 2 โดยเป็นการติดต้ังโครงสร้างเหล็กและแผ่นพ้ืนเหล็ก มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายพื้นท่ีใช้งานและ กองเก็บสินค้าภายในอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้า พบได้มากในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ดังแสดงในรูปท่ี 5.5-3 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-54

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 5.5-3 การต่อเติมดดั แปลงท่เี กี่ยวข้องกบั พน้ื อาคารและลานจอดเทยี บชานชาลา (4) การตอ่ เตมิ ดดั แปลงผนังหรอื ฉากกนั้ ทมี่ ีการยดื ตดิ กบั โครงสรา้ งหลัก การต่อเติมดัดแปลงผนังหรือฉากกั้นที่มีการยืดติดกับโครงสร้างหลัก หมายถึงการต่อเติมใดๆ ท่มี ีการสร้างผนัง กำแพง ฉากกัน หรือโครงสร้างใดๆ ก็แล้วแต่ เพื่อวัตถุประสงค์ของการกั้นพนื้ ที่ กันแดด กันฝนสาด และสร้างพื้นที่ควบคุมเสมือนพื้นท่ีปิดภายในอาคาร โดยการก่อสร้าง เป็นไปได้ในหลายลักษณะ ท้ังที่เป็นการก่อสร้างแบบถาวร ก่ึงถาวร และช่ัวคราว มีการยืดติด สว่ นต่อเติมเข้ากบั โครงสร้างหลักของอาคารไมว่ ่าจะเป็นคาน เสา พ้ืน หรือโครงหลังคา และมี การถ่ายเทน้ำหนักหรือแรงท้ังในแนวด่ิงและแนวราบลงบนโครงสร้างหลักของอาคาร พบได้ใน สถานีขนสง่ สินค้าทั้ง 3 แห่ง และพบการต่อเติมในลักษณะท่ีประสมประสานกับการขยายพื้นท่ี ใชส้ อยภายในชานชาลาอีกด้วย ดังแสดงในรปู ที่ 5.5-4 รปู ท่ี 5.5-4 การตอ่ เตมิ ดัดแปลงผนงั หรือฉากกั้นทมี่ กี ารยืดตดิ กบั โครงสรา้ งหลกั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-55

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.5.2 แนวทางการตรวจสอบและประเมินการตอ่ เติมดดั แปลงอาคาร สำหรับการสำรวจและตรวจสอบเกี่ยวกับการต่อเติมดัดแปลงอาคารภายในสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ท่ีปรกึ ษาไดแ้ บง่ ประเด็นตรวจสอบเปน็ 2 มิติ และมีรายการตรวจสอบย่อยในแตล่ ะมติ ิ ได้แก่ • ประเด็นดา้ นความมัน่ คงแขง็ แรงและความปลอดภัย - ความแขง็ แรงทนทานของสว่ นต่อเตมิ - ตำแหนง่ และวิธีการยดื เชื่อมส่วนตอ่ เติมกับโครงสร้างหลักของอาคาร - น้ำหนกั และแรงทก่ี ระทำลงบนโครงสรา้ งหลักของอาคาร - ความปลอดภยั ในการใช้งานอาคาร • ประเดน็ ดา้ นทศั นยี ภาพและความเรยี บรอ้ ยของสถานีขนส่งสนิ คา้ - รปู แบบและการออกแบบส่วนต่อเตมิ - คุณลกั ษณะและคณุ ภาพของวสั ดทุ ีใ่ ช้ในการกอ่ สรา้ งส่วนตอ่ เตมิ - อายุการใชง้ านและการบำรงุ รกั ษาสว่ นต่อเตมิ - ผลกระทบตอ่ ทัศนียภาพโดยรวมของสถานีขนส่งสินค้า โดยในการตรวจสอบจะทำการแบ่งระดบั ของผลการประเมินเปน็ 5 ระดบั โดย • ระดับ A ดีมาก กล่าวคือสว่ นต่อเตมิ อยู่ในสภาพที่ดี มน่ั คงแขง็ แรง ไมก่ ระทบตอ่ โครงสรา้ ง หลักจนอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาคารและเป็นอันตรายต่อผู้ใช้อาคาร วัสดุ อุปกรณ์ การออกแบบ ความเรียบร้อย และการบำรุงรักษาอยู่ในระดับดีเช่นเดียวกับงาน กอ่ สรา้ งใหม่ และไมก่ ระทบต่อทศั นียภาพโดยรวมของสถานีขนสง่ สินคา้ • ระดับ B ค่อนขา้ งดี กลา่ วคือส่วนตอ่ เติมอยู่ในสภาพค่อนข้างดี วสั ดุอุปกรณ์ การออกแบบ ความเรียบร้อยของการต่อเติม อยู่ในระดับค่อนข้างดี แต่อาจมีการเสื่อมสภาพตามการใช้ งานบ้าง อย่างไรก็ดีโครงสร้างส่วนต่อเติมยังคงมีความม่ันคงแข็งแรงและไม่กระทบต่อ โครงสร้างหลักจนอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาคารและเป็นอันตรายต่อผู้ใช้อาคาร และไม่กระทบต่อทัศนียภาพโดยรวมของสถานีขนสง่ สนิ คา้ • ระดับ C ปานกลาง กล่าวคือส่วนต่อเติมอยู่ในสภาพปานกลาง วสั ดอุ ุปกรณ์ การออกแบบ ความเรียบร้อยของการต่อเติมที่ไม่ถึงกับดีนัก เนื่องจากผ่านการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง และมีผลต่อทัศนียภาพโดยรวมของสถานีขนส่งสินค้าแต่ยังคงอยู่ในระดับท่ีพอยอมรับได้ อย่างไรก็ดีส่วนต่อเติมยังคงมีม่ันคงแข็งแรงและไม่กระทบต่อโครงสร้างหลักจนอาจก่อให้เกิด ความเสยี หายต่อตัวอาคารและเป็นอันตรายตอ่ ผใู้ ช้อาคาร สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-56

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • ระดับ D ควรพิจารณาปรับปรุง กล่าวคือส่วนต่อเติมยังคงสามารถใช้งานได้ วัสดุอุปกรณ์ การออกแบบ ความเรียบร้อยของการต่อเติม อยู่ในระดับที่ไม่ดีนัก หรือผ่านการใช้งานมา เป็นระยะเวลาหน่ึงจนเร่ิมเส่ือมสภาพ มีผลต่อทัศนียภาพโดยรวมของสถานีขนส่งสินค้า และท่ีสำคัญพบปัญหาด้านมั่นคงแข็งแรงซึ่งอาจมีการกระทบต่อโครงสร้างหลักจนอาจ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาคาร หรือเป็นอันตรายต่อผู้ใช้อาคารได้ในอนาคต จึงควร ให้ผูต้ ่อเตมิ ปรับปรงุ แก้ไขใหอ้ ย่ใู นสภาพดี • ระดับ F จำเป็นจะต้องมีการปรับปรุงโดยเร่งด่วน กล่าวคือพบความเสียหายหรือความ ไม่มั่นคงแข็งแรงของโครงสร้าง จนอาจมีการกระทบต่อโครงสร้างหลักจนอาจก่อให้เกิด ความเสยี หายต่อตัวอาคาร หรือเป็นอนั ตรายตอ่ ผู้ใช้อาคารไดใ้ นอนาคต จึงควรให้ผู้ตอ่ เติม ปรบั ปรุงแกไ้ ขโดยเร่งด่วนและหา้ มใช้งานพน้ื ท่ีดงั กล่าวในขณะท่รี อการปรบั ปรุง 5.5.3 ผลการตรวจสอบและประเมินการตอ่ เตมิ ดัดแปลงอาคาร สถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล ผลการสำรวจและตรวจสอบเก่ียวกับการต่อเติมดัดแปลงอาคารภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล แสดงในตารางท่ี 5.5-1 และตำแหนง่ ของการต่อเติมพร้อมรูปตัวอย่างการต่อเติมแสดงในรปู ท่ี 5.5-5 ตารางที่ 5.5-1 ผลการตรวจสอบและประเมินการตอ่ เติมดดั แปลงอาคาร สถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล อาคาร ไม่มีการ ประเภทของการต่อเตมิ ดดั แปลงอาคาร* ระดับการ รายการตอ่ เตมิ ตอ่ เติม ประเมิน ชานชาลา 1 ชานชาลา 2  1 2 3 4 -    C - ท่ีจอดรถยนต์หลงั คา คลุมทีห่ ัวชานชาลา - ขยายพ้ืนท่ีชานชาลา - ติดตงั้ ผนงั กน้ั โครงสรา้ ง เหลก็ บแุ ผ่น Metal  Sheet ชานชาลา 3    D - ที่จอดรถยนต์หลงั คา คลมุ ทห่ี ัวชานชาลา - ขยายพน้ื ที่ชานชาลา - ติดตง้ั ผนงั ก้นั โครงสร้าง เหลก็ บุแผ่น Metal Sheet สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-57

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.5-1 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเติมดดั แปลงอาคาร สถานขี นสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล (ตอ่ ) อาคาร ไม่มกี าร ประเภทของการตอ่ เตมิ ดัดแปลงอาคาร* ระดบั การ รายการต่อเตมิ ตอ่ เตมิ   ประเมนิ ชานชาลา 4  C - ตดิ ตั้งโครงเหลก็ แขวน จากโครงหลังคาบตุ า   ขา่ ยสแลนสเี ขยี ว ชานชาลา 5  C - ทจี่ อดรถยนตห์ ลงั คา ชานชาลา 6     คลมุ ทห่ี วั ชานชาลา D - ขยายพืน้ ที่ชานชาลา - ติดตั้งโครงเหลก็ แขวน จากโครงหลังคาบตุ า ชานชาลา 7     ขา่ ยสแลนสเี ขยี ว C - ขยายพ้ืนท่ชี านชาลา - ตดิ ตั้งโครงเหล็กแขวน จากโครงหลงั คาบุตา   ข่ายสแลนสีเขียว ชานชาลา 8  D - ติดตง้ั โครงเหล็กแขวน จากโครงหลงั คาบตุ า  ขา่ ยสแลนสเี ขยี ว ชานชาลา 9      - ชานชาลา 10      - ชานชาลา 11      - คลงั สินคา้ 1   - คลงั สนิ คา้ 2  D - ติดตง้ั โครงเหลก็ ตง้ั จาก พนื้ บตุ าขา่ ยสแลนสี   เขียวก่งึ ถาวร คลงั สนิ คา้ 3  D - ตดิ ตั้งโครงเหล็กตงั้ จาก พืน้ บุตาขา่ ยสแลนสี  เขยี วชวั่ คราว คลังสินคา้ 4  - หมายเหตุ ประเภทที่ 1 การต่อเติมดัดแปลงท่ไี มก่ ระทบโครงสร้างหลกั ประเภทท่ี 2 การต่อเตมิ ดดั แปลงที่เกี่ยวข้องกับโครงหลังคา ประเภทท่ี 3 การตอ่ เตมิ ดดั แปลงทีเ่ กยี่ วข้องกบั พืน้ อาคารและลานจอดเทียบชานชาลา ประเภทที่ 4 การต่อเตมิ ดดั แปลงผนังหรอื ฉากกนั้ ทมี่ กี ารยืดตดิ กับโครงสรา้ งหลัก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-58

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ที่ 5.5-5 ตำแหนง่ ของการต่อเตมิ ดดั แปลงอาคารในสถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-59

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.5.4 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเติมดดั แปลงอาคาร สถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง ผลการสำรวจและตรวจสอบเกี่ยวกับการต่อเติมดัดแปลงอาคารภายในสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง แสดงในตารางท่ี 5.5-2 และตำแหนง่ ของการต่อเติมพร้อมรปู ตัวอย่างการต่อเติมแสดงในรูปที่ 5.5-6 ตารางที่ 5.5-2 ผลการตรวจสอบและประเมินการตอ่ เติมดัดแปลงอาคาร สถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวง อาคาร ไม่มีการ ประเภทของการต่อเตมิ ดัดแปลงอาคาร* ระดบั การ รายการตอ่ เตมิ ต่อเตมิ 1 2 3 4 ประเมิน ชานชาลา 1  A - ติดตั้งผนังก้ันโครงสรา้ งเหล็ก   บุแผ่น Metal Sheet ชานชาลา 2  B - ติดต้ังคลังสนิ ค้าควบคมุ   อุณหภูมิ (ห้องเยน็ ) ชานชาลา 3  B - ผา้ ใบมว้ นแขวนจากคานดึงจรดพนื้ เพ่อื ใช้แทนผนงั   - ตดิ ตั้งตาข่ายกันนกใตโ้ ครงหลงั คา ชานชาลา 4  B - ผา้ ใบม้วนแขวนจากคานดึงจรดพืน้ เพ่ือใช้แทนผนงั   - ตดิ ตั้งตาขา่ ยกนั นกใตโ้ ครงหลังคา ชานชาลา 5     - ชานชาลา 6  D - ผา้ ใบมว้ นแขวนจากคานดึงจรด พนื้ เพอ่ื ใชแ้ ทนผนัง มีสภาพไม่   สมบูรณ์ ชานชาลา 7      - ชานชาลา 8      - ชานชาลา 9      - ชานชาลา 10      - คลงั สนิ คา้ 1      - คลังสินค้า 2      - คลงั สินค้า 3      - คลงั สนิ คา้ 4      - คลังสินค้า 5  - หมายเหตุ ประเภทท่ี 1 การตอ่ เติมดดั แปลงทีไ่ มก่ ระทบโครงสร้างหลัก ประเภทท่ี 2 การตอ่ เตมิ ดดั แปลงท่เี กี่ยวข้องกับโครงหลังคา ประเภทที่ 3 การต่อเติมดัดแปลงทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับพื้นอาคารและลานจอดเทียบชานชาลา ประเภทที่ 4 การตอ่ เตมิ ดัดแปลงผนงั หรอื ฉากกน้ั ท่มี ีการยืดติดกับโครงสร้างหลัก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-60

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 5.5-6 ตำแหนง่ ของการต่อเตมิ ดดั แปลงอาคารในสถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวง สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-61

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.5.5 ผลการตรวจสอบและประเมินการต่อเตมิ ดัดแปลงอาคาร สถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกลา้ ผลการสำรวจและตรวจสอบเกี่ยวกับการต่อเติมดัดแปลงอาคารภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แสดงในตารางท่ี 5.5-3 และตำแหนง่ ของการต่อเติมพร้อมรูปตวั อย่างการต่อเติมแสดงในรูปที่ 5.5-7 ตารางที่ 5.5-3 ผลการตรวจสอบและประเมนิ การตอ่ เติมดดั แปลงอาคาร สถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกล้า อาคาร ไมม่ ีการ ประเภทของการตอ่ เตมิ ระดับการ รายการต่อเตมิ ต่อเตมิ ดัดแปลงอาคาร* ประเมิน ชานชาลา 1 ชานชาลา 2  1 2 3 4 C - ติดตง้ั ผนงั กน้ั โครงสร้างเหล็กบุแผน่ Metal Sheet ชานชาลา 3     C - ตดิ ตงั้ ผนงั กนั้ โครงสรา้ งเหล็กบุแผน่ Metal Sheet ชานชาลา 4      B - ติดตงั้ ผนังกนั้ โครงสร้างเหลก็ บุแผน่ Metal Sheet B - ติดตงั้ ผนังกน้ั โครงสร้างเหลก็ บแุ ผน่ Metal Sheet          - ทจ่ี อดรถยนต์หลังคาคลมุ ทห่ี วั ชานชาลา ชานชาลา 5   C - ติดตงั้ ผนังกนั้ โครงสร้างเหล็กบุแผน่ Metal Sheet - ทจ่ี อดรถยนต์หลงั คาคลมุ ทห่ี วั ชานชาลา ชานชาลา 6  - - มีการตงั้ เตน็ ท์ก่งึ ถาวรบนผวิ จราจร ชานชาลา 7     ชานชาลา 8      B - ติดตงั้ ผนังกน้ั โครงสร้างเหลก็ บุแผน่ Metal Sheet  C - ตดิ ตง้ั ผนังกนั้ โครงสร้างเหล็กบุแผน่ Metal Sheet   - ผ้าใบม้วนแขวนจากคานดงึ จรดพน้ื เพือ่ ใช้แทนผนัง ชานชาลา 9  C - ตดิ ตงั้ ผนงั กน้ั โครงสรา้ งเหลก็ บแุ ผน่ Metal Sheet ชานชาลา 10   - ผา้ ใบมว้ นแขวนจากคานดงึ จรดพน้ื เพ่อื ใช้แทนผนัง คลังสนิ คา้ 1     B - ติดตงั้ ผนังกน้ั โครงสรา้ งเหลก็ บแุ ผน่ Metal Sheet คลังสินคา้ 2 คลังสินคา้ 3      - คลังสนิ คา้ 4      - คลังสนิ คา้ 5      -      -  - หมายเหตุ ประเภทที่ 1 การต่อเติมดดั แปลงทไี่ มก่ ระทบโครงสรา้ งหลกั ประเภทที่ 2 การต่อเตมิ ดัดแปลงที่เกย่ี วขอ้ งกบั โครงหลังคา ประเภทท่ี 3 การตอ่ เตมิ ดดั แปลงทเี่ ก่ียวข้องกับพ้นื อาคารและลานจอดเทยี บชานชาลา ประเภทที่ 4 การตอ่ เตมิ ดดั แปลงผนงั หรือฉากกัน้ ทีม่ ีการยดื ตดิ กับโครงสรา้ งหลัก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-62

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) รูปท่ี 5.5-7 ตำแหนง่ ของการต่อเติมดดั แปลงอาคารในสถานีขนส่งสินคา้ รม่ เกล้า สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-63

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.6 ผลการตรวจสอบส่งิ อำนวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค 5.6.1 การตรวจสอบส่งิ อำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค สำหรับการตรวจสอบส่ิงอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ภายนอกอาคารของ สถานีขนส่งสินค้า ประกอบด้วยการตรวจสอบทั้งในส่วนของการใช้งาน ความม่ันคงแข็งแรง และ ความปลอดภัยของระบบต่างๆ โดยที่ปรึกษาได้แบ่งระดับของการประเมินไว้เป็น 6 ระดับ โดยมี รายละเอยี ดดงั นี้ • ระดับ A ระบบอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับระบบ และอุปกรณท์ ี่มกี ารติดต้ังใหม่ • ระดับ B ระบบผ่านการใช้งานมาแล้วระยะหนึง่ แต่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งาน และ สามารถรองรบั การใช้งานได้อย่างปลอดภัย • ระดับ C เริ่มพบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหน่ึง มีผลต่อการทำให้ความสวยงามของอุปกรณ์ลดลง แต่ยังคงสามารถใช้งานได้ตามปกติ และ ไม่ก่อให้เกิดอนั ตรายต่อผใู้ ชง้ านอาคารแตอ่ ยา่ งใด • ระดับ D พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหนึ่งอย่าง ชัดเจน อุปกรณ์มีสภาพเก่า พบปัญหาจากการใช้งานในบางกรณี หรือพิจารณาแล้วว่า มีความเส่ียงที่จะเกิดการชำรุดเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ภายในระยะ 5 ปีในอนาคต จึงอาจพิจารณาซ่อมบำรงุ เพ่อื ลดผลกระทบต่อการใชง้ านอาคารหากมีงบประมาณ • ระดับ E พบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลานานจน ระบบและอุปกรณ์ไม่สามารถใช้งานได้ แต่ไม่กระทบต่อการใช้งานอาคารมากนัก และ พจิ ารณาแล้วว่ามีความเส่ียงท่ีจะเกิดความเสียหายจนก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานอาคาร ไดใ้ นระดบั ตำ่ อย่างไรกด็ คี วรดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ โดยเรว็ • ระดับ F พบความชำรดุ เสียหายหรือเส่อื มสภาพระดบั วิกฤต ระบบและอุปกรณ์ไม่สามารถ ใช้งานได้ กระทบต่อการใช้งานอาคารอย่างมีนัยสำคัญ และพิจารณาแล้วว่ามีโอกาสเกิด ความเสียหายและก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานอาคารได้ทุกเม่ือ โดยควรให้ระงับการใช้ งานอาคารในพนื้ ที่ดังกล่าว และควรดำเนินการซ่อมบำรุงโดยทนั ที สำหรับรายการตรวจสอบ (Checklist) งานตรวจสอบส่ิงอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค ภายนอกอาคารของสถานขี นส่งสินค้าแสดงในตารางท่ี 5.6-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-64

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.6-1 รายการตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค ภายนอกอาคาร ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ 1 ระบบประปา สภาพท่อ การแตก การรวั่ ซมึ 1.1 ระบบทอ่ นำ้ ดี แรงดนั นำ้ 1.2 แรงดนั น้ำ ความเพยี งพอต่อการใช้งาน คณุ ภาพนำ้ 1.3 ปมั๊ นำ้ ใชง้ านได้ตามปกติ 1.4 ถังเก็บน้ำ การรัว่ ซมึ 2 ระบบไฟฟา้ ความสะอาด 2.1 แสงสวา่ ง สภาพของอปุ กรณ์และการตดิ ตง้ั 2.2 ตู้ Main Distribution Board (MDB) ใช้งานไดต้ ามปกติ ความสวา่ งเพยี งพอตอ่ การใชง้ านอาคาร 2.3 หมอ้ แปลงไฟฟ้า สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตัง้ ใช้งานไดต้ ามปกติ 3 ระบบระบายน้ำและบำบัดน้ำเสยี อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ 3.1 รางระบายนำ้ สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตั้ง ใชง้ านได้ตามปกติ 3.2 เครื่องสูบน้ำ อายกุ ารใช้งานของอปุ กรณ์ 3.3 บ่อบำบดั นำ้ เสีย สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ต้ัง ใชง้ านไดต้ ามปกติ 3.4 คูน้ำโดยรอบพ้ืนท่ี อายุการใชง้ านของอปุ กรณ์ สภาพของอปุ กรณ์และการตดิ ตง้ั ใช้งานได้ตามปกติ อายุการใช้งานของอุปกรณ์ สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตง้ั ใชง้ านไดต้ ามปกติ อายกุ ารใช้งานของอปุ กรณ์ คณุ ภาพน้ำ ความลกึ และความสามารถในการระบายนำ้ ปญั หาวัชพชื และขยะ ประตเู ปิดปิดกน้ั นำ้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-65

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.6-1 รายการตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค ภายนอกอาคาร (ต่อ) ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ 4 ระบบปอ้ งกนั อคั คีภยั 4.1 ระบบหัวจ่ายนำ้ ดบั เพลงิ จำนวนและตำแหนง่ ติดต้ัง 5 เครอ่ื งช่งั นำ้ หนักรถบรรทกุ สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ตั้ง อายุการใช้งานของอุปกรณ์ ใชง้ านได้ตามปกติ 5.1 โครงสรา้ งแทน่ ตดิ ต้งั เครื่องชั่ง การทรุดตัว 5.2 ห้องควบคมุ ความแขง็ แรง ทางลาด 5.3 เครอื่ งชง่ั น้ำหนักรถบรรทกุ การทรุดตัว ความแข็งแรงของงานโครงสร้างและหลงั คา งานสถาปตั ยกรรมภายในอาคาร งานระบบภายในอาคาร อายุการใช้งานของอปุ กรณ์ สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตง้ั ใชง้ านไดต้ ามปกติ อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ ประวตั กิ ารบำรุงรกั ษา สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-66

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.6.2 ผลการตรวจสอบสิง่ อำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค สำหรับผลการตรวจสอบส่ิงอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคในพ้ืนที่ภายนอกอาคาร ของสถานีขนสง่ สินคา้ ทั้ง 3 แห่ง แสดงในตารางที่ 5.6-2 ตารางท่ี 5.6-2 ผลการตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค ลำดับ รายการงาน รายการตรวจสอบ สถานขี นส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกลา้ 1 ระบบประปา 1.1 ระบบทอ่ นำ้ ดี สภาพทอ่ การแตก การรั่วซมึ D D D 1.2 แรงดนั นำ้ แรงดนั นำ้ FCD ความเพยี งพอตอ่ การใชง้ าน F C D คุณภาพนำ้ DEE 1.3 ปม๊ั นำ้ ใชง้ านได้ตามปกติ DDD 1.4 ถงั เก็บนำ้ การรวั่ ซึม EEE ความสะอาด EEE 2 ระบบไฟฟา้ 2.1 แสงสวา่ ง สภาพของอปุ กรณ์และการตดิ ต้งั C C B ใช้งานไดต้ ามปกติ CCB ความสวา่ งเพยี งพอตอ่ การใช้ C C B งานอาคาร 2.2 ตู้ Main สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตั้ง D D D Distribution ใช้งานได้ตามปกติ DDD Board (MDB) อายกุ ารใช้งานของอปุ กรณ์ D D D 2.3 หมอ้ แปลงไฟฟา้ สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตั้ง C C D ใช้งานไดต้ ามปกติ CCD อายุการใช้งานของอปุ กรณ์ C C D 3 ระบบระบายนำ้ และบำบดั นำ้ เสยี 3.1 รางระบายนำ้ สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ต้ัง C C E ใช้งานได้ตามปกติ CCE อายุการใชง้ านของอปุ กรณ์ C C E 3.2 เคร่อื งสูบน้ำ สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตง้ั C C D ใชง้ านไดต้ ามปกติ CCD อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ C C D 3.3 บอ่ บำบดั น้ำเสีย สภาพของอปุ กรณ์และการตดิ ตั้ง C C D ใช้งานไดต้ ามปกติ CCD อายุการใช้งานของอปุ กรณ์ C C D สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-67

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.6-2 ผลการตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค (ต่อ) ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ สถานขี นส่งสินค้า พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 3.4 คูน้ำโดยรอบ คณุ ภาพนำ้ BBD พ้นื ที่ ความลึกและการระบายน้ำ B B D ปัญหาวัชพชื และขยะ BBD ประตเู ปิดปดิ กน้ั นำ้ BBD 4 ระบบปอ้ งกนั อัคคีภยั 4.1 ระบบหวั จา่ ยน้ำ จำนวนและตำแหนง่ ติดต้ัง F F F ดับเพลงิ สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตง้ั F F F อายกุ ารใชง้ านของอปุ กรณ์ F F F ใชง้ านไดต้ ามปกติ FFF 5 เครอื่ งชั่งนำ้ หนักรถบรรทกุ 5.1 โครงสรา้ ง การทรดุ ตวั CCF อาคารและแทน่ ความแขง็ แรง CCF ตดิ ต้ังเครื่องช่งั ทางลาด CCF 5.2 หอ้ งควบคมุ การทรดุ ตัว CCC ความแข็งแรงของงานโครงสร้าง C C C และหลังคา งานสถาปัตยกรรมภายในอาคาร C C C งานระบบภายในอาคาร CCC อายุการใชง้ านของอุปกรณ์ C C C 5.3 เครอื่ งช่งั นำ้ หนกั สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ตงั้ C C D รถบรรทุก ใชง้ านไดต้ ามปกติ CCF อายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ C C D ประวัติการบำรงุ รกั ษา CCD สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-68

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 5.7 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การปรบั ปรุงซ่อมแซมและบำรงุ รกั ษาย้อนหลัง 6 ปี จากการรวบรวมสถิติข้อมูลการปรับปรุง ซ่อมแซม และบำรุงรักษาสถานีขนส่งสินค้าย้อนหลัง 6 ปี คือ 2558-2563 พบว่า ประกอบด้วย งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) และ งานปรับปรุงซอ่ มแซม (Corrective Maintenance) ประกอบดว้ ยรายการ ดงั น้ี • งานบำรุงรกั ษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) - ขุดลอกท่อระบายนำ้ /รางระบายน้ำ/บ่อพัก - บำรงุ รกั ษาภูมิทัศน์ - ป้องกันและกำจัดปลวก - ตรวจสอบและบำรุงรักษาระบบควบคมุ ประตอู ตั โนมัติ - ตรวจสอบและบำรุงรักษาอปุ กรณไ์ ฟฟา้ - ตรวจสอบและบำรงุ รักษาลฟิ ท์ • งานปรับปรุงซ่อมแซม (Corrective Maintenance) - ซ่อมแซมอาคาร เช่น ทางลาดขึ้น-ลง ชานชาลาขนถ่ายสินค้า ทางเดินเท้า ช้ันดาดฟ้า หลังคา รางระบายนำ้ ฝน หอ้ งน้ำ ตดิ ตั้งลิฟท์โดยสารทีอ่ าคารบริหารเปน็ ตน้ - ซ่อมแซมส่ิงปลูกสร้างอื่นๆ อาทิ ป้อมยามรักษาความปลอดภัย เครื่องชั่งน้ำหนัก รถบรรทกุ เปน็ ต้น - ซ่อมแซมระบบ เช่น ระบบควบคุมประตูชานชาลาอเนกประสงค์ ระบบควบคุมปั๊มน้ำ หอถงั สงู เป็นต้น - ซอ่ มแซมระบบระบายน้ำ เชน่ ทอ่ ระบายนำ้ รางระบายนำ้ เป็นตน้ - ซอ่ มแซมระบบประปา เชน่ เปล่ยี นทอ่ เมนระบบประปา เป็นตน้ - ซ่อมแซมถนนทางเข้า-ออกและถนนภายในสถานีขนส่งสินค้า ปรับปรุงป้ายจราจร ระบบจราจร โดยสามารถสรปุ แยกรายสถานีขนสง่ สนิ ค้าไดด้ ังนี้ 5.7.1 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จากการรวบรวมสถิติการบำรุงรักษา ปรับปรุง และซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลในช่วงปี 2558-2563 พบว่า แบ่งเป็นค่าบำรุงรักษาตามกำหนดเวลารวมกันประมาณ 9.0 ล้านบาท หรือเฉลี่ย ประมาณ 1.5 ล้านบาทต่อปี โดยค่าจ่ายส่วนมากเป็นค่าบำรุงรักษาภูมิทัศน์ (6.0 ล้านบาท) และ เป็นคา่ ปรับปรุงและซ่อมแซมรวมกันประมาณ 58 ล้านบาท หรือเฉล่ยี ประมาณ 9.7 ลา้ นบาทต่อปี โดยค่าใช้จ่ายส่วนมากเป็นค่าซ่อมแซมอาคาร (40 ล้านบาท) และงานซ่อมแซมระบบในอาคาร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-69

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (11.5 ล้านบาท) ดังแสดงในตารางท่ี 5.7-1 รายละเอียดของค่าใช้จ่ายแต่ละรายการแสดงไว้ใน ตารางท่ี 5.7-2 ตารางที่ 5.7-1 ค่าใชจ้ า่ ยในการบำรงุ รกั ษา ปรบั ปรงุ และซ่อมแซม สถานขี นส่งสินคา้ พุทธมณฑล ในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2563 หน่วย: บาท รายการ ปงี บประมาณ รวม 6 ปี 2558 2559 2560 2561 2562 2563 งานบำรงุ รกั ษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) - ตรวจสอบและ - -- 999,000 - 999,000 บำรงุ รักษาระบบ ควบคุมประตูอตั โนมัติ - ตรวจสอบและ 192,172 192,172 160,072 - 314,366 - 858,782 บำรงุ รกั ษาอปุ กรณไ์ ฟฟ้า - ตรวจสอบและ - -- -- -- บำรุงรกั ษาลฟิ ท์ - ขดุ ลอกทอ่ ระบายน้ำ/ - 589,820 - -- - 589,820 รางระบายนำ้ /บอ่ พกั - บำรงุ รักษาภมู ิทัศน์ 1,176,000 1,044,000 910,800 863,500 993,600 985,560 5,973,460 - ป้องกนั และกำจัดปลวก 99,666* 111,880* 77,040* 83,333* 80,000* 100,000* 551,919 รวม 1,467,838 1,937,872 1,147,912 946,833 2,386,966 1,085,560 8,972,981 งานปรับปรงุ ซ่อมแซม (Corrective Maintenance) - ซ่อมแซมอาคาร 23,300,000 - 15,070,638 1,850,000 - 1,836,000 40,206,638 - ซอ่ มแซมสิง่ ปลกู สร้างอืน่ ๆ - - - 1,125,793 464,000 - 1,589,793 - ซอ่ มแซมระบบในอาคาร 10,629,000 - - - 821,572 - 11,450,572 - ซ่อมแซมระบบระบายน้ำ - - 210,025 - 1,271,333 - 1,481,358 - ซ่อมแซมระบบประปา - - - 486,950 120,250 - 607,200 - ซอ่ มแซมถนนและงาน - - 156,200 850,000 - - 1,006,200 จราจร รวม 33,929,000 - 15,436,863 2,462,743 2,677,155 1,836,000 56,341,761 รวมทั้งหมด 35,396,838 1,937,872 16,584,775 3,409,576 5,064,121 2,921,560 65,314,742 ท่มี า: สำนกั การขนส่งสนิ ค้า กรมการขนสง่ ทางบก หมายเหต:ุ * งานป้องกนั และกำจดั ปลวก ภายในสถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง และร่มเกลา้ ใช้วธิ เี ฉล่ียเท่ากนั ท้ัง 3 แหง่ ** งานปรบั ปรงุ ระบบ CCTV ภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า ใช้วิธีเฉลยี่ เทา่ กันทั้ง 3 แห่ง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-70

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.7-2 รายละเอยี ดของค่าใช้จา่ ยในการบำรงุ รกั ษา ปรับปรุงและซ่อมแซม สถานีขนสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑลในชว่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2563 หนว่ ย: บาท ปีงบประมาณ ชอื่ สญั ญา วงเงนิ สญั ญา 2558 สัญญาจา้ งบำรุงรกั ษาระบบไฟฟา้ แบบครบวงจร (PEA Better Care Service) 192,172 ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ พุทธมณฑล (โดยวิธกี รณีพิเศษ) 2558 สัญญาจ้างเหมาบรกิ ารบำรุงรกั ษาตน้ ไม้ สนามหญา้ และสวนหยอ่ ม 1,176,000 ภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 2558 สัญญาจ้างเหมาบริการป้องกันและกำจัดปลวก 74,750 ภายในสถานขี นสง่ สินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า (งปม. 224,250 บาท) 2558 สัญญาจ้างเหมาปรบั ปรงุ อาคารทีพ่ ักและโรงอาหาร สถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล 23,300,000 ดว้ ย e-bidding 2558 ปรับปรุงระบบ CCTV ภายในสถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า 10,629,000 (งปม. 31,887,000 บาท) 2559 จ้างเหมาบริการบำรุงรักษาต้นไม้ สนามหญ้าและสวนหย่อม 1,044,000 ภายในสถานขี นสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑล ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) 2560 ซอ่ มแซมหลงั คาชานชาลาขนถ่ายสินคา้ สถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล 28,125 2560 สัญญาจ้างเหมาบริการบำรุงรกั ษาต้นไม้ สนามหญ้าและสวนหย่อม ภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า 910,800 พุทธมณฑล ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2560 ด้วยวิธีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2560 ซอ่ มแซมท่อระบายน้ำท้ิงอาคารทพี่ ักและโรงอาหาร สถานขี นสง่ สนิ คา้ พุทธมณฑล 210,025 2560 จ้างขดุ ลอกท่อและรางระบายนำ้ สถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล 589,820 2560 ปรับปรงุ ป้ายจราจรภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล และคลองหลวง 312,400 2561 ซ่อมแซมป้อมยามรักษาความปลอดภัย ภายในสถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล 497,793 2561 สญั ญาจ้างเหมาบริการบำรงุ รกั ษาตน้ ไมส้ นามหญา้ และสวนหยอ่ ม 863,500 ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ด้วยวิธกี ารประกวด ราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-bidding) 2561 จ้างซอ่ มแซมระบบท่อน้ำประปา ภายในสถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล 486,950 2561 จ้างเหมาปรับปรุงระบบจราจรภายในสถานขี นสง่ สนิ คา้ พุทธมณพล ดว้ ยวธิ ีประกวดราคา 850,000 อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2561 จ้างเหมาปรบั ปรุงห้องนำ้ สำนักงานอาคารบรหิ ารช้ัน 1 และชนั้ 2 สถานีขนส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล 1,850,000 ดว้ ยวิธปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding) 2561 สญั ญาจ้างเหมาปรบั ปรุงห้องน้ำสาธารณะภายในสถานีขนส่งสินค้าพทุ ธมณฑล ด้วยวธิ ีประกวด 628,000 ราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding) 2562 สัญญาจา้ งเหมาบรกิ ารบำรุงรักษาภูมทิ ัศน์ ภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล 993,600 2562 จา้ งตรวจสอบและบำรงุ รักษาระบบควบคมุ ประตอู ัตโนมัตภิ ายในสถานีขนสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑล 999,000 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ด้วยวธิ ีการประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-71

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.7-2 รายละเอียดของค่าใชจ้ า่ ยในการบำรงุ รกั ษา ปรบั ปรุงและซ่อมแซม สถานขี นส่งสนิ คา้ พุทธมณฑลในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2563 (ต่อ) หนว่ ย: บาท ปงี บประมาณ ชอื่ สญั ญา วงเงินสัญญา 2562 สัญญาจา้ งซอ่ มแซมฝาตะแกรงเหล็กรางระบายน้ำสถานีขนสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑล ด้วยวธิ ี 1,271,333 ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ 2562 สัญญาจ้างปรับปรงุ รางระบายนำ้ ฝนอาคารชานชาลาและคลงั สินคา้ 9,158,000 ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล ดว้ ยวธิ กี ารประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ 2562 จ้างปรับปรุงห้องนำ้ อาคารชานชาลา สถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑล 5,912,638 2562 ใบสง่ั จ้าง ซอ่ มแซมระบบควบคมุ ประตชู านชาลาอเนกประสงค์ สถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑล 359,438 2562 ใบสง่ั จา้ งซอ่ มแซมระบบประตชู านชาลาอเนกประสงค์ ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล 462,134 2562 ใบสง่ั จ้างซอ่ มแซมระบบประปา ภายในสถานีขนส่งสินค้าคา้ พุทธมณฑล 120,250 2563 สญั ญาจ้างเหมาบริการบำรงุ รกั ษาภูมิทัศน์ ภายในสถานขี นส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล 985,560 2563 ใบส่งั จ้าง จา้ งเหมาบรกิ ารตรวจสอบบำรงุ รกั ษาอุปกรณ์ไฟฟ้า 314,366 ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล 2563 สญั ญาจ้างปรบั ปรงุ ประตชู านชาลาอเนกประสงค์ (เพมิ่ ทางเข้า-ออกฉุกเฉิน) 1,836,000 ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ พุทธมณฑล วธิ ปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-bidding) รวมทั้งหมด 66,575,705 ที่มา: สำนักการขนสง่ สินคา้ กรมการขนส่งทางบก 5.7.2 สถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวง จากการรวบรวมสถิติการบำรุงรักษา ปรับปรุง และซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงในช่วงปี 2558-2563 พบว่า แบ่งเป็นค่าบำรุงรักษาตามกำหนดเวลารวมกันประมาณ 11.2 ล้านบาท หรือ เฉล่ียประมาณ 1.9 ล้านบาทต่อปี โดยค่าจ่ายส่วนมากเป็นค่าบำรุงรักษาภูมิทัศน์ (6.5 ล้านบาท) และ เป็นค่าปรับปรุงและซ่อมแซมรวมกันประมาณ 34.1 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณ 5.7 ล้านบาทต่อปี โดยค่าจ่ายส่วนมากเป็นค่าซ่อมแซมอาคาร (22.2 ล้านบาท) ดังแสดงในตารางท่ี 5.7-3 รายละเอียด ของค่าใชจ้ ่ายแตล่ ะรายการแสดงไว้ในตารางท่ี 5.7-4 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-72

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.7-3 คา่ ใช้จา่ ยในการบำรงุ รกั ษา ปรับปรุงและซ่อมแซมสถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง ในชว่ งปี พ.ศ. 2559-2563 หน่วย: บาท รายการ 2558 ปีงบประมาณ 2563 รวม 6 ปี 2559 2560 2561 2562 งานบำรงุ รกั ษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) - ตรวจสอบและบำรงุ รกั ษา - ---- - - ระบบควบคุมประตูอัตโนมตั ิ - ตรวจสอบและบำรุงรักษา 223,576 280,286 - 280,286 - 307,454 1,091,602 อุปกรณไ์ ฟฟ้า - ตรวจสอบและบำรงุ รักษาลฟิ ท์ - - - - 2,500,000 - 2,500,000 - ขุดลอกท่อระบายนำ้ /ราง - - - - - 495,000 495,000 ระบายน้ำ/บอ่ พัก - บำรงุ รกั ษาภูมิทัศน์ 1,277,000 1,044,000 1,032,000 984,500 1,110,000 1,101,600 6,549,100 - ป้องกันและกำจัดปลวก 99,666* 111,880* 77,040* 83,333* 80,000* 100,000* 551,919 รวม 1,600,242 1,436,166 1,109,040 1,348,119 3,690,000 2,004,054 11,187,621 งานปรับปรุงซ่อมแซม (Corrective Maintenance) - ซอ่ มแซมอาคาร - 4,291,000 8,293,000 - 468,794 9,169,317 22,222,111 - ซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้างอ่นื ๆ - - - - 154,667 210,000 364,667 - ซอ่ มแซมระบบในอาคาร 10,629,000** - - - 497,466 - 11,126,466 - ซอ่ มแซมระบบระบายนำ้ - ---- - - - ซ่อมแซมระบบประปา - - - - 100,553 - 100,553 - ซ่อมแซมถนนและงานจราจร - - - 294,250 - - 294,250 รวม 10,629,000 4,291,000 8,293,000 294,250 1,221,480 9,379,317 34,108,047 รวมทง้ั หมด 12,229,242 5,727,166 9,402,040 1,642,369 4,911,480 11,383,371 45,295,668 ที่มา: สำนักการขนสง่ สนิ ค้า กรมการขนส่งทางบก หมายเหตุ: * งานป้องกันและกำจดั ปลวก ภายในสถานขี นส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า ใชว้ ิธีเฉลยี่ เทา่ กนั ทง้ั 3 แหง่ ** งานปรบั ปรงุ ระบบ CCTV ภายในสถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกลา้ ใช้วิธเี ฉล่ียเทา่ กันท้งั 3 แหง่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-73

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.7-4 รายละเอยี ดของค่าใช้จ่ายในการบำรงุ รักษา ปรบั ปรุงและซ่อมแซม สถานขี นสง่ สนิ คา้ คลองหลวงในชว่ งปี พ.ศ. 2558-2563 หนว่ ย: บาท ปีงบประมาณ ชือ่ สัญญา วงเงินสญั ญา 2558 จ้างเหมาบริการตรวจสอบบำรุงรกั ษาอปุ กรณไ์ ฟฟ้า ภายในสถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 223,576 2558 สัญญาจา้ งเหมาบรกิ ารบำรุงรกั ษาต้นไม้ สนามหญา้ และสวนหยอ่ มภายในสถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง 1,277,000 2558 สัญญาจา้ งเหมาบรกิ ารป้องกันและกำจัดปลวก ภายในสถานขี นส่งสินค้าพทุ ธมณฑล คลองหลวง 74,750 และรม่ เกลา้ (งปม. 224,250 บาท) 2558 ปรบั ปรงุ ระบบ CCTV ภายในสถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกลา้ (งปม. 31,887,000 บาท) 10,629,000 2559 สญั ญาจ้างเหมาบริการป้องกันและกำจัดปลวก ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง 179,333 2559 จา้ งเหมาบริการบำรงุ รักษาต้นไม้ สนามหญ้าและสวนหย่อม ภายในสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง ด้วยวธิ ี 1,223,333 ประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2559 สญั ญาจ้างซอ่ มแซมรางระบายน้ำฝนอาคารชานชาลา สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง ด้วยวิธี e-bidding 2,556,000 2559 สญั ญาจ้างเหมาปรับปรุงห้องนำ้ อาคารบรหิ าร สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง โดยสอบราคา 1,735,000 2560 สัญญาจา้ งเหมาบริการบำรุงรักษาต้นไม้ สนามหญา้ และสวนหยอ่ ม ภายในสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง 1,032,000 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ดว้ ยวธิ กี ารประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2560 จา้ งเหมาปรับปรุงห้องน้ำชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ สถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง ด้วยวิธปี ระกวดราคา 8,293,000 อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2561 สัญญาจา้ งเหมาบรกิ ารบำรงุ รกั ษาตน้ ไม้สนามหญ้าและสวนหย่อมภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ คลองหลวง ประจำปี 984,500 งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ดว้ ยวธิ กี ารประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-bidding) 294,250 2561 จา้ งซอ่ มแซมถนนทางเขา้ -ออกและพ้ืนถนน ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง 2562 สัญญาจา้ งเหมาบริการบำรุงรักษาภูมิทศั น์ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 1,110,000 2562 จา้ งซอ่ มแซมระบบนำ้ ประปา ภายในสถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 100,553 2562 ซอ่ มแซมเคร่ืองช่ังนำ้ หนักสถานขี นส่งสินค้า 3 แห่ง 464,000 2562 ซ่อมแซมทางลาดขึ้น-ลง ชานชาลาขนถ่ายสินค้า สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง 263,354 2562 ซื้อขายติดตั้งลฟิ ต์โดยสารพร้อมติดต้ัง สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง ด้วยวิธปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2,500,000 2562 ใบสั่งจ้าง ซ่อมแซมระบบควบคมุ ปมั๊ นำ้ หอถงั สงู สถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 497,466 2563 สัญญาจา้ งเหมาบริการบำรุงรกั ษาภมู ิทศั น์ ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง 1,101,600 2563 ใบส่ังจา้ ง ซ่อมแซมเครื่องชั่งนำ้ หนักรถบรรทุก สถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง 210,000 2563 ใบส่ังจ้าง ขุดลอกบ่อพกั รางระบายน้ำและอ่ืนๆ 495,000 2563 ใบสงั่ จา้ งซอ่ มแซมทอ่ ประปาอาคารชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ ที่ 2 ดา้ นตะวันออก สถานขี นส่งสนิ คา้ คลองหลวง 7,520 2563 ใบสั่งจ้าง ซ่อมแซมหลงั คาชานชาลาขนถ่ายสินคา้ สถานีขนส่งสนิ คา้ คลองหลวง 24,317 2563 ใบส่ังจ้าง จา้ งเหมาบรกิ ารตรวจสอบบำรงุ รักษาอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ภายในสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง 307,454 2563 สัญญาจ้างปรับปรุงหอ้ งน้ำและระบบบำบัดน้ำเสียชานชาลาขนถ่ายสินคา้ สถานขี นส่งสินคา้ คลองหลวง 2,345,000 ด้วยวธิ ีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding) 2563 สัญญาจ้างปรับปรุงรางระบายนำ้ ฝน หลงั คาชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้าและคลังสนิ คา้ 6,800,000 ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ คลองหลวง ดว้ ยวิธกี ารประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ รวมท้ังหมด 33,808,260 ทม่ี า: สำนักการขนส่งสินคา้ กรมการขนสง่ ทางบก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-74

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.7.3 สถานขี นส่งสินค้ารม่ เกลา้ จากการรวบรวมสถิติการบำรุงรักษา ปรับปรุง และซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าในช่วงปี 2558-2563 พบว่า แบ่งเป็นค่าบำรุงรักษาตามกำหนดเวลารวมกันประมาณ 11.6 ล้านบาท หรือ เฉลี่ยประมาณ 1.9 ล้านบาทต่อปี โดยค่าจ่ายส่วนมากเป็นค่าบำรุงรักษาภูมิทัศน์ (5.7 ล้านบาท) และเป็นค่าปรับปรุงและซ่อมแซมรวมกันประมาณ 158 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณ 26 ล้านบาทต่อปี โดยค่าจ่ายส่วนมากเป็นค่าซ่อมแซมถนน (64 ล้านบาท) รองลงมาคือ ค่าปรับปรุงอาคาร (53 ล้านบาท) และค่าซ่อมแซมระบบในอาคาร (38 ล้านบาท) ดังแสดงในตารางท่ี 5.7-5 รายละเอียดของค่าใช้จ่าย แตล่ ะรายการแสดงไว้ในตารางที่ 5.7-6 ตารางที่ 5.7-5 ค่าใช้จา่ ยในการบำรุงรกั ษา ปรบั ปรุงและซอ่ มแซมสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า ในช่วงปี 2558-2563 หน่วย: บาท รายการ ปงี บประมาณ รวม 6 ปี 2558 2559 2560 2561 2562 2563 งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) - ตรวจสอบและบำรงุ รกั ษา - - - -- - - ระบบควบคมุ ประตอู ัตโนมัติ 127,875 -- - ตรวจสอบและบำรงุ รักษา 127,875 127,875 210,000 593,625 อปุ กรณไ์ ฟฟา้ 917,000 -- - ตรวจสอบและบำรุงรกั ษาลิฟท์ 99,666* 3,280,000 - - 3,280,000 - ขุดลอกท่อระบายนำ้ /ราง 1,144,541 1,453,204 778,800 979,000 1,134,400 1,125,120 1,453,204 ระบายน้ำ/บอ่ พัก 77,040* 83,333* 80,000* 100,000* - บำรงุ รกั ษาภูมิทัศน์ 778,800 983,715 1,062,333 1,214,400 1,435,120 5,713,120 - ป้องกนั และกำจดั ปลวก 111,880* 551,919 5,751,759 11,591,868 รวม งานปรับปรงุ ซ่อมแซม (Corrective Maintenance) - ซ่อมแซมอาคาร 23,676,067 - 1,895,157 14,980,000 11,918,332 205,440 52,674,996 - ซอ่ มแซมสงิ่ ปลกู สรา้ งอ่ืนๆ - - 497,750 - 154,667 - 652,417 - ซ่อมแซมระบบในอาคาร - - - 37,792,700 - ซ่อมแซมระบบระบายน้ำ 37,792,700** - - - - 496,250 - ซอ่ มแซมระบบประปา - 1,761,556 - 496,250 - - 1,761,556 - ซ่อมแซมถนนและงานจราจร - 9,901,500 - - - 64,431,715 - 11,663,056 5,050,000 12,486,875 36,500,000 157,809,634 รวม 17,175,060 7,442,907 493,340 24,559,874 36,705,440 169,401,502 รวมท้ังหมด 61,468,767 8,221,707 15,969,590 25,693,874 38,040,560 62,588,392 16,948,590 ท่ีมา: สำนกั การขนสง่ สินค้า กรมการขนสง่ ทางบก หมายเหตุ: * งานป้องกันและกำจัดปลวก ภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และร่มเกล้า ใช้วิธีเฉล่ียเท่ากันทั้ง 3 แห่ง ** งาน ปรบั ปรุงระบบ CCTV ภายในสถานขี นส่งสินค้าพทุ ธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า ใชว้ ธิ ีเฉลย่ี เท่ากันทั้ง 3 แห่ง และค่าปรบั ปรุงระบบไฟฟ้า สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-75

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.7-6 รายละเอยี ดของคา่ ใชจ้ า่ ยในการบำรงุ รกั ษา ปรับปรุงและซ่อมแซม สถานีขนสง่ สนิ คา้ ร่มเกล้าในช่วงปี พ.ศ. 2558-2563 หนว่ ย: บาท ปงี บประมาณ ช่อื สัญญา วงเงินสัญญา 2558 สญั ญาจ้างตรวจสอบและบำรงุ รักษาระบบไฟฟ้าแบบรายปี ตามโครงการ MEA Better Care Service 127,875 ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ ร่มเกล้า (โดยวิธกี รณีพิเศษ) 2558 สัญญาจ้างเหมาบรกิ ารบำรุงรักษาต้นไม้ สนามหญา้ และสวนหย่อมภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 917,000 ด้วยวิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 2558 สญั ญาจ้างเหมาบรกิ ารป้องกันและกำจัดปลวก 74,750 ภายในสถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า (งปม. 224,250 บาท) 2558 สัญญาจา้ งเหมาปรับปรงุ อาคารทพี่ ักและโรงอาหาร สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ด้วยวธิ ีการประกวด 23,676,067 ราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2558 ปรับปรุงระบบ CCTV ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และรม่ เกล้า 10,629,000 (งปม. 31,887,000 บาท) 2558 สญั ญาจา้ งปรับปรุงระบบไฟฟ้าแสงสว่างอาคารสำนกั งานกลางและระบบไฟถนน 27,163,700 ภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า โดยวธิ กี รณีพิเศษ 2559 จา้ งเหมาบริการบำรุงรกั ษาต้นไม้ สนามหญ้าและสวนหยอ่ ม ภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ด้วยวิธี 778,800 ประกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2559 สญั ญาจ้างเหมาปรับปรุงระบบทอ่ เมนประปา สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า โดยสอบราคา 1,761,556 2559 สญั ญาจ้างเหมาขุดลอกทอ่ ระบายน้ำ สถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกล้า โดยสอบราคา 1,453,204 2559 สัญญาจ้างเหมาซอ่ มแซมถนน ภายในสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ 9,901,500 (e-bidding) 2559 สัญญาซื้อขายลิฟท์โดยสารพรอ้ มติดตั้งอาคารสำนักงาน ๕ ชั้น สถานีขนสง่ สินค้าร่มเกล้า ประจำปี 3,280,000 งบประมาณ พ.ศ.2559 ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) 2560 สัญญาจ้างเหมาบริการบำรงุ รกั ษาต้นไมส้ นามหญ้าและสวนหย่อม ภายในสถานีขนสง่ สินค้าร่มเกลา้ 778,800 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2560 ด้วยวิธปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2560 ซ่อมแซมห้องน้ำสาธารณะ สถานขี นส่งสนิ ค้าร่มเกล้า 497,750 2560 ซ่อมแซมทางลาดสำหรับรถยกสินค้าข้ึน-ลง ชานชาลาขนถา่ ยสินค้าที่ 1-10 และอาคารคลังสินค้าท่ี 1-5 499,000 สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 2560 ซอ่ มแซมทางเดินเท้าบรเิ วณทางข้นึ สำนักงานชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ ที่ 1-10 สถานขี นส่งสินคา้ รม่ เกล้า 496,500 2560 จ้างเหมาซ่อมแซมชั้นดาดฟ้าสำนกั งานอาคารบริหาร สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 899,657 2560 จ้างเหมาปรับปรงุ ทางเชื่อมสถานีขนสง่ สนิ ค้ารม่ เกล้าและสถานีบรรจแุ ละแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง 5,050,000 (ICD) ด้วยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ 2561 สัญญาจ้างเหมาบริการบำรุงรกั ษาต้นไมส้ นามหญ้าและสวนหยอ่ มภายในสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า 979,000 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ด้วยวิธีการประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) 2561 จา้ งปรับปรุงระบบระบายน้ำ สถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า 496,250 2561 ซ่อมแซมบำรุงรักษาถนน 493,340 2561 สัญญาจ้างเหมาปรับปรงุ รางระบายน้ำฝนชานชาลาขนถา่ ยสินค้าท่ี 1-10 คลงั สนิ ค้าท่ี 1-2 และซ่อมแซม 14,980,000 หลงั คาอาคารชานชาลา สถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า ด้วยวิธปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-76

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.7-6 รายละเอยี ดของคา่ ใช้จา่ ยในการบำรุงรักษา ปรบั ปรุงและซ่อมแซม สถานขี นสง่ สนิ คา้ ร่มเกล้าในชว่ งปี พ.ศ. 2558-2563 (ต่อ) หน่วย: บาท ปงี บประมาณ ช่ือสญั ญา วงเงินสัญญา 2562 สัญญาจ้างเหมาบริการบำรงุ รักษาภมู ิทัศน์ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกล้า 1,134,000 2562 จ้างซ่อมแซมพ้ืนผวิ ถนนทช่ี ำรุด ภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 486,875 2562 ซอ่ มแซมเครอ่ื งช่ังน้ำหนักสถานีขนส่งสินค้า 3 แห่ง 464,000 2562 สัญญาจ้างปรับปรุงถนนด้านหน้า สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 12,000,000 2562 สัญญาจ้างปรับปรุงสำนักงานบริหาร สถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกล้า 11,712,891 2563 สัญญาจ้างเหมาบริการบำรุงรกั ษาภมู ิทัศน์ ภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า 1,125,120 2563 ใบสั่งจ้างเหมาตรวจสอบบำรงุ รักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า สถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า 210,000 2563 สญั ญาจ้างซอ่ มแซมถนนภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าด้วยวิธีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ 36,500,000 (e-bidding) รวมทั้งหมด 168,668,183 ทม่ี า: สำนกั การขนสง่ สนิ คา้ กรมการขนสง่ ทางบก 5.8 การประเมนิ ประสิทธภิ าพการดำเนินการตามแผนพฒั นาและปรับปรงุ ซอ่ มแซม เม่ือปี 2555 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการศึกษาสำรวจและ จัดทำแผนการพัฒนาและปรับปรุงซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า ซึ่งผลการศึกษาได้สรุปปัญหาท่ีเกิดข้ึนพร้อมกับแนวทางแก้ไข แยกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ สำหรับ สถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง ต่อมา กรมการขนส่งทางบก ได้จัดงบประมาณเพ่ือมาดำเนินการ ปรับปรุงซ่อมแซมส่ิงปลูกสร้าง อาคาร และโครงสร้างพื้นฐานภายในสถานีขนส่งสินค้ามาโดยตลอด โดยปรบั ปรุงตามผลการศกึ ษาในปี 2555 ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ในการประเมนิ ประสิทธิภาพ การดำเนินการตามแผนพัฒนาและปรับปรุงซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าจะอาศัยข้อมูลงบประมาณ ของงานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance) และงานปรับปรุงซ่อมแซม (Corrective Maintenance) ที่ กรมการขนสง่ ทางบก ในช่วงปีงบประมาณ 2558-2563 มาตรวจสอบรายการปรบั ปรุง ซ่อมแซมเพ่ือประเมินว่ารายการใดที่ได้มีการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว รายการใดดำเนินการไป บางส่วน และรายการใดยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ เพ่ือทาง กรมการขนส่งทางบก สามารถนำไปปรับปรุง แผนพัฒนาและปรับปรุงซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ตลอดจนเพื่อใช้ กำหนดแนวทางในการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในอนาคต ทั้งน้ีผลการประเมินแผนพัฒนาและ ปรับปรุงซ่อมแซมสถานีขนส่งสินค้าในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ 2589-2563) สำหรับ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และร่มเกล้า แสดงในตารางที่ 5.8-1 ถึง ตารางที่ 5.8-3 ตามลำดบั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-77

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.8-1 ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะการปรบั ปรงุ สถานขี นส่งสนิ ค้า ตามผลการศกึ ษาเมื่อปี 2555 สำหรบั สถานขี นส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล ประเภท ผลการดำเนินงานในปงี บประมาณ หมายเหตุ 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ชานชาลา    หลังคา รางระบายน้ำฝน ห้องน้ำ คลงั สนิ คา้  ไม่มกี ารดำเนนิ การ ชานชาลาอเนกประสงค์    อาคารสำนกั งานบรหิ าร  โรงอาหาร   หอ้ งนำ้ หอพกั   หอ้ งน้ำ เคร่ืองชง่ั นำ้ หนกั   ห้องน้ำสาธารณะ   ประตอู ัตโนมตั บิ รเิ วณ  ถนนทางเข้าออก ปา้ ยจราจร   ระบบระบายนำ้   ระบบแสงสว่าง  ระบบนำ้ ประปา    ระบบบำบดั น้ำเสยี    ไม่มกี ารดำเนนิ การ ระบบโทรศพั ท์   ไมม่ กี ารดำเนินการ ระบบป้องกนั ฟา้ ผา่    ระบบอินเทอร์เนต็    ไม่มกี ารดำเนินการ ระบบรกั ษาความ    ซ่อมแซมป้อม รปภ. ปลอดภัย สภาพภมู ทิ ศั นภ์ ายใน       สถานขี นสง่ สินคา้ ระบบกลอ้ ง CCTV    ตดิ ต้ังใหม่ ระบบไฟฟา้     สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-78

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.8-2 ผลการดำเนนิ งานตามขอ้ เสนอแนะการปรบั ปรงุ สถานีขนส่งสนิ คา้ ตามผลการศึกษาเม่ือปี 2555 สำหรบั สถานขี นส่งสนิ ค้าคลองหลวง ประเภท ผลการดำเนินงานในปงี บประมาณ หมายเหตุ 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ชานชาลา      หลังคา รางระบายนำ้ ฝน หอ้ งนำ้ ระบบประปา คลงั สนิ ค้า   หลงั คา รางระบายนำ้ ฝน อาคารสำนกั งานบริหาร     โรงอาหาร  ไมม่ กี ารดำเนนิ การ หอพกั  ไม่มกี ารดำเนนิ การ เครอ่ื งชัง่ น้ำหนัก      ห้องน้ำสาธารณะ  ไมม่ กี ารดำเนนิ การ ประตูอัตโนมตั บิ รเิ วณ  ไมม่ กี ารดำเนนิ การ ถนนทางเข้าออก ถนนเข้าออก  ป้ายจราจร  ไม่มกี ารดำเนนิ การ ระบบระบายน้ำ  ระบบแสงสว่าง  ระบบนำ้ ประปา   ระบบบำบดั นำ้ เสยี  ระบบโทรศัพท์  ไมม่ ีการดำเนนิ การ ระบบป้องกนั ฟา้ ผ่า  ระบบอินเทอรเ์ นต็  ไม่มกี ารดำเนินการ ระบบรักษาความ  ไม่มกี ารดำเนนิ การ ปลอดภยั สภาพภมู ทิ ศั น์ภายใน       สถานขี นสง่ สินคา้ ระบบกลอ้ ง CCTV       ติดตั้งใหม่ ระบบไฟฟา้       สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-79

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.8-3 ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะการปรับปรงุ สถานขี นสง่ สนิ ค้า ตามผลการศกึ ษาเมื่อปี 2555 สำหรบั สถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ ประเภท ผลการดำเนินงานในปงี บประมาณ หมายเหตุ 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ชานชาลา   หลงั คา รางระบายนำ้ ฝน หอ้ งนำ้ ระบบประปา คลงั สนิ คา้   หลงั คา รางระบายน้ำฝน อาคารสำนกั งานบริหาร     โรงอาหาร  ปรับปรุงอาคาร หอพัก   ปรับปรุงอาคาร เครื่องชงั่ นำ้ หนกั     หอ้ งนำ้ สาธารณะ   ประตูอตั โนมตั ิบรเิ วณถนน  ไม่มีการดำเนินการ ทางเขา้ ออก ทางเช่อื มระหวา่ งสถานี  ขนสง่ สินค้ากับไอซดี ี ลาดกระบัง ถนนเข้าออกสถานขี นส่ง   สนิ คา้ ถนนภายในสถานขี นส่ง    สินค้า ปา้ ยจราจร  ไม่มกี ารดำเนนิ การ ระบบระบายนำ้  ระบบแสงสว่าง    อาคารสำนักงานกลางและ ถนน ระบบนำ้ ประปา   ระบบบำบดั น้ำเสีย  ไมม่ ีการดำเนินการ ระบบโทรศพั ท์  ไมม่ กี ารดำเนนิ การ ระบบปอ้ งกนั ฟ้าผ่า  ระบบอินเทอร์เนต็  ไม่มีการดำเนินการ ระบบรักษาความปลอดภยั  ไม่มกี ารดำเนินการ สภาพภมู ทิ ัศน์ภายในสถานี       ขนส่งสินค้า ระบบกล้อง CCTV       ตดิ ตง้ั ใหม่ ระบบไฟฟา้       สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 5-80

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 5.9 สรุปผลการศกึ ษา การศึกษาวิเคราะห์ท้ังหมดท่ีมีการดำเนินการไปในขอบเขตงานส่วนนี้ มีจุดประสงค์เพื่อต้องการ สำรวจ วเิ คราะห์ และประเมินศกั ยภาพการใช้งานสถานีขนส่งสินคา้ ชานเมืองกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลท้ัง 3 แห่งในปัจจุบัน ครอบคลุมทั้งอาคาร ส่ิงปลูกสร้าง งานถนน ส่ิงอำนวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภคส่วนกลาง โดยใช้วิธีการตรวจสอบเบ้ืองต้นด้วยสายตา (Visual Inspection) ครอบคลุมใน 3 หัวขอ้ หลัก ได้แก่ (1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงและความชำรุดทรุดโทรมของอาคารและส่ิงปลูกสร้าง ซ่งึ รวมถงึ งานถนนและผวิ จราจร โดยแบ่งการประเมนิ ออกเป็น 3 ด้าน คอื • ด้านวิศวกรรมโยธา เนน้ การตรวจสอบความมนั่ คงแข็งแรงของฐานราก โครงสรา้ ง และหลงั คา • ด้านงานสถาปตั ยกรรม เนน้ การตรวจสอบความม่นั คงแข็งแรงของวสั ดุและความสวยงาม • ด้านงานระบบภายในอาคาร เน้นการตรวจสอบสภาพการใข้งาน ความม่ันคงแข็งแรง และความปลอดภัยของงานระบบ (2) การตรวจสอบสภาพการใช้งานและการดัดแปลงต่อเติมอาคารสิ่งปลูกสร้างของผู้เข้าใช้ พื้นท่ี โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านความม่ันคงแข็งแรง ปลอดภัย และด้าน ทัศนียภาพ ความเรยี บรอ้ ยของสถานีขนส่งสินคา้ (3) การตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคส่วนกลาง อาทิ ระบบไฟฟ้า ระบบน้ำประปา ระบบระบายนำ้ และเคร่อื งชัง่ น้ำหนักรถบรรทุก เป็นตน้ โดยแบ่งการประเมนิ ออกเป็น 3 ดา้ น คือ ด้านสภาพการใชง้ าน ด้านความม่ันคงแข็งแรง และ ดา้ นความปลอดภยั ผลการประเมินจะทำให้ถงึ ปัญหาการใช้งานในปัจจุบนั ของอาคาร สิง่ ปลูกสรา้ ง งานถนน และ งานระบบต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่ง ซึ่งจะให้ทราบระดับความรุนแรงของปัญหา (ทำให้ทราบระยะเวลาท่ีควรเร่งดำเนินการ) แนวทาง การแกไ้ ขปรับปรุง และแนวทางการพัฒนาสถานีขนสง่ สินคา้ ในอนาคต นอกจากน้ี งานศึกษาในส่วนนี้ ยังรวมถึงการเก็บรวบรวมสถิติข้อมูลการปรับปรุง ซ่อมแซม และ บำรุงรกั ษาสถานีขนส่งสินค้ายอ้ นหลัง 6 ปี คือ ปี พ.ศ. 2558-2563 แบ่งออกเปน็ งานบำรุงรักษาตาม กำหนดเวลา (Periodic Maintenance) ซ่งึ สะท้อนถงึ งบประมาณท่ีต้องใช้ในการบำรุงรักษาตามปกติ และสามารถประมาณการระยะเวลาได้ และงานปรับปรุงซ่อมแซม (Corrective Maintenance) ซ่ึงสะท้อนถงึ งานซ่อมแซมที่เกิดข้ึนจริงและไม่สามารถกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนได้ ผลการวิเคราะห์ สถิตดิ ังกลา่ ว จะชว่ ยมองเห็นภาพรวมของงบประมาณทีใ่ ช้ในการบำรุงรักษาสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่งในช่วง 6 ปีหลังสุด ทำให้ทราบถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้น และ นำไปสกู่ ารกำหนดแนวทางการบรหิ ารงบประมาณท่ีมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ในอนาคต สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-81

บทท่ี 6 การวเิ คราะห์ประเมนิ ศกั ยภาพของสถานีขนส่งสนิ คา้

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) บทท่ี 6 การวิเคราะหป์ ระเมินศักยภาพของสถานีขนสง่ สินค้า 6.1 แนวทางการวเิ คราะหป์ ระเมินศักยภาพ พฤติกรรมการขนส่งและลักษณะการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า เป็นผลลัพธ์จากการประสมประสาน ของอิทธิพลจากปัจจัยแวดล้อมท้ังท่ีเป็นปัจจัยภายในและภายนอกของแต่ละสถานี ขนส่งสินค้า จึงมีผลให้ในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบก ท้ัง 3 แห่ง มีลักษณะการใช้งาน และสถานการณ์ทแี่ ตกต่างกนั ไปดงั ท่ีทราบกัน ท้ังนี้ ปัจจัยแวดล้อมซ่ึงเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการใช้งานของสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งตั้งแต่ เริ่มเปิดดำเนินการสถานีขนส่งสินค้าจนถึงปัจจุบัน สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ ทำเลท่ีต้ัง กายภาพและการออกแบบ และลักษณะทางเศรษฐกิจ ดังนั้นในการทำความเข้าใจถึงที่มาของ พฤตกิ รรมการขนส่งและลักษณะการใชง้ านสถานีขนส่งสนิ ค้าในปจั จุบนั ของแต่ละสถานีขนส่งสนิ ค้า จึงจำเป็นจะต้องเริ่มตน้ ท่ีการทำความเข้าใจในปัจจยั แวดลอ้ มทั้ง 3 กลุ่มที่ได้กล่าวไป ตลอดระยะเวลา ทผ่ี ่านมาจนถงึ ปัจจบุ ัน นอกจากนี้ เพ่ือให้สามารถประเมินศักยภาพและรวมถึงคาดการณ์สถานการณ์หรือส่ิงท่ีอาจเกิดข้ึน ในอนาคตของแต่ละสถานีขนส่งสินค้าได้อย่างแม่นยำ จึงจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจและประเมิน ความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลงและความเปลี่ยนไปของตัวแปรในแต่ละกลุ่มในอนาคตว่าปัจจัย ใดจะมีโอกาสในการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใดและการเปล่ียนแปลงจะเป็ นไปในลักษณะใดใน รปู แบบของการประเมินความเส่ยี ง (Risk Assessment) สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแวดล้อมและพฤติกรรมการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า และ แนวทางการประเมินศักยภาพและรวมถึงคาดการณ์สถานการณ์หรือส่ิงทอ่ี าจเกิดขึ้นในอนาคตของ สถานีขนสง่ สนิ คา้ แต่ละแห่ง แสดงในรูปแบบโครงสร้างความสมั พันธด์ ังแสดงในรูปท่ี 6.1-1 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-1

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 6.1-1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งปจั จัยแวดล้อมและพฤติกรรมการใช้งานสถานีขนส่งสินคา้ จากรูปท่ี 6.1-1 จะเห็นได้ว่าปัจจัยแวดล้อมหลัก 3 มิติ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการใช้งานสถานี ขนส่งสินค้าในปัจจุบันอย่างชัดเจน โดยปัจจัยภายในแต่ละมิติแสดงในรูปท่ี 6.2-2 และมีประเด็น และขอ้ สงั เกตจากการวเิ คราะห์ทีส่ ำคญั ดงั ต่อไปน้ี รปู ที่ 6.1-2 ปัจจยั แวดล้อมท่ีมีผลต่อพฤตกิ รรมการใชง้ านสถานีขนสง่ สินคา้ ในปจั จบุ นั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 6-2

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 6.2 มิติด้านทำเลทีต่ ั้ง ทำเลที่ตั้งของสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งได้รับการกำหนดและคัดเลือกบนพื้นฐานของแนวคิด การพัฒนา ผังเมือง ลักษณะการกระจายตัวของชุมชนเมือง และปจั จัยเกีย่ วเน่ืองในอดีต และแมว้ ่า ตำแหน่งที่ตั้งของสถานีขนส่งสินค้าจะคงที่และไม่ได้เปล่ียนแปลงตามเวลา แต่ปัจจัยอ่ืนๆ ไม่ว่า จะเป็นนโยบายการพัฒนาเมือง ผังเมือง การกระจายตัวของชุมชนเมือง และตำแหน่งของผู้ผลิตสินค้า รวมถึงต้นทางปลายทางของสินค้ากลับมีการเปล่ียนแปลงไปตลอดเวลา สำหรับผลการวิเคราะห์ ในแตล่ ะประเด็น สรุปไดด้ ังนี้ • ตำแหนง่ ที่ตง้ั ในชมุ ชนและเมือง จากการทบทวนข้อมูลผังเมืองและชุมชนเมืองในอดีตพบว่าหลักคิดสำคัญของการจัดวาง ตำแหน่งสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งนั้น ได้แก่ การเลือกพื้นท่ีบริเวณชานเมืองซึ่งมีระยะห่าง (Offset) จากชายขอบของชุมชนชานเมืองกรุงเทพมหานครประมาณ 20 กิโลเมตร ซ่ึงถือเป็น ระยะท่ีเหมาะสมในการทำกิจกรรมการขนส่งโลจิสติกส์เน่ืองจากการเข้าถึงจากโครงข่าย ถนนระหว่างเมืองทำได้โดยง่ายและการขนส่งสินค้าโดยรถบรรทุกขนาดใหญ่ไม่กระทบหรือ ถูกกระทบโดยกระแสจราจรของยานพาหนะส่วนบุคคลมากนัก ขณะเดียวกันยังอยู่ใน ระยะทางท่ีไม่ห่างไกลจากชุมชนเมืองและแหล่งผลิตสินค้าจนเกินไป แต่ในปัจจุบันชุมชน เมืองมีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองจนประชิดสถานีขนส่งสินค้า ยกตัวอย่างเช่นสถานีขนส่ง สินคา้ พทุ ธมณฑล ซ่ึงปจั จุบันมีชมุ ชนและย่านท่ีพักอาศยั เกดิ ขน้ึ โดยรอบ ขณะทสี่ ถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า การมีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเกิดข้ึนประกอบกับการมีอยู่ของ ICD ลาดกระบัง และนิคมอุตสาหกรรมโดยรอบ ส่งผลให้บริเวณดังกล่าวกลายเป็นพ้ืนที่ กิจกรรมขนส่งโลจิสติกส์ระหว่างประเทศท่ีมีความหนาแน่นสูง ตรงข้ามกับสถานีขนส่ง สินคา้ คลองหลวงซง่ึ พบว่าการเตบิ โตของชุมชนเมืองและแหลง่ อุตสาหกรรมโดยรอบเปน็ ไป อยา่ งค่อนขา้ งชา้ เมื่อเทยี บกับสถานขี นสง่ สนิ ค้าอีก 2 แหง่ • ตำแหน่งของสนิ ค้า ตำแหน่งของสินค้ามีผลต่อการใช้งานของสถานีขนส่งสินค้าโดยตรง และตำแหน่งของ สินค้ายังรวมถึงประเภทของสินค้าอีกด้วย จากการศึกษาพบว่าสินค้าสามารถแบ่งตาม ลักษณะการผลิตได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ สินค้าอุตสาหกรรมท่ีมีการผลิตเป็นปริมาณมากๆ และส่วนหน่ึงเป็นการผลิตเพื่อส่งออกหรือป้อนวัตถุดิบไปยังอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ ขณะท่ีอีกกลุ่มเป็นการผลิตสินค้าเพื่อการอุปโภคบริโภคเป็นหลักและมีฐานลูกค้า ภายในประเทศในระดับที่มีนัยสำคัญต่อธุรกิจ ซึ่งสินค้า 2 กลุ่มนี้จะมีความต้องการใช้งาน สถานีขนสง่ สินค้าในลกั ษณะที่แตกต่างกัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าแม้สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า และสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะอยู่ไม่ห่างไกลจากฐานการผลิตและนิคมอุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-3

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ขนาดใหญ่ แต่กลับมีการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าในกิจกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับนิคมอุตสาหกรรม คอ่ นข้างน้อย หรือหากเป็นการใช้งานที่เก่ียวเน่ืองกับอตุ สาหกรรมจะเปน็ การพกั และกองเก็บ สินค้าเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะแตกต่างจากกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลซึ่งกลุ่มสินค้า และผู้ผลิตสินค้าในบริเวณกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันตก อำเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ และจังหวัดนครปฐมน้ัน จะเป็นกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเพื่อการอุปโภคบริโภค เป็นหลักและมีกลมุ่ ผู้บรโิ ภคภายในประเทศเป็นฐานลกู คา้ หลัก • การเขา้ ถึงและโครงข่ายคมนาคม สถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งมีการคัดเลือกพื้นท่ีให้ต้ังประชิดกับโครงข่ายถนนสายหลักทั้งส้ิน โดยสถานีขนสง่ สนิ ค้ารม่ เกล้าตั้งอยู่ประชิดทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย)์ ฝั่งขาออก สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงต้ังอยู่ประชิดทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ถนนกาญจนาภิเษก ฝง่ั ตะวันออก) ฝั่งขาออก และสถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑลตง้ั อยปู่ ระชดิ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนน)ี ฝ่งั ขาเข้า ซึง่ ถือวา่ เปน็ โครงขา่ ยถนนสายหลักในการเดินทาง ออกจากกรุงเทพมหานคร ไปยังภูมิภาคต่างๆ ได้โดยสะดวก อย่างไรก็ดีในกรณีของสถานี ขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑลในปัจจุบนั จะมีข้อจำกัดดา้ นการจราจรมากกว่าอกี 2 สถานีขนสง่ สินค้า เน่ืองจากถนนบรมราชชนนนี ้ันไม่ใช่ทางหลวงพิเศษ จึงมีปริมาณจราจรท้องถนิ่ (Local Traffic) ในปรมิ าณมาก นอกจากนีเ้ ม่ือพจิ ารณาจากแผนงานโครงการของกรมทางหลวงในอนาคตจะพบว่า ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองท้ัง 2 เส้น (หมายเลข 7 และ 9) อยู่ในแผนการต่อขยายไปยัง ภูมิภาคอย่างต่อเน่ือง จึงถือว่ามีศักยภาพในระยะยาว เช่นในอนาคตเมื่อทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองบางปะอิน-นครราชสีมาแล้วเสร็จจะสามารถลดระยะเวลาการเดินทางจาก สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้อย่างมนี ัยสำคญั ขณะที่ใน กรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลน้ัน ไม่อยู่ในแผนงานหลักของการพัฒนาทางหลวง พเิ ศษระหว่างเมือง (ปัจจุบนั กรมทางหลวงอยู่ระหว่างดำเนินโครงการพฒั นาทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองบางใหญ่-กาญจนบุรี และทางยกระดับพระราม 2) ดังนั้นในอนาคตการจราจร ถนนบรมราชชนนีอาจส่งผลให้การใช้งานสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีข้อจำกัดหรือ มีอุปสรรคเพ่มิ มากยิง่ ขึ้นกว่าในปัจจุบัน • กิจกรรมและชมุ ชนโดยรอบ ดงั ท่ีกล่าวไปบางส่วนแล้วในประเด็นการวเิ คราะห์เร่ืองตำแหนง่ ในชุมชนและเมือง จะเห็น ได้วา่ สถานีขนสง่ สินค้าแต่ละแห่งมบี ริบทของกิจกรรมและชุมชนโดยรอบแตกต่างกันอย่าง ชัดเจน โดยในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลนั้นพบว่าได้รับผลกระทบจากการ เติบโตของชุมชนเมืองโดยรอบอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการจราจรบริเวณทางเข้าออก สะพานกลับรถ และรวมถึงการท่ีหน่วยงานระดับท้องถิ่นประสานขอใช้สถานีขนส่งสินค้า สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-4

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) เป็นเส้นทางสาธารณะสำหรับชุมชนในบางช่วงเวลา ขณะที่สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แม้จะไม่มีผลกระทบกับชุมชนท่ีอยอู่ าศัยโดยรอบมากนัก แต่พบว่ามปี ัญหาจากการเติบโต ของอุตสาหกรรมการขนส่งในบริเวณโดยรอบ ส่งผลให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดของ รถบรรทุกขนาดใหญ่ สำหรับในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะมีความแตกต่าง ออกไปโดยไม่พบปัญหาด้านการจราจรมากนัก แต่เนื่องจากสถานีขนส่งสินค้าถูกใช้เป็น ท่ีตั้งของสำนักงานขนส่งจังหวัดปทุมธานีสาขาคลองหลวง จึงมีบุคคลและยวดยานขนาดเล็ก จากภายนอกเขา้ ใช้สถานีขนส่งสินค้าเป็นจำนวนมาก 6.3 มิติด้านกายภาพและการออกแบบ กายภาพและการออกแบบของสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง เร่ิมต้นจากหลักคิดพ้ืนฐานเดียวกัน อย่างไรก็ดี ด้วยสภาพทางภูมปิ ระเทศ ชั้นดิน รวมถึงปัจจยั ด้านตำแหน่งที่ต้ังดังที่กล่าวไป ส่งผลให้ การใช้งานสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันไป นอกจากน้ีเวลาท่ีเปลี่ยนแปลงไปยัง ส่งผลต่อสภาพทางกายภาพของสถานีขนส่งสินค้าที่แตกต่างกันไปในแต่ละพ้ืนที่ สำหรับผลการ วิคราะห์ในแต่ละประเดน็ สรุปได้ดังน้ี • การออกแบบสถานีขนส่งสนิ คา้ องค์ประกอบ และอาคารภายในสถานีขนสง่ สินคา้ จากการทบทวนข้อมูลการศกึ ษาในอดีตทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง พบว่าหลักคิดสำคญั ของการออกแบบ ได้แก่ การมุ่งหวังให้สถานีขนส่งสินค้าทำหน้าท่ีรวบรวม และกระจายสินค้าในลักษณะท่ีไม่มีการพักและกองเก็บสินค้า (เรียกว่า Cross-Dock Depot หรือ Stockless Depot) โดยมุ่งหวังให้สินค้าจากแหล่งสินค้าต้นทางขนส่งมายัง ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ ภายในสถานขี นสง่ สินค้าและการขนถ่ายขึน้ รถบรรทุกระยะทางไกล เพื่อส่งไปยังจังหวัดหรือสถานีขนส่งสินค้าปลายทางในภูมิภาคอย่างรวดเร็ว (ภายในระยะเวลา ไม่เกิน 12-24 ช่ัวโมง) หรือในทางกลับกัน ได้แก่การรับสินค้าจากภูมิภาคซึ่งมาด้วยรถบรรทุก ระยะทางไกลและผ่านสถานีขนส่งสินค้ากระจายต่อสู่ปลายทางในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จึงเห็นได้ว่าชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ ได้ถกู ออกแบบให้มีความกวา้ งไม่มากนัก เม่ือเทียบกับความยาวของชานชาลา และไม่มีพื้นที่สำหรับพักและกองเก็บสินค้าขนาดใหญ่ แตกต่างจากการออกแบบศูนยก์ ระจายสินค้า (Distribution Depot) สำหรับกรณีที่สินค้า บางส่วนจำเป็นต้องมีการพักหรือกองเก็บให้ย้ายสินค้ากลุ่มนั้นไปยังคลังสินค้า ทุกสถานี ขนส่งสินค้าจึงมีการออกแบบให้มีอาคารคลังสินค้าไว้จำนวนหน่ึง แต่ด้วยการพักสินค้าไม่ใช่ วัตถุประสงค์หลักของสถานีขนส่งสินค้าจึงมีการเตรียมพื้นที่คลังสินค้าไว้ไม่มากนักเมื่อ เทยี บกับชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 6-5

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) อย่างไรก็ดีจากการเปิดดำเนินการของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งมากว่า 20 ปี จะเห็นได้ว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลเป็นเพียงสถานีขนส่งสินค้าเดียวท่ีมีการใช้งานใกล้เคียงหรือ เป็นไปตามวัตถุประสงค์หลักของการออกแบบ ขณะท่ีสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงเป็น สถานีขนส่งสินค้าท่ีพบว่ามีการใช้งานไม่เป็นไปตามการออกแบบสูงสุด ซ่ึงแน่นอนว่าการ ออกแบบอาจเป็นประเด็นปลายทางอันเป็นผลมาจากตำแหน่งและลักษณะของสินค้าใน พื้นท่ีโดยรอบสถานีขนส่งสินค้าเป็นหลัก แต่กระน้ันก็ตามในการออกแบบและปรับปรุง สถานขี นสง่ สนิ คา้ ในอนาคตจึงจำเป็นต้องนำบทเรียนจากในอดีตมาพิจารณาควบคกู่ นั ไปดว้ ย หนึ่งตัวอย่างของปัญหาท่ีเกิดในปัจจุบันอันเป็นผลการออกแบบในอดีตที่ไม่สอดรับกับ สภาพปัจจุบัน ไดแ้ ก่ ปญั หาสัตว์ไม่พึงประสงค์ภายในอาคาร โดยเฉพาะปญั หาจากนกและ มลู นก โดยในอดตี ปัญหาเหล่านีอ้ าจไมไ่ ด้รบั การพิจารณาเป็นประเด็นใหญ่อันเน่ืองมาจาก ในขณะน้ันการขนส่งสินค้ายังไม่มีมาตรฐานและการกำกับควบคุมการดำเนินการท่ีรัดกุม เช่นในปัจจุบัน ยกตัวอยา่ งเช่นปัญหาจากนกและมูลนกส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ประกอบการ ขนส่งสนิ ค้าอุปโภคบริโภคโดยเฉพาะสินคา้ ประเภทอาหารที่ต้องมีการควบคมุ คณุ ภาพตาม มาตรฐานด้านสขุ อนามัย อีกหนึ่งตัวอย่างของปัญหาท่ีพบในปัจจุบันได้แก่ขนาดของรถบรรทุกท่ีเปลี่ยนแปลงไป มคี วามสูงต่ำของกระบะท้ายและความยาวตัวรถที่แตกต่างจากรถบรรทุกในอดีต ส่งผลให้ เกิดความลำบากในการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบันซ่ึงไม่มีการติดต้ังระบบปรับ ระดบั ชานชาลา (Dock Leveller) • สภาพและความพร้อมใช้งานของตวั อาคาร ด้วยอาคารสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งมีอายุการใช้งานมากว่า 20 ปี ความเสื่อมสภาพ ของตัวอาคารจึงเป็นสิ่งท่ีพบเห็นได้ทั่วไป ท้ังน้ีจากการสำรวจพบว่าในส่วนของโครงสร้าง หลกั เชน่ เสา คาน และโครงหลังคา ยงั อยู่ในสภาพที่ดี ม่ันคงแข็งแรง และสามารถรองรับ การใช้งานได้อีกหลายปี แต่ปัญหาท่ีพบมากท่ีสุดภายในอาคารได้แก่ระบบไฟฟ้า สายไฟ สวิทช์ไฟ ท่ีควรได้รับการปรับปรุงเนื่องจากเป็นระบบที่หากเกิดความเสียหายอาจส่งผลให้ เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานรวมถึงเป็นสาเหตุของการเกิดเพลิงไหม้ได้ นอกจากน้ีอีกปัญหาที่ พบได้ในแทบทุกอาคารได้แก่ปัญหาฝ้าเพดานและผนังชำรุดซ่ึงถือเป็นปัญหาที่ไม่ร้ายแรง เทา่ ระบบไฟฟ้าแตก่ ็ควรได้รบั การปรบั ปรงุ ให้อยู่ในสภาพดีเช่นกนั อีกหน่ึงปัญหาท่ีพบได้ทั่วไปโดยเฉพาะสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าและบางส่วนของสถานี ขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง ไดแ้ ก่ การทรุดตวั ของลานจอดรถเทยี บชานชาลา โดยเฉพาะสถานี ขนส่งสินค้าร่มเกล้าซึ่งมีการทรุดตัวในบางตำแหน่งเกินกว่า 50 เซนติเมตร ปัญหานี้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-6

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ไม่ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรง แต่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของผู้ใช้งานสถานี ขนส่งสินคา้ • ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปโภคของสถานีขนส่งสินค้าประกอบด้วยระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าสอ่ งสว่าง ระบบประปา ระบบระบายน้ำ การกำจัดขยะ และระบบสื่อสารซ่ึงรวมถึงระบบอินเทอร์เน็ต ภายในสถานีขนส่งสินค้า จากการสำรวจพบว่าระบบต่างๆ เหล่านี้มีการเสื่อมสภาพไป ตามกาลเวลา ระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสารซง่ึ รวมถงึ ระบบอินเทอร์เน็ตเปน็ ระบบสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน ที่มจี ำเป็นในปัจจุบัน แต่เน่ืองจากสถานีขนส่งสินค้ามีการกอ่ สร้างโดยระบบเดินสายไฟฟ้า ใต้ดินทำให้การซ่อมบำรุงหรือบำรุงรักษาทำได้ค่อนข้างยาก อย่างไรก็ดีการเดินสายไฟฟ้าใต้ ดนิ มคี วามเหมาะสมกับสถานีขนส่งสินคา้ ทัง้ ในด้านการใช้งานและความสวยงามของภูมิทัศน์ ระบบประปาเป็นระบบที่มีข้อสังเกตจากผู้ใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าค่อนข้างมาก โดยใน แต่ละสถานีขนส่งสินค้ามีลักษณะของปัญหาท่ีแตกต่างกันไป เช่น สถานีขนส่งสินค้า พุทธมณฑลมีปัญหาเร่ืองน้ำประปาไม่เพียงพออันเป็นผลจากปริมาณการใช้งาน สถานี ขนสง่ สินค้าในปจั จุบันและการมกี ารก่อสร้างชานชาลาอเนกประสงค์ในช่วงไม่กป่ี ีที่ผ่านมา ขณะท่ีสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าไม่มีปัญหาเรื่องความ ไม่เพียงพอของน้ำประปาแต่พบปัญหาจากน้ำประปาซึ่งไม่สะอาดและปัญหาจากระบบ จ่ายนำ้ ประปาเป็นหลกั การจัดการขยะแม้จะไม่ใช่ผลกระทบทางตรงจากการออกแบบและกายภาพของ สถานี ขนส่งสินค้าแต่กเ็ ปน็ อีกหน่ึงปัญหาที่สำคัญ โดยเฉพาะในสถานขี นส่งสินคา้ ที่มีปริมาณการ ใชง้ านสถานีขนส่งสินค้าสงู เชน่ สถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล • อปุ กรณ์/ส่ิงอำนวยความสะดวก โดยส่วนใหญ่อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวกเป็นสิ่งที่เอกชนผู้เช่าใช้สถานีขนส่งสินค้า จะเป็นผู้จัดหาเพ่ือใช้งานในกิจการของตน อย่างไรก็ดีอุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก บางประเภทมีราคาสูงและและผู้ประกอบการขนส่งหลายรายสามารถใช้งานร่วมกันได้ ควรต้องมีการปรับปรุงหรือซ่อมบำรุงให้อยู่ในสภาพที่ดี เช่น เคร่ืองชั่งน้ำหนัก พ้ืนท่ีซ่อม บำรุงและทำความสะอาดรถบรรทุก เป็นต้น อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกเหล่านี้ เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบของสถานีขนส่งสินค้าที่จะกระตุ้นให้เอกชนมีความสนใจในการ เลือกใช้บริการสถานขี นสง่ สินค้าของกรมการขนส่งทางบก มากยิง่ ข้ึน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 6-7

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 6.4 มติ ิด้านเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจทั้งในระดับมหภาคและระดับอนุภาคถือเป็นปัจจัยที่มีผลอย่างยิ่งต่อปริมาณการใช้ งานสถานีขนส่งสนิ คา้ เป็นอย่างยิง่ สำหรับผลการวิเคราะห์ในแต่ละประเด็นสรปุ ไดด้ ังน้ี • เศรษฐกิจระดับมหภาค สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง เปิดให้บริการในช่วงส้ินสุดวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง ส่งผลให้ ในระยะแรกสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยนั้นยังอยู่ในระดับที่ไม่ดีนัก อย่างไรก็ดี เมื่อเวลาผ่านไปสภาพเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวอย่างต่อเน่ือง เป็นผลให้ใน ระยะ 10 ปีต่อมาเกิดการลงทุน มีความต้องการในการขนส่งสินค้ามากย่ิงขึ้น ส่งผลให้เกิด การเช่าใช้งานพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าท้ัง 3 แห่งเพ่มิ มากข้ึนอย่างต่อเน่ือง อยา่ งไรก็ดี ต้ังแต่ต้นปี 2563 เป็นต้นมา ได้เกิดการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งส่งผลกระทบ โดยตรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ กำลังซื้อและความต้องการสินค้าลดลง ซึ่งสถานการณ์ ยังคาดว่าจะเป็นไปในลักษณะน้ีอีกระยะหนงึ่ • ภาคธรุ กิจการขนส่งสนิ คา้ แม้ในภาพรวมเศรษฐกิจระดับมหภาคจะมีทั้งช่วงขาข้ึนและชะลอตัว อย่างไรก็ดีธุรกิจ การขนส่งสินค้ามีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากพฤติกรรมและความต้องการของ ผู้บริโภคท่ีเปล่ียนไป ดังจะเห็นได้ว่าในระยะหลายปีท่ีผ่านมารูปแบบการเข้าถึงสินค้าของ ผบู้ ริโภคนั้นมีความเปลี่ยนแปลงไปมาก การส่ังซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ การขนส่งที่ ตอ้ งการความรวดเร็วมากกว่าการควบคมุ ราคาค่าขนส่ง การขนส่งสินค้าไปยังร้านค้าปลายทาง ซึง่ มีลักษณะเป็นการขนส่งคร้ังละน้อยชิ้นเพ่ือลดต้นทุนค่ากองเกบ็ สินค้าและบรหิ ารสต็อก สินค้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ล้วนแล้วแต่มีผลให้พฤติกรรมการขนส่งสินค้าเปล่ียนแปลง ไปอย่างมาก แม้กระท้ังในช่วงท่ีมีการระบาดของไวรัส COVID-19 การขนส่งสินค้าก็ยัง เป็นไปอย่างต่อเน่ืองในระดับหน่ึง แตกต่างจากธุรกิจประเภทอื่นๆ ดังน้ันในเชิงสถานการณ์ ของภาคธุรกิจการขนส่งสินค้ายังถือว่าอยู่ในระดับที่ม่ันคงและเติบโตได้ แต่ประเด็นท่ี สำคัญได้แก่ลักษณะของการขนส่งทเ่ี ปล่ียนแปลงไป ซึ่งจะมีผลกระทบถือพฤติกรรมการใช้ งานสถานขี นส่งสินค้า และความเหมาะสมของโครงสรา้ งพื้นฐานท่ีมีในสถานีขนส่งสินค้าที่ จะสามารถตอบโจทยผ์ ู้ประกอบการขนส่งไดม้ ากขนึ้ หรือนอ้ ยลงเพยี งใด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 6-8

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • ผผู้ ลติ สินคา้ และพฤตกิ รรมการผลิตสนิ คา้ ในชว่ ง 20-30 ปีท่ผี า่ นมาพฤติกรรมของผผู้ ลิตสินค้าและการผลติ สินค้าภายในประเทศไทย มีความเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก จากเดิมที่ส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ กลายเป็นการผลิตเพ่ือส่งออกต่างประเทศมากย่ิงข้ึน ในทางกลับกันสินค้าหลายประเภท ซ่ึงเคยผลิตภายในประเทศกลับถูกแข่งขันโดยสินค้านำเข้าจากประเทศ นอกจากนี้ผู้ผลิต สนิ ค้าเองก็เริ่มช่องทางใหม่ๆ ในการขายสินค้า เช่น การฝากขายสินค้าผ่านช่องทางร้านค้า ออนไลน์ ประกอบกับเทคโนโลยีการจัดการข้อมูลและบริหารสต็อก ทำให้พฤติกรรม การขนส่งสินค้ามีลักษณะที่แตกต่างไปจากอดีต เช่น ขนส่งสินค้าจากโรงงานไปยังศูนย์ กระจายสินค้าของเอกชนเจ้าของช่องทางออนไลน์และให้เอกชนรายดังกล่าวเป็น ผู้รับผิดชอบการจัดส่งสินค้าตามรายการใบคำส่ังซ้ือ หรือการรับคำสั่งซ้ือจากร้านค้า ออนไลน์แล้วให้โรงงานจัดส่งสินค้าตรงไปยังปลายทางโดยใช้บริการขนส่งพัสดุภัณฑ์ที่มี จำนวนมากในปัจจุบัน ประเด็นเหล่าน้ีมีผลกระทบโดยตรงต่อความต้องการใช้งาน ผู้ประกอบการขนส่งและการใชง้ านสถานีขนส่งสินคา้ ของกรมการขนสง่ ทางบก • ผูบ้ ริโภคและพฤติกรรมการบรโิ ภคสนิ คา้ ดงั ท่ีกล่าวไปแล้วในสว่ นของภาคธรุ กิจการขนส่งสินค้าและผู้ผลิตสินค้าและพฤติกรรมการ ขนส่งสินค้า โดยพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นอีกส่วนสำคัญซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของ ผู้ผลิตและรวมถึงเกี่ยวโยงไปยังสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของทั้งภาคการขนส่งสินค้าและ เศรษฐกิจมหภาค ทั้งนี้พฤติกรรมของผู้บริโภคในช่วงทศวรรษท่ี 90 ถึงช่วงระยะ 10 ปีที่ ผ่านมา (ช่วงระหว่างปี 2533-2553) เป็นยุคทองของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ (ท่ีมักเรียกว่า Modern Trade ในปัจจุบัน) โดยผู้บริโภคจำนวนมากหันมาซ้ือสินค้าอุปโภคบริโภคตาม ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่เหล่านี้ การเพิ่มจำนวนของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่นี้เองส่งผลให้มี ความต้องการสถานีขนส่งสินค้าที่ออกแบบเป็นชานชาลาขนถ่ายสินค้าแบบไม่มีการกองเก็บ (Cross-Dock Depot) ในลักษณะที่มีการออกแบบไว้ในสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง อย่างไรก็ดีหลังจากการค้าปลีกออนไลน์ (หรือท่ีเรียกว่า B2C) เป็นท่ีนิยมมากขึ้นอย่าง ต่อเน่ืองในระยะ 5-10 ปีหลังน้ี ส่งผลให้การขนส่งในลักษณะเช่นทศวรรษ 90 เริ่มลด บทบาทลง ขณะที่การขนส่งสินค้าจากผู้ผลติ หรือศูนย์กระจายสินค้าตามคำสั่งซื้อปลีกเพ่ิม มากข้ึน เม่ือประเมินความเป็นไปได้ในอนาคตระยะ 10 ปี แนวโน้มการซ้ือสินค้าปลีก ออนไลน์จะเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ืองและอาจกระทบต่อการขนส่งสินค้าแบบดังเดิมบางส่วน แต่การขนส่งแบบด้ังเดิมก็ยังคงจะมีอยู่ต่อไป สำหรับในส่วนของการขนส่งรูปแบบใหม่เพ่ือ รองรับการค้าในลักษณะ B2C น้ัน พบว่ามคี วามสอดคลอ้ งกับลักษณะการออกแบบอาคาร ในลักษณะชานชาลาอเนกประสงคซ์ งึ่ มีอยใู่ นสถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑลเพยี งแหง่ เดียว สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-9

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • การแขง่ ขนั ทางธุรกจิ ของสถานขี นส่งสินค้า ทผ่ี ่านมาสถานีขนส่งสินค้าของ กรมการขนส่งทางบก มีความได้เปรียบในเรื่องอัตราคา่ เช่า ใช้พื้น ที่ซึ่งถือว่าต่ำกว่าราคาตลาดของการเช่าใช้ สถานีขนส่งสินค้า หรือคลังสินค้าของ เอกชน อย่างไรก็ดีในปัจจุบัน กรมการขนส่งทางบก ได้มีการปรับราคาค่าเช่าใช้สถานี ขนส่งสินค้าขึ้นมาอยู่ในระดับมีความแตกต่างจากราคาค่าเช่าใช้สถานีขนส่งสินค้าหรือ คลังสินค้าของเอกชนไม่มากนัก จึงทำให้เกิดการแข่งขันท่ีสูงข้ึน นอกจากนี้ผู้เช่าใช้สถานี ขนส่งสินค้าของ กรมการขนส่งทางบก หลายรายเม่ือมีการเช่าใช้สถานีขนส่งสินค้าเป็นระยะ เวลานาน หรือมีปริมาณสินค้าเพ่ิมมากขึ้นก็จะหันไปลงทุนในการสร้างสถานีขนส่งสินค้าหรือ คลังสนิ คา้ เองเพื่อลดต้นทุนค่าเช่าใช้และเพ่ิมสินทรัพย์ภายในบรษิ ัทอีกทางหนึ่ง จึงทำใหใ้ น หลายปีที่ผา่ นมามีผู้เช่าใช้สถานีขนสง่ สินค้าบางส่วนยกเลิกการเช่าใช้ โดยปัญหาลกั ษณะน้ี จะพบได้ที่สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเน่ืองจากท้ัง 2 แห่งนี้ มีการเช่าใช้งานสถานีขนส่งสินค้าเพ่ือเป็นพื้นท่ีพักและกองเก็บสินค้ามากกว่าการใช้งาน เป็นชานชาลาขนถ่ายสินค้า ซ่ึงจะแตกต่างจากสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลท่ีมีการใช้งาน ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ ในลักษณะเปน็ การผ่านสนิ คา้ โดยไม่มีการกองเกบ็ จากปัจจัยต่างๆ ที่ได้มีการวิเคราะห์ดังท่ีกล่าวไปแล้วนั้น จะส่งผลโดยตรงต่อพฤติกรรมการใช้งาน สถานีขนสง่ สนิ ค้าแตล่ ะแห่งในปจั จบุ นั โดยจำแนกไดค้ ุณลกั ษณะหลัก 6 ด้าน ดงั แสดงในรปู ท่ี 6.4-1 รปู ท่ี 6.4-1 พฤติกรรมการใชง้ านสถานีขนสง่ สินคา้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 6-10

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 6.5 สรุปผลการวิเคราะห์ประเมินศกั ยภาพของสถานขี นส่งสินค้า 3 แห่งในปัจจุบัน จากการวิเคราะหป์ ัจจยั แวดล้อมท้งั 3 มิติทก่ี ล่าวไป ประกอบกับรายการปัญหาต่างๆ ท่ีพบจากการ สำรวจกายภาพ การเก็บข้อมูลจากผ้ใู ชบ้ ริการสถานีขนส่งสินคา้ และการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ งานสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง สามารถสรุปประเด็นและคุณลักษณะสำคัญของการใช้งานแต่ละ สถานีขนส่งสินค้า รวมถึงผลการประเมินจุดแข็งจุดอ่อนโอกาสและอุปสรรค (SWOT) ที่อาจเกิด ข้นึ กับสถานขี นสง่ สินคา้ สำหรบั สถานขี นส่งสนิ คา้ แตล่ ะแหง่ ไดด้ ังแสดงในตารางที่ 6.5-1 ตารางที่ 6.5-1 สรปุ พฤติกรรมการใช้งานสถานขี นส่งสนิ ค้า ประเดน็ สถานขี นส่งสนิ คา้ สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า สรปุ ประเด็นจากการวเิ คราะหป์ จั จัยแวดลอ้ มและปญั หาสำคญั ทพ่ี บ มติ ดิ ้านทำเลท่ตี ง้ั - ที่ต้ังมคี วามได้เปรียบในเรอื่ ง - การจราจรและการเข้าออก - ตง้ั อยู่ในย่านกจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส์ การใกล้แหล่งผลติ สินค้าใน สถานีขนส่งสินค้ามีความ และฐานการผลิตทส่ี ำคัญของ กล่มุ ที่ต้องการใช้งานสถานี คล่องตัวที่สุดใน 3 แห่ง ประเทศ ขนส่งสินค้า - แต่เป็นสถานที ีห่ า่ งจากชุมชน - มีการเช่ือมโยงโครงขา่ ยถนน - ปญั หาท่ีสำคญั ไดแ้ ก่ มากทส่ี ุดใน 3 แหง่ และการ สายหลักทด่ี ี การจราจรท้องถิ่นอัน เข้าถึงจากพน้ื ท่ีชมุ ชนของ - อย่างไรก็ดี การผลิตสินคา้ เนื่องมาจากชุมชนโดยรอบท่มี ี กรงุ เทพมหานคร และปรมิ ณฑล และอุตสาหกรรมในบรเิ วณ ลกั ษณะเป็นโซนที่อยอู่ าศัย มีหา้ งสรรพสินค้า และรวมถึง ทำได้ยากกว่าสถานขี นส่งสนิ ค้า โดยรอบอาจไมใ่ ช่ การจราจรบนถนนบรมราช ชนนี อกี 2 แห่ง กลมุ่ เปา้ หมายของสถานี - แมจ้ ะไมห่ า่ งจากแหลง่ ผลติ ขนสง่ สนิ ค้า สนิ คา้ และอตุ สาหกรรมในโซน - การจราจรบรเิ วณทางเข้าออก วงั น้อย-อยธุ ยาฯ มากนัก แต่ สถานีและปรมิ าณรถบรรทุก การผลิตสนิ ค้าและ จาก ICD และยา่ นกองเก็บ อุตสาหกรรมในบรเิ วณโดยรอบ สนิ ค้าเอกชนในบริเวณ ส่วนใหญอ่ าจไม่ใช่ โดยรอบ เป็นอีกหน่ึงปัญหา กลุม่ เป้าหมายของสถานีขนส่ง สำคญั ของสถานีขนส่งสินค้า สนิ ค้า มิตดิ ้านกายภาพและ - การใช้งานสถานีขนส่งสนิ ค้า - อาคารสถานทส่ี ว่ นใหญอ่ ยู่ใน - อาคารสถานทม่ี คี วาม การออกแบบ เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์การ สภาพดี มคี วามชำรดุ เสยี หาย เสอื่ มสภาพมากกว่าสถานี ออกแบบ สภาพอาคาร เพียงเลก็ น้อย ขนสง่ สนิ ค้าอกี 2 แหง่ ของ กรมการขนสง่ ทางบก สถานทอ่ี ยู่ในเกณฑด์ ี - ปัญหาดา้ นสาธารณูปโภคที่ - ปัญหาในดา้ นสาธารณูปโภคที่ สำคญั ได้แกร่ ะบบประปาและ สำคญั คือระบบประปาและ คุณภาพน้ำไมไ่ ด้มาตรฐาน การกำจัดขยะ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 6-11

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 6.5-1 สรปุ พฤติกรรมการใชง้ านสถานขี นสง่ สินค้า (ต่อ) ประเดน็ สถานขี นสง่ สินคา้ สถานขี นสง่ สินคา้ สถานขี นสง่ สินค้า มติ ดิ ้านเศรษฐกจิ พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ - พนื้ ท่สี ำหรบั การขยายตวั - ปัญหาจากสตั ว์ โดยเฉพาะนก - ปัญหาสำคญั ไดแ้ ก่การทรุดตวั ค่อนข้างจำกดั และมูลนก (เนอ่ื งจากผ้เู ช่าใช้ ของผิวจราจรท้ังสถานีขนสง่ งานสถานีขนสง่ สนิ ค้าเป็นพ้ืนที่ สนิ คา้ อันเปน็ ผลมาจาก สำหรบั พักสนิ ค้าอตุ สาหกรรมท่ี ลักษณะของชนั้ ดินในบรเิ วณ ต้องมีการควบคุมตามมาตรฐาน น้นั สุขอนามยั จึงพบปญั หามากกวา่ - ยังคงมีพ้นื ที่ในการขยายตัวใน สถานีขนส่งสินคา้ อืน่ ) อนาคต - ยังคงมพี ืน้ ท่ีในการขยายตวั ใน อนาคต - ลักษณะพฤติกรรมของผ้ผู ลติ - แมใ้ นพ้นื ที่มีเอกชนดำเนิน - ลักษณะพฤตกิ รรมของผผู้ ลติ สนิ ค้าในพื้นที่ใกลเ้ คยี งสถานี ธุรกิจใหเ้ ชา่ คลงั สนิ คา้ และ สินคา้ ในพืน้ ท่ีใกล้เคยี งสถานี ขนสง่ สนิ ค้า และผูบ้ รโิ ภค สถานขี นสง่ สินคา้ ไมม่ ากนัก ขนสง่ สินค้าแตกตา่ งจากสถานี สินค้าท่ีปลายทางของสนิ ค้า แตฐ่ านราคาค่าเช่าของเอกชน ขนส่งสินค้าพทุ ธมณฑล โดย ทำใหก้ ิจกรรมการขนส่งสินค้า ในบริเวณใกลเ้ คยี งถอื ว่าต่ำเมอื่ สินค้าในฝ่ังตะวันออกของ ในสถานีขนส่งสนิ ค้าเตบิ โต เทียบกบั อกี 2 แห่ง จึงทำให้ กรงุ เทพมหานคร มกั เป็นสนิ ค้า และมีความตอ้ งการตอ่ เนอื่ ง สถานขี นสง่ สนิ คา้ มีระดับการ อุตสาหกรรมเกี่ยวเน่ืองการ - มาตรการการใหเ้ อกชนราย แข่งขนั ทส่ี ูง นำเข้าสง่ ออก ย่อยย้ายจากสถานีขนส่ง - เหตุผลสำคญั ของผเู้ ช่าใชง้ าน - ปลายทางของสินค้าในเสน้ ทาง สนิ ค้าพุทธมณฑล สาย 2 มา สถานขี นส่งสินคา้ ได้แก่การใกล้ ตะวันออกมรี ะยะทางไม่ยาวมาก อยูใ่ นสถานขี นสง่ สินคา้ เพ่ิม โรงงานอตุ สาหกรรมตน้ ทาง การรวบรวมและกระจายสินคา้ จำนวนผู้ใช้งานและกจิ กรรม เพ่อื นำสนิ คา้ มาพัก หรือใชเ้ ป็น จงึ เกดิ ข้ึนนอ้ ยกว่า ภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า เพียงจุดพักรถของบรษิ ัท - ในพ้ืนท่มี เี อกชนดำเนินธรุ กจิ ให้ - การแข่งขันทางธุรกิจของ - กลุ่มธุรกิจโดยรอบสถานีขนส่ง เชา่ คลงั สินค้าและสถานีขนสง่ สถานีขนส่งสินคา้ ในภาพรวม สนิ คา้ ไม่เอ้ือใหเ้ กิดการใช้งาน สินคา้ จำนวนมาก โดยเฉพาะ จึงอยู่ในระดบั ที่ไมส่ ูงมากนัก สถานขี นส่งสินค้าในลกั ษณะ คลงั สนิ คา้ แตฐ่ านราคาค่าเชา่ รวบรวมและกระจายสินค้า ของเอกชนในบรเิ วณยงั สงู กวา่ เล็กนอ้ ย สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 6-12

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 6.5-1 สรปุ พฤติกรรมการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า (ตอ่ ) ประเด็น สถานขี นส่งสินค้า สถานขี นสง่ สนิ ค้า สถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกลา้ คณุ ลกั ษณะของพฤตกิ รรมการใชง้ านสถานีขนสง่ สินค้า ความตอ้ งการพืน้ ที่ / - ความตอ้ งการอยู่ในระดบั สงู - ความต้องการอยู่ในระดบั ตำ่ - ความต้องการอยู่ในระดับ การเชา่ ใช้พน้ื ท่ภี ายใน เอกชนที่ใชง้ านสถานีขนส่งสนิ คา้ - สัดส่วนการเช่าใชพ้ น้ื ท่ีในสว่ น ปานกลาง สถานขี นส่งสนิ คา้ ในปัจจุบันยังคงมคี วามต้องการ บริการขนส่งสินคา้ อยใู่ นระดบั ตำ่ - สัดสว่ นการเช่าใช้พ้ืนที่ใน เชา่ พืน้ ที่เพิ่มเตมิ (ถา้ ม)ี - มีการใช้งานสถานีขนสง่ สนิ ค้า สว่ นบรกิ ารขนสง่ สนิ คา้ อยู่ใน - สดั ส่วนการเชา่ ใชพ้ ื้นท่ใี นสว่ น เพอื่ เปน็ จดุ พกั รถและตสู้ ินค้า ระดับปานกลาง บริการขนส่งสินคา้ จงึ อย่ใู น ส่วนหนงึ่ - ยงั คงมีพ้นื ท่ีในส่วนบริการ ระดบั สูงโดยตลอด - มีเอกชนที่เช่าพ้ืนทไี่ มเ่ ต็มอาคาร ขนส่งสินค้าเหลอื ท้ังในส่วน หลายราย แสดงใหเ้ หน็ ถึงความ ของชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า ตอ้ งการพืน้ ทเี่ ชา่ หรืออาคารขนาด และคลงั สินคา้ เลก็ กวา่ ทีม่ ีการออกแบบใน - มีการเช่าใชพ้ ้ืนท่สี ำนกั งาน ปจั จุบนั เพ่อื ใหไ้ ดส้ ทิ ธ์กิ ารนำ รถบรรทุกเข้ามาจอดพัก ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ ซ่ึง ถอื ว่าผิดวตั ถุประสงค์การ ออกแบบสถานีขนส่งสนิ ค้า เปน็ อย่างยิ่ง (ปจั จบุ ัน พฤตกิ รรมดงั กล่าวนม้ี ี แนวโน้มลดลงอนั เนื่องมาจาก กรมการขนส่งทางบก ได้ ดำเนินการแก้ปญั หา ปริมาณสนิ คา้ ผ่าน - มปี รมิ าณสนิ คา้ ผา่ นสถานีขนส่ง - มปี ริมาณสนิ คา้ ผา่ นสถานขี นส่ง - มีปริมาณสินคา้ ผา่ นสถานี สถานขี นส่งสินคา้ สินค้าในระดบั สงู สนิ คา้ ในระดบั ตำ่ ขนสง่ สินค้าในระดบั ปานกลาง ระยะเวลาทส่ี ินคา้ พัก - สนิ คา้ จะมีการพกั อยใู่ นสถานี - สินคา้ จะมีการพกั อยู่ในสถานี - การใชส้ ถานีขนส่งสนิ ค้าแบ่ง หรือคงคา้ งอยู่ในสถานี ขนส่งสนิ ค้าโดยเฉลย่ี ประมาณ ขนส่งสนิ ค้าค่อนข้างนาน (โดย ไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ ได้แก่ ขนส่งสินค้า 12 ชวั่ โมง และส่วนใหญไ่ มเ่ กนิ เฉลยี่ อยรู่ ะดบั สัปดาหห์ รือเกิน - กลมุ่ สนิ คา้ ท่มี ีการรวบรวม (Turnover) 24 ชัว่ โมง กวา่ นนั้ ) และกระจายเช่นเดียวกบั สถานีขนสง่ สนิ ค้าพทุ ธมณฑล ซ่งึ สนิ คา้ ในกลมุ่ น้จี ะมกี ารพัก อยใู่ นสถานขี นส่งสนิ คา้ โดย เฉล่ียไมเ่ กิน 24 ชวั่ โมง - กลมุ่ สนิ คา้ ทม่ี ีการพักเปน็ เวลานานโดยมกี ารใช้งาน สถานีขนสง่ สนิ คา้ ในลักษณะ ของคลงั สนิ ค้า สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 6-13

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 6.5-1 สรปุ พฤตกิ รรมการใช้งานสถานีขนสง่ สินค้า (ต่อ) ประเด็น สถานขี นสง่ สินคา้ สถานขี นส่งสินค้า สถานขี นสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ แหลง่ ต้นทาง-ปลายทาง - ตน้ ทางสว่ นใหญไ่ ดแ้ ก่ - ตน้ ทางสว่ นใหญเ่ ปน็ - ตน้ ทางสว่ นใหญไ่ ด้แก่ ของสนิ คา้ อตุ สาหกรรมท้ังขนาดเลก็ อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมท้งั ขนาดเลก็ กลาง และใหญ่ สว่ นมากอยใู่ น - ปลายทางของสนิ คา้ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กลาง และใหญ่ สว่ นมากอยู่ใน บริเวณทิศตะวันตกและใตข้ อง กลุ่ม โดย บริเวณทศิ ตะวันออกของ กรุงเทพมหานคร และ - กลมุ่ ท่ี 1 ได้แกป่ ลายทาง กรุงเทพมหานคร และจงั หวัด ปรมิ ณฑล คลังสนิ คา้ หรอื ศนู ยก์ ระจาย สมุทรปราการ - ปลายทางของสนิ ค้า สนิ ค้าของเอกชน - สว่ นใหญเ่ ปน็ การขนส่งสนิ ค้า ทั่วประเทศ - กลุ่มที่ 2 ได้แกป่ ลายทาง ไปทางภาคตะวันออกและภาค ด่านพรมแดนทางบกและทา่ เรอื ตะวันออกเฉียงเหนอื และ แหลมฉบงั ภมู ิภาคอ่ืนๆ ของประเทศเปน็ บา้ งสว่ น ประเภทของยานพาหนะท่ี - ส่วนใหญเ่ ปน็ รถกระบะ - รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ รวมถงึ มี - สว่ นใหญ่เปน็ รถบรรทกุ ขนาด เข้าใชส้ ถานขี นสง่ สนิ ค้า รถบรรทุกขนาดกลาง และ การใช้ตสู้ นิ คา้ บางส่วน ใหญ่ และรถบรรทกุ ก่งึ พ่วง รถบรรทุกตอนเดี่ยวขนาดใหญ่ รวมถึงมีการใช้ตสู้ ินค้า - อตั ราสว่ นการใช้รถบรรทกุ ก่ึง พว่ งและตู้สนิ คา้ อยู่ในระดบั ตำ่ ปริมาณคนทเี่ กี่ยวข้อง - มีผ้ปู ฏบิ ตั ิงานและ - มีผปู้ ฏิบตั ิงานและ - มีผู้ปฏิบตั งิ านและ หรอื ปฏบิ ัติงานภายใน บคุ คลภายนอกที่เข้ามาติดตอ่ บคุ คลภายนอกท่ีเขา้ มาตดิ ต่อ บุคคลภายนอกที่เข้ามาตดิ ตอ่ สถานขี นสง่ สินค้า ธุรกรรมภายในสถานขี นสง่ ธุรกรรมภายในสถานขี นส่ง ธรุ กรรมภายในสถานขี นสง่ สินคา้ จำนวนมากในแต่ละวนั สนิ ค้าไม่มากนัก สินคา้ ไม่มากนัก สรปุ คณุ ลกั ษณะของ - ผ้ปู ระกอบการขนสง่ - เจา้ ของสนิ คา้ - ผ้ปู ระกอบการขนสง่ กลุ่มผูเ้ ช่าหลกั ขนาดกลาง - ผปู้ ระกอบการขนส่งขนาดเลก็ ขนาดกลาง - ผปู้ ระกอบการขนส่ง - ผ้ปู ระกอบการขนส่งสนิ คา้ - ผู้ประกอบการขนส่งสนิ คา้ ขนาดเลก็ เก่ยี วเนือ่ งกบั การนำเขา้ สง่ ออก เกย่ี วเนอ่ื งกบั การนำเขา้ - หนว่ ยงานภาครฐั (ตำรวจเชา่ สง่ ออก เก็บของกลาง) สรปุ คุณลักษณะของการ - การใช้สถานีขนส่งสินค้าแบ่ง - การใช้สถานีขนส่งสินคา้ เกือบ - การใช้สถานีขนสง่ สินคา้ แบง่ ใช้งานสถานขี นส่งสนิ ค้า ได้เปน็ 2 กลุ่ม ได้แก่ ทงั้ หมดเปน็ กิจกรรมการพัก ไดเ้ ปน็ 3 กลุม่ ได้แก่ - การขนส่งในลักษณะการ และกองเกบ็ สนิ ค้า - การขนส่งในลักษณะการ รวบรวมและกระจายสนิ ค้าตาม รวบรวมและกระจายสนิ คา้ แนวคิดการออกแบบตั้งตน้ ของ ตามแนวคิดการออกแบบ สถานีขนสง่ สินค้า (Cross- ตงั้ ต้นของสถานีขนส่งสนิ ค้า Dock/Stockless Depot (Cross-Dock/Stockless Depot) บางส่วน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 6-14

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 6.5-1 สรปุ พฤตกิ รรมการใช้งานสถานขี นส่งสนิ ค้า (ตอ่ ) ประเด็น สถานขี นสง่ สนิ คา้ สถานขี นสง่ สินค้า สถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ - การขนส่งสินคา้ และพัสดุ - - การใช้งานสถานีขนสง่ สินค้า ภัณฑร์ องรบั กจิ กรรมการ เพอื่ พักและกองเกบ็ สนิ ค้า ขนสง่ รูปแบบใหม่ (B2C) - การใช้งานสถานีขนส่งสินค้า ผา่ นชานชาลาอเนกประสงค์ เพ่ือเป็นพ้ืนที่จอดพักรถและ ตู้สินค้า (มแี นวโน้มลดลง) การประเมนิ จดุ แข็งจดุ ออ่ นโอกาสและอปุ สรรค (SWOT) ที่อาจเกิดขนึ้ กับสถานีขนส่งสินคา้ จุดแขง็ (Strengths) - ตำแหนง่ ท่ีต้ังใกล้แหลง่ ผลติ - การเข้า-ออกระหวา่ งสถานี - ต้ังอยูใ่ นแหลง่ กจิ กรรมการ - กลมุ่ เจา้ ของสนิ ค้ามี ขนสง่ สินค้าและทางหลวงพิเศษ ขนสง่ โลจิสติกส์หลักของ ความคุ้นเคยกับตำแหน่งที่ต้งั หมายเลข 9 (ถนนกาญจนา ประเทศ และยา่ น ของสถานีขนส่งสนิ ค้า ภเิ ษกฝ่งั ตะวันออก) ทำได้ อตุ สาหกรรมหลกั ของ โดยสะดวกท้งั ในฝงั่ ขาเขา้ และ กรงุ เทพมหานคร ขาออก - ยงั คงมพี น้ื ทรี่ องรบั การ - อาคารสถานท่โี ดยรวมยังอยใู่ น ขยายตวั ในอนาคตได้ สภาพทด่ี ี - การเข้า-ออกระหว่างสถานี - ยงั คงมพี นื้ ทร่ี องรับการขยายตัว ขนส่งสนิ ค้าและทางหลวง ในอนาคตได้ มอเตอร์เวยข์ าเข้าทำได้ โดยสะดวก จุดอ่อน (Weaknesses) - พื้นทภ่ี ายในสถานีขนส่งสนิ คา้ - ระยะทางจากชุมชนเมืองของ - ปญั หาการทรุดตวั ของผวิ มีอยู่อยา่ งจำกดั กรงุ เทพมหานคร และแหล่ง จราจรอนั เน่ืองมาจากสภาพ - ปัญหาจากระบบ ผลิตสินค้า ช้นั ดินในบริเวณที่ต้ัง สาธารณปู โภคทม่ี ีอายุมากจึง - ปญั หาจากอาคารและระบบ - ปัญหาจากอาคารและระบบ เกิดการชำรดุ เสยี หาย สาธารณูปโภคที่มีอายมุ ากจึง สาธารณูปโภคทมี่ ีอายมุ ากจึง - ปญั หาจากจำนวนผใู้ ชบ้ ริการ เกดิ การชำรดุ เสยี หาย เกดิ การชำรดุ เสียหาย สถานีขนส่งสนิ คา้ ทีม่ ีมากเกิน - การประชาสัมพันธ์ให้ กวา่ ทร่ี ะบบสาธาณปู โภคจะ ผูป้ ระกอบการขนส่งและ รองรับได้ เจ้าของสินค้าทราบถึงพ้ืนทว่ี า่ ง ของสถานีขนสง่ สนิ ค้า - การท่สี ถานีขนส่งสนิ ค้าเปน็ ทตี่ ัง้ ของสำนกั งานขนสง่ จังหวัด ปทุมธานสี าขาคลองหลวง สง่ ผลให้มยี วดยานขนาดเลก็ จากภายนอกเข้ามาในสถานี ขนสง่ สนิ ค้า เป็นปญั หาตอ่ การ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 6-15

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 6.5-1 สรุปพฤติกรรมการใชง้ านสถานีขนสง่ สินค้า (ตอ่ ) ประเดน็ สถานขี นสง่ สินคา้ สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานขี นส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า - รักษาความปลอดภยั และ อันตรายจากอุบัติเหตุทางถนน ภายในสถานขี นส่งสินค้า โอกาส (Opportunities) - ความตอ้ งการของ - เม่อื ทางหลวงพิเศษระหว่าง - สามารถเช่อื มโยงกจิ กรรมการ ผู้ประกอบการขนสง่ ในพ้ืนที่ เมืองบางปะอิน-นครราชสีมา ขนส่งระหวา่ งประเทศได้ ซ่งึ ยงั มีอยูม่ าก แล้วเสร็จ จะสง่ เสริมใหก้ าร โดยสะดวก ท้ังในภาคการ - นโยบายภาครัฐท่ตี อ้ งการ ขนสง่ ทางถนนระหว่าง ขนสง่ ทางนำ้ ทางราง และ แก้ปญั หาผปู้ ระกอบการ กรุงเทพมหานคร ฝ่ังตะวนั ออก ทางอากาศ ขนส่งบรเิ วณเขตทววี ัฒนา ซึ่ง จงั หวัดปทุมธานี และภาค - ยังคงมีกลมุ่ ธุรกจิ และ ปัจจบุ ันยังมีผู้ประกอบการ ตะวันออกเฉียงเหนอื มีความ ภาคเอกชนในพ้ืนท่ีใกลเ้ คยี ง จำนวนมากท่ียังไมส่ ามารถ สะดวกรวดเรว็ ย่ิงข้ึน ซ่ึงสถานี ท่ีมีศักยภาพในการเปน็ ลกู ค้า ยา้ ยมายังสถานีขนส่งสนิ ค้า ขนสง่ สินค้าคลองหลวงตัง้ อยู่ใน หรอื มาเชา่ ใชส้ ถานีขนส่ง แห่งนี้ได้เนื่องจากข้อจำกดั ตำแหนง่ ทีม่ คี วามได้เปรยี บใน สนิ ค้าได้ ของพ้ืนท่ี ประเดน็ นี้ - การปรบั เปลี่ยนรูปแบบและ - การนำเทคโนโลยีมาใชเ้ พือ่ ลด - ความต้องการของ วัตถปุ ระสงคก์ ารใช้งานสถานี ตน้ ทุนการบริหารจัดการ ผู้ประกอบการขนส่งขนาดกลาง ขนสง่ สนิ ค้าเพอ่ื รองรบั สถานีขนส่งสินค้า รวมถึงเพมิ่ และขนาดเลก็ ในพืน้ ท่ี กิจกรรมการขนส่งรูปแบบ ประสิทธภิ าพในการบริหาร ใหม่ในอนาคต ทีส่ อดรับกับ โอกาสในพืน้ ท่ี จดั การและใหบ้ รกิ ารผู้ใช้งาน - การปรับเปลย่ี นรปู แบบและ - การนำเทคโนโลยมี าใช้เพ่ือลด สถานีขนสง่ สินคา้ วัตถปุ ระสงคก์ ารใชง้ านสถานี ต้นทนุ การบรหิ ารจดั การสถานี ขนส่งสินค้าเพ่อื รองรบั กจิ กรรม ขนส่งสินค้า รวมถึงเพ่ิม การขนสง่ รปู แบบใหมใ่ นอนาคต ประสิทธิภาพในการบรหิ าร ที่สอดรับกับโอกาสในพ้ืนที่ จดั การและใหบ้ ริการผใู้ ชง้ าน - การทสี่ ถานีขนสง่ สนิ คา้ เปน็ ทตี่ ง้ั สถานีขนส่งสินคา้ ของสำนักงานขนสง่ จงั หวดั ปทมุ ธานสี าขาหลวงคลองอาจ เป็นอกี หนึ่งโอกาสในการดงึ กิจกรรมการขนสง่ เขา้ มาในสถานี ขนสง่ สินค้าได้ - การนำเทคโนโลยมี าใช้เพือ่ ลด ต้นทนุ การบรหิ ารจัดการสถานี ขนสง่ สินค้า รวมถึงเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการบรหิ าร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 6-16

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 6.5-1 สรปุ พฤตกิ รรมการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า (ตอ่ ) ประเด็น สถานขี นส่งสินค้า สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานขี นส่งสนิ คา้ อุปสรรค (Threats) พุทธมณฑล คลองหลวง รม่ เกล้า จดั การและใหบ้ ริการผู้ใชง้ าน สถานีขนสง่ สินค้า - การจราจรบนถนนบรมราช - การลงทนุ ก่อสรา้ งศูนย์กระจาย - การท่สี ถานีขนส่งสนิ ค้าตัง้ อยู่ ชนนี ผลกระทบจาก สนิ คา้ และคลงั สนิ ค้าของเอกชน ในพนื้ ทแี่ หล่งกิจกรรมการ การจราจรท้องถิ่น และการ ในพ้ืนทใ่ี กลเ้ คยี ง ซ่ึงโดยต้นทุน ขนส่งโลจสิ ตกิ ส์หลกั ของ เติบโตของชุมชนเมือง ค่าทีด่ ินในบรเิ วณน้สี ามารถทำ ประเทศ ส่งผลให้เกดิ ปัญหา โดยรอบสถานีขนสง่ สินค้า ราคาคา่ เช่าใช้ในระดับที่แข่งขนั การจราจรติดขดั จาก - พฤตกิ รรมการบรโิ ภคและ กับสถานขี นส่งสินค้าคลอง รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ การขนสง่ สนิ ค้ารปู แบบใหม่ หลวงได้ หรือเจา้ ของสนิ ค้าอาจ - การเข้า-ออกระหว่างสถานี ซ่ึงอาจลดบทบาทของการ พจิ ารณากอ่ สรา้ งศูนยก์ ระจาย ขนส่งสินค้าและทางหลวง ขนสง่ รปู แบบเดมิ ในระยะยาว สนิ คา้ และคลังสนิ คา้ ของตนเอง มอเตอร์เวย์ขาออกทำได้ ได้ โดยยาก - การใช้ทางเข้าออกรว่ มกับ ICD ลาดกระบงั ซ่งึ มีความ คาบเก่ยี วระหว่างหน่วยงาน ภาครฐั หลายหนว่ ย ทำให้ยาก ตอ่ การบรหิ ารจดั การและการ ซ่อมบำรงุ จากตารางที่ 6.5-1 สามารถสรุปภาพรวมและศักยภาพของสถานีขนส่งสินคา้ ท้ัง 3 แหง่ ได้ดังนี้ 1) สถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล ความได้เปรียบท่ีสำคัญที่ย่ิงของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ได้แก่ ทำเลท่ีต้ัง ซ่ึงอยู่ในพื้นท่ี ท่ีใกล้ท้ังแหล่งผู้ผลิตสินค้าและย่านการประกอบการขนส่งสินค้าด้ังเดิม (ถนนพุทธมณฑล สาย 2 เขตทวีวัฒนา) จึงทำให้การย้ายฐานของกิจกรรมการขนส่งจากพื้นที่ดั้งเดิมมายัง สถานีขนส่งสินค้าแห่งน้ีทำได้โดยง่ายทั้งในฝ่ังของผู้ประกอบการขนส่งและเจ้าของสินค้า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลจึงเป็นสถานีขนส่งสินค้าที่มีการใช้งานสูงสุดมาโดยตลอด และ ยังเป็นสถานีขนส่งสินค้าท่ีมีกิจกรรมการขนส่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์การออกแบบของ สถานีขนส่งสินค้าสูงสุดอีกด้วย โดยปลายทางของการขนส่งสินค้าจากสถานีขนส่งสินค้าแห่งน้ี ไดแ้ ก่จังหวดั ต่างๆ ทวั่ ทกุ ภูมิภาค สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 6-17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook