Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:34:58

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_1-9

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) องบรษิ ัทที่ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า (ต่อ) พน้ื ท่ที ี่ใชบ้ ริการ ประเภทสินคา้ 3 คลงั สนิ ค้า ชานชาลา สำนักงาน สำนักงาน หอ้ งพกั  ขนถ่าย ทีอ่ าคาร ที่อาคาร  เครื่องอุปโภคบรโิ ภค ชิน้ ส่วน สนิ คา้ ชานชาลา บริหาร ต์ วัสดุกอ่ สร้าง ส่งิ ทอ สนิ คา้ อาหารสัตว์ อุปกรณ์    อ่ืนๆ เครื่องอุปโภคบรโิ ภค ชิ้นส่วน      ต์ วสั ดุกอ่ สรา้ ง สงิ่ ทอ สินค้า อาหารสัตว์ อุปกรณ์      อื่นๆ บรโิ ภค มูล 14 ธันวาคม 2563 datawarehouse.dbd.go.th/searchJuristicInfo) วันทเี่ ขา้ ถึงขอ้ มูล 14 ธนั วาคม 2563 ที่มา: https://www.thaitruckcenter.com/tdsc/2Product/CompanyV_4 t.go.th/ttms-web/customer/view/55/more) วันที่เข้าถึงขอ้ มูล 14 ธันวาคม 2563 2-137

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 2.4.4 พ้ืนทท่ี ำการขนสง่ จากฐานข้อมูลการขนส่งสินค้าของระบบ Gate Control System (GCS) ในปี 2563 และข้อมูลจาก การสำรวจเพิ่มเติมท่ีที่ปรึกษาได้สำรวจเพ่ิมเติมในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 สามารถนำมาวิเคราะห์ จดุ ปลายทางของการขนส่งสนิ ค้าได้ ซงึ่ ที่ปรกึ ษาได้วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บไวแ้ ล้วในหวั ขอ้ 2.3.7 สำหรับผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล พบว่า จุดต้นทางของสินค้ามาจาก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงจังหวัดนครปฐมและสมุทรสาคร ส่วนจุดปลายทางของ สินค้าส่วนมาก คือ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ เชียงราย และอุบลราชธานี ดังแสดงในตารางท่ี 2.3-40 ทั้งน้ีจากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการขนส่งหลายราย พบว่า ผู้ประกอบการรายใหญ่ จะมีการกระจาย สนิ ค้าไปครบทุกภาคหรอื เกอื บครบทุกภาค เช่น บรษิ ัท บรษิ ัท บลู แอนด์ ไวท์ โลจิสติกส์ จำกัด บริษัท เอ็มเอส นอร์ธสตาร์ โลจิสติกส์ (ไทยแลนด์) จำกัด และห้างหุ้นส่วนจำกัด มะม่วง ขนส่ง ขณะที่ ผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง จะเน้นการขนส่งไปยังพื้นที่ที่มีฐานลูกค้าของตัวเองอยู่ เช่น บริษัท เกียรตินิยมขนส่ง จำกัด หจก. ธ. พาวเวอร์ ทรัค หจก. เชียงรายกิตติทรานสปอร์ต จะเน้นการขนส่ง สินคา้ ไปยงั ภาคเหนอื เปน็ ตน้ สำหรับผู้ประกอบการของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง พบว่า จุดต้นทางของสินค้ามาจาก กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี สระบุรี นนทบุรี กาญจนบุรี และชลบุรี ส่วนจุดปลายทางของสินค้า ส่วนมาก คือ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และพระนครศรีอยุธยาดังแสดงใน ตารางที่ 2.3-42 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณารายละเอียดเป็นรายบริษัท จะพบว่ามีประเด็นท่ี น่าสนใจ เช่น จากการสัมภาษณ์บริษัท กรีนสปอต จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทรายใหญ่ที่เช่าพ้ืนที่ชานชาลา ขนถ่ายสินค้า 2 ชานและคลังสินค้าจำนวน 2 หลังของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง พบว่า ทางบริษัทได้ว่าจ้างทางบริษัท ดีเอชแอล ดินทริบิวช่ัน (ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้จัดส่งสินค้าไปยัง ศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค ดังน้ัน สัดส่วนการกระจายสินค้าของบริษัท กรีนสปอต จำกัด จึงต้อง พิจารณาจากของดีเอชแอลร่วมด้วย ขณะที่รถขาเข้าของทางบริษัทกรีนสปอตจะมีการนำสินค้า เข้ามาจากโรงงานท่ีต้ังอยู่ในกรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) และจังหวัดปทุมธานี นอกจากนี้ ทางบริษัท มีการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศโดยผ่านทางท่าเรือแหลมฉบัง จึงปรากฏข้อมูลที่ขนส่งไปยัง ภาคตะวนั ออกในสัดสว่ นทสี่ งู เชน่ กนั สำหรับบริษัท พงษ์ศิริ โลจิสติกส์ จำกัด เน้นการทำธุรกิจรับจ้างบรรจุสินค้าเข้าตู้สินค้าที่โรงงาน ลูกค้าและจัดส่งไปยังท่าเรือแหลมฉบังเพ่ือส่งออก ส่วนมากโรงงานลูกค้าอยู่บริเวณรังสิตและ พระนครศรีอยุธยา และเช่าพื้นท่ีชานชาลาขนถ่ายสินค้าไว้เป็นท่ีจอดรถพ่วงเป็นหลัก แต่ก็มีลูกค้า บางส่วนนำสนิ คา้ เขา้ มาบรรจุที่สถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวงดว้ ย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 2-138

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ขณะที่บริษัท พีเค อินเตอร์เฟรด จำกัด เช่าพ้ืนท่ีชานชาลาสำหรับจัดเก็บสินค้าท่ีควบคุมอุณหภูมิแ ละมีการส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศ จึงมีการขนส่งไปยังท่าเรือแหลมฉบัง ส่วนบริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จำกัด ใช้พ้ืนท่ีชานชาลาขนถ่ายเป็นพ้ืนท่ีจัดเก็บสินค้าและขนส่งไปยังลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานครและปทุมธานี สำหรับผู้ประกอบการของสถานีขนสง่ สินค้ารม่ เกล้า พบว่า จุดต้นทางของสนิ ค้ามาจากกรุงเทพมหานคร และกระจายไปยังจังหวัดต่างๆ ครบทุกภาค อาทิ จังหวัดนครปฐม เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ตราด ตรัง นครนายก และนครราชสีมา เป็นต้น ส่วนจุดปลายทางของสินค้าส่วนมากคือ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา และบุรีรัมย์ ดังแสดงในตารางท่ี 2.3-44 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณารายละเอียดเป็นรายบริษัท จะพบว่ามีประเด็นที่น่าสนใจ เช่น ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ จะมีการกระจายสินค้าไปยังโรงงานของลูกค้าบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง และ ภาคตะวันออก ยกเว้นในรายของบริษัท นิ่มซี่เส็ง 1988 จำกัด ที่มีการขนส่งไปยังภาคเหนือเป็นหลัก ส่วนผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง ซึ่งมีการเช่าพื้นท่ีทั้งที่สำนักงานชานชาลาและสำนักงานท่ี อาคารบริหาร ส่วนมากมีการขนส่งภายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีบางรายขนส่ง ไปยังภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เช่น บริษัท บี.วาย. ลอจิสติค จำกัด และ บริษัท ที พลัส โลจิสติกส์ จำกัด) และภาคตะวันตก (บริษัท สมาร์ท ไลน์ ทรานสปอร์ต จำกัด และ หจก. ทวีศักดิ์ อินทะสร้อย จำกัด) โดยพื้นที่ภาคใต้มีการขนส่งไปน้อยท่ีสุด (ไปจังหวัดตรัง) ดังแสดง สดั สว่ นการขนส่ง 2.4.5 ประเภทสนิ คา้ ทท่ี ำการขนส่ง จากฐานข้อมูล TTMS ในปี 2563 พบว่า สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งมีการขนส่งสินค้าในหมวดหมู่ ท่ีคล้ายคลึงกัน โดยกลุ่มสินค้าท่ีมีการขนส่งกันมาก คือ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เคร่ืองอุปโภคบริโภค ช้ินส่วน ประกอบรถยนต์ วัสดุก่อสร้าง สิ่งทอ สินค้าเพ่ือการเกษตร อาหารสัตว์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สถานีขนสง่ สนิ ค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และร่มเกล้า ตามลำดบั 2.4.6 การใหบ้ รกิ ารอ่ืน นอกเหนือจากการขนส่ง จากการสำรวจความคิดเห็นและความต้องการเพิ่มเติมกับผู้ประกอบการขนส่งภายใน สถานีขนส่ง สินค้าทงั้ 3 แห่ง พบวา่ มีบางรายให้บริการนอกเหนือจากการขนส่ง กลา่ วคอื • รับดำเนินพิธีการนำเข้า-ส่งออก (ได้แก่ กิตติมา ขนส่ง/ สิงห์บุรีวันชัย/ หจก.แต้พ้งเฮง ขนสง่ / จนั ทบุรี ยุทธนา/ บ.ศุภทัศนา จำกัด/ หจก.มะม่วง ขนส่ง/ หจก.โชคสถาพรขนสง่ พังงา) • บริการรถบรรทุกให้เช่า (ได้แก่ อุบลจักรินขนส่ง/ โชคตัว อ./ หจก.สิงห์เพ่ิมพูนฯ/ ธนกานต์ ขนส่ง/ ภูเก็ตแหลมทองขนส่ง/ บ.พยัคฆ์ ขนส่ง/ ป.กิติมาศขนส่ง (2001)/นิวมิตรพัฒนา ขนส่ง/ บ.ศุภทศั นา จำกดั / หจก. บรรทกุ รักษ์ ขนสง่ ) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2-139

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ผู้รับจัดหาสินค้าตามรายการคำส่ังซื้อ (ได้แก่ โอ.เอส.ที. โลจิสส์ติกส์ จก./ อส.อุบลขนส่ง หจก. ธนารีน ขนสง่ / บ. STG โลจิสติกส์/ สปดี คงิ สโ์ ลจสิ ติกส์) • บริการให้เชา่ คลงั สนิ ค้า (ไดแ้ ก่ บจก.สุเมธทรานสปอร์ต ขนส่งพัฒนาโคราช) • สนามไดร์ฟกอล์ฟ ร้านอาหาร ปล่อยเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ได้แก่ หจก. ขนส่งชัยนาท สหพทิ กั ษ)์ • จำหน่ายสินค้าประเภทอ่ืน อาทิ พืชไร่ (นิวส์แม่สอดทรานสปอร์ต/ เอนกอัญกิจ) ส่งเม็ด พลาสติก (บ.ศภุ ทศั นา จำกดั ) และขายเส้อื ผ้า (บ. STG โลจสิ ตกิ ส์) • เป็นจดุ เกบ็ สินคา้ ท่สี ง่ มาจากภาคใต้ (บจก. แรนดิ ัส ทรานส์) นอกจากนี้ ผู้ประกอบการพยายามดัดแปลงพื้นที่รอบๆ อาคารชานชาลาเพื่อทำเป็นพื้นท่ีจอดรถ พ้นื ทลี่ ้างรถ และพ้ืนท่ีบำรงุ รกั ษารถบรรทุก 2.5 สรปุ ผลการศกึ ษา การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในงานส่วนน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือต้องการสำรวจข้อมูลการใช้งานสถานี ขนส่งสินคา้ วิเคราะห์พฤตกิ รรมและรูปแบบการใชง้ านสถานขี นส่งสนิ ค้า ประกอบดว้ ย • วเิ คราะห์การใช้ประโยชน์พื้นท่ีและส่ิงอำนวยความสะดวกภายในสถานีขนส่งสินค้า (เน้นไปที่ อัตราการเชา่ พ้นื ที่ในชว่ งปี 2558-2563) • วเิ คราะห์กจิ กรรมที่การดำเนินการภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า (ลักษณะของกิจกรรมท่ีเกดิ ขึ้น) • สถิติรายรับและค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคของสถานีขนส่งสินค้า ในช่วงปี 2559-2563 เพื่อ สามารถประเมินผลประกอบการของสถานีขนส่งสินค้า ซึ่งพบว่าสถานีขนส่งสินค้ายังมีกำไร ท้งั 3 แหง่ • วิเคราะห์รูปแบบการขนส่งสินคา้ อาทิ จดุ ต้นทางและปลายทางของการขนส่งสินค้า ปริมาณ สินคา้ ประเภทสนิ ค้า เปน็ ต้น (ทั้งจากฐานข้อมลู GCS และการสำรวจเพ่ิมเติมโดยท่ีปรึกษา) • วิเคราะห์ลักษณะการหมุนเวียนสินค้าภายในสถานีขนส่งสินค้า เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมการ ขนส่งสินค้าในปัจจุบันขของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง (อาทิ ประเภทรถที่เข้ามาใช้บริการ ระยะเวลาที่ใช้ พืน้ ทที่ ่ีเขา้ มาติดต่อ) • วิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับผู้ประกอบการท่ีเช่าพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้า (อาทิ จำนวนผู้ประกอบการ ขนาดของกิจการหรือทุนจดทะเบียน จำนวนรถบรรทุกท่ีครอบครอง ประเภทสินค้าที่ทำการขนส่ง สิ่งอำนวยความสะดวกท่ีเช่าอยู่ในปัจจุบัน การให้บริการอ่ืนๆ นอกเหนือการขนส่ง เป็นต้น) ผลการวิเคราะห์ดังกล่าวข้างต้น ที่ปรึกษาจะนำไปวิเคราะห์ศักยภาพการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าใน ปจั จบุ ันและกำหนดแนวทางการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าในอนาคตตอ่ ไป สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2-140

บทท่ี 3 การสำรวจขอ้ คิดเหน็ และความพึงพอใจตอ่ สถานีขนส่งสนิ คา้ ของกล่มุ ผปู้ ระกอบการขนสง่ ภายในสถานี

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) บทที่ 3 การสำรวจข้อคิดเห็นและความพงึ พอใจต่อสถานีขนสง่ สินค้า ของกลุม่ ผู้ประกอบการขนสง่ ภายในสถานี 3.1 ข้อมูลท่ัวไปของการดำเนินงาน เพ่ือรวบรวมข้อคิดเห็นและความพึ่งพอใจต่อการใช้บริการสถานีขนส่งสินค้า จากกลุ่มผู้ประกอบ การขนส่งสนิ ค้าท่ีเช่าพ้ืนที่ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าทั้ง 3 แห่งเพื่อดำเนินธุรกิจอยใู่ นปัจจบุ ัน เพ่ือนำ ข้อมูลที่ได้ไปประกอบแนวทางการปรับปรุงพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในลำดับต่อไป ที่ปรึกษาจึงได้ ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นโดยการส่งแบบสอบถามซ่ึงดำเนินการครั้งท่ี 1 ในช่วงระหว่าง เดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม 2563 อย่างไรก็ดีจากการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจครั้งที่ 1 มาพิจารณาพบว่าควรมีการจัดเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรทั้งหมด จึงได้มีการ สำรวจความคิดเห็นโดยการส่งแบบสอบถามเป็นครั้งท่ี 2 ในช่วงระหวา่ งเดือนมีนาคม ถึง เมษายน 2564 โดยสามารถรวบรวมผ้ตู อบแบบสอบถามได้ทัง้ สินค้าเปน็ ร้อยละ 95 ของผู้เช่าใช้บรกิ ารสถานี ขนสง่ สนิ ค้าทั้งหมด ณ ขณะน้นั โดยจำนวนผูต้ อบแบบสอบถามแสดงในตารางท่ี 3.1-1 ตารางที่ 3.1-1 จำนวนผูต้ อบแบบสอบถามเพื่อสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ ตอ่ การใช้งานสถานขี นส่งสินคา้ รายการ สถานขี นส่งสนิ ค้า พุทธมณฑล คลองหลวง รม่ เกล้า จำนวนผู้เช่า ณ ขณะท่ีทำการสำรวจ 88 ราย 6 ราย 18 ราย จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถาม 88 ราย 6 ราย 12 ราย อตั ราการตอบแบบสอบถาม 100% 100% 66.7% สำหรับเคร่ืองมือที่ใช้ในการสำรวจได้แก่แบบสอบถามซึ่งออกแบบโดยมีโครงสร้างของชุดคำถามแบ่งได้ เปน็ 4 ประเดน็ หลักๆ ไดแ้ ก่ - ประเด็นที่ 1 : ขอ้ มูลทั่วไปและลักษณะการขนส่งสินค้าของผ้ปู ระกอบการขนส่งสินค้าแต่ละราย ทเี่ ชา่ ใชง้ านพ้นื ท่ภี ายในสถานีขนส่งสินค้า - ประเด็นท่ี 2 : ปัจจยั และเหตุผล รวมถงึ ขอ้ ดขี ้อเสยี ในภาพรวมของการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า - ประเดน็ ท่ี 3 : ความคดิ เหน็ ทัศนคติ และปญั หาที่พบจากการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า - ประเด็นท่ี 4 : ความต้องการและส่ิงที่ต้องการให้พัฒนาในอนาคต รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกท่ี ตอ้ งการให้มกี ารจดั เตรียมเพ่มิ เติมในอนาคต ทัง้ นีผ้ ลการสำรวจและการประมวลผลข้อมูลจะกล่าวถงึ ในรายละเอยี ดในหัวข้อต่อไป สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3-1

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 3.2 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผเู้ ช่าใช้พ้ืนทีใ่ นปจั จุบัน ในหัวข้อน้ีประกอบด้วย 5 ข้อมูลสำคัญได้แก่ ธุรกิจหลักของเอกชนผู้เช่าใช้พื้นที่ภายในสถานี ขนส่งสินค้า รูปแบบของการขนส่งที่มีการให้บริการ ประเภทของสินค้าที่รับขนส่งโดยทั่วไป การใช้ ตู้คอนเทนเนอร์ในการขนส่งสินค้าผ่านสถานีขนส่งสินค้า และส่ิงอำนวยความสะดวกและเคร่ืองมือ สนับสนุนการปฏิบัตงิ านขนส่ง โดยมรี ายละเอยี ดของผลการสำรวจดังนี้ 3.2.1 ธรุ กจิ หลักของเอกชนผเู้ ช่าใชพ้ ื้นท่ภี ายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ต่อข้อคำถามที่ว่าการขนส่งสินค้าเป็นธุรกิจหลักของบริษัทหรือไม่ หรือมีการดำเนินกิจการอื่นเป็น กจิ การหลกั โดยการขนส่งเปน็ สว่ นหนึง่ ของกิจการเท่านน้ั ผลการสำรวจแสดงในตารางที่ 3.2-1 ตารางท่ี 3.2-1 ธุรกิจหลักของเอกชนผเู้ ช่าใช้พ้นื ทภี่ ายในสถานีขนส่งสินค้า ประเภท สถานขี นส่งสินค้า พุทธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ การขนส่งสนิ ค้าเปน็ ธุรกิจหลัก 85% 67% 75% มกี จิ การอ่นื เป็นธรุ กจิ หลกั โดยการขนสง่ เปน็ สว่ น 9% 33% 25% หนึ่งของกจิ การเท่าน้ัน ไม่ให้ข้อมูล 6% - - จากผ ลสำรวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้เช่าใช้พื้ นท่ีสถานี ขนส่ งสิน ค้า ส่ วน ใหญ่ ใน สถานี ขนส่ งสินค้า พุทธมณฑลและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นผู้ประกอบธุรกิจการขนส่งสินค้าเป็นกิจการหลัก ขณะท่ี ในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงจะมีความแตกต่างไปโดยหนึ่งในสามเป็นเป็นกลุ่มของ อตุ สาหกรรม เจา้ ของสนิ ค้า หรือผู้ผลิตสินคา้ ท่ตี อ้ งการพ้นื ท่ใี นการทำกจิ กรรมดา้ นการขนสง่ นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของการดำเนินกิจการขนส่งของผู้เช่าพื้นที่พบว่าลักษณะ ของธุรกิจการขนส่งสินค้าท่ีผู้ประกอบการส่วนใหญ่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันสำหรับสถานีขนส่ง สินค้าพุทธมณฑลและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า คือการรับขนส่งสินค้าจากเจ้าของสินค้ารายอ่ืนๆ เป็นหลัก ขณะท่ีในกรณีของผู้เช่าใช้สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง แสดงถึงความหลากหลายของ ลักษณะธุรกิจมากกว่า โดยพบว่าครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าของสินค้าและขนส่งสินค้าของ ตนเองด้วย และบางส่วนยังขนส่งสินค้าของตนเองพร้อมท้ังบริการรับขนส่งสินค้าให้เจ้าของสินค้า รายอน่ื ในขณะเดยี วกนั ดังแสดงในตารางท่ี 3.2-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-2

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 3.2-2 แหล่งสนิ คา้ ทรี่ ับขนส่งอยู่ในปจั จุบัน แหลง่ สนิ คา้ ทร่ี บั ขนส่ง สถานีขนสง่ สนิ คา้ ร่มเกล้า พุทธมณฑล คลองหลวง 75% 25% รบั ขนสง่ สินคา้ จากเจา้ ของสนิ คา้ รายอน่ื 80% 50% - เป็นเจา้ ของสินค้าและขนสง่ สินคา้ ของตนเอง 9% 17% - ทั้งเปน็ เจา้ ของสนิ ค้าและขนสง่ สนิ ค้าของตนเอง และ 6% 33% รับขนส่งสินคา้ จากเจา้ ของสินคา้ รายอ่นื ไมใ่ หข้ อ้ มูล 6% - 3.2.2 รูปแบบของการขนสง่ ที่มีการให้บริการ สำหรบั รปู แบบการขนสง่ สินค้าที่มกี ารใหบ้ ริการอยูใ่ นปัจจุบนั ของผู้ประกอบการขนสง่ ที่เช่าใช้พ้นื ท่ี ภายในสถานีขนส่งสินค้า ดังแสดงในตารางที่ 3.2-3 พบว่า สถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งมีความ แตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยในกรณีของสถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑล พบว่า กลุ่มตัวอย่างท้ังหมด มีการขนส่งสินคา้ ในลักษณะการรวบรวมสินค้าจากพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร และพ้ืนท่ีโดยรอบเพ่ือส่งไป ยังภูมิภาค ขณะท่ีกิจกรรมการขนส่งลักษณะอ่ืน ๆ อยู่ในระดับประมาณหน่ึงในสาม และมีกลุ่ม ตวั อย่างส่วนหน่งึ ที่มกี ารให้บรกิ ารขนส่งเก่ยี วเนอ่ื งกบั การขนส่งระหว่างประเทศ เม่อื เทียบกับสถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ ซง่ึ ตัง้ อยู่ในย่านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศท่ีสำคัญที่สุด ของประเทศไทยแห่งหนึ่ง กลับเป็นท่ีน่าสังเกตว่าไม่มีผู้เช่าใช้บริการท่ีมีการดำเนินการขนส่ง เก่ียวเนื่องกับเรื่องพิธีการนำเข้าส่งออกแม้แต่รายเดียว ขณะท่ีเกือบท้ังหมดของผู้เช่ามีการใช้สถานี ขนส่งสนิ ค้าเพอ่ื เปน็ จดุ จอดพกั รถบรรทุกและรวมถงึ ตสู้ ินคา้ ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง แม้จะมีการรวบรวมและกระจายสินค้าระหว่าง กรุงเทพมหานคร และภูมิภาค แต่พบว่าผู้ประกอบการท่ีเช่าใช้พื้นท่ีส่วนใหญ่มีการใช้สถานีขนส่ง สินค้าเพื่อพักและกองเก็บสินค้าเป็นหลักก่อนที่จะกระจายต่อไปยังภูมิภาค หรือรับจากแหล่งผลิต ในภูมภิ าคเพอ่ื มาพกั และกองเกบ็ ก่อนกระจายสู่ลกู ค้าปลายทางอกี ทอดหนึ่ง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 3-3

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 3.2-3 รูปแบบของการขนส่งท่มี ีการใหบ้ ริการ รปู แบบการขนสง่ ท่มี กี ารใหบ้ รกิ าร สถานขี นสง่ สินคา้ รวบรวมสินค้าจากพืน้ ทีก่ รงุ เทพมหานคร และโดยรอบ ส่งไปยงั ภมู ภิ าค พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกล้า 100% 50% 14% รับสนิ คา้ จากภูมภิ าค ส่งมาและกระจายไปยงั พื้นท่ีกรงุ เทพมหานคร และโดยรอบ 36% 25% 29% พักและกองเก็บสนิ คา้ (คลังสนิ ค้า) 36% 75% 29% จอดพกั รถบรรทกุ และตสู้ ินค้า 27% 75% 86% ดำเนินการท่ีเกย่ี วข้องกับพิธีการนำเข้า-สง่ ออก 9% 50% - หมายเหตุ : ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละรายสามารถตอบได้มากกว่า 1 รูปแบบ สัดส่วนที่แสดงในตารางจึงคำนวณจาก จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในรายการดังกลา่ วหารด้วยจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทง้ั หมด 3.2.3 ประเภทของสนิ ค้าท่รี ับขนสง่ โดยท่ัวไป ประเภทของสินค้าที่รับขนส่งโดยท่ัวไปแสดงในตารางที่ 3.2-4 โดยพบว่าในกรณีของสถานีขนส่ง สินค้าพุทธมณฑล พบว่า ประเภทของสินค้าท่ีกลุ่มตัวอย่างรับขนส่งเป็นประจำได้แก่สินค้าอุปโภค บริโภค ค้าปลีก ค้าส่ง สินค้าเครื่องใชค้ รัวเรือนขนาดใหญ่ และสนิ ค้าอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่ในกรณี ของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงสินค้ามีลักษณะท่ีคล้ายคลึงกัน แต่จะมีความหลากหลายของ สินค้าทนี่ ้อยกว่า แต่สำหรับสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า พบว่า มีความน่าสนใจเนื่องจากประเภทของ สนิ คา้ ทมี่ กี ารขนส่งผา่ นสถานนี น้ั มีรูปแบบหรือสัดสว่ นทแี่ ตกต่างไปจากสถานขี นส่งสินค้าอีก 2 แห่ง ตารางที่ 3.2-4 ประเภทของสินคา้ ทีผ่ ู้เชา่ ใชพ้ ้นื ทีร่ ับขนส่งโดยท่ัวไป ประเภทของสนิ คา้ พุทธมณฑล สถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกล้า 84% คลองหลวง 33% สินค้าอปุ โภคบริโภค คา้ ปลกี คา้ สง่ 60% 67% สินค้าในครวั เรือนขนาดใหญ่ 53% 50% - สนิ ค้าเคร่อื งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 42% 50% 33% สนิ คา้ เกษตรและพชื เศรษฐกจิ 8% 17% 17% สนิ คา้ เนา่ เสียไดง้ า่ ย 7% - สินคา้ ที่ต้องมีการควบคมุ อณุ หภูมิ 57% - - สินคา้ เครอ่ื งเครือ่ งจักรกล ยานยนต์ 63% 50% 8% สนิ ค้าวัสดกุ ่อสรา้ ง 14% 33% 33% สินคา้ อนั ตรายและเคมีภณั ฑ์ 1% - - สินค้าเทกอง - - - สินคา้ เบด็ เตลด็ 63% - 42% สินคา้ พัสดุภณั ฑ์และไปรษณยี ์ภณั ฑ์ สินค้าอืน่ ๆ 10% - - 3% 17% - หมายเหตุ : ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละรายสามารถตอบได้มากกว่า 1 รูปแบบ สัดส่วนที่แสดงในตารางจึงคำนวณจาก จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในรายการดังกล่าวหารดว้ ยจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทง้ั หมด สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-4

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 3.2.4 การใช้ตู้คอนเทนเนอรใ์ นการขนสง่ สินคา้ ผา่ นสถานีขนส่งสินคา้ จากการสำรวจ พบว่า ทุกสถานีขนส่งสินค้ามีการขนส่งสินค้าโดยตู้สินค้าหรือตู้คอนเทนเนอร์ใน ระดับท่ีสูง ดังแสดงในตารางท่ี 3.2-5 ซึ่งแสดงถึงศักยภาพในการขนส่งสินค้าและการขนส่งสินค้า ต่อเนื่องหลายรปู แบบในอนาคต ตารางท่ี 3.2-5 การใชต้ คู้ อนเทนเนอรใ์ นการขนสง่ สนิ ค้าภายในสถานขี นสง่ สัดสว่ นการใช้ต้คู อนเทนเนอรใ์ นการขนส่ง สถานีขนสง่ สนิ คา้ พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกลา้ มีการใช้งานตูค้ อนเทนเนอร์ 82% 100% 71% อย่างไรก็ดีข้อคำถามนี้ไม่ระบุถึงสัดส่วนของการใช้งานตู้คอนเทนเนอร์เมื่อเทียบกับการขนส่งโดย รถบรรทุกประเภทอืน่ ๆ 3.2.5 สงิ่ อำนวยความสะดวกและเคร่ืองมือสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านขนสง่ ส่ิงอำนวยความสะดวกและเคร่ืองมือสนับสนุนการทำงานท่ีบริษัทของผู้ตอบแบบสอบถามใช้มาก ที่สุดในท้ัง 3 แห่ง คือ รถโฟล์คลิฟท์ขนาดเล็กสำหรับใช้ภายในอาคาร รองลงมาคือการใช้พาเลท และรถลากพาเลทภายในอาคารซึ่งเป็นอุปกรณ์มาตรฐานของการขนส่งสินค้าท่ีมีบรรจุภัณฑ์ขนาด ไม่ใหญ่นักในปัจจุบัน นอกจากน้ีในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลและสถานีขนส่งสินค้า คลองหลวงพบว่ามีผู้ประกอบการบางรายที่ลงทุนในการซ้ืออุปกรณ์ยกขนตู้สินค้า เช่น Reach Stacker แสดงให้เห็นถึงปริมาณการใช้งานตู้คอนเทนเนอร์ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ผู้ประกอบการ ส่วนหนึ่งได้ลงทุนเก่ียวกับระบบเทคโนโลยีเพ่ือบริหารจัดการรถบรรทุกและคลังสินค้า (เช่น ระบบ TMS และ WMS) แต่ยังถือเป็นสัดส่วนที่ไม่มากนักสำหรับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลและสถานี ขนสง่ สินคา้ รม่ เกลา้ ดงั ตารางท่ี 3.2-6 ตารางที่ 3.2-6 สิง่ อำนวยความสะดวกและเครอ่ื งมอื สนับสนนุ การปฏบิ ัติงานท่ีเอกชนจดั หา สิ่งอำนวยความสะดวก/เครือ่ งมือทีเ่ อกชนจัดหา สถานีขนสง่ สินค้า พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ รถโฟล์คลิฟท์ขนาดเล็ก ใช้ภายในอาคาร 82% 67% 43% รถลากพาเลท ใชภ้ ายในอาคาร 27% 50% 14% สายพานขนลำเรยี ง --- เครนยกขนภายในอาคาร --- หอ้ งเย็นและหอ้ งแช่แขง็ สนิ ค้า - 17% 14% อุปกรณ์ชว่ ยยกขนตู้คอนเทนเนอร์ 18% 17% - ระบบเทคโนโลยีสำหรบั บริหารสินค้าและรถบรรทกุ 41% 83% 92% หมายเหตุ : ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละรายสามารถตอบได้มากกว่า 1 รูปแบบ สัดส่วนท่ีแสดงในตารางจึงคำนวณจาก จำนวนผูต้ อบแบบสอบถามในรายการดังกล่าวหารดว้ ยจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 3-5

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 3.3 ความคดิ เหน็ ตอ่ ภาพรวมการใชง้ านสถานีขนส่งสินคา้ ในปจั จบุ นั ในส่วนน้ีเปน็ ผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบการขนสง่ สินค้าท่ีเชา่ ใช้พื้นที่ภายในสถานขี นส่ง สินค้าท้ัง 3 แห่ง โดยพิจารณาในภาพรวม อาทิ เหตุผลของการเลือกเช่าใช้สถานีขนส่งสินค้า และ ความพึงพอใจในภาพรวมของการเช่าใช้สถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ทั้งน้ีในการออกแบบชุดคำถาม ท่ีปรึกษาได้เลือกใช้เทคนิคการทดสอบเจตคติท่ีเรียกว่า Semantic Differential Scale หรือ Bipolar Semantic Scale ซึ่งเป็นวิธีการท่ีมีความนิยมใช้สูงสุด โดยหลักการสำคัญของวิธีการดังกล่าวนี้ ได้แก่การสร้างแกนมาตรวัด (Scale Bar) ท่ีประกอบด้วยคำคุณศัพท์ที่บรรยายลักษณะของ เป้าหมายท่ีต้องการวัดที่ตรงข้ามกันท่ีปลายท้ัง 2 ข้างของแกนมาตรวัด โดยในส่วนของแกนมาตรวัด จะแบ่งเป็นช่วงอันตรภาคชั้น เช่น 3 5 7 หรือ 9 อันตรภาคช้ัน เพื่อให้ผู้รับการทดสอบเจตคติเลือก ให้คะแนนซึ่งแสดงถึงระดับความรู้สึกของตนต่อข้อคำถามนั้นๆ โดยสำหรับจำนวนช่วงอันตรภาคชั้น ท่ีเหมาะสม Good (1957) ผู้ออกแบบทฤษฎีดังกล่าวนี้ได้มีข้อเสนอแนะว่าโดยทั่วไปการแบ่งแกน มาตรวัดเป็น 7 อันตรภาคชั้นจะให้ผลการประเมินท่ีมีประสิทธภิ าพสูงสุด ดังน้ันในการศึกษาครั้งนี้ ท่ีปรึกษาจึงเลือกใช้แกนมาตรวัดแบบ 7 ช่วงอันตรภาคช้ันและกำหนดให้ 1 แทน “น้อยที่สุด / ไม่พึง พอใจอย่างย่ิง” และ 7 แทน “มากที่สุด / พึงพอใจอย่างยิ่ง” ขณะที่คำตอบในตำแหน่งอันตรภาค ช้ันที่ 4 แสดงถึงความรู้สึก ทัศนคติ หรือ เจตคติที่เป็นกลางต่อข้อคำถามน้ันๆ โดยผลการสำรวจ แสดงในตารางที่ 3.3-1 และ ตารางท่ี 3.3-2 ตารางที่ 3.3-1 ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการตัดสนิ ใจเลือกเชา่ ใช้สถานีขนสง่ สนิ ค้า ปจั จยั ระดับความพ่งึ พอใจเฉลี่ยของแต่ละสถานี พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 1. ตำแหนง่ ที่ตั้งของสถานขี นส่งสนิ ค้า ใกล้แหล่งสินคา้ และ คอ่ นข้างมาก ปานกลาง มาก กลุ่มลูกคา้ (4.6) (4.3) (6.3) 2. สภาพการจราจรโดยรอบสถานขี นสง่ สินคา้ และการ คอ่ นข้างมาก คอ่ นขา้ งมาก มาก เข้าถงึ สถานขี นส่งสินคา้ (4.9) (4.5) (6.0) 3. ลักษณะของอาคารสถานท่ี ขนาดพ้นื ที่ และสงิ่ อำนวย ค่อนข้างมาก ค่อนข้างมาก ค่อนขา้ งมาก ความสะดวกทม่ี ีในสถานีขนส่งสินค้า (5.2) (4.5) (5.3) 4. ราคาค่าเชา่ พน้ื ที่ คอ่ นข้างมาก ปานกลาง นอ้ ย (4.8) (4.3) (2.2) หมายเหตุ : ระดบั คะแนนระหวา่ ง 1 ถึง 1.4 แทน “นอ้ ยท่สี ดุ ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 1.5 ถงึ 2.4 แทน “น้อย” ระดับคะแนนระหวา่ ง 2.5 ถงึ 3.4 แทน “คอ่ นขา้ งนอ้ ย” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 3.5 ถึง 4.4 แทน “ปานกลาง” ระดับคะแนนระหวา่ ง 4.5 ถงึ 5.4 แทน “ค่อนขา้ งมาก” ระดบั คะแนนระหว่าง 5.5 ถงึ 6.6 แทน “มาก” ระดับคะแนนระหว่าง 6.5 ถึง 7 แทน “มากทีส่ ดุ ” สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 3-6

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 3.3-2 ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของการเช่าใชส้ ถานีขนสง่ สินค้าในปจั จุบัน ปัจจัย ระดบั ความพงึ่ พอใจเฉล่ยี ของแต่ละสถานี พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 1. กายภาพของพื้นท่ี อาคาร หรือสงิ่ อำนวยความสะดวก คอ่ นข้าง คอ่ นข้าง คอ่ นขา้ ง ทบ่ี ริษัทเช่าใช้ พงึ พอใจ พึงพอใจ พงึ พอใจ 2. อัตราคา่ เชา่ ท่ีกรมการขนส่งทางบก เรยี กเกบ็ (5.1) (4.5) (5.3) ปานกลาง คอ่ นข้าง คอ่ นขา้ ง ใมพ่ ึงพอใจ พงึ พอใจ (3.7) (3.0) (4.9) 3. สภาพกายภาพพ้นื ทสี่ ่วนกลางของสถานีขนส่งสนิ ค้า เชน่ คอ่ นขา้ ง ผวิ จราจร พืน้ ท่ีจอดรถ ระบบระบายนำ้ ไฟแสงสวา่ ง พึงพอใจ คอ่ นข้าง ค่อนขา้ ง พึงพอใจ ไมพ่ งึ พอใจ 4. การจัดการจราจรภายในพ้ืนที่สถานีขนสง่ สินค้า (4.5) (5.0) (3.1) 5. การจดั การพ้ืนที่บริการท่ัวไป เช่น โรงอาหาร หอ้ งนำ้ คอ่ นขา้ ง สาธารณะ พึงพอใจ ค่อนขา้ ง ปานกลาง พึงพอใจ (4.5) (4.1) (4.8) ปานกลาง คอ่ นข้าง ปานกลาง ไมพ่ งึ พอใจ (4.3) (4.0) (3.4) 6. กฎระเบยี บ หลกั เกณฑ์ และข้อบงั คบั ของสถานีขนส่ง คอ่ นข้างพงึ สนิ คา้ พอใจ ปานกลาง ค่อนข้างพงึ 7. กระบวนการด้านธรุ การและการใหบ้ รกิ าร ของ (4.9) (4.0) พอใจ(4.7) เจ้าหนา้ ทกี่ รมการขนส่งทางบก พงึ พอใจ ค่อนขา้ ง คอ่ นข้าง พงึ พอใจ พงึ พอใจ (6.0) (5.0) (5.0) 8. รูปแบบ เงอื่ นไข และระยะเวลา ของสญั ญาเช่าพน้ื ท่ี ค่อนขา้ งพึง ปานกลาง ค่อนขา้ งพึง พอใจ พอใจ (4.5) (3.5) (5.3) 9. ความรวดเร็วของกรมการขนสง่ ทางบก ในการซ่อม ปานกลาง คอ่ นข้าง บำรงุ โครงสรา้ งพืน้ ฐานภายในสถานีขนส่งสินคา้ ทเ่ี กิด (4.4) ไม่พึงพอใจ ปานกลาง การชำรุดเสียหาย (3.3) (3.7) 10. ระบบ Gate Control System (GCS) คอ่ นขา้ ง ทกี่ รมการขนสง่ ทางบก ตดิ ตงั้ ในปัจจบุ ัน คอ่ นข้าง ค่อนข้าง พงึ พอใจ พึงพอใจ พึงพอใจ (4.5) (4.5) (4.6) 11. สภาพแวดล้อมทางสงั คม ชมุ ชน และสมั พนั ธภาพการ คอ่ นข้าง อยูร่ ว่ มกบั ผเู้ ช่ารายอน่ื ๆ ภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ค่อนขา้ ง ปานกลาง พงึ พอใจ พึงพอใจ (5.2) (4.1) (4.8) หมายเหตุ : ระดบั คะแนนระหวา่ ง 1 ถึง 1.4 แทน “ไมพ่ ึงพอใจอยา่ งยง่ิ ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 1.5 ถงึ 2.4 แทน “ไม่พึงพอใจ” ระดับคะแนนระหว่าง 2.5 ถึง 3.4 แทน “คอ่ นข้างไมพ่ งึ พอใจ” ระดบั คะแนนระหว่าง 3.5 ถึง 4.4 แทน “ปานกลาง” ระดับคะแนนระหว่าง 4.5 ถงึ 5.4 แทน “ค่อนข้างพึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 5.5 ถงึ 6.4 แทน “พึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 6.5 ถงึ 7 แทน “พงึ พอใจอย่างยง่ิ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3-7

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) โดยในตารางที่ 3.3-1 ในภาพรวมท้ัง 3 แห่ง จะเห็นได้ว่าระดับคะแนนเฉล่ียส่วนใหญ่เกินกว่า 4 ซ่ึงหมายความว่าปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเช่าใช้สถานีขนส่งสินค้าระดับหน่ึง อยา่ งไร ก็ดี เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างสถานีขนส่งสินค้าจะพบว่าลักษณะการกระจายตัวของระดับ คะแนนมีความแตกต่างกัน โดยในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ปัจจัยส่วนใหญ่มีผลต่อ การตัดสินใจในระดับท่ีใกล้เคียงกัน แต่ปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้มากท่ีสุดได้แก่ลักษณะ ของอาคารสถานที่ ขนาดพ้ืนท่ี และสิ่งอำนวยความสะดวกท่ีมีในสถานีขนส่งสินค้า เม่ือเทียบกับ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกลา้ จะเห็นว่าการระจายตัวของคะแนนแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยตำแหน่ง ท่ีต้ังของสถานีขนส่งสินค้า ใกล้แหล่งสินค้าและกลุ่มลูกค้า และสภาพการจราจรโดยรอบสถานี ขนสง่ สินค้าและการเขา้ ถึงสถานีขนสง่ สินค้า เป็นปจั จยั ท่ีมผี ลในระดับสูงต่อการตัดสินใจเลอื กเช่าใช้ พ้ืนที่ของสถานีขนส่งสินค้า ขณะท่ีปัจจัยด้านราคาค่าเช่าใช้พื้นที่แทบไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ แต่เมื่อพิจารณาในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง กลับพบว่าทั้ง 4 ปัจจัยมีอิทธิพลต่อการ ตัดสินใจในระดับท่ีเท่าๆ กัน โดยเป็นบวกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น สะท้อนให้เห็นถึงความไม่มีจุดเด่น ดา้ นใดดา้ นหน่งึ เป็นพเิ ศษสำหรับสถานีขนสง่ สนิ ค้าคลองหลวง ในตารางท่ี 3.3-2 จะเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างให้คะแนนความพึงพอใจต่อภาพรวมของการใช้งาน สถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบกในระดับท่ีดี (ค่าคะแนนเกินกว่า 4.0) อย่างไรก็ดี ในแต่ละสถานีขนส่งสินค้ามีบางปัจจัยที่มีค่าความพึงพอในต่ำกว่า 4.0 กล่าวคืออยู่ในระดับที่เร่ิมมี ความไม่พึงพอใจ ยกตัวอย่างเช่นในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล พบว่าอัตราค่าเช่าพื้นท่ี อย่ใู นระดับท่ีคอ่ นไปในทางท่ีไม่พึงพอใจ สะท้อนให้เห็นความคาดหวังต่ออัตราค่าเช่าท่ีต่ำกว่าระดับ ทเี่ ป็นอยู่ในปจั จุบัน ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าพบว่ามีปัจจัยท่ีได้คะแนนความพึงพอใจต่ำกว่า 4.0 ถึง 3 ปัจจัย ไดแ้ ก่ สภาพกายภาพพนื้ ท่ีสว่ นกลางของสถานีขนสง่ สินค้า เช่น ผวิ จราจร พน้ื ท่ีจอดรถ ระบบ ระบายน้ำ ไฟแสงสว่าง (3.1 คะแนน) การจัดการพื้นท่ีบริการทั่วไป เช่น โรงอาหาร ห้องน้ำสาธารณะ (3.4 คะแนน) และ ความรวดเร็วของกรมการขนส่งทางบก ในการซ่อมบำรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน ภายในสถานีขนส่งสินค้า ที่เกิดการชำรุดเสียหาย (3.7 คะแนน) ซ่ึง 2 ปัจจัยแรกเป็นปัจจัยที่ เกี่ยวเนื่องกันโดยตรง และเม่ือสถานีขนส่งสนิ ค้ามีสภาพกายภาพส่วนกลางที่ไม่ดีนักจึงส่งผลให้เกิด ข้อรอ้ งเรียนต่อผู้บริหารสถานีขนส่งสินค้าเพ่ือให้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา และเม่ือไม่สามารถปรับปรุง แก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วจึงเป็นท่ีมาของคะแนนในปัจจัยท่ี 3 ดังน้ันจึงอาจกล่าวได้ว่าประเด็น ความชำรุดทรุดโทรมและความเสียหายของโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะภายในสถานีขนส่งสินค้าเป็น ประเด็นสำคัญที่ผเู้ ชา่ ใชส้ ถานขี นสง่ สินค้าแห่งนีม้ ีความกังวลเป็นอยา่ งย่ิง สำหรับสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงพบว่ามีปัจจัยท่ีได้คะแนนความพึงพอใจต่ำกว่า 4.0 ถึง 3 ปัจจัย ได้แก่ อัตราคา่ เช่าทกี่ รมการขนส่งทางบก เรยี กเก็บ (3.0 คะแนน) รปู แบบ เงอ่ื นไข และระยะเวลา ของสัญญาเช่าพื้นท่ี (3.5 คะแนน) และความรวดเร็วของกรมการขนส่งทางบก ในการซ่อมบำรุง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 3-8

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) โครงสร้างพื้นฐานภายในสถานีขนส่งสินค้า ท่ีเกิดการชำรุดเสียหาย (3.3 คะแนน) โดยในส่วนของ ปัจจัยอัตราค่าเช่าสะท้อนให้เห็นความคาดหวังต่ออัตราค่าเช่าท่ีต่ำกว่าระดับที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งอาจมีผลมาจากราคาค่าเช่าคลังสินค้าของเอกชนในพื้นท่ีบริเวณใกล้เคียงซ่ึงไม่สูงมากนักเม่ือ เทยี บกบั อตั ราค่าเช่าพ้ืนทขี่ องสถานีขนสง่ สินค้า ขณะทร่ี ูปแบบ เงอ่ื นไข และระยะเวลา ของสัญญา เช่าพื้นท่ี อาจมีผลมาจากอัตราค่าบรกิ ารส่วนหน่ึง และด้วยผู้เช่าส่วนใหญ่ใช้สถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้ เป็นคลังสินค้ารองรับสายการผลิตในอุตสาหกรรมของตนจึงอาจมีความต้องการระยะเวลาของ สัญญาที่ยาวยิ่งข้ึนเพื่อความม่ันคงของบริษัท ขณะท่ีความรวดเร็วของกรมการขนส่งทางบก ในการ ซอ่ มบำรุงโครงสร้างพ้ืนฐานภายในสถานีขนส่งสินค้า ทีเ่ กิดการชำรุดเสียหาย เป็นปัญหาพ้ืนฐานของ การบริการภาคราชการที่พบได้ทั่วไปรวมถงึ ในกรณีของสถานขี นส่งสินค้าด้วยเชน่ กัน 3.4 ปญั หาทพ่ี บจากการใช้บริการอาคารบรกิ ารกิจกรรมการขนส่ง เน่ืองจากวัตถุประสงค์หลักของสถานีขนส่งสินค้าได้แก่การเป็นพื้นที่สนับสนุนการให้บริการการขนส่ง ท่ีปรึกษาจึงได้ทำการสำรวจปัญหาที่เอกชนผู้เช่าพ้ืนที่พบจากการเชา่ ใช้อาคารสว่ นการบริการกิจกรรม การขนสง่ ประกอบไปดว้ ยชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสนิ ค้า และชานชาลาอเนกประสงค์ โดยสรุปผล การสำรวจได้ดังต่อไปน้ี 3.4.1 ชานชาลาขนถา่ ยสินค้า สำหรับผู้ประกอบการขนส่งที่มีการเช่าใช้บริการพื้นที่ภายในอาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้า ณ ขณะท่ี ที่ปรึกษาสำรวจข้อมลู พบว่าเป็นผู้ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลเป็นจำนวน 11 ราย ตอบแบบสอบถามทั้ง 11 ราย สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงเป็นจำนวน 6 ราย ตอบแบบสอบถาม ท้งั 6 ราย และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นจำนวน 16 ราย ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 12 ราย โดยผล การตอบแบบสอบถามจะอยู่บนพ้ืนฐานของผู้ที่เช่าใช้บริการอยู่ ณ ขณะน้ัน โดยผลการสำรวจความ คิดเหน็ ของกลุ่มตวั อย่างท่ีเช่าใช้พืน้ ทช่ี านชาลาขนถา่ ยสินค้าแสดงในตารางท่ี 3.4-1 ท้ังน้ีจะเห็นได้ว่าในกลุ่มปัญหาจากสภาพกายภาพอาคาร ปัญหาหลักที่พบในทุกสถานีขนส่งสินค้า และแทบทุกรายที่เช่าใช้พื้นที่ได้แก่ปัญหาจากความชำรุดทรุดโทรมของอาคารตามกาลเวลา และ ความชำรุดทรุดโทรมของหลังคาและปัญหาน้ำร่ัวจากหลังคา และในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า พบอีกหนึ่งปัญหาสำคัญท่ีทราบกันดีได้แก่ผิวจราจรโดยรอบอาคารชำรุดเสียหายและผิวจราจร บริเวณจุดจอดเทียบชานชาลาทรุดตัวจนยากต่อการใช้งาน และสำหรับในกลุ่มปัญหาจากการ ออกแบบพบว่าผู้เช่าใช้พื้นท่ีประสบปัญหาในประเด็นเดียวกันได้แก่ปัญหาฝนสาดเข้าในตัวอาคาร นอกจากน้ียังพบปัญหาในกลุ่มปัญหางานระบบและสาธารณูปโภคท่ีเป็นประเด็นปัญหาสำคัญใน ท้ัง 3 แห่ง ได้แก่ ปัญหาท่อน้ำตัน ส้วมตัน ส่งกลิ่นเหม็น และปัญหาตำแหน่งวางถังขยะ ห้องขยะ กลิ่นจากขยะ และรอบการจดั เก็บขยะ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 3.4-1 สดั ส่วนของผ้ใู ชบ้ รกิ ารทร่ี ะบุวา่ พบแตล่ ะปัญหาตามรายการ ในการใช้งานอาคารชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้า รายการปญั หา สดั สว่ นของผู้เชา่ ฯ ท่ีพบปัญหา พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า กลุม่ ปัญหาจากสภาพอาคาร 1. ความชำรดุ ทรดุ โทรมของอาคารตามกาลเวลา 82% 100% 100% 2. ความชำรดุ ทรุดโทรมของหลังคา / ปญั หานำ้ รั่วจากหลงั คา 100% 100% 100% 3. ปญั หาการระบายอากาศ และความร้อนสะสมภายในตัวอาคาร 36% 17% - 4. ผิวจราจรโดยรอบอาคารชำรดุ เสียหาย 27% - 100% 5. ผวิ จราจรบริเวณจดุ จอดเทยี บชานชาลาทรุดตวั จนยากตอ่ 18% - 71% การใช้งาน กลมุ่ ปัญหาจากการออกแบบ 1. ชานชาลามคี วามกวา้ งไมเ่ พียงพอ 18% - - 2. ชานชาลามีความยาวมากเกนิ ไป 9% - - 3. ช่วงเสาภายในชานชาลาแคบหรอื กวา้ งเกนิ ไป 9% - - 4. ปญั หาฝนสาดเข้าในตัวอาคาร 73% 50% 71% 5. ความสูงชานชาลาไมเ่ หมาะสมกับประเภทรถบรรทุก 18% - 28% 6. ขาดพน้ื ทีป่ ฏิบัตงิ านเอกสารภายในบรเิ วณชาน เช่น จดุ 33% - รับสง่ เอกสารจากคนขบั รถ 36% 7. บนั ไดข้นึ ลงระหวา่ งชานชาลา ชำรุด หรอื ออกแบบไม่ 33% - เหมาะสมกบั การใชง้ าน 27% 8. สำนกั งานทห่ี วั ชานชาลา ไมส่ อดคลอ้ งกบั การใช้งาน 18% - - 9. ตำแหนง่ และจำนวนหอ้ งนำ้ 64% 33% - 10. พนื้ ที่สนบั สนุนการปฏิบตั ิงานของเจา้ หน้าท่ี เชน่ 33% - ท่ีล้างจาน ห้องแม่บ้าน 36% 11. พน้ื ที่จอดรถเจา้ หน้าทผ่ี ูป้ ฏิบตั ิงาน และผมู้ าตดิ ตอ่ 36% 17% - กลุ่มปญั หางานระบบและสาธารณูปโภค 1. แสงสวา่ งภายในชานชาลาไมเ่ พยี งพอ 36% - 57% 2. แสงสว่างโดยรอบนอกชานชาลาไมเ่ พียงพอ 64% 17% 71% 3. ระบบจ่ายไฟและโหลดไฟฟ้าไมเ่ พียงพอ 55% - 57% 4. ปัญหาจากการรวม/แยกมเิ ตอรน์ ำ้ -ไฟฟา้ ในอาคาร 27% 33% - 5. ท่อนำ้ ตัน ส้วมตัน สง่ กลน่ิ เหมน็ 82% 33% 100% 6. ตำแหนง่ วางถังขยะ หอ้ งขยะ กลิ่นจากขยะ และรอบการ จดั เกบ็ ขยะ 82% 50% 71% 7. การระบายนำ้ รอบตัวอาคาร อดุ ตัน ชำรุด 73% - 71% สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3-10

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 3.4.2 คลงั สินค้า สำหรับผู้ประกอบการขนส่งที่มีการเช่าใช้บริการพ้ืนท่ีภายในอาคารคลังสินค้า ณ ขณะที่ท่ีปรึกษา สำรวจข้อมูลพบว่าเป็นผู้ประกอบการภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลเป็นจำนวน 2 ราย สถานี ขนส่งสินค้าคลองหลวงเป็นจำนวน 3 ราย และสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นจำนวน 2 ราย ซ่ึงถือว่า เป็นจำนวนที่ค่อนข้างต่ำ ดงั นั้นการวิเคราะห์โดยใช้หลักสถิติเช่นการคิดสัดส่วนคำตอบจึงไม่เหมาะสม นักกับข้อมูลลักษณะน้ี ดังน้ันที่ปรึกษาจึงใช้การตรวจสอบในลักษณะว่ามีผู้ตอบว่าพบปัญหาหรือไม่ หากมีจะแสดงด้วยเคร่ืองหมาย  ดงั แสดงในตารางที่ 3.4-2 ตารางท่ี 3.4-2 ปัญหาตามรายการทีม่ ีผู้ใช้บรกิ ารคลงั สินคา้ ระบวุ ่าพบปัญหา ปัจจยั สถานขี นสง่ สนิ คา้ พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า กลมุ่ ปัญหาจากสภาพอาคาร 1. ความชำรดุ ทรดุ โทรมของอาคารตามกาลเวลา  2. ความชำรดุ ทรุดโทรมของหลังคา / ปญั หาน้ำร่ัวจากหลังคา 3. ปญั หาการระบายอากาศ และความรอ้ นสะสมภายในตัวอาคาร  4. ผวิ จราจรโดยรอบอาคารชำรดุ เสียหาย - 5. ผิวจราจรบริเวณจดุ จอดเทยี บชานชาลาทรุดตัวจนยากต่อการใช้งาน กลมุ่ ปัญหาจากการออกแบบ - 1. คลงั สินค้าแตล่ ะหลัง มีพื้นทมี่ าก หรือ นอ้ ยเกนิ ไป - 2. ความสูงหลงั คาและโครงหลงั คา ไม่เพียงพอ 3. ระดบั ความสงู พืน้ คลังไม่เหมาะสม สูงไปหรอื เตี้ยไป --- 4. การขาดพืน้ ท่ีปฏบิ ตั งิ านเอกสารภายในบรเิ วณคลงั เช่น จดุ รับส่ง --- เอกสารจากคนขับรถ - - 5. การไมม่ หี อ้ งน้ำท่ีจัดเตรยี มไว้ 6. การไมม่ ีพื้นท่สี นบั สนุนการปฏิบัตงิ านของเจา้ หน้าท่ี เช่น - หอ้ งแม่บ้าน - กลมุ่ ปัญหางานระบบและสาธารณูปโภค 1. แสงสวา่ งภายในคลังสินค้าไมเ่ พยี งพอ - - 2. แสงสวา่ งโดยรอบนอกตวั อาคารคลงั สินค้าไม่เพียงพอ 3. ระบบจา่ ยไฟและโหลดไฟฟา้ ไมเ่ พยี งพอ - 5. ตำแหนง่ วางถงั ขยะ ห้องขยะ กลน่ิ จากขยะ และรอบการจดั เก็บขยะ 6. การระบายนำ้ ในรอ่ งนำ้ รอบตัวอาคาร อุดตัน ชำรดุ --- --- - - --- สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-11

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) โดยจากผลการสำรวจพบว่าในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีการพบปัญหาในประเด็น ส่วนใหญ่ แต่ความเข้มข้นของการเกิดปัญหาน้ันมีความเฉพาะเจาะจงเฉพาะผู้เช่าพ้ืนที่บางรายหรือ บางกิจกรรมเท่าน้ัน ขณะที่ในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าปัญหาทีพ่ บมากท่ีสดุ จะอยู่ในกลุ่ม ปัญหาจากสภาพอาคารและโครงสร้างพ้ืนฐานโดยรอบที่ชำรุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลาและการใช้งาน สถานีขนส่งสินค้า แต่ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงพบว่ามีเพียงปัญหา ความชำรุดทรุด โทรมของอาคารตามกาลเวลา และ ความชำรุดทรุดโทรมของหลงั คาและปญั หาน้ำร่ัวจากหลงั คาที่พบ ในกลุ่มตวั อยา่ งทกุ ราย ขณะทป่ี ัญหาอืน่ ๆ ไม่พบเปน็ ประเด็นอย่างมีนัยสำคญั 3.4.3 ชานชาลาอเนกประสงค์ (เฉพาะสถานขี นสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล) ด้วยชานชาลาอเนกประสงค์เป็นอาคารใหม่ ก่อสร้างแล้วเสร็จเม่ือไม่นานมานี้ ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ จงึ ได้แก้ปญั หาจากการออกแบบเป็นสำคญั โดยประกอบไปด้วย - ขาดการสื่อสารเร่ืองเสน้ ทาง - การจราจรติดขัดบรเิ วณชานชาลาอเนกประสงค์หลังท่ี 9 และ 10 - รางน้ำหลังคาระบายนำ้ ฝนไม่ทัน เกิดปัญหานำ้ ลน้ รางน้ำ - ปัญหาการระบายอากาศภายในตัวอาคาร โดยอาคารมีความร้อนสะสม ห้องน้ำภายในอาคารมี ความร้อนและช้ืนเพราะไม่มีช่องระบายอากาศ รวมถึงพบปัญหาควันเสียภายในอาคารจากรถ โฟลค์ ลิฟทแ์ ละรถบรรทุก - มคี วามประสงค์ต่อเติมห้องทสี่ ามารถตดิ เคร่ืองปรบั อากาศได้ - ต้องการให้มีการปรับปรุง Slope และผิวของทางข้ึนอาคาร เนื่องจากมีความชันและล่ืน โดยเฉพาะในขณะที่มฝี นตก รถบรรทกุ และรถโฟลค์ ลิฟท์ไมส่ ามารถข้ึนอาคารได้ เป็นอันตราย 3.5 ความตอ้ งการสิ่งอำนวยความสะดวกภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ เพ่มิ เติม ในหัวข้อนี้เป็นการนำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบการขนส่งสินค้าท่ีเช่าใช้บริการ พื้นท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ในปัจจุบัน ในประเด็นความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนการขนส่งสินค้าเพิ่มเติมหากกรมการขนส่งทางบกมีแผนดำเนินการหรือมีงบประมาณ โดย ผลการสำรวจแสดงในตารางท่ี 3.5-1 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 3-12

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 3.5-1 สดั ส่วนของผ้ใู ชบ้ รกิ ารทม่ี ีความต้องการให้สถานีขนส่งสินคา้ มสี ิ่งอำนวยความสะดวกตามรายการเพิ่มเติม รายการสง่ิ อำนวยความสะดวก สถานขี นสง่ สนิ ค้า ร่มเกล้า พทุ ธมณฑล คลองหลวง - 1. ชานชาลาขนถ่ายสินคา้ (เพ่มิ เตมิ จากท่ีมีในปัจจุบัน) - 2. คลงั สนิ คา้ (เพิม่ เตมิ จากที่มีในปจั จบุ นั ) 2% - - 3. ชานชาลาอเนกประสงค์ (เพ่มิ เติมจากทีม่ ใี นปัจจบุ นั ) 1% 17% 8% 3. ลานจอดรถบรรทุก/ลานเปลย่ี นหวั ลาก-หางพว่ ง 7% - 8% 4. ลานกองต้สู นิ ค้า -- - 5. ลานกองตสู้ ินคา้ ท่มี กี ารจัดเตรยี มปลั๊กไฟสำหรบั ตแู้ ชเ่ ยน็ 2% 17% - 6. อุปกรณ์ Gantry Crane สำหรบั ยกตสู้ ินคา้ 2% 17% - 7. เขตปลอดอากร/คลงั สินค้าศลุ กากร -- - 8. คลงั สนิ คา้ หอ้ งเยน็ -- 9. พืน้ ท/่ี อาคารซอ่ มบำรุงรถบรรทุกและตสู้ นิ ค้า -- 33% 10. พ้นื ทลี่ า้ งและทำความสะอาดรถบรรทกุ 22% 50% 50% 11. สถานีขนส่งสินคา้ บรกิ ารน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ และก๊าซธรรมชาติ 22% 50% 25% 12. ลานสนิ ค้าเทกอง 14% 17% 13. ลานสนิ คา้ อนั ตราย -- - -- - หมายเหตุ : ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละรายสามารถตอบได้มากกว่า 1 รูปแบบ สัดส่วนที่แสดงในตารางจึงคำนวณจาก จำนวนผตู้ อบแบบสอบถามในรายการดังกล่าวหารดว้ ยจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้งั หมด จากตารางที่ 3.5-1 จะเห็นได้ว่าความต้องการของผู้ใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าแต่ละสถานีจะมีทั้ง ความต้องการที่เหมือนและแตกต่างกันไป สำหรับประเด็นที่มีความเหมือนกันสำหรับสถานีขนส่ง สินค้าทั้ง 3 แห่ง ได้แก่ ความต้องการในพ้ืนที่ล้างและทำความสะอาดรถบรรทุกเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นความต้องการพ้ืนที่หรืออาคารซ่อมบำรุงรถบรรทุกและตู้สินค้าเป็นอันดับ 2 และความ ตอ้ งการสถานบี ริการน้ำมันเชอ้ื เพลงิ และก๊าซธรรมชาติเป็นอันดับ 3 ในส่วนของความแตกต่างระหว่างสถานี จะเห็นได้ว่าสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลมีผู้ประกอบการ ส่วนหน่ึงท่ีต้องการชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินค้า และชานชาลาอเนกประสงค์เพิ่มข้ึน ซึ่งแม้ จะเป็นสัดส่วนที่น้อยแต่ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการพ้ืนที่รองรับการขนส่งเพ่ิมเติม ขณะที่ สถานีขนส่งสินค้าอีก 2 แห่งไม่มีความต้องการในส่วนน้ีเนื่องจากปัจจุบันยังคงมีพ้ืนที่ว่างบางส่วนท่ี สามารถเชา่ เพ่ิมได้ นอกจากนี้ยังพบว่ามีความต้องการลานกองต้สู ินค้าบางส่วนเชน่ กนั ซ่ึงในประเด็นนี้ สถานีขนส่งสินค้าสามารถบริหารจัดการให้เกิดพ้ืนท่ีเพ่ือทำกิจกรรมในลักษณะการกองเก็บตู้สินค้าได้ เนื่องจากยังคงมพี ้ืนทว่ี ่างจำนวนหน่ึง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 3-13

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) อนงึ่ ผลการสำรวจซงึ่ แสดงในตารางที่ 3.5-1 นเี้ ป็นการสำรวจความตอ้ งการของผู้ที่เช่าใชง้ านพ้นื ท่ี ภายในสถานีขนส่งสินค้าอยู่แล้วเป็นสำคัญ ซ่ึงในประเด็นนี้ย่อมมีความแตกต่างจากความต้องการ ของผูท้ ีอ่ ยูภ่ ายนอกและยงั ไมเ่ คยใช้บรกิ ารสถานีซง่ึ จะต้องมีการศึกษาในลำดบั ถดั ไป 3.6 ผลการสมั ภาษณ์เชิงลกึ และประเด็นเชิงคุณภาพ นอกจากการสำรวจข้อมูลและความคิดเห็นในเชิงปริมาณดังท่ีกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้อก่อนหน้าน้ี ท่ีปรึกษายังได้เปิดโอกาสให้ผู้ที่เช่าใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าสามารถส่งผ่านประเด็นท่ีมี รายละเอียดในเชิงคุณภาพจากท้ังในส่วนของคำถามปลายเปิดท้ายแบบสอบถามและการจัดการ สัมภาษณ์เชิงลึกตัวอย่างผู้ประกอบการขนส่งสินค้าท่ีใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง โดยมี การดำเนินการครั้งที่ 1 ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม 2563 มีการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการไปทง้ั ส้ินกว่า 30 ราย และยงั มีการดำเนินการอยา่ งต่อเน่ืองเม่อื พบประเด็นปลกี ยอ่ ย ท่ีต้องการข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม ท้ังน้ีจากการดำเนินการท่ีปรึกษาได้พบประเด็นที่มีความน่าสนใจเป็น จำนวนมากและหลายประเด็นมีความสอดคล้องและสามารถใช้อธิบายผลคะแนนจากการสำรวจ ข้อคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจต่อการเข้าใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าด้วยแบบสอบถามและ แบบสอบถามออนไลน์ได้เป็นอย่างดี สำหรับประเด็นที่สำคัญสำหรับแต่ละสถานีขนส่งสินค้าสรุปได้ ดงั น้ี 3.6.1 สถานีขนสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล • กรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลจะมีความพิเศษ โดยในการสัมภาษณ์เชิงลึกมีการ ดำเนินการโดยแยกเป็น 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบท่ีเช่าใช้งานชานชาลาขนถ่ายสินค้าและ คลังสินค้า และกลุ่มผปู้ ระกอบการรายย่อยที่เชา่ ใชง้ านชานชาลาอเนกประสงค์ • ประเด็นทำเลที่ต้งั และการจราจรภายนอก - ในประเด็นทำเล พบว่าผู้เช่าส่วนใหญ่ยอมรับว่าในระยะแรกถือว่าสถานีขนส่งสินคา้ แห่งน้ีอยู่ ไกลจากแหล่งสินค้าและลูกค้าพอสมควรและจำเป็นจะต้องมีการปรับตัวในระดับหน่ึง แต่ ด้วยสถานีขนส่งสินค้าเปิดมานานและถือว่าติดตลาด ทำให้ปัจจุบันปัญหาเรื่องระยะทางจาก แหลง่ สินคา้ และลูกค้าลดลง - ปัจจุบันปัญหาการจราจรและผลกระทบจากการขยายตัวของชุมชนโดยรอบมีเพิ่มข้ึนอย่าง มากเมอ่ื เทยี บกบั ในอดีต • ประเด็นการจราจรภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า - การจราจรภายในสถานีขนส่งสินค้าติดขัดในบางช่วงเวลาท่ีมีการขนส่งมีปริมาณมาก เช่น วนั พฤหัสบดี และวันศกุ ร์ - ปญั หาการจราจรท่ีพบมากจะอยู่ในบริเวณอาคารชานชาลาอเนกประสงค์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 3-14

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) - ปญั หาการขาดการส่ือสารเร่ืองเส้นทางภายในสถานีขนส่งสินค้า ป้ายและแผนผังแสดงตำแหน่ง ของเอกชนแต่ละราย และในแต่ละชาน แผนผังตำแหน่งอาคาร เครื่องหมายจราจรมีขนาดเล็ก ระบบป้ายควบคุมการจราจรไม่เพียงพอหรืออยู่ในตำแหน่งท่ีไม่เหมาะสม ประกอบกับถนนมี ขนาดใหญ่ จงึ ทำใหพ้ บปัญหาการขบั รถย้อนศรหรือหลงทางบ่อยคร้ัง - ประตูทางเข้าออกที่เปิดให้ใช้เพียง 1 ช่องทางสำหรับรถบรรทุก เป็นคอขวดสำคัญในช่วงท่ีมี ปรมิ าณรถบรรทกุ มาก - การพิจารณาเปิดประตูหลังสำหรับรถบรรทุกสินค้าขนาดเล็กอาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริการจัดการจราจรภายในสถานีขนส่งสินค้าได้ (ในมุมมองของเอกชนผู้เช่าใช้สถานีขนส่ง สนิ ค้า) • ประเด็นที่เกี่ยวขอ้ งกบั อาคารชานชาลาอเนกประสงค์ - ปัญหาการระบายอากาศภายในตัวอาคาร โดยอาคารมีความร้อนสะสม ห้องน้ำภายในอาคารมี ความร้อนและช้ืนเพราะไม่มีช่องระบายอากาศ รวมถึงพบปัญหาควันเสียภายในอาคารจากรถ โฟล์คลฟิ ทแ์ ละรถบรรทุก - มีความประสงค์ต่อเติมห้องที่สามารถตดิ เคร่ืองปรับอากาศได้ - ต้องการให้มีการปรับปรุง Slope และผิวของทางข้ึนอาคาร เนื่องจากมีความชันและล่ืน โดยเฉพาะในขณะทีม่ ฝี นตก รถบรรทุกและรถโฟลค์ ลิฟท์ไม่สามารถข้ึนอาคารได้ เป็นอันตราย - พบปัญหารางน้ำหลงั คาไม่สามารถระบายน้ำฝนได้ไม่ทนั เมื่อเกิดฝนตกหนัก ส่งผลให้เกิดปัญหา นำ้ ล้นรางนำ้ - ผปู้ ระกอบการบางรายซ่ึงเช่าอาคารชานชาลาอเนกประสงค์ติดกันตัง้ แต่ 2 คูหาขึ้นไป อยากขอ อนญุ าตเจาะประตูเชือ่ มระหว่างกันเพื่อให้ปฏิบัตงิ านไดส้ ะดวกและมีประสิทธภิ าพยิ่งข้ึน • ประเดน็ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ระบบสาธารณปู โภค - ปัญหาน้ำประปาไหลไม่แรงหรือไม่ไหลในบางช่วงเวลา เป็นปัญหาท่ีสำคัญและต้องการให้ กรมการขนสง่ ทางบก มีการปรบั ปรงุ ซ่อมบำรุงระบบโดยด่วน - ปัจจุบันพบปัญหาเก่ียวกับระบบไฟฟ้าค่อนข้างมากท้ังภายในอาคารและในพ้ืนที่สาธารณะ ต่างๆ อันเนื่องมาจากอายุการใช้งาน เคยมีกรณีของการเกิดไฟไหม้จากไฟฟ้าลัดวงจรการคิด ค่าสาธารณูปโภคภายในอาคารเป็นแบบอัตราอุตสาหกรรม ซ่ึงทำให้ผู้ประกอบการขนส่ง มีภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายในส่วนน้ีสูง (อน่ึง ประเด็นนี้เป็นความเห็นในมุมมองของผู้เช่าใช้ สถานีขนส่งสินค้า แต่จะต้องไปตรวจสอบกับระเบียบของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้า สว่ นภมู ภิ าคอีกครัง้ ) - ปัญหาระบบอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร ควรมีการปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน IT ของ สถานีขนสง่ สนิ คา้ ใหมท่ ้ังระบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3-15

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - การเก็บขยะเป็นปัญหาใหญ่ของสถานีขนส่งสินค้า โดยสถานีขนส่งสินค้าแห่งนี้มีขยะจำนวน มากในแต่ละวัน ขณะที่ อปท. ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการจัดเก็บขยะ เลือกที่จะไม่เก็บขยะไม้ ขนาดใหญ่ และขยะท่ีไม่ใช่ขยะครัวเรือน จึงจำเป็นจะต้องหารือกับ อปท. เพ่ือแก้ปัญหานี้ นอกจากน้ียงั พบวา่ จุดกองเก็บขยะไม่เพียงพอและไม่เป็นระเบียบเรยี บร้อยเท่าที่ควร - แม้จะมี รปภ. ปฏิบัติงานเป็นประจำ แต่อยากให้มีการยกระดับมาตรฐานของการรักษาความ ปลอดภัยภายในสถานีขนสง่ สินคา้ ให้สูงข้ึนกว่าที่เปน็ อยู่ในปัจจบุ ัน • ประเด็นการบริการและพื้นทบี่ ริการสาธารณะ - ห้องน้ำสาธารณะไมเ่ พยี งพอและบอ่ ยครั้งที่ไมส่ ะอาดเท่าที่ควร - โรงอาหารถือว่าพอรับได้ ท้ังในด้านคุณภาพและราคา แต่ถ้าสามารถเพ่ิมเรื่องสุขอนามัยและ ระบบภายในโรงอาหารเช่นระบบครัวต่างๆ ได้จะดียิง่ ขึน้ - การมรี ้านสะดวกซื้อท่ีเปดิ ใหบ้ รกิ าร 24 ช่วั โมงเปน็ ทางเลือกท่ีน่าสนใจ - หอพักท่ีมีลักษณะเป็นห้องพัดลมและห้องน้ำรวม ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับการใช้ชีวิตใน โลกยุคปัจจุบัน อยากให้พิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงและยกระดับห้องพักเพราะ เป็นความต้องการของเอกชนส่วนใหญ่ในสถานีขนส่งสินค้า เพียงแค่ด้วยข้อจำกัดของสภาพ ปัจจุบันจึงทำให้เอกชนต้องไปเช่าห้องพักภายนอกแทน ซ่ึงไม่สะดวกสำหรับการเข้างานใน กะกลางคืน - ในกรณีของกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย พ้ืนที่ล้างรถและซ่อมรถสาธารณะ ถ้ามีก็น่าจะเป็นสิ่ง ท่ีดี แต่สำหรับรายใหญ่อาจมองว่าหากบริการจัดการในพ้ืนที่ของตนเองจะสามารถควบคุม ราคาได้ดีกว่า แต่ก็ยินดีที่จะย้ายไปดำเนินการในพ้ืนท่ีที่กรมการขนส่งทางบกจัดให้หาก ยังอนุญาตใหส้ ามารถบริการจดั การต้นทนุ คา่ ใช้จา่ ยได้ในระดับเดิม • ประเด็นระบบ GCS - เอกชนรายเล็กให้ความเห็นว่าเป็นภาระค่อนข้างมาก และการกรอกข้อมูลนั้นข้ึนกับมีคนทำ หรือไม่ และข้อมูลอาจไม่ครบถ้วนถูกต้อง ขณะท่ีเอกชนรายใหญ่สามารถกรอกข้อมูลให้ได้ เนื่องจากมีบุคลากรเพียงพอ และมองว่าหากกรมการขนสง่ ทางบก ตอ้ งการให้ดำเนนิ การกย็ ินดี - เน่ืองจากมีทางเข้าออกท่ีมี GCS เพียงจุดเดียวและช่องทางเดียวทำให้เกิดการจราจรติดขัด บ่อยครง้ั • ประเด็นกฏระเบยี บขั้นตอนทางราชการและสญั ญาเช่า - ควรมีการปรับปรุงกระบวนการและระเบียบทางราชการให้มีความกระชับและยืดหยุ่นต่อ สถานการณ์ - ควรสรา้ งมาตรฐานและข้ันตอนกระบวนการต่างๆ ให้มคี วามชัดเจน - ควรมรี ะบบการบริหารจัดการสถานการณเ์ ร่งดว่ น เช่น การซ่อมบำรุงด่วน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 3-16

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) - สัญญาเช่า 1 ปีไม่ได้เป็นปัญหาใหญ่ แต่หากมีทางเลือกของการให้เช่าในสัญญาที่ยาวข้ึน ก็เป็นทางเลอื กทดี่ ี และอยากให้ปรบั ปรุงระเบียบเก่ียวกบั การจดั การเงินคำ้ ประกันสัญญา - การข้ึนราคาค่าเช่าเป็นประเด็นท่ีผู้ประกอบการส่วนใหญ่กังวลในสถานการณ์เศรษฐกิจเช่น ในปัจจบุ นั • ประเดน็ อื่นๆ - สถานีขนส่งสินค้ายังคงมีความต้องการสูงในบริเวณนี้ อยากให้กรมการขนส่งทางบก พิจารณา จัดใหม้ สี ถานีขนส่งสินคา้ แหง่ ใหมเ่ พ่ิมเติม - กรมการขนส่งทางบก สามารถยกระดับสถานีขนส่งสินค้าให้เป็นต้นแบบของสถานีขนส่งสินค้า สมัยใหม่ หรอื Smart Truck Terminal โดยมุง่ เน้นที่การนำเทคโนโลยีมาใช้ยกระดับมาตรฐาน ความปลอดภัย การจัดการและตรวจติดตาม (Monitoring) การลดต้นทุนการบริการสถานี ขนส่งสินค้า เช่น การติดต้ัง Solar Cell เพอื่ ลดตน้ ทุนค่าไฟฟ้า การควบคุมมลพิษ และ PM2.5 ภายในสถานีขนส่งสินค้าเปน็ ต้น - ควรมกี ารซอ่ มระงับเหตุฉุกเฉนิ ต่างๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ไฟไหม้ นำ้ ทว่ ม กอ่ การรา้ ย รวมทั้งโรคระบาด 3.6.2 สถานีขนสง่ สินค้าคลองหลวง • ประเด็นทำเลทตี่ ั้งและการจราจรภายนอก - สถานีขนสง่ สนิ คา้ อยหู่ ่างจากกรงุ เทพมหานคร คอ่ นขา้ งมาก - การเข้าออกและการเชื่อมต่อกับถนนกาญจนาภเิ ษกมีความสะดวก • ประเด็นทเ่ี ก่ยี วข้องกบั อาคารต่างๆ ภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ - มีปัญหาเร่ืองสัตว์ เช่น นก หนู และ สุนัขจรจัด โดยเฉพาะนกและมูลนก ซึ่งส่งผลต่อ ผูป้ ระกอบการขนส่งที่ขนส่งสนิ คา้ ประเภทอาหารทมี่ ีมาตรฐาน GMP กำกับเปน็ อยา่ งมาก - ฝนสาดชานชาลาเป็นปญั หาสำคญั ของการใช้งานชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า - หากเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่จะมีความยินดีในการลงทุนต่อเติมผนังเพ่ือกันฝนสาด แต่หาก เป็นผู้ประกอบการรายย่อยอาจไม่สนใจเช่าใช้สถานี ขนส่งสินค้าเน่ืองจากต้องมีการลงทุน คอ่ นขา้ งมาก - น่าจะปรับชานชาลาให้กลายเป็นคลังสินค้า เน่ืองจากในบริเวณน้ีมีความต้องการคลังสินค้า มากกว่าชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า • ประเด็นท่ีเก่ยี วขอ้ งกับระบบสาธารณปู โภค - ปัญหาน้ำประปาไม่สะอาด โดยเคยมีการทดสอบและพบว่าไม่ได้มาตรฐานสำหรับอุปโภค บริโภค เป็นปัญหาท่สี ำคญั และต้องการให้กรมการขนส่งทางบก มีการปรับปรุงซ่อมบำรุงระบบ โดยดว่ น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 3-17

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) - ปัจจุบันพบปัญหาเก่ียวกับระบบไฟฟ้าค่อนข้างมากท้ังภายในอาคารและในพ้ืนที่สาธารณะ ตา่ งๆ อนั เน่ืองมาจากอายุการใชง้ าน • ประเดน็ การบรกิ ารและพ้นื ทบี่ รกิ ารสาธารณะ - หอพักท่ีมีลักษณะเป็นห้องพัดลมและห้องน้ำรวม ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับการใช้ชีวิต ในโลกยุคปัจจุบัน อยากให้พิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงและยกระดับห้องพัก เพราะเป็นความต้องการของเอกชนส่วนใหญ่ในสถานีขนส่งสินค้า เพียงแค่ด้วยข้อจำกัดของ สภาพปจั จบุ นั จึงทำใหเ้ อกชนต้องไปเชา่ ห้องพักภายนอกแทน • ประเด็นระบบ GCS - อยากให้มีการพัฒนาระบบที่สามารถลดความยุ่งยากและภาระกับเอกชนได้มากกว่าน้ี เช่น เป็นไปได้หรือไม่ที่แจก Key Card ให้เหมือนเข้าออกหมู่บ้านจัดสรร จะได้ลดภาระการกรอก ขอ้ มูล 3.6.3 สถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า • ประเด็นทำเลทตี่ ั้งและการจราจรภายนอก - เปน็ ทำเลท่ดี ี แต่มปี ญั หาเร่ืองการจราจรและสภาพผวิ จราจรเป็นอยา่ งมาก - การแก้ปัญหาทางเข้าออกและการเช่ือมมอเตอร์เวย์เป็นเรื่องท่ีจำเป็นแต่มีความซับซ้อนเป็น อยา่ งมากอนั เน่ืองมาจากมีการเก่ียวเน่ืองหลายหน่วยงาน - ควรมกี ารตรวจสอบความแข็งแรงของสะพานลอยเข้าออกสถานีขนสง่ สนิ ค้าดว้ ย • ประเด็นการจราจรภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า - ผิวการจราจรชำรดุ เสยี หายและทรุดตัวมาก มีปัญหาฝุ่นอย่างมาก - ประเดน็ ทจี่ อดรถภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้าไม่เพยี งพอ แตต่ อนน้กี ด็ ีข้นึ มากแลว้ - เนินลูกระนาดภายในสถานีขนส่งสินค้าสูงเกินไป พบว่าไม่สามารถทำให้รถบรรทุกชะลอตัว แต่ รถขนาดเล็กมีปญั หาค่อนขา้ งมาก • ประเด็นทเ่ี กยี่ วข้องกบั อาคารขนสง่ สินค้าภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ - การวางตัวของชานชาลาขนถ่ายสินค้าในทิศเหนือใต้ ทำให้แดดสาดเข้าภายในชานชาลาเป็น อย่างมากท้งั เชา้ และบ่าย - มปี ัญหาเรอื่ งสัตว์ เช่น นก หนู และ สนุ ัขจรจดั - มีปัญหาเรือ่ งลานจอดเทียบชานทรุดตัวมากจนเป็นอุปสรรคกับการปฏิบัติงาน • ประเด็นท่เี กยี่ วข้องกบั ระบบสาธารณูปโภค - ปัญหาน้ำประปาไหลไม่แรงหรือไม่ไหลในบางช่วงเวลา เป็นปัญหาท่ีสำคัญและต้องการให้ กรมการขนส่งทางบก มกี ารปรบั ปรงุ ซ่อมบำรงุ ระบบโดยด่วน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-18

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - ปัจจุบันพบปัญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าค่อนข้างมากท้ังภายในอาคารและในพ้ืนท่ีสาธารณะ ต่างๆ อันเน่อื งมาจากอายุการใชง้ าน - ปัญหาระบบไม่เสถยี ร ควรมีการปรบั ปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน IT ของสถานีขนส่งสนิ ค้า ใหม่ท้ังระบบ - ปัญหาความไม่ปลอดภัยในทรัพย์สินเน่ืองจากมีบุคคลภายนอกเข้ามาในสถานีขนส่งสินค้า ไดโ้ ดยงา่ ย มกี รณจี กั รยานยนต์ อะไหล่รถบรรทุก และน้ำมนั หายบ่อยครัง้ • ประเดน็ การบริการและพืน้ ท่ีบริการสาธารณะ - หอ้ งนำ้ สาธารณะไม่เพยี งพอและบ่อยครง้ั ท่ีไม่สะอาดเท่าท่ีควร - หอพักท่ีมีลักษณะเป็นห้องพัดลมและห้องน้ำรวม ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับการใช้ชีวิตในโลก ยุคปัจจุบัน อยากให้พิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงและยกระดับห้องพักเพราะเป็น ความต้องการของเอกชนส่วนใหญ่ในสถานีขนส่งสินค้า เพียงแค่ด้วยข้อจำกัดของสภาพปัจจุบัน จงึ ทำให้เอกชนต้องไปเชา่ ห้องพักภายนอกแทน • ประเดน็ ระบบ GCS - เอกชนยอมรับว่าการกรอกข้อมูลอาจไม่ครบถ้วนถูกต้อง - อยากให้มีการพฒั นาระบบทสี่ ามารถลดความยงุ่ ยากและภาระกบั เอกชนไดม้ ากกว่านี้ • ประเดน็ กฎระเบียบข้นั ตอนทางราชการและสัญญาเชา่ - ควรมีการปรับปรุงกระบวนการและระเบียบทางราชการให้มีความกระชับและยืดหยุ่นต่อ สถานการณ์ - ควรสร้างมาตรฐานและขน้ั ตอนกระบวนการต่างๆ ให้มคี วามชดั เจน - ควรมีระบบการบริหารจัดการสถานการณเ์ ร่งดว่ น เช่น การซอ่ มบำรุงดว่ น - อยากให้พจิ ารณาปรับปรุงระเบียบเกี่ยวกบั การจัดการเงนิ คำ้ ประกันสัญญา - ควรมีการจัดทำมาตรฐานการต่อเติมอาคารให้ชัดเจนว่าอะไรสามารถทำได้และอะไร ไม่สามารถทำได้ และหากเอกชนต้องการต่อเติมให้สามารถใช้แบบมาตรฐานขออนุญาต ไดเ้ ลย - การข้ึนราคาค่าเช่าเป็นประเด็นที่ผู้ประกอบการส่วนใหญ่กังวลในสถานการณ์เศรษฐกิจเช่นใน ปัจจบุ ัน • ประเด็นอ่ืนๆ - ควรพจิ ารณาการเพ่ิมมูลค่าเพิม่ ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า เช่น การใชส้ ถานีขนส่งสนิ ค้าเป็นศูนย์ ฝกึ อบรมด้านการขนส่งสนิ ค้าและรถบรรทกุ ของกรมการขนสง่ ทางบก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3-19

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 3.7 สรปุ ผลการศกึ ษา โดยสรุป ที่ปรึกษาได้ดำเนินการรวบรวมข้อคิดเห็นและความพึ่งพอใจต่อการใช้บริการสถานีขนส่ง สินค้าจากกลุ่มผู้ประกอบการขนส่งสินค้าที่เช่าพื้นท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งในปัจจุบัน เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปประกอบแนวทางการปรับปรุงพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในลำดับต่อไป โดยใช้ วิธีการสำรวจความคิดเห็นโดยการส่งแบบสอบถามซึ่งมีการดำเนินการไปในช่วงระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2563 ถึง เมษายน 2564 สามารถรวบรวมผู้ตอบแบบสอบถามได้ท้ังสินค้าเป็นร้อยละ 95 ของผ้เู ช่าใชบ้ รกิ ารสถานีขนส่งสนิ คา้ ท้ังหมด ณ ขณะนัน้ สำหรับประเด็นท่ีมีการสำรวจประกอบด้วย ประเด็นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปและลักษณะการขนส่งสินค้า ของผู้ประกอบการขนส่งสินค้าแต่ละรายที่เช่าใช้งานพ้ืนที่ภายในสถานีขนส่งสินค้า ประเด็นที่ 2 ปัจจัยและเหตุผล รวมถึงข้อดีข้อเสียในภาพรวมของการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า ประเด็นท่ี 3 ความ คิดเห็น ทัศนคติ และปัญหาท่ีพบจากการใช้งานสถานีขนส่งสินค้า และ ประเด็นท่ี 4 ความต้องการ และสิ่งท่ีต้องการให้พัฒนาในอนาคต รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกท่ีต้องการให้มีการจัดเตรียม เพิม่ เตมิ ในอนาคต จากการศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าส่วนใหญ่ยังมีทัศนคติอันดีและมีความพึ่งพอใจต่อ การให้บริการและโครงสร้างพื้นฐานของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ในระดับปานกลางค่อนดี โดยแต่ ละสถานีจะมีจุดเด่นจุดด้อยที่แตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นที่และสินค้า สำหรับปัญหาหลักๆ ของ แต่ละสถานีพบว่ามีความแตกต่างกันไปเช่นกัน โดยกรณีของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลพบว่า ปัญหาส่วนใหญ่จะเป็นเร่ืองของสาธารณูปโภคและปัญหาจากการใช้งานสถานีที่มีความคับค่ัง ขณะท่ี สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าปัญหาหลักจะเกิดจากความชำรุดทรุดโทรมของอาคารสถานท่ีโดยเฉพาะ อย่างย่ิงผิวจราจรและการบริหารจัดการจราจรภายในและโดยรอบสถานี ซ่ึงจะแตกต่างไปจากสถานี ขนส่งสินค้าคลองหลวงซ่ึงไม่พบปัญหาที่มีนัยสำคัญมากนัก ซึ่งอาจเกิดจากจำนวนผู้เช่าพ้ืนที่และ ผใู้ ช้บริการท่ีมนี ้อยรายกว่าสถานีขนส่งสนิ ค้าอีก 2 แห่ง สำหรับความต้องการส่ิงอำนวยความสะดวกเพิ่มเติม พบว่าความต้องการของผู้ใช้บริการสถานีขนส่ง สินค้าแต่ละสถานีจะมีทั้งความต้องการที่เหมือนและแตกต่างกันไป สำหรับประเด็นท่ีมีความ เหมือนกันสำหรับสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ได้แก่ ความต้องการในพื้นท่ีล้างและทำความสะอาด รถบรรทุกเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นความต้องการพ้ืนท่ีหรืออาคารซ่อมบำรุงรถบรรทุกและตู้สินค้า เป็นอันดับ 2 และความต้องการสถานีบริการน้ำมันเช้ือเพลิงและก๊าซธรรมชาติเป็นอันดับ 3 จึงเป็น ประเดน็ ที่กรมการขนส่งทางบกสามารถนำไปต่อยอดในการพฒั นาสถานีขนส่งสินค้าในอนาคตได้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 3-20

บทที่ 4 การสำรวจขอ้ คิดเห็นและความพงึ พอใจตอ่ สถานีขนส่งสินคา้ ของกลุม่ พนกั งานขับรถบรรทุกและผ้มู าติดต่อ

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) บทท่ี 4 การสำรวจขอ้ คิดเห็นและความพึงพอใจตอ่ สถานขี นส่งสินค้า ของกลุม่ พนักงานขับรถบรรทุกและผมู้ าติดตอ่ 4.1 ขอ้ มูลท่ัวไปของการดำเนินงาน (1) วิธกี ารและข้นั ตอนการสำรวจ ที่ปรึกษาได้ดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มพนักงานขับรถบรรทุกและกลุ่มผู้มาติดต่อ ภายในสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ในช่วงต้นเดือนธันวาคม 2563 โดยภาพถ่ายการ ดำเนินการสำรวจแสดงในรูปที่ 4.1-1 รปู ท่ี 4.1-1 การสำรวจข้อคิดเหน็ และประเมินความพงึ พอใจ ของกลุม่ พนักงานขบั รถบรรทุกและกลุ่มผมู้ าติดต่อ สำหรับระเบียบวิธีวิจัยท่ีใช้ในการสำรวจความคิดเห็นแบบการสัมภาษณ์ตัวต่อตัวผ่าน แบบสอบถาม (Face-to-Face Questionnaire) สำหรับจำนวนตัวอย่างได้ใช้พ้ืนฐานการ กำหนดจำนวนตัวอย่างของ Yamane (1967) ที่ระดับความเช่ือม่ันทางสถิติท่ีร้อยละ 95 ซึ่งได้จำนวนตัวอย่างเป้าหมายท่ีไม่น้อยกว่า 400 ท้ังน้ีในการดำเนินการจริง ที่ปรึกษาได้ทำการ สำรวจตัวอยา่ งทั้งสน้ิ 680 ตัวอย่าง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 4-1

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) (2) ลักษณะของกจิ การท่กี ลุ่มตวั อยา่ งปฏบิ ัติงานอยใู่ นปัจจุบัน ตารางท่ี 4.1-1 แสดงจำนวนและสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างจำแนกรายกิจการ ทั้งน้ีพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่น้นั ทำงานอยู่ในกิจการประเภทผู้ประกอบการรบั ขนสง่ สนิ ค้าโดย คิดเป็นร้อยละ 87 ของผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด รองลงมาเป็นพนักงานของไปรษณีย์ไทย และเจ้าของสินค้าหรือผู้ผลิตสินค้า นอกจากนี้ยังมีส่วนหนึ่งซึ่งเป็นกลุ่มผู้เจ้าของสินค้าหรือ ผผู้ ลิตสนิ คา้ ตารางท่ี 4.1-1 ลกั ษณะของกิจการท่ีกล่มุ ตัวอยา่ งทำงานอยูใ่ นปัจจุบนั ประเภทและลกั ษณะ จำนวนตวั อยา่ งในแตล่ ะสถานีขนส่งสนิ ค้า สัดสว่ น ของกิจการ พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ รวม 87% 3% 1. ผู้ประกอบการรบั ขนสง่ สนิ ค้า 354 98 137 589 3% 2. ไปรษณยี ไ์ ทย 24 0 0 24 2% 3. เจ้าของสนิ ค้าหรือผผู้ ลิตสินค้า 3 15 0 18 2% 4. กิจการรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดภุ ัณฑด์ ่วน 15 0 0 15 เช่น Kerry Flash J&T 3% 100% 5. กิจการเกย่ี วเนือ่ งอน่ื ๆ เช่น 11 1 2 14 สำนักงานบญั ชี 6. อ่ืนๆ 11 3 6 20 รวม 418 117 145 680 (3) ตำแหน่งงานของกลุ่มตัวอย่าง ตารางท่ี 4.1-2 แสดงจำนวนและสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามตำแหน่งงาน โดยแบ่งได้ เป็น 4 กลุ่ม ทั้งนี้กลุ่มท่ีมีสัดส่วนตัวอย่างสูงสุดได้แก่คนขับรถขนส่งสินค้าและพนักงานยก ขนสินค้าท่ีมากับรถบรรทุกจัดอยู่ในกลุ่มของพนักงานขับรถบรรทุก รองลงมาเป็นพนักงาน และเจ้าหน้าที่ทั่วไปที่มาติดต่องานภายในสถานีขนส่งสินค้า หัวหน้างานและผู้ควบคุมงาน และเจ้าของกิจการและผู้บริหาร ตามลำดับ โดยทัง้ 3 กลุม่ หลังนถี้ ูกจัดไว้เปน็ กลุ่มของผู้มาติดต่อ ตารางที่ 4.1-2 ตำแหน่งงานปัจจุบันของผู้ตอบแบบสอบถาม ตำแหนง่ งาน จำนวนตวั อย่างในแต่ละสถานีขนสง่ สนิ คา้ สัดส่วน พุทธมณฑล คลองหลวง รม่ เกลา้ รวม 61% คนขับรถขนสง่ สินคา้ และพนกั งาน 253 74 86 413 ยกขนสินค้าท่ีมากบั รถบรรทกุ 27% 9% พนักงานและเจ้าหน้าท่ที ัว่ ไปท่มี า 113 31 42 186 3% ติดต่องานภายในสถานีขนสง่ สินคา้ 100% หวั หนา้ งานและผู้ควบคุมงาน 37 10 13 60 เจา้ ของกิจการและผูบ้ รหิ าร 15 2 4 21 รวม 418 117 145 680 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 4-2

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 4.2 ขอ้ คดิ เห็นและความพึงพอใจตอ่ สถานีขนส่งสินคา้ ของกลมุ่ พนักงานขับรถบรรทุก ในส่วนนี้เป็นผลการสำรวจข้อคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจของกลุ่มพนักงานขับรถบรรทุก โดยพนักงานขับรถบรรทุกในที่น้ีหมายรวมถึงพนักงานประจำรถบรรทุกอ่ืนๆ อาทิ พนักงานยก ขนสนิ ค้าท่มี ากบั รถบรรทกุ โดยสรุปผลการสำรวจได้ดงั นี้ (1) วตั ถุประสงค์ของการเดินทางมายังสถานีขนส่งสนิ คา้ ตารางที่ 4.2-1 แสดงผลการสำรวจวัตถุประสงค์ของการเดินทางมายังสถานีขนส่งสินค้าใน วันท่ีได้รับการสัมภาษณ์ โดยพบว่าเป็นกลุ่มท่ีเดินทางมาเพ่ือมาส่งสินค้าที่สถานีขนส่งสินค้า คิดเป็นร้อยละ 43 ขณะท่ีเป็นกลุ่มที่เดินทางมารับสินค้าจากสถานีขนส่งสินค้าไปส่งยัง ปลายทางอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 57 อย่างไรก็ดีสัดส่วนดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกถึงปริมาณของ กจิ กรรม ปรมิ าณสนิ คา้ หรอื จำนวนรถบรรทกุ ท่ีเขา้ มาใช้สถานีขนสง่ สนิ คา้ แต่อย่างใด ตารางท่ี 4.2-1 วตั ถุประสงค์ของการเดนิ ทางมายงั สถานขี นสง่ สนิ คา้ วตั ถปุ ระสงค์ของการเดินทาง จำนวนตัวอย่างในแต่ละสถานีขนสง่ สนิ ค้า สัดส่วน มายงั สถานขี นส่งสนิ ค้า พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกลา้ รวม มาส่งสินคา้ ทสี่ ถานีขนส่งสินค้า 109 32 37 178 43% มารับสินค้าจากสถานีขนสง่ สนิ คา้ 144 42 49 235 57% ไปส่งยงั ปลายทาง รวม 253 74 86 413 100% (2) ประเภทของยานพาหนะใช้ในการเดินทางเพื่อมารับส่งสินค้า จากการสำรวจพบว่ากลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามเดินทางมาโดยรถปิ๊กอัพและรถปิ๊กอัพติดต้ัง ตู้สินค้าสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 32 และรองลงมาเป็นรถบรรทุกตอนเด่ียว 6 ล้อ รถบรรทุกพ่วง และรถบรรทุกตอนเด่ียว 10 หรอื 12 ลอ้ ตามลำดับ โดยรวมสัดส่วนของรถบรรทุกทงั้ 4 ประเภทนี้ คิดเป็นร้อยละ 86 ของปริมาณรถบรรทุกท้ังหมดที่มีการสัมภาษณ์ ขณะท่ีรถในประเภทอ่ืนๆ ทเี่ หลืออีกร้อยละ 14 นั้นประกอบไปด้วยรถบรรทุกกึ่งพ่วง รถยนต์ส่วนบุคคล และจักรยานยนต์ ดงั แสดงในตารางท่ี 4.2-2 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 4-3

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 4.2-2 ประเภทของยานพาหนะที่ใชใ้ นการเดนิ ทางเพอ่ื มารับส่งสินค้า วัตถปุ ระสงค์ของการเดินทาง จำนวนตัวอยา่ งในแต่ละสถานขี นสง่ สนิ คา้ สัดสว่ น มายังสถานขี นส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า รวม รถปกิ๊ อัพ / รถปิ๊กอัพตดิ ตั้งตสู้ นิ คา้ 101 11 21 133 32% รถบรรทุกตอนเด่ยี ว 6 ลอ้ 63 15 13 91 22% รถบรรทุกพว่ ง 9 25 40 74 18% รถบรรทุกตอนเดย่ี ว 10 หรือ 12 ล้อ 39 20 2 61 15% รถบรรทกุ กง่ึ พ่วง (Semi-Trailer) 0 3 6 9 2% รถยนต์สว่ นบคุ คล 9 0 4 13 3% จักรยานยนต์ 32 0 0 32 8% รวม 253 74 86 413 100% (3) ระดบั ความพึงพอใจในการใชบ้ รกิ ารภายในสถานีขนส่งสินค้า ในการสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการภายในสถานีขนส่งสินค้า ท่ีปรึกษาได้เลือกใช้ เทคนิคการทดสอบเจตคตทิ ่ีเรียกว่า Semantic Differential Scale หรอื Bipolar Semantic Scale) เช่นเดียวกับท่ีใช้ในการสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มผู้เช่าใช้พื้นที่ภายในสถานีขนส่ง สินค้า โดยการสร้างแกนมาตรวัด (Scale Bar) ที่ประกอบด้วยคำคุณศัพท์ที่บรรยายลักษณะ ของเป้าหมายท่ีต้องการวัดที่ตรงข้ามกันที่ปลายทั้ง 2 ข้างของแกนมาตรวัด และแบ่ง แกนมาตรวัดเป็น 7 อันตรภาคช้ันโดยกำหนดให้ 1 แทน “ไม่พึงพอใจอย่างย่ิง” และ 7 แทน “พึงพอใจอย่างยิ่ง” ขณะที่คำตอบในตำแหน่งอันตรภาคชั้นท่ี 4 แสดงถึงความรู้สึก ทัศนคติ หรือเจตคตทิ ่เี ปน็ กลางต่อข้อคำถามน้ันๆ โดยผลการสำรวจแสดงในตารางที่ 4.2-3 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 4-4

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 4.2-3 ระดบั ความพงึ พอใจในการใช้บรกิ ารภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้า ปจั จัย ระดับความพง่ึ พอใจเฉลีย่ ของแต่ละสถานี พุทธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 1. อาคารสถานท่ีภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ คอ่ นข้างพึงพอใจ ค่อนขา้ งพึงพอใจ ปานกลาง (5.1) (5.3) (4.2) 2. การจราจรและการจดั การจราจรภายในสถานี คอ่ นขา้ งพงึ พอใจ พงึ พอใจ ปานกลาง ขนสง่ สนิ ค้า (4.7) (5.8) (4.3) 3. พ้นื ท่สี ่วนกลางของสถานขี นส่งสินคา้ ค่อนข้างพึงพอใจ คอ่ นขา้ งพึงพอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ (4.7) (4.9) (4.6) 4. การเขา้ ถงึ สถานแี ละการจราจรรอบนอกสถานี ค่อนข้างพึงพอใจ พึงพอใจ ปานกลาง ขนส่งสนิ คา้ (4.9) (5.8) (3.8) 5. ความพร้อมของพนื้ ทจ่ี อดรถ คอ่ นขา้ งพงึ พอใจ พึงพอใจ ปานกลาง (4.9) (5.7) (4.4) 6. โรงอาหารภายในสถานขี นสง่ สนิ ค้า ค่อนขา้ งพงึ พอใจ ปานกลาง ปานกลาง (4.7) (3.7) (3.8) 7. หอ้ งนำ้ สาธารณะภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ ค่อนข้างพึงพอใจ ปานกลาง ปานกลาง (4.6) (4.2) (3.9) 8. ความสะดวกในการตดิ ต่อสื่อสารและ ค่อนข้างพึงพอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ คอ่ นข้างพงึ พอใจ ประสานงาน (5.0) (5.1) (4.9) 9. ความรวดเรว็ และระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการติดตอ่ ค่อนข้างพงึ พอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ คอ่ นขา้ งพึงพอใจ และทำภารกิจภายในสถานีขนสง่ สินคา้ (5.0) (5.2) (5.0) 10. การใชง้ านระบบ GCS ท่ีตดิ ตง้ั อยใู่ นปัจจุบนั คอ่ นขา้ งพึงพอใจ ปานกลาง ปานกลาง (4.5) (4.3) (4.4) 11. ความพึงพอใจในภาพรวมของสถานีขนสง่ คอ่ นขา้ งพึงพอใจ คอ่ นข้างพงึ พอใจ สินค้า (4.8) (5.0) ปานกลาง หมายเหตุ : ระดับคะแนนระหว่าง 1 ถงึ 1.4 แทน “ไมพ่ ึงพอใจอยา่ งย่งิ ” (4.3) ระดบั คะแนนระหว่าง 1.5 ถึง 2.4 แทน “ไมพ่ ึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 2.5 ถงึ 3.4 แทน “คอ่ นข้างไม่พึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหว่าง 3.5 ถึง 4.4 แทน “ปานกลาง” ระดับคะแนนระหวา่ ง 4.5 ถงึ 5.4 แทน “ค่อนขา้ งพึงพอใจ” ระดับคะแนนระหวา่ ง 5.5 ถงึ 6.4 แทน “พงึ พอใจ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 6.5 ถึง 7 แทน “พึงพอใจอย่างยิ่ง” สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 4-5

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) จากตารางที่ 4.2-5 จะเหน็ ได้วา่ ในมุมมองของกลมุ่ พนกั งานขับรถบรรทุกและพนักงานประจำ รถบรรทุกอ่ืนๆ พบว่าให้คะแนนความพึงพอใจต่อการใช้งานสถานีขนสง่ สินค้าท้ัง 3 แห่งในระดับดี (คะแนนเกินกว่า 4.0) อย่างไรก็ดีหากเปรียบเทียบผลคะแนนระหว่าง 3 แห่ง จะพบว่าสถานี ขนส่งสินค้าร่มเกล้าได้รับคะแนนต่ำที่สุด (คะแนนความพึงพอใจในภาพรวมของสถานีขนส่ง สินค้าท่ี 4.3) โดยเมื่อพิจารณาเป็นปัจจัยจะพบว่าปัญหาหลักๆ ของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ได้แก่การจราจรและการเข้าถึงสถานีขนส่งสินค้า และการให้บริการของพื้นที่บริการสาธารณะ ไดแ้ ก่ หอ้ งนำ้ สาธารณะและโรงอาหาร โดยประเดน็ ดงั กลา่ วนี้ไม่เกนิ กว่าความคาดหมายนกั ในทางกลับกัน สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงเป็นสถานีขนส่งสินค้าที่ได้รับคะแนนประเมิน สูงสุดโดยมีระดับคะแนนของความพึงพอใจในภาพรวมของสถานีขนส่งสินค้าเท่ากับ 5.0 ซึ่งจัดว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างเป็นท่ีน่าพอใจ ซึ่งอีกเช่นกันผลคะแนนดังกล่าวน้ีเป็นไปตามการ คาดหมายเน่ืองจากปัจจุบันสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงมีการใช้งานในอัตราที่ค่อ นข้างต่ำ ประกอบกับทางเข้าออกที่ดีสามารถเชื่อมต่อทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 9 ได้โดยตรง ทำให้ไม่พบปัญหาการจราจรทั้งภายในและโดยรอบสถานีขนส่งสินค้า นอกจากน้ีสภาพถนน หนทางภายในสถานีขนส่งสินค้ายังอยใู่ นเกณฑ์ดี และด้วยความที่สถานีขนส่งสนิ ค้า มีกิจกรรม ไม่มากนัก จึงเป็นเรื่องปกติท่ีจะได้คะแนนความสะดวกในการติดต่อส่ือสารและประสานงาน และความรวดเร็วและระยะเวลาท่ีใช้ในการติดต่อและทำภารกิจภายในสถานี ขนส่งสินค้า ในระดบั ที่ดีเชน่ กนั ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล จะเห็นได้ว่าเป็นสถานีขนส่งสินค้าท่ีมีค่าคะแนน ความพึงพอใจในระดับที่ดีในทุกปัจจัย และมีค่าคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยในภาพรวมของ สถานีขนสง่ สนิ คา้ เทา่ กบั 4.8 (4) ประเด็นเสนอแนะอนื่ ๆ นอกจากการสำรวจเจตคติโดยแบบสอบถามแล้ว ที่ปรึกษายังได้สัมภาษณ์เชิงคุณภาพถึง ประเด็นหรือข้อคิดเห็นอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วกับการพัฒนาสถานีขนส่งสนิ คา้ ท้ัง 3 แห่ง ใหด้ ียิ่งขนึ้ กว่าท่ี เปน็ อยใู่ นปจั จุบัน โดยสามารถสรปุ ประเด็นหลกั ๆ ท่ีมีการกลา่ วถงึ ได้ดงั น้ี • สถานขี นส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล - เน่ืองจากไม่ใช่ผู้ที่อยู่หรือใช้ชีวิตอยู่ภายในสถานีขนส่งสินค้าตลอดเวลา ส่วนใหญ่จึง มองว่าไม่มีความต้องการในการปรับปรุงเพ่ิมเติมส่ิงอำนวยความสะดวกที่มีอยู่ใน ปัจจุบันมากนกั - พบปัญหาการจอดรถและพ้ืนท่ีจอดรถบ้าง โดยเฉพาะบริเวณอาคารชานชาลา อเนกประสงค์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 4-6

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) - มีความต้องการให้ปรับปรุงและจัดการปัญหาการจราจรบริเวณทางเข้าออกสถานีในช่วง ชว่ั โมงเรง่ ดว่ น - มีข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงหอ้ งนำ้ สาธารณะให้อย่ใู นสภาพดี • สถานีขนสง่ สนิ คา้ คลองหลวง - เนื่องจากสถานีมีการใช้งานไม่มากนัก จึงมองว่าภาพรวมของสถานีอยู่ในระดับที่ดี ไม่มี ประเด็นใดท่จี ำเป็นจะตอ้ งพฒั นาหรือปรบั ปรุงก่อสร้างเพ่ิมเติมเรง่ ดว่ นเปน็ กรณีพเิ ศษ - การจราจรโดยรอบและการเขา้ ออกสถานีมีความสะดวกสบาย - อย่างไรก็ดีมีความเห็นว่าตัวสถานีต้ังอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครค่อนข้างมากและ ใช้เวลานานในการเดนิ ทางมายงั สถานี (จากชุมชนเมืองของกรุงเทพมหานคร) • สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า - สภาพทางเข้าออกท่ีชำรุดทรุดโทรมและการจราจรติดขัดโดยรอบสถานีเป็นปัญหา สำคัญของสถานีแหง่ น้ี - การออกจากสถานเี พื่อเขา้ สูเ่ สน้ ทางมอเตอรเ์ วย์ขาออกทำได้ยาก - สถาพถนนภายในสถานคี อ่ นข้างแย่ - ควรปรับปรงุ ห้องนำ้ สาธารณะใหอ้ ยู่ในสภาพดี - จะเห็นได้วา่ ประเดน็ ส่วนใหญ่เกีย่ วขอ้ งกับการจราจรและคุณภาพผิวทางเป็นหลกั 4.3 ขอ้ คิดเห็นและความพึงพอใจต่อสถานีขนสง่ สินคา้ ของกลุ่มผมู้ าติดตอ่ ในส่วนนี้เป็นผลการสำรวจข้อคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจของกลุ่มผู้มาติดต่อ โดยกลุ่ม ตัวอย่างในที่น้ีหมายรวมถึง กลุ่มของผู้มาติดต่อที่เป็นระดับพนักงานและเจ้าหน้าท่ีทั่วไป กลุ่มของผู้มา ติดต่อที่เป็นระดับหัวหน้างานและผู้ควบคุมงาน และกลุ่มของผู้มาติดต่อที่เป็นระดับเจ้าของกิจการ และผู้บริหาร ของบริษัทหรือกิจการที่ตั้งอยู่ภายนอกสถานีขนส่งสินค้า แต่ทั้งนี้ไม่รวมกลุ่มท่ีมา ติดต่อเพื่อดำเนินกิจกรรมการตรวจสภาพรถ (ตรอ.) ท่มี ีอยู่ในสถานีขนส่งสินคา้ ทง้ั 3 แห่ง และการ ติดตอ่ ราชการท่สี ำนกั งานขนส่งจงั หวดั ปทมุ ธานี สาขาอำเภอคลองหลวง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 4-7

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 4.3-1 ประเภทของยานพาหนะท่ีใช้ในการเดนิ ทางเพอ่ื มารบั สง่ สินคา้ ประเภทกลุ่มผู้มาตดิ ตอ่ จำนวนตวั อยา่ งในแต่ละสถานขี นส่งสนิ คา้ สัดสว่ น พทุ ธมณฑล คลองหลวง รม่ เกล้า รวม ผมู้ าตดิ ตอ่ ทเี่ ป็นพนักงานและเจ้าหน้าท่ี 113 31 42 186 70% ท่วั ไปของบริษัท มาติดตอ่ ที่เปน็ ระดับหวั หน้างานและ 37 10 13 60 22% ผคู้ วบคมุ งานในบริษัท มาติดตอ่ ทเี่ ปน็ ระดบั เจา้ ของกจิ การและ 15 2 4 21 8% ผู้บริหารของบรษิ ัท รวม 165 43 59 267 100% ท่ีปรึกษาได้คัดเลือกเฉพาะข้อมูลจากกลุ่มผู้มาติดต่อจากตารางท่ี 4.1-2 มาจำแนกในรายละเอียด ดงั แสดงในตารางที่ 4.3-1 โดยจะเห็นได้ว่าประมาณร้อยละ 70 ของบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาติดต่อ งานหรือทำธุรกรรมภายในสถานีขนส่งสินค้าเป็นกลุ่มของพนักงานและเจ้าหน้าท่ีจากบริษัท ภายนอกซึ่งสอดคล้องกับสิ่งท่ีคาดการณ์ไว้ก่อนการสำรวจ ซ่ึงกลุ่มพนักงานและเจ้าหน้าที่ท่ัวไปน้ี คาดว่าจะมีมุมมองไปในเรื่องของความสะดวกสบาย เช่น การจราจรติดขัด ความยากง่ายการหา ที่จอดรถ และคุณภาพของส่ิงอำนวยความสะดวกที่เป็นสาธารณะ เช่น ห้องน้ำสาธารณะ และ โรงอาหาร มากกวา่ มุมมองในทางธรุ กจิ หรอื ตน้ ทนุ ค่าใชจ้ า่ ย (1) ระดับความพึงพอใจในการใช้บริการภายในสถานขี นสง่ สินคา้ เช่นเดียวกับการสำรวจกลุ่มพนักงานขับรถ ในการสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการภายใน สถานีขนส่งสินค้า ที่ปรึกษาได้เลือกใช้เทคนิคการทดสอบเจตคติที่เรียกว่า Semantic Differential Scale (หรือ Bipolar Semantic Scale) เช่นเดียวกับที่ใช้ในการสำรวจความคิดเห็น ของกลุ่มผู้เช่าใช้พ้ืนท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้า โดยการสร้างแกนมาตรวัด (Scale Bar) ที่ ประกอบด้วยคำคุณศัพท์ที่บรรยายลักษณะของเป้าหมายที่ต้องการวัดที่ตรงข้ามกันที่ปลาย ทัง้ 2 ข้างของแกนมาตรวัด และแบ่งแกนมาตรวัดเป็น 7 อันตรภาคชนั้ โดยกำหนดให้ 1 แทน “ไม่พึงพอใจอย่างย่ิง” และ 7 แทน “พึงพอใจอย่างยิ่ง” ขณะที่คำตอบในตำแหน่งอันตรภาค ชั้นที่ 4 แสดงถึงความรู้สึก ทัศนคติ หรือ เจตคติท่ีเป็นกลางต่อข้อคำถามน้ันๆ โดยผลการ สำรวจแสดงในตารางที่ 4.3-2 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 4-8

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 4.3-2 ระดับความพึงพอใจในการใชบ้ รกิ ารภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า ปัจจยั ระดบั ความพง่ึ พอใจเฉลย่ี ของแต่ละสถานี พทุ ธมณฑล คลองหลวง ร่มเกล้า 1. อาคารสถานที่ภายในสถานีขนส่งสินคา้ ค่อนขา้ งพึงพอใจ พงึ พอใจ ปานกลาง (5.3) (5.5) (4.1) 2. การจราจรและการจดั การจราจรภายในสถานี ค่อนข้างพงึ พอใจ พึงพอใจ ปานกลาง ขนสง่ สินคา้ (4.6) (5.6) (4.4) 3. พนื้ ทส่ี ่วนกลางของสถานขี นส่งสินคา้ ค่อนข้างพึงพอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ ค่อนข้างพึงพอใจ (4.8) (5.0) (4.5) 4. การเขา้ ถึงสถานขี นส่งสินคา้ และการจราจร ค่อนขา้ งพึงพอใจ พึงพอใจ ปานกลาง รอบนอกสถานขี นส่งสินค้า (4.8) (5.6) (3.9) 5. ความพรอ้ มของพื้นที่จอดรถ ค่อนขา้ งพงึ พอใจ พึงพอใจ ปานกลาง (5.0) (5.9) (4.3) 6. โรงอาหารภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า คอ่ นข้างพงึ พอใจ ปานกลาง ปานกลาง (4.6) (3.6) (3.9) 7. หอ้ งนำ้ สาธารณะภายในสถานขี นสง่ สินคา้ คอ่ นข้างพงึ พอใจ ปานกลาง ปานกลาง (4.7) (4.3) (3.8) 8. ความสะดวกในการติดตอ่ ส่อื สารและประสานงาน ค่อนข้างพงึ พอใจ คอ่ นขา้ งพงึ พอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ (4.9) (4.9) (5.0) 9. ความรวดเรว็ และระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการติดตอ่ และ คอ่ นข้างพึงพอใจ คอ่ นขา้ งพึงพอใจ ค่อนขา้ งพึงพอใจ ทำภารกจิ ภายในสถานีขนส่งสินคา้ (5.2) (5.4) (4.9) 10. ความพึงพอใจในภาพรวมของสถานีขนส่งสินคา้ ค่อนข้างพึงพอใจ ค่อนข้างพงึ พอใจ ปานกลาง (4.9) (5.1) (4.3) หมายเหตุ : ระดบั คะแนนระหวา่ ง 1 ถึง 1.4 แทน “ไมพ่ งึ พอใจอย่างยิ่ง” ระดับคะแนนระหวา่ ง 1.5 ถงึ 2.4 แทน “ไม่พงึ พอใจ” ระดับคะแนนระหว่าง 2.5 ถึง 3.4 แทน “คอ่ นขา้ งไม่พึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหว่าง 3.5 ถงึ 4.4 แทน “ปานกลาง” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 4.5 ถึง 5.4 แทน “ค่อนขา้ งพึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหว่าง 5.5 ถงึ 6.4 แทน “พึงพอใจ” ระดบั คะแนนระหวา่ ง 6.5 ถงึ 7 แทน “พึงพอใจอย่างย่งิ ” จากตารางที่ 4.3-2 จะเห็นได้ว่าในมมุ มองของกลุ่มผู้มาติดต่อน้นั มีคา่ คะแนนความพงึ พอใจใน ภาพรวมของสถานีขนส่งสินค้า ในทิศทางใกล้เคียงกับกลุ่มพนักงานขับรถ โดยสถานีขนส่ง สินค้าคลองหลวงมีคะแนนความพึงพอใจสูงสุด รองมาเป็นสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล และ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าตามลำดับ นอกจากนี้ยังจะเห็นได้ว่าคะแนนมีทิศทางไปในลักษณะ เดียวกันโดยปัจจัยที่เป็นจุดเด่นและได้คะแนนสูงในกลุ่มพนักงานขับรถยังคงมีเป็นจุดที่ ได้คะแนนสูงจากกลุ่มผู้มาติดต่อเช่นเดียวกัน ด้วยผลการสำรวจดังกล่าวน้ี แม้ว่าจำนวน ตัวอย่างอาจไม่มากนักในบางสถานีขนส่งสินค้า แต่ด้วยข้อมูลมีทิศทางชัดเจนและสอดคล้อง กันกับกลุ่มตัวอย่างอีกกลุ่มซ่ึงมีความแตกต่างในด้านคุณลักษณะอย่างชัดเจน จึงถือว่าผล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 4-9

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) สำรวจมีน้ำหนักและมีความน่าเช่ือถือในระดับที่ดีเพียงพอต่อการนำไปใช้ในการวิเคราะห์และ จัดทำแผนในขั้นตอนต่อไปของการศึกษาได้ (2) ประเดน็ เสนอแนะอ่ืนๆ นอกจากการสำรวจเจตคติโดยแบบสอบถามแล้ว ท่ีปรกึ ษายังได้สมั ภาษณ์เชิงคุณภาพถึงประเด็น หรือข้อคิดเห็นอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวกับการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ ในปจั จบุ นั โดยสามารถสรุปประเด็นหลักๆ ทม่ี กี ารกล่าวถงึ ได้ดังน้ี • สถานขี นสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล - ทำเลท่ตี ัง้ ถือว่าสะดวก ใกล้แหลง่ กจิ กรรมเกี่ยวเน่ือง - เนื่องจากไม่ใช่ผู้ที่อยู่หรือใช้ชีวิตอยู่ภายในสถานีขนส่งสินค้าตลอดเวลา ส่วนใหญ่ จึงมองว่าไม่มีความต้องการในการปรับปรุงเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีอยู่ ในปจั จบุ ันมากนัก - มีขอ้ เสนอแนะให้ปรับปรงุ ห้องนำ้ สาธารณะให้อยู่ในสภาพดี • สถานีขนสง่ สนิ คา้ คลองหลวง - ประเด็นมคี วามคล้ายคลงึ กบั กรณีของกลุ่มผขู้ ับรถบรรทุก - เนื่องจากสถานีมีการใช้งานไม่มากนัก จึงมองว่าภาพรวมของสถานีอยู่ในระดับที่ดี ไม่มีประเด็นใดท่ีจำเป็นจะต้องพัฒนาหรือปรับปรุงก่อสร้างเพิ่มเติมเร่งด่วนเป็นกรณี พิเศษ - การจราจรโดยรอบและการเข้าออกสถานีมคี วามสะดวกสบาย - อย่างไรก็ดีมีความเห็นว่าตัวสถานีต้ังอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครค่อนข้างมากและ ใชเ้ วลานานในการเดนิ ทางมายงั สถานี (จากชุมชนเมอื งของกรงุ เทพมหานคร) - โรงอาหารไมม่ สี ินค้าและบรกิ ารเพยี งพอ • สถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า - ประเดน็ มีความคลา้ ยคลึงกับกรณขี องกลุ่มผู้ขับรถบรรทุก - สภาพทางเข้าออกท่ีชำรุดทรุดโทรมและการจราจรติดขัดโดยรอบสถานีเป็นปัญหา สำคญั ของสถานแี หง่ น้ี - การออกจากสถานเี พอ่ื เข้าสู่เสน้ ทางมอเตอรเ์ วย์ขาออกทำได้ยาก - ควรปรบั ปรุงห้องน้ำสาธารณะใหอ้ ย่ใู นสภาพดี - จะเห็นได้ว่าประเดน็ ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการจราจรและคุณภาพผวิ ทางเปน็ หลัก สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 4-10

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 4.4 สรปุ ผลการศกึ ษา การศึกษาและวิเคราะห์งานส่วนน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการสำรวจข้อคิดเห็นและประเมินความ พึงพอใจของกลุ่มผู้มาติดต่องานท่ีสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ท้ัง 3 แห่ง เพื่อนำข้อมูลท่ีได้ไปประกอบแนวทางการปรับปรุงพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในลำดับ โดยการสำรวจแบ่งกลุ่มเป้าหมายเปน็ 2 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ กลมุ่ คนขับรถบรรทกุ และ กลุ่มผู้มาติดตอ่ อน่ื ๆ ในภาพรวมพบว่ากลุ่มผู้มาติดต่อสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 2 กลุ่มให้คะแนนควมพึ่งพอใจในทิศทาง ท่ีคล้ายคลึงกัน โดยสำหรับสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลพบว่าในภาพรวมได้คะแนนในระดับ ปานกลางค่อนดีในทุกรายการคำถาม โดยเฉพาะเรื่องสภาพโดยรวมของอาคารสถานท่ี สำหรับ ประเด็นอื่นๆ ที่พบเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์และคำถามปลายเปิดของแบบสอบถามได้แก่การ ปรับปรุงห้องน้ำสาธารณะและการจัดการจราจรบรเิ วณทางเข้าออกในช่วงชั่วโมงเร่งด่วนของสถานี ซึ่งจะประสบปัญหาการจราจรติดขัดบ้าง ขณะที่ในกรณีของสถานีคลองหลวงเน่ืองจากมีกิจกรรม การขนส่งไม่มากนัก ประกอบกับเป็นสถานีท่ีมีพ้ืนท่ีกว้างและมีการจัดการทางเข้าออกสถานี ท่ีเหมาะสม จึงไม่พบประเด็นปัญหาใดๆ ดังจะเห็นได้จากการให้คะแนนเร่ืองทางเข้าออกและ การจัดการจราจรรวมถึงท่ีจอดรถท่ีอยู่ในระดับดีท่ีสุดเม่ือเทียบกับสถานีขนส่งสินค้าอีก 2 แห่ง ในทางกลับกันสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นสถานีท่ีได้คะแนนรวมต่ำท่ีสุดใน 3 สถานี โดยปัญหา สำคัญได้แก่ปัญหาผิวจราจร การจัดการจราจร และท่ีจอดรถ ทั้งนี้โดยสรุปพบว่ากลุ่มผู้มาติดต่องาน ภายในสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งยังคงมีความพึ่งพอใจต่อสถานีในระดับที่ค่อนข้างดีและ ข้อเสนอแนะต่างๆ ก็มีความสอดคล้องกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้ท่ีเช่าพื้นท่ีและ มกี จิ การภายในสถานีขนสง่ สินค้าเช่นกัน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 4-11

บทท่ี 5 การตรวจสอบเชงิ กายภาพและวศิ วกรรม ของสถานีขนส่งสนิ คา้

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) บทที่ 5 การตรวจสอบเชิงกายภาพและวศิ วกรรม ของสถานีขนสง่ สินค้า ในบทนเ้ี ป็นผลการสำรวจตรวจสอบเชิงกายภาพและวศิ วกรรมของอาคารและสาธาณูปโภคท้งั หมด ที่มีภายในสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่ง โดยวิธีการพินิจ (Visual Inspection) ท่ีมีการดำเนนิ การในไปในชว่ งระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถงึ เมษายน 2564 ขอบเขตของการสำรวจจะครอบคลุมใน 3 หวั ขอ้ หลัก ไดแ้ ก่ (1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงและความชำรุดทรุดโทรมของอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ซงึ่ รวมถงึ งานถนนและผวิ จราจร (2) การตรวจสอบสภาพการใช้งานและการดัดแปลงต่อเติมอาคารสิ่งปลูกสร้างของผู้เข้าใช้พื้นท่ี และ (3) การตรวจสอบส่ิงอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคส่วนกลาง อาทิ ระบบไฟฟ้า ระบบนำ้ ประปา ระบบระบายน้ำ และเครอ่ื งช่งั น้ำหนักรถบรรทกุ เปน็ ตน้ โดยแนวทางการตรวจสอบและหลักเกณฑ์การประเมินอ้างอิงและปรับปรุงจากพระราชบัญญัติ ควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 และเกณฑ์การตรวจสอบอาคาร 9 ประเภท ฉบบั ปรับปรุง (พ.ศ. 2558) เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ของกรมการขนส่งทางบกมากย่ิงขึ้น โดยแนวทางการดำเนนิ การมรี ายละเอยี ดดังน้ี 5.1 การตรวจสอบความมนั่ คงแข็งแรงและความชำรดุ ทรุดโทรมของอาคารและสงิ่ ปลูกสรา้ ง องค์ประกอบของสถานีขนส่งสินค้าในเชิงกายภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ งานอาคาร และส่ิงปลูกสร้าง และงานส่ิงอำนวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคอ่ืนๆ โดยในหัวข้อนี้ จะมุ่งเน้นที่การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงและความชำรุดทรุดโทรมเฉพาะในส่วนของอาคารและ สิ่งปลกู สรา้ ง โดยจำแนกได้ทง้ั ส้ิน 6 รายการอาคาร และ 2 รายการถนน ไดแ้ ก่ • รายการอาคาร - อาคารชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ - อาคารชานชาลาอเนกประสงค์ (เฉพาะสถานีขนส่งสินคา้ พุทธมณฑล) - อาคารคลังสินค้า - อาคารบริหาร - อาคารทพ่ี กั และพื้นทจ่ี ำหน่ายอาหาร - หอ้ งน้ำสาธารณะ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-1

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • รายการถนน - ถนนภายในโครงการ - ทางยกระดบั เขา้ -ออกสถานขี นสง่ สนิ ค้า โดยในการตรวจสอบจะแบ่งเป็น 3 ส่วนงานหลกั ได้แก่ การตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธา การ ตรวจสอบทางด้านสถาปัตยกรรม และการตรวจสอบงานระบบและงานอนื่ ๆ โดยมรี ายละเอยี ดของ รายการตรวจสอบ (Checklist) สรุปได้ดงั น้ี 5.1.1 การตรวจสอบทางดา้ นวศิ วกรรมโยธา: ส่วนงานอาคาร สำหรับการตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธาในส่วนของอาคาร จะประกอบด้วยการตรวจสอบ ความม่ันคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารและส่วนเก่ียวเน่ืองเป็นหลัก โดยที่ปรึกษาได้แบ่งระดับ ของการประเมินไวเ้ ป็น 7 ระดับ ได้แก่ • ระดับ A อาคารอยใู่ นสภาพสมบูรณเ์ ช่นเดยี วกบั อาคารท่กี ารก่อสรา้ งใหม่ • ระดับ B สภาพผ่านการใช้งานมาแล้วระยะหน่ึง แต่อาคารยังคงมีสภาพสมบูรณ์คงทน สามารถรองรบั การใชง้ านได้อย่างปลอดภัย • ระดับ C พบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะเวลาหน่ึง แต่ยังคงมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการใช้งานได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน อาคารแต่อย่างใด • ระดับ D พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะเวลาหน่ึง แต่ยังคงมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการใช้งานได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน อาคารแต่อาจกระทบต่อการใช้งานอาคารในบางกรณี ซ่ึงอาจพิจารณาซ่อมบำรุงเพื่อลด ผลกระทบตอ่ การใชง้ านอาคารหากมงี บประมาณ • ระดับ E พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะ เวลานาน และพิจารณาแล้วว่ามีความเส่ียงที่จะเกิดความเสียหายในระดับที่ก่อให้เกิด อันตรายต่อผู้ใช้งานอาคารได้ในระยะ 5 ปีในอนาคต ซึ่งควรมีการตรวจติดตามอย่าง ตอ่ เนื่อง และควรมกี ารจัดเตรยี มแผนงานซ่อมบำรุงภายในระยะ 5 ปี • ระดับ F พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะ เวลานาน และพิจารณาแล้วว่ามีความเส่ียงที่จะเกิดความเสียหายในระดับที่ก่อให้เกิด อันตรายต่อผูใ้ ช้งานอาคารได้ในอนาคตอนั ใกล้ และควรดำเนินการซอ่ มบำรงุ โดยเรว็ • ระดับ FF พบความชำรุดเสียหายระดับวกิ ฤตหรือเส่ือมสภาพจากการใชง้ านอาคารมาเป็น ระยะเวลานานและพิจารณาแล้วว่ามีโอกาสเกิดความเสียหายและก่อให้เกิดอันตราย ต่อผู้ใช้งานอาคารได้ทุกเม่ือ โดยควรให้ระงับการใช้งานอาคารในพ้ืนที่ดังกล่าว และควร ดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ โดยทันที สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-2

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) สำหรับรายการตรวจสอบ (Checklist) งานตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธาส่วนงานอาคาร แสดงในตารางที่ 5.1-1 ตารางที่ 5.1-1 รายการตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธาสว่ นงานอาคาร ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ 1 งานฐานราก 1.1 การทรุดตัว การทรดุ ตวั ของอาคาร การทรดุ ตัวของช้ันดินรอบอาคาร 2 งานโครงสร้าง 2.1 เสา ความแขง็ แรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว 2.2 คาน ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว 2.3 พ้ืน ความแข็งแรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว การรั่วซมึ (กรณหี ้องนำ้ ) 2.4 ผนงั ความแข็งแรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว การรั่วซมึ (กรณีหอ้ งนำ้ และ ผนงั ภายนอกอาคาร) 2.5 บนั ได ความแข็งแรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว 2.6 ชอ่ งลิฟท์ ความแข็งแรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว 3 งานหลงั คา 3.1 โครงหลังคาเหลก็ ความชำรดุ เสียหายของโครงสรา้ ง สภาพผวิ เหล็ก การผกุ รอ่ น การเกดิ สนิม สภาพสีทากนั สนมิ และสีทาพน้ื ผิว 3.2 วัสดุมงุ หลังคา การแตกร้าว (กรณกี ระเบอ้ื ง) การผุกร่อนและสเี คลือบ (กรณหี ลงั คาเหล็กรดี Metal Sheet) การร่ัวซึม 3.3 ฉนวนกันความร้อน การชำรดุ เสยี หายจากการเสอื่ มสภาพ การชำรุดเสียหายจากการฉกี ขาด 3.4 ดาดฟา้ ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว สภาพของสีทาและวสั ดกุ ันซึม การรวั่ ซมึ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-3

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.1.2 การตรวจสอบทางด้านวศิ วกรรมโยธา: ส่วนงานถนน สำหรบั การตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธาในส่วนของถนน จะประกอบด้วยการตรวจสอบความ ม่ันคงแข็งแรงของผิวจราจรและโครงสร้างเกี่ยวเนื่องได้แก่โครงสร้างทางยกระดับเข้า -ออกสถานี ขนส่งสินค้า และรวมถึงมาตรฐานทางด้านวิศวกรรมจราจร เช่น ระบบป้ายและเครอื่ งหมายจราจร บนผวิ ทางเป็นต้น โดยท่ีปรกึ ษาได้แบ่งระดับของการประเมินไว้เป็น 7 ระดับ (ในลักษณะคล้ายคลึง กบั กรณขี องส่วนงานอาคาร) ไดแ้ ก่ • ระดับ A ผิวจราจรอยใู่ นสภาพสมบรู ณเ์ ช่นเดียวกบั ถนนทีก่ ารก่อสร้างใหม่ • ระดับ B สภาพผ่านการใช้งานมาแล้วระยะหน่ึง แต่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์คงทน สามารถ รองรบั การสญั จรไปมาไดอ้ ยา่ งปลอดภัย • ระดับ C พบความชำรุดเสียหายหรือผิวจราจรเสื่อมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลา หน่ึง แต่ยังคงมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรองรับการสัญจรไปมาได้โดยไม่ก่อให้เกิด อนั ตรายตอ่ ผู้ใชท้ างแตอ่ ย่างใด • ระดับ D พบความชำรุดเสียหายหรือผิวจราจรเส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลา หน่ึง แต่ยังคงมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรองรับการสัญจรไปมาได้โดยไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อผู้ใช้ทาง แต่อาจกระทบต่อการสัญจรในบางกรณี ซ่ึงอาจพิจารณาซ่อมบำรุง เพ่อื ลดผลกระทบดังกล่าวหากมงี บประมาณ • ระดับ E พบความชำรุดเสียหายหรือผิวจราจรเส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะ เวลานาน และพิจารณาแล้วว่ามีความเสี่ยงท่ีจะเกิดความเสียหายในระดับที่ก่อให้เกิด อนั ตรายตอ่ ผู้ใช้ทางได้ภายในระยะ 3 ปีในอนาคต ซึ่งควรมีการตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง และควรมกี ารจดั เตรียมแผนงานซ่อมบำรุงภายในระยะ 3 ปี • ระดับ F พบความชำรุดเสียหายหรือผิวจราจรเสื่อมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะ เวลานาน และพิจารณาแล้วว่ามีความเส่ียงท่ีจะเกิดความเสียหายในระดับท่ีก่อให้เกิด อันตรายต่อผ้ใู ชท้ างไดใ้ นอนาคตอันใกล้ และควรดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ โดยเรว็ • ระดับ FF พบความชำรุดเสียหายระดับวิกฤตหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานถนนมาเป็น ระยะเวลานานและพิจารณาแล้วว่ามีโอกาสเกิดความเสียหายและก่อให้เกิดอันตรายต่อ ผู้ใช้ทางได้ทุกเมื่อ โดยควรให้ระงับการสัญจรในบริเวณดังกล่าว และควรดำเนินการซ่อมบำรุง โดยทันที สำหรับรายการตรวจสอบ (Checklist) งานตรวจสอบทางด้านวิศวกรรมโยธาส่วนงานถนน แสดงใน ตารางที่ 5.1-2 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-4

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.1-2 รายการตรวจสอบทางดา้ นวิศวกรรมโยธาส่วนงานถนน ลำดับ รายการงาน รายการตรวจสอบ 1 งานถนน 1.1 ถนนและผวิ จราจร ความชำรุดเสียหายของผวิ จราจร ในลักษณะ Structural Failure ความชำรุดเสยี หายของผิวจราจร ในลกั ษณะ Functional Failure คุณภาพผิวจราจร ระดบั ผวิ จราจรและการระบายน้ำ 1.2 ปา้ ยนำทางและปา้ ยเครอื่ งหมายจราจร สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ตัง้ ใช้งานได้ตามปกติ 1.3 การขดี สตี ีเสน้ และเคร่อื งหมายจราจรบน สภาพและความชัดเจนของสีและเครื่องหมาย ผวิ ทาง การกำหนดเสน้ ทางจราจร 2 ทางยกระดับเข้า-ออกสถานขี นสง่ สินค้า 2.1 ฐานราก การทรุดตัว 2.2 เสา ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว 2.3 คาน ความแข็งแรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว ความสมบรู ณข์ องรอยตอ่ ระหวา่ งคานและเสา 2.4 ผนังกนั ตก ความแขง็ แรง การยดึ ติดกับโครงสร้างหลัก รอยแตกร้าว และความเสยี หาย 2.5 ผิวจราจร คณุ ภาพผวิ จราจร 2.6 การระบายน้ำบนทางยกระดับ การระบายนำ้ และชอ่ งระบายน้ำ 2.7 การขดี สตี ีเสน้ และเครอ่ื งหมายจราจร สภาพและความชัดเจนของสีและเครอ่ื งหมาย บนผวิ ทาง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-5

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.1.3 การตรวจสอบทางดา้ นสถาปัตยกรรม สำหรับการตรวจสอบทางด้านสถาปัตยกรรม จะประกอบด้วยการตรวจสอบทั้งในส่วนของความ ม่ันคงแข็งแรงของวัสดุอุปกรณ์ในงานสถาปัตยกรรมและความสวยงามและทัศน์ของอาคาร โดยที่ ปรึกษาได้แบ่งระดับของการประเมินไว้เป็น 6 ระดับ (ซ่ึงจะมีรายละเอียดแตกต่างจากกรณีของงาน ตรวจสอบทางดา้ นวิศวกรรมโยธาบางสว่ น) โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี • ระดบั A อาคารอยู่ในสภาพสมบรู ณ์เชน่ เดียวกบั อาคารทีก่ ารก่อสร้างใหม่ • ระดับ B สภาพผ่านการใช้งานมาแล้วระยะหนึ่ง แต่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ สวยงาม และ สามารถรองรบั การใช้งานได้อย่างปลอดภยั • ระดับ C พบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง ซง่ึ มีผลต่อให้ความสวยงามของอาคารลดลง แต่ยังคงมีความแข็งแรงเพยี งพอต่อการใช้งาน ได้โดยไม่กอ่ ใหเ้ กิดอันตรายต่อผูใ้ ช้งานอาคารแต่อย่างใด และไมก่ ระทบต่อการใช้งานอาคาร • ระดับ D พบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง ซ่ึงมีผลต่อความสวยงามของอาคารอย่างชัดเจน เริ่มกระทบต่อการใช้งานอาคารในบางกรณี หรือพิจารณาแล้วว่ามีความเส่ียงที่จะเกิดความเสียหายในระดับท่ีก่อให้เกิดอันตรายต่อ ผู้ใช้งานอาคารได้ในระยะ 5 ปีในอนาคต จึงอาจพิจารณาซ่อมบำรุงเพื่อลดผลกระทบต่อ การใชง้ านอาคารหากมงี บประมาณ • ระดับ E พบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะ เวลานาน ซ่ึงมีผลต่อความสวยงามของอาคารอย่างชัดเจน กระทบต่อการใช้งานอาคาร หรือพิจารณาแล้วว่ามีความเส่ียงที่จะเกิดความเสียหายในระดับที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ ผใู้ ช้งานอาคารได้ในอนาคตอนั ใกล้ และควรดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ โดยเร็ว • ระดับ F พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานอาคารมาเป็นระยะเวลานาน ซงึ่ มีผลต่อความสวยงามของอาคารอยา่ งชัดเจน กระทบตอ่ การใช้งานอาคาร หรือพิจารณาแล้ว ว่ามีโอกาสเกิดความเสียหายและก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานอาคารได้ทุกเมื่อ โดยควรให้ ระงบั การใชง้ านอาคารในพ้ืนที่ดังกลา่ ว และควรดำเนนิ การซอ่ มบำรุงโดยทันที สำหรับรายการตรวจสอบ (Checklist) งานตรวจสอบทางด้านสถาปัตยกรรมอาคาร แสดงใน ตารางที่ 5.1-3 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-6

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.1-3 รายการตรวจสอบทางดา้ นสถาปัตยกรรมส่วนงานอาคาร ลำดับ รายการงาน รายการตรวจสอบ 1 งานสถาปตั ยกรรม 1.1 ฝ้าเพดาน ความแข็งแรงของโครงฝา้ สภาพผวิ สี และความเรียบรอ้ ย การชำรุดเสยี หายที่เกดิ ข้ึน 1.2 ผนงั ภายในอาคาร ความแขง็ แรง รอยแตกรา้ ว สภาพผิว และสภาพสที างผนงั การชำรดุ เสยี หายที่เกิดขึ้น 1.3 ผนังภายนอกอาคาร ความแขง็ แรง รอยแตกรา้ ว สภาพผิว และสภาพสีทางผนัง การชำรดุ เสยี หายทีเ่ กิดข้ึน 1.4 พน้ื และวสั ดุปพู ืน้ ความแขง็ แรง รอยแตกรา้ ว สภาพผิวและวสั ดปุ พู ้ืน การชำรุดเสียหายที่เกิดขนึ้ 1.5 ประตู ความแข็งแรง การใช้งานของประตู บานพับ ลูกบิด และอปุ กรณ์ เก่ียวเนือ่ ง สภาพผิวและสี ความชำรดุ เสียหายทีเ่ กิดขนั้ 1.6 หนา้ ตา่ ง ความแข็งแรง การใชง้ านของประตู บานพบั ลูกบิด และอุปกรณ์ เกยี่ วเนอื่ ง สภาพผวิ และสี ความชำรดุ เสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ั 1.7 หอ้ งน้ำ การใชง้ านของสุขภัณฑ์ กอ๊ กนำ้ สายฉดี ชำระ และอื่นๆ สภาพกระเบื้องปพู น้ื และผนัง สภาพประตู ฉากกั้นหอ้ งน้ำ รวมถงึ บานพับ ประตู ลูกบดิ และอ่นื ๆ ระบบระบายอากาศ ปัญหาน้ำขัง ปัญหาน้ำรั่วซมึ 1.8 สงิ่ อำนวยความสะดวกคนพิการ หอ้ งน้ำคนพกิ าร ทางลาด สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-7

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.1.4 การตรวจสอบงานระบบและงานอ่ืนๆ สำหรับการตรวจสอบงานระบบและงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวเนื่อง ประกอบด้วยการตรวจสอบท้ังในส่วน ของการใช้งาน ความม่ันคงแข็งแรง และความปลอดภัยของระบบต่างๆ โดยที่ปรึกษาได้แบ่งระดับ ของการประเมนิ ไวเ้ ปน็ 6 ระดับ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ • ระดับ A ระบบอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับระบบ และอุปกรณท์ มี่ กี ารติดตง้ั ใหม่ • ระดบั B ระบบผ่านการใช้งานมาแล้วระยะหนึ่ง แต่ยังคงมีสภาพสมบรู ณ์พร้อมใช้งาน และ สามารถรองรบั การใช้งานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั • ระดับ C เริ่มพบความชำรุดเสียหายหรือเสื่อมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลาหน่ึง มีผลต่อให้ความสวยงามของอุปกรณ์ลดลง แต่ยังคงสามารถใช้งานได้ตามปกติ และไม่ กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อผู้ใช้งานอาคารแต่อยา่ งใด • ระดบั D พบความชำรุดเสยี หายหรอื เส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเปน็ ระยะเวลาหนึ่งอย่าง ชัดเจน อุปกรณ์มีสภาพเก่า พบปัญหาจากการใช้งานในบางกรณี หรือพิจารณาแล้วว่ามี ความเส่ียงที่จะเกิดการชำรุดเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ภายในระยะ 5 ปีในอนาคต จึงอาจพิจารณาซ่อมบำรงุ เพือ่ ลดผลกระทบต่อการใช้งานอาคารหากมีงบประมาณ • ระดับ E พบความชำรุดเสียหายหรือเส่ือมสภาพจากการใช้งานมาเป็นระยะเวลานานจน ระบบและอุปกรณ์ไม่สามารถใช้งานได้ แต่ไม่กระทบต่อการใช้งานอาคารมากนัก และ พจิ ารณาแล้วว่ามคี วามเสี่ยงที่จะเกดิ ความเสียหายจนก่อให้เกิดอนั ตรายต่อผูใ้ ช้งานอาคาร ไดใ้ นระดบั ตำ่ อย่างไรกด็ คี วรดำเนินการซ่อมบำรุงโดยเร็ว • ระดับ F พบความชำรุดเสียหายหรอื เส่ือมสภาพระดับวิกฤต ระบบและอุปกรณ์ไมส่ ามารถ ใช้งานได้ กระทบต่อการใช้งานอาคารอย่างมีนัยสำคัญ และพิจารณาแล้วว่ามีโอกาสเกิด ความเสียหายและก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานอาคารได้ทุกเมื่อ โดยควรให้ระงับการใช้ งานอาคารในพื้นทีด่ ังกล่าว และควรดำเนินการซ่อมบำรงุ โดยทันที สำหรับรายการตรวจสอบ (Checklist) งานตรวจสอบทางด้านงานระบบและงานอ่ืนๆ ภายในอาคาร แสดงในตารางท่ี 5.1-4 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-8

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 5.1-4 รายการตรวจสอบทางด้านงานระบบและงานอื่นๆ ลำดับ รายการงาน รายการตรวจสอบ 1 ระบบประปาภายในอาคาร 1.1 ระบบท่อน้ำดี สภาพท่อ การแตก การร่วั ซมึ 1.2 แรงดันน้ำ แรงดนั น้ำ ความเพียงพอตอ่ การใชง้ าน คุณภาพนำ้ 1.3 ปม๊ั นำ้ ใชง้ านไดต้ ามปกติ 1.4 ถังเก็บน้ำ การร่ัวซึม ความสะอาด 2 ระบบระบายนำ้ ภายในอาคาร 2.1 ระบบท่อน้ำท้ิง สภาพท่อ การแตก การรั่วซมึ 2.2 การระบายน้ำ สามารถระบายน้ำได้ ไม่อดุ ตนั 2.3 บ่อบำบัดน้ำเสยี ใช้งานได้ตามปกติ 2.4 บอ่ ดักไขมนั ตามครวั /รา้ นอาหาร การตดิ ต้งั ใชง้ านได้ตามปกติ 3 ระบบไฟฟา้ และเครอื่ งกล 3.1 แสงสวา่ ง สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตง้ั ใชง้ านไดต้ ามปกติ ความสว่างเพยี งพอต่อการใชง้ านอาคาร 3.2 เต้ารับ สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตงั้ ใช้งานได้ตามปกติ 3.3 ตู้ Main Distribution Board (MDB) สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตั้ง ใช้งานได้ตามปกติ อายุการใชง้ านของอุปกรณ์ 3.4 ตู้ Consumer Unit สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตง้ั ใช้งานได้ตามปกติ อายุการใช้งานของอปุ กรณ์ 3.5 การเดินสายไฟ สภาพของสายไฟและการติดตงั้ ใชง้ านได้ตามปกติ อายุการใช้งานของสายไฟ 3.6 หม้อแปลงไฟฟ้า สภาพของอปุ กรณแ์ ละการตดิ ตงั้ อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ ใชง้ านได้ตามปกติ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 5-9

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 5.1-4 รายการตรวจสอบทางดา้ นงานระบบและงานอนื่ ๆ (ต่อ) ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ 3.7 ระบบลฟิ ท์โดยสาร สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตั้ง อายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ ใชง้ านไดต้ ามปกติ ประวัตกิ ารบำรุงรักษา 4 ระบบปอ้ งกนั อคั คภี ัย 4.1 Fire Hose Cabinet จำนวนและตำแหนง่ ตดิ ตง้ั สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ตง้ั อายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ ใช้งานได้ตามปกติ 4.2 Fire Alarm จำนวนและตำแหนง่ ตดิ ตงั้ สภาพของอุปกรณ์และการตดิ ตั้ง อายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ ใช้งานไดต้ ามปกติ 4.3 ถงั ดบั เพลิง จำนวนและตำแหน่งตดิ ตัง้ สภาพของอปุ กรณ์และการตดิ ต้งั อายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ 4.4 ช่องทางหนีไฟ การใช้งานประตูหนไี ฟ สภาพทางเดนิ /บนั ได การใช้งานราวจบั สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 5-10

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 5.2 ผลการตรวจสอบเชงิ กายภาพและวศิ วกรรมของสถานีขนสง่ สินค้าพทุ ธมณฑล สำหรับผลการตรวจสอบเชิงกายภาพและวิศวกรรมของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สำหรับงาน ด้านวิศวกรรมโยธาส่วนงานถนน งานด้านวิศวกรรมโยธาส่วนงานอาคาร งานด้านสถาปัตยกรรม อาคาร และงานระบบและงานอื่นๆ ภายในอาคาร แสดงในตารางท่ี 5.2-1 ถึง ตารางที่ 5.2-4 ตามลำดับ และมีรายละเอยี ดการตรวจสอบตามรายการตรวจสอบทง้ั หมด ดงั แสดงในภาคผนวก ค ตารางที่ 5.2-1 ผลการตรวจสอบงานดา้ นวศิ วกรรมโยธาส่วนงานถนน สถานขี นส่งสนิ คา้ พทุ ธมณฑล ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ ภาพรวม สถานี 1 งานถนน B 1.1 ถนนและผวิ จราจร ความชำรุดเสียหายของผวิ จราจร ในลักษณะ B Structural Failure B ความชำรุดเสียหายของผวิ จราจร ในลักษณะ A E Functional Failure E F คุณภาพผวิ จราจร F ระดบั ผิวจราจรและการระบายนำ้ A B 1.2 ป้ายนำทางและป้ายเครือ่ งหมาย สภาพของอุปกรณแ์ ละการตดิ ต้งั B B จราจร ใช้งานได้ตามปกติ C 1.3 การขดี สตี ีเส้นและเครือ่ งหมาย สภาพและความชดั เจนของสีและเครอ่ื งหมาย C C จราจรบนผวิ ทาง การกำหนดเสน้ ทางจราจร E 2 ทางยกระดบั เขา้ -ออกสถานขี นสง่ สินค้า 2.1 ฐานราก การทรุดตวั 2.2 เสา ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว 2.3 คาน ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว ความสมบรู ณ์ของรอยตอ่ ระหว่างคานและเสา 2.4 ผนังกันตก ความแข็งแรง การยึดติดกับโครงสรา้ งหลัก รอย แตกรา้ วและความเสียหาย 2.5 ผวิ จราจร คุณภาพผิวจราจร 2.6 การระบายน้ำบนทางยกระดับ การระบายน้ำและช่องระบายนำ้ 2.7 การขีดสตี ีเสน้ และเครื่องหมาย สภาพและความชัดเจนของสแี ละเครอ่ื งหมาย จราจรบนผวิ ทาง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 5-11

ตารางท่ี 5.2-2 ผลการตรวจสอบงานดา้ นวิศวกรรมโย การตรวจสอบทางดา้ นวศิ วกรรมโยธา: ส่วนงานอาคาร อาคารชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้า ลำดบั รายการงาน รายการตรวจสอบ ชาน 1 ชาน 2 ชาน 3 ชาน 4 ชาน 5 ชาน 6 1 งานฐานราก 1.1 การทรุดตัว การทรดุ ตวั ของอาคาร BBBAAA การทรุดตัวของชัน้ ดนิ รอบอาคาร CCCECC 2 งานโครงสรา้ ง 2.1 เสา ความแขง็ แรง สภาพผิว รอยแตกรา้ ว CCDCDD 2.2 คาน ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกร้าว CCDCDD 2.3 พ้ืน ความแข็งแรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว CCCCDD การร่ัวซึม (กรณหี อ้ งนำ้ ) E E DD E E 2.4 ผนงั ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกร้าว CCCCDD การรั่วซมึ (กรณหี อ้ งน้ำ และ ผนงั ภายนอกอาคาร) C E D D F F 2.5 บันได ความแขง็ แรง สภาพผวิ รอยแตกรา้ ว DCDDDD 2.6 ช่องลิฟท์ ความแขง็ แรง สภาพผิว รอยแตกร้าว - ----- 3 งานหลังคา ความชำรดุ เสียหายของโครงสรา้ ง CCDDDD 3.1 โครงหลงั คาเหลก็ สภาพผิวเหลก็ การผุกร่อน การเกิดสนิม CDDDDD สภาพสที ากนั สนมิ และสีทาพืน้ ผิว CDEFEE การแตกรา้ ว (กรณกี ระเบอ้ื ง) -- - - - - 3.2 วสั ดุมุงหลังคา การผุกรอ่ นและสีเคลือบ (กรณหี ลังคาเหลก็ รีด CCDEDD Metal Sheet) การรว่ั ซมึ CDEDCD 3.3 ฉนวนกันความ การชำรดุ เสยี หายจากการเสื่อมสภาพ - ----- ร้อน การชำรุดเสยี หายจากการฉกี ขาด - ----- ความแข็งแรง สภาพผวิ รอยแตกร้าว - ----- 3.4 ดาดฟ้า สภาพของสีทาและวสั ดุกนั ซมึ - ----- การรวั่ ซึม - ----- หมายเหตุ เครื่องหมาย “ - ” หมายถงึ ไม่มรี ายการดังกลา่ วในอาคารหลังนัน้ ๆ เช่น คลังสนิ คา้ ไมม่ หี ้องนำ้ จึงไมม่ รี ายการตรวจสอบหอ้ งนำ้ เป็นต้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook