Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:34:58

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Search

Read the Text Version

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศกั ยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ส่งสนิ คา้ ผา่ นสถานขี นสง่ สนิ ค้าร่มเกล้าจากฐานข้อมูล GPS GCS และการสำรวจ GCS ในรอบ 1 สปั ดาห์ (พ.ย. 2563) จากการสำรวจตวั อยา่ ง (เม.ย. 2564) จำนวนเทย่ี ว สดั ส่วน จังหวดั จำนวนเท่ียว สัดสว่ น 133 33.7% กรงุ เทพมหานคร 197 36.6% 54 13.7% สมุทรปราการ 122 22.7% 35 8.9% ฉะเชิงเทรา 35 6.5% 32 8.1% สมุทรสาคร 22 4.1% 26 6.6% พระนครศรีอยธุ ยา 22 4.1% 25 6.3% ปทมุ ธานี 18 3.3% 20 5.1% นครราชสมี า 17 3.2% 16 4.1% นครปฐม 14 2.6% 12 3.0% เชยี งใหม่ 13 2.4% 12 3.0% ปราจนี บุรี 13 2.4% 10 2.5% นนทบรุ ี 12 2.2% 10 2.5% ชลบรุ ี 11 2.0% 3 0.8% ขอนแก่น 7 1.3% 3 0.8% ระยอง 6 1.1% 2 0.5% สงิ ห์บุรี 6 1.1% 1 0.3% ศรีสะเกษ 3 0.6% 1 0.3% เพชรบรุ ี 2 0.4% - - นครพนม 2 0.4% - - มุกดาหาร 2 0.4% - - ราชบุรี 2 0.4% - - อ่นื ๆ (10 จังหวัด) 12 2.2% 395 100.0% รวม 538 100.0% ยไมม่ วี ตั ถุประสงคเ์ กย่ี วขอ้ งกับการขนส่งสินค้าและไมไ่ ด้นำมาคิดรวมในตารางนี้ จำนวน 616 คัน 7-33

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 7.4 การคาดการณแ์ นวโน้มปริมาณการขนสง่ สนิ ค้าท่ีจะเขา้ ใชส้ ถานขี นส่งสนิ ค้า การคาดการณ์ปริมาณสินค้าที่จะเข้าใช้สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้ง 3 แห่ง จะมีรายละเอียดในทางเทคนิคที่จะแตกต่างจากการคาดการณ์การเติบโตของประมาณ การขนส่งในระดับมหภาค ซ่ึงมักใชใ้ นการศึกษาวิเคราะห์และวางแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการขนส่งภาครัฐโดยทั่วไป ดงั นั้นที่ปรึกษาจงึ ทำการวิเคราะห์และคาดการณ์ปริมาณสินค้าโดย แบ่งเป็น 2 แนวทาง ได้แก่ (1) การคาดการณ์โดยใช้แนวโน้มปริมาณการขนส่งสินค้าระดับมหภาค ด้วยแบบจำลองการขนส่งสินค้า และ (2) การคาดการณ์บนเงื่อนไขของพ้ืนที่และความต้องการใช้ งานสถานีขนส่งสนิ ค้าแตล่ ะแหง่ โดยมีผลการวิเคราะห์สรปุ ได้ดงั น้ี 7.4.1 การคาดการณ์ปริมาณการขนสง่ สินค้าผา่ นสถานีขนสง่ สนิ ค้าตามอัตราการเติบโตแบบปกติ การคาดการณ์แนวโน้มปริมาณการขนสง่ สนิ คา้ ทจี่ ะเขา้ ใชส้ ถานขี นสง่ สินคา้ ชานเมืองกรงุ เทพมหานคร และปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง ท่ีปรึกษาได้อ้างอิงอัตราการขยายตัวเฉลี่ยที่ได้จากแบบจำลองด้านการ ขนส่งและจราจรระดับประเทศ (National Model: NAM) ตามผลการศึกษาจากโครงการศึกษา สำรวจความต้องการการเดนิ ทางและปรับปรุงฐานข้อมูลการเคลื่อนย้ายสินค้าเพ่ือการวางแผนระบบ ขนส่งของประเทศ (สนข. 2561) ซ่ึงเป็นโครงการท่ไี ดม้ ีการรวบรวม สำรวจ และปรบั ปรงุ ข้อมูลหลัก สำหรับการพัฒนาแบบจำลองด้านการจราจรและขนส่งของประเทศไทย เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือสำหรับ การวิเคราะห์แผนงานโครงการต่างๆ ตามนโยบายรัฐบาลได้อย่างถูกต้อง ทันสมัย สอดคล้องกับ สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม และเป็นฐานข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่อง ในการศึกษาของโครงการฯ ได้มีการรวบรวม สำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูลตา่ งๆ และมีการปรับปรุง ข้อมูลในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง เช่น การสัมภาษณ์ริมทาง บริเวณสถานีขนส่งสินค้า (รวมถึงสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง) จำนวน 1,647 ตัวอย่าง เพ่ือให้ทราบถึงข้อมูลสัดส่วนการขนส่งจำแนกตามชนิดของ สนิ คา้ และจุดตน้ ทาง-ปลายทางของการขนส่งสินค้า นอกจากนีย้ ังไดม้ ีการนำข้อมลู การขนส่งสินคา้ จากระบบ GPS ของกรมการขนส่งทางบก เพ่ือใช้ในการปรับปรุงข้อมูลหลักสำหรับการพัฒนา แบบจำลองอีกด้วย สำหรับผลการศึกษาได้มีการวิเคราะห์และคาดการณ์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลการ เคลื่อนย้ายสินค้าในปีอนาคต แยกออกตามรูปแบบการขนส่ง ได้แก่ ทางถนน ทางรถไฟ ทางน้ำ และ ทางอากาศ ประกอบด้วย ปี 2560 (ปีฐาน) ปี 2565 2570 2575 2580 และ 2585 ดังแสดงใน ตารางที่ 7.4-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 7-34

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 7.4-1 ผลลัพธ์ปริมาณการขนส่งสินคา้ ทไ่ี ดจ้ ากแบบจำลองระดบั ประเทศ (NAM) รูปแบบการขนสง่ ปรมิ าณการขนสง่ สนิ ค้าภายในประเทศจากแบบจำลอง NAM (ลา้ นตัน/ปี) ปี 2560 ปี 2565 ปี 2570 ปี 2575 ปี 2580 ปี 2585 ทางถนน ทางรถไฟ 709.0 752.4 788.7 808.9 831.0 853.0 ทางนำ้ 10.2 31.1 40.6 48.9 53.4 58.2 90.4 100.4 106.5 110.7 115.0 119.5 ทางอากาศ 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 รวม 809.7 884.0 935.9 968.6 999.5 1030.7 ทมี่ า : โครงการศึกษาสำรวจความต้องการการเดินทาง (Travel Demand Survey) และปรับปรุงฐานข้อมูลการเคลื่อนย้าย สนิ ค้า เพือ่ การวางแผนระบบขนส่งของประเทศ (สนข., 2560) จากผลการคาดการณ์แนวโน้มปริมาณการขนส่งสินค้าที่จะมีการขนส่งทางถนนในอนาคตโดย แบบจำลอง NAM สามารถคำนวณเป็นอตั ราการขยายตัวเฉลี่ยในระยะจากปัจจุบันไปถงึ ชว่ ง 10 ปี ในอนาคต (ปี 2575) ไดด้ งั น้ี - ชว่ งปี 2560 - 2565 อตั ราการขยายตัวเฉลย่ี รอ้ ยละ 1.20 ตอ่ ปี - ชว่ งปี 2566 - 2570 อัตราการขยายตัวเฉลย่ี รอ้ ยละ 0.95 ต่อปี - ชว่ งปี 2571 - 2575 อตั ราการขยายตวั เฉลี่ยร้อยละ 0.51 ตอ่ ปี สำหรับสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งของกรมการขนส่งทางบก ในการคาดการณ์ปริมาณสินค้าและ จำนวนรถบรรทุกในอนาคตด้วยอัตราการเติบโตแบบปกติ (อัตราการเติบโตแบบปกติ หรือ Normal Growth คือ การเติบโตของปริมาณสินค้าเป็นไปอย่างปกติโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปัจจัย แวดล้อม) สามารถทำได้โดยการนำปริมาณสินค้าและจำนวนรถบรรทุกในปัจจุบันท่ีได้จากระบบ GCS คูณด้วยอัตราการขยายตัวของการขนส่งสินค้าท่ีได้จากแบบจำลอง NAM โดยผลการคาดการณ์ ปริมาณสินค้าและจำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งด้วยวิธีการดังกล่าวแสดง ในตารางที่ 7.4-2 และ ตารางที่ 7.4-3 ขณะท่ีน้ำหนักสินค้าเฉลี่ยต่อรถบรรทุก 1 คัน แสดงใน ตารางที่ 7.4-4 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 7-35

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 7.4-2 ผลการคาดการร์ปรมิ าณสินคา้ ทจ่ี ะเขา้ ใช้สถานีขนส่งสนิ ค้าในอนาคต ด้วยอัตราการเติบโตแบบปกติจากแบบจำลอง NAM สถานขี นสง่ สนิ คา้ ข้อมลู จาก GCS คาดการณ์ปรมิ าณสินค้า (ตนั /ป)ี 2 ในปี 2563 (ตนั /ปี)1 ปี 2565 ปี 2570 ปี 2575 พุทธมณฑล 878,372 899,579 943,129 967,425 คลองหลวง 600,787 615,292 645,079 661,698 รม่ เกลา้ 385,804 395,119 414,247 424,919 รวม 1,864,963 1,909,991 2,002,455 2,054,041 หมายเหตุ : 1 เป็นปริมาณสินค้าเฉพาะท่ีผ่านชานชาลาและคลังสินค้า โดยคำนวณจากข้อมูลปริมาณสินค้าท่ีบันทึกใน ระบบ GC S ตลอดทั้งปี 2563 2 คาดการณ์ด้วยอตั ราการเติบโตแบบปกติจากแบบจำลอง NA M ตารางท่ี 7.3-3 ผลการคาดการร์จำนวนรถบรรทกุ ที่จะเข้าใชส้ ถานีขนส่งสินคา้ ในอนาคต ด้วยอตั ราการเติบโตแบบปกติจากแบบจำลอง NAM สถานขี นส่งสนิ คา้ ข้อมลู จาก GCS คาดการณ์จำนวนรถบรรทกุ (เท่ยี ว/ป)ี 2 ในปี 2563 (เทยี่ ว/ป)ี 1 ปี 2565 ปี 2570 ปี 2575 พทุ ธมณฑล - รถบรรทุกทีข่ นสง่ สินค้าผา่ นสถานี3 286,267 293,179 307,372 315,290 - รถบรรทกุ อ่นื ๆ4 966 989 1,037 1,064 คลองหลวง - รถบรรทกุ ทขี่ นสง่ สนิ คา้ ผ่านสถานี3 58,756 60,175 63,088 64,713 - รถบรรทกุ อน่ื ๆ4 8,680 8,890 9,320 9,560 ร่มเกล้า - รถบรรทกุ ทีข่ นส่งสินค้าผา่ นสถานี3 51,489 52,732 55,285 56,709 - รถบรรทุกอน่ื ๆ4 54,645 55,964 58,674 60,185 รวม 406,158 415,964 436,102 447,336 หมายเหตุ : 1 เปน็ จำนวนรถบรรทกุ รวมทุกประเภทจากขอ้ มูลปริมาณสินคา้ ทบี่ ันทกึ ในระบบ GC S ตลอดท้ังปี 2563 2 คาดการณด์ ้วยอัตราการเติบโตแบบปกติจากแบบจำลอง NA M 3 จำนวนรถบรรทกุ ขนส่งสินคา้ เฉพาะที่มกี ารใช้งานอาคารชานชาลาหรือคลังสินค้าเท่าน้ัน 4 จำนวนรถบรรทุกขนส่งสินค้าอื่นๆ ที่พบว่าไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานอาคารชานชาลาหรือคลังสินค้า ซึ่งถือ ว่าไม่ใช้การใช้งานสถานีขนส่งสินค้าตามวัตถุประสงค์หลัก ยกตัวอย่างเช่น การเข้ามาในสถานีเพ่ือตรวจสภาพ (ตรอ.) การติดต่อราชการทีส่ ำนกั งานขนสง่ และการนำรถบรรทุกมาจอดเพอื่ พกั รอการไปรับสนิ ค้าภายนอกสถานี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 7-36

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 7.4-4 น้ำหนกั สินคา้ เฉลย่ี ตอ่ รถบรรทกุ 1 เท่ียวจากขอ้ มูล GCS ในปี 2563 สถานขี นสง่ สินคา้ น้ำหนกั สนิ คา้ เฉลยี่ ต่อรถบรรทกุ 1 เทย่ี ว1 พุทธมณฑล 3.07 ตนั /เทีย่ ว คลองหลวง 10.23 ตัน/เท่ียว รม่ เกล้า 7.49 ตัน/เทยี่ ว หมายเหตุ : 1 เปน็ นำ้ หนกั สินค้าเฉล่ยี ตอ่ รถบรรทกุ 1 เทีย่ ว โดยเฉลย่ี จากรถบรรทกุ ทงั้ 12 ประเภทท่ีเข้าใชบ้ ริการสถานี จากตารางที่ 7.4-2 จะเห็นได้ว่าในปี 2563 สถานขี นสง่ สินคา้ พุทธมณฑล สถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มีปริมาณสินค้าเฉพาะท่ีมีการใช้งานชานชาลาหรือคลังสินค้า รวมท้ังส้ิน กว่า 1.86 ล้านตัน โดยแบ่งเป็นสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 8.87 แสนตัน สถานีขนส่งสินค้า คลองหลวง 6.00 แสนตัน และสถานีขนสง่ สนิ คา้ ร่มเกลา้ 3.85 แสนตัน ตามลำดับ ซึ่งผลการศึกษา ในประเด็นปริมาณสินค้านี้มีข้อสังเกตที่น่าสนใจทั้งท่ีเป็นและไม่เป็นไปตามความคาดหมาย โดยสำหรับ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าสูงสุดท่ีระดับเกือบ 9 แสนตันต่อปี เทียบเท่ากับประมาณ 2,400 ตัน/วัน น้ันถือว่ามีความสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ก่อนการวิเคราะห์ ขณะที่ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าที่อยู่ในระดับประมาณ 3.9 แสนตันต่อปี ก็ถือว่ามี ความสอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตัง้ ไว้ก่อนการวเิ คราะห์ โดยเมอื่ เทียบปริมาณกิจกรรมและลักษณะของ กิจกรรมแล้วก็มีความเป็นไปได้ที่กิจกรรมการขนส่งสินค้าที่เกิดขึ้นภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จะสงู กวา่ สถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกลา้ ประมาณ 2 เท่าตัว แต่ประเด็นที่มีความน่าสนใจได้แก่ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงซ่ึงจากข้อมูล ท่ีมีการบันทึกไว้พบว่ามีถึง 6 แสนตันต่อปี แม้ในปี 2563 จะมีพื้นที่ว่างท่ีไม่ได้เกิดการเช่าใช้งาน กว่าร้อยละ 50 ซึ่งแตกต่างไปจากสมมติฐานท่ีต้ังไว้ก่อนการวิเคราะห์ ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการลงไป ในรายละเอียดของประเภทสินค้าท่ีผ่านสถานีขนส่งสินค้า โดยจากการสำรวจพบว่าสินค้าส่วนใหญ่ ที่ผ่านสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงในปัจจุบันเป็นแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ สินค้าเคร่ืองด่ืม และ สินค้าวัสดุก่อสร้าง ซึ่งสินค้าท้ัง 2 กลุ่มนี้มีน้ำหนักต่อหน่วยปริมาตรท่ีสูงกว่าสินค้าอุปโภค บรโิ ภคและพัสดุภัณฑ์ประเภทอื่นๆ ท่ีผ่านสถานีขนส่งสินค้าอีก 2 แห่ง จึงเป็นไปได้ท่ีทำให้มีสินค้า ผ่านสถานีขนสง่ สนิ คา้ ในปรมิ าณทส่ี ูงเมอ่ื พิจารณาด้วยนำ้ หนักของสินค้าเป็นเกณฑ์ ดังท่ีกล่าวไป เน่ืองจากน้ำหนักสินค้าที่แตกต่างกันมีผลให้เกิดความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนต่อการ ประเมินปริมาณของกจิ กรรมการขนส่งสินค้าภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า ทปี่ รกึ ษาจึงไดท้ ำการคาดการณ์ กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยอาศัยจำนวนรถบรรทุกเป็นอีกแนวทางหนึ่งควบคู่กันไป โดยผล การวิเคราะห์แสดงในตารางที่ 7.4-3 โดยจะเห็นได้ว่าในสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งพบว่ามี รถบรรทุกแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ีเข้ามาในสถานีขนส่งสินค้าเพ่ือทำกิจกรรมการรับส่ง สินค้าท่ีอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้าหรือคลังสินค้า และอีกกลุ่มได้แก่รถบรรทุกที่เข้ามาในสถานี ขนส่งสินค้าแต่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพ่ือการรับส่งสินค้าที่อาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้าหรือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 7-37

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) คลังสินค้า โดยจากข้อมูล GCS พบว่าตลอดท้ังปี 2563 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล มีรถบรรทุก เข้าออกสถานีขนส่งสินค้าทั้งส้ิน ประมาณ 2.86 แสนเที่ยว โดยเกือบท้ังหมดเป็นการเข้ามาภายใน สถานีขนส่งสินค้าด้วยวัตถุประสงค์ในการรับส่งสินค้าภายในสถานีขนส่งสินค้า ขณะท่ีสถานีขนส่ง สินค้าคลองหลวงพบว่ามีรถบรรทุกเข้าออกสถานีขนส่งสินค้าทั้งสิ้นประมาณ 6.7 หม่ืนคัน ในจำนวนน้ี 5.9 หม่ืนคันเป็นรถบรรทุกที่มีวัตถุประสงค์ในการรับส่งสินค้าภายในสถานีขนส่งสินค้า ซึ่งเม่ือเทียบเคียงกับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ก็ถือว่ามีความสอดคล้องกับการสำรวจจริง เนื่องจากกิจกรรมภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลน้ันมีมากกว่าสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง อย่างชัดเจน สำหรับจำนวนรถอ่ืนๆ ท่ีมีประมาณ 8.6 พันคันน้ันเป็นรถบรรทุกท่ีเข้ามาใน สถานีขนส่งสินค้าด้วยวัตถุประสงค์ในการตรวจสภาพ (ตรอ.) และการติดต่อราชการท่ีสำนักงาน ขนส่งจังหวัดปทุมธานี สาขาคลองหลวง และการใช้สถานีขนส่งสินค้าเป็นทางลัดในการเข้าออก ทางหลวงมอเตอรเ์ วยเ์ ปน็ หลัก ความน่าสนใจในประเด็นจำนวนรถบรรทุกอยู่ท่ีสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า เนื่องจากพบว่าในปี 2563 มีจำนวนรถบรรทุกเข้าออกสถานีขนส่งสินค้ากว่า 1 แสนเท่ียว แต่จากการวิเคราะห์พบว่ามีเพียง ประมาณร้อยละ 50 หรือ ประมาณ 5 หมื่นคันที่เป็นรถบรรทุกท่ีมีวัตถุประสงค์ในการรับส่งสินค้า ภายในสถานีขนส่งสินค้า ขณะที่รถบรรทุกอีกกว่าครึ่งเป็นการเข้ามาเพื่อกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งคาดว่า ส่วนใหญ่จะเป็นการเข้ามาจอดพักคอยเพ่ือรอออกไปรับส่งสินค้าจาก ICD ลาดกระบังหรือโรงงาน อุตสาหกรรมโดยรอบ ซึ่งประเด็นนี้ค่อนข้างสำคัญเพราะการท่ีมีรถบรรทุกท่ีเข้ามาใช้สถานีขนส่ง สินค้าในลักษณะที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ นอกจากจะไม่ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อ ประเทศตามท่ีออกแบบไว้ ยังเป็นการรบกวนผู้ที่เช่าใช้งานสถานีขนส่งสินค้าตามวัตถปุ ระสงค์หลัก และรวมถึงเป็นภาระด้าน งบ ประมาณของกรมการขน ส่งทางบกท่ีจะต้อง ดำเนินการซ่อมบำรุง โครงสร้างพื้นฐานของสถานขี นส่งสนิ ค้าบอ่ ยครง้ั ยิ่งขึ้น เพ่ือทดสอบสมมติฐานดา้ นน้ำหนกั สินค้าที่มีผลให้สถานขี นสง่ สินค้าคลองหลวงมีนำ้ หนกั สินค้าผ่าน สถานีขนส่งสินค้าท่สี ูงกว่าสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเท่าตัวทั้งท่ีมีจำนวนรถบรรทุกที่มารับส่งสินค้า ภายในสถานีขนส่งสินค้าใกล้เคียงกัน ท่ีปรึกษาได้ทำการวิเคราะห์น้ำหนักเฉลี่ยของสินค้าที่มี การขนส่งต่อ 1 เที่ยวรถบรรทุก โดยเป็นไปตามการคาดหมาย สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล มีน้ำหนักสินค้าเฉลี่ยต่อเท่ียวต่ำที่สุดท่ีประมาณ 3 ตัน/เท่ียว ขณะที่สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง มีน้ำหนักสินค้าเฉลี่ยต่อเท่ียวสูงสุดท่ีกว่า 10 ตัน/เที่ยว ดังแสดงในตารางที่ 7.4-4 ซ่ึงข้อค้นพบ ดงั กล่าวนี้เป็นอีกหน่ึงกระจกสะท้อนลักษณะของสินค้าและกิจกรรมการขนส่งภายในสถานีขนส่งสินค้า แต่ละแห่งได้อยา่ งดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 7-38

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) เมื่อดูผลการคาดการณ์ในปอี นาคตโดยใชแ้ บบจำลอง NAM จะเห็นได้ว่าอัตราการขยายตัวของการ ใช้งานสถานีขนส่งสินค้านั้นจะมีไม่มากนัก อันเกิดจากอัตราการขยายตัวของการขนส่งสินค้าและ สภาพเศรษฐกิจของประเทศท่ียังคงอยู่ในช่วงชะลอตัวโดยในอีก 10 ปี ปริมาณสินค้าจะเพิ่มขึ้น เพียงประมาณร้อยละ 10 จากในปัจจุบันเท่าน้ัน อย่างไรก็ดีการคาดการณ์โดยใช้ข้อมูลปริมาณ สินค้าในปีฐานและปรับตามอัตราการเติบโตแบบปกติน้ันเป็นการวิเคราะห์ในภาพรวมโดยยังไม่ได้ นำปัจจยั รายละเอียดของแตล่ ะพน้ื ท่มี ารว่ มพจิ ารณา 7.4.2 การคาดการณป์ รมิ าณการขนส่งสินคา้ ผา่ นสถานีขนส่งสินค้าภายใต้สถานการณแ์ ละเงือ่ นไข หลักการคาดการณ์ด้วยอัตราการเติบโตแบบปกติในหัวข้อ 7.4.1 มีข้อสังเกตท่ีสำคัญคือไม่ได้มี การนำบริบทของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งมาพิจารณา ทั้งที่ในความเป็นจริงสถานีขนส่งสินค้า แตล่ ะแห่งจะมขี ้อจำกดั ดา้ นพน้ื ที่ที่แตกต่างกัน ซง่ึ หมายความว่าแม้ความตอ้ งการใช้งานสถานีขนส่ง สินค้าจะยังมีอยู่และเพ่ิมข้ึน แต่หากสถานีขนส่งสินค้าให้เช่าใช้พ้ืนท่ีจนเต็มขีดความสามารถของ สถานีขนส่งสินค้าแล้วก็จะไม่สามารถเพิ่มเติมจำนวนผู้เช่าได้อีก หรืออาจกล่าวได้ว่าสถานีขนส่ง สินค้าเกิดสภาพอ่ิมตัว (Saturated) นอกจากน้ียังมีอีกหน่ึงเงื่อนไขสำคัญได้แก่ลักษณะการใช้งาน สถานีขนส่งสนิ ค้าและประเภทของสนิ ค้า อีกหน่ึงประเด็นท่ีอาจเพ่ิมปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าได้แม้สถานีขนส่งสินค้าจะมีการเช่า ใช้พ้นื ท่ีเต็มท้ังหมดแล้ว ได้แก่ เทคโนโลยกี ารบริหารจัดการของเอกชนผู้เช่าพื้นที่ ซ่ึงในอนาคตการ บริหารจัดการสินค้าด้วยเทคโนโลยีจะมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซ่ึงเช่ือว่าจะช่วยให้กระบวนการรวบรวม และกระจายสินคา้ เกิดความรวดเรว็ ย่งิ ข้ึนและจะส่งผลตอ่ ปริมาณสินค้าผา่ นสถานีขนส่งสินค้าด้วย จากบทวิเคราะห์ทั้งหมดที่กล่าวมา ที่ปรึกษาจึงได้กำหนดสถานการณ์ (Scenario) เฉพาะท่ีสอดคล้อง กับบริบทของแต่ละสถานีขนส่งสินค้า เพื่อเป็นเงื่อนไขเพิ่มเติมในการปรับปรุงผลการคาดการณ์ ปริมาณสินค้าและรถบรรทุกในอนาคต โดยเง่ือนไขและสถานการณ์สำหรับแต่ละสถานีสถานีขนส่ง สินค้าดังนี้ • สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล เป็นสถานีขนส่งสินค้าท่ีมีปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่ง สินค้าสูงสุด โดยปัจจุบันมีการใช้งานอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้าของสถานีขนส่งสินค้า พุทธมณฑลเต็มท้ัง 8 หลังและคลังสินค้าอีก 4 คลังที่มีอยู่ นอกจากน้ีสถานีขนส่งสินค้า พุทธมณฑลยังมีปริมาณสินค้าส่วนหนึ่งมาจากอาคารชานชาลาอเนกประสงค์ ซ่ึงทำให้ ปริมาณการขนส่งสินค้าจากสถานีขนส่งสินค้าแห่งน้ีมีปริมาณทสี่ ูงกว่าสถานีขนส่งสินค้าอื่นๆ เป็นอย่างมาก และอยู่ในสถานะอิ่มตัว ปริมาณสินค้าและรถบรรทุกท่ีผ่านสถานีขนส่งสินค้า อาจคงทหี่ รือเพ่มิ ขึน้ เลก็ นอ้ ยตามสภาพเศรษฐกิจในแตล่ ะช่วงเวลาเท่านั้น • สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ปัจจุบันมีพื้นท่ีว่างถึงกว่าร้อยละ 50 อันเนื่องมาจากการ ยกเลิกการเช่าใช้งานของผู้เช่ารายใหญ่ในช่วงที่ผ่านมาและยังปัจจุบันไม่มีผู้เช่ารายใหม่ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 7-39

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) การใช้งานของผู้เช่าในปัจจุบันส่วนหน่ึงมีลักษณะของการพักและกองเก็บสินค้าและอีก จำนวนหนึ่งเป็นการรวบรวมและกระจายสินค้า ทั้งน้ีหากกรมการขนส่งทางบกสามารถ ประชาสัมพนั ธแ์ ละทำการตลาดให้มีการเชา่ ใช้พื้นท่ีว่างจนมีการเช่าพ้ืนท่ีจนเต็มหรอื เกือบ เต็มพ้ืนท่ีได้ภายใน 3 ปีในอนาคต แต่บนสมมติฐานท่ีผู้เช่ารายใหม่รับขนส่งสินค้าใน ลักษณะการรวบรวมและกระจายสินค้าซ่ึงเป็นไปตามแนวคิดการออกแบบ จะสามารถ ช่วยให้ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าสูงข้ึนได้อีกประมาณร้อยละ 20 ในมิติ ด้านน้ำหนัก และร้อยละ 60 ในมิติด้านจำนวนรถบรรทุกเข้าออกสถานีขนส่งสินค้า จากนั้นสถานีขนส่งสินค้าจะอยู่ในสถานะอิ่มตัวเช่นเดียวกับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล อย่างไรก็ดีด้วยทำเลท่ีตั้งการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าจากการ กอ ง เก็บ สิ น ค้ า เป็ น ก าร ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ก ร ะจ าย สิ น ค้ า จึ งเป็ น ค ว า ม ท้ า ท าย ท่ี ส ำ คั ญ ข อ ง กรมการขนส่งทางบก • สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ปัจจุบันมีการเช่าใช้พ้ืนที่เกือบท้ังหมด โดยมีการใช้งานเป็น ลักษณะของการพักและกองเก็บสินค้าส่วนหนึ่ง จึงทำให้ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่ง สินค้าไม่สูงเช่นในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลแม้จะมีสัดส่วนการเช่าใช้พื้นท่ี ที่ค่อนข้างมาก อย่างไรก็ดี หากกรมการขนส่งทางบก สามารถประชาสัมพันธ์และทำ การตลาดให้มีการเช่าใช้พื้นท่ีว่างจนเต็มได้ จะช่วยให้ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้า สูงขึ้นได้อีกประมาณร้อยละ 10 เป็นอย่างน้อย และหากสามารถเพ่ิมสัดส่วนการใช้สถานี ขนส่งสินค้าแบบรวบรวมและกระจายสินค้าได้ในลักษณะเช่นเดียวกับสถานีขนส่งสินค้า พุทธมณฑลจะช่วยให้มีปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าเพ่ิมเติมได้อีกประมาณ ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 25 ในปี 2569 จากน้ันสถานีขนส่งสินค้าจะอยู่ในสถานะอิ่มตัว เช่นเดียวกับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สำหรับในส่วนของจำนวนรถบรรทุกเข้าใช้ สถานีขนส่งสินค้าโดยไม่ตรงตามวัตถุประสงค์นั้น ถือเป็นปัญหาสำคัญของสถานีขนส่ง สินค้าแห่งนี้ ท้ังน้ีท่ีปรึกษากำหนดสมมติฐานว่ากรมการขนส่งทางบกสามารถแก้ปัญหาน้ี ได้ส่วนหน่ึงโดยลดจำนวนรถบรรทุกในกลุ่มน้ีลงได้ร้อยละ 50 ในปี 2566 และร้อยละ 90 ในปีท่ี 2568 ของการวิเคราะห์ ตามเงื่อนไขทั้งหมดที่กล่าวมาสามารถคาดการณ์ปริมาณสินค้าที่จะผ่านสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ในอนาคต ได้ดงั แสดงในตารางที่ 7.4-5 ถึง ตารางท่ี 7.4-7 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 7-40

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 7.4-5 ผลการคาดการรป์ รมิ าณสนิ คา้ และจำนวนรถบรรทกุ ทจ่ี ะเข้าใช้ สถานขี นสง่ สินค้าพุทธมณฑล ภายใต้สถานการณแ์ ละเงอื่ นไข ปี ปรมิ าณสนิ คา้ จำนวนรถบรรทกุ หมายเหต/ุ สถานการณ์และเง่อื นไข (ตนั /ปี) (เทย่ี ว/ป)ี 2563 878,372 287,233 ขอ้ มลู ปฐี านจาก GCS / ไมม่ ีพื้นทว่ี า่ ง 2564 889,000 290,700 2565 900,000 294,200 2566 909,000 297,000 2567 918,000 299,800 2568 927,000 302,600 2569 936,000 305,500 สถานขี นส่งสนิ คา้ อยู่ในสภาพอม่ิ ตวั 2570 945,000 308,400 มกี ารขยายตัวอตั ราการเตบิ โตแบบปกติ 2571 950,000 310,000 2572 955,000 311,600 2573 960,000 313,200 2574 965,000 314,800 2575 970,000 316,400 ตารางท่ี 7.4-6 ผลการคาดการรป์ รมิ าณสนิ คา้ และจำนวนรถบรรทุกท่ีจะเข้าใช้ สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง ภายใต้สถานการณ์และเงอ่ื นไข ปี ปรมิ าณสินคา้ จำนวนรถบรรทุก หมายเหตุ/สถานการณ์และเงอ่ื นไข (ตนั /ปี) (เทีย่ ว/ปี) 2563 600,787 67,436 ขอ้ มลู ปีฐานจาก GCS / มีพื้นท่วี า่ งรอ้ ยละ 50 2564 608,000 68,300 2565 677,000 87,200 หาผเู้ ชา่ เพ่ิมเปน็ รอ้ ยละ 75 2566 752,000 111,800 หาผู้เชา่ ไดเ้ ตม็ พน้ื ท่ี 2567 759,000 112,900 2568 766,000 114,000 2569 773,000 115,100 2570 780,000 116,200 สถานขี นสง่ สินคา้ อยใู่ นสภาพอม่ิ ตวั 2571 784,000 116,700 มีการขยายตวั อตั ราการเติบโตแบบปกติ 2572 788,000 117,200 2573 792,000 117,700 2574 796,000 118,300 2575 800,000 118,900 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 7-41

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 7.4-7 ผลการคาดการรป์ ริมาณสินคา้ และจำนวนรถบรรทุกทจี่ ะเขา้ ใช้ สถานีขนสง่ สินค้าร่มเกล้า ภายใต้สถานการณแ์ ละเงอื่ นไข ปี ปริมาณสินคา้ จำนวนรถบรรทกุ หมายเหต/ุ สถานการณ์และเง่ือนไข (ตนั /ป)ี (เท่ยี ว/ป)ี 2563 385,804 106,134 ขอ้ มลู ปีฐานจาก GCS / มีพน้ื ทวี่ า่ งร้อยละ 10 2564 390,000 107,400 2565 434,000 114,000 หาผเู้ ช่าได้เต็มพื้นที่ 2566 438,000 86,900 ลดจำนวนรถทไี่ มเ่ กย่ี วข้องไดร้ อ้ ยละ 50 2567 442,000 87,800 2568 446,000 62,700 ลดจำนวนรถท่ไี ม่เกย่ี วข้องไดร้ อ้ ยละ 90 2569 563,000 78,400 เพมิ่ การใชง้ านสถานขี นสง่ สนิ ค้าแบบรวบรวมและ กระจายสนิ ค้า 2570 568,000 79,100 สถานขี นสง่ สนิ คา้ อยู่ในสภาพอมิ่ ตวั 2571 571,000 79,500 มีการขยายตวั อตั ราการเติบโตแบบปกติ 2572 574,000 79,900 2573 577,000 80,300 2574 580,000 80,700 2575 583,000 81,100 จากผลการคาดการณ์จนถึงปี 2575 ตามสมมตฐิ านของสถานการณแ์ ละเง่อื นไขดงั ท่ีกล่าวไป พบว่า สำหรับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลเมื่อวัดปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าในหน่วยของน้ำหนัก เนื่องจากสภาพความอ่ิมตวั ของพน้ื ท่ี แต่เอกชนผู้เช่าใชพ้ ื้นท่ียังคงมีความสามารถในการจดั การและ การจัดหาเทคโนโลยีมาเพมิ่ ประสิทธภิ าพการขนส่งสินค้า จงึ ทำให้ปริมาณสินค้าเพิม่ สูงข้ึนอยา่ งช้าๆ จนแตะระดับ 9.7 แสนตันต่อปี ขณะท่ีจำนวนรถบรรทุกจะเพิ่มข้ึนเป็นประมาณ 3.2 แสนเที่ยวต่อปี หรือประมาณ 900 เที่ยวต่อวัน ซึ่งจะส่งผลให้การบริการจัดการจราจรภายในสถานีขนส่งสินค้าและ บริเวณทางเข้าออกมีความยุ่งยากมากยิ่งขึ้นเล็กน้อย กรมการขนส่งทางบกจึงควรพิจารณาความ เป็นไปได้ในการปรับปรุงการจัดการจราจราภายในสถานีขนส่งสินค้าและทางเข้าออกรวมถึงระบบ ต่างๆ ที่เป็นคอขวดของการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าเช่นจำนวนช่องจราจรของประตูและจำนวน อุปกรณ์ GCS โดยต้ังเป้าหมายให้สามารถรองรับการเพ่ิมขึ้นของจำนวนรถบรรทุกได้ถึงระดับมากกว่า ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันประมาณร้อยละ 10 ถึง ร้อยละ 20 นอกจากนี้เนื่องจากสถานีขนส่งสินค้ามีสภาพ อ่มิ ตัวและไม่มีพ้ืนที่เพียงพอสำหรับการกอ่ สร้างอาคารสถานท่ีเพิ่มเติม จึงเสนอให้กรมการขนส่งทางบก พิจารณาความเปน็ ไปไดใ้ นการพฒั นาสถานขี นสง่ สินค้าในบริเวณใกล้เคยี งเพมิ่ เติมในอนาคต สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 7-42

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง หากพิจารณาปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าใน หน่วยของน้ำหนักจะพบว่าหากสามารถหาผู้เช่าใช้พื้นที่เพิ่มเติมได้จนเต็มภายใน 3-4 ปีในอนาคต ในปี 2575 จะมีปริมาณสินค้าเพิ่มเป็นกว่า 8 แสนตันต่อปี อย่างไรก็ดีน้ำหนักของสินค้าจะขึ้นกับ ประเภทของสินค้าเป็นสำคัญ แต่ประเด็นท่ีจะต้องมีการคำนึงถึงในระดับความสำคัญที่สูงกว่าน้ำหนัก สินค้าได้แก่จำนวนรถบรรทุก โดยพบว่าในปี 2575 สถานีขนส่งสินค้าจะมีรถบรรทุกเข้าออกสถานี ขนส่งสินค้าปีละประมาณ 1.2 แสนเท่ียว หรือประมาณ 330 เท่ียวต่อวัน อย่างไรก็ดีเม่ือพิจารณา ความพร้อมของทางเข้าออกและการเชื่อมโยงโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและถนนโดยรอบ เช่ือว่าสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะสามารถรองรับปริมาณการจราจรในระดับที่กล่าวมาได้โดย ไมเ่ กิดปัญหามากนกั สำหรบั สถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ จะเห็นวา่ ปริมาณสินค้าผา่ นสถานขี นส่งสนิ คา้ ในหน่วยของนำ้ หนัก จะเพ่ิมสูงขึ้นจนถึงระดับใกล้เคียง 6 แสนตันต่อปี สถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้ปัญหาสำคัญได้แก่ จำนวนรถบรรทุกท่ีเข้ามาใช้บริการในสถานีขนส่งสินค้าในลักษณะที่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ หลักของสถานีขนส่งสินค้า ซึ่งหากสามารถลดจำนวนรถบรรทุกกลุ่มน้ีลงได้ตามสมมติฐานท่ีตั้งไว้ จะทำให้ในปี 2575 สถานีขนส่งสินค้าจะยังมีรถบรรทุกเข้าออกน้อยกว่าสถานการณ์ที่เป็นอยู่ใน ปี 2563 ซึ่งสถานีขนส่งสินค้าสามารถรองรับได้อย่างเพียงพอ แต่หากไม่สามารถลดจำนวนรถบรรทุก ในกลุ่มน้ีลงได้จะส่งผลให้ในปี 2575 สถานีขนส่งสินค้าจะมีรถบรรทุกเข้าออกสถานีขนส่งสินค้า กว่า 1.2 แสนคันตอ่ ปี และรถบรรทุกส่วนใหญ่ท่ีใช้งานสถานีขนสง่ สินค้าแห่งนีเ้ ป็นรถบรรทุกขนาดใหญ่ ดังน้ันการบริการจัดการจราจรภายในสถานีขนส่งสินค้าและทางเข้าออกจะเป็นไปด้วยความ ยากลำบากเป็นอย่างยิ่ง การลดจำนวนรถบรรทุกที่เข้ามาใช้บริการในสถานีขนส่งสินค้าในลักษณะที่ นอกเหนือจากวัตถุประสงค์หลักของสถานีขนส่งสินค้าจึงถือเป็นความท้าทายและภารกิจสำคัญ สำหรับสถานีขนสง่ สนิ ค้าแหง่ นี้ 7 .5 ส รุ ป ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า จากการศกึ ษาวเิ คราะหท์ ัง้ หมดทมี่ ีการดำเนนิ การไปในขอบเขตงานส่วนนท้ี ป่ี รกึ ษาสามารถสรุปข้อค้นพบ ที่สำคญั ไดด้ งั น้ี • การทบทวนการศกึ ษาในอดีต เทคนิคในการคาดการณ์หรือประมาณการปริมาณการขนส่งสินค้าในปัจจุบันและอนาคต ที่นิยมใช้ที่สุดได้แก่การใช้แบบจำลองด้านการขนส่งระดับประเทศ โดยแบบจำลองดังกล่าว จะช่วยให้เห็นภาพรวมของการขนส่งในระดับจังหวัดและภูมิภาคได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ดี แบบจำลองเหล่านี้เป็นการวิเคราะห์ในระดับมหภาคซ่ึงเหมาะสำหรับงานวางแผนระดับ ยุทธศาสตร์ของประเทศ แต่อาจไม่เหมาะสมกับการวางแผนในระดับเฉพาะโครงการท่ีมี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 7-43

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ความเฉพาะเจาะจงมากนักเนื่องจากการขาดการคำนึงถึงรายละเอียดปลีกย่อยเช่นตำแหน่ง ทต่ี ง้ั โครงการ กลุ่มลกู ค้า และการตลาด • ภาพรวมของการขนส่งสินค้าในประเทศไทยจากขอ้ มลู GPS - รถบรรทุกที่อยู่ในระบบฐานข้อมูล GPS เป็นรถบรรทุกขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ท่ีมีพิกัด น้ำหนักสูงสดุ ต้ังแต่ 25 ตนั ขึน้ ไป - พบว่าปริมาณเท่ียวการขนส่งสินค้าของรถบรรทุกทั่วประเทศจากข้อมูลในช่วงเวลาเดียวกัน ของปี 2561 และปี 2563 มีความแตกต่างกันไม่มากนัก โดยในปี 2563 เพ่ิมขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 8 เม่อื เทียบกับปี 2561 - เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่าจังหวัดชลบุรีมีปริมาณเที่ยวการขนส่งสินค้าสูงสุด รองลงมาเป็นกรงุ เทพมหานคร สระบุรี นครราชสีมา สมุทรปราการ ระยอง พระนครศรอี ยุธยา ตามลำดับ ซึ่งจังหวัดเหล่าน้ีล้วนแล้วแต่เป็นท่ีต้ังของโรงงานและนิคมอุตสาหกรรมจำนวนมาก ถือเป็นพนื้ ที่ฐานการผลิตและอุตสาหกรรมหลกั ของประเทศ - พบผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 ที่มีความชัดเจนในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะ เมืองท่องเท่ียว เช่น จังหวัดภูเก็ต สงขลา และจังหวัดฐานการผลิตในเขตกรงุ เทพมหานคร ปรมิ ณฑล และภาคตะวนั ออก • พฤตกิ รรมการขนสง่ สนิ ค้าผ่านสถานีขนส่งสนิ ค้าท้ัง 3 แห่งของรถบรรทกุ ทีต่ ิดตั้ง GPS มขี ้อสังเกตที่น่าสนใจ คือ ผู้ขนส่งสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง มีความนิยมใชร้ ถบรรทุก ขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ในเส้นทางภาคใต้มากกว่าภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศอย่างชัดเจน ซึ่งข้อสังเกตดังกล่าวนี้สามารถอธิบายได้ด้วยเหตุผลทั้งทางภูมิศาสตร์และการกระจายตัวของ ประชากรและชุมชนเมอื ง และรวมถึงระยะทางการขนสง่ สนิ คา้ • การเปรยี บเทียบรูปแบบและการกระจายตวั ของการขนส่งสินคา้ ผา่ นสถานีขนสง่ สินค้าจาก ฐานข้อมลู GPS ระบบ GCS และการสำรวจภาคสนาม จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบและการกระจายตวั ของการขนส่งสินค้าผ่านสถานีขนส่ง สินค้าจากฐานข้อมูล GPS ระบบ GCS และการสำรวจภาคสนามพบประเด็นท่ีมีความสอดคล้อง และขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลแต่ละกลุ่ม ซึ่งเป็นข้อสังเกตและข้อจำกัดที่สำคัญของการศึกษา อย่างไรก็ดีแม้ข้อมูลจากทั้ง 3 แหล่งจะมีจุดเด่นและจุดด้อยที่แตกต่างกัน แต่เมื่อนำมา ประมวลผลรว่ มกันจะช่วยใหส้ ามารถเห็นภาพพฤติกรรมการขนส่งสินค้าและการใชง้ านสถานี ขนส่งสนิ คา้ แต่ละแหง่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี • แนวโน้มปรมิ าณการขนส่งสินคา้ ทเี่ ช่าใชบ้ รกิ ารสถานีขนส่งสนิ คา้ - ในปี 2563 สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง และสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า มปี รมิ าณสินคา้ เฉพาะทมี่ กี ารใช้งานชานชาลาหรือคลังสนิ คา้ รวมทงั้ สิ้นกว่า สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 7-44

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 1.86 ล้านตัน โดยแบ่งเป็นสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล 8.87 แสนตัน สถานีขนส่งสินค้า คลองหลวง 6.00 แสนตนั และสถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกลา้ 3.85 แสนตัน - ความน่าสนใจอยู่ที่ปริมาณสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงซ่ึงพบว่ามีถึง 6 แสนตันต่อปี แม้จะมีพ้ืนท่ีว่างท่ีไม่ได้เกิดการเช่าใช้งานกว่าร้อยละ 50 เม่ือวิเคราะห์ ลงไปในรายละเอียดพบว่าสินค้าส่วนใหญ่ท่ีผ่านสถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้มีอัตราน้ำหนัก ต่อหนว่ ยปรมิ าตรทีส่ ูง - ดังนั้นการใช้น้ำหนักสินค้าในการวัดปริมาณของกิจกรรมภายในสถานีขนส่งสินค้าจึงมี ข้อจำกัดและจะต้องใช้ข้อมูลอย่างรอบคอบ การใช้จำนวนรถบรรทุกเพื่อประเมนิ ปรมิ าณของ กิจกรรมทมี่ ีภายในสถานีขนส่งสินค้าจึงเป็นอีกแนวทางที่สามารถดำเนินการควบคู่กันไปได้ และช่วยเสรมิ ให้ผลการวิเคราะหม์ คี วามแม่นยำมากยง่ิ ข้ึน • ขอ้ เสนอแนะ o สถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล - ควรพิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงการจัดการจราจรภายในสถานีขนส่งสินค้า และทางเข้าออกรวมถึงระบบต่างๆ ท่ีเป็นคอขวดของการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า เช่น จำนวนช่องจราจรของประตูและจำนวนอุปกรณ์ GCS โดยตั้งเป้าหมายให้สามารถ รองรับการเพิ่มข้ึนของจำนวนรถบรรทุกได้ถึงระดับมากกว่าท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน ประมาณร้อยละ 10 ถงึ รอ้ ยละ 20 - เนื่องจากสถานีขนส่งสินค้ามีสภาพอิ่มตัวและไม่มีพื้นที่เพียงพอสำหรับการก่อสร้าง อาคารสถานท่ีเพ่ิมเติม จึงเสนอให้กรมการขนส่งทางบกพิจารณาความเป็นไปได้ในการ พัฒนาสถานีขนสง่ สินค้าในบริเวณใกล้เคียงเพิม่ เติมในอนาคต o สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง - จากการพิจารณาความพร้อมของทางเข้าออกและการเช่ือมโยงโครงข่ายทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองและถนนโดยรอบเชื่อว่าสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะสามารถรองรับ ปรมิ าณการจราจรในระดับ 1 แสนเที่ยวต่อปีได้ โดยไม่เกิดปญั หามากนกั o สถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกล้า - ปัญหาสำคัญ ได้แก่ รถบรรทุกท่ีเข้ามาใช้บริการในสถานีขนส่งสินค้าในลักษณะท่ี นอกเหนือจากวัตถุประสงค์หลักของสถานีขนส่งสินค้า ซึ่งหากไม่สามารถลดจำนวน รถบรรทุกในกลุ่มนี้ลงได้จะส่งผลให้มีรถบรรทุกเข้าออกสถานีขนส่งสินค้ารวมกว่า 1 แสนคนั ต่อปีโดยส่วนใหญ่เปน็ รถบรรทุกขนาดใหญ่ สง่ ผลให้การบริหารจัดการจราจร ภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ และทางเขา้ ออกจะเปน็ ไปดว้ ยความยากลำบาก สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 7-45

บทที่ 8 การศึกษาดูงานสถานีขนสง่ สนิ คา้ ศนู ยก์ ารขนส่งสินคา้ คลังสินคา้ หรอื พ้นื ที่ให้บริการกจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส์

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) บทท่ี 8 การศึกษาดงู านสถานขี นสง่ สินคา้ ศนู ย์การขนสง่ สนิ ค้า คลังสินคา้ หรือพ้ืนที่ให้บรกิ ารกิจกรรมโลจิสตกิ ส์ 8.1 การศึกษาดูงานสถานีขนส่งสินค้า ศูนย์การขนส่งสินค้า คลังสินค้า หรือพ้ืนท่ีให้บริการ กิจกรรมโลจิสติกส์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ที่ปรึกษาได้ดำเนินการจัดการศึกษาดูงาน รวบรวมข้อมูลของศูนยก์ าร ขนส่งสินค้า คลังสินค้าหรือพื้นที่ให้บริการกิจกรรมโลจิสติกส์ และสัมภาษณ์ผู้บริหารของแหล่งศึกษา ดูงานทั้งส้ิน 4 แห่ง และมีการสัมภาษณ์เพิ่มเติมโดยผ่านการประชุมทางไกลผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ อีก 1 แห่ง ดังแสดงในตารางที่ 8.1-1 และภาพกิจกรรมการศึกษาดูงาน แสดงในรูปท่ี 8.1-1 ถึง รูปที่ 8.1-4 ตารางท่ี 8.1-1 หน่วยงานทไ่ี ด้ทำการศกึ ษาดูงาน ลำดับ หน่วยงาน ประเภทการให้บรกิ าร หมายเหตุ 1 บรษิ ัท อินเตอร์ เอก็ ซเ์ พรส โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด คลังสินคา้ On-site Visit และศนู ย์การขนสง่ สนิ ค้า 10 มีนาคม 2564 On-site Visit 2 บริษัท เอก-ชัย ดีสทรบิ ิวช่นั ซิสเทม จำกดั คลังสินคา้ 12 มนี าคม 2564 และศนู ย์การขนสง่ สินคา้ On-site Visit 16 มีนาคม 2564 3 สถานบี รรจแุ ละแยกสนิ ค้ากล่องลาดกระบงั สถานบี รรจุ On-site Visit (ICD) และแยกสินคา้ กลอ่ ง 17 มีนาคม 2564 4 ศนู ย์การขนสง่ ตสู้ ินค้าทางรถไฟ (SRTO) ศนู ย์การเปล่ยี นถ่าย Online Conference ท่าเรือแหลมฉบงั รปู แบบการขนส่งสินค้า 22 พฤศจกิ ายน 2564 5 ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรของแม่ขนสง่ บริการรบั ขนสง่ สินคา้ และบริการให้เชา่ พื้นที่ สถานขี นสง่ สนิ คา้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-1

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 8.1-1 ประมวลภาพกจิ กรรมการดงู าน บริษัท อนิ เตอร์ เอก็ ซ์เพรส โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด รปู ที่ 8.1-2 ประมวลภาพกจิ กรรมการดงู าน บรษิ ทั เอก-ชัย ดีสทริบิวชนั่ ซสิ เทม จำกัด รูปที่ 8.1-3 ประมวลภาพกจิ กรรมการดูงาน สถานบี รรจุและแยกสินคา้ กลอ่ งลาดกระบัง (ICD) รูปท่ี 8.1-4 ประมวลภาพกิจกรรมการดูงาน ศนู ย์การขนส่งตูส้ ินค้าทางรถไฟ (SRTO) ท่าเรือแหลมฉบงั สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-2

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) โดยมีประเด็นหลักของการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การจัดการพื้นท่ี เทคโนโลยี โครงสร้าง บุคลากร อตั ราคา่ บรกิ าร และแผนบริหารความต่อเนื่อง โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี 8.1.1 บริษทั อนิ เตอร์ เอก็ ซเ์ พรส โลจิสตกิ ส์ จำกดั บรษิ ทั อนิ เตอร์ เอ็กซเ์ พรส โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด ก่อตัง้ ข้นึ เมื่อปี 2534 โดยเริ่มจากการเป็นผู้ใหบ้ ริการขนส่ง สินค้าอุปโภคและบริโภค พัสดุ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า สินค้าควบคุมอุณหภูมิ อาหารและเครื่องดื่ม ยาและ เวชภัณฑ์1 และสินค้าเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ด้วยรถบรรทุก ปัจจุบันได้เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับงาน บริการขนส่งสินค้าให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ด้วยการสร้างศูนย์กระจายสินค้าตามภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศจำนวน 13 แห่ง และมีจำนวนรถบรรทุกสำหรับขนส่งสินค้าจำนวน 1,500 คัน แบ่งเป็น รถบรรทุก 4 ล้อ 6 ล้อ และ 10 ล้อ และเทรลเลอร์ ให้บริการแบบ Door to Door โดยมีพื้นที่ให้บริการ ครอบคลมุ ท่วั ประเทศ วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ คือการให้บริการความสะดวกกับทุกชุมชน และมีพันธกิจที่สำคัญ คือการสร้าง ความผูกพันกับลูกค้า ด้วยสินค้าและบริการที่เปี่ยมด้วยนวัตกรรม มุ่งสู่องค์กรคุณภาพและมีความ ยงั่ ยนื ท้ังนี้ บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด ก็ยังได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2015 ในทุกศูนย์กระจายสินค้า ทำให้มั่นใจได้ว่าสินค้าทุกชิ้นจะอยู่ภายในการบริการจัดส่ง ด้วยมาตรฐานที่เป็นสากล เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าอย่างสูงสุด ด้านการขนส่งสินค้า เวชภัณฑ์นั้น บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน Good Storage and Distribution Practices (GSDP) หรือหลักเกณฑ์การจัดเก็บและการจัดส่งสินค้าเวชภัณฑ์ท่ีดี ตามหลักเกณฑ์และข้อกำหนดของ องค์การอนามัยโลกตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง นอกจากนี้ ยังได้รับการรับรองมาตรฐานการบริการ ด้วยรถบรรทุก หรือมาตรฐาน Q-Mark จากกรมการขนส่งทางบก ในการปฏิบัติตามข้อกำหนด มาตรฐานในการให้บริการขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุก บริการจัดส่งพัสดุของบริษทั ฯ ให้บริการลูกค้า 3 กลุม่ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ กลุ่มธุรกิจขนาดย่อม และกลุ่มลูกค้าทั่วไป สำหรับกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ท่ีต้องการส่งพัสดุสินค้าเป็นจำนวนมากหรือสินค้า ขนาดใหญ่ ก็สามารถเลือกใช้บริการแบบรถเหมาคัน หรือการจัดหน่วยรถประจำเพื่อให้บริการตาม ความต้องการของธุรกิจก็ได้ กลุ่มธุรกิจขนาดย่อมที่ต้องการการกระจายสินค้าเป็นรายชิ้น และมี ปลายทางหลากหลาย ก็สามารถใช้บริการจัดส่งสินค้ารายช้ินได้ หรือเพ่ิมใช้บริการ เก็บ จัดสินค้า ส่งสินค้าครบวงจร (Fulfillment) และกลุ่มลูกค้าทั่วไปที่ต้องการส่งสินค้าจำนวนน้อยช้ิน ก็สามารถ ใชบ้ รกิ ารเรยี กรถเพ่ือรับวัสดทุ ่ีต้นทางและจัดส่งโดยตรงถึงปลายทางได้ทัว่ ประเทศ 1 บรษิ ัท อนิ เตอร์ เอก็ ซ์เพรส โลจิสติกส์ มีสว่ นแบ่งการตลาดในการสง่ สินค้าประเภทยาและเวชภัณฑ์มากกว่ารอ้ ยละ 70 ของธุรกจิ การขนส่งยา และเวชภัณฑ์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-3

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สำหรับประเด็นด้านการจัดการพื้นที่ เทคโนโลยี แผนบริหารความต่อเน่ือง โครงสร้างบุคลากร และ อตั ราค่าบรกิ าร สามารถอธบิ ายได้ ดงั น้ี 1) การจดั การพ้นื ท่ี บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด (ศูนย์กระจายสินค้ากิ่งแก้ว) เป็นผู้ให้บริการ คลังสินค้าทั่วไป คลังสินค้าควบคุมอุณหภูมิ (จัดเก็บอาหาร เครื่องด่ืม ยารักษาโรค และ เครื่องสำอาง) และทำหน้าที่เป็นศูนย์กระจายสินค้าท่ีมีท่าเทียบยานพาหนะ 7 ท่า สามารถ ให้บริการลูกค้าที่ขายสินค้าออนไลน์ (ไม่มีคลังสินค้าเป็นของตนเอง) ได้ มีพ้ืนท่ีรวมของคลังสินค้า 5,418 ตารางเมตร แบ่งเป็นพ้ืนท่ีคลังสินค้าท่ัวไป 2,864 ตารางเมตร พ้ืนที่คลังสินค้าควบคุม อุณหภมู ิ 2,358 ตารงเมตร (แบ่งเปน็ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนเก็บสนิ ค้าควบคุมอณุ หภูมิ (แช่เยน็ ) ต้ังแต่ 0 – 5 องศาเซลเซียส และส่วนเก็บสินค้าควบคุมอุณหภูมิ (แช่แข็ง) ต้ังแต่ -18 – 25 องศา เซลเซียส) พื้นท่ีสำนักงานและอื่นๆ 196 ตารางเมตร สามารถจัดเก็บสินค้าบนแท่นรองรับสินค้า จำนวน 4,912 แท่น ซ่ึงจัดเก็บในพ้ืนท่ีคลังสินค้าท่ัวไป 2,262 แท่น และพื้นที่คลังสินค้าควบคุม อณุ หภูมิ 2,650 แท่น มีระบบการจัดเก็บสินค้าบนชั้นวางขนาดมาตรฐานสูง 7 ชั้น โดยสนิ ค้าท่ัวไป ทั้งหมดจะถูกวางบนแท่นรองรับสินค้าและจัดเก็บบนชั้นวาง พื้นของคลังสินค้าสามารถรองรับ น้ำหนักสูงสุดได้ 5 ตันต่อตารางเมตร ทั้งน้ี สถานที่ต้ังของศูนย์กระจายสินค้าแห่งน้ีเป็นพื้นที่เช่า โดยมีสัญญาเชา่ ครง้ั ละ 5 ปี 2) เทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ใช้ในศูนย์กระจายสินค้ามีระบบจัดการคลังสินค้า (WMS) ท่ีออกแบบเฉพาะ โดยมี ฟังก์ชันท่ีสำคัญ ได้แก่ การจัดการคำสั่งซื้อ การจัดการสินค้าขาเข้า การจัดการสินค้าคงคลัง การ จัดการสินค้าขาออก และการจัดทำรายงานสรุป สามารถให้บริการเติมเต็มสินค้ากับลูกค้าแบบ Omni-channel Order Fulfilment สำหรับลูกค้าท่ีทำการขายสินค้าออนไลน์หรือลูกค้าที่ไม่มี คลังสินค้าเป็นของตนเอง โดยผู้ที่มาใช้บริการจะต้องทำการส่ง Advanced Shipping Notices (ASNs) ท้งั ก่อนการรบั และสง่ สินค้าทุกครง้ั การหยิบสินค้าจะใช้พนักงานและระบบเอกสาร ร่วมกับการระบุด้วยความถ่ีวิทยุ เชน่ รหัสแท่ง และ QR Code พนักงานจะต้องทำการสแกนรหัสแท่งหรือ QR Code ในขณะท่ีทำการหยิบ สนิ ค้า สำหรับกระบวนการหยิบสินค้าสำหรับลูกค้าท่ีใช้บริการ Fulfilment นั้น เม่ือได้รับคำส่ัง จากระบบ WMS พนักงานจะหยิบสินค้าตามจำนวน แลว้ ทำการห่อด้วยวสั ดุกันกระแทก บรรจุ ลงกล่องขนาดต่างๆ และตดิ ข้อมูลสถานท่ีจัดส่งสินค้าบนกล่อง จากน้ันจงึ ลำเลียงไปยังท่าเทียบ ยานพาหนะเพื่อรอการขนส่งไปยังลูกค้าคนสุดท้าย ทุกกระบวนการมีการสแกนรหัสแท่งเพ่ือ เก็บข้อมูล หากเป็นสินค้าควบคุมอุณหภูมิจะบรรจุสินค้าลงในบรรจุภัณฑ์ควบคุมอุณหภูมิ (Chilled Packaging) กอ่ นทำการจดั ส่ง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-4

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สำหรับกระบวนการรับสินค้าเข้าจะมีการตรวจสอบความเสียหายและการจัดสินค้าเข้าที่เป็น ลำดับแรก เม่ือได้รับคำสั่งจากระบบ WMS พนักงานจะนำเอกสารท่ีระบตุ ำแหน่งและจำนวนท่ีต้อง หยิบไปทำการหยิบสินค้า นอกจากน้ียังมีกระบวนการการบรรจุภัณฑ์ใหม่ การติดฉลากรหัสแท่ง และการตดิ ตราสัญลักษณต์ ่างๆ ให้กับลูกคา้ ตามทลี่ กู ค้าต้องการ นอกจากระบบจัดการคลังสินค้าศูนย์กระจายสินค้าแห่งน้ียังมีระบบการจัดส่งสินค้า e-POD ด้วย การบันทึกข้อมูลการจัดส่งลงในอุปกรณ์สมาร์ทโฟน และให้ลูกค้าเซ็นรับสินค้าบนอุปกรณ์ ทำให้ สะดวกรวดเร็ว ลดการใช้เอกสาร และเพ่ิมขีดความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลได้เป็น อย่างดี และสามารถแสดงสถานการณ์จัดส่งสินค้าที่ลูกค้าสามารถตรวจสอบได้ทันที และมีระบบ ตดิ ตามยานพาหนะด้วยเทคโนโลยี GPS พร้อมด้วยมาตรฐานการให้บริการจัดส่งสินค้า การตดิ ตาม สถานะของรถบรรทุกตลอด 24 ช่ัวโมง เพื่อให้ความม่ันใจต่อลูกค้าผู้ใช้บริการว่า สินค้าทุกชิ้น ถูกจัดส่งภายใต้ระบบคุณภาพและการเฝ้าระวังตลอดระยะเวลาการจัดส่ง สินค้าจะส่งถึงผู้รับ ปลายทางในสภาพที่สมบูรณ์ ปลอดภัย ตรงเวลา และคงมาตรฐานของสินค้า ทั้งน้ีเพื่อสร้างความ พงึ พอใจให้กับผู้สง่ และผรู้ ับสนิ คา้ ในการใชบ้ ริการ 3) แผนบรหิ ารความต่อเนื่อง แผนบริหารความต่อเนื่องของบริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด แบ่งออกเป็น 4 แผน ได้แก่ แผนบริหารความต่อเน่ืองในกรณีน้ำท่วม ไฟไหม้ การหยุดงานของพนักงาน และระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี • แผนบริหารความต่อเนื่องในกรณีน้ำท่วม มีจุดมุ่งหมายเพ่ือสร้างความมั่นใจในการ ให้บริการขนส่งอย่างต่อเน่ืองในกรณีเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมอย่างไม่คาดคิดภายในพื้นท่ี โดยมีผู้จัดการทีมวิกฤติและทีมจัดส่ง เป็นผู้รับผิดชอบในการวางแผนและการนำแผนไป ปฏิบัติใช้ตามข้ันตอน และมีคณะผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติการ ตามขัน้ ตอน กรณีน้ำท่วมเป็นสถานการณ์ที่ข้ึนอยู่กับปริมาณน้ำฝนในฤดูฝนซึ่งเป็นอาจเกิดขึ้นได้ใน หลายพื้นที่ ทำให้กระทบต่อบริการการขนส่งสินค้าของบริษัท เกณฑ์ช้ีวัดสถานการณ์ กรณีน้ำท่วมมีหลากหลาย เช่น เส้นทางขนส่งชำรุดเสียหายจนไม่สามารถทำการขนส่งได้ ช่องทางการขนส่งถูกปิดหรือตัดขาด และไม่สามารถเข้าถึงพ้ืนท่ีปลายทางสินค้าได้ เป็นต้น โดยจะต้องทำการติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด หลีกเล่ียงเส้นทางท่ีเกิดน้ำท่วม และ อาจพจิ ารณาทำการขนถ่ายสินคา้ ในสถานท่ีเฉพาะกิจนอกศนู ยก์ ระจายสนิ ค้าหรอื คลงั สนิ คา้ หลังจากผู้จัดการแผนกขนส่งได้ทำการทบทวนสถานการณ์ และระบุพื้นที่น้ำท่วมท่ีเป็น ภัยต่อพนักงานขับรถในการขนส่งสินค้าแล้ว จะเข้าสู่กระบวนการสำคัญของแผนบริหาร สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-5

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ความต่อเนื่องในกรณีน้ำท่วมที่แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการตอบสนอง ต่อสถานการณ์แบบเร่งด่วน กระบวนการฟื้นคืนระบบ และกระบวนการทดสอบระบบ ของบรษิ ัทในกรณนี ้ำท่วม สามารถอธิบายรายละเอียดได้ ดงั น้ี (1) กระบวนการตอบสนองต่อสถานการณ์แบบเร่งด่วน ให้ดำเนินการดังนี้ (i) ให้ทำการหา พ้ืนท่ีในการขนถ่ายสินค้าเฉพาะกิจ และ (ii) ยุติการให้บริการในพ้ืนที่ท่ีได้รับการระบุ วา่ เกดิ เหตนุ ำ้ ทว่ ม โดยมีผูจ้ ดั การแผนกขนส่งเป็นผรู้ บั ผิดชอบ (2) กระบวนการฟื้นคืนระบบ จะต้องทำการอธิบายสิ่งท่ีควรปฏิบัติเพื่อกลับสู่การทำงาน ปกติ โดยมีเกณฑ์พิจารณา ได้แก่ การกระจายสินค้าในพื้นที่ที่เคยเกิดน้ำท่วมนั้น สามารถควบคุมได้แล้ว และได้รับประกาศจากราชการวา่ พน้ื ท่ีน้ันไม่เป็นพ้ืนท่ีภัยพิบัติ น้ำท่วม การปฏิบัติการหลังจากหลังจากอธิบายสถานการณ์ให้ดำเนินการ ดังนี้ (i) ผู้จัดการแผนกขนส่งให้กลับไปปฏิบัติหน้าที่ตามภาระและความรับผิดชอบเดิม และ (ii) ผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์ ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและ โลจิสติกส์ และพนักงาน รวมท้ังลูกจ้างชั่วคราวให้กลับไปปฏิบัติหน้าที่ตามภาระและ ความรับผิดชอบเดิม โดยมผี ู้จดั การแผนกขนส่งเป็นผรู้ บั ผิดชอบ (3) กระบวนการทดสอบระบบของบริษัทในกรณีน้ำท่วม การทดสอบระบบสามารถ ดำเนินการได้ตามข้ันตอนต่อไปน้ี (i) ให้ทำการทดสอบทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ตามหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่ง โดยเฉพาะพนักงาน (ทั้งพนักงาน ประจำและพนักงานช่ัวคราว) ท่ีรับผิดชอบด้านการรับและส่งคืนสินค้า และผู้จัดการ แผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์ และ (ii) ทดสอบระบบการควบคุมทางไกลโดยเฉพาะ การสำรองข้อมูลในที่ต่างๆ โดยมีผู้จัดการแผนกขนส่ง ผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและ โลจิสติกส์ พนักงานทร่ี ับผดิ ชอบด้านการรับและส่งคืนสินค้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบ • แผนบริหารความต่อเนื่องในกรณีไฟไหม้ มีจุดมุ่งหมายและขอบเขตเช่นเดียวกับแผน บริหารความต่อเนื่องในกรณีน้ำท่วม ไฟไหม้อาจเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร การสูบบุหรี่ใน พ้นื ท่ีห้ามสบู สัญญาณเตอื นไฟไหม้ไม่ทำงาน หรอื การใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ อย่างไม่เหมาะสม กระบวนการในแผนบรหิ ารความตอ่ เนือ่ ง ประกอบด้วย 3 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการ ปฏิบัติก่อนเกิดเหตุไฟไหม้ การฟื้นคืนระบบ และกระบวนการทดสอบระบบกรณีไฟไหม้ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดได้ ดังน้ี (1) กระบวนการปฏิบัติก่อนเกิดเหตุไฟไหม้ ให้ทำการตรวจสอบความพร้อมใช้งานของ สัญญาณเตือนไฟไหม้ต่างๆ อย่างน้อย 1 คร้ังต่อเดือน มีการฝึกซ้อมรับมือกับ สถานการณ์ไฟไหม้ตามกฎหมาย และเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรบั เหตุการณ์ไฟไหม้ เช่น หน้ากาก เคร่อื งดับเพลิง เป็นต้น โดยมีผู้รับผิดชอบคือผู้จัดการแผนกขนส่ง และ ผจู้ ัดการแผนกคลังสินค้าและโลจสิ ติกส์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-6

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (2) กระบวนการฟ้ืนคืนระบบ เมื่อเหตุการณ์ไฟไหม้ส้ินสุดลงให้พนักงานกลับไปดำเนินการ ตามข้ันตอนการปฏิบัติงานปกติ และต้องมีการสรุปรายงานการเกิดเหตุไฟไหม้เอาไว้ ด้วยทุกครั้ง โดยมีผู้รับผิดชอบคือผู้จัดการแผนกขนส่ง และผู้จัดการแผนกคลังสินค้า และโลจสิ ติกส์ (3) กระบวนการทดสอบระบบของบริษัทในกรณีไฟไหม้ การทดสอบระบบเปน็ การระบุ สถานการณ์การควบคมุ ไฟไหม้ การประกาศยกเลกิ พื้นที่หวงห้ามต่างๆ การปฏิบัติงาน ตามขั้นตอนปฏิบัติปกติหลังเกิดเหตุไฟไหม้ รวมทั้งแผนการตรวจสอบสัญญาณ เตือนไฟไหม้ โดยมีผู้จัดการแผนกขนส่ง ผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์ ผูต้ รวจสอบระบบเป็นผรู้ ับผดิ ชอบ • แผนบริหารความต่อเน่ืองในกรณีการหยุดงานของพนักงาน มีเกณฑ์การพิจารณาท่ี สำคัญ คือพนักงานไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างปกติ เช่น คลังสินค้าไม่สามารถรับ สินค้าจากลูกค้าได้ แผนกจัดส่งไม่สามารถจัดส่งสินค้าได้ เป็นต้น เมื่อเกิดเหตุการหยุด งานของพนักงานภายในศูนย์กระจายสินค้าหรือคลังสินค้าสาขาต่างๆ ขึ้น จะต้องมีการ จัดสรรพนักงานจากส่วนกลางเพ่ือเข้าปฏิบัติงานแทน โดยเฉพาะในกระบวนการจัดส่ง สินค้าให้กับลูกค้ารายสำคัญ และสามารถให้พนักงานบางส่วนทำงานจากที่บ้าน (Work From Home) ได้ กระบวนการในแผนบริหารความตอ่ เนอ่ื ง ประกอบด้วย 4 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการ ปฏิบัติก่อนเกิดเหตุการหยุดงานของพนักงาน เหตุการณ์ชี้นำที่ก่อให้เกิดการหยุดงาน การฟื้นคืนระบบ และกระบวนการทดสอบระบบกรณีการหยุดงานของพนักงาน สามารถ อธิบายรายละเอียดได้ ดังน้ี (1) กระบวนการปฏิบัติก่อนเกิดเหตุการณ์หยุดงานของพนักงาน ให้พนักงานขับรถจาก ส่วนกลางเข้าปฏิบัติหน้าที่แทนในสาขา ผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์ดูแล งานการจัดส่ง แผนกขนส่งจะเป็นหน่วยสนับสนุนการบริหารและจัดการด้านการจัดส่ง นอกจากน้ีจะต้องมีการฝึกซ้อมรับมือกับสถานการณ์ให้กับพนักงานอย่างสม่ำเสมอ โดยมีผจู้ ัดการแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์เป็นผูร้ บั ผดิ ชอบ (2) เหตุการณ์ชี้นำที่ก่อให้เกิดการหยุดงาน เหตุการณ์ช้ีนำสังเกตได้จากการรายงานการ ปฏิบัติงานจากผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์จะไม่สามารถทำได้ตามปกติ โดยต้องปฏิบัติตามข้ันตอนดังน้ี (i) ทำการสำรองข้อมูลสำคัญต่างๆ และรายงาน สถานการณ์ทำงานต่อส่วนกลาง (ii) ให้ความสำคัญกับรายการจัดส่งสินค้าสำหรับ ลูกค้ารายสำคัญ และ (iii) แจ้งตำรวจในท้องท่ีทันที โดยมีผู้จัดการแผนกขนส่ง และ ผู้จดั การแผนกคลังสินค้าและโลจิสติกส์เป็นผูร้ ับผดิ ชอบ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-7

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (3) การฟื้นคืนระบบ จะทำเม่ือควบคุมสถานการณ์ได้เรียบร้อยแล้ว กระบวนการ ปฏิบัติการต่างๆ กลับสู่ปกติ โดยจะต้องจัดการรายการจัดส่งสินค้าทุกรายการเพื่อ ไมใ่ หเ้ กดิ รายการคำส่งั คา้ ง โดยมผี จู้ ัดการแผนกขนส่งเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบ (4) กระบวนการทดสอบระบบกรณีการหยุดงานของพนักงาน จัดให้มีการฝึกอบรมด้าน กระบวนการจัดการภายในองค์กร โดยเฉพาะการเรียบเรียงรายการจัดส่งสินค้าเร่งด่วน และการนำสินค้ากลับคืน ระหว่างผู้รับผิดชอบหน้าท่ีด้านโลจิสติกส์ พนักงานขับรถ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งสินค้า จำนวน 2 ครั้งต่อปี และจะต้องมีการประเมินผล สัมฤทธ์ิของกระบวนการปรับแต่ง (Fine-tune Process) ร่วมด้วย โดยมีผู้จัดการ แผนกขนสง่ และผจู้ ดั การแผนกคลังสนิ ค้าและโลจิสตกิ ส์เปน็ ผรู้ ับผิดชอบ • แผนบริหารความต่อเน่ืองในกรณีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือทำให้ม่ันใจได้ว่าผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ จะสามารถรับและส่งข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง มีผู้จัดการแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบหลัก เหตุการณ์สำคัญท่ีมีแนวโน้มไปสู่สถานการณ์ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว ได้แก่ (i) ระบบคอมพิวเตอร์ที่ส่วนกลาง (สำนักงานใหญ่) และศูนย์กระจายสินค้าไม่สามารถ รายงานการปฏิบัติงานอย่างปกติได้ (ii) ไม่สามารถนำเข้าข้อมูลด้านการจัดส่งในระบบได้ (iii) ไม่สามารถพิมพ์เอกสารการจัดส่งได้ (ต้นทางและปลายทางการขนส่ง) ทันเวลา (iv) ไม่สามารถจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าได้ทันเวลาเนื่องจากข้อมูลล่าช้า (v) ไม่สามารถรับสินค้า คืนได้ทันเวลาเนื่องจากข้อมูลล่าช้า และ (vi) ไม่สามารถรายงานดัชนีชี้วัดสมรรถนะได้ ทนั เวลา กระบวนการในแผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง ประกอบด้วย 4 กระบวนการ ไดแ้ ก่ กระบวนการ ปฏิบัติก่อนเกิดเหตุระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว เหตุการณ์ชี้นำท่ีก่อให้เกิดระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว การฟ้ืนคืนระบบ และกระบวนการทดสอบระบบกรณี ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว สามารถอธบิ ายรายละเอียดได้ ดงั น้ี (1) กระบวนการปฏิบัติก่อนเกิดเหตุระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว จะต้องทำการ สำรองข้อมูลทุกวัน โดยมีสื่อบันทึกข้อมูลที่หลากหลาย เช่น ฮาร์ดดิส ซีดี และเทป เป็นต้น มีการทดสอบความเสถียรของสัญญาณอินเทอร์เน็ต และมีการตรวจสอบ ระบบสารสนเทศและเครือข่ายของบริษัทอยู่เสมอ โดยมีผู้จัดการแผนกเทคโนโลยี สารสนเทศ และหนว่ ยงานสนับสนนุ เป็นผู้รบั ผดิ ชอบ (2) เหตุการณ์ชี้นำที่ก่อให้เกิดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศไม่สามารถทำงานได้อย่างปกติ เน่ืองจากการติดไวรัสคอมพิวเตอร์ ระบบ เครือข่ายฮาร์ดแวร์ชำรดุ หรือการเช่อื มต่ออนิ เทอร์เน็ตมีปัญหา โดยจะต้องดำเนินการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-8

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ดงั นี้ (i) ทำการสำรองข้อมลู ในฐานขอ้ มูลท่ียังใชไ้ ด้ (ii) เปลีย่ นเซิร์ฟเวอร์ฐานขอ้ มูล (iii) นำข้อมูลเข้าเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูลใหม่ โดยมุ่งเน้นรายการการจัดส่งท่ีสำคัญก่อนเสมอ กำหนดใหผ้ จู้ ัดการแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ และหนว่ ยงานสนบั สนนุ เปน็ ผรู้ ับผิดชอบ (3) การฟื้นคืนระบบ จะต้องส่งเสริมให้มีการสำรองข้อมูลอย่างต่อเน่ือง ทำการตรวจสอบ สถานะการทำงานของเครือข่าย ทดสอบการเช่ือมต่อการส่งข้อมูลระหว่างส่วนกลาง (สำนักงานใหญ่) กับศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าเสมอ โดยมีผู้จัดการแผนก เทคโนโลยีสารสนเทศ และหนว่ ยงานสนบั สนนุ เป็นผ้รู ับผิดชอบ (4) กระบวนการทดสอบระบบกรณีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศล้มเหลว ให้ทำการอัพโหลด ฐานข้อมูลไปยังฐานใหม่เสมอเม่ือมีการทดลองการทำงานที่เก่ียวกับระบบใหม่ และ จะต้องมีการประเมินผลสัมฤทธ์ิของกระบวนการปรับแต่งรว่ มด้วย โดยผจู้ ัดการแผนก เทคโนโลยสี ารสนเทศ และหนว่ ยงานสนับสนุนเป็นผู้รบั ผดิ ชอบ 4) โครงสรา้ งบคุ ลากร บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด มีนโยบายด้านบุคลากรมุ่งเน้นการอบรมให้พนักงาน มีจิตสำนึกด้านการให้บริการที่ดีแก่ ลูกค้า มีความรู้ในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี และมีคุณธรรม มีจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานท่ีดี สวยงาม และสะอาด มีอุปกรณ์ท่ีทันสมัย และจัดสวสั ดิการที่ดี ความมน่ั คงในวชิ าชีพ และความก้าวหนา้ ในวชิ าชีพ ตามความถนัดของแต่ละบุคคล ศูนย์กระจายสินค้าแห่งนี้มีบุคลากรปฏิบัติงานท้ังสิ้น 19 ตำแหน่ง รวม 36 คน โดยเป็นบุคลากรที่ ประจำอยทู่ ่ีสำนักงาน 34 คน และเปน็ ผู้บริหารระดบั สูง (ไม่ประจำสำนักงาน 2 คน) ดังนี้ (1) Chief Executive Officer จำนวน 1 คน (ไม่ประจำสำนักงาน) (2) Chief Operation Officer จำนวน 1 คน (ไมป่ ระจำสำนักงาน) (3) ผจู้ ัดการแผนกคลงั สินค้าและโลจสิ ตกิ ส์ จำนวน 1 คน (4) ผชู้ ่วยผูจ้ ดั การแผนกคลังสนิ ค้าและโลจิสติกส์ จำนวน 2 คน (5) หัวหน้าแผนก Fulfilment จำนวน 1 คน (6) หัวหนา้ แผนกประสานงานการขนสง่ และบริการลูกคา้ จำนวน 1 คน (7) หวั หนา้ แผนกธุรการเอกสารและบริการลกู คา้ จำนวน 1 คน (8) หวั หนา้ แผนกธุรการและการเงิน จำนวน 1 คน (9) หัวหนา้ แผนกปฏบิ ตั กิ ารรับเข้า-จา่ ยออก จำนวน 1 คน (10) หัวหน้าแผนกจัดแพค็ สินค้า จำนวน 1 คน (11) ผ้ชู ่วยหวั หน้าแผนก Fulfilment จำนวน 1 คน (12) หวั หนา้ หนว่ ย Fulfilment จำนวน 1 คน (13) เจา้ หน้าทแ่ี ผนก Fulfilment จำนวน 4 คน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-9

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (14) หวั หน้าหนว่ ยธุรการเอกสารและบริการลูกค้า จำนวน 2 คน (15) เจา้ หน้าทีธ่ ุรการเอกสารและบริการลูกคา้ จำนวน 6 คน (16) ผ้ชู ่วยหัวหน้าแผนกรับเขา้ -จ่ายออก จำนวน 1 คน (17) เจ้าหนา้ ทปี่ ฏบิ ตั ิการรับเข้า-จ่ายออก จำนวน 5 คน (18) เจา้ หน้าท่ปี ฏบิ ตั ิการแพ็คสินค้า จำนวน 4 คน (19) แม่บ้าน จำนวน 1 คน โครงสรา้ งองค์กรในศนู ย์กระจายสนิ คา้ แสดงได้ ดงั รูปที่ 8.1-5 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-10



โค Chief Execu หวั หน้าแผนก Fulfilment หวั หนา้ แผนกประสานงานการ Chief Opera ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ แผนก ขนสง่ และบรกิ ารลูกคา้ Fulfilment ผูจ้ ดั การแผน และโล หวั หน้าหนว่ ย Fulfilment ผชู้ ว่ ยผ้จู ัดการแ เจ้าหนา้ ทีแ่ ผนก Fulfilment และโล หวั หนา้ แผนกธรุ การเอกสาร และบริการลูกค้า หวั หน้าหนว่ ยธุรการเอกสาร และบริการลูกคา้ เจ้าหนา้ ที่ธรุ การเอกสาร และบรกิ ารลกู ค้า แมบ่ ้าน รูปท่ี 8.1-5 โครงสร้างองค์กรในศนู ย์กระจายสนิ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) ครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) utive Officer ation Officer นกคลงั สินค้า หัวหนา้ แผนกปฏบิ ัติ หวั หนา้ แผนกจดั แพค็ สนิ ค้า ลจสิ ตกิ ส์ การรบั เข้า จ่ายออก ผูช้ ว่ ยหัวหน้าแผนกจดั แพค็ แผนกคลังสินคา้ ผู้ช่วยหัวหนา้ แผนกปฏิบตั กิ าร สนิ คา้ ลจิสตกิ ส์ รับเข้า จ่ายออก หวั หนา้ หนว่ ยปฏิบัตกิ าร หวั หน้าแผนกธรุ การและ หวั หน้าหนว่ ยปฏิบตั ิการ จัดแพค็ สนิ ค้า การเงนิ รบั เขา้ จ่ายออก เจา้ หน้าที่ปฏิบัตกิ าร เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ัตกิ าร จัดแพค็ สนิ คา้ รับเข้า จ่ายออก นคา้ บรษิ ัท อนิ เตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด 8-11

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5) อตั ราค่าบริการ ลูกค้าท่ีจะเช่าคลังสินค้าต้องทำสัญญาเช่าตั้งแต่ 1 ปี ข้ึนไป โดยเช่าได้สูงสุดไม่เกิน 5 ปี โดยมี อัตราค่าเช่า 155 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยอัตราค่าบริการสำหรับการขนถ่ายสินค้าลงจาก ยานพาหนะของสินค้าขาเข้า จะคิดตามขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ (20 ฟุต และ 40 ฟุต) และการ ขนถ่ายสินค้าขึ้นยานพาหนะของสินค้าขาออก จะคิดตามขนาดของตู้คอนเทนเนอร์เช่นเดียวกับ สินค้าขาเข้า (ในกรณีที่ใช้ผู้จัดส่งสินค้าของบริษัทก็จะได้รับยกเว้นค่าบริการในส่วนน้ี) อัตรา ค่าบริการในกระบวนการตรวจสอบสินค้าจะคิดตามปริมาณกล่อง หรือจำนวนแท่นรองรับสินค้า ท่ีใช้ (ข้ึนอยู่กับการทำข้อตกลงระหว่างผู้จัดส่ง) สำหรับอัตราค่าบริการในการฝากสินค้าจะคิดตาม ปริมาตร (ลูกบาศก์เมตร) ต่อวัน หากลูกค้าไม่มีแท่นรองรับสินค้ามาเองจะต้องคิดค่าเช่าแท่น รองรับสินค้าร่วมด้วย ด้านการจัดส่งสินค้าแบบเหมาคันรถจะคิดราคาเหมาตามระยะทางแตกต่าง กันไปตามขนาดของยานพาหนะ 8.1.2 บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบวิ ช่ัน ซิสเทม จำกัด บริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวช่ัน ซิสเทม จำกัด เริ่มก่อต้ังข้ึนโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์เมื่อปี 2537 เพ่ือดำเนินธุรกิจค้าปลีกในรูปแบบไฮเปอร์มาร์เก็ตโดยใช้ชื่อว่าห้างโลตัส เปิดให้บริการสาขาแรก ที่ศูนย์การค้าซีคอนแสควร์ (ศรีนครินทร์) ในปี 2541 เครือเจริญโภคภัณฑ์ได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรกับ กลุ่มเทสโกจ้ ากสหราชอาณาจักร อนั นำไปสกู่ ารสรา้ งธรุ กจิ ค้าปลกี รูปแบบใหม่ภายใต้ช่ือเทสโก้ โลตสั โลตัสดำเนินธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ด้วยนโยบายในการจำหน่ายสินค้าคุณภาพสูงในราคาที่ เหมาะสม โดยมุ่งเน้นการสร้างสรรส่ิงที่ดีเพ่ือลกู ค้า เพ่อื นพนักงาน และชุมชน ปัจจุบันโลตสั ให้บริการ ลูกค้ากว่า 15 ล้านคนต่อสัปดาห์ ผ่านท้ังช่องทางท่ีเป็นสาขาและออนไลน์ โดยมีสาขาประมาณ 2,000 แห่งท่ัวประเทศ ภายใต้ 5 รูปแบบร้านค้า ได้แก่ เอ็กซ์ตร้า ไฮเปอร์มาร์เก็ต ดีพาร์ทเมนท์สโตร์ ตลาด และเอ็กซ์เพรส เพื่อตอบสนองตลาดท่ีแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มลูกค้า พร้อมทั้งจำหน่ายสินค้า ทางออนไลน์ 2 ช่องทางหลัก คือ เทสโก้ โลตัส ช้อป ออนไลน์ จำหน่าย อาหารสด สินค้าอุปโภค บริโภค รวมกว่า 20,000 รายการ และร้านค้าของเทสโก้ โลตัส บนช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น ลาซาด้า โดยจำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ผลิตภัณฑ์แม่และเด็ก สินค้าเพื่อสุขภาพและ ความงาม และเครื่องใชไ้ ฟฟ้า โลตัสให้ความสำคัญกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมสินค้าและบริการ เพื่อสร้างประสบการณ์การซ้ือที่ดี ให้แก่ลูกคา้ เชน่ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์สอ่ื สารเคล่ือนที่ ท่ีมอบข้อมูลที่เป็นประโยชน์ พร้อมคูปองส่วนลด นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำฉลาก QR Code บนอาหารสด เพื่อให้ข้อมูลด้าน แหล่งท่ีมาของอาหารและคุณค่าทางโภชนาการ นอกจากน้ียังมีช่องทางสื่อสารกับลูกค้าผ่านเครือข่าย สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-12

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ค โดยมุ่งเน้นเร่ืองการตอบสนองความต้องการของลูกค้ามากกว่าการ ประหยดั ต้นทุน เพ่อื รักษาระดับการให้บรกิ ารลูกค้าให้อยู่ในระดับสงู สุด สำหรับประเด็นด้านการจัดการพื้นท่ี เทคโนโลยี แผนบริหารความต่อเน่ือง และอัตราค่าบริการ สามารถอธบิ ายได้ ดงั น้ี 1) การจดั การพ้ืนที่ กลยุทธ์ด้านการเลือกสถานท่ีต้ังศูนย์กระจายสินค้าบริษัทฯ จะอยู่บนพ้ืนฐานของ Gravity Model และจะสร้างศูนย์กระจายสินค้าและคลังขนาดเล็กก่อนแล้วจึงขยายขนาดในอนาคต เนื่องจากมี ประสบการณ์การสร้างศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าคลังขนาดใหญ่แล้วมีการใช้ประโยชน์ พ้ืนท่ีค่อนข้างต่ำ จนต้องปล่อยให้เอกชนรายอื่นเข้ามาเช่าใช้พ้ืนที่แทน ท้ังนี้ ศูนย์กระจายสินค้า และคลังสนิ ค้าของบริษทั ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 45001 และ OHSAS 18001 กิจกรรมหลักในศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้า แบ่งออกเป็น 2 กิจกรรม ได้แก่ การขนส่งข้ามท่า (Cross Docking) และการจัดเก็บสินค้า โดยการขนสง่ สนิ ค้าขา้ มทา่ มีจำนวนฉลยี่ 5,000 รายการตอ่ วัน และการจัดเก็บสินค้าเฉล่ีย 20,000 รายการต่อวัน โดยสินค้าที่เน่าเสียง่าย เช่น อาหารสด นม จะเกบ็ ในศูนยก์ ระจายสนิ ค้าควบคุมอณุ หภูมิ (แบง่ เป็นการควบคมุ อุณหภูมทิ ่ี 20 องศาเซลเซยี ส 1 องศาเซลเซียส และหอ้ งแชแ่ ขง็ อณุ หภูมิ -21 องศาเซลเซยี ส) และใชก้ ารขนสง่ แบบข้ามทา่ เปน็ หลัก โดยจะไม่มีการเก็บสินค้านานเกิน 1 วัน มีปริมาณการขนส่งเฉลี่ย 4,600 รายการต่อวัน และมี การแบ่งผู้จัดส่งสินคา้ ขาเข้าออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ีมีประวัตกิ ารส่งดเี ลิศ (อนุญาตให้ส่งสนิ ค้า แบบข้ามทา่ ได)้ กลุ่มทมี่ ีประวัติการส่งดี (ไมอ่ นญุ าตให้สง่ สนิ คา้ แบบขา้ มท่า แตจ่ ะให้สง่ สินคา้ มา เก็บไว้ในคลงั สนิ ค้ากอ่ น) ปัจจุบันการกระจายสินค้าของบริษัทฯ จะกระทำผ่านบริษัทรับขนสง่ สินค้าเป็นหลัก (ไม่มีการขนส่ง ด้วยยานพาหนะของตนเอง) และการขนส่งสินค้าทั่วไปจะบรรจุสินค้าบนแท่นรองรับสินค้า แล้วขนส่งด้วยตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต โดยมีเวลามาตรฐานในการนำสินค้าออกจากตู้เพ่ือรอ การจัดเก็บเข้าที่ จนถึงการนำแท่นรองรับสินค้าที่บรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์จะใช้เวลาไม่เกิน 1 ชว่ั โมงต่อตู้ 2) เทคโนโลยี ศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าของบริษัททุกแห่งมีระบบจัดการคลังสินค้าที่เชื่อมต่อกับ โปรแกรมการวางแผนทรัพยากรองค์กร (ERP) การเช่ือมต่อข้อมูลจากส่วนต่างๆ ที่หลากหลายเข้า กับระบบการจัดการคลังสินค้าจะกระทำผ่าน API ผู้จัดส่งสินค้าทุกรายจะต้องส่ง Advanced Shipping Notices (ASNs) ก่อนการรับและส่งสินค้าทุกครั้ง เมื่อรับ ASNs แล้วระบบการจัดการ คลังสินค้าจะทำการรับสินค้าขาเข้า การพิมพ์ฉลากต่างๆ การจัดเก็บสินค้าเข้าที่ การหยิบสินค้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-13

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) จำนวนสินค้าท่ีต้องหยิบ การระบุตำแหน่งการเก็บสินค้า ปริมาณการจัดส่งไปยังสาขาต่างๆ จนถึง การนำสินคา้ เขา้ ตู้คอนเทนเนอร์เพื่อจดั ส่งไปยังสาขาต่างๆ ของโลตสั กระบวนการหยิบสินค้าภายในศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้า แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ การหยิบสินค้าที่ละชิ้นใส่กล่อง (สำหรับส่งไปยังโลตัสเอ็กซ์เพรสสาขาต่างๆ) และการหยิบสินค้า วางบนแท่นรองรับสินค้า (สำหรับส่งไปยังโลตัสสาขาต่างๆ) ผ่านการใช้ระบบอุปกรณ์สั่งด้วยเสียง การหยิบตามสัญญาณไฟ สายพานลำเลียงสินค้า การระบุด้วยความถ่ีวิทยุ เช่น รหัสแท่ง QR Code ซ่ึงส่ังการผ่านระบบการจัดการคลังสินค้า โดยมีตัวชี้วัดสำหรับพนักงานหยิบสินค้าเรียกว่า Pick by Line ซงึ่ นับจำนวนการหยิบต่อเวลา เพ่ือเทียบกับเวลามาตรฐานทกี่ ำหนดไว้ โดยจัดแสดง ค่าสมรรถนะของผู้ปฏิบตั ิงานไว้บนกระดาน นอกจากนี้ ยังมีระบบ Transportation Cost Control ที่พัฒนาข้ึนเอง เพ่ือควบคุมต้นทุนในการ ขนส่งสินค้าไปยังสถานท่ีต่างๆ ให้เกิดความเหมาะสมมากท่ีสุด มีระบบ Transportation Management System (TMS) สำหรับการจัดเส้นทางขนส่งท่ีเหมาะสมท่ีสุด เม่ือได้เส้นทางที่ จะทำการขนส่งแล้วจะทำการแจ้งไปยังบริษัทขนส่งให้เดินทางตามเส้นทางท่ีกำหนดไว้ สำหรับ การติดตามยานพาหนะจะใช้โปรแกรม Microlise ติดตามการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ ต้ังแต่ เริ่มออกเดินทางจากศูนย์กระจายสินค้าหรือคลังสินค้า จนกระทั่งกลับเข้ามาที่ศูนย์กระจาย สนิ ค้าหรอื คลังสนิ คา้ 3) แผนบริหารความตอ่ เน่ือง แผนบริหารความต่อเน่ืองขององค์กร มีประเด็นสำคัญที่หากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้นจนไม่ สามารถดำเนินการภายในศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าได้ จะใช้เวลาไม่เกิน 24 ช่ัวโมง ในการเปิดคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่เพื่อดำเนินการแทน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุ กับยานพาหนะขนส่ง จนไม่สามารถนำสินค้าออกจากตู้คอนเทนเนอร์ได้ จะมีการจัดส่งสินค้า รอบใหม่ภายใน 24 ช่ัวโมง เช่น หากเกิดเหตุการณ์รถเสียจะทำการนำรถคันใหม่ไปเปล่ียนถ่าย ตู้สินค้าแล้วขนส่งต่อไป นอกจากน้ี ยังมีการจัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไว้หลายแห่ง เพื่อเป็น ข้อมูลสำรองหากเกิดการโจมตีทางไซเบอร์ ทั้งนี้ ศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าทุกแห่งของ บรษิ ทั ฯ ไดม้ ีการทำประกนั ภัยเอาไวแ้ ล้ว 4) อัตราคา่ บรกิ าร การคิดอัตราค่าบริการของศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าจะมีหน่วยเป็นบาทต่อกล่อง และ บาทต่อเท่ียว ข้ออยู่กับข้อตกลงในการขนส่งสินค้ามายังศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้า เช่น เจ้าของสินค้าส่งสินค้ามาท่ีศูนย์กระจายสินค้าเอง การให้บริษัทขนส่งของโลตัสไปรับสินค้าที่ โรงงานของเจ้าของสินค้าแล้วกลับมายังศูนย์กระจายสินค้า (เจ้าของสินค้าไม่มีรถขนส่งเอง) หรือ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-14

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) การให้บริษัทขนส่งของโลตัสไปรับสินค้าท่ีโรงงานของเจ้าของสินค้าแล้วไปส่งท่ีสาขาต่างๆ ของ โลตัส เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีบริการขนส่งเที่ยวกลับให้แก่เจ้าของสินค้า สำหรับการขนส่งสินค้า ในเส้นทางเดียวกัน (มีอัตราค่าบริการถูกกว่าการที่เจ้าของสินค้าขนสินค้ามาศูนย์กระจายสินค้าเอง) สำหรับ ต้นทุนในการเช่าแท่นรองรับสินค้าจะเท่ากับ 0.4 บาทต่อแท่นต่อวัน เนื่องจากบริษัทฯ ไม่มีแทน่ รองรับสินค้าเป็นของตนเอง ลกู ค้าจะตอ้ งเชา่ แท่นรองรับสนิ ค้า อน่ึง ในส่วนของโครงสร้างการบริหารงานบุคคลของบริษัท ที่ปรึกษาได้ติดต่อขอข้อมูลเพ่ิมเติม ซึ่งได้คำตอบจากบรษิ ัทวา่ เป็นความลับทางธรุ กจิ จึงไมย่ ินยอมใหเ้ ผยแพรใ่ นรายงานฉบบั น้ี 8.1.3 สถานบี รรจแุ ละแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง (ไอซีดี ลาดกระบัง) เป็นสถานีรถไฟช้ันพิเศษของ การรถไฟแห่งประเทศไทยท่ีสร้างขึ้นเพ่ืออำนวยความสะดวก ให้บริการแก่ผู้ส่งออก ผู้นำเข้า และ บุคคลทั่วไป ในกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการนำเข้าและส่งออกสินค้าด้วยตู้คอนเทนเนอร์ (เสมือนท่าเรือบก) มีเน้ือที่จำนวน 645 ไร่ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ให้สัมปทานเอกชนดำเนินงานบริหารสถานี ขนส่งสินคา้ แบง่ ออกเปน็ 6 สถานยี อ่ ย ได้แก่ • สถานีท่ี 1 บริษทั สยามชอร์ไซด์ เซอร์วิส จำกดั • สถานีท่ี 2 บริษัท อีสเทิรน์ ซี แหลมฉบงั เทอร์มนิ ลั จำกัด • สถานที ่ี 3 บริษทั เอเวอรก์ รนี คอนเทนเนอร์ เทอร์มนิ ลั (ประเทศไทย) จำกัด • สถานที ่ี 4 บริษัท ทิฟฟ่า ไอซดี ี จำกดั • สถานที ่ี 5 บรษิ ทั ไทยฮนั จนิ โลจสิ ติกส์ จำกัด • สถานีที่ 6 บรษิ ทั เอ็น.วาย.เค.ดสิ ทริบวิ ช่ัน เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกดั ขีดความสามารถของสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง ถูกออกแบบไว้เพ่ือรองรับปริมาณ คอนเทนเนอร์ได้ปีละประมาณ 400,000 ถึง 600,00 TEUs ปัจจุบันได้รับการพัฒนาปรับปรุงขีด ความสามารถให้รองรับตู้สินค้าได้ปีละประมาณ 1 ล้าน TEUs มีรถจักรชุดใหม่ท่ีมีกำลังมากข้ึน สามารถลากจูงแคร่ได้สงู สุด 48 แคร่ (แต่ปัจจบุ ันลากจูงเพียง 32 แคร่ เนื่องจากศนู ย์การขนสง่ ต้สู ินค้า ทางรถไฟ (SRTO) ท่ีท่าเรือแหลมฉบังรองรับได้เพียง 32 แคร่) โดยมีแผนการขยายพ้ืนที่ลานกองเก็บ ตู้คอนเทนเนอร์ไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ และการหาผู้เช่าใช้สถานีรายใหม่ๆ เป็นกลยุทธ์หลัก ในปัจจุบัน สำหรับประเด็นด้านการจัดการพื้นที่ เทคโนโลยี แผนบริหารความต่อเน่ือง โครงสร้างบุคลากร และ อตั ราคา่ บริการ สามารถอธิบายได้ ดงั น้ี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-15

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 1) การจดั การพน้ื ที่ สถานบี รรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง มีโรงพักสินค้าขนาดพื้นท่ี 5,800 – 8,440 ตารางเมตร อาคารสำนักงาน 4 ชน้ั มพี นื้ ท่ี 1,736 ตารางเมตร พนื้ ท่ีบรเิ วณประตคู วบคุมการเข้าและออก มีพื้นท่ี 780 ตารางเมตร โรงซ่อมบำรุง มีพ้ืนที่ 720 ตารางเมตร โรงอาหาร มีพ้ืนท่ี 336 ตารางเมตร บริเวณ ทำความสะอาดตู้คอนเทนเนอร์และเครื่องมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์ยกขน มีพ้ืนท่ี 500 ตารางเมตร ลานกองเก็บตู้สินค้า มีพื้นที่ 48,000 – 97,600 ตารางเมตร ลานจอดรถ มีพ้ืนที่ 14,654 – 25,998 ตารางเมตร และปล๊ักไฟสำหรับตสู้ ินคา้ ควบคุอุณหภมู ิ 48 ปลัก๊ และมีผเู้ ช่าใช้พื้นที่ 6 ราย แต่ละราย มีลานกองเกบ็ ตคู้ อนเทนเนอร์เปน็ ของตนเอง (ไมใ่ ช้ร่วมกัน) ไดแ้ ก่ • ประตู 1 สถานี A บริษัท สยามชอร์ไซด์ เซอรว์ สิ จำกัด มีพื้นที่ 127,200 ตารางเมตร • ประตู 2 สถานี B บริษทั อีสเทริ ์น ซี แหลมฉบงั เทอรม์ ินัล จำกัด มพี ืน้ ที่ 96,600 ตารางเมตร • ประตู 3 สถานี C บริษัท เอเวอร์กรีน คอนเทนเนอร์ เทอร์มินัล (ประเทศไทย) จำกัด มีพื้นท่ี 130,400 ตารางเมตร • ประตู 4 สถานี D บริษทั ทิฟฟ่า ไอซดี ี จำกัด มีพ้นื ที่ 92,800 ตารางเมตร • ประตู 5 สถานี E บริษัท ไทยฮันจิน โลจสิ ติกส์ จำกัดมีพื้นที่ 69,600 ตารางเมตร • ประตู 6 สถานี F บริษัท เอ็น.วาย.เค.ดิสทริบิวชั่น เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด มีพ้ืนท่ี 90,944 ตารางเมตร นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานราชการตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี จำนวน 7 หน่วย ได้แก่ สำนักงานศุลกากรตรวจ สินค้าลาดกระบัง ด่านตรวจพืชลาดกระบัง ด่านตรวจสัตว์ป่าลาดกระบัง ด่านตรวจสัตว์น้ำ ลาดกระบัง ด่านกักสัตว์ลาดกระบัง ด่านป่าไม้กรุงเทพ และด่านอาหารและยา หน่วยงานราชการ ท่ีเข้าใช้พ้ืนที่น้ัน รฟท. จะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรกั ษาอาคาร คา่ บริการอินเทอร์เนต็ เป็นตน้ สำหรับค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นในแต่ละพน้ื ท่ีท้ัง 6 สถานี ผู้เช่าใช้พื้นท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึน ในพื้นที่ที่ได้รับสัมปทานไปแล้ว เช่น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมถนน การบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น และ ในกรณีหมดระยะเวลาสัญญาเช่า ผู้เช่าใช้พ้ืนท่ีจะต้องคืนพ้ืนท่ีให้กับ รฟท. โดยจะมีการตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบการคืนพื้นที่ เพื่อพิจารณาว่าส่ิงปลูกสร้างใดจำเป็นต้องทำให้กลับสู่ สภาพเดิม หรือสิ่งปลูกสร้างใดไม่จำเป็นต้องทำให้กลับสู่สภาพเดิม ท้ังน้ี การถไฟแห่งประเทศไทย ได้มีการกำหนดรายการท่ผี ู้เช่าใช้พื้นท่จี ะต้องทำใหก้ ลับส่สู ภาพเดิมก่อนคืนพื้นท่ี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-16

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2) เทคโนโลยี สถานีบรรจแุ ละแยกสินค้ากล่องลาดกระบงั มีระบบการจองแคร่บรรทุกออนไลน์ (Online Booking) ระบบติดตามขบวนรถระหวา่ งลาดกระบัง – ทา่ เรือแหลมฉบัง กลอ้ งวงจรปิด ระบบติดตามการยกขน (เวลาในการยกขน) และระบบการประมวลผลภาพ (Image Processing) จากกล้องที่ติดอยู่ใต้ สะพานใกล้กับสถานี สำหรับอ่านหมายเลขหรือตัวอักษรที่ติดบนขบวนรถ แล้วส่งข้อมูลกลับมายัง สำนักงานไอซีดีและศุลกากร (อยู่ระหว่างการทดลองระบบ) นอกจากน้ี ยังมีความร่วมมือกับ Japan Freight Railway Company หรือ JR Freight ประเทศญี่ปุ่นในการพัฒนาระบบติดตาม ตคู้ อนเทนเนอร์ (อยรู่ ะหวา่ งการพฒั นา) 3) แผนบรหิ ารความตอ่ เน่ือง ปัจจุบันสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบังยังไม่มีแผนบริหารความต่อเน่ือง มีเพียง แผนตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินเฉพาะเรื่อง เช่น แผนตอบสนองสถานการณ์น้ำท่วม ที่จัดทำ ร่วมกับผู้เช่าใช้สถานีท้ัง 6 บริษัท และแผนการซ้อมหนีไฟและตอบสนองต่อเหตุการณ์ไฟไหม้ ปีละ 1 ครง้ั อย่างไรกต็ าม การรถไฟแห่งประเทศไทยได้บังคบั ให้ผเู้ ช่าใช้สถานีทำประกันภัยการ ขนส่งทางรถไฟ (สง่ กรมธรรม์ใหก้ บั รฟท.) 4) โครงสร้างบุคลากร สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง มีบุคลากรปฏิบัติงานทั้งสิ้น 15 ตำแหน่ง รวม 56 คน สงั กัดกองปฏบิ ัติการไอซีดีลาดกระบัง จำนวน 1 คน สังกดั งานกำกับสัญญาและรว่ มทุน จำนวน 50 คน และสังกัดงานกำกบั สัญญาและร่วมทุน จำนวน 5 คน ไดแ้ ก่ (1) หัวหน้ากอง สงั กัดกองปฏิบัติการไอซดี ีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 10) จำนวน 1 คน (2) หัวหน้างาน สงั กดั งานกำกบั สัญญาและร่วมทุน (พนกั งานการเดนิ รถ 8) จำนวน 1 คน (3) สารวัตร สังกดั งานบริหารจัดการไอซดี ีลาดกระบัง (พนกั งานการเดินรถ 8) จำนวน 1 คน (4) ผู้ชว่ ยสารวตั ร สังกัดงานบริหารจัดการไอซดี ลี าดกระบัง (พนักงานการเดนิ รถ 7) จำนวน 1 คน (5) พนกั งานการเดนิ รถ 6 สงั กัดงานบรหิ ารจัดการไอซดี ีลาดกระบัง จำนวน 3 คน (6) พนกั งานการเดินรถ 6 สงั กดั งานกำกับสญั ญาและรว่ มทุน จำนวน 4 คน (7) นายสถานี สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 6) จำนวน 7 คน (8) พนกั งานรักษารถ สงั กัดงานบรหิ ารจดั การไอซดี ลี าดกระบัง (พนกั งานขบวนรถ 6) จำนวน 9 คน (9) นายสถานี สังกดั งานบรหิ ารจัดการไอซดี ีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 5) จำนวน 1 คน (10) พนักงานรกั ษารถ สงั กดั งานบริหารจัดการไอซีดลี าดกระบัง (พนักงานขบวนรถ 5) จำนวน 2 คน (11) พนักงานห้ามล้อ สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานขบวนรถ 2 - 4) จำนวน 13 คน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-17

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (12) พนักงานสับเปลี่ยน สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 4 - 5) จำนวน 7 คน (13) เสมียนสถานี สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 2 - 4) จำนวน 6 คน (14) พนักงานพ่วงรถ สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 2 - 3) จำนวน 8 คน (15) พนักงานคุมประแจฯ สงั กดั งานบริหารจัดการไอซดี ลี าดกระบัง (พนักงานการเดนิ รถ 2) จำนวน 14 คน (16) พนักงานกั้นถนน สังกัดงานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง (พนักงานการเดินรถ 2) จำนวน 2 คน (17) สำหรับโครงสร้างองค์กรของสำนักงานขนส่งคอนเทนเนอร์ แบ่งออกเป็น หัวหน้า สำนกั งานขนส่งคอนเทนเนอร์ มหี น่วยงานขึน้ ตรง 3 กอง ไดแ้ ก่ - กองปฏิบัติการขนส่ง มีหน่วยงานข้ึนตรง 3 หน่วยงาน ได้แก่ งานควบคุมการ ปฏิบัติการ งานสถานขี นสง่ สินคา้ ลาดกระบงั และงานสถานขี นสง่ สินคา้ แหลมฉบงั - กองตลาดขนส่ง มีหน่วยงานข้ึนตรง 2 หน่วยงาน ได้แก่ งานการขายและบริการ ขนสง่ และงานวางแผนและพฒั นาการตลาด - กองบริหารจัดการและการเงิน มีหน่วยงานขึ้นตรง 3 หน่วยงาน ได้แก่ งาน บริหารงานท่ัวไป งานสัญญาและทรัพย์สนิ และงานการเงนิ และบัญชี โครงสร้างองค์กรสำนักงานขนส่งคอนเทนเนอร์แสดงได้ดังรูปท่ี 8.1-6 รปู ที่ 8.1-6 โครงสรา้ งองคก์ รสำนักงานขนส่งคอนเทนเนอร์ 8-18 สถานีบรรจแุ ละแยกสนิ คา้ กล่องลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 5) อตั ราค่าบริการ รายได้หลักของสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง เกิดจากค่าระวางการขนส่งสินค้าทาง รถไฟ และค่าสัมปทานซึ่งเก็บจากผู้ประกอบการท่ีเช่าใช้พื้นที่ โดยผู้เช่าใช้สถานีจะถูกบังคับให้มี การขนส่งทางรถไฟไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 50 ของการขนส่งท้ังหมดท่ีเกิดขึ้น 8.1.4 ศูนยก์ ารขนสง่ ตสู้ นิ คา้ ทางรถไฟ ท่ีท่าเรอื แหลมฉบงั (SRTO) ศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ ที่ท่าเรือแหลมฉบัง (SRTO) ตั้งอยู่ท่ีบริเวณทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ภายในท่าเรือแหลมฉบัง มีวัตถุประสงค์เพ่ือก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานหลัก ส่ิงอำนวย ความสะดวกที่จำเป็นในการขนถ่ายต้คู อนเทนเนอร์ข้ึนและลงแคร่รถไฟท่ีท่าเรอื แหลมฉบัง และยังเป็น การรองรับการเชื่อมต่อกับโครงการก่อสร้างทางรถไฟรางคู่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย จากสถานี แหลมฉบังเข้าสู่พ้ืนที่โครงการระยะทางประมาณ 4.3 กิโลเมตร โดยมีแผนการลงทุน 2 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 (ปีงบประมาณ 2559 - 2560) เป็นการพัฒนาเพื่อรองรับตู้คอนเทนเนอร์จนถึงระดับ 1 ล้าน TEUs ต่อปี และระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2564 - 2565) จะสามารถรองรับตู้คอนเทนเนอร์ได้ถึง 2 ล้าน TEUs ตอ่ ปี การท่าเรือแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และเคร่ืองมือขนถ่ายตู้- คอนเทนเนอร์หลักทั้งหมด รวมถึงการบริหาร การประกอบการ โดยมีงบประมาณลงทุน 2,944.93 ล้านบาท แบ่งออกเป็นระยะที่ 1 (ปีงบประมาณ 2559 - 2560) วงเงินรวม 2,031.15 ล้านบาท และระยะท่ี 2 (ปีงบประมาณ 2564 - 2565) วงเงนิ รวม 913.78 ล้านบาท โครงการดังกล่าวมีการดำเนินการบนพ้ืนท่ี 600 ไร่ อยู่ระหว่างท่าเทียบเรือชุด B และ C โดยลักษณะ ของย่านรถไฟจะติดตั้งรางรถไฟลักษณะเป็นพวงราง จำนวน 6 ราง แต่ละรางมีความยาวระหว่าง 1,224 – 1,434 เมตร สามารถจอดขบวนรถไฟได้รางละ 2 ขบวน รวมทั้งสิ้น 12 ขบวน ในเวลา เดียวกัน โดยเคร่ืองมือขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์เป็นแบบชนิดเดินบนราง (Rail Mounted Gantry Crane: RMG) สามารถทำงานครอ่ มรางรถไฟไดท้ ้ัง 6 ราง ในเวลาเดียวกนั สำหรับประเด็นด้านการจัดการพ้ืนท่ี เทคโนโลยี แผนบริหารความต่อเน่ือง และอัตราค่าบริการ สามารถอธบิ ายได้ ดังนี้ 1) การจดั การพืน้ ที่ ศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ ที่ท่าเรือแหลมฉบัง ท่ีต้ังอยู่บริเวณโซน 4 ระหว่างท่าเรือ B และ ท่าเรือ C ในเขตพื้นที่ท่าเรือแหลมฉบัง มีพื้นท่ีโครงการ 600 ไร่ โดยในระยะแรกจะให้พื้นที่เพื่อ ดำเนินโครงการ 370 ไร่ และมีพื้นท่ีสำรอง 230 ไร่ ดำเนินการโดยการท่าเรือแห่งประเทศไทยเป็น ผู้ลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานและเคร่ืองมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์หลัก ทั้งหมด รวมทั้งมีการบริหารและประกอบการเอง แต่จะใช้วิธีการจ้างเหมาช่วงบริการจากเอกชน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-19

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) เฉพาะกิจกรรมการเคล่ือนย้ายตู้คอนเทนเนอร์เท่าน้ัน วิธีการดังกล่าวน้ีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และเกดิ ความยืดหยนุ่ ในการบริหารและจัดการมากกวา่ การให้เอกชนรว่ มลงทุน สำหรับอุปกรณ์ขนถา่ ยตคู้ อนเทนเนอร์หลัก ได้แก่ ปน้ั จั่นหน้าทา่ ชนิดเดินบนราง ป้ันจ่ันเรียงตู้สินค้า ในลาน (Mobile Harbour Crane) และรถเครนเคล่ือนที่ล้อยาง (Rubber Tyre Gantry Crane: RTG) เป็นเคร่ืองมือหลักในการขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์และจัดเรียงในลานกองเก็บตู้คอนเทนเนอร์ มีระยะเวลาเฉล่ียในการขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์ (Operation Time) 8 ช่ัวโมง และจำนวนรถไฟ เฉล่ีย 20 ขบวนตอ่ วนั จำนวนตคู้ อนเทนเนอร์เฉลี่ย 1,000 TEUs ต่อวนั มีอัตราการใช้ป้ันจ่ันหน้าท่า ชนิดเดินบนรางเฉลี่ยร้อยละ 38 ผลิตภาพของปั้นจ่ันคิดเป็นการเคลื่อนไหว 23 ครั้งต่อช่ัวโมง สามารถรองรับการขนถา่ ยตู้คอนเทนเนอร์สงู สุด 1,400 TEUs ต่ออวัน 2) เทคโนโลยี เทคโนโลยีสำหรับการจองแคร่บรรทุก คือระบบการจองแคร่บรรทุกออนไลน์ เชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างการท่าเรือแห่งประเทศไทยและการรถไฟแห่งประเทศไทย โดยมีการกำหนดผู้ใช้งาน ระบบ ได้แก่ พนักงานของการท่าเรือ พนักงานสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องลาดกระบัง พนักงานท่ีท่าเรือแหลมฉบัง และผปู้ ระกอบการที่ขนส่งสินค้าทางรถไฟ มีฟังก์ชันการใช้งานระบบ ได้แก่ การอัพโหลดข้อมูลตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งสินค้า การดาวน์โหลดข้อมูลตู้คอนเทนเนอร์ขนส่ง สนิ คา้ และการชำระค่าระวาง ค่าภาระ และคา่ ใช้จ่ายต่างๆ (กรณีชำระดว้ ยเงินสด) นอกจากน้ี ยังมีระบบระบบบริหารจัดการตู้คอนเทนเนอร์ (Container Terminal Management System: CTMS) โดยมีการท่าเรือแห่งประเทศไทยเป็นผู้ใช้งานระบบ มีฟังก์ชันการใช้งานท่ีสำคัญ ได้แก่ การวางแผนการขนส่งทางราง การวางแผนการใช้ลานกองเก็บตู้คอนเทนเนอร์ การจัดการ ตู้คอนเทนเนอร์ และการจัดการรถบรรทุกท่ีเข้ามาในพื้นท่ี โดยจะต้องผ่านเคร่ือง X – Ray กอ่ นเข้าสพู่ น้ื ที่ 3) แผนบรหิ ารความตอ่ เนื่อง ศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ ท่ีท่าเรือแหลมฉบัง มีแผนบริหารความต่อเนื่อง เรียกว่า แผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินภายในเขตท่าเรือแหลมฉบัง โดยจัดทำเป็นคู่มือเพ่ือให้เป็นแนวทาง ปฏิบัติการท่ีถูกต้องให้แก่ผู้ที่มีหน้าที่ด้านการรักษาความปลอดภัย2 รักษาสิ่งแวดล้อม ระงับ 2 แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับการรกั ษาความปลอดภัยระดบั ที่ 1 หมายถงึ ระดับท่จี ะตอ้ งใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยเชงิ ป้องกันที่ เหมาะสมข้ันต่ำตามปกติตลอดเวลา ระดับการรักษาความปลอดภัยระดับท่ี 2 หมายถึงระดับที่จะต้องใช้มาตรการรักษาความปลอดภัยเชิง ป้องกันเพิ่มเติมตามความเหมาะสมในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อันเป็นผลมาจากมีความเสี่ยงต้องการเกิดเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อความ ปลอดภัยสูงข้ึน ซ่ึงกรมเจ้าท่าจะเป็นผู้แจ้งปรับระดับที่ 2 และระดับการรักษาความปลอดภัยระดับท่ี 3 หมายถึง ระดับที่จะต้องใช้มาตรการ รกั ษาความปลอดภัยเชงิ ป้องกนั เป็นการเฉพาะเพ่มิ เตมิ ในช่วงระยะเวลาที่จำกัด เมือ่ มคี วามเป็นไปได้สงู ทีจ่ ะเกิดเหตกุ ารณท์ ี่อาจส่งผลกระทบตอ่ ความปลอดภยั หรือเกิดภัยคกุ คาม แม้ว่าจะไมส่ ามารถกำหนดเปา้ หมายทีช่ ดั เจนได้ ซึ่งกรมเจ้าท่าจะเปน็ ผแู้ จง้ ปรบั ระดับท่ี 3 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-20

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) บรรเทา และลดการการเจ็บ สูญเสียชีวิต และลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดความ เสียหายของทรัพย์สิน อันเกิดจากภัยคุกคามความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ3 สำหรับระดับของ ภาวะฉุกเฉินจะแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ ดังนี้ • ภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในเขตท่าเรือแหลมฉบัง และสถาน ประกอบการภาย4ในพื้นท่ีเขตท่าเรือแหลมฉบังทุกหน่วยงาน ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีในสถาน ประกอบการนั้นๆ และหรือเจ้าหน้าท่ีของท่าเรือแหลมฉบังสามารถควบคุมสถานการณ์ ไดเ้ อง • ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 เป็นเหตุการณ์ที่เกินขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ท่าเรือแหลมฉบัง และสถานประกอบการภายในพื้นท่ีเขตท่าเรือแหลมฉบังจะควบคุมได้ จึงขออนุมัติจัดต้ัง ศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉินจาก ผู้อำนวยการท่าเรือแหลมฉบัง เพ่ือประสานงานขอกำลัง สนบั สนุนจากภายนอกหรือหนว่ ยงานท้องถน่ิ เข้ามาทำการชว่ ยเหลอื • ภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 3 เป็นเหตุการณ์ต่อเน่ืองจากภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 มีความรุนแรง และมแี นวโน้มวา่ จะสง่ ผลกระทบต่อพ้นื ทแ่ี ละประชาชนท่ีอาศยั อยู่รอบพน้ื ท่ีทา่ เรือแหลมฉบัง โดยหน่วยงานท้องถิ่นไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ต้องขอความช่วยเหลือในระดับ จงั หวัดและจงั หวดั ใกล้เคียงหรอื สว่ นกลาง การปฏบิ ตั ิการในภาวะฉุกเฉินทั้ง 3 ระดับ ก็จะมคี วามแตกต่างกนั ออกไป สามารถอธบิ ายได้ ดงั น้ี • การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 1 ท่าเรือแหลมฉบัง และสถานประกอบการใน เขตท่าเรอื แหลมฉบังทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉนิ ให้ดำเนนิ การ ดังนี้ (1) หนว่ ยงานทเี่ กดิ เหตเุ ข้าระงับเหตุ ตามแผนฉกุ เฉินของตน (2) รายงานศูนย์รบั แจ้งเหตุท่าเรอื แหลมฉบัง ให้ทราบในเบื้องต้นทางวทิ ยุนามเรียกขาน ศนู ย์รับแจ้งเหตคุ วามถ่ี 157.500 MHz (ทางบก) และหรือนามเรียกขานบรกิ ารท่า ความถี่ 156.650 MHz (ทางน้ำ) ทางโทรศัพท์ 0-3840-9111 และ 0-3840-9114 การรายงานต้องระบุข้อมูลต่างๆ เช่น จุดเกิดเหตุ ภัยท่ีเกิด สาเหตุการเกิดขนาด ความรนุ แรง การดำเนินการแก้ไขในชว่ งนั้น การตดิ ต่อส่ือสาร รายละเอยี ดเทา่ ที่ 3 หมายถึง องค์ประกอบของขีดความสามารถและความตั้งใจของกลุ่มกอ่ การร้ายในการลงมือปฏิบตั ิการจู่โจมเป้าหมายของเรือและท่าเรือ ซึ่ง แตกต่างกันตามกลุ่ม สถานที่ เป้าหมายและกาลเวลา เช่น การลักขโมยสินค้า การลักลอบขนยาเสพติด คนแอบซ่อนลงเรือ โจรสลัดหรือ ปล้นสะดมภ์เรือ การก่อวินาศกรรม การก่อการร้ายสากล การลอบวางระเบิด การยึดยานพาหนะ การลกั พาคน การวางเพลิง การลอบสังหาร การจับตวั ประกนั และการซุ่มโจมตี เปน็ ตน้ 4 หมายถึง ผู้ประกอบการท่าเทียบเรือโดยสาร ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ สินค้าท่ัวไป และ Ro/Ro ตู้คอนเทนเนอร์ อู่ซ่อมเรือ ลานกองเก็บ รถยนต์และตู้คอนเทนเนอร์เปล่า รวมทั้งหน่วยงานราชการ ผู้ประกอบการกิจกรรมต่อเนื่องต่างๆ และผู้ท่ีเข้ามาก่อสร้างหรือทากิจกรรมอ่ืน ๆ ภายในพ้ืนทเี่ ขตท่าเรอื แหลมฉบัง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-21

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) มที ้งั หมด เป็นตน้ เพอื่ ใหศ้ นู ย์รับแจ้งเหตไุ ดท้ ราบเบอื้ งตน้ และรายงานผบู้ ังคับบญั ชา เพอื่ พิจารณาในการเตรียมการให้การสนบั สนุนและเข้าช่วยเหลือต่อไป (3) ศูนย์รับแจ้งเหตุรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น ได้แก่ ศูนย์ควบคุมการจราจร และความปลอดภัยทางทะเล เขตท่าเรือศรีราชา5 (ศจป.) ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม6 และจงั หวัดชลบุรี (4) ศูนย์รับแจ้งเหตุท่าเรือแหลมฉบัง จัดเจ้าหน้าที่เข้าไปสังเกตุการณ์ และแจ้ง เจา้ หนา้ ที่ที่เกย่ี วขอ้ งเตรียมกำลังเข้าชว่ ยเหลอื (5) เจ้าหน้าที่สังเกตการณ์ศูนย์รับแจ้งเหตุประเมินสถานการณ์ และส่งกำลังเข้า ช่วยเหลือเมื่อได้รับการร้องขอ (6) กรณีเหตุการณ์ลุกลามเข้าสู่ภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 2 ให้ท่าเรือแหลมฉบังจัดต้ังศูนย์ อำนวยการเหตฉุ ุกเฉิน7 แผนปฏบิ ัตภิ าวะฉกุ เฉินในสถานประกอบการและหนว่ ยงานระดับท่ี 1 แสดงได้ดังรปู ที่ 8.1-7 5 หมายถึง ศนู ยค์ วบคุมการจราจรและความปลอดภยั ทางทะเลของกรมเจ้าทา่ 6 หมายถงึ ศนู ยป์ ลอดภยั คมนาคมการทา่ เรอื ฯ (ศปค.กทท.) และศนู ย์ปลอดภัยคมนาคม กระทรวงคมนาคม (ศปค.คค.) 7 หมายถึง ศูนย์ที่จัดต้ังขึ้นเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 2 เกินขีดความสามารถท่าเรือแหลมฉบังและสถานประกอบการจะควบคุมได้ จึงขอ สนับสนุนจากหน่วยงานท้องถ่ินเข้าระงับเหตุ โดยผู้อำนวยการท่าเรือแหลมฉบังเป็นผู้อำนวยการเหตุฉุกเฉิน หรือส่งมอบการบัญชาการให้แก่ นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลแหลมฉบังหรือผู้แทนฝ่ายปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีอำนาจตามกฎ หมายในการส่ังการในภาวะวิกฤต ท้ังน้ี ผอู้ ำนวยการท่าเรือแหลมฉบงั จะเปน็ ผชู้ ่วยประสานงานของผอู้ ำนวยการเหตุฉกุ เฉนิ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-22

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) จุดเกิดเหตุ ผ้สู ่ังการ ณ ท่ีเกดิ เหตุ ผอู้ านวยการเหตุฉุกเฉิน ผปู้ ระสานงาน สถานประกอบการ/หน่วยงานท่ี เกิดเหตุ ศูนยร์ ับแจ้งเหตุฯ หน่วยงานสนบั สนุนภายใน เจา้ หน้าท่ี ศจป เจา้ หน้าทศ่ี ุลกากร หน่วยงานข้างเคยี งจดุ เกดิ เหตุ ทา่ เรอื แหลมฉบัง หมายเหตุ: ผู้ประสานงาน หมายถึง ผู้แทนท่าเรือแหลมฉบังหรือสถานประกอบการมีหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้สั่งการ ณ ท่ีเกิดเหตุ กับศูนย์ อำนวยการเหตฉุ ุกเฉนิ ผู้ส่ังการ ณ ที่เกิดเหตุ หมายถึง ผู้แทนท่าเรือแหลมฉบังหรือสถานประกอบการ ทำหน้าที่สั่งการและบังคับบัญชา ณ ท่ีเกิดเหตุ โดย ประสานกบั ผูป้ ระสานงานของสถานประกอบการ ทา่ เรอื แหลมฉบัง ผู้อำนวยการเหตฉุ กุ เฉิน และศนู ยอ์ ำนวยการเหตฉุ กุ เฉนิ ตามลำดบั ผู้อำนวยการเหตุฉุกเฉิน หมายถึง ผู้อำนวยการท่าเรือแหลมฉบังหรือผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจตามกฎหมายให้ทำหน้าที่สั่งการที่ศูนย์ อำนวยการเหตฉุ ุกเฉิน เพือ่ ส่ังการระงบั เหตุฉกุ เฉินในระดบั 1 - 3 โดยพิจารณารว่ มกับผู้แทนหนว่ ยงานต่างๆ ตามระบบบริหารบญั ชาการ ในภาวะวิกฤต ณ ศนู ยป์ ระสานงานขา่ วและศนู ย์อำนวยการเหตฉุ กุ เฉนิ หรอื ศูนย์เฉพาะกจิ รว่ มฯ ตามลำดบั รูปที่ 8.1-7 แผนปฏบิ ัตภิ าวะฉกุ เฉินในสถานประกอบการและหน่วยงานระดบั ที่ 1 • การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 เม่ือภาวะฉุกเฉินเข้าสู่ระดับ 2 ท่าเรือแหลมฉบัง จะจัดต้ังศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉินข้ึน หากเกิดเหตุในสถานประกอบการ หรือหน่วยงาน ในเขตท่าเรือแหลมฉบังผู้รับผิดชอบสถานประกอบการหรือหน่วยงานจะเข้าระงับเหตุ ตามแผนฉุกเฉินของตน ซึ่งจะเป็นการปฏิบัติตามแผนภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 1 โดยจะมี หน่วยสนับสนุนในการแก้ไขเหตุฉุกเฉินจากท่าเรือแหลมฉบังเข้าช่วยเหลือ เม่ือเกิน ความสามารถของสถานประกอบการหรอื หน่วยงานในเขตท่าเรือแหลมฉบัง ผู้อำนวยการ ทา่ เรอื แหลมฉบังจะส่ังจดั ต้ังศูนย์อำนวยการเหตฉุ ุกเฉินข้ึน และดำเนินการ ดงั นี้ (1) ท่าเรือแหลมฉบัง และสถานประกอบการในเขตท่าเรือแหลมฉบังที่เกิดเหตุฉุกเฉิน โดยจัดเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบของสถานประกอบการ หรือหน่วยงานร่วมกับหน่วย สนับสนนุ จากภายนอก ดังน้ี - ผู้อำนวยการเหตุฉุกเฉิน (ED) เป็นผู้มีอำนาจส่ังการสูงสุดในสถานประกอบการ หรือหน่วยงานในท่าเรือใส่เส้ือสีส้ม – อักษร “ผอ.เหตุฉุกเฉิน” และ “EMERGENCY DIRECTOR (ED)” สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-23

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) - ผู้ส่ังการ ณ ท่ีเกิดเหตุ (OC) เป็นผู้ส่ังการและบังคับบัญชาในที่เกิดเหตุของ สถานประกอบการหรือหน่วยงานในท่าเรือใส่เส้ือสีเขียว – อักษร “ผู้ส่ังการ” และ “ONSCENE COMMANDER (OC) ” - ผู้ประสานงานของสถานประกอบการหรือหน่วยงานในท่าเรือ (MC) เป็น ผู้ประสานงานระหว่างส่ังการ ณ ที่เกิดเหตุ และหน่วยให้การสนับสนุนจาก ภายนอกที่มาจากเทศบาลแหลมฉบัง หรือหน่วยงานข้างเคียง ใส่เส้ือสีเขียว– อักษร “ผปู้ ระสานงาน” และ “MUTUAL CO-ORDINATOR (MC) ” (2) ศูนย์อำนวยการเหตฉุ ุกเฉิน ท่าเรือแหลมฉบัง - ประสานงานกับผู้ประสานงานของสถานประกอบการหรือหน่วยงานในท่าเรือ ของสถานประกอบการหรือหน่วยงานในท่าเรือแหลมฉบัง จัดเจ้าหน้าที่และ อปุ กรณ์เข้าสนับสนุนและร่วมระงับเหตุกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่ เกิดเหตุ - แจ้งแผนกรักษาความปลอดภัยท่าเรือแหลมฉบัง (ผรภ.ทลฉ.) ในการเพ่ิม มาตรการควบคุมบุคคลและยานพาหนะที่ไม่เกี่ยวข้องและที่ไม่ได้รับอนุญาต ผา่ นเข้าพืน้ ทเ่ี กดิ เหตุหรอื เขตท่าเรือ - ประสาน ผรภ.ทลฉ.จัดเตรยี มรถนำ หรือเจ้าหน้าทีน่ ำทางแกห่ น่วยงานสนับสนุน จากท้องถิ่นเข้าสู่พื้นท่ีเกิดเหตุ - แจ้ง สภ.แหลมฉบัง เพ่ือช่วยปิดก้ันจัดการจราจรเส้นทางท่ีจะใช้ไปยังสถาน ประกอบการทเี่ กดิ เหตุ และเขา้ รักษาความสงบเรียบร้อยในพ้ืนที่เกิดเหตุ - เตรียมการอพยพในกรณที ี่ต้องมีการอพยพประชาชน หรือพนกั งานของบรษิ ัท - เมื่อหน่วยงานจากภายนอกมาถงึ ท่ีเกิดเหตุ ให้ดำเนินการ ดังนี้ (i) เขา้ รายงานตัวตอ่ ผอ.ศนู ยอ์ ำนวยการเหตฉุ ุกเฉิน บริเวณประตูตรวจสอบ 2 (ii) แจ้งกำลังเจ้าหน้าทีอ่ ุปกรณ์ทีน่ ำมาสนบั สนุน (iii) รบั ทราบสถานการณ์ (iv) รับทราบผังบริเวณ เส้นทาง รายละเอยี ดที่จำเปน็ (v) รบั มอบภารกจิ - การระงับภัยและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ ข้ึนอยู่กับการสั่งการ ของผู้ส่ังการ ณ ที่เกิดเหตุของสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกิดเหตุ ผู้สั่งการ ณ ท่ีเกิดเหตุท่าเรือแหลมฉบัง หรือผู้สั่งการ ณ ที่เกิดเหตุหน่วยงาน ท้องถ่ินท่ีเข้ามาสนับสนุนตามลำดับ โดยประสานกับหัวหน้าชุดสนับสนุนจาก หน่วยงานภายนอกท่ีเข้ามาช่วยเหลือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-24

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) - การสั่งการข้ันสูงสุดข้ึนกับผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉินท่าเรือ แหลมฉบัง โดยให้ข้อมูล ข้อแนะนำ และประสานงานกบั เจ้าหนา้ ที่ของสถาน ประกอบการ ผู้สั่งการ ณ ท่ีเกิดเหตุและผู้ประสานงานของสถานประกอบการ หรือหนว่ ยงานในท่าเรือ (3) สถานประกอบการและหนว่ ยงานภายในท่าเรือแหลมฉบัง - เจ้าหน้าที่ PFSO8 หรือผู้แทนสถานประกอบการรายงานตัวต่อผู้อำนวยการ ศนู ย์อำนวยการเหตฉุ ุกเฉนิ เพือ่ รับทราบสถานการณ์และรับมอบภารกจิ - เจ้าหน้าที่ PFSO หรือผู้แทนสถานประกอบการ เป็นผู้ให้ข้อมูลข่าวสารกลับไปยัง หน่วยงานของตน (4) การประเมินสถานการณ์ กรณีเหตุการณ์ลุกลามเข้าสู่ภาวะฉุกเฉินระดับท่ี3 (อยู่ในดุลยพินิจของผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉิน) ผู้อำนวยการศูนย์ อำนวยการเหตุฉุกเฉิน ประสานงานกับหน่วยงาน ท้องถิ่นเพ่ือขอความช่วยเหลือ จาก จงั หวดั ชลบุรี และส่งมอบการบังคับบญั ชาต่อไป แผนปฏบิ ัติภาวะฉุกเฉินในสถานประกอบการและหน่วยงานระดบั ที่ 2 แสดงไดด้ ังรูปที่ 8.1-8 รปู ที่ 8.1-8 แผนปฏบิ ตั ิภาวะฉุกเฉนิ ในสถานประกอบการและหน่วยงานระดับที่ 2 8 เจา้ หน้าท่ีรกั ษาความปลอดภยั ประจาทา่ เรือ (Port Facility Security Officer: PFSO) หมายถงึ บุคคลที่ได้รบั มอบหมายให้มีหนา้ ทแ่ี ละความ รับผดิ ชอบในการจดั หา การปฏิบตั ติ าม การแก้ไขปรบั ปรงุ และการดูแลรักษาแผนการรักษาความปลอดภยั ของท่าเรอื และทำหนา้ ทต่ี ดิ ต่อ ประสานงานกับเจา้ หนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภัยประจำเรอื และเจา้ หนา้ ที่รักษาความปลอดภยั ประจำบริษทั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8-25

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินระดับท่ี 3 เม่ือภาวะฉุกเฉินเข้าสู่ระดับท่ี 3 ผู้อำนวยการ ศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉินท่าเรือแหลมฉบัง หรือผู้บัญชาการเหตุการณ์ระดับท่ี 2 ส่งมอบและรายงานต่อผู้อำนวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หรอื ผู้แทนท่ีได้รับมอบหมาย และมีอำนาจตามกฎหมาย สำหรับการส่ือสารและบังคับบัญชา เม่ือหน่วยต่างๆ เข้าประจำศูนย์อำนวยการแล้ว จะตอ้ งใช้วิทยสุ ่ือสารกบั ศนู ย์อำนวยการฉกุ เฉินในวทิ ยุความถ่ี 157.500 MHz ประกอบด้วย ศูนย์อำนวยการเหตุฉุกเฉิน ศูนย์รับแจ้งเหตุ/ผรภ.ทลฉ. หน่วยประสานงาน/ส่ือสาร หน่วยปฏิบตั ิการระงับเหตุ9 PFSO หน่วยสนับสนนุ และส่งกำลงั 10 หนว่ ยวางแผน/อพยพ11 หนว่ ยบรหิ ารงานข่าว12 และหนว่ ยการเงินและบริหารงาน13 4) โครงสรา้ งบุคลากร บุคลากรของศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ ที่ท่าเรือแหลมฉบัง เป็นบุคลากรของการท่าเรือแห่ง ประเทศไทย สังกดั ท่สี ำนักปฏิบัติการ ท่าเรอื แหลมฉบงั มีจำนวน 6 อัตรา ไดแ้ ก่ (1) พนกั งานการสนิ ค้า 12 จำนวน 1 คน (2) พนักงานการสินค้า 10 จำนวน 2 คน (3) พนักงานการสินค้า 8 จำนวน 2 คน (4) พนักงานการเงิน 6 จำนวน 1 คน สำหรบั หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละตำแหน่ง ดังน้ี (1) พนักงานการสินค้า 12 มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ ควบคุมดูแลบริหารงานภายในองค์กร วางแผนกลยุทธ์ กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน ติดตามและแก้ไขปัญหา รวมทั้ง ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง 9 หนว่ ยปฏบิ ตั ิการ ทำหน้าที่เข้าระงบั เหตุฉุกเฉิน โดยปฏบิ ตั กิ ารร่วมกับหน่วยงานทงั้ ภายในและภายนอกองค์กรทีเ่ ข้ามาช่วยเหลอื 10 หน่วยสนับสนุนและส่งกาลังบารุง ทำหน้าท่ีสนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์ ยานพาหนะ อาหารและเคร่ืองดื่ม ระบบไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ตามทศี่ ูนยอ์ ำนวยการเหตุฉุกเฉนิ และทกุ ทมี หรอื หน่วยรอ้ งขอ รวมทัง้ จัดเตรยี มแบบแผนผงั วสั ดุ ข้อมลู แหลง่ ผลติ ภณั ฑ์ทอี่ าจจำเป็นตอ้ งใช้ระงับ เหตุให้พรอ้ มใชง้ านในอนาคต 11 หน่วยวางแผน ทำหน้าท่ีพิจารณาประเมินสถานการณ์เหตุฉุกเฉนิ และวางแผนการขอความช่วยเหลอื ความรู้ทางวิชาการ บุคคล เคร่ืองมือ อุปกรณ์ สิ่งของและเทคโนโลยจี ากหน่วยงานภายนอก หากเหตกุ ารณ์ลกุ ลามและรนุ แรงมากข้ึนในอนาคต 12 ทมี บรหิ ารงานข่าว ทำหน้าที่บริหารงานข่าวและนกั ขา่ ว สอ่ื มวลชนทุกระบบ ตดิ ตาม รวบรวมและรายงานข้อมูลขา่ วสารให้แก่ผู้อำนวยการ เหตฉุ ุกเฉนิ และศนู ย์อำนวยการเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งแถลงข่าวข้อเทจ็ จริงแกน่ กั ขา่ วและสื่อมวลชนเป็นระยะอยา่ งต่อเน่ืองจนถึงเหตกุ ารณท์ ้ังหมด เหตกุ ารณ์ทง้ั หมดกลับคืนสู่ภาวะปกติ รวมทง้ั แก้ไขข้อมูลข่าวสารทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ภาพพจน์ชอ่ื เสยี งของท่าเรือแหลมฉบงั จากเหตฉุ กุ เฉนิ 13 หน่วยงานการเงนิ และบริหารงาน ทำหน้าท่ีจัดเตรยี มเงินสำหรับค่าใช้จ่ายในการระงับเหตุและช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากเหตุฉุกเฉิน ทำบัญชีการเงิน จัดหาวัสดแุ ละเครื่องมืออปุ กรณฯ์ ตามท่ศี ูนย์อำนวยการเหตุฉกุ เฉินและทีมหรอื หนว่ ยร้องขอ รวมทัง้ การพิจารณาด้านกฎหมาย และเรียกร้องค่าเสยี หายจากเหตฉู ุกเฉิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-26

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (2) พนักงานการสินค้า 10 (คนที่ 1) มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ ควบคุม การประมวลผลและ ตรวจสอบข้อมูลตู้คอนเทนเนอร์ ควบคุมการปฏิบัติงานและวางระบบการทำงานตามดัชนี ช้วี ดั สมรรถนะ รวมทง้ั จัดทำหนงั สือโต้ตอบ และรายงานการประชุม (3) พนักงานการสินค้า 10 (คนที่ 2) มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุมและรวบรวมข้อมูล ตู้คอนเทนเนอร์ วางแผนการปฏิบัติงานและการรับมอบ - ส่งมอบ ควบคุมการปฏิบัติงาน และวางระบบการทำงานตามดัชนีช้ีวัดสมรรถนะ รวมทั้งจัดทำหนังสือโต้ตอบ และรายงาน การประชุม (4) พนักงานการสินค้า 8 (คนท่ี 1) มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ จัดทำการประมวลผลและ ตรวจสอบข้อมูลตู้คอนเทนเนอร์ จัดทำสถิติการขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ ตรวจสอบ Truck Turnaround Time และ Crane Productivity ตรวจสอบระยะเวลาในการขนถ่าย และ จัดทำรายงานขอ้ มลู ต่างๆ (5) พนักงานการสินค้า 8 (คนท่ี 2) มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ ดูแลการรับ - ส่งตู้คอนเทนเนอร์ ควบคุมระยะเวลากองเก็บตู้คอนเทนเนอร์ ตรวจสอบการจัดเคร่ืองมือทุ่นแรงและแรงงาน ในการปฏิบตั ิงาน จัดทำสถติ แิ ละรายงานข้อมลู ตา่ งๆ รวมทงั้ ดแู ลความปลอดภัยภายในลาน (6) พนักงานการเงนิ 6 มีหนา้ ที่ความรับผิดชอบ ตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกบั ระบบการเงิน วางบิล เรียกเก็บเงินและค่าภาระต่างๆ ตรวจสอบ Bank Guarantee ประสานงานกับลูกค้าและ รับ – ส่งข้อมูล และสรปุ บัญชีรายได้ส่งกองการเงิน โครงสร้างองคก์ รของศูนย์การขนสง่ ตสู้ ินค้าทางรถไฟ ทท่ี า่ เรือแหลมฉบงั แสดงได้ดังรปู ที่ 8.1-9 รปู ที่ 8.1-9 โครงสร้างองคก์ รของศนู ย์การขนส่งตสู้ นิ คา้ ทางรถไฟ ท่ีท่าเรือแหลมฉบัง นอกจากนี้ การท่าเรือแห่งประเทศไทยยังได้จ้างเหมาช่วงบริษัทเอกชนในกิจกรรมการขนย้าย ตู้คอนเทนเนอร์ จำนวน 320 คน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-27

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 5) อัตราคา่ บริการ อัตราค่าบริการคิดเป็นอัตราค่าภาระยกขนตู้คอนเทนเนอร์ขั้นต่ำ 376 บาทต่อตู้ แต่ไม่เกิน 835 บาทตอ่ ตู้ ทัง้ นี้ การท่าเรือแหง่ ประเทศไทยได้ขอปรับอัตราค่าภาระขั้นต่ำในปีที่ 1 – 5 เป็น 407 บาทต่อตู้ (อย่รู ะหว่างการพิจารณา) 8.1.5 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด พรของแม่ขนส่ง ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรของแม่ขนส่ง หรือ พีเคเอ็มทรานสปอร์ต2020 (PKM) ได้รับความสนใจและ นำไปสู่การติดต่อเพ่ือสัมภาษณ์การดำเนินการเนื่องจากพบว่าเป็นผู้ประกอบการท่ีมีการให้บริการ รับขนส่งสินค้า ซ่ึงมีความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งสินค้าท่ีมีปริมาณมาก สินค้าค้าส่ง และ สินค้าอุตสาหกรรม การขนส่งพัสดุภัณฑ์ด่วน หรือแม้แต่การรับขนย้ายต่างๆ เช่น การย้ายบ้าน ย้าย สำนักงาน พร้อมแรงงานและอุปกรณ์ยกขน หรือแม้แต่วัสดุก่อสร้างและพืชผลทางการเกษตร ย่ิงไป กว่านั้น PKM ยังมีการลงทุนก่อสร้างสถานีขนส่งสินค้าและคลังสินค้าขนาดใหญ่ในเมืองภูมิภาค เช่น ท่ีจังหวัดขอนแก่น ดังแสดงในรูปท่ี 8.1-10 โดยส่วนหนึ่งเป็นพ้ืนท่ีเพ่ือใช้ในการขนส่งสินค้าในกิจการ ขณะที่อีกส่วนหน่ึงเปิดเป็นพ้ืนที่เพื่อให้บริการแก่เอกชนที่มีความต้องการพ้ืนที่คลังสนิ ค้า สถานีขนส่ง สินค้า หรือ ศูนย์กระจายสินค้า ซึ่งถือเป็นธุรกิจท่ีมีความน่าสนใจอย่างย่ิงสำหรับ ขบ. ที่มีแผนการ ลงทนุ กอ่ สร้างสถานีขนส่งสินค้าในเมืองภูมภิ าคหลายแหง่ รปู ท่ี 8.1-10 สถานขี นสง่ สนิ คา้ และคลังสนิ คา้ ทจี่ ังหวดั ขอนแกน่ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-28

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สำหรับผู้ที่ให้สัมภาษณ์ได้แก่ผู้จัดการสถานีขนส่งสินค้าและคลังสินค้าของ PKM ท่ีจังหวัดขอนแก่น โดยประเด็นการสมั ภาษณม์ ี 10 ประเด็น ประกอบด้วย o ประเด็นท่ี 1 ภาพรวมการขนส่งสินค้าและธุรกิจการขนส่งในช่วงที่มีการระบาดของ Covid-19 o ประเด็นท่ี 2 สถานีขนส่งสินค้าท่ี PKM ลงทุน มีท่ีใดบ้าง มีจุดเร่ิมต้นอย่างไร เหตุผล ของการตัดสินใจลงทุนก่อสร้างคลังและสถานีขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ในภูมิภาค โมเดล ธุรกจิ ณ จุดเรม่ิ ต้นเปน็ อย่างไร และในปัจจบุ นั มคี วามแตกตา่ งจากจุดเร่ิมต้นหรือไม่ o ประเด็นท่ี 3 PKM เห็นว่าว่าตลาดของธุรกิจสถานีขนส่งสินค้าและคลังสินค้าให้เช่าใน เมืองภูมิภาค ยงั คงมีความตอ้ งการมากน้อยเพยี งใดในอนาคต o ประเด็นที่ 4 การระบาดของ Covid-19 กระทบต่อการบริหารธุรกิจให้เช่าสถานีขนส่ง สนิ ค้าและคลังสินค้ามากน้อยเพียงใด o ประเด็นท่ี 5 แนวทางและวิธีการการบริหารจัดการพื้นท่ี รวมถึงปริมาณกิจกรรมภายใน สถานีขนสง่ สนิ คา้ และคลังสนิ คา้ ของ PKM ในปจั จบุ นั o ประเด็นที่ 6 PKM มีการนำเทคโนโลยีใดบ้างมาใช้ในการบริหารจัดการ หรือได้รับ ผลกระทบ หรือต้องมีการปรับตัวต่อเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาในปัจจุบันมากน้อย เพียงใด o ประเด็นท่ี 7 PKM มีแผนบริหารความเส่ียงและการจัดการและบริหารสถานการณ์ ฉุกเฉินภายในคลงั สนิ ค้าและสถานีขนส่งสนิ คา้ อย่างไร o ประเด็นท่ี 8 วิธีการกำหนดราคาค่าเช่า การจัดสรรความรับผิดชอบในฐานะเจ้าของ พ้ืนท่เี ช่า และความรับผดิ ชอบของผู้ทม่ี าเช่าใช้บริการเป็นอย่างไร o ประเด็นท่ี 9 โครงสร้างบุคลากรในการบริหารสถานีขนส่งสินค้าและคลังสินค้า รวมถึง คุณสมบตั ิสำคัญของผ้ปู ฏิบตั ิงานภายในสถานี o ประเด็นท่ี 10 ปัจจบุ ัน ขบ. มีสถานีขนส่ง 4 แห่ง และในอนาคตจะมีเพ่ิมขึ้นอีกหลายแห่ง หาก ขบ. มีแนวคิดที่จะจ้างเอกชนเพื่อมาบริหารสถานีให้ หรือเป็นการร่วมลงทุนกับ เอกชนก็แล้วแต่ PKM มีความคิดเห็นอย่างไร เห็นว่ามีความน่าสนใจมากน้อยเพียงใด และรูปแบบการลงทนุ ลักษณะใดที่คิดว่าเอกชนจ่าจะมีความสนใจมากทส่ี ุด โดยจากการประชุมหารอื สามารถสรุปสาระสำคัญไดด้ ังน้ี • ในภาพรวมธุรกิจสถานีขนส่งสินค้าของ PKM มีการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเพ่ือให้บริการเช่าใช้ พ้ืนที่บนท่ีดินขนาดประมาณ 80 ไร่ บนทางเลี่ยงเมืองฝ่ังตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองขอนแก่น โดยในการลงทนุ ระยะแรก (ทีเ่ ปิดใหบ้ รกิ ารอยูใ่ นปัจจุบัน) มีการก่อสรา้ งอาคารสถานีขนส่งสินค้า จำนวนทั้งส้ิน 4 หลัง แต่ละหลังมีพื้นที่ใช้งานประมาณ 5,000 ตรม. มีช่องจอดรถบรรทุก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-29

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 15 ช่องเทียบ รองรับการจอดเทียบชานของรถบรรทุกขนาดใหญ่และมีการติดตั้งระบบปรับ ระดับชาน (Dock Leveller) ในบางช่องเทียบ การออกแบบอาคารมีลักษณะเป็นอาคารคลังสินค้า แบบมีประตูฝ่ังเดียว (Front Load) ซึ่งการออกแบบอาคารในลักษณะน้ีจะสามารถใช้งานได้ หลากหลายกว่าการออกแบบในลักษณะชานเปิดในรูปแบบของอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้า ของสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่ง โดยสามารถใช้ได้ ท้ังเป็นคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า และชานชาลาขนถ่ายสินค้า ซ่ึงในปัจจุบัน PKM และผู้เช่า ใชบ้ ริการายอ่นื ๆ ได้มีการใช้งานท่หี ลากหลายดังท่ีกล่าวไป • สำหรับอาคารสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 4 หลัง มีการจัดสรรโดย 1 หลังใช้สำหรับกิจการรับ ขนส่งสินค้าของ PKM ขณะท่ีอีก 3 หลัง แบ่งให้เช่า โดยมีทั้งลูกค้าท่ีเช่าท้ังอาคาร และลูกค้า ซึ่งแบ่งเชา่ อาคารเดยี ว 3-4 ราย • สำหรับอาคารซ่ึง PKM ใช้งานในกิจการของบรษิ ัท จำนวน 1 หลัง นั้น ถูกใช้เพื่อทำกิจกรรมการ รวบรวมและกระจายสินค้า (Cross-Dock Depot) ให้กับบริษัท โดยในการขนส่งสินค้าเท่ียงล่อง (จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปยังกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) อาคารดังกล่าวจะถูกใช้ รองรับกิจกรรมการรวบรวมสินค้าให้เต็มเท่ียวเพื่อขนส่งไปยังปลายทางซึ่งเป็นสถานีขนส่งสินค้า ของ PKM 2 แห่ง ซ่ึงตง้ั อยู่บริเวณถนนพุทธมณฑลสาย 2 และอีกแห่งที่เพิ่งเปิดใหม่บริเวณ ถนน พุทธมณฑลสาย 5 ในขณะท่ีในการขนส่งสินค้าเที่ยวขึ้นจะใช้สถานีขนส่งสินค้า 2 แห่งที่กล่าวไป ในการรวบรวมสินค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภคบริโภคหรือสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อส่งมายัง สถานีขนส่งสนิ ค้าที่จงั หวัดขอนแกน่ เพ่ือกระจายในภมู ิภาคต่อไป • สัญญาเช่าอยู่ในช่วงระหว่าง 1-3 ปี แล้วแต่ข้อตกลงกับผู้เช่า แต่จะไม่เกิน 3 ปี ซ่ึงเป็นไปตาม กฎหมายของการทำสัญญาระยะสนั้ • ในสัญญาจะมีการกำหนดของเขตความรับผิดชอบต่างๆ ที่มีความชัดเจน เช่น หากเกิดความ เสียหายของอาคารสถานที่ในลักษณะใดจะเป็นความรับผิดชอบของผู้เช่า และในลักษณะใดจะ เป็นความรับผิดชอบของ PKM (อน่ึง PKM จะรับผิดชอบต่อความเสียหายต่อโครงสร้างท้ังหมด ยกเว้นความชำรุดเสียหายอนั เกดิ จากการใชง้ าน เช่น สว้ มตัน หลอดไฟขาด เปน็ ตน้ ) • ในประเด็นของประกันภัย PKM มีการทำประกันภัยตัวอาคารสถานี โดยความเสียหายท่ีเกิด ขน้ึ กบั อาคารทั้งหมดสามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้จากบริษัทประกันได้ ในสว่ นของผู้เช่า ใช้บริการ PKM ไม่มีการกำหนดเง่ือนไขของการท่ีผู้เช่าจะต้องซ้ือประกันภัย แต่หากเกิดความ เสียหายใดๆ ต่อตัวอาคารสถานท่ีซึ่งเป็นผลจากการใช้งานของผู้เช่า บริษัทประกันจะเป็นผู้จ่าย ค่าสินไหมและไปดำเนินการฟ้องร้องกับผู้เช่าหรือผู้ที่เป็นต้นเหตุของการชำรุดเสียหายใน ภายหลงั ดังนน้ั ในกรณีท่ผี ้เู ชา่ มีประกนั ภยั จะช่วยลดความเส่ียงในสว่ นของผ้เู ช่าเอง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 8-30

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) • สำหรับการกำหนดอัตราค่าบริการ (ค่าเช่า) PKM ไม่เปิดเผยข้อมูลอัตราค่าเช่าในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นความลับทางธุรกิจ แต่ให้ข้อมูลในเบื้องต้นว่าราคาตลาดในบริเวณทางเลี่ยงเมือง ของเมืองขอนแก่นซึ่งเป็นย่านโลจิสติกส์ที่สำคัญของจังหวัดและของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะอยู่ในระดับราคาระหว่าง 50 ถึง 150 บาท/ตรม./เดือน ข้ึนกับขนาดพื้นที่ สภาพอาคารและ สิ่งอำนวยความสะดวกที่มีให้ ซึ่งการกำหนดราคาเป็นเร่ืองที่ละเอียดอ่อนและแม้แต่สถานีขนส่ง สินค้าของ PKM จะมีส่ิงอำนวยความสะดวกท่ีดีกว่าคู่แข่งในพ้ืนท่ี แต่การกำหนดราคาก็ไม่ สามารถสูงกว่าสถานีขนส่งสินค้าเอกชนรายอน่ื ๆ ได้มากนกั • ในมุมมองทางธุรกิจ กิจการสถานีขนส่งสินค้าในเมืองภูมิภาคยังคงมีความต้องการในระดับท่ีดี โดยเฉพาะในพื้นท่ีท่ีเหมาะสมเช่นจังหวัดขอนแก่น โดยผู้ประกอบการขนส่งสินค้าจำนวนมาก ยังคงไม่ต้องการลงทุนในการก่อสร้างสถานีขนส่งสินค้าของตน จึงเลือกทางเลือกในการเช่าใช้ พนื้ ที่จากสถานีขนส่งสินค้าท่มี ีบริการใหเ้ ช่าพื้นท่ี • สำหรับรถบรรทุกของ PKM มีการตดิ ตั้งระบบ GPS ตามระเบียบของกรมการขนส่งทางบก โดยท่ี ผ่านมาได้รับใบแจ้งเรียกค่าปรับความเร็วเกินกำหนดเป็นบางคร้ัง ซ่ึงบริษัทจะใช้เป็นข้อมูล ตักเตือนพนักงานขับรถ อย่างไรก็ดี บริษัทยังไม่มีการนำระบบ GPS ไปต่อยอดในการติดตาม รถบรรทุกของบริษัท และยังไม่มีการใช้ระบบ TMS เช่นกัน ซึ่งเป็นเพราะจำนวนรถบรรทุกยังไม่ มากจนยากเกนิ กวา่ ท่ีจะบรหิ ารการจดั การโดยผูจ้ ัดการได้ • ในบริษัท PKM ยังไม่มีการใช้งานระบบ ERP เช่นกัน แต่ท้ังน้ีมีความเห็นว่าระบบ ID สินค้า เช่น QR-Code, Bar-Code และ RFID เป็นระบบที่สำคัญต่อการขนส่งสินค้าในปัจจุบันโดยเฉพาะ กลุ่มสินค้าพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ด่วน จึงมีความเห็นว่ารัฐน่าจะพัฒนาแอพลิเคชั่นกลางเพ่ือให้ ผปู้ ระกอบการขนส่งสินค้าท้ังหมดใช้แพล็ตฟอรม์ เดยี วกนั ในลักษณะคล้ายแอ็ปเป๋าตัง • สำหรับโครงสร้างการบรหิ ารสถานีขนส่งสินค้า นอกเหนือจากโครงสร้างการบริหารงานสำนักงาน ปกติแล้ว ยังจะมีอีก 3 ฝ่ายเพ่ิมเติมมาได้แก่ (1) ฝ่ายรักษาความปลอดภัย (2) ฝ่ายซ่อมบำรุง และ (3) ฝา่ ยจัดเกบ็ ขยะส่วนกลาง • สถานีขนส่งสินค้าของ PKM ไม่มีการทำ BCP อย่างเป็นทางการ จะมีเพียงการระบุในสัญญาเช่า เกีย่ วกับการเกดิ เหตุสดุ วิสัย (Force Majeure) • สำหรับมาตรการเรื่องการควบคุมโรคระบาดภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ได้มีการทำความตกลงกับผู้เช่าโดยเน้นที่การไม่ให้ปกปิดข้อมูลหากเกิดการ ติดเชื้อภายในสถานีไม่วา่ จะเปน็ ฝา่ ยของ PKM หรือ ผู้เชา่ กแ็ ลว้ แต่ • เมื่อถามถึงความเป็นไปได้ในการร่วมลงทุนในกิจการสถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบก ในมุมมองของ PKM ซึ่งเป็นเอกชนผู้ดำเนินธุรกิจสถานีขนสง่ สินค้าให้เช่าในปัจจุบัน กม็ องว่าเป็น โอกาสอันดี และบริษัทก็ไม่ปิดโอกาสในการดำเนินการดังกล่าว อย่างไรก็ดีหากโครงการเกิดขึ้น จรงิ จะเปน็ จะตอ้ งพิจารณารายละเอียดอีกคร้ัง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-31

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 8.2 สรุปผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานีขนส่งสินค้า ศูนย์การขนส่งสินค้า คลังสินค้า หรอื พ้ืนทีใ่ ห้บริการกิจกรรมโลจิสติกส์ ทีป่ รกึ ษาได้ดำเนนิ การสมั ภาษณ์เชิงลึกผ้บู ริหารหน่วยงานต่างๆ ท่ีได้จัดให้มีการศึกษาดูงานไป เพื่อให้ ทราบถึงหลักการและแนวความคิดต่อแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ี การกำหนดนโยบายหรือ แนวทางการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนำมาใช้ในการบริหารจัดการ การกำหนดอัตราค่าบริการ และวิธีจัดเก็บรายได้ การกำหนดแผนบริหารความต่อเน่ือง (Business Continuity Plan) และการ บริหารโครงสร้างบุคลากรภายในองค์กร เพ่ือนำไปประกอบการจัดทำเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) ในการบริหารจัดการสถานีขนส่งสินค้า โดยผลการสัมภาษณ์ส่วนหน่ึงได้มีการบรรยาย ประกอบไว้กบั ส่วนการศึกษาดูงานดังที่ได้กล่าวไปในหัวข้อที่ 8.1 และสามารถสรุปประเด็นสำคัญที่ได้ จากการสมั ภาษณไว้ในตารางท่ี 8.2-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-32



โคร ตารางท่ี 8.2-1 สรุปการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานขี นส่งสินค้า ศูนยก์ ลำดับ หน่วยงาน รายช่อื และตำแหนง่ ของ ผู้บรหิ ารที่ทำการสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ 1 บรษิ ทั อินเตอร์ 1. นายพสิษฏ์ ธนวทิ ย์ภานนั ท์ • โมเดลทางธุรกิจขอ เอก็ ซ์เพรส (ผู้จัดการคลังสินค้า) สำหรบั สนิ คา้ ท่มี ีคว โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั ทั้งในสว่ นการกองเ ลกู คา้ หลกั จะเปน็ ก ในห้างสรรพสินคา้ กล่มุ นีไ้ ด้เป็นอย่างด • การทำสญั ญากับลูก 5 ปี ทั้งนก้ี ารกำหน แบบยืดหยุ่นได้นี้จะ • ในเรื่องของอาคารส ทงั้ ทีเ่ ปน็ มาตรฐานใ ดังน้นั มาตรฐานจึงเ • เรื่องของเทคโนโลย (Dedicated Desig แผนการลงทนุ ระบ • มีการจดั ทำแผนบร การปรับปรุงใหเ้ หม อัคคภี ัย การหยดุ งา หากเกิดขน้ึ จะมีผล สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook