Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:34:58

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Search

Read the Text Version

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ทัง้ นี้ เมอ่ื เปรียบเทียบจังหวัดต้นทางและจงั หวัดปลายทางของสถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวงท่ีได้มา จากฐานข้อมูล GCS (ข้อมูล 1 วัน) กับข้อมูลที่ได้จากการสำรวจเพ่ิมเติม (รายละเอียดตามหัวข้อ 2.3.1) พบว่ามคี วามแตกตา่ งกัน ดงั นี้ จังหวดั ต้นทางทไี่ ด้จากฐานข้อมูล 3 แหล่ง คือ ฐานข้อมลู GCS (1 วัน) ฐานข้อมลู GCS (ตลอดปี 2563) และที่สำรวจเพ่ิมเติมนั้น มีความใกล้เคียงกันมากในมุมมองของลำดับเมื่อเรียงจากมากไปน้อย กล่าวคือ มีจังหวัดท่ีติดอันดับตรงกันถึง 3 จังหวัดจาก 4 จังหวัดแรกเมื่อเรียงจากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ จังหวดั สระบุรี จังหวัดปทุมธานี และกรงุ เทพมหานคร ส่วนจังหวัดปลายทางน้ันพบว่า ข้อมูลที่ได้มาจากฐานข้อมูล 3 แหล่ง มีความใกล้เคียงกันบ้าง แต่น้อยกว่ากรณีของจังหวัดต้นทาง กล่าวคือ มีจังหวัดที่ติดอันดับตรงกันเพียง 2 จังหวัด จาก 4 จังหวัดแรกเม่ือเรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดปทุมธานี และ ตรงกัน 5 จังหวัดจาก 10 จังหวัดแรก ซึ่งได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวดั พระนครศรีอยุธยา และจงั หวัดชลบรุ ี อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในเชิงสัดส่วนของปริมาณรถบรรทุกแล้ว ข้อมูลจากทั้ง 3 แหล่ง ยังมี ความแตกต่างกันพอสมควร เนือ่ งจากช่วงเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีความแตกต่างกัน ทำให้ เปรียบเทยี บกันยาก ซึ่งสามารถแสดงผลการเปรียบเทียบทงั้ หมดในตารางท่ี 2.3-42 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-105

ตารางท่ี 2.3-42 ผลการเปรียบเทียบจดุ ต้นทางก ระหวา่ งข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากระบบฐานข้อม ลำดบั ท่ี จงั หวัดตน้ ทาง (สดั สว่ นจำนวนรถบรรทกุ ) (เรียงจากมาก ฐานข้อมูล GCS ฐานขอ้ มูล GCS การสำรวจเพ ไปน้อย) (1 วนั ) (ตลอดปี 2563) 1 สระบรุ ี (46.2%) ปทมุ ธานี (68.1%) ปทมุ ธานี (51.6% 2 ปทุมธานี (38.5%) กรุงเทพมหานคร (24.7%) สระบรุ ี (15.8%) 3 กรงุ เทพมหานคร นนทบุรี (6.3%) (15.3%) สระบรุ ี (2.1%) 4- กาญจนบุรี (1.1%) กรุงเทพมหานคร 5- นนทบุรี (0.5%) พระนครศรอี ยุธย 6- เชยี งใหม่ (0.4%) ฉะเชงิ เทรา (3.7% 7- ตรงั (0.3%) สมุทรปราการ (3 8- ชลบุรี (0.3%) อดุ รธานี (2.6%) 9- จนั ทบุรี (0.3%) ชลบุรี (1.6%) 10 - นครปฐม (0.3%) กาญจนบุรี (1.1% รวม 10 ลำดบั แรก 100% 98% 95% หมายเหตุ: แรเงาสีเทาเข้ม หมายถงึ จงั หวัดทีซ่ ้ำกนั จากแหลง่ ข้อมูลทง้ั 3 แหล่ง สว่ นแรเงาสีเทาอ่อน หมายถึง จ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) การขนส่งสินค้าของสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง มลู GCS กับท่ีได้จากการสำรวจเพิ่มเติม จังหวดั ปลายทาง (สัดสว่ นจำนวนรถบรรทุก) พมิ่ เตมิ ฐานข้อมูล GCS ฐานข้อมลู GCS การสำรวจเพ่มิ เติม %) (1 วนั ) (ตลอดปี 2563) กรุงเทพมหานคร (57.1%) กรุงเทพมหานคร (49.6%) ปทุมธานี (30.6%) ปทุมธานี (14.3%) ปทุมธานี (22.8%) นนทบรุ ี (16.1%) สรุ าษฎร์ธานี (10.4%) ฉะเชงิ เทรา (2.3%) กรุงเทพมหานคร (15.0%) (3.7%) พิษณุโลก (6.5%) สระบรุ ี (2.3%) ยา (4.7%) ฉะเชิงเทรา (2.6%) เชียงใหม่ (1.9%) สระบรุ ี (10.4%) %) สุพรรณบุรี (2.6%) กาญจนบรุ ี (1.6%) พระนครศรีอยุธยา (5.2%) 3.7%) ชลบุรี (1.3%) พระนครศรอี ยุธยา (1.6%) สมุทรปราการ (4.7%) ชลบรุ ี (1.6%) ฉะเชงิ เทรา (2.6%) พระนครศรอี ยุธยา (1.3%) พิษณโุ ลก (1.4%) ชลบุรี (2.6%) ระยอง (1.3%) จนั ทบุรี (1.2%) สมทุ รสาคร (2.6%) %) สมทุ รสาคร (1.3%) นครปฐม (1.6%) 86% 99% 91% จังหวดั ทซ่ี ำ้ กนั จากแหล่งขอ้ มูล 2 แหลง่ 2-106

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า จากการสังเกตจุดต้นทางและจุดปลายทางของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าที่ได้จากฐานข้อมูล GCS เฉพาะในวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564 ซ่ึงตรงกับการสำรวจข้อมูลจุดต้นทาง-จุดปลายทางเพ่ิมเติม พบว่า สำหรับจังหวัดต้นทางของสินค้านั้น รถบรรทุกที่เข้ามาส่งสินค้ายังสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้ามาจาก กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และตราด มากท่ีสุด โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32 ร้อยละ 25 และ ร้อยละ 15 ตามลำดับ ส่วนจังหวัดปลายทางของสินค้าน้ัน รถบรรทุกท่ีออกจากสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าจะขนส่งสินค้า ไปยังกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และเชียงราย มากที่สุด โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27 ร้อยละ 22 และร้อยละ 17 ตามลำดบั สว่ นรายละเอียดของจังหวัดอื่นๆ แสดงในตารางที่ 2.3-43 ตารางท่ี 2.3-43 ผลการวเิ คราะห์จุดต้นทางและจุดปลายทางจากฐานข้อมลู GCS สำหรับสถานีขนส่งสนิ คา้ รม่ เกลา้ ภูมิภาค จงั หวดั จำนวนรถรบั ส่งสนิ คา้ ภมู ภิ าค จงั หวัด จำนวนรถรับสง่ สินคา้ (คัน) (คนั ) ตน้ ทาง สดั ส่วน ปลายทาง สดั สว่ น กรงุ เทพ กรุงเทพมหานคร 19 31.7% กรุงเทพและ กรุงเทพมหานคร 16 26.7% และปรมิ ณฑล ปริมณฑล ภาคเหนือ เชยี งใหม่ 15 25.0% ภาคเหนือ เชยี งใหม่ 13 21.7% เชยี งราย 2 3.3% เชียงราย 10 16.7% ตาก 1 1.7% ภาคตะวนั ออก บุรรี มั ย์ 3 5.0% ภาคตะวันออก ชยั ภมู ิ 2 3.3% เฉยี งเหนอื ขอนแกน่ 1 1.7% เฉยี งเหนือ ภาคตะวนั ออก ตราด 9 15.0% ภาคตะวันออก จนั ทบรุ ี 2 3.3% นครนายก 2 3.3% ฉะเชิงเทรา 2 3.3% ภาคใต้ ตรงั 8 13.3% ชลบุรี 1 1.7% ชมุ พร 2 3.3% ตราด 1 1.7% ภาคใต้ ตรงั 6 10.0% ชุมพร 5 8.3% รวม (คนั ) 60 100.0% รวม (คนั ) 60 100.0% ท่มี า: ฐานข้อมูล GCS วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 หมายเหตุ: ต้นทาง หมายถงึ สินค้าถกู สง่ มาจากจังหวัดน้นั ๆ มายังสถานีขนส่งสินค้า ปลายทาง หมายถึง สินค้าถกู สง่ จากสถานีขนสง่ สินคา้ ไปยังจงั หวัดน้นั ๆ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-107

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ทั้งน้ี เม่ือเปรียบเทียบจังหวัดต้นทางและจังหวัดปลายทางของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าที่ได้มา จากฐานข้อมูล GCS (ข้อมูล 1 วัน) กับข้อมูลที่ได้จากการสำรวจเพิ่มเติม (รายละเอียดตามหัวข้อ 2.3.1) พบว่ามคี วามแตกต่างกัน ดังนี้ จังหวดั ต้นทางท่ีได้จากฐานขอ้ มลู 3 แหลง่ คือ ฐานข้อมูล GCS (1 วัน) ฐานขอ้ มูล GCS (ตลอดปี 2563) และท่ีสำรวจเพิ่มเติมน้ัน มีความใกล้เคียงกันบ้าง กล่าวคือ มีจังหวัดท่ีซ้ำกันอย่างน้อย 2 แหล่ง เป็นจำนวนถึง 9 จังหวัด จาก 10 อันดับแรก และมีเพียงกรุงเทพมหานคร ที่ติดอันดับหนึ่ง ตรงกันทงั้ 3 แหลง่ ส่วนจังหวัดปลายทางนั้นพบว่า ข้อมูลที่ได้มาจากฐานข้อมูล 3 แหล่ง มีความใกล้เคียงกันบ้าง แต่น้อยกว่ากรณีของจังหวัดต้นทาง กล่าวคือ มีจังหวัดท่ีซ้ำกันอย่างน้อย 2 แหล่งจำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และบุรีรมั ย์ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในเชิงสัดส่วนของปริมาณรถบรรทุกแล้ว ข้อมูลจากท้ัง 3 แหล่ง ยังมี ความแตกตา่ งกนั พอสมควร เน่ืองจากชว่ งเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมลู มีความแตกต่างกนั ทำให้ เปรียบเทียบกันยาก ซ่ึงสามารถแสดงผลการเปรียบเทยี บท้ังหมดในตารางที่ 2.3-44 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-108

ตารางที่ 2.3-44 ผลการเปรียบเทียบจดุ ต้นทางการขนส่งสินค้าของส กบั ท่ีได้จากกา ลำดบั ท่ี จังหวดั ตน้ ทาง (สดั ส่วนจำนวนรถบรรทุก) (เรียงจากมาก ฐานขอ้ มูล GCS ฐานข้อมูล GCS การสำรวจเ ไปนอ้ ย) (1 วัน) (ตลอดปี 2563) 1 กรุงเทพมหานคร (31.7%) กรงุ เทพมหานคร (77.1%) กรุงเทพมหานค 2 เชยี งใหม่ (25.0%) ตาก (4.1%) สมุทรปราการ ( 3 ตราด (15.0%) ตราด (3.7%) สมทุ รสาคร (5. 4 ตรงั (13.3%) นครราชสมี า (3.4%) ฉะเชงิ เทรา (4.5 5 ชัยภมู ิ (3.3%) นครนายก (3.2%) นครราชสมี า (3 6 ชมุ พร (3.3%) ตรัง (2.1%) ปทุมธานี (3.3% 7 เชยี งราย (3.3%) นครปฐม (1.5%) นครปฐม (3.0% 8 นครนายก (3.3%) เชยี งใหม่ (0.9%) อยธุ ยา (3.0%) 9 ตาก (1.7%) ฉะเชงิ เทรา (0.9%) นนทบุรี (2.6% 10 นครพนม (0.5%) ปราจีนบรุ ี (2.6 รวม 10 ลำดับ 100% 98% 91% แรก หมายเหตุ: แรเงาสเี ทาเข้ม หมายถึง จงั หวัดทซ่ี ำ้ กันจากแหลง่ ข้อมูลทั้ง 3 แหลง่ แรเงาสเี ทาออ่ น หมายถึง จังหวัดที่ซำ้ กนั จากแหลง่ ข้อมูล 2 แหล่ง สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) สถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้าระหวา่ งข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากระบบฐานข้อมูล GCS ารสำรวจเพิ่มเติม จังหวดั ปลายทาง (สัดส่วนจำนวนรถบรรทกุ ) เพ่ิมเติม ฐานขอ้ มลู GCS ฐานขอ้ มลู GCS การสำรวจเพิ่มเติม (1 วัน) (ตลอดปี 2563) คร (41.3%) กรุงเทพมหานคร (26.7%) กรงุ เทพมหานคร (53.0%) กรุงเทพมหานคร (32.0%) (21.9%) เชยี งใหม่ (21.7%) บรุ รี มั ย์ (10.3%) สมุทรปราการ (23.4%) .6%) เชยี งราย (16.7%) ตราด (3.4%) ฉะเชงิ เทรา (8.6%) 5%) ตรัง (10.0%) นครราชสมี า (3.3%) อยธุ ยา (5.2%) 3.3%) ชมุ พร (8.3%) ตรัง (3.1%) ปทุมธานี (3.3%) %) บรุ ีรัมย์ (5.0%) นครปฐม (3.0%) เชยี งใหม่ (3.0%) %) จันทบรุ ี (3.3%) ตาก (2.7%) นครราชสมี า (3.0%) ฉะเชงิ เทรา (3.3%) เชยี งใหม่ (2.3%) ชลบุรี (2.6%) %) ขอนแกน่ (1.7%) นครนายก (2.0%) สมุทรสาคร (2.6%) 6%) ชลบรุ ี (1.7%) ฉะเชงิ เทรา (1.6%) นครปฐม (2.2%) % 98% 85% 86% 2-109

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 2.3.7.2 ประเภทสนิ คา้ ท่ีมีการขนส่ง ในการเปรียบเทียบประเภทสินค้าท่ีมีการขนส่งจากแหล่งข้อมูลท่ีแตกต่างกัน (ในกรณีนี้มีแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง คือ ฐานข้อมูล GCS และการสำรวจเพ่ิมเติมโดยที่ปรึกษา) จำเป็นต้องจัดกลุ่มสินค้าให้อยู่ใน กลุ่มเดียวกันก่อน เพ่ือให้ง่ายต่อการเปรียบเทยี บ โดยสามารถแสดงประเภทสินคา้ ของแต่ละกลุ่มได้ดัง แสดงในตารางที่ 2.3-45 ตารางที่ 2.3-45 เปรียบเทียบประเภทของสนิ ค้าจากฐานข้อมูล GCS และการสำรวจ ประเภทสินค้าจากฐานข้อมูล GCS ประเภทสินค้าจากการสำรวจเพมิ่ เติมโดยทปี่ รกึ ษา 1) หนิ ดนิ ทราย 1) สินคา้ อุปโภคบริโภค ค้าปลีก ค้าสง่ (เช่น ของใชใ้ นครวั เรอื น 2) วสั ดุก่อสร้าง อาหารแห้ง เสอ้ื ผ้า เครื่องด่มื บรรจุขวด โชหว่ ย) 3) ซีเมนต์ 2) สินคา้ ในครัวเรอื นขนาดใหญ่ (เชน่ เฟอรน์ เิ จอร์ ราวตากผา้ 4) ขา้ ว จกั รยาน) 5) ผลติ ภณั ฑม์ ันสำปะหลงั 3) สินคา้ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ (เช่น ทวี ี ตเู้ ยน็ เตา 6) ยางพารา อบ คอมพิวเตอร)์ 7) ผักสด/ผลไม้ 4) สนิ คา้ เกษตรและพืชเศรษฐกิจ (เช่น ผลผลิตข้าว ยางพารา 8) อาหารแชแ่ ข็ง น้ำตาล นำ้ มันปาลม์ มนั สำปะหลัง) 9) ผลติ ภณั ฑน์ ้ำมันเชื้อเพลิง 5) สนิ ค้าเน่าเสียได้ง่าย (เชน่ ผกั ผลไม้ อาหารสดทไี่ มต่ ้องแช่ 10) สนิ ค้าเบ็ดเตล็ด (โชหว่ ย) เยน็ /แชแ่ ข็ง) 11) อ้อย 6) สินคา้ เครือ่ งจักรกล ยานยนต์ (เช่น เคร่อื งจักร จักรยานยนต์ 12) เคมภี ัณฑ์ อะไหลย่ นต์ ยางรถยนต์) 13) สนิ ค้าอุตสาหกรรม 7) สินค้าวสั ดกุ อ่ สรา้ ง (เช่น แผน่ มงุ หลงั คา เหลก็ ไม้ กระเบ้อื ง (อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์) เครอ่ื งมือก่อสรา้ ง ปูนกระสอบ) 14) สนิ ค้าอ่ืนๆ 8) สนิ ค้าอนั ตรายและเคมภี ณั ฑ์ (เช่น เคมภี ัณฑท์ ี่ใช้ใน อุตสาหกรรม) 9) สนิ ค้าเทกอง (เช่น หิน ดนิ ทราย ซเี มนต์ผงทไ่ี ม่มกี ารบรรจุ หบี ห่อ) 10) สินคา้ เบด็ เตล็ด 11) สนิ ค้าพัสดุภัณฑแ์ ละไปรษณยี ภณั ฑ์ (เชน่ พัสดไุ ปรษณยี ไ์ ทย, Kerry, Flash, SCG เปน็ ตน้ ) 12) อื่น ๆ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-110

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากประเภทสินค้าข้างต้น จะพบว่าฐานข้อมูลของ GCS น้ัน มีการแยกประเภทสินค้าย่อยกว่าของ ที่ปรึกษา ซ่ึงการสำรวจเพ่ิมเติมโดยที่ปรึกษานั้น จะมีการจัดกลุ่มสินค้าตามคุณลักษณะของสินค้า (Commodity Characteristics) เช่น สินค้าเกษตรกรรม สินค้าเน่าเสียง่าย สินค้าอุตสาหกรรม สนิ ค้าทม่ี ีนำ้ หนกั มากและไม่สามารถบรรจหุ ีบห่อ สนิ คา้ อนั ตราย สนิ คา้ พสั ดุภัณฑ์ เป็นต้น ประโยชน์ของการจัดกลุ่มสินค้าตามคุณลักษณะของสินค้า มีข้อดีคือ สินค้าท่ีมีคุณลักษณะเดียวกัน จะมีการใช้บรรจุภัณฑ์และการใช้อุปกรณ์ขนย้ายคล้ายคลึงกัน และอีกนัยหนึ่ง คือ มีความต้องการ ส่ิงอำนวยความสะดวกท่ีใกล้เคียงกัน เช่น สินค้าเน่าเสียง่ายจำเป็นต้องมีคลังสินค้าแบบแช่เย็น เพื่อควบคุมอุณหภูมิ สินค้าประเภทเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จำเป็นต้องใช้ความระมัดระวัง เรื่องการขนย้ายที่ต้องไม่มีการโยนกล่องสินค้า สินค้าท่ีมีน้ำหนักมากจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ขนถ่าย ขนาดใหญ่และต้องออกแบบพนื้ ให้มีความหนามากข้ึนเพื่อรองรับนำ้ หนกั ขณะกองสนิ ค้า เปน็ ตน้ ด้วยเหตุน้ี ในการเปรียบเทียบประเภทสินค้า ท่ีปรึกษาจึงขอจัดกลุ่มประเภทสินค้าใหม่ให้เป็นกลุ่ม เดียวกันโดยจำแนกตามคุณลักษณะของสินค้าและได้ยุบรวมสินค้าเบ็ดเตล็ด (ของการสำรวจ เพิ่มเติม) เขา้ ไวใ้ นกลุ่มเดยี วกันกับสินค้าอุปโภคบรโิ ภค (โชห่วย) รวมท้ังตัดกลุ่มสินค้าทีไ่ ม่ทราบข้อมูล ออกไป (ของการสำรวจเพ่มิ เติม) ทำใหค้ งเหลือสินค้าเพียง 11 ประเภท ดงั นี้ 1) สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค คา้ ปลีก คา้ สง่ 2) สินคา้ ในครัวเรอื นขนาดใหญ่ 3) สนิ คา้ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ 4) สนิ ค้าเกษตรและพชื เศรษฐกิจ 5) สนิ ค้าเนา่ เสยี ได้งา่ ย 6) สินค้าเคร่ืองจกั รกล ยานยนต์ 7) สินคา้ วัสดุกอ่ สร้าง 8) สนิ คา้ อันตรายและเคมีภณั ฑ์ 9) สนิ ค้าเทกอง 10) สนิ ค้าพัสดภุ ณั ฑ์และไปรษณียภัณฑ์ 11) อน่ื ๆ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-111

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบประเภทสินค้าของสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง สามารถแสดงรายละเอียด ดงั น้ี • สถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล จากการเปรียบเทียบจำนวนรถบรรทุกท่ีเข้ามาและออกจากสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลแยกตาม ประเภทสินค้า พบว่า สินค้าอุปโภคบริโภคเป็นสินค้าท่ีปริมาณมากที่สุดจากข้อมูลท้ัง 3 แหล่ง แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของสินค้าแต่ละประเภทแล้ว พบว่าสินค้ามีสัดส่วนท่ีแตกต่างกัน มาก เช่น ในกรณีของสินค้าเกษตรและพืชเศรษฐกิจ ซ่ึงจากฐานข้อมูล GCS (2 วัน) มีเพียง 2 คัน (เฉลี่ย 1 คันต่อวัน) เมื่อเทียบกับท่ีสำรวจเพ่ิมเติมจะมีถึง 48 คัน (เฉลี่ย 24 คันต่อวัน) ขณะที่ ฐานข้อมูล GCS ทั้งปีมีสินค้าประเภทนี้ 870 คัน (เฉลี่ย 2.4 คันต่อวัน) ซึ่งถือว่าผู้ประกอบการ สถานีขนส่งสินค้ายังให้ความร่วมมือในการกรอกข้อมูลเข้าระบบ GCS ค่อนข้างน้อย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการสินค้าบางประเภทให้ความร่วมมือในการกรอกข้อมูลดีกว่าค่าเฉล่ียท่ี ที่ปรึกษาสำรวจได้ ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าวัสดุก่อสร้างและสินค้าอันตราย โดยจาก ฐานข้อมูล GCS ทั้งปีมีสินค้า 3 ประเภทนี้จำนวน 277,263 คัน 11,846 คัน และ 7,200 คัน ตามลำดับ หรือเฉล่ีย 759.6 คันต่อวัน 32.5 คันต่อวนั และ 19.7 คันต่อวัน ตามลำดับ ซ่ึงมากกว่า ข้อมูลที่สำรวจเพ่ิมเติมโดยที่ปรึกษา โดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยเพียง 127 คันต่อวัน 16 คันต่อวัน และ 12 คันต่อวนั ตามลำดบั รายละเอยี ดของสนิ ค้าประเภทอนื่ ๆ แสดงในตารางท่ี 2.3-46 ตารางท่ี 2.3-46 จำนวนรถบรรทุกทเ่ี ขา้ มาและออกจากสถานขี นส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล แยกตามประเภทสินคา้ เปรียบเทียบระหวา่ งข้อมูลที่ได้รับจากฐานข้อมลู GCS และการสำรวจ ปริมาณรถบรรทกุ (คัน) ประเภทสินคา้ GCS (2 วัน)* GCS ปี 2563** ท่ีปรึกษา สำรวจเพ่ิมเติม สินคา้ อปุ โภคบรโิ ภค ค้าปลกี คา้ สง่ (เช่น ของใชใ้ นครวั เรือน 1,166 277,263 254 อาหารแหง้ เสอื้ ผา้ เคร่อื งดม่ื บรรจขุ วด โชหว่ ย) สนิ คา้ ในครวั เรอื นขนาดใหญ่ (เช่น เฟอร์นเิ จอร์ ราวตากผา้ จักรยาน) - - 14 สินค้าเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ (เชน่ ทีวี ตู้เย็น เตาอบ 3 4,162 36 คอมพิวเตอร์) สินคา้ เกษตรและพชื เศรษฐกิจ (เชน่ ผลผลิตขา้ ว ยางพารา 2 870 48 นำ้ ตาล น้ำมันปาลม์ มนั สำปะหลัง) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-112

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.3-46 จำนวนรถบรรทกุ ท่ีเข้ามาและออกจากสถานขี นส่งสินคา้ พุทธมณฑล แยกตามประเภทสนิ ค้า เปรียบเทียบระหวา่ งข้อมูลทไี่ ด้รับจากฐานข้อมูล GCS และการสำรวจ (ต่อ) ปรมิ าณรถบรรทุก (คัน) ประเภทสนิ ค้า GCS (2 วัน)* GCS ปี 2563** ท่ปี รกึ ษา สำรวจเพิ่มเติม สนิ ค้าเนา่ เสยี ไดง้ า่ ย (เช่น ผัก ผลไม้ อาหารสดทไ่ี มต่ ้อง - 302 1 แชเ่ ยน็ /แช่แข็ง) สินคา้ เครื่องจกั รกล ยานยนต์ (เชน่ เครื่องจกั ร จักรยานยนต์ - - 33 อะไหลย่ นต์ ยางรถยนต์) สินคา้ วสั ดุกอ่ สรา้ ง (เช่น แผ่นมุงหลังคา เหลก็ ไม้ กระเบื้อง 49 11,846 32 เครอ่ื งมือก่อสรา้ ง ปนู กระสอบ) สนิ ค้าอันตรายและเคมภี ณั ฑ์ (เชน่ เคมภี ณั ฑท์ ีใ่ ช้ในอตุ สาหกรรม) 14 7,200 24 สินคา้ เทกอง (เช่น หิน ดนิ ทราย ซเี มนต์ผงที่ไมม่ ีการบรรจุหบี ห่อ) 3 331 1 สินค้าพัสดุภณั ฑ์และไปรษณยี ภณั ฑ์ (เชน่ พสั ดุไปรษณียไ์ ทย, - - 4 Kerry, Flash, J&T, Ninja, SCG เป็นตน้ ) อนื่ ๆ 79 54,775 5 452 รวมทั้งหมด 1,316 356,749 หมายเหตุ: * ฐานข้อมลู GCS ของวันท่ี 15 - 16 กุมภาพันธ์ 2564 ซ่งึ ตรงกับวันทที่ ี่ปรกึ ษาทำการสำรวจเพิ่มเติม ** ฐานข้อมูล GCS ครบทัง้ ปี 2563 • สถานีขนส่งสนิ คา้ คลองหลวง จากการเปรียบเทียบจำนวนรถบรรทุกท่ีเข้ามาและออกจากสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงแยก ตามประเภทสินค้า พบว่า สินค้าอุปโภคบรโิ ภคเป็นสินค้าท่ีปรมิ าณมากท่สี ุดจากข้อมูลทั้ง 3 แหล่ง แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของสินค้าแต่ละประเภทแล้ว พบว่าสินค้ามีสัดส่วนท่ีแตกต่างกัน มาก เช่น ในกรณีของสินค้าวัสดุก่อสร้าง ซึ่งจากฐานข้อมูล GCS (1 วัน) มีเพียง 4 คันต่อวัน เมื่อเทียบกับที่สำรวจเพ่ิมเติมจะมีถึง 56 คันต่อวัน ขณะที่ฐานข้อมูล GCS ท้ังปีมีสินค้าประเภทนี้ 2,712 คัน (เฉล่ีย 7.4 คันต่อวัน) ซึ่งถือว่าผู้ประกอบการสถานีขนส่งสินค้ายังให้ความร่วมมือ ในการกรอกข้อมลู เขา้ ระบบ GCS คอ่ นขา้ งน้อย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการสินค้าบางประเภทให้ความร่วมมือในการกรอกข้อมูลดีกว่าค่าเฉลี่ย ซง่ึ ทีป่ รึกษาสำรวจได้ ไดแ้ ก่ สินค้าอปุ โภคบริโภค และสนิ ค้าเทกอง โดยจากฐานข้อมูล GCS ทง้ั ปี มีสินค้า 2 ประเภทนี้จำนวน 38,102 คัน และ 7,423 คัน ตามลำดับ หรือเฉลี่ย 104.4 คันต่อวัน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-113

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) และ 20.3 คันต่อวัน ตามลำดับ ซึ่งมากกว่าข้อมูลท่ีสำรวจเพิ่มเติมโดยที่ปรึกษา โดยคิดเป็น ค่าเฉล่ียเพียง 72 คันต่อวัน และ 1 คันต่อวัน ตามลำดับ รายละเอียดของสินค้าประเภทอื่นๆ แสดงในตารางท่ี 2.3-47 ตารางท่ี 2.3-47 จำนวนรถบรรทุกทเ่ี ขา้ มาและออกจากสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง แยกตามประเภทสนิ ค้า เปรียบเทียบระหว่างข้อมูลท่ีไดร้ ับจากฐานข้อมลู GCS และการสำรวจ ปรมิ าณรถบรรทกุ (คนั ) ประเภทสนิ ค้า GCS (1 วัน)* GCS ปี 2563** ทป่ี รกึ ษา สำรวจเพ่มิ เตมิ สินค้าอปุ โภคบรโิ ภค คา้ ปลีก คา้ สง่ (เชน่ ของใชใ้ นครวั เรือน อาหารแหง้ เสอ้ื ผา้ เครอ่ื งดมื่ บรรจขุ วด โชห่วย) 100 38,102 72 สนิ ค้าในครวั เรือนขนาดใหญ่ (เชน่ เฟอรน์ เิ จอร์ ราวตากผ้า - - 2 จกั รยาน) สินค้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (เชน่ ทีวี ตู้เยน็ - 31 2 เตาอบ คอมพวิ เตอร์) สนิ คา้ เกษตรและพืชเศรษฐกิจ (เชน่ ผลผลิตขา้ ว ยางพารา 4 649 นำ้ ตาล น้ำมันปาลม์ มนั สำปะหลัง) สินคา้ เน่าเสยี ได้งา่ ย (เช่น ผกั ผลไม้ อาหารสดทไ่ี มต่ อ้ ง - 43 1 แชเ่ ยน็ /แชแ่ ขง็ ) สินคา้ เครื่องจกั รกล ยานยนต์ (เชน่ เครอ่ื งจกั ร จักรยานยนต์ - - 1 อะไหลย่ นต์ ยางรถยนต)์ สนิ ค้าวัสดกุ ่อสรา้ ง (เช่น แผน่ มุงหลังคา เหลก็ ไม้ กระเบ้อื ง 4 2,712 56 เครือ่ งมือกอ่ สรา้ ง ปูนกระสอบ) สนิ ค้าอันตรายและเคมภี ณั ฑ์ (เชน่ เคมภี ณั ฑท์ ี่ใชใ้ น - 74 อุตสาหกรรม) สินค้าเทกอง (เช่น หิน ดิน ทราย ซีเมนตผ์ งท่ีไม่มกี ารบรรจุ 5 7,423 1 หีบห่อ) สินค้าพัสดภุ ณั ฑแ์ ละไปรษณยี ภณั ฑ์ (เช่น พสั ดุไปรษณียไ์ ทย, - - 8 Kerry, Flash, J&T, Ninja, SCG เป็นต้น) อื่นๆ - 1,629 54 รวมท้ังหมด 113 50,663 197 หมายเหตุ: *ฐานขอ้ มูล GCS ของวนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2564 ซง่ึ ตรงกบั วนั ทท่ี ป่ี รึกษาทำการสำรวจเพ่มิ เติม ** ฐานขอ้ มลู GCS ครบทงั้ ปี 2563 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-114

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • สถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกลา้ จากการเปรียบเทียบจำนวนรถบรรทุกท่ีเข้ามาและออกจากสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าแยกตาม ประเภทสินค้า พบว่า สินค้าอุปโภคบริโภคเป็นสินค้าที่ปริมาณมากท่ีสุดจากข้อมูลทั้งสามแหล่ง แต่เม่ือพิจารณาในรายละเอียดของสินค้าแต่ละประเภทแล้ว พบวา่ สินค้ามีสดั ส่วนที่แตกต่างกนั มาก เช่น ในกรณีของสินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าวัสดุก่อสร้าง ซึ่งจากฐานข้อมูล GCS (1 วัน) ไม่มีกรอกข้อมูลเข้ามา เม่ือเทียบกับท่ีสำรวจเพิ่มเติมจะมี 142 คันต่อวัน และ 3 คันต่อวัน ตามลำดับ ขณะที่ฐานข้อมูล GCS ท้ังปีมีสินค้าประเภทนี้ 15,608 คัน (เฉล่ีย 42.7 คันต่อวัน) และ 67 คัน (เฉล่ีย 0.2 คันต่อวัน) ตามลำดับ ซ่ึงถือว่าผู้ประกอบการสถานีขนส่งสินค้ายังให้ ความร่วมมอื ในการกรอกข้อมูลเขา้ ระบบ GCS คอ่ นข้างนอ้ ย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการสินค้าบางประเภทให้ความร่วมมือในการกรอกข้อมูลดีกว่าค่าเฉลี่ย ซง่ึ ทีป่ รึกษาสำรวจได้ เชน่ สินคา้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตรและพชื เศรษฐกิจ และสินค้าเทกอง โดยจากฐานขอ้ มลู GCS ทั้งปีมสี ินค้า 3 ประเภทนจี้ ำนวน 6,964 คนั 10,821 คัน และ 11,957 คัน ตามลำดับ หรือเฉล่ีย 19.1 คันต่อวัน 29.6 คันต่อวัน และ 32.8 คันต่อวัน ตามลำดับ ซ่ึงมากกว่า ข้อมูลท่ีสำรวจเพิ่มเติมโดยท่ีปรึกษา โดยคิดเป็นค่าเฉล่ียเพียง 8 คันต่อวัน 3 คันต่อวัน และ 1 คันต่อวนั ตามลำดับ รายละเอียดของสนิ คา้ ประเภทอื่นๆ แสดงในตารางท่ี 2.3-48 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-115

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.3-48 จำนวนรถบรรทุกท่เี ขา้ มาและออกจากสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกลา้ แยกตามประเภทสนิ คา้ เปรียบเทียบระหว่างข้อมูลที่ไดร้ ับจากฐานข้อมูล GCS และการสำรวจ ปริมาณรถบรรทกุ (คัน) ประเภทสนิ คา้ GCS (1 วนั )* GCS ปี 2563** ท่ีปรกึ ษา สำรวจเพ่ิมเตมิ สินคา้ อปุ โภคบริโภค ค้าปลีก คา้ สง่ (เชน่ ของใช้ในครวั เรอื น - 15,608 142 อาหารแหง้ เสื้อผ้า เครือ่ งดมื่ บรรจขุ วด โชห่วย) สินคา้ ในครวั เรอื นขนาดใหญ่ (เช่น เฟอร์นิเจอร์ ราวตากผา้ - - 1 จักรยาน) สนิ ค้าเครื่องใชไ้ ฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ (เชน่ ทีวี ตเู้ ย็น - 6,964 8 เตาอบ คอมพวิ เตอร)์ สินคา้ เกษตรและพืชเศรษฐกิจ (เชน่ ผลผลิตขา้ ว ยางพารา 6 10,821 3 นำ้ ตาล นำ้ มนั ปาลม์ มันสำปะหลัง) สนิ ค้าเน่าเสยี ไดง้ ่าย (เชน่ ผกั ผลไม้ อาหารสดทีไ่ มต่ ้อง - 1,118 - แชเ่ ยน็ /แชแ่ ข็ง) สินค้าเครอื่ งจักรกล ยานยนต์ (เชน่ เครื่องจกั ร จกั รยานยนต์ - - 7 อะไหลย่ นต์ ยางรถยนต์) สินคา้ วัสดุก่อสรา้ ง (เชน่ แผ่นมงุ หลงั คา เหล็ก ไม้ กระเบื้อง - 67 3 เครื่องมอื กอ่ สรา้ ง ปูนกระสอบ) สินคา้ อนั ตรายและเคมีภณั ฑ์ (เชน่ เคมภี ณั ฑ์ทีใ่ ช้ใน - 2,296 5 อุตสาหกรรม) สนิ คา้ เทกอง (เชน่ หนิ ดิน ทราย ซเี มนตผ์ งท่ไี ม่มกี ารบรรจหุ ีบ 82 11,957 1 ห่อ) สินค้าพัสดุภณั ฑ์และไปรษณยี ภณั ฑ์ (เช่น พัสดุไปรษณียไ์ ทย, - - 1 Kerry, Flash, J&T, Ninja, SCG เป็นต้น) อืน่ ๆ 32 13,437 102 รวมทัง้ หมด 120 62,268 273 หมายเหตุ: *ฐานขอ้ มลู GCS ของวนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 ซงึ่ ตรงกับวนั ท่ที ่ีปรึกษาทำการสำรวจเพิ่มเติม ** ฐานข้อมูล GCS ครบทง้ั ปี 2563 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-116

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.4 คุณลกั ษณะของผปู้ ระกอบการขนสง่ ท่เี ขา้ ใช้บริการ การศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการขนส่งที่เข้าใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ถือเป็นข้อมูลส่วนสำคัญเพ่ือนำไปใช้สำหรับการวิเคราะห์ และวางแผนพัฒนาส่ิงอำนวย ความสะดวกต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสินค้าให้มีความสอดคล้องกับความต้องการท่ีแท้จริงของ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการได้ 2.4.1 ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลของสำนกั การขนส่งสินค้า ท่ีปรึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการขนส่งสินค้า ท่ีเข้าใช้บริการ สถานีขนส่งสินคา้ จากระบบฐานข้อมูลของสำนักการขนส่งสินค้าจำนวน 3 ระบบ คือ ระบบควบคุม ประตูอัตโนมัติ (Gate Control System: GCS) ระบบบริหารสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Management System: TTMS) และศูนย์รวมข้อมูลการขนส่งด้วยรถบรรทุก (Thai Data Service Center: TDSC) โดยรายละเอียดของระบบควบคุมประตูอัตโนมัติได้นำเสนอไว้แล้วในหัวข้อ 2.3.1 ส่วนฐานขอ้ มลู อกี 2 ระบบ คือ TTMS และ TDSC มรี ายละเอียด ดงั น้ี 2.4.1.1 ระบบบริหารสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Management System: TTMS) เป็นระบบท่ีพัฒนาข้ึนมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ช่วยบริหารจัดการข้อมูลของ สถานีขนส่งสินค้า เช่น การจัดทำสัญญาเช่าใช้พื้นที่สถานีขนส่งสินค้า การคำนวณ ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น ซ่ึงเป็นการยกระดับการให้บริการต่อผู้ประกอบการและผู้เช่าใช้พื้นที่สถานี ขนส่งสินค้า โดยข้อมูลต่างๆ เหล่านี้สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ของสถานขี นส่งสนิ คา้ ได้ ในสว่ นของการรายงานผลของระบบ ประกอบดว้ ย 8 หวั ข้อ ดังแสดงในรปู ท่ี 2.4-1 ไดแ้ ก่ รูปท่ี 2.4-1 รปู ตัวอย่างหนา้ หลกั ของการใช้งานระบบ TTMS สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-117

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • งานบรหิ ารสถานีขนสง่ สินค้า มีการรายงานผลข้อมลู ประกอบด้วย - พ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้า ประกอบด้วย ประเภทพ้ืนที่ ข้อมูลพื้นท่ี อัตราค่าบริการ และตรวจสอบพ้นื ท่วี า่ ง - สัญญา ประกอบด้วย ฐานข้อมูลผู้เช่าพ้ืนท่ี สัญญาเช่าใช้พื้นท่ี สัญญาเช่าใช้ สาธารณูปโภค และขอ้ มลู คิวเช่าพื้นท่ี - สาธารณูปโภค ประกอบดว้ ย ขอ้ มูลมเิ ตอร์ไฟฟา้ ข้อมลู มเิ ตอร์น้ำประปา ขอ้ มูลเบอร์ โทรศพั ท์ บนั ทกึ คา่ ไฟฟา้ บนั ทึกค่าน้ำประปา และบันทกึ ค่าโทรศพั ท์ - การเงนิ การบัญชี ประกอบด้วย ข้อมูลงบประมาณ ขอ้ มลู รายจ่าย • งาน โครงการ มีการรายงานผลขอ้ มลู ประกอบด้วย - งบประมาณ จะสามารถสืบค้นดูงบการเงินของแต่ละปีงบประมาณ ซ่ึงจะมีรายละเอียด ได้แก่ งบประมาณ/ เงินงบประมาณ (บาท)/ เงินผูกพัน (บาท)/ เงินเบิกจ่าย (บาท)/ เงนิ คงเหลือผกู พัน (บาท) /เงนิ คงเหลอื เบกิ จ่าย (บาท) - ประเภทงาน โครงการ ประกอบดว้ ย ขอ้ มลู ประเภทงาน/โครงการ และรปู แบบสัญญา - บริหารงาน โครงการ มีรายละเอียดเกีย่ วกบั โครงการ - ประเภทสญั ญาจ้างเหมา มรี ายละเอียดเกี่ยวกับประเภทสัญญาจา้ งเหมา - สัญญาจ้างเหมา ไว้สำหรบั คน้ หาสัญญาจ้างเหมา และมรี ายละเอียดของสญั ญาจา้ งเหมา • วัสดุ ครุภัณฑ์ มีรายละเอียดต่างๆ เก่ียวกับข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลวัสดุ รวมถึงคำร้องขอ เบกิ วสั ดุ • งานบุคคล มีรายละเอียดต่างๆ เก่ียวกับข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลประเมินผลสัมฤทธิ์ และ ข้อมูลใบลา • อ่นื ประกอบดว้ ย การตรวจการขนสง่ การแจง้ เตือน และข่าวสารตา่ งๆ • รายงาน ประกอบด้วย รายงานการเงิน/การบัญชี แจ้งเตือน คิวเช่าพื้นที่ ผู้ประกอบการ ขนถา่ ยสนิ ค้า สาธารณปู โภค วัสด/ุ ครภุ ัณฑ์ และตรวจการขนส่ง • ผู้ดแู ลระบบ มรี ายละเอยี ดเกยี่ วกับการประกาศขา่ วสาร • e-service มีรายละเอียดเกี่ยวกับ ข่าวประชาสัมพันธ์ แบบสำรวจความพึงพอใจ และ เร่ืองสอบถาม/รอ้ งเรยี น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2-118

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 2.4.1.2 ศูนย์รวมข้อมลู การขนส่งด้วยรถบรรทุก (Thai Data Service Center: TDSC) เป็นศูนย์รวมข้อมูลท่ีจำเป็นเพ่ือการวางแผนการขนส่งสำหรับผู้ประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุก ท้ังในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน โดยได้มีการนำแนวคิดระบบ e-government แบบ one stop service กับการให้บริการระบบออนไลน์สำหรับบริหารจัดการวางแผนการขนส่งสินค้า การให้บริการข้อมูลในรูปแบบออนไลน์ ซึ่งผู้ประกอบการและประชาชนสามารถเข้าถึงฐานข้อมูล และสถิติการขนส่งสินค้า รวมถึงขั้นตอนการติดต่อราชการได้โดยสะดวก รวดเร็ว ทุกท่ีทุกเวลา อาทิ ฐานข้อมูลเส้นทางหลักและเส้นทางตามกรอบความตกลงระหว่างประเทศ ฐานข้อมูล ผู้ประกอบการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศและภายในประเทศ ข้ันตอนการขออนุญาต ประกอบการ ระบบรับรองมาตรฐาน Q Mark ระบบสารสนเทศสถานีขนส่งสินค้า ข้อมูลสถิติ การขนส่งสินค้าทางถนน เป็นต้น ดังนั้น ศูนย์รวมข้อมูลการขนส่งด้วยรถบรรทุก (TDSC) จึงเป็นเสมือนแหล่งข้อมูลและองค์ความรู้ด้านการขนส่งสินค้าทางถนนแบบครบวงจร สามารถ นำไปใช้สำหรับการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพระบบโลจิสติกส์ได้ ดังแสดง หมวดหมขู่ ้อมลู ท่รี วบรวมไวโ้ ดยศนู ย์รวมข้อมลู การขนสง่ ด้วยรถบรรทุก (TDSC) ในรปู ที่ 2.4-2 รปู ที่ 2.4-2 ฐานขอ้ มลู ของศูนย์รวมขอ้ มูลการขนส่งด้วยรถบรรทุก (TDSC) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-119

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) โดยมรี ายละเอียดของการให้บริการต่างๆ ดังนี้ • บริการ ประกอบด้วยข้อมูลและการบริการต่างๆ ได้แก่ มาตรฐานคุณภาพบริการขนส่ง ด้วยรถบรรทุก (Q Mark)/ ต้นทุนและสถิติการขนส่งสินค้าทางถนน/ ค้นหาเส้นทางและ สบื ค้นข้อมูลเชงิ พน้ื ท/่ี การขนส่งในภมู ิภาคอาเซยี น/ การขนส่งวตั ถุอนั ตราย/ รายงานการ ขนส่งสินค้าและ GPS/ ระบบสารสนเทศเพื่อรถบรรทุกเท่ียวเปล่า/ ระบบบริหารความ ปลอดภยั ด้านการขนสง่ และราคานำ้ มนั จากกระทรวงพลงั งาน • สืบค้นข้อมูล ประกอบด้วย ข้อมูลผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุกไม่ประจำทาง/ ผู้ประกอบการท่ีได้รับรอง Q Mark/ ข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีของผู้ประกอบการ Cold Chain และ รายงานการศึกษา • หน่วยงาน ประกอบด้วย กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการขนส่งสินค้า/ ส่วนสถานีขนส่งสินค้า และส่วนประกอบการขนสง่ สนิ คา้ • ประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของ หน่วยงาน 2.4.2 ขนาดกจิ การ จากการวิเคราะห์ฐานข้อมูลของผู้ประกอบการขนส่งภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ ทั้ง 3 แห่งผ่านทางระบบ TTMS พบว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีจำนวนผู้ประกอบการที่ใช้บริการชานชาลาขนถ่าย สินค้าหรอื คลังสินค้ามากท่ีสุด กลา่ วคือ มีจำนวน 87 ราย รองลงมา คือ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกลา้ ที่ มีจำนวน 16 ราย ส่วนสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงมีจำนวน 6 ราย ท้ังนี้เม่ือพิจารณาจากทุน จดทะเบียนของผู้ประกอบการขนส่งท้ังหมด พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นบริษัทขนาดกลาง และเล็ก (SME) ท่ีมีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 50 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 67-75 โดยที่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลพบว่า ผู้ประกอบการขนส่งประมาณร้อยละ 67 มีทุนจดทะเบียน ไม่เกิน 10 ล้านบาท ขณะที่หลายรายใช้ช่ือบุคคลแทนนิติบุคคลทำให้ไม่สามารถค้าหาข้อมูลทุน จดทะเบียนได้ (คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 25) ส่วนผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ประมาณร้อยละ 67 มีทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 50 ล้านบาท ขณะที่ผู้ประกอบการของสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า ประมาณร้อยละ 75 มีทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 50 ล้านบาท ซ่ึงมีถึงร้อยละ 44 ท่ีมี ทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 10 ล้านบาท (ท้ังนี้มีข้อสังเกตว่า ไม่มีผู้ประกอบการขนส่งท่ีมีทุนจดทะเบียน อยู่ระหว่าง 50-100 ล้านบาท) สำหรับผปู้ ระกอบการรายอื่นๆ ท่ีมีทุนจดทะเบียนตัง้ แต่ 100 ลา้ นบาทข้ึนไป มจี ำนวน 7 ราย ดงั แสดงในตารางท่ี 2.4-1 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-120

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.4-1 จำนวนผู้ประกอบการขนส่งสินคา้ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ 3 แห่ง แยกตามทุนจดทะเบยี น ทุนจดทะเบียน สถานขี นส่งสินคา้ สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานีขนสง่ สนิ คา้ (ล้านบาท) พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 0-10 จำนวน สดั สว่ น จำนวน สัดส่วน จำนวน สัดสว่ น 11-50 (ราย) (%) (ราย) (%) (ราย) (%) 51-100 58 67% 101-500 1 17% 7 44% มากกว่า 500 4 5% 3 50% 5 31% ไมม่ ีขอ้ มลู -- -- -- 3 -- 3 19% รวม - 3% 1 17% 1 6% 22 25% 1 17% -- 87 100% 6 100% 16 100% ที่มา: วิเคราะห์จากฐานข้อมูลผ้เู ช่าพื้นทข่ี องสำนกั การขนส่งสินคา้ (www.ttms.dlt.go.th) วันทีเ่ ข้าถงึ ข้อมูล 14 ธันวาคม 2563 2.4.3 จำนวนรถ จากฐานขอ้ มลู Thai Truck Center ในปี 2563 พบว่า ผู้ประกอบการของสถานขี นส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง มกี ารครอบครองรถบรรทุกมากน้อยแตกต่างกัน ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงขนาดของกิจการได้ในระดับหน่ึง โดยพบว่า มีจำนวน 22 ราย เป็นผู้ประกอบการที่มีรถบรรทุกในครอบครองไม่เกิน 30 คัน ขณะที่มี จำนวน 7 ราย ที่มีรถต้ังแต่ 31-100 คัน และมีจำนวน 11 ราย ที่มีรถเกินกว่า 100 ราย จากท้ังหมด 40 รายท่ีมีข้อมูล (หักจำนวนผู้ประกอบการจำนวน 69 รายท่ีไม่มีข้อมูลออกแล้ว) โดยพบว่า ผู้ประกอบการขนส่งของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จะเป็นผู้ประกอบการขนาดเล็กมาก (XS) และขนาดเล็ก (S) จำนวน 16 ราย ซึ่งมากกว่าของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า ที่มีผู้ประกอบการขนาด XS และ S จำนวน 6 ราย เนื่องจากการขนส่งสินค้าของ ผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลน้ัน จะเป็นการขนส่งสินค้าเบ็ดเตล็ดไปยังร้านค้า รายย่อยที่กระจายอยู่ทั่วประเทศมากกว่า จึงมีผู้ประกอบการขนาดเล็กมากและขนาดเล็กเข้ามาเช่า พ้ืนที่อยู่มาก ขณะที่ผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า จะเน้นไปที่การกระจายสินค้าไปยังศูนย์กระจายสินค้าของธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจโมเดิร์นเทรด รวมท้ังการรับจ้างบรรจุสินค้าท่ีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมและขนส่งต่อไปยังท่าเรือเพ่ือส่งออก จึงเป็นผู้ประกอบการขนาดกลาง (M) และใหญ่ (L) ซึ่งมีรถบรรทุกเกินกว่า 30 คัน มากกว่า ดังแสดง ในตารางท่ี 2.4-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-121

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 2.4-2 จำนวนผู้ประกอบการขนส่งสินคา้ ภายในสถานขี นส่งสินค้า 3 แห่ง แยกตามจำนวนรถครอบครองในปี 2563 จำนวนรถ สถานขี นส่งสนิ ค้า สถานขี นส่งสินคา้ สถานีขนส่งสินค้า (คัน) พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกล้า จำนวน(ราย) สัดสว่ น (%) จำนวน (ราย) สัดสว่ น (%) จำนวน (ราย) สดั สว่ น %) XS: 1-3 คัน 3 3% - -- - S: 4-30 คัน 13 15% 1 17% 5 31% M: 31-100 คัน 3 3% 1 17% 3 19% L: มากกว่า 100 คัน 2 2% 4 66% 5 31% ไม่มีขอ้ มลู 66 77% - -3 19% รวม 87 100% 6 100% 16 100% ท่มี า: วเิ คราะห์จากฐานข้อมูลผู้เชา่ พื้นที่ของสำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก (www.ttms.dlt.go.th) วันทเี่ ข้าถงึ ข้อมูล 14 ธันวาคม 2563 และฐานขอ้ มลู ผูป้ ระกอบการขนส่งรถบรรทุกไม่ประจำทาง [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://www.thaitruckcenter.com/tdsc/2Product/CompanyV_4 [วันที่เข้าถงึ ขอ้ มูล วันท่ี 6 มกราคม 2564] หมายเหตุ: การแบง่ กลุ่มผู้ประกอบการใชเ้ กณฑข์ นาดกิจการท่ีได้รับการรับรอง Q Mark ของกลุ่มพัฒนาและประกอบการขนสง่ กรมการขนส่งทางบก รายละเอียดของทุนจดทะเบียนและจำนวนรถท่ีครอบครองของผู้ประกอบการแต่ละรายภายในสถานี ขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แสดงใน ตารางท่ี 2.4-3 ถงึ ตารางที่ 2.4-5 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-122



ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ข ลำดบั บรษิ ัท/หนว่ ยงาน ทนุ จด จำนวนรถ2 ป ทะเบียน1 (คนั ) (ล้านบาท) 1 บรษิ ัท นิม่ ซ่เี ส็งขนส่ง 1988 จำกดั 10.00 434 เคร่อื งใช้ไฟฟ้า ประกอบรถยนต เพอ่ื การเกษตร อเิ ล็กทรอนิกส์ 2 บรษิ ทั เอ็มเอส นอร์ธสตาร์ โลจิสตกิ ส์ 142.00 173 เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ (ไทยแลนด์) จำกดั ประกอบรถยนต เพื่อการเกษตร อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด ป.กติ ิพงศข์ นส่ง (2001) 1.00 21 เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ประกอบรถยนต เพ่อื การเกษตร อเิ ล็กทรอนกิ สอ์ 4 บรษิ ทั ชวาลกติ ขนสง่ จำกัด 2.00 11 เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ประกอบรถยนต เพื่อการเกษตร อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ของบรษิ ัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล พ้ืนทท่ี ่ีใชบ้ รกิ าร ประเภทสนิ คา้ 3 คลงั สนิ คา้ ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถ่าย อเนกประสงค์ ทอ่ี าคาร  ชานชาลา  สนิ ค้า    เคร่อื งอุปโภคบรโิ ภค ชิ้นส่วน     ต์ วสั ดุกอ่ สรา้ ง สิ่งทอ สนิ ค้า  อาหารสตั ว์ อุปกรณ์  อื่นๆ เครือ่ งอุปโภคบรโิ ภค ชิน้ สว่ น    ต์ วัสดุกอ่ สร้าง สิ่งทอ สินคา้ อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อ่นื ๆ เครื่องอปุ โภคบรโิ ภค ชน้ิ ส่วน    ต์ วสั ดุกอ่ สร้าง ส่งิ ทอ สนิ ค้า อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์ อ่นื ๆ เครอ่ื งอุปโภคบริโภค ชิ้นส่วน    ต์ วสั ดุก่อสรา้ ง สิ่งทอ สินคา้ อาหารสัตว์ อปุ กรณ์ อน่ื ๆ 2-123

ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ของ ลำดับ บรษิ ัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ปร ทะเบียน1 (คัน) (ล้านบาท) 5 บริษัท บลู แอนด์ ไวท์ โลจสิ ติกส์ จำกัด 279.00 438 เครื่องใชไ้ ฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ 6 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั ธ.พาวเวอร์ ทรคั เพื่อการเกษตร อ 7 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด มง่ เส็งบรุ รี มั ย์ขนสง่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อ่นื 8 บริษทั พยคั ฆ์ขนสง่ จำกัด 2.00 6 ส่งิ ทอ 5.00 78 เครอื่ งใช้ไฟฟา้ เค 9 ห้างหุน้ สว่ นจำกดั ฮอเนต ขนสง่ ประกอบรถยนต์ เพอ่ื การเกษตร อ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อ 50.00 333 เครื่องใช้ไฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ ส่งิ ทอ สนิ คา้ เพอ่ื ก อาหารสตั ว์ อุปกร 0.20 2 เครื่องอปุ โภคบริโ สนิ ค้าเพอื่ การเกษ อิเลก็ ทรอนิกส์ อื่น สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) งบริษัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พ้นื ท่ที ใ่ี ช้บรกิ าร ระเภทสินค้า3 คลงั สินคา้ ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพัก ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ทีอ่ าคาร  สินคา้ ชานชาลา   ครอื่ งอปุ โภคบริโภค ชิน้ สว่ น      วัสดุกอ่ สร้าง สงิ่ ทอ สินค้า  อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์ นๆ     ครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค ช้ินสว่ น     วสั ดุกอ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ สนิ ค้า อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อน่ื ๆ ครื่องอปุ โภคบรโิ ภค ชิน้ สว่ น     วสั ดกุ ่อสร้าง การเกษตร รณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อน่ื ๆ โภค วัสดุก่อสรา้ ง สิง่ ทอ     ษตร อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ นๆ 2-124

ตารางท่ี 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดับ บรษิ ัท/หน่วยงาน ทนุ จด จำนวนรถ2 ป ทะเบียน1 (คนั ) (ล้านบาท) 10 บริษัท แรพดิ สั ทรานส์ จำกดั 10.00 61 เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ เพื่อการเกษตร อ อเิ ล็กทรอนิกส์ อ 11 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั แสงทวีทรพั ยส์ นิ 0.06 3 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ สนิ ค้าเพอื่ การเกษ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อ 12 สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา - -- 13 บริษัท นวรรณขนส่ง จำกดั 1.00 13 เครื่องอุปโภคบริโ 14 ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั ขา้ มสมทุ รขนสง่ 0.40 19 ส่งิ ทอ 15 หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด มะม่วง ขนส่ง 5.00 10 เครื่องใช้ไฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ สนิ ค้าเพ่อื การเกษ อิเล็กทรอนิกส์ อ 16 ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั ภูเก็ตแหลมทองขนส่ง 4.00 17 สิ่งทอ เครื่องอปุ โ 17 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด สหลำพนู ขนส่ง (1996) 1.40 23 เครอ่ื งอุปโภคบริโ 18 บริษทั เจริญสินโลจสิ ติกส์ จำกัด 3.00 4 อน่ื ๆ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) งบรษิ ัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พื้นที่ท่ใี ชบ้ ริการ ประเภทสินค้า3 คลงั สินคา้ ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถ่าย อเนกประสงค์ ท่ีอาคาร  สนิ ค้า ชานชาลา  ครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค ชิน้ สว่ น      วสั ดุกอ่ สรา้ ง สง่ิ ทอ สนิ คา้   อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์  อืน่ ๆ   ครือ่ งอุปโภคบรโิ ภค ช้ินส่วน      วัสดกุ อ่ สร้าง สง่ิ ทอ ษตร อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อน่ื ๆ     โภค อ่ืนๆ         ครือ่ งอปุ โภคบรโิ ภค ช้ินส่วน     วสั ดกุ อ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ ษตร อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์ อ่นื ๆ โภคบรโิ ภค     โภค สนิ ค้าเพ่อื การเกษตร         2-125

ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดบั บริษัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ป ทะเบยี น1 (คนั ) (ล้านบาท) 19 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั พแี อล แอนด์ พแี อล 0.70 8 เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เค ขนส่งอปุ กรณ์เคร่อื งอะไหล่ ประกอบรถยนต์ 20 ห้างหุน้ สว่ นจำกัด พาณิชย์การขนส่ง เคเอสดี 1.00 2 เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ เพอ่ื การเกษตร อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อ 21 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด บรรทกุ รกั ษ์ ขนสง่ 0.60 30 เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ เพื่อการเกษตร อ อิเล็กทรอนกิ ส์ อ 22 นาย เฉลิม เชิงรู้ - 7 เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ เพื่อการเกษตร อ 23 นางสาว รชั นี ซอสนั เทียะ - 6 ส่ิงทอ 24 นาง กตัญชลี ตัณฑวุฑโฒ - 2 สง่ิ ทอ 25 นางสาว รำไพ ลีลาชยั - 3 เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ เพื่อการเกษตร อ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) งบริษัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พืน้ ทท่ี ่ีใชบ้ ริการ ประเภทสินคา้ 3 คลงั สนิ ค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน ห้องพัก ขนถ่าย อเนกประสงค์ ทอ่ี าคาร  สนิ คา้ ชานชาลา  ครอ่ื งอปุ โภคบริโภค ชิ้นส่วน      อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์  คร่อื งอปุ โภคบริโภค ชิ้นสว่ น       วัสดกุ อ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ สนิ คา้  อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อ่นื ๆ ครื่องอุปโภคบรโิ ภค ชิ้นสว่ น     วัสดกุ ่อสร้าง สิ่งทอ สินค้า อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อื่นๆ ครือ่ งอปุ โภคบริโภค ช้ินสว่ น     วัสดุก่อสรา้ ง สง่ิ ทอ สินคา้ อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อ่ืนๆ         ครื่องอปุ โภคบริโภค ชิน้ สว่ น     วสั ดุก่อสรา้ ง สงิ่ ทอ สนิ คา้ อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ อนื่ ๆ 2-126

ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดบั บรษิ ทั /หนว่ ยงาน ทนุ จด จำนวนรถ2 ป ทะเบียน1 (คัน) (ลา้ นบาท) 26 นางสาว เกศราภรณ์ ลลี าชยั - 2 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า เค ประกอบรถยนต์ 27 หา้ งห้นุ ส่วนจำกัด ส.เจริญกจิ ขนสง่ เพอ่ื การเกษตร อ 28 บรษิ ทั รัชพล ภาคใต้ จำกดั อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อ 29 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด แตพ้ ังเฮงขนส่ง 1.00 2 เครอื่ งอุปโภคบรโิ 30 บริษัท นิวส์แมส่ อด ทรานสปอรต์ จำกดั 1.00 1 สง่ิ ทอ วสั ดกุ ่อสร 31 บรษิ ัท ปิยวัฒนท์ รานสปอรต์ จำกดั 5.00 24 เคร่ืองอปุ โภคบริโ 32 ห้างหุ้นส่วนจำกัด คงกะพันขนส่ง 33 บริษัท สโุ ขทัยโลจสิ ติกส์ จำกัด รถยนต์ วัสดกุ ่อส 34 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด โชคสถาพรขนสง่ พงั งา การเกษตร อุปกร 5.00 26 เครอ่ื งอปุ โภคบริโ 35 นาง จำเรญิ สาพนั ธ์ 5.00 37 สง่ิ ทอ เคร่ืองอุปโ 36 ห้างหุ้นส่วนจำกัด ธนามยั 1.00 43 สิ่งทอ สินค้าเพ่อื 1.00 1 ส่ิงทอ เครือ่ งอปุ โ 0.50 7 ส่งิ ทอ เครื่องใช้ไฟ อน่ื ๆ - 2 สง่ิ ทอ สนิ คา้ เพื่อ 5.00 4 เครือ่ งอปุ โภคบริโ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) งบริษัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พืน้ ทีท่ ี่ใช้บริการ ประเภทสนิ ค้า3 คลังสินค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ทอ่ี าคาร  สินคา้ ชานชาลา  ครือ่ งอปุ โภคบริโภค ชิ้นสว่ น       วสั ดกุ อ่ สร้าง สงิ่ ทอ สนิ คา้  อาหารสัตว์ อปุ กรณ์   อนื่ ๆ   โภค     ร้าง อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์     โภค ชิน้ ส่วนประกอบ     สรา้ ง ส่ิงทอ สนิ ค้าเพ่อื รณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ อนื่ ๆ โภค อ่นื ๆ     โภคบรโิ ภค     อการเกษตร อนื่ ๆ     โภคบรโิ ภค     ฟฟ้า สินคา้ เพ่ือการเกษตร     อการเกษตร อนื่ ๆ      โภค อน่ื ๆ      2-127

ตารางท่ี 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดับ บรษิ ัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ป ทะเบยี น1 (คัน) (ลา้ นบาท) 37 นางสาว ลัดดาวรรณ ตน้ แก้ว - 1 สงิ่ ทอ เครือ่ งอุปโ การเกษตร อื่นๆ 38 บรษิ ัท สปดี คงิ ส์ โลจสิ ติกส์ จำกดั 4.00 35 เคร่ืองอปุ โภคบริโ 39 บริษทั โชคนำทาง ขนส่ง จำกดั 3.00 53 เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ 40 บริษัท เอนกธัญกิจ จำกดั 24.90 14 เครือ่ งอปุ โภคบริโ 41 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด ศรสี ะเกษพนมรงุ้ ขนส่ง 1.00 29 เครื่องใชไ้ ฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ เพอ่ื การเกษตร อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อ 42 นาย รัชธนันทร์ ชวลิตรุจวิ งษ์ - 9 เคร่อื งใช้ไฟฟา้ เค ประกอบรถยนต์ เพื่อการเกษตร อ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อ 43 บริษทั นิม่ เอก็ ซเ์ พรส จำกัด 300.00 7 สิ่งทอ 44 บริษัท โอ.เอส.ท.ี ลอจิสติกส์ จำกดั 30.00 98 เครอ่ื งอุปโภคบรโิ 45 หา้ งห้นุ ส่วนจำกัด กิจเจริญทรพั ย์ชุมแพขนส่ง 0.45 12 อนื่ ๆ 46 นางสาว หนึ่งฤทยั ชัยขนุ พล - 14 เคร่อื งอุปโภคบรโิ 47 นาย อำพล ฟกั ประไพ - 3 สิ่งทอ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) งบรษิ ัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล (ต่อ) พน้ื ท่ีท่ีใชบ้ ริการ ประเภทสินค้า3 คลงั สินคา้ ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพัก ขนถ่าย อเนกประสงค์ ท่อี าคาร  สนิ ค้า ชานชาลา โภคบรโิ ภค สนิ ค้าเพอื่     โภค อ่ืนๆ      โภค อื่นๆ      โภค อนื่ ๆ     ครอื่ งอุปโภคบริโภค ชิน้ ส่วน     วัสดกุ ่อสร้าง สงิ่ ทอ สนิ คา้   อาหารสัตว์ อปุ กรณ์   อ่นื ๆ ครื่องอุปโภคบรโิ ภค ช้ินสว่ น    วัสดกุ อ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ สินคา้ อาหารสตั ว์ อปุ กรณ์ อน่ื ๆ    โภค อน่ื ๆ       โภค อ่ืนๆ       2-128

ตารางท่ี 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ของ ลำดบั บริษทั /หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ป ทะเบยี น1 (คัน) (ลา้ นบาท) 48 นาย ชาญชัย ฟกั ประไพ - 2 สิ่งทอ 49 นาย ณรงค์ ธำรงคอ์ นันตส์ กลุ - 5 เครอ่ื งอปุ โภคบร 50 จ.ส.อ. สฤษดิ์ ประเสรฐิ สงั ข์ - 2 เครื่องอปุ โภคบร 51 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั องั คณาขนส่ง 1.00 3 สิ่งทอ 52 ห้างห้นุ สว่ นจำกดั ส.อุดมสนิ ขนสง่ 1.00 2 สิง่ ทอ 53 บริษทั สงขลาชปิ ปิง้ ขนสง่ จำกัด 1.00 2 เครื่องอปุ โภคบร 54 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด สุเมธ ทรานสปอรต์ 1.00 40 สง่ิ ทอ 55 นาง ปรุงจิตร ฟกั ประไพ - 1 สิ่งทอ 56 นาง วไิ ล แกว้ ตั๋น - 6 ส่ิงทอ 57 นาง ศริ ิบุญพา อรุณพงษ์ - 6 สิ่งทอ 58 นางสาว กิตติมา เพ็ชรขำ - 3 สิ่งทอ 59 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด ทบั สะแกบรกิ ารขนสง่ 1.25 7 สิ่งทอ 60 หา้ งหุน้ ส่วนจำกดั เชยี งรายรตั นา ขนสง่ 0.50 2 สง่ิ ทอ 61 นางสาว กิตติพร ลิม่ สกลุ - 1 สิ่งทอ อนื่ ๆ 62 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด สงิ ห์เพิ่มพนู ทรพั ย์ ขนสง่ 2.00 0 เครื่องอปุ โภคบร 63 บรษิ ัท ช้องทรานสปอรต์ จำกัด (ไมม่ ีบริการ) 1.00 19 เคร่ืองอุปโภคบร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) งบรษิ ัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พน้ื ที่ที่ใชบ้ ริการ ประเภทสนิ ค้า3 คลังสินค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ทอี่ าคาร  สินคา้ ชานชาลา         ริโภค อืน่ ๆ       รโิ ภค อ่ืนๆ                   รโิ ภค อื่นๆ                                       ริโภค อ่ืนๆ     รโิ ภค อื่นๆ     2-129

ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดับ บริษัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ทะเบียน1 (คัน) (ล้านบาท) 64 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั แมส่ อด ทรพั ยม์ งคล 3.00 6 สิง่ ทอ กจิ ไพศาล 0.50 27 เครอ่ื งอุปโภคบ 65 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด เชียงรายกิตตทิ ราน การเกษตร อาห สปอรต์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 66 ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั โชคดสี าลข่ี นสง่ 0.50 40 เครื่องอปุ โภคบ 67 บรษิ ทั นิวโชคจยิ ะชัย ขนส่ง จำกดั 1.00 0 สินค้าเพอ่ื การเ 68 บรษิ ัท นิม่ ซเี่ สง็ พาเซล็ เซอร์วสิ จำกัด (ใชร้ ถร่วม) อืน่ ๆ 69 นางสาว จารุวรรณ ชว่ ยดำ 1.00 1 เครอ่ื งอปุ โภคบ 70 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั (ติ่ง) ขนสง่ ชลบรุ ี 71 ห้างห้นุ สว่ นจำกดั พรชัย เลย ขนส่ง - 24 เครื่องอุปโภคบ 72 บริษัท อปุ กรณ์การเกษตรพัทลงุ จำกัด 1.50 10 เครื่องอุปโภคบ 1.00 18 สง่ิ ทอ เครือ่ งใช 73 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด บี.เอส.ขนส่ง 3.50 13 เครอ่ื งอปุ โภคบ รถยนต์ วสั ดกุ ่อ การเกษตร อุป 3.00 5 เคร่อื งใช้ไฟฟ้า ประกอบรถยน เพอื่ การเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) งบรษิ ัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พน้ื ท่ที ี่ใชบ้ ริการ ประเภทสินคา้ 3 คลงั สินค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนกั งาน หอ้ งพกั ขนถ่าย อเนกประสงค์ ทอ่ี าคาร  สนิ คา้ ชานชาลา     บรโิ ภค สงิ่ ทอ สินคา้ เพอ่ื     หารสัตว์ อปุ กรณ์ อื่นๆ     บริโภค อนื่ ๆ     เกษตร เครอ่ื งอุปโภคบริโภค บริโภค อน่ื ๆ      บรโิ ภค อ่ืนๆ       บรโิ ภค อนื่ ๆ      ช้ไฟฟา้ อ่นื ๆ     บรโิ ภค ช้นิ ส่วนประกอบ    อสรา้ ง สิง่ ทอ สนิ ค้าเพอ่ื ปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ อื่นๆ เคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภค ชิน้ ส่วน    นต์ วัสดุกอ่ สร้าง ส่ิงทอ สนิ ค้า ร อาหารสตั ว์ อ่ืนๆ 2-130

ตารางที่ 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ของ ลำดบั บรษิ ัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ทะเบยี น1 (คัน) (ล้านบาท) 74 หา้ งหุน้ ส่วนจำกัด โชคบญุ มาขนสง่ 1.00 10 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ประกอบรถยน 75 ห้างหุน้ สว่ นจำกดั ขนส่งชยั นาทสหพทิ ักษ์ เพ่ือการเกษตร 76 บริษัท ศุภทัศนา จำกัด 77 ห้างหุ้นส่วนจำกดั ธนาวินขนสง่ 1.00 10 เครอ่ื งอปุ โภคบ 78 ห้างห้นุ สว่ นจำกดั ตงั เซง้ ยโสธรขนสง่ 30.00 463 สง่ิ ทอ อืน่ ๆ 2.00 51 เครื่องอุปโภคบ 79 ห้างหุน้ ส่วนจำกดั เอย๋ี วฮงขนส่ง 1.75 5 เครื่องใช้ไฟฟ้า 80 ห้างหุ้นส่วนจำกดั สงิ ห์ท่าเรือพทั ลงุ ขนส่ง ประกอบรถยน การเกษตร 0.20 16 เครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบรถยน เพื่อการเกษตร อเิ ล็กทรอนิกส์ 4.00 29 เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ประกอบรถยน เพ่อื การเกษตร อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) งบรษิ ัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ พุทธมณฑล (ต่อ) พน้ื ที่ที่ใช้บรกิ าร ประเภทสินค้า3 คลงั สินค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพัก ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ทีอ่ าคาร  สินค้า ชานชาลา  เครอ่ื งอุปโภคบริโภค ชน้ิ สว่ น       นต์ วสั ดุกอ่ สร้าง สิ่งทอ สนิ ค้า  ร อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อืน่ ๆ บรโิ ภค อน่ื ๆ         บรโิ ภค อ่นื ๆ     เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค ช้ินส่วน     นต์ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง สินค้าเพอื่ เครื่องอุปโภคบรโิ ภค ชิ้นสว่ น      นต์ วัสดุก่อสร้าง สิ่งทอ สนิ คา้  ร อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อ่ืนๆ เคร่ืองอปุ โภคบริโภค ช้ินส่วน    นต์ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง สิ่งทอ สินค้า ร อาหารสัตว์ อปุ กรณ์ อ่นื ๆ 2-131

ตารางท่ี 2.4-3 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ของ ลำดบั บรษิ ัท/หนว่ ยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ทะเบียน1 (คัน) (ลา้ นบาท) 81 หา้ งหุน้ สว่ นจำกดั จนั ทบรุ ยี ทุ ธนา 1.00 5 สิง่ ทอ 82 บรษิ ัท เกยี รตินยิ มขนส่ง จำกดั 4.00 58 ส่งิ ทอ 83 นาย บรรจง จนั ทร์วาววาม 84 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด โคราชพนมรุ้งขนสง่ - 1 สิ่งทอ 85 หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั ผดงุ กิจเจริญ 0.50 3 สิ่งทอ 86 นาย นพรัตน์ ฟองฤทธิ์ 1.00 3 เครอื่ งอุปโภคบ 87 บรษิ ัท โอ.ซี.เอส.เอก็ ซ์เปรส จำกดั - 24 สง่ิ ทอ อ่ืนๆ 4.00 45 เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ชิน้ สว่ นประกอ การเกษตร อน่ื ทมี่ า: ฐานข้อมูลผเู้ ช่าพื้นท่ีของสำนักการขนสง่ สนิ ค้า กรมการขนส่งทางบก (www.ttms.dlt.go.th) วันท่ีเขา้ ถงึ ข้อมลู หมายเหตุ: 1 ขอ้ มูลนติ ิบคุ คล (DBD Data Warehouse) ของกรมพัฒนาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ (https://da 2 จำนวนรถที่ครอบครองจากฐานขอ้ มูลผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทกุ ไม่ประจำทาง [ออนไลน์] แหล่งท่ีมา [วันท่ีเข้าถงึ ขอ้ มลู วันท่ี 6 มกราคม 2564] 3 ประวัตกิ ารขนถ่ายสินค้าตามประเภทสินคา้ ปี 2563 จากข้อมูลผู้เช่าแบบละเอียด (https://ttms.dlt.go สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) งบริษัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล (ต่อ) พน้ื ท่ที ใ่ี ชบ้ ริการ ประเภทสนิ ค้า3 คลังสินคา้ ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพัก ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ท่ีอาคาร  สนิ ค้า ชานชาลา                       บรโิ ภค อนื่ ๆ         เคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภค     อบรถยนต์ สินค้าเพอ่ื นๆ อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ล 14 ธันวาคม 2563 atawarehouse.dbd.go.th/searchJuristicInfo) วันท่เี ข้าถึงข้อมูล 14 ธันวาคม 2563 า: https://www.thaitruckcenter.com/tdsc/2Product/CompanyV_4 o.th/ttms-web/customer/view/55/more) วันที่เขา้ ถงึ ข้อมูล 14 ธันวาคม 2563 2-132

ตารางท่ี 2.4-4 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ข ลำดับ บรษิ ทั /หนว่ ยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ป ทะเบียน1 (คัน) (ลา้ นบาท) 1 บรษิ ัท พเี ค อนิ เตอร์เฟรด จำกัด 3.00 34 เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ เ 2 บรษิ ทั พงษศ์ ิริ โลจิสตกิ ส์ จำกดั ประกอบรถยนต สตั ว์ อปุ กรณอ์ ิเ 3 บรษิ ัท กรีนสปอต จำกดั 24.50 215 เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เ 4 บรษิ ัท เอสซจี ี โลจสิ ตกิ ส์ แมเนจเมน้ ท์ ประกอบรถยนต จำกดั เพอ่ื การเกษตร อิเลก็ ทรอนกิ ส์ อ 48.00 165 เครื่องใช้ไฟฟา้ เ ประกอบรถยนต เพ่ือการเกษตร อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อ 3,340.00 4 เคร่ืองใช้ไฟฟา้ เ ประกอบรถยนต เพื่อการเกษตร อเิ ล็กทรอนกิ ส์ อ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ของบริษัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวง พื้นที่ที่ใชบ้ ริการ ประเภทสินค้า3 คลังสินค้า ชานชาลา ชานชาลา สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถา่ ย อเนกประสงค์ ทอี่ าคาร   สินค้า ชานชาลา   เครื่องอปุ โภคบริโภค ชิ้นสว่ น     ต์ วสั ดกุ อ่ สร้าง สง่ิ ทอ อาหาร เลก็ ทรอนกิ ส์ เครือ่ งอุปโภคบรโิ ภค ชิ้นส่วน     ต์ วัสดุก่อสรา้ ง ส่ิงทอ สนิ คา้ อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อื่นๆ เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค ชน้ิ สว่ น     ต์ วสั ดุก่อสร้าง สง่ิ ทอ สนิ คา้ อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อื่นๆ เครื่องอุปโภคบรโิ ภค ชนิ้ สว่ น     ต์ วสั ดกุ ่อสร้าง สง่ิ ทอ สินคา้ อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อ่ืนๆ 2-133

ตารางท่ี 2.4-4 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ของ ลำดับ บริษทั /หนว่ ยงาน ทนุ จด จำนวนรถ2 ป 5 บริษัท ก.เกยี รติชยั พัฒนาขนส่ง จำกดั ทะเบยี น1 (คัน) (ลา้ นบาท) 10.50 698 อาหารสตั ว์ เคร 6 บรษิ ัท บ.ี ซี. โลจสิ ติกส์ จำกดั 1.00 14 เครอ่ื งอปุ โภคบร ทม่ี า: ฐานข้อมลู ผู้เช่าพื้นท่ขี องสำนักการขนสง่ สินค้า กรมการขนสง่ ทางบก (www.ttms.dlt.go.th) วันที่เข้าถงึ ข้อมลู หมายเหตุ: 1 ข้อมูลนติ ิบุคคล (DBD Data Warehouse) ของกรมพัฒนาธรุ กิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ (https://da 2 จำนวนรถท่ีครอบครองจากฐานขอ้ มูลผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุกไม่ประจำทาง [ออนไลน์] แหลง่ ท่ีมา [วันท่ีเข้าถงึ ขอ้ มูล วันท่ี 6 มกราคม 2564] 3 ประวัตกิ ารขนถ่ายสินค้าตามประเภทสินค้า ปี 2563 จากข้อมูลผู้เชา่ แบบละเอยี ด (https://ttms.dlt.go สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) งบริษัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง (ต่อ) ประเภทสนิ ค้า3 คลังสินค้า พื้นทีท่ ใ่ี ช้บรกิ าร สำนกั งาน หอ้ งพัก รื่องอุปโภคบริโภค  ท่อี าคาร  ชานชาลา ชานชาลา ชานชาลา ขนถ่าย อเนกประสงค์ สินค้า    ริโภค อน่ื ๆ     ล 14 ธันวาคม 2563 atawarehouse.dbd.go.th/searchJuristicInfo) วันที่เข้าถึงขอ้ มูล 14 ธันวาคม 2563 า: https://www.thaitruckcenter.com/tdsc/2Product/CompanyV_4 o.th/ttms-web/customer/view/55/more) วันที่เขา้ ถึงข้อมลู 14 ธันวาคม 2563 2-134

ตารางท่ี 2.4-5 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ลำดับ บริษัท/หน่วยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ทะเบียน1 (คัน) (ลา้ นบาท) 1 บริษทั รวมถาวรขนสง่ จำกัด 130.00 918 เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เ ประกอบรถยนต เพอ่ื การเกษตร อิเล็กทรอนกิ ส์ 2 บรษิ ทั บลูแอนด์ไวท์ โปรเฟสชันแนล 33.00 67 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า เ โลจิสติกส์ จำกดั ประกอบรถยนต เพ่ือการเกษตร อิเล็กทรอนกิ ส์ 3 บรษิ ัท เจา้ คุณดเี ซล แอนด์ ทรานส์ จำกัด 1.00 4 เครอ่ื งอุปโภคบร 4 บรษิ ทั จมิ กลอร่ี อนิ เตอรเ์ นช่ันแนล จำกดั 2.00 0 เครอ่ื งอุปโภคบร (ไม่มีบรกิ าร) 5 ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด ราชบวร อินเตอร์ 5.00 270 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า เ เนชั่นแนล 1996 วสั ดุก่อสรา้ ง 6 บริษัท น่มิ ซ่ีเส็งขนส่ง 1988 จำกัด 10.00 400 เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า เ ประกอบรถยนต เพื่อการเกษตร อเิ ล็กทรอนิกส์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) า ของบรษิ ัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้า พน้ื ท่ีท่ใี ชบ้ รกิ าร ประเภทสินค้า3 คลงั สินค้า ชานชาลา สำนักงาน สำนกั งาน หอ้ งพัก ขนถา่ ย ท่ีอาคาร ที่อาคาร สนิ คา้ ชานชาลา บริหาร เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภค ช้ินส่วน      ต์ วัสดกุ ่อสร้าง สงิ่ ทอ สินค้า อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อื่นๆ เครื่องอุปโภคบริโภค ชิ้นส่วน      ต์ วสั ดุกอ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ สินค้า อาหารสตั ว์ อุปกรณ์ อน่ื ๆ ริโภค อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์      ริโภค     เครื่องอุปโภคบรโิ ภค     เครื่องอุปโภคบริโภค ชิ้นสว่ น      ต์ วัสดกุ ่อสรา้ ง สิง่ ทอ สนิ ค้า อาหารสัตว์ อุปกรณ์ อ่นื ๆ 2-135

ตารางที่ 2.4-5 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินคา้ ขอ ลำดับ บริษัท/หนว่ ยงาน ทนุ จด จำนวนรถ2 ทะเบยี น1 (คัน) (ลา้ นบาท) 7 บริษทั ทรานส์ โลจิสตกิ ส์ จำกัด 18.00 44 เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ประกอบรถยนต เพื่อการเกษตร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 8 บริษัท ไทยคชสาร โลจสิ ติกส์ เซอร์วสิ 10.00 380 ชน้ิ สว่ นประกอบ จำกดั อุปกรณอ์ ิเล็กท 9 บริษัท การเ์ ดี้ยน อินเตอรเ์ นชน่ั แนล จำกดั 5.00 0 เครื่องอุปโภคบ (ใชร้ ถรว่ ม) วัสดกุ ่อสรา้ ง อา 10 บรษิ ทั เอสเอสเค อนิ เตอร์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั 135.75 284 เคร่อื งอปุ โภคบ 11 บริษัท ไดนามคิ ลอจสิ ติกส์ จำกดั 11.00 84 อุปกรณอ์ ิเลก็ ท 12 บริษทั นทิ ซู โลจสิ ตกิ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด 1,520.00 1,020 เคร่ืองอปุ โภคบ 13 บรษิ ัท บเี อส อนิ เตอร์ บิสิเนส จำกดั 11.00 4 เคร่ืองอปุ โภคบ การเกษตร อาห 14 บรษิ ัท แนฟ-โปร โลจสิ ติกส์ จำกัด 5.00 6 เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ประกอบรถยนต อาหารสัตว์ อปุ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) องบรษิ ัทท่ีประกอบการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า (ต่อ) พน้ื ท่ที ่ีใชบ้ ริการ ประเภทสินค้า3 คลงั สนิ ค้า ชานชาลา สำนักงาน สำนักงาน หอ้ งพกั ขนถ่าย ทีอ่ าคาร ที่อาคาร  สินคา้ ชานชาลา บริหาร  เคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภค ชน้ิ ส่วน      ต์ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง ส่งิ ทอ สนิ ค้า   อาหารสัตว์ อุปกรณ์  อ่ืนๆ   บรถยนต์ วัสดุกอ่ สร้าง     ทรอนกิ ส์ อื่นๆ บริโภค ชิ้นสว่ นประกอบรถยนต์     าหารสตั ว์ อน่ื ๆ บริโภค     ทรอนกิ ส์     บริโภค     บรโิ ภค วัสดกุ ่อสรา้ ง สินคา้ เพื่อ     หารสตั ว์ อ่นื ๆ เครอ่ื งอุปโภคบริโภค ชิน้ สว่ น     ต์ สง่ิ ทอ สนิ ค้าเพือ่ การเกษตร ปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ อื่นๆ 2-136

ตารางที่ 2.4-5 ขนาดของกิจการ จำนวนรถ ประเภทสินค้า ขอ ลำดบั บรษิ ัท/หนว่ ยงาน ทุนจด จำนวนรถ2 ทะเบยี น1 (คัน) (ลา้ นบาท) 15 บริษัท อาร์ ที เอน็ โลจิสตคิ ส์ จำกัด 30.00 195 เครอื่ งใช้ไฟฟ้า 16 บรษิ ัท เยนเนรลั สตาร์ช จำกัด ประกอบรถยนต 17 บรษิ ัท ซพี ี ออลล์ จำกดั (มหาชน) เพื่อการเกษตร อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 300.00 22 เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ประกอบรถยนต เพ่ือการเกษตร อเิ ล็กทรอนิกส์ 8,986.30 10 เครือ่ งอุปโภคบ ท่ีมา: ฐานข้อมูลผูเ้ ช่าพ้ืนทขี่ องสำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก (www.ttms.dlt.go.th) วันท่ีเขา้ ถึงข้อม หมายเหตุ: 1 ข้อมูลนติ ิบคุ คล (DBD Data Warehouse) ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (https://d 2 จำนวนรถท่ีครอบครองจากฐานข้อมลู ผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทกุ ไม่ประจำทาง [ออนไลน์] แหล่งท [วันที่เข้าถึงขอ้ มลู วันท่ี 6 มกราคม 2564] 3 ประวัตกิ ารขนถ่ายสินค้าตามประเภทสินค้า ปี 2563 จากขอ้ มูลผู้เชา่ แบบละเอยี ด (https://ttms.dlt สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง