Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 07 คู่มือแนวทางปฏิบัติ 65 for web_new

07 คู่มือแนวทางปฏิบัติ 65 for web_new

Published by อําพร สกุลสถาพร, 2023-07-03 04:34:18

Description: 07 คู่มือแนวทางปฏิบัติ 65 for web_new

Search

Read the Text Version

3) หน่่วยบริิการต้้องมีีแพทย์์ประจำ�ำ หรืือแพทย์์เจ้้าของคนไข้้ หรืือ แพทย์์ part time ที่่�สามารถ สั่�งจ่่ายยาตามข้อ้ 2) ได้้ โดยการสั่�งจ่า่ ยควรครอบคลุุมอย่า่ งน้้อย 1 เดืือน เงื่ �อนไขการจ่่าย 2) จ่่ายให้้หน่่วยบริิการที่่�มีีศัักยภาพในการจััดหายากลุ่่�มอนุุพัันธ์์ฝิ่่�นให้้แก่่ผู้้�ป่่วยในการดููแลแบบประคัับ ประคองที่่บ� ้า้ นเพื่�่อให้ผ้ ู้ป้� ่ว่ ยใช้้ยาได้้อย่า่ งต่่อเนื่่�อง โดยการจ่่ายยาแต่ล่ ะครั้้�งต้้องครอบคลุุมการใช้้อย่า่ งน้อ้ ย 1 เดืือน 2.1) การให้บ้ ริิการ หน่่วยบริิการมีีรหััสการวิินิจิ ฉััยโรคมะเร็ง็ ตามระบบ ICD-10 ที่่�เข้า้ เกณฑ์ก์ าร ให้ย้ ากลุ่ม�่ อนุุพัันธ์ฝ์ ิ่น่� สำำ�หรัับบริกิ ารดููแลแบบประคัับประคองในผู้ป้� ่ว่ ยมะเร็ง็ ระยะท้า้ ยที่่บ� ้า้ น (รายละเอียี ดตามภาค ผนวก 15) เป็น็ ผู้้ป� ่่วยที่่�เข้้าเกณฑ์แ์ ละได้ร้ ัับการวินิ ิิจฉััยว่า่ เป็็นผู้�้ป่ว่ ยระยะท้า้ ยที่่ไ� ด้้รัับการดููแลแบบประคัับ ประคอง ที่่บ� ้า้ น โดยต้อ้ งบัันทึกึ รหััสการวินิ ิิจฉััยโรค Z51.5 ร่่วมกัับรหััสการวินิ ิจิ ฉััยโรคตามที่่ก� ำ�ำ หนด 2.2) ต้้องมีีรหััสยา TMT ของยากลุ่่�ม Opioid โดยหน่่วยบริิการจััดทำำ�บััญชีีรายการยาของ หน่่วยบริิการ (Drug catalogue) ตามแนวทางดำ�ำ เนิินการในระบบปกติิ ทั้ง�้ นี้้� กรณีตี รวจสอบพบว่า่ ผู้ป�้ ่ว่ ยที่่ร� ัับยา ไม่ไ่ ด้เ้ ป็น็ ผู้ป้� ่ว่ ยที่่ไ� ด้ร้ ัับการลงทะเบียี นเป็น็ ผู้ป�้ ่ว่ ยระยะท้า้ ยที่่ไ� ด้ร้ ัับ การดููแลที่่�บ้้าน สปสช.จะดำำ�เนิินการเรีียกคืืนเงินิ ในส่่วนนี้้ต� ่อ่ ไป อััตราการจ่า่ ย จ่่ายเพิ่่�มเติิมจากการจ่่ายค่่าบริิการดููแลแบบประคัับประคองผู้้�ป่่วยที่่�บ้้านในผู้้�ป่่วยมะเร็็งระยะท้้าย แบบ เหมาจ่่ายในอััตรา 750 บาท/คน/เดืือน เป็็นรายเดืือนทุุกเดืือนจนกว่่าผู้ป�้ ่่วยจะเสียี ชีีวิิต การส่่งข้อ้ มููลเพื่อ�่ รับั ค่่าชดเชย หน่ว่ ยบริกิ ารบัันทึกึ ข้อ้ มููลผ่า่ นโปรแกรม e-Claim โดยกำ�ำ หนดการส่ง่ ข้อ้ มููลสำ�ำ คััญเพื่�อ่ การเบิกิ จ่่าย ดัังนี้้� 1) การลงทะเบียี นผู้้�ป่่วย 1.1) หน่ว่ ยบริกิ ารต้อ้ งบัันทึกึ การลงทะเบียี นผู้ป�้ ่ว่ ยที่่ไ� ด้ร้ัับการดููแลแบบประคัับประคองสำ�ำ หรัับผู้ป�้ ่ว่ ย ระยะท้้าย ในโปรแกรม E-claim โดยบัันทึึกในหน้า้ F1 ช่่อง “วัันที่่ใ� ห้้บริิการ” ดัังนี้้� 1.1.1) การบัันทึึกข้้อมููลครั้�้งแรก ในหน้้า F1 ช่่องวัันที่่�ให้้บริิการ ให้้ลงบัันทึึกเป็็นวัันที่่� ลงทะเบีียน 1.1.2) การบัันทึึกข้้อมููลครั้�้งต่่อไป ในหน้้า F1 ช่่องวัันที่่�ให้้บริิการ ให้้ลงบัันทึึกเป็็นเดีียวกัับ วัันดููแลผู้�ป้ ่่วยที่่บ� ้้าน 1.2) หน่่วยบริิการที่่�บัันทึึกการลงทะเบีียน ต้้องเป็็นหน่่วยบริิการที่่�เป็็นผู้�้ติิดตามดููแลผู้�้ป่่วยที่่�บ้้าน ดัังนี้้� 1.2.1) กรณีีผู้้ป� ่่วยใหม่่ในปีงี บประมาณ 2565 (1.2.1.1) กรณีหี น่ว่ ยบริกิ ารที่่ร�ัักษาเป็น็ ผู้้�ดูแลผู้ป้� ่ว่ ยที่่บ� ้า้ นเอง กำำ�หนดให้ว้ัันลงทะเบียี น เป็็นวัันเดีียวกัับวัันที่่�จำ�ำ หน่่ายผู้้ป� ่ว่ ยจากโรงพยาบาล (1.2.1.2) กรณีีมีีการส่่งต่่อผู้้�ป่่วยให้้หน่่วยบริิการอื่่�นดููแล กำ�ำ หนดให้้หน่่วยบริิการ ที่่ร� ัับส่่งต่อ่ เป็็นผู้้�ส่งข้อ้ มููลลงทะเบีียนผู้ป้� ่่วยโดยระบุุวัันลงทะเบีียนเป็็นวัันเดีียวกัับวัันที่่ด� ููแลผู้้�ป่ว่ ยที่่�บ้า้ นครั้้ง� แรก 200

1.2.2) กรณีีผู้�้ป่่วยที่่�หน่่วยบริิการดููแลต่่อเนื่�่องจากปีีงบประมาณ 2564 และเป็็นไปตาม หลัักเกณฑ์แ์ นวทางการจ่า่ ยชดเชยค่า่ บริกิ ารของปีงี บประมาณ 2565 ให้ห้ น่ว่ ยบริกิ ารบัันทึกึ วัันที่่ล� งทะเบียี นในหน้า้ F1 ครั้้ง� แรก คืือวัันที่่� 1 ตุุลาคม 2564 1.3) กรณีที ี่่�มีีหน่่วยบริกิ ารส่ง่ ข้้อมููลบริิการมากกว่่า 1 แห่่งในผู้้ป� ่ว่ ยรายเดีียวกัันและเป็็นบริกิ ารดููแลที่่�บ้า้ น ในเดืือนเดียี วกััน สปสช.จะพิจิ ารณาจ่่ายชดเชยให้ห้ น่่วยบริกิ ารแรกที่่�ส่ง่ ข้อ้ มููลถููกต้้องครบถ้ว้ น 1.4) กรณีที ี่่ผ� ู้ป�้ ่ว่ ยเสียี ชีวี ิติ ภายใน 3 วัันหลัังจากการลงทะเบียี นถืือว่า่ ไม่เ่ ป็น็ ไปตามเงื่อ� นไขการจ่า่ ยค่า่ บริกิ าร การดููแลแบบประคัับประคอง จะไม่ไ่ ด้ร้ ัับค่า่ บริิการตามที่่ก� ำำ�หนด 2) หน่่วยบริิการต้อ้ งส่ง่ ข้อ้ มููลที่่ส� ำ�ำ คััญสำ�ำ หรัับการเบิกิ จ่า่ ยค่า่ ชดเชยกรณีคี ่่าบริกิ ารดููแลที่่�บ้้านและกรณีกี ารให้้ ยากลุ่�ม่ อนุุพัันธ์ฝ์ ิ่�น่ ตามที่่�กำ�ำ หนดข้้างต้น้ 4. การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก (Rare diseases) โรคหายาก (rare diseases) คืือ โรคที่่�มีีอุุบััติิการณ์์และความชุุกในประชากรต่ำ��ำ ซึ่่�งคำำ�กำ�ำ จััดความของ โรคหายากจะแตกต่า่ งไปตามนิิยามของแต่่ละพื้้น� ที่่� สำำ�หรัับประเทศไทย พบน้อ้ ยกว่า่ 1 ใน 2,500 คนของประชากร โดยร้อ้ ยละ 80 เป็็นโรคที่่�มีสี าเหตุุมาจากความผิดิ ปกติขิ องพัันธุุกรรม (Genetic Disorders) อีีกร้้อยละ 20 อาจจะ เกิิดจากสาเหตุุอื่่�นๆ เช่่น โรคภููมิิคุ้�มกัันทำ�ำ ลายตนเอง (Auto-immune Disease) และการได้้รัับสารพิิษที่่�หายาก (Poisonings) ยัังมีโี รคหายากอีีกจำำ�นวนหนึ่่ง� ที่่ใ� นปััจจุุบัันยัังไม่่ทราบสาเหตุุของการเกิิดโรค ตามประกาศสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ เรื่่�อง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่�อนไขการจ่่ายค่่าใช้้ จ่่ายเพื่�่อบริิการสาธารณสุุขในการดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก พ.ศ. 2564 ได้้กำำ�หนดหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่�อนไขการ จ่า่ ยค่า่ ใช้้จ่่ายเพื่�่อบริิการสาธารณสุุขในการดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก ในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ โดยมีีสาระ สำ�ำ คััญดัังต่อ่ ไปนี้้ � คืือ ขอบเขตและเงื่�อนไขการให้บ้ ริกิ าร 1. เป็น็ การให้บ้ ริกิ ารแก่ผ่ ู้้�มีสิทิ ธิใิ นระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติ ิ ที่่ม� ีอี าการแสดงหรืือได้ร้ ัับการวินิ ิจิ ฉััย ว่า่ เป็น็ โรคหายากตามที่่ก� ำำ�หนด หน่ว่ ยบริกิ ารที่่ใ� ห้บ้ ริกิ าร เป็น็ หน่ว่ ยบริกิ ารในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติิ โดย มีีหน่่วยบริิการที่่�มีีแพทย์์ผู้�้เชี่ �ยวชาญในการดููแลรัักษาผู้้�ป่่วยโรคหายาก ทำำ�หน้้าที่่�เป็็นศููนย์์การดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก และให้้คำ�ำ ปรึกึ ษาแก่ห่ น่่วยบริิการอื่่�น 2. เริ่�มดำ�ำ เนิินการในโรคที่่�มีีความผิิดปกติิของสารโมเลกุุลเล็็ก (Disorders of small molecules) จำ�ำ นวน 24 กลุ่ม�่ โรค 3. สำ�ำ หรัับการเข้้ารัับบริกิ าร ตั้�ง้ แต่่ 1 ตุุลาคม 2564 เป็็นต้้นไป 201

โรคที่ม่� ีีความผิิดปกติิของสารโมเลกุลุ เล็็ก (Disorders of small molecules) ล�ำ ดบั ชอ่ื โรค ICD 10 ORPHA ล�ำ ดับ ช่อื โรค ICD 10 ORPHA 1 Other Organic E71.1 289899 aciduria (acidemia) E71.1 13 Arginase deficiency E72.2 90 2 Propionic acidemia E71.1 35 27 (argininemia) 3 Methylmalonic E71.1 acidemia 26 14 Phenylketonuria E70.0, 716 E71.1 4 Cobalamine defect E72.3 33 E70.1 E71.0 25 5 Isovaleric acidemia E72.2 511 15 Other specified E72.8 394, 79167 6 Glutaric acidemia E72.4 disorders of 407 type1 E72.2 664 927 amino acid 7 Maple syrup urine disease (MSUD) metabolism 8 Urea cycle 16 NICCD (Neonatal E72.2 247598 disorders, unspecified intrahepatic enzyme defect cholestasis 9 Ornithine transcarbamylase caused by citrin (OTC) deficiency deficiency) 10 NAGS deficiency 17 Citrullinemia E72.2 247585 type 2 18 Tyrosinemia type 1 E70.2 882 19 Disorders of Fatty E71.3 309115 acid oxidation and ketogenesis 20 Disorders of E71.3 309130 Carnitine cycle and Carnitine transport 21 Systemic primary E71.3 158 carnitine deficiency 22 Tetrahydrobiopterin E70.1 238583 (BH4) deficiency 202

ล�ำ ดับ ชอ่ื โรค ICD 10 ORPHA ลำ�ดับ ชือ่ โรค ICD 10 ORPHA 11 Citrullinemia E72.2 E53.8 79241 247525 23 Multiple type 1 E72.2 E53.8 79242 carboxylase 12 Argininosuccinic aciduria deficiency: (ASS deficiency) Biotinidase deficiency 23 24 Multiple carboxylase deficiency: Holocarboxylase deficiency กลุ่ม� เป้า้ หมาย ผู้้�มีีสิิทธิิหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ที่่�มีีอาการแสดง (symptomatic) หรืือได้้รัับการวิินิิจฉััยว่่าเป็็น โรคหายาก ประเภทกลุ่่ม� โรคมีีความผิิดปกติขิ องสารโมเลกุุลเล็็ก (Disorders of small molecules) หน่่วยบริกิ ารที่�่จะให้บ้ ริกิ ารและได้้รัับค่่าใช้จ้ ่า่ ยเพื่่อ� บริิการสาธารณสุุข ได้้แก่่ 1) หน่ว่ ยบริกิ ารในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติ ิ ที่่�มีีศัักยภาพในการดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก 2) กำำ�หนดให้ห้ น่ว่ ยบริกิ ารในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติทิ ี่่ม� ีศี ัักยภาพในการดููแล ผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก คืือ หน่่วยบริิการที่่�มีีแพทย์์ผู้้�เชี่�ยวชาญในการดููแลรัักษาผู้�้ป่่วยโรคหายาก เป็็นศููนย์์การดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก ตามแนวทางที่่�สำ�ำ นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิกำ�ำ หนด 3) กำำ�หนดให้ศ้ ูนู ย์ก์ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก และหน่ว่ ยบริกิ ารในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติอิ ื่น่� ที่่ม� ีี ศัักยภาพในการดููแลผู้ป�้ ่่วยเป็น็ เครืือข่า่ ยในการดููแล โดยมีีศูนู ย์์การดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก เป็น็ ศููนย์ก์ ลางในการดููแล รัักษา รัับส่่งต่่อ และให้้คำ�ำ ปรึึกษาแก่่หน่่วยบริิการในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิอื่น�่ ศููนย์์การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก เป็็นหน่่วยบริิการในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ที่่�มีีแพทย์์ผู้้�เชี่ �ยวชาญในการดููแลรัักษาผู้�้ป่่วย โรคหายาก จำำ�นวน 7 แห่่ง ตามมติคิ ณะกรรมการหลัักประกัันสุุขภาพแห่ง่ ชาติ ิ ดัังนี้้� 1) รพ.จุุฬาลงกรณ์์ สภากาชาดไทย 2) รพ.ศิิริิราช 3) รพ.รามาธิบิ ดีี 4) สถาบัันสุุขภาพเด็็กแห่ง่ ชาติิมหาราชิินีี 5) รพ.พระมงกุุฎเกล้า้ 6) รพ.ธรรมศาสตร์เ์ ฉลิิมพระเกียี รติิ 7) รพ.ศรีนี คริินทร์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น 203

รวมถึงึ หน่ว่ ยบริกิ ารอื่น�่ ๆ ที่่�มีีศัักยภาพในการดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก และแจ้้งความจำำ�นงค์์เข้า้ ร่ว่ มให้้บริิการ ดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก การจัดั ระบบบริกิ าร 1) หน่ว่ ยบริกิ ารประจำ�ำ หรืือหน่ว่ ยบริกิ ารอื่น่� ที่่�ตรวจรัักษาผู้ป�้ ่ว่ ยเบื้้อ� งต้น้ หากสงสััยว่า่ เป็น็ ผู้ป้� ่ว่ ยที่่�มีคี วาม ผิดิ ปกติิของสารโมเลกุุลเล็็ก (Disorders of small molecules) แพทย์์ผู้้�รักษาสามารถปรึกึ ษาแพทย์์ผู้เ�้ ชี่ย� วชาญ จากศูนู ย์์การดููแลผู้ป้� ่่วยโรคหายาก ตามเครืือข่า่ ยบริิการที่่�กำ�ำ หนด 2) หน่่วยบริิการประจำำ�หรืือหน่่วยบริิการอื่�่น เก็็บตััวอย่่าง specimen ส่่งตรวจทางห้้องปฏิิบััติิการไปยััง หน่ว่ ยบริิการที่่ม� ีีศัักยภาพในการตรวจ 3) หากผลการตรวจวินิ ิจิ ฉััย พบว่า่ อยู่ใ�่ นกลุ่ม่� โรคหายากตามที่่ก� ำำ�หนด แพทย์ผ์ ู้้�ดูแลในหน่ว่ ยบริกิ ารประจำำ� หรืือหน่ว่ ยบริกิ ารอื่น�่ ส่ง่ ต่่อผู้ป�้ ่ว่ ยไปรัักษายัังศููนย์์การดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก ตามเครืือข่า่ ยที่่�กำำ�หนด 4) ศููนย์์การดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก ลงทะเบีียนผู้�้ป่่วยมาในโปรแกรมระบบบริิการดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก ที่่�สปสช.กำ�ำ หนด 5) ศููนย์ก์ ารดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายากให้ก้ ารรัักษาผู้ป�้ ่่วยจนพ้น้ ระยะอัันตราย โดยแพทย์์ผู้ใ้� ห้ก้ ารรัักษาจะเป็็น ผู้้�พิจิ ารณา เพื่อ�่ ส่ง่ กลัับไปยัังหน่ว่ ยบริกิ ารประจำ�ำ หรืือหน่ว่ ยบริกิ ารอื่น�่ หรืือชุุมชน เพื่อ�่ ให้ร้ ัักษาหรืือดููแลต่อ่ เนื่อ่� ง โดย มีเี ครืือข่า่ ยแพทย์์ผู้เ�้ ชี่ย� วชาญ เป็น็ ที่่ป� รึกึ ษาในการดููแลรัักษาต่อ่ เนื่อ�่ งให้้แก่่หน่่วยบริกิ ารประจำ�ำ หรืือหน่่วยบริิการอื่่�น เครือื ข่่ายหน่่วยบริิการดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก ศูนยโ์ รคหายาก แพทย์ดแู ลผปู้ ว่ ยเดก็ แพทยด์ แู ลผปู้ ่วยผูใ้ หญ่ เครือข่ายให้ รพ.จุฬาลงกรณ์ - อ.นพ.ประสทิ ธ์ิ เผ่าทองค�ำ คำ�ปรึกษา/ส่งต่อ - ศ.นพ.วรศักดิ์ โชตเิ ลอศกั ด์ิ เขต 1 เชยี งใหม่, รพ.ศิริราช - ศ.ดร.พญ.กัญญา ศุภปติ พิ ร - อ.นพ.ชนนิ ทร์ ลิ่มวงศ์ เขต 6 ระยอง รพ.รามาธบิ ดี - อ.พญ.ปองหทยั ดำ�รงผล - รศ.นพ.มานพ พทิ กั ษภ์ ากร สถาบนั สขุ ภาพเดก็ - อ.นพ.วทุ ธิชาติ กมลวิศษิ ฏ์ - รศ.นพ.ธนั ยชัย สุระ เขต 3 นครสวรรค์ แหง่ ชาติ - รศ.นพ.นธิ วิ ชั ร์ วฒั นวจิ ารณ์ - อ.พญ.อัจฉรา ธัญธรี ธรรม เขต 5 ราชบรุ ี - ผศ.พญ.อจั ฉรา เสถยี รกิจการชยั เขต 9 นครราชสมี า เขต 10 อบุ ลราชธานี - ศ.พญ.ดวงฤดี วฒั นศิรชิ ยั กุล เขต 2 พิษณุโลก - ผศ.พญ.ทิพยว์ มิ ล ทิมอรุณ - ศ.คลินกิ นพ.สทุ ธพิ งษ์ ปงั คานนท์ - อ.พญ.จฬุ าลักษณ์ คุปตานนท์ 204

ศูนย์โรคหายาก แพทยด์ แู ลผ้ปู ่วยเดก็ แพทย์ดูแลผู้ป่วยผ้ใู หญ่ เครอื ข่ายให้ - พ.อ.ผศ.นพ.กติ ติ บูรณวุฒิ รพ.พระมงกุฎเกลา้ - พ.อ.รศ.นพ.บุญชัย บญุ วฒั น์ ค�ำ ปรึกษา/สง่ ตอ่ เขต 12 สงขลา - พ.ต.นพ.ทิม เพชรทอง รพ.ธรรมศาสตร์ - ผศ.พญ.กติ ิวรรณ โรจนเนอื งนิตย์ เขต 4 สระบรุ ี เขต 11 สรุ าษฎร์ธานี รพ.ศรนี ครินทร์ - ผศ.นพ.กณุ ฑล วชิ าจารย์ เขต 7 ขอนแก่น ขอนแกน่ เขต 8 อดุ รธานี หมายเหตุุ : 1) หน่่วยบริกิ ารในเขต 13 กรุุงเทพมหานคร สามารถขอรับั คำ�ำ ปรึึกษาและส่่งต่อ่ ผู้�้ ป่่วยไปยัังศููนย์ก์ ารดููแล ผู้�้ ป่ว่ ยโรคหายากได้ท้ ุุกแห่ง่ ที่�่ตั้ง� ในเขตกรุุงเทพมหานคร 2) กรณีีแพทย์์ผู้�้ รัักษาและ/หรืือผู้�้ ป่่วยสะดวกที่�่รัับการรัักษาและติิดตามกัับศููนย์์โรคหายากที่�่ไม่่เป็็นตาม ตาราง สามารถทำ�ำ ได้้ แต่่ทั้้�งนี้้�ต้้องเป็็นการดููแลรัักษาต่่อเนื่่�องกัับศููนย์์โรคหายากนั้้�น หากจะมีีการโอนผู้้�ป่่วยไปรัับ การรัักษาต่่อเนื่่�องที่�่ศููนย์อ์ื่�นในเวลาต่อ่ มาก็ส็ ามารถทำำ�ได้เ้ ช่น่ กันั แนวทางปฎิบิ ัตั ิใิ นการให้บ้ ริกิ ารและการขอรับั ค่่าใช้จ้ ่า่ ย สำ�ำ หรับั หน่่วยบริกิ ารประจำ�ำ หรือื หน่่วยบริกิ ารอื่น� ที่ต�่ รวจ รักั ษาผู้้�ป่ว่ ยเบื้้อ� งต้้น หน่่วยบริิการประจำ�ำ หรืือหน่่วยบริิการอื่่�นที่่�ตรวจรัักษาผู้้�ป่่วยเบื้้�องต้้น หากสงสััยว่่า เป็็นผู้�้ป่่วยที่่�มีี ความผิดิ ปกติขิ องสารโมเลกุุลเล็ก็ (Disorders of small molecules) ให้้ปฏิิบััติดิ ัังนี้้� คืือ 1) แพทย์์ผู้้�รักษาหน่่วยบริิการประจำ�ำ หรืือหน่่วยบริิการอื่�่น ปรึึกษาแพทย์์ผู้้�เชี่�ยวชาญจากศููนย์์การดููแล ผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก ตามเครืือข่า่ ยบริิการที่่ก� ำำ�หนด 2) แพทย์์ผู้้�เชี่�ยวชาญจากศููนย์์การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก จะเป็็นผู้้�พิิจารณา ในการส่่งตรวจทาง ห้้องปฎิิบััติกิ าร 3) หน่ว่ ยบริิการประจำ�ำ หรืือหน่ว่ ยบริกิ ารอื่น่� เก็็บตััวอย่่าง specimen ส่่งตรวจทางห้้องปฏิบิ ััติิการไปยััง หน่่วยบริิการที่่�มีีศัักยภาพในการตรวจ 4) หากแพทย์ผ์ ู้เ�้ ชี่ย� วชาญจากศูนู ย์ก์ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก พบว่า่ ผลการตรวจวินิ ิจิ ฉััยอยู่ใ�่ นกลุ่ม�่ โรคหายาก ตามที่่�กำำ�หนด จะแจ้้งให้้แพทย์์ผู้้�ดู แลในหน่่วยบริิการประจำำ�หรืือหน่่วยบริิการอื่่�นส่่งต่่อผู้�้ป่่วยไปรัักษายัังศููนย์์การ ดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก 5) การขอรัับค่่าใช้้จ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุุข กรณีีการตรวจวิินิิจฉััยเบื้้�องต้้น การตรวจรัักษา และการ ส่ง่ ต่่อผู้้ป� ่ว่ ย ให้้เบิิกจ่า่ ยตามระบบปกติ ิ ตามแต่่ละกรณีี หมายเหตุุ การตรวจทางห้้องปฎิิบััติิการ สำำ�หรัับการวิินิิจฉััยโรคหายาก ศููนย์์การดููแลผู้�้ ป่่วยโรคหายาก จะเป็็น ผู้�้ ขอรัับค่่าใช้้จ่่ายมายััง สปสช.โดยตรง 205

แนวทางปฎิิบัตั ิใิ นการให้้บริิการและการขอรัับค่่าใช้้จ่า่ ย สำำ�หรับั ศููนย์์การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก 1) แพทย์์ผู้�้เชี่�ยวชาญจากศููนย์์การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก เป็็นผู้�้ให้้คำำ�ปรึึกษาแก่่แพทย์์ผู้้�รั กษาของ หน่่วยบริิการประจำ�ำ หรืือหน่่วยบริิการอื่่�น และเป็็นผู้้�พิิจารณาในการส่่งตรวจทางห้้องปฎิิบััติิการ หากสงสััยว่่า เป็น็ ผู้ป้� ่่วยที่่�มีคี วามผิิดปกติิของสารโมเลกุุลเล็็ก (Disorders of small molecules) 2) เมื่�่อพบว่่า ผลการตรวจวิินิิจฉััยอยู่�่ในกลุ่่�มโรคหายากตามที่่�กำ�ำ หนด จะแจ้้งให้้แพทย์์ผู้้�ดู แลใน หน่ว่ ยบริิการประจำ�ำ หรืือหน่่วยบริกิ ารอื่�่นส่่งต่่อผู้ป�้ ่ว่ ยมารัักษายัังศููนย์ก์ ารดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก 3) การขอรัับค่า่ ใช้้จ่า่ ยเพื่�่อบริกิ ารสาธารณสุุข ค่า่ ตรวจวินิ ิิจฉััยกลุ่�ม่ เสี่ย� งตามเงื่�อนไข และค่า่ บริกิ ารดููแล ผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก ศูนู ย์ก์ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก จะเป็น็ ผู้ข�้ อรัับค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยมายััง สปสช. โดยตรงตามอััตราและเงื่อ� นไข ดัังนี้้� อััตราและเงื่�อนไขการการขอรัับค่่าใช้จ้ ่า่ ย สปสช.จ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเพื่�่อบริิการสาธารณสุุขในการดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก ดัังนี้้� 1. ค่่าตรวจวิินิจิ ฉัยั กลุ่ม� เสี่่ย� งตามเงื่อ� นไข เป็็นค่่าตรวจทางห้้องปฏิิบััติิการเพื่�่อวิินิิจฉััยกลุ่่�มเสี่ �ยง จ่่ายตามรายการบริิการให้้แก่่หน่่วยบริิการที่่�มีี ศัักยภาพในการตรวจทางห้อ้ งปฏิิบััติิการตามรายการที่่�กำำ�หนด โดยเป็็นการจ่า่ ยตามจริงิ ไม่เ่ กินิ อััตราที่่ก� ำำ�หนด ดัังนี้้� รายการตรวจ อตั ราจา่ ยตอ่ ครั้ง (บาท) TMS : Comprehensive metabolic test 3,500 Plasma amino acid analysis 3,500 GC/MS : Urine organic acid 3,500 2. ค่่าบริิการดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายาก 2.1 ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยในการดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายากในปีแี รกสำ�ำ หรัับผู้ป�้ ่ว่ ยรายใหม่ ่ นัับตั้ง�้ แต่่ ผู้ป้� ่ว่ ยได้ร้ัับการ วิินิิจฉััยเป็น็ โรคหายาก เป็น็ การจ่า่ ยให้แ้ ก่่หน่ว่ ยบริิการที่่�เป็น็ ศููนย์์การดููแลผู้้�ป่่วยโรคหายาก ที่่ม� ีกี ารลงทะเบีียนและ ให้ก้ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก โดยครอบคลุุมค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยในการตรวจยืืนยััน การรัักษาพยาบาลรวมกรณีภี าวะแทรกซ้อ้ น และการติดิ ตามผล การรัักษาที่่�เกี่�ยวข้้องกัับโรคหายาก ให้จ้ ่า่ ยแบบเหมาจ่า่ ยในอััตรา ดัังนี้้� กล่มุ โรค อัตราจ่ายต่อคนต่อปี (บาท) กลุม่ A • Other Organic aciduria (acidemia) 300,000 • Propionic acidemia 300,000 • Methylmalonic acidemia 300,000 206

กลมุ่ โรค อตั ราจ่ายต่อคนต่อปี • Cobalamine defect (บาท) 300,000 • Isovaleric acidemia 300,000 • Glutaric acidemia type 1 300,000 • Maple syrup urine disease (MSUD) 300,000 • Urea cycle disorders, unspecified enzyme defect 300,000 • Ornithine transcarbamylase (OTC) deficiency 300,000 • NAGS deficiency 300,000 • Citrullinemia type 1 300,000 • Argininosuccinic aciduria (ASS deficiency) 300,000 • Arginase deficiency (argininemia) 300,000 • Phenylketonuria 300,000 • Other specified disorders of amino acid metabolism 300,000 • NICCD (Neonatal intrahepatic cholestasis caused by citrin 300,000 deficiency) • Citrullinemia type 2 300,000 • Tyrosinemia type 1 300,000 กลุ่ม B • Disorders of Fatty acid oxidation and ketogenesis 50,000 • Disorders of Carnitine cycle and Carnitine transport 50,000 • Systemic primary carnitine deficiency 50,000 • Tetrahydrobiopterin (BH4) deficiency 50,000 • Multiple carboxylase deficiency: Biotinidase deficiency 50,000 • Multiple carboxylase deficiency: Holocarboxylase deficiency 50,000 2.1.1 งวดการจ่า่ ยค่า่ บริกิ ารดููแลผู้ป้� ่ว่ ยโรคหายากให้แ้ ก่ห่ น่ว่ ยบริกิ ารที่่เ� ป็น็ ศูนู ย์ก์ ารดููแล ผู้้�ป่่วยโรคหายาก แบ่ง่ เป็็น 2 งวด 207

งวดที่่� 1 จ่่ายร้้อยละ 50 ของค่่าใช้้จ่่ายเหมาจ่่ายในแต่่ละกลุ่่�มโรค โดยมีีเงื่�อนไข การจ่่าย ดัังนี้้�  ผู้�้ป่่วยต้้องได้้รัับการตรวจยืืนยัันว่่าเป็็นโรคหายากที่่ก� ำำ�หนด  มีีการลงทะเบีียนในโปรแกรมระบบบริิการดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก ตามที่่� สปสช.กำ�ำ หนด งวดที่่� 2 จ่่ายร้้อยละ 50 ของค่่าใช้้จ่่ายเหมาจ่่ายในแต่่ละกลุ่่�มโรค โดยมีีเงื่�อนไข การจ่่าย ดัังนี้้�  รายงานการให้บ้ ริกิ ารดููแลผู้ป้� ่ว่ ยตามขั้น�้ ตอนการให้ก้ ารดููแลตามแนวทาง เวชปฏิบิ ััติิที่่ก� ำ�ำ หนดและหรืือการติิดตามเมื่่อ� จำำ�หน่า่ ยออกจากศูนู ย์์การดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก  ระยะเวลาการจ่่าย หลัังจากวัันลงทะเบีียนเป็น็ ผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายาก 90 วััน 2.1.2 ในกรณีีที่่�ผู้้�มีสิิทธิเิ สียี ชีวี ิิตหรืือเปลี่่�ยนสิิทธิิการรัักษาภายใน 90 วัันนัับจากวัันลง ทะเบีียน ศูนู ย์์การดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายากจะได้้รัับค่่าใช้จ้ ่่ายในอััตราร้้อยละ 50 ของอััตราเหมาจ่า่ ยในแต่ล่ ะกลุ่่�มโรค แต่ห่ ากเสีียชีวี ิิตหรืือเปลี่่�ยนสิิทธิกิ ารรัักษาหลัังจากวัันลงทะเบีียนเกินิ 90 วััน ศูนู ย์์การดููแลผู้�ป้ ่่วยจะได้้รัับค่า่ ใช้้จ่่าย เต็ม็ จำ�ำ นวน โดยการนัับรอบการจ่่ายค่่าใช้จ้ ่า่ ยต่่อปีี จะนัับตามรอบปีีนัับจากวัันลงทะเบีียนเป็็นผู้ป้� ่ว่ ยโรคหายาก 2.2 การรัักษาพยาบาลหรืือการติดิ ตามผลการรัักษาผู้ป�้ ่ว่ ยรายเดิมิ อััตราจ่า่ ยแบบเหมาจ่า่ ยในอััตราแต่ล่ ะ กลุ่่�มโรค ได้้แก่่ กลุม่ โรค อัตราจ่ายต่อคนต่อปี กลุ่ม A (บาท) • Other Organic aciduria (acidemia) 200,000 • Propionic acidemia 200,000 • Methylmalonic acidemia 200,000 • Cobalamine defect 200,000 • Isovaleric acidemia 200,000 • Glutaric acidemia type 1 200,000 • Maple syrup urine disease (MSUD) 200,000 • Urea cycle disorders, unspecified enzyme defect 200,000 • Ornithine transcarbamylase (OTC) deficiency 200,000 • NAGS deficiency 200,000 • Citrullinemia type 1 200,000 208

กล่มุ โรค อัตราจา่ ยตอ่ คนต่อปี กลมุ่ B (บาท) • Argininosuccinic aciduria (ASS deficiency) 200,000 • Arginase deficiency (argininemia) 200,000 • Phenylketonuria 200,000 • Other specified disorders of amino acid metabolism 200,000 • NICCD (Neonatal intrahepatic cholestasis caused by 200,000 citrin deficiency) 200,000 200,000 • Citrullinemia type 2 33,000 • Tyrosinemia type 1 33,000 • Disorders of Fatty acid oxidation and ketogenesis 33,000 • Disorders of Carnitine cycle and Carnitine transport 33,000 • Systemic primary carnitine deficiency 33,000 • Tetrahydrobiopterin (BH4) deficiency 33,000 • Multiple carboxylase deficiency: Biotinidase deficiency • Multiple carboxylase deficiency: Holocarboxylase deficiency 2.2.1 งวดการจ่่ายค่า่ บริิการรัักษาพยาบาลหรืือการติดิ ตามผลการรัักษาผู้�้ป่่วยรายเดิิม ให้้แก่ห่ น่ว่ ยบริิการที่่เ� ป็น็ ศูนู ย์ก์ ารดููแลผู้�ป้ ่ว่ ยโรคหายาก แบ่่งเป็น็ 2 งวด ดัังนี้้� งวดที่� 1 จ่า่ ยร้อ้ ยละ 50 ของค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเหมาจ่า่ ยในแต่ล่ ะกลุ่ม� โรค โดยมีเี งื่อ� นไขการจ่า่ ย ดัังนี้�  รายงานการให้บ้ ริกิ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยตามขั้น้� ตอนการให้ก้ ารดููแลตามแนวทาง เวชปฏิบิ ััติทิี่่ก� ำ�ำ หนดและหรืือการติดิ ตามอาการผู้�้ป่่วยอย่่างต่่อเนื่�อ่ ง งวดที่� 2 จ่า่ ยร้อ้ ยละ 50 ของค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเหมาจ่า่ ยในแต่ล่ ะกลุ่ม� โรค โดยมีเี งื่อ� นไข การจ่า่ ย ดัังนี้�  รายงานการให้บ้ ริกิ ารดููแลผู้ป้� ่ว่ ยตามขั้น�้ ตอนการให้ก้ ารดููแลตามแนวทาง เวชปฏิบิ ััติิที่่�กำ�ำ หนดและหรืือการติิดตามอาการผู้�้ป่ว่ ยอย่่างต่่อเนื่�อ่ ง  ระยะเวลาการจ่า่ ย หลัังจากเบิกิ งวดที่่� 1 ไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ 90 วััน 2.2.2 ในกรณีีที่่�ผู้้�มีีสิิทธิิเสีียชีีวิิตหรืือเปลี่่�ยนสิิทธิิการรัักษาภายใน 90 วััน นัับจาก วัันที่่�ติดิ ตามอาการ งวดที่่� 1 ในปีนี ั้้น� ๆ การดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายากจะได้้รัับค่า่ ใช้้จ่า่ ยในอััตราร้้อยละ 50 ของอััตรา 209

เหมาจ่่ายในแต่่ละกลุ่่�มโรค แต่่หากเสีียชีีวิิตหรืือเปลี่่�ยนสิิทธิิการรัักษาหลัังจากวัันที่่�ติิดตามอาการเกิิน 90 วััน ศููนย์์การดููแลผู้�ป้ ่่วยโรคหายากจะได้ร้ ัับค่่าใช้้จ่า่ ยเต็ม็ จำ�ำ นวน 2.3 หน่่วยบริิการประจำำ�และหน่่วยบริิการอื่่�นที่่�ให้้บริิการแก่่ผู้�้ป่่วยโรคหายาก สามารถรัับค่่าใช้้จ่่ายเพื่�่อ บริกิ ารสาธารณสุุขได้้ตามระบบปกติ ิ ตามแต่่ละกรณีี หมายเหตุุ กรณีีผู้�ป่ว่ ยเสีียชีีวิติ หรือื มีีการเปลี่ย�่ นสิทิ ธิกิ ารรักั ษา ศููนย์ก์ ารดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายาก แจ้ง้ ให้้ สปสช. ทราบภายใน 15 วันั หลังั จากทราบข้อ้ มููลการเสีียชีีวิติ หรือื เปลี่ย�่ นสิทิ ธิจิ ากระบบหลักั ประกันั สุุขภาพแห่ง่ ชาติเิ ป็น็ สิทิ ธิอิื่น� 3. ค่่าพาหนะส่่งต่่อและส่่งกลัับ เป็น็ การจ่า่ ยค่า่ พาหนะส่ง่ ต่อ่ และส่ง่ กลัับระหว่า่ งหน่ว่ ยบริกิ ารและหรืือชุุมชน โดยให้ม้ ีกี ารจััดระบบเป็น็ การ เฉพาะ ครอบคลุุมถึงึ การส่ง่ ต่่อไปยัังหน่่วยบริิการที่่�มีีศัักยภาพสููงกว่่า การส่ง่ ต่่อไปยัังศูนู ย์์การดููแลผู้�้ป่่วยโรคหายาก และการส่ง่ กลัับไปดููแลรัักษาต่อ่ เนื่อ่� งยัังหน่ว่ ยบริกิ ารประจำำ�หรืือหน่ว่ ยบริกิ ารอื่น�่ หรืือชุุมชน ทั้ง�้ ทางบก ทางน้ำ��ำ และ ทางอากาศ ทั้้ง� นี้้� กรณีกี ารส่ง่ กลัับไปยัังชุุมชน จ่่ายค่่าใช้จ้ ่า่ ยเฉพาะส่ง่ กลัับจากศููนย์ก์ ารดููแลผู้ป�้ ่ว่ ยโรคหายากเท่า่ นั้้�น อััตราการจ่่ายค่่าพาหนะที่่�ใช้้ทั้�้งทางบก ทางน้ำ�ำ� และทางอากาศเป็็นไปตามที่่�กำ�ำ หนดในคู่่�มืือแนวทางปฏิิบััติิในการ ขอรัับค่่าใช้จ้ ่า่ ยเพื่�่อบริิการสาธารณสุุขของสำำ�นัักงาน 1) กรณีีรถยนต์์ สปสช.คำ�ำ นวณค่่าใช้จ้ ่่ายตามระยะทางของกรมทางหลวงไป - กลัับ โดยจ่่ายค่า่ ใช้้จ่า่ ยตามที่่ค� ำำ�นวณได้้แต่่ ไม่่เกินิ จำ�ำ นวนเงินิ ที่่ห� น่่วยบริกิ ารเรียี กเก็็บ ดัังนี้้� - ระยะทางไปกลัับ ไม่่เกินิ 50 กิโิ ลเมตร จ่า่ ยตามจริงิ ไม่เ่ กินิ 500 บาท - ระยะทางไปกลัับ มากกว่่า 50 กิโิ ลเมตร จ่่ายเริ่�มต้น้ 500 บาท และจ่า่ ยเพิ่่ม� กิิโลเมตรละ 4 บาท 2) กรณีีค่่าเรือื /แพขนานยนต์์ จ่า่ ยตามระยะทาง และชนิิดของเรือื /แพขนานยนต์์ ตามอััตรา ดังั นี้้� ระยะทาง ไป-กลับ ชนิดของเรอื อตั ราการจ่ายชดเชย รหัสการบันทกึ (กิโลเมตร) (มาตรฐานของเรอื ) 1,200 S1803A 5-15 เรอื หางยาวเร็ว 2,000 S1803B 16-50 เรอื เร็ว 5,000 S1803C 51-100 เรือเร็ว 2 เครอื่ งยนต์ 3,000 S1803D เรือหางยาวเร็ว 5,000 S1803E 101 เป็นต้นไป เรอื เร็ว 35,000 S1803F เรอื เร็ว 2 เครอื่ งยนต์ 4,000 S1803G เรือหางยาวเรว็ 10,000 S1803H เรอื เร็ว 35,000 S1803I เรอื เรว็ 2 เครื่องยนต์ 35,000 S1803J เรือเร็ว 35,000 S1803K เรือเรว็ 2 เคร่อื งยนต์ 210

ระยะทาง ไป-กลับ ชนิดของเรือ อัตราการจ่ายชดเชย รหสั การบันทกึ (กิโลเมตร) (มาตรฐานของเรือ) อัตราตามจริงไมเ่ กิน S1803L แพขนานยนต์ 5,000 บาทตอ่ ครง้ั ไม่จ�ำ กดั ระยะทาง 3) กรณีีอากาศยานปีีกหมุุน (เฮลิคิ อปเตอร์)์ หน่่วยบริิการต้้องประสานงานเพื่่�อขอรัับการบริิการและค่่าใช้้จ่่ายตามแนวทางปฏิิบััติิในการส่่งต่่อผู้้�ป่่วย ฉุุกเฉิินด้้วยอากาศยาน พ.ศ. 2557 ของสถาบัันการแพทย์์ฉุุกเฉิินแห่่งชาติิ (สพฉ.) และต้้องได้้รัับการอนุุมััติิจาก สพฉ. เท่า่ นั้น�้ โดยสปสช. จะเป็น็ ผู้ส�้ นัับสนุุนค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยตามชนิดิ เครื่อ� งยนต์แ์ ละระยะเวลาในการบินิ ดัังนี้้� ชนดิ เคร่ืองยนต์ อัตราการจา่ ย (บาท) / ช่วั โมงบนิ เฮลคิ อปเตอร์ 1 เครื่องยนต์ 40,000 เฮลคิ อปเตอร์ 2 เคร่ืองยนต์ 80,000 เฮลิคอปเตอร์ 3 เครอื่ งยนต์ 120,000 เฮลคิ อปเตอร์ 4 เครื่องยนต์ 160,000 การอุทุ ธรณ์ก์ ารจ่า่ ย หน่่วยบริกิ ารและศููนย์์การดููแลผู้�้ป่ว่ ยโรคหายาก สามารถอุุทธรณ์์ได้ภ้ ายใน 30 วัันหลัังได้ร้ ัับรายงานการ จ่่ายเงิิน โปรแกรมการบัันทึึกข้อ้ มููล และวิธิ ีีการบัันทึึก บัันทึึกข้้อมููลในโปรแกรมระบบบริกิ ารดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายาก ของ สปสช.ในส่ว่ นต่่างๆ ดัังนี้้� 1. บัันทึึกข้้อมููลลงทะเบียี นผู้ป้� ่ว่ ย 2. บัันทึึกข้อ้ มููลการให้บ้ ริิการ และการติดิ ตามการรัักษา 3. บัันทึกึ ข้อ้ มููลการเบิิกจ่่ายค่า่ พาหนะ การติิดต่่อประสานงาน หากหน่่วยบริิการและศููนย์์การดููแลผู้ป้� ่่วยโรคหายาก มีขี ้้อสงสััยต้อ้ งการสอบถามเพิ่่ม� เติิม สามารถติิดต่่อ ได้ด้ ัังนี้้� 1) สำ�ำ นัักงานหลัักประสุุขภาพแห่่งชาติิสาขาเขต ในพื้้�นที่่�ของหน่่วยบริิการและศููนย์์การดููแลผู้�้ป่่วย โรคหายาก 2) สายด่ว่ น สปสช. 1330 ตลอด 24 ชั่่�วโมง 3) Help Desk สำ�ำ นัักบริหิ ารการจััดสรรและชดเชยค่า่ บริกิ าร ในวัันและเวลาราชการ หมายเลขโทรศััพท์์ 02-554-0505 4) รายชื่อ่� ศูนู ย์ก์ ารดููแลผู้้�ป่ว่ ยโรคหายาก แพทย์์ผู้�เ้ ชี่ย� วชาญ และเบอร์์โทรติดิ ต่อ่ ผู้้�ประสานงาน 211

ศููนย์์ เครืือข่่ายให้้ แพทย์์ดููแลผู้้�ป่่วยเด็ก็ แพทย์ด์ ููแล รายชื่่อ� ผู้�ประสานงาน โทรศัพั ท์์ โรคหายาก คำำ�ปรึกึ ษา/ ผู้้�ป่่วยผู้ �ใหญ่่ ส่่งต่่อ รพ. เขต 1 - ศ.นพ.วรศัักดิ์� - อ.นพ.ประสิิทธิ์์� 1. คุุณจัันทร์์จิริ า โตอััสมิิ 063-968-7863 จุุฬาลงกรณ์์ เชียี งใหม่่, โชติิเลอศัักดิ์ � เผ่า่ ทองคำำ� (พยาบาล) 062-591-5051 เขต 6 - ศ.ดร.พญ.กััญญา 2. นพ.ธรรมกมล ระยอง ศุุภปิิติพิ ร อััครธรรม - อ.พญ.ปองหทััย 3. นพ.ภวิินท์์ ดำ�ำ รงผล กออนัันตกุุล - อ.นพ.วุุทธิิชาติิ (แพทย์ป์ ระจำ�ำ บ้า้ นต่อ่ ยอด) กมลวิิศิิษฏ์์ รพ.ศิิริริ าช เขต 3 - รศ.นพ.นิิธิิวััชร์์ - อ.นพ.ชนินิ ทร์์ 1. นพ.ฐิิติพิ งศ์์ 1. 089-128-1448 นครสวรรค์์ วััฒนวิิจารณ์์ ลิ่ม� วงศ์์ สุุวรรณสภาพ (แพทย์์ เขต 5 - ผศ.พญ.อััจฉรา - รศ.นพ.มานพ ประจำำ�บ้้านต่อ่ ยอด) ราชบุุรีี เสถียี รกิิจการชััย พิทิ ัักษ์์ภากร 2. ศููนย์์ refer 2. 02-419-9556 รพ. ศิริ ิิราช หรืือ 02-419-8556 (24 ชั่่�วโมง) รพ. เขต 9 - ศ.พญ.ดวงฤดีี - รศ.นพ.ธัันยชััย 1. คุุณทิพิ วััลย์์ 1. 02-2012782-3, รามาธิบิ ดีี นครราชสีมี า วััฒนศิิริชิ ััยกุุล สุุระ เขต 10 - ผศ.พญ.ทิพิ ย์์วิิมล - อ.พญ.อััจฉรา สีดี ำ�ำ นิลิ เจ้า้ หน้า้ ที่่ธ� ุุรการ: 0928143976 อุุบลราชธานีี ทิิมอรุุณ ธัญั ธีรี ธรรม ขั้้�นตอนการส่ง่ Lab และ (ในเวลาราชการ) การจััดส่ง่ specimen 2. 02-2012782-3 2. คุุณณิชิ ชา ขุุนอิินทร์์ 087-0874925 พยาบาล: ปรึึกษาเกี่ย� ว (กรณีีเร่ง่ ด่่วน) กัับอาการของ 3. 02-2012984-5 ผู้้�ป่ว่ ย ต้อ้ งการ consult Fax 02-2012983 แพทย์์หรืือส่ง่ ต่่อ 3. ศููนย์์ refer รพ. รามาธิิบดีี (24 ชั่่�วโมง) สถาบััน เขต 2 - ศ.คลิินิิก นพ.สุุทธิพิ งษ์์ อ.พญ.จุุฬาลัักษณ์์ 089-159-9650 สุุขภาพเด็ก็ พิษิ ณุุโลก ปังั คานนท์์ แห่ง่ ชาติิ - อ.พญ.จุุฬาลัักษณ์์ คุุปตานนท์์ มหาราชิินีี คุุปตานนท์์ 212

ศููนย์์ เครือื ข่่ายให้้ แพทย์ด์ ููแลผู้้�ป่ว่ ยเด็็ก แพทย์ด์ ููแล รายชื่่อ� ผู้�ประสานงาน โทรศัพั ท์์ โรคหายาก คำ�ำ ปรึกึ ษา/ ผู้้�ป่ว่ ยผู้�ใหญ่่ ส่่งต่่อ - พ.อ.ผศ.นพ.กิติ ติิ บููรณวุุฒิิ รพ. เขต 12 - พ.อ.รศ.นพ.บุุญชััย 1. ศููนย์์ refer 1. 02-763-3907 พระมงกุุฎ สงขลา บุุญวััฒน์์ รพ.พระมงกุุฎเกล้า้ (เวลา 08.00-24.00 น.) เกล้า้ - พ.ต.นพ.ทิมิ 2. 086-383-3119 เพชรทอง เมื่่�อไม่่สามารถ 2. พ.อ.นพ.บุุญชััย ติิดต่อ่ 1 ได้้ บุุญวััฒน์์ รพ. เขต 4 - ผศ.พญ.กิิติิวรรณ 1. คุุณปนััดดา แย้้มอ่ำ��ำ / 1. 02-926-9514 ธรรมศาสตร์์ สระบุุรีี โรจนเนืืองนิติ ย์์ คุุณนฤมล ยัังอยู่่� (ในเวลาราชการ) เขต 11 สุุราษฎร์ธ์ านีี (เลขาภาควิชิ า) 2. 02-926-9022 2. ศููนย์ร์ ัับ refer (24 ชั่่ว� โมง) รพ.ธรรมศาสตร์์ (*ให้้แจ้ง้ ว่า่ โรคหายาก) 3. รศ.พญ. กิติ ิวิ รรณ 3. 089-222-3226 โรจนเนืืองนิิตย์์ (กรณีี (เมื่�่อไม่่สามารถ ปรึึกษาอาการผู้ป�้ ่ว่ ย) ติดิ ต่่อ 1,2) รพ. เขต 7 - ผศ.นพ.กุุณฑล 1. ศููนย์ร์ ัับ refer ผู้�้ป่่วย 1. 090-861-9060 ศรีนี ครินิ ทร์์ ขอนแก่่น วิิชาจารย์์ ขอนแก่น่ เขต 8 เด็็กรพ.ศรีีนครินิ ทร์์ (ทั้้ง� ในและนอกเวลา อุุดรธานีี ราชการ) 2. ผศ.นพ.กุุณฑล 2. 081-653-5016 วิชิ าจารย์์ เมื่อ�่ ไม่่สามารถ ติดิ ต่่อ 1 ได้้   213

บทที่ 4 แนวทางปฏิิบััติิในการขอรัับค่่าใช้้จ่่าย เพื่่�อบริิการสาธารณสุุข กรณีีบริิการฟื้้�นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ ขอบเขตบริิการ เป็็นค่่าใช้้จ่่ายบริิการฟื้�้นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ให้้กัับหน่่วยบริิการในระบบหลัักประกััน สุุขภาพแห่่งชาติิ โดยครอบคลุุมบริิการฟื้้�นฟูสู มรรถภาพด้้านการแพทย์ ์ สำ�ำ หรัับผู้้�ป่ว่ ย คนพิกิ าร (รหััสสิิทธิิย่อ่ ย 74) ผู้้�สูงอายุุ ที่�่จำำ�เป็็นต้้องได้้รัับการฟื้�้นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์อย่่างต่่อเนื่่�องทั้้�งในหน่่วยบริิการและในชุุมชน รวมถึงึ คนพิกิ ารได้ร้ ับั อุปุ กรณ์เ์ ครื่อ่� งช่ว่ ยคนพิกิ ารตามความจำ�ำ เป็น็ อย่า่ งทั่่ว� ถึงึ และส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กิดิ ความร่ว่ มมืือระหว่า่ ง หน่ว่ ยบริิการ องค์ก์ รปกครองส่ว่ นท้้องถิ่น� องค์์กรคนพิกิ าร องค์ก์ รภาคีีที่่เ� กี่ย�่ วข้้อง และชุุมชนในการพัฒั นารูปู แบบ การดูแู ล ช่ว่ ยเหลืือ สนัับสนุุน และให้้บริิการฟื้น้� ฟูสู มรรถภาพแก่่กลุ่�มเป้้าหมายร่ว่ มกััน 214

อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการตามความจาเป็นอย่างทั่วถึง และส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรคนพิการ องค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง และชุมชนในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสกนรอนุ บแแลนะวใทหาบ้ งรกิกาากรรรบฟอรน้ืิบหิ ฟแาสู รนมจวัรัดทรกาถางภรกาคา่พา่รแบบกรริ่กกิหิ ลาาุม่รรฟเจืป้้�นัด้ากฟหูาสูมรมาคยรา่ รรบว่ถรมภิกกาานัพรดฟ้า้ ้ืนนฟกูสามรแรรพถทภยา์์ พดา้ นการแพทย์ ก. บรกิ ารฟน้ื ฟขูส. บมรริรกิ ถาภรฟาื้พ้�นดฟู้าสู นมกรารรถแภพาทพยด้์้าสนำกหารรบั แจพงั ทหยว์์ ดัสำท�ำ หี่ไมรัม่บั กีจัองั งหทวัุนดั ฟที่่�ไนื้ มฟ่ม่ ีูสีกมอรงรทถุนุ ภฟาื้น้�พฟรูะสู ดมับรจรถังหภวาพัดระดัับจัังหวััด 1. กปร1รณ.ะกกีคอรา่ ณบอีดปุคี ่ว้ กา่ ย อร ุกณปุ าปก์เรรคะรใหรณก์ื่อห้บอ์เงบคลรรัชิกืดัก่้่ว่อ�าว้เกยรงยสณชก่ำ5ว่าฑหร์ย์กสใรกำหาบั้รำ�รบ้ ณหคจร่นริีด่าัิกบัพยงัานคครกิ ่ น้ี่าา ใรพ5ชิ ้กิ ้จก่า่ารรยณีเีพดืั่�่อังนบี้้� ริิการสาธารณสุุข หลักเกกาณรจฑ่่า์กยาคร่่าจใา่ ช้ย้จค่่าา่ ยใเชพืจ้่�่อา่ บยรเิพิกอ่ืาบรสรกิาธาารรสณาสธุาุขรณกสรณขุ ีีค่่าอุุปกรณ์์เครื่่�องช่่วยสำ�ำ หรัับคนพิิการสิิทธิิ หลัักประกัันสุุขกภาราจพ่าแยหค่่ง่าชใาชต้จิใิ ่าห้ย้เปเพ็็นื่อไบปตริกามารหสลัากั ธเากรณณฑส์์ดุขังั ตก่่อรไณปนีีค้้่า� อุปกรณ์เครื่องช่วยสำหรับคนพิการสิทธิหลักประกัน สขุ ภาพแหง่ ชาติใหเ้ ปน็ ไปต1าม. หเปล็นัก็ เกกาณรใฑห้ด์บ้ ังริตกิ ่อารไปแกน่ผ่ ้ีู้้�รับบริกิ ารที่�่เป็็นคนพิิการ (รหััสสิิทธิยิ ่่อย 74) เหป32นน็.. ่วกยสชหา่ำนบว่ำ�ร่นยรใว่ัหกิสกัยำ้บา�ำงบหารรรรนิทกิกิัจ่ีใับาา่หรา่รคทยแบ้ีน่กครใ่�่พห่าผ่ิกิ้ใกิรบู้้าชาับ้รรจ้ิรแ่กิบา่ ลายรระกิสแำมา�ำ ลหีสรระททิ ัมีี่เบัธีปสิรกิทิ็นบัาธครคิรจินั่าับั ดัใพคชบ่กิ า่จ้ ราใิา่กิชร้ยาจ้ ่(รา่รเสปยหา็นเัสธปหส็าน็ รนทิ หณว่ธนสยยิุ่ว่บอ่ขุ ยยร บติกา7ราิมก4ิรจ)าทรริ่ใีทงิีห่ไใ�่ มบ้ ห่้เ่รบ้กิกิรนิ ิากิ อรัาตัอรรปุอุากปุ ทีรก่ �่ ณสรำำ�ณ์เน์คัเ์ กัรครื่อืง่าอ�่งนชงว่ ย 1. 2. สำหรกำับำ�คหนนพด ิกราารยการตามประกาศ สำำ�นัักงานหลักั ประกัันสุขุ ภาพแห่่งชาติิ ว่่าด้ว้ ย หลัักเกณฑ์์ วิธิ ีีการ และเงื่อ� นไข การจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยการให้บ้ ริกิ ารสาธารณสุขุ กรณีีการให้บ้ ริกิ ารอุปุ กรณ์์ และอวัยั วะเทีียม ในการบำ�ำ บััดรักั ษาโรค (รายละเอีียดตามภาคผนวก 16) วิธิ ีีการเรีียกเก็บ็ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเพื่่�อบริิการสาธารณสุขุ หน่ว่ ยบริิการที่�่ให้้บริกิ ารบัันทึึกและส่่งข้้อมูลู เรีียกเก็็บค่่าใช้้จ่า่ ย โดย 1. หน่ว่ ยบริกิ ารในพื้้น� ที่ ่� สำำ�นักั งานเขต 1-12 บันั ทึกึ ข้อ้ มูลู ผลงานบริกิ ารผ่า่ นโปรแกรมบันั ทึกึ ข้อ้ มูลู เบิิกอุุปกรณ์ค์ นพิกิ ารและการให้บ้ ริิการฟื้้�นฟูสู มรรถภาพ (Disability Portal) 215

2. หน่ว่ ยบริกิ ารในพื้้�นที่่ � สำ�ำ นักั งานเขต 13 บันั ทึึกข้้อมูลู ดังั นี้้� 2.1 วัันที่่� 1 ตุุลาคม – 31 ธัันวาคม 2564 บันั ทึกึ ข้อ้ มูลู ผ่่านโปรแกรม OPBKK 2.2 ตั้�งแต่่วันั ที่่� 1 มกราคม 2565 บัันทึกึ ข้อ้ มูลู ผ่่านโปรแกรม e-Claim การตรวจสอบข้อ้ มูลู การจ่่ายค่่าใช้จ้ ่่าย ดัังนี้้� 1. หน่่วยบริิการในพื้้�นที่�่ สำำ�นัักงานเขต 1-12 ตรวจสอบข้้อมููลรายงานการจ่่ายค่่าใช้้จ่่าย ผ่า่ นระบบบููรณาการติิดตามข้้อมูลู การจ่า่ ยชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 2. หน่ว่ ยบริิการในพื้้�นที่ �่ สำำ�นัักงานเขต 13 ตรวจสอบข้้อมูลู รายงานการจ่า่ ยค่่าใช้้จ่า่ ย ดังั นี้้� 2.1 ข้อ้ มูลู บริกิ ารตั้้ง� แต่ว่ ันั ที่่� 1 ตุลุ าคม – 31 ธันั วาคม 2564 ตรวจสอบข้อ้ มูลู ผ่า่ นโปรแกรม OPBKK 2.2 ข้อ้ มูลู บริกิ ารตั้้ง� แต่ว่ ันั ที่่� 1 มกราคม 2565 ตรวจสอบข้อ้ มูลู ผ่า่ นระบบบูรู ณาการติดิ ตาม ข้้อมูลู การจ่่ายชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 2. กรณีบี ริกิ ารฟื้้�นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์ร์ ะยะกลาง หลักั เกณฑ์ก์ ารจ่่ายค่า่ ใช้จ้ ่่ายเพื่�่อบริกิ ารสาธารณสุุข การจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายเพื่�อ่ บริิการสาธารณสุุข กรณีีบริิการฟื้�น้ ฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ระยะกลาง (Intermediate care : IMC) สิทิ ธิหิ ลัักประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติ ิ สำ�ำ หรัับ ผู้้�ป่ว่ ยโรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) หรืือ กรณีีสมองบาดเจ็บ็ (Traumatic brain injury) หรืือการบาดเจ็็บที่�ไ่ ขสันั หลังั (Spinal cord injury) ให้้เป็็นไปตาม หลักั เกณฑ์์ดัังนี้้� 1. เป็น็ การให้บ้ ริกิ ารแก่ผ่ ู้้�รับบริกิ ารกลุ่�มเป้า้ หมายที่เ�่ ป็น็ ผู้้�ป่วยระยะกลางที่พ�่ ้น้ ระยะวิกิ ฤตที่ม�่ ีี สภาวะทางการแพทย์ค์ งที่�่ และเป็น็ ผู้้�ป่วยที่ม�่ ีีค่า่ Barthel Score หรืือ ADL น้อ้ ยกว่า่ 15 หรืือ ค่า่ Barthel Score หรืือ ADL เท่า่ กับั หรืือมากกว่า่ 15 แต่ม่ ีี Multiple impairment ร่ว่ มด้ว้ ย กล่มุ เป้าหมาย รหสั ICD 10 โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) รหสั I60 - I64 สมองบาดเจบ็ (Traumatic brain injury : TBI) รหสั S061 - S069 การบาดเจ็บท่ีไขสันหลัง (Spinal cord injury : SCI) รหัส S14.0 - S14.1 S24.0 - S24.1 S34.0 - S34.1 , S34.3 216

2. หน่ว่ ยบริกิ ารที่ใ�่ ห้บ้ ริกิ ารและมีีสิทิ ธิริ ับั ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ได้แ้ ก่ ่ หน่ว่ ยบริกิ ารประจำ�ำ หน่ว่ ยบริกิ าร รับั ส่ง่ ต่อ่ ทั่่ว� ไป และ หน่ว่ ยบริกิ ารรับั ส่ง่ ต่อ่ เฉพาะด้า้ นกายภาพบำำ�บัดั ที่ส่� ามารถให้บ้ ริกิ าร ฟื้้�นฟููสมรรถภาพด้า้ นการแพทย์ร์ ะยะกลาง (Intermediate care : IMC) 3. สำ�ำ นักั งานจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยสำำ�หรับั การจัดั บริกิ ารสาธารณสุขุ ตามจริงิ ไม่เ่ กินิ อัตั ราที่ก่� ำ�ำ หนด มีีรายการดังั นี้้� ประเภท รหสั อตั ราจ่าย จ�ำ นวนครัง้ หมายเหตุ การให้บรกิ าร บริการ ชดเชย 1. กายภาพบำ�ำ บััด H9339.1 450 ให้้บริิการไม่เ่ กินิ 20 ครั้้ง� โดย 3 กิิจกรรมเป็็นการ 2. กิจิ กรรมบำ�ำ บััด กรณีีหน่่วยบริิการรัับส่่งต่่อเฉพาะ จััดบริิการแบบผู้�้ ป่่วยนอก 3. แก้ไ้ ขการพูดู H9383.1 150 ด้้านกายภาพบำ�ำ บััด เมื่�่อให้้บริิการ หรืือ ในชุุมชน ภายใน H9375.1 150 ครบจำ�ำ นวนครั้�งที่่�กำ�ำ หนดให้้ส่่ง ระยะเวลา 6 เดืือนจากวันั ต่อ่ ตามระบบปกติิ จำ�ำ หน่า่ ยผู้�้ ป่ว่ ยใน และครบ รวมให้บ้ ริกิ าร ไม่่เกิิน 10 ครั้้ง� ตามจำ�ำ นวนครั้ง� ที่่�กำ�ำ หนด กรณีีการรัับส่่งต่่อระหว่่าง หน่่วยบริิการให้้นัับจำำ�นวน ครั้ง� ต่่อเนื่อ่� ง วิธิ ีีการเรีียกเก็็บค่า่ ใช้้จ่่ายเพื่่�อบริกิ ารสาธารณสุุข หน่ว่ ยบริกิ ารที่ใ�่ ห้บ้ ริกิ ารบันั ทึกึ และส่ง่ ข้อ้ มูลู เรีียกเก็บ็ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ผ่า่ นระบบโปรแกรมบันั ทึกึ ข้อ้ มูลู เบิกิ อุปุ กรณ์ค์ นพิิการและการให้บ้ ริิการฟื้้น� ฟููสมรรถภาพ (Disability Portal) การตรวจสอบข้อ้ มูลู การจ่่ายค่่าใช้้จ่่าย สำ�ำ นัักงานจะประมวลผลและแจ้้งรายงานการจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายให้้แก่่หน่่วยบริิการผ่่านระบบ บูรู ณาการติิดตามข้อ้ มูลู การจ่่ายชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 3. กรณีีบริกิ ารฟื้้น� ฟููสมรรถภาพทางการมองเห็น็ หลัักเกณฑ์์การจ่า่ ยค่่าใช้จ้ ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุขุ การจ่่ายค่่าใช้จ้ ่า่ ยเพื่่�อบริิการสาธารณสุุข กรณีีบริิการฟื้้�นฟูสู มรรถภาพทางการมองเห็็น เพื่่อ� การ สร้า้ งความคุ้�นเคยกับั สภาพแวดล้อ้ มและการเคลื่อ่� นไหว (Orientation & Mobility : O&M) สิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุขุ ภาพ แห่ง่ ชาติิให้้เป็็นไปตามหลัักเกณฑ์ ์ ดัังนี้้� 1. เป็น็ การให้บ้ ริกิ ารแก่ผ่ ู้้�รับบริกิ าร เป็น็ คนพิกิ ารทางการมองเห็น็ (DF1) อายุตุั้ง� แต่่ 1 ปีขีึ้น� ไป ทั้้�งที่่�เป็็นคนพิิการตั้้�งแต่่กำ�ำ เนิิดหรืือภายหลััง กรณีีผู้้�สูงอายุุที่�่มีีอายุุ 60 ปีีขึ้�นไป เน้้นผู้้�ที่� สามารถเคลื่อ่� นไหวในชีีวิิตประจำ�ำ วัันได้้ 217

2. หน่ว่ ยบริิการที่ใ่� ห้บ้ ริกิ ารมีีคุณุ สมบัตั ิิ ดังั นี้้� 2.1 ผ่า่ นการรัับรองตามมาตรฐานพื้้�นฐานการให้บ้ ริกิ ารและมีีครูฝู ึกึ ทัักษะ O&M ที่�่ผ่า่ น การอบรมในหลักั สูตู รครูฝู ึกึ พื้้น� ฐาน (O&M Instructor) จำ�ำ นวนไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ 200 ชั่่ว� โมง หรืือประมาณ 6 ถึงึ 8 สัปั ดาห์์จากวิิทยาลััยราชสุดุ า มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล หรืือหน่ว่ ย งานที่่ส� ำำ�นัักงานกำ�ำ หนดเพิ่่ม� เติิม 2.2 จัดั ให้ม้ ีีบริกิ ารหรืือส่ง่ ต่อ่ การตรวจสุขุ ภาพตา เพื่อ�่ ประเมินิ ความสามารถในการมองเห็น็ 3 . สำ�ำ นักั งานจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยสำ�ำ หรับั การจัดั บริกิ ารสาธารณสุขุ ตามรายการและอัตั รา ดังั นี้้� 3.1 รููปแบบการให้้บริิการ ให้้จัดั บริิการได้เ้ ป็็น 2 รูปู แบบ 3.1.1 กรณีีการจััดบริกิ ารรายกลุ่�ม ๆ ละไม่เ่ กินิ 15 คน อัตั ราส่ว่ นของครูฝู ึกึ 1 คนต่่อผู้เ�้ ข้า้ รัับบริิการ 5 คน ระยะเวลาการฝึึกอบรมรายกลุ่�ม เฉลี่่�ย 120 ชั่่�วโมงต่่อคน โดยให้้บริกิ ารวันั ละไม่่เกินิ 6 ชั่่ว� โมง สัปั ดาห์์ละไม่เ่ กินิ 6 วันั 3.1.2 กรณีีการจััดบริิการรายบุุคคล หากผู้้�รับบริิการรายนั้้�นไม่่พร้้อมเข้้ารัับ บริิการรายกลุ่�ม สามารถจััดส่ง่ ครูฝู ึกึ ไปให้้บริิการที่�่บ้า้ นได้้ ระยะเวลาการฝึึกอบรม 80 ถึึง 120 ชั่่�วโมง 3.2 เหมาจ่่ายในอััตรา 9,000 บาทต่่อคน (1 คนเข้า้ รับั บริกิ ารได้เ้ พีียงครั้้ง� เดีียวเท่่านั้้�น) วิธิ ีีการเรีียกเก็็บค่่าใช้จ้ ่่ายเพื่่�อบริกิ ารสาธารณสุุข หน่ว่ ยบริกิ ารที่ใ่� ห้บ้ ริกิ ารบันั ทึกึ และส่ง่ ข้อ้ มูลู เรีียกเก็บ็ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ผ่า่ นระบบโปรแกรมบันั ทึกึ ข้อ้ มูลู เบิกิ อุุปกรณ์ค์ นพิกิ ารและการให้้บริิการฟื้�น้ ฟููสมรรถภาพ (Disability Portal) การตรวจสอบข้อ้ มูลู การจ่่ายค่า่ ใช้้จ่่าย สำำ�นัักงานจะประมวลผลและแจ้้งรายงานการจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายให้้แก่่หน่่วยบริิการผ่่านระบบ บูรู ณาการติิดตามข้อ้ มูลู การจ่่ายชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 4. กรณีบี ริิการฝึึกทัักษะการดำ�ำ รงชีีวิิตอิสิ ระสำำ�หรับั คนพิกิ าร หลักั เกณฑ์ก์ ารจ่า่ ยค่่าใช้จ้ ่า่ ยเพื่่�อบริกิ ารสาธารณสุขุ การจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายเพื่�่อบริิการสาธารณสุุข กรณีีบริิการฝึึกทัักษะการดำ�ำ รงชีีวิิตอิิสระสำำ�หรัับ คนพิกิ าร ทางร่า่ งกายและการเคลื่อ�่ นไหว (Independent Living : IL) สิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติใิ ห้เ้ ป็น็ ไปตาม หลัักเกณฑ์์ดังั ต่่อไปนี้้� 1. เป็น็ การให้บ้ ริกิ ารแก่ผ่ ู้้�รับบริกิ ารที่ม�่ ีีคุณุ ลักั ษณะดัังนี้้� 1.1 คนพิกิ ารที่จ�่ ดทะเบีียนคนพิกิ ารประเภท 3 (พิกิ ารทางร่า่ งกายและการเคลื่อ�่ นไหว) 1.2 ไม่่มีีปััญหาทางการรัับรู้� (cognitive function) ปััญหาทางการสื่�่อสารหรืือมีีความ พิกิ ารซ้ำ��ำ ซ้อ้ น เช่น่ พิกิ ารทางสติปิ ัญั ญา พิกิ ารทางการมองเห็น็ พิกิ ารทางการได้้ยินิ หรืือพิกิ ารด้า้ นอื่น�่ ร่ว่ ม 2. หน่่วยบริิการที่ใ�่ ห้้บริิการและมีีสิิทธิิรัับค่่าใช้้จ่า่ ย เป็็นหน่ว่ ยบริกิ ารที่�่รับั การส่่งต่อ่ เฉพาะด้า้ น ฟื้้น� ฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ ที่�่เป็น็ ศููนย์บ์ ริกิ ารคนพิิการทั่่�วไป โดยมีีหลักั เกณฑ์แ์ ละเงื่อ� นไข ดัังนี้้� 218

2.1. มีีบุคุ ลากรผู้ใ้� ห้บ้ ริกิ าร IL ผ่า่ นการอบรมในหลักั สูตู รครูฝู ึกึ พื้้น� ฐาน (IL Instructor) และ ได้ร้ ับั ใบประกาศนีียบัตั รการรับั รองจากวิทิ ยาลัยั ราชสุดุ าหรืือหน่ว่ ยงานอื่น�่ ที่เ่� กี่ย่� วข้อ้ ง 2.2. ให้้บริิการฝึึกทัักษะการดำ�ำ รงชีีวิิตอิิสระตามมาตรฐานที่�่กรมการแพทย์์ให้้การรัับรอง ซึ่ง� มีีระยะเวลาในการดำ�ำ เนิินงาน 8 สัปั ดาห์ ์ ต่อ่ ผู้้�รับบริิการ 1 คน 3. สำ�ำ นักั งานจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยสำ�ำ หรับั การจัดั บริกิ ารสาธารณสุขุ โดยแบ่่งจ่า่ ยชดเชย 2 ครั้้�ง จำ�ำ นวน 11,000 บาท ต่อ่ การให้้บริิการ 1 ราย ตามอัตั รา ดังั นี้้� 3.1 ครั้้ง� ที่�่ 1 เมื่อ�่ หน่ว่ ยบริกิ ารประเมินิ ความต้อ้ งการของผู้้�รับบริกิ าร ตกลงบริกิ าร การให้้ ปรึกึ ษาฉันั เพื่อ่� น กำ�ำ หนด Achieve goal ร่ว่ มกััน หน่ว่ ยบริกิ ารลงทะเบีียนแ ละบันั ทึกึ Achieve goal ในระบบ Disability portal พร้้อมทั้้�งเรีียกเก็็บค่่าใช้้จ่่าย เหมาจ่่ายใน อัตั รา 6,000 บาท 3.2 ครั้้�งที่�่ 2 เมื่�่อหน่่วยบริิการดำ�ำ เนิินการฝึึกทัักษะการดำำ�รงชีีวิิตอิิสระครบตามกำำ�หนด บัันทึึกผลการดำ�ำ เนินิ งาน และAchieve goal ในระบบ Disability portal พร้้อมทั้้�งเรีียก เก็็บค่า่ ใช้จ้ ่่าย เหมาจ่า่ ยในอัตั รา 5,000 บาท วิิธีีการเรีียกเก็บ็ ค่า่ ใช้จ้ ่่ายเพื่่�อบริกิ ารสาธารณสุขุ หน่ว่ ยบริกิ ารที่ใ่� ห้บ้ ริกิ ารบันั ทึกึ และส่ง่ ข้อ้ มูลู เรีียกเก็บ็ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย ผ่า่ นระบบโปรแกรมบันั ทึกึ ข้อ้ มูลู เบิกิ อุุปกรณ์์คนพิิการและการให้บ้ ริิการฟื้�้นฟููสมรรถภาพ (Disability Portal) การตรวจสอบข้อ้ มูลู การจ่า่ ยค่่าใช้้จ่า่ ย สำ�ำ นักั งานจะประมวลผลและแจ้ง้ รายงานการจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยให้แ้ ก่ห่ น่ว่ ยบริกิ ารผ่า่ นระบบบูรู ณาการ ติดิ ตามข้้อมููลการจ่่ายชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 5. กรณีีบริิการฟื้้น� ฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์อ์ ื่่น� ๆ หลัักเกณฑ์์การจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุุข 1. การจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุุข กรณีีบริิการฟื้�้นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์อื่�่น ๆ สิทิ ธิหิ ลักั ประกัันสุขุ ภาพแห่่งชาติิ ให้้เป็น็ ไปตามหลัักเกณฑ์์ดัังต่่อไปนี้้� 1.1 เป็็นการให้้บริิการแก่่ผู้้�รับบริิการจำ�ำ เป็็นต้้องได้้รัับการฟื้�น้ ฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ คนพิกิ าร ผู้้�สูงอายุทุ ี่จ�่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งได้ร้ ับั การฟื้น�้ ฟูสู มรรถภาพด้า้ นการแพทย์์ 1.2 หน่ว่ ยบริกิ ารที่ใ�่ ห้บ้ ริกิ ารและมีีสิทิ ธิริ ับั ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย เป็น็ หน่ว่ ยบริกิ ารปฐมภูมู ิ ิ หน่ว่ ยบริกิ าร ประจำำ� หน่่วยบริิการรัับส่่งต่่อทั่่�วไป หรืือหน่่วยบริิการที่�่รัับการส่่งต่่อเฉพาะด้้านฟื้�้นฟูู สมรรถภาพทางการแพทย์์ หรืือเป็็นไปตามแนวทางที่ส�่ ำำ�นัักงานกำ�ำ หนด 1.3 หน่ว่ ยบริิการมีีบุคุ ลากรสาขาวิิชาชีีพตามกิจิ กรรมที่่�ขอรัับค่า่ ใช้จ้ ่า่ ย 2. สำ�ำ นัักงานจ่่ายค่า่ ใช้้จ่่ายสำ�ำ หรับั การจััดบริิการสาธารณสุุข กรณีีบริกิ ารฟื้้�นฟูสู มรรถภาพ ด้า้ น การแพทย์์อื่�่นๆ โดยกรณีี กายภาพบำำ�บััด และกิิจกรรมบำำ�บััด สามารถให้้บริิการที่่�บ้้านหรืือในชุุมชนได้้ ทั้้�งนี้้�จ่่าย ชดเชยตามระบบ Point system with ceiling ของรายการบริิการ (Fee schedule) โดยจ่่ายตามจริิงไม่เ่ กินิ อัตั รา ที่ก�่ ำ�ำ หนดให้้กับั หน่่วยบริกิ ารตามรายการ ดัังนี้้� 219

ลำำ�ดับั รายการ อััตราชดเชย รายกลุ่ �ม รายบุุคคล (บาท/คน/วััน) 1 กายภาพบำ�ำ บััด รหัสั (บาท/วััน) รหััส - 2 กิิจกรรมบำ�ำ บััด H9339 150 - 3 การแก้้ไขการพูดู 4 จิิตบำำ�บััด H9383.1 150 H9383.2 75 5 พฤติกิ รรมบำ�ำ บััด 6 ฟื้้�นฟูกู ารได้ย้ ินิ H9375.1 150 H9375.2 75 7 การฟื้้�นฟููสมรรถภาพ H9449.1 300 H9449.2 150 ทางการเห็น็ 8 Early Intervention H9433.1 300 H9433.2 150 9 Phenol block H9549 150 - - H9378.2 150 H9378.3 75 H9438.1 150 H9438.2 75 H0489 500 - - วิธิ ีีการเรีียกเก็็บค่่าใช้้จ่า่ ยเพื่่�อบริิการสาธารณสุขุ หน่ว่ ยบริิการที่่�ให้บ้ ริิการบัันทึกึ และส่่งข้้อมูลู เรีียกเก็็บค่่าใช้้จ่า่ ย โดย 1. หน่่วยบริิการในพื้้�นที่่ � สำ�ำ นักั งานเขต 1-12 บันั ทึึกข้้อมูลู ผลงานบริกิ ารผ่่านโปรแกรมบัันทึึก ข้้อมููลเบิิกอุุปกรณ์์คนพิกิ ารและการให้้บริิการฟื้น้� ฟููสมรรถภาพ (Disability Portal) 2. หน่่วยบริิการในพื้้�นที่่� สำำ�นัักงานเขต 13 บันั ทึึกข้้อมูลู ดัังนี้้� 2.1 วัันที่�่ 1 ตุุลาคม – 31 ธันั วาคม 2564 บันั ทึึกข้้อมูลู ผ่่านโปรแกรม OPBKK 2.2 ตั้�งแต่ว่ ัันที่่� 1 มกราคม 2565 บันั ทึึกข้้อมูลู ผ่่านโปรแกรม e-Claim การตรวจสอบข้อ้ มูลู การจ่า่ ยค่่าใช้จ้ ่า่ ย ดังั นี้้� 1. หน่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่่� สำ�ำ นัักงานเขต 1-12 ตรวจสอบข้อ้ มูลู รายงานการจ่่ายค่่าใช้จ้ ่่ายผ่า่ น ระบบบูรู ณาการติิดตามข้้อมูลู การจ่า่ ยชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 2. หน่่วยบริิการในพื้้น� ที่�่ สำำ�นัักงานเขต 13 ตรวจสอบข้้อมูลู รายงานการจ่่ายค่า่ ใช้้จ่า่ ย ดังั นี้้� 2.1 ข้้อมููลบริิการตั้้�งแต่่วัันที่�่ 1 ตุุลาคม – 31 ธัันวาคม 2564 ตรวจสอบข้้อมููลผ่่าน โปรแกรม OPBKK 2.2 ข้้อมููลบริิการตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 มกราคม 2565 ตรวจสอบข้อ้ มูลู ผ่า่ นระบบบููรณาการ ติดิ ตามข้อ้ มููลการจ่่ายชดเชยโรคเฉพาะ (Seamless For DMIS) 220

ข. บริกิ ารฟื้้น� ฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ สำ�ำ หรับั จังั หวััดที่ม�่ ีีกองทุนุ ฟื้น้� ฟููสมรรถภาพระดับั จังั หวััด สำ�ำ นักั งานหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติ ิ จัดั สรรงบประมาณเพื่อ�่ สมทบให้ก้ องทุนุ ฟื้น้� ฟูสู มรรถภาพ ระดับั จังั หวัดั เป็น็ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยสำำ�หรับั ดำ�ำ เนินิ การงานฟื้น้� ฟูสู มรรถภาพด้า้ นการแพทย์ใ์ นรูปู แบบความร่ว่ มมืือกับั องค์ก์ ร ปกครองส่่วนท้อ้ งถิ่น� ตามประกาศสำำ�นัักงานหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่่งชาติิ ว่่าด้ว้ ย รายการ หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และ เงื่�อนไขการสนัับสนุุนค่่าใช้้จ่่ายสำำ�หรัับการจััดบริิการฟื้้�นฟููสรรมถภาพและการจััดหาอุุปกรณ์์เครื่�่องช่่วยความพิิการ ในกองทุุนฟื้�น้ ฟูรู ะดับั จัังหวัดั กำำ�หนดบริิการตามรายการและอัตั ราดังั นี้้� 1. หน่่วยบริิการที่จ่� ััดบริกิ ารมีีสิิทธิิรัับค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยบริิการฟื้้�นฟููสรรถภาพให้แ้ ก่่ผู้้�มีีสิทิ ธิใิ นชุุมชน ตามรายการและอััตราดัังนี้้� 1. บริิการกายภาพบำ�ำ บััด อััตรารายบุุคคล 150 บาทต่อ่ วันั 2. บริกิ ารกิจิ กรรมบำ�ำ บััด 2.1 อััตรารายบุคุ คล 150 บาทต่่อวััน 2.2 อััตรารายกลุ่�ม 75 บาทต่่อคนต่อ่ วััน 2. การฝึกึ ใช้อ้ ุปุ กรณ์เ์ พื่อ�่ สนับั สนุนุ การจัดั บริกิ ารฟื้น�้ ฟูสู มรรถภาพผู้้�พิกิ ารทางการมองเห็น็ ด้า้ นการทำ�ำ ความคุ้�นเคย กับั สภาพแวดล้้อมและเคลื่่อ� นไหว (Orientation & Mobility : O&M) กิจิ กรรมและอัตั ราเช่่นเดีียวกับั ข้้อ ก. บริกิ ารฟื้้น� ฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ สำำ�หรัับจังั หวััดที่่� ไม่ม่ ีีกองทุนุ ฟื้้น� ฟููสมรรถภาพระดัับจัังหวัดั กรณีีบริกิ าร O&M ที่ก่� ล่่าวข้้างต้น้ 3. หน่่วยบริิการที่จ�่ ัดั บริิการมีีสิทิ ธิไิ ด้้รับั ค่า่ ใช้้จ่า่ ยจากกองทุุน ในการจััดหาอุุปกรณ์เ์ ครื่่อ� งช่่วยความพิิการ ตามรายการดังั นี้้� ลำ�ำ ดัับ รหััส รายการอุุปกรณ์์ ราคากลาง อุปุ กรณ์์ (บาท) 650 1 8706 ไม้ค้ ้ำ�ำ�ยันั รัักแร้้ แบบอลููมิเิ นีียม 600 500 2 8707 ไม้เ้ ท้า้ อลููมิเิ นีียม แบบสามขา 350 6,600 3 8708 ไม้เ้ ท้า้ สำ�ำ หรัับคนตาบอดพัับได้ด้ ้ว้ ยสายยืืดหยุ่่�นชนิดิ มีีด้า้ ม 4,400 4 8711 ไม้ค้ ้ำำ��ยัันรักั แร้้ แบบไม้้ 800 5 8901 รถนั่่�งคนพิิการ ชนิิดพัับได้้ทำ�ำ ด้ว้ ยโลหะแบบปรัับให้เ้ หมาะสมกัับ 6,000 1,000 ความพิิการได้้ 221 6 8902 รถนั่่�งคนพิกิ าร ชนิิดพัับได้ท้ ำำ�ด้ว้ ยโลหะแบบปรัับไม่่ได้้ 7 8903 เบาะรองนั่่ง� สำ�ำ หรับั คนพิกิ าร 8 8904 รถสามล้้อโยกมาตรฐาน สำำ�หรัับคนพิิการ 9 9001 แผ่น่ รองตััว สำำ�หรับั ผู้้�ป่่วยอััมพาตหรืือที่่�นอนลม

ทั้้�งนี้้� รายการบริิการฟื้�้นฟููสมรรถภาพด้้านการแพทย์์ และรายการอุุปกรณ์์เครื่�่องช่่วยสำำ�หรัับ คนพิิการรายการอื่่�น ๆ นอกเหนืือจากรายการดัังกล่่าวข้้างต้้น สำำ�นัักงานจ่่ายชดเชยค่่าบริิการให้้กัับหน่่วยบริิการ ตามรายการและอัตั ราที่�่กำ�ำ หนดเช่น่ เดีียวกับั จังั หวััดที่ไ่� ม่ม่ ีีกองทุุนฟื้้น� ฟูสู มรรถภาพระดับั จัังหวัดั องค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด (อบจ.) ที่�่จััดตั้้�งกองทุุนฟื้้�นฟููสมรรถภาพระดัับจัังหวััด สามารถ ตรวจสอบข้้อมููลผลงานบริิการได้้ที่่�โปรแกรมระบบบริิหารจััดการกองทุุนฟื้�้นฟููสมรรถภาพระดัับจัังหวััด (http://www.pfr.nhso.go.th/pfr) 222

บทที่ 5 แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข บริการการแพทย์แผนไทย วััตถุุประสงค์/์ ขอบเขตบริิการ/เป้้าหมาย 1. เพื่อ�่ เพิ่ม�่ การเข้า้ ถึงึ บริิการการแพทย์แ์ ผนไทยที่ม�่ีีคุณุ ภาพ ของประชาชนสิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิ 2. เพื่่�อเพิ่�่มการเข้า้ ถึึงยาจากสมุุนไพรในบััญชีียาหลัักแห่่งชาติิ 3. เพื่่�อเพิ่�่มการเข้้าถึึงบริิการฝัังเข็็มหรืือบริิการฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้�นไฟฟ้้าในผู้้�ป่่วยกลุุ่มโรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) รายใหม่่ สิิทธิหิ ลักั ประกัันสุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิ ที่ต�่ ้อ้ งฟื้้น� ฟููสมรรถภาพทางการแพทย์ใ์ นระยะกลาง วงเงินิ งบที่ไ�่ ด้ร้ ับั ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเพิ่ม�่ เติมิ สำ�ำ หรับั บริิการการแพทย์แ์ ผนไทย ได้ร้ ับั จำ�ำ นวน 19.00 บาทต่อ่ ผู้�้มีสิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุขุ ภาพ แห่ง่ ชาติิ สำำ�หรับั ผู้้�มีสิทิ ธิิ 47.5470 ล้า้ นคน โดยเป็น็ การจ่า่ ยเพิ่ม่� เติมิ จากงบค่า่ บริิการทางการแพทย์เ์ หมาจ่า่ ยรายหัวั ประเภทบริิการผู้้�ป่ว่ ยนอกทั่่�วไป สำ�ำ หรัับบริิการแพทย์์แผนไทย รวมบริิการฝังั เข็็มหรืือบริิการฝัังเข็ม็ ร่ว่ มกับั กระตุ้�น ไฟฟ้า้ ในผู้�้ ป่ว่ ยกลุ่�มโรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) รายใหม่่ ที่ต่� ้อ้ งฟื้น้� ฟููสมรรถทางการแพทย์ใ์ นระยะกลาง และการ ใช้น้ ้ำ�ำ�มันั กัญั ชาในผู้้�ป่่วยโรคมะเร็ง็ พาร์์กิินสััน ไมเกรน และสารสกัดั กััญชาในผู้้�ป่่วยโรคลมชักั และมะเร็ง็ ระยะท้า้ ย โดยมีีหลักั เกณฑ์์การจ่่าย ดังั ต่่อไปนี้้� 223

1. บริิการการแพทย์แ์ ผนไทย 1.1 จ่า่ ยให้ห้ น่ว่ ยบริิการในระบบหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิ ที่ผ่� ่า่ นเกณฑ์ก์ ารขึ้น� ทะเบีียนการจัดั บริิการ การแพทย์์แผนไทย ประกอบด้้วย หน่่วยบริิการประจำำ� หน่่วยบริิการปฐมภููมิิที่�่มีีการจััดบริิการการแพทย์์แผนไทย หรืือหน่่วยบริิการที่่�รัับการส่่งต่่อเฉพาะด้า้ นแพทย์แ์ ผนไทย ในปีีงบประมาณ 2565 1.2 จ่่ายแบบเหมาจ่า่ ย ตามจำ�ำ นวนผลงานบริิการการแพทย์แ์ ผนไทย ประกอบด้ว้ ย บริิการนวด บริิการ ประคบ บริิการนวดและประคบ บริิการอบสมุุนไพร การฟื้น�้ ฟููสมรรถภาพมารดาหลังั คลอดตามแนวเวชปฏิิบััติิด้้าน การแพทย์์แผนไทย และการใช้้ยาจากสมุุนไพรในบััญชีียาหลัักแห่่งชาติิ โดยเป็็นผลงานบริิการตั้�งแต่่เดืือนตุุลาคม 2564 – พฤษภาคม 2565 แบ่ง่ จ่า่ ย 2 งวด คืือ งวดที่่� 1 ผลงานบริิการตั้�งแต่่ เดืือนตุุลาคม 2564 - มกราคม 2565 โดยตัดั ข้้อมููล ณ กุุมภาพัันธ์์ 2565 งวดที่่� 2 ผลงานบริิการตั้�งแต่่ เดืือนกุุมภาพัันธ์์ 2565 - พฤษภาคม 2565 โดยตัดั ข้้อมููล ณ มิิถุนุ ายน 2565 1.3 เงื่อ� นไขการจ่่ายตามผลงานบริิการการแพทย์แ์ ผนไทย แต่ล่ ะรายการ ประกอบด้้วย รายการบรกิ าร เง่อื นไข 1. บรกิ ารนวด 2. บรกิ ารประคบ 1. ผูม้ ีสทิ ธิ UC 3. บริการนวดและประคบ 2. บุคลากรผ้ตู รวจวนิ จิ ฉัยและสงั่ การรกั ษา 4. บริการอบสมนุ ไพร ก. ผ้มู ใี บอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ข. ผู้มใี บอนุญาตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยดา้ น เวชกรรมไทยหรือด้านการนวดไทย ค. ผมู้ ใี บอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 3. บคุ ลากรผู้ใหบ้ รกิ าร ก. ผ้มู ีใบอนุญาตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยดา้ น เวชกรรมไทย/ด้านการนวดไทย ข. ผูม้ ใี บอนญุ าตเป็นผูป้ ระกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ ค. ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 330 ชว่ั โมง (ผา่ นการอบรมตาม หลกั สตู รผู้ชว่ ยแพทย์แผนไทยของกระทรวงสาธารณสุขหรอื ได้รับการรบั รองจากคณะกรรมการวิชาชีพ) ง. ผูช้ ว่ ยแพทย์แผนไทย 372 ชวั่ โมง (ผา่ นการอบรมตาม หลักสูตรผชู้ ่วยแพทย์แผนไทยของกระทรวงสาธารณสุขหรือ ไดร้ ับการรับรองจากคณะกรรมการวชิ าชพี 4. มีรหสั โรคตาม ICD-10/ICD-10Thaimed และรหัสหตั ถการ การแพทย์แผนไทย 224

รายการบริการ เงอ่ื นไข 5. การฟน้ื ฟูสมรรถภาพมารดา 5. การใหบ้ ริการประเภทบริการผู้ป่วยนอกท่วั ไป ไมเ่ กนิ วนั ละ 1 ครัง้ หลังคลอด ตามแนวเวชปฏิบัติ หมายเหตุ ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย - บรกิ ารนวด/ประคบ/นวดและประคบ ภายในวนั เดยี วกนั 6. การใชย้ าจากสมนุ ไพรในบัญชียา หน่วยบริการจะไดร้ ับการจ่ายเพยี งรายการใดหนงึ่ เทา่ น้ัน หลกั แห่งชาติ 1. ผู้มีสิทธิ UC เพศหญิง 2. บุคลากรผู้ตรวจวินจิ ฉยั และสั่งการรักษา ก. ผูม้ ใี บอนุญาตเป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ข. ผมู้ ใี บอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยดา้ น เวชกรรมไทยหรือด้านการนวดไทยหรอื ผดงุ ครรภไ์ ทย ค. ผมู้ ใี บอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 3. บุคลากรผใู้ หบ้ รกิ าร ก. ผ้มู ใี บอนญุ าตเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยด้าน เวชกรรมไทย/การนวดไทย/การผดุงครรภ์ไทย ข. ผมู้ ใี บอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 4. มรี หัสโรคตาม ICD-10/ICD-10Thaimed และรหสั หตั ถการการ แพทย์แผนไทยครบ 5 กจิ กรรม/ครงั้ 9007712,9007713,90077 14,9007716,9007730 รวมไม่เกนิ 5 คร้ัง/3 เดอื น 5. การใหบ้ ริการประเภทบรกิ ารผูป้ ว่ ยนอกทั่วไป ภายในเวลา 3 เดอื น หลังคลอด ไมเ่ กินวันละ 1 คร้งั 1. ผมู้ ีสิทธิ UC 2. บุคลากรผู้ตรวจวนิ จิ ฉัยและส่ังการรักษา ก. ผมู้ ใี บอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวชิ าชีพเวชกรรม ข. ผู้มใี บอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยด้าน เวชกรรมไทย/การนวดไทย/เภสชั กรรมไทย/การผดงุ ครรภไ์ ทย ค. ผู้มีใบอนุญาตเป็นผปู้ ระกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ ง. เภสชั กร/พยาบาล/บคุ ลากรสาธารณสขุ / เจ้าหนา้ ท่ีอื่นที่ผา่ น การอบรมหลักสูตรทเ่ี กี่ยวข้องกับการจดั บรกิ าร 3. มรี หัสโรคตาม ICD-10/ICD-10Thaimed และการสั่งการใช้ยา สมุนไพรในบัญชียาหลกั แห่งชาติตามท่ีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและ การแพทยท์ างเลือกกำ�หนด 4. การใหบ้ รกิ ารประเภทบรกิ ารผปู้ ว่ ยนอกทว่ั ไป ไมเ่ กนิ วนั ละ 1 ครง้ั /ใบสง่ั ยา 225

1.4 รหัสั หัตั ถการการแพทย์แ์ ผนไทย ชื่อ�่ หััตถการ กิิจกรรมบริิการ รหััสหัตั ถการ นวด 100-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้้วยการนวดที่่ศ� ีรี ษะ 100-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่่ศ� ีรี ษะ 100-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มันั หอมระเหยที่�่ศีรี ษะ 100-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นัักที่่�ศีรี ษะ 100-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่�่ศีีรษะ 100-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่�ศ่ ีรี ษะ 100-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่�่ศีรี ษะ 154-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้ว้ ยการนวดที่่�ใบหน้า้ 154-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการนวดที่่ใ� บหน้า้ 154-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่�่ใบหน้้า 154-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่ใ�่ บหน้้า 154-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่่�ใบหน้้า 154-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่�น่ ที่ใ่� บหน้้า 154-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่ใ่� บหน้า้ 302-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่่เ� ต้้านม 400-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่่ห� น้้าท้้อง 400-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มันั หอมระเหยที่�ห่ น้้าท้้อง 400-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�่หน้้าท้อ้ ง 400-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่ห�่ น้้าท้อ้ ง 400-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น่� ที่ห�่ น้้าท้อ้ ง 400-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่ห�่ น้า้ ท้อ้ ง 590-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้้วยการนวดที่่�หลััง 590-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่่ห� ลััง 590-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่่ห� ลังั 590-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�ห่ ลังั 226

กิิจกรรมบริกิ าร รหััสหัตั ถการ ชื่่�อหัตั ถการ 590-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์�ที่�ห่ ลััง 590-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่ห�่ ลังั 590-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่�ห่ ลััง 721-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้้วยการนวดที่่ไ� หล่ ่ บ่่า 721-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่่ไ� หล่ ่ บ่า่ 721-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่ไ�่ หล่่ บ่า่ 721-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นัักที่ไ่� หล่่ บ่่า 721-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่ไ�่ หล่่ บ่า่ 721-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่�่นที่�่ไหล่่ บ่า่ 721-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่�ไ่ หล่ ่ บ่า่ 722-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้้วยการนวดที่ต่� ้น้ แขน 722-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการนวดที่ต่� ้้นแขน 722-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่่ต� ้้นแขน 722-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่ต่� ้น้ แขน 722-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่ต่� ้น้ แขน 722-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่่�นที่่�ต้น้ แขน 722-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่ต่� ้น้ แขน 724-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการนวดที่่แ� ขน 724-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการนวดที่่แ� ขน 724-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มันั หอมระเหยที่แ�่ ขน 724-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�่แขน 724-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์ท� ี่แ่� ขน 724-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น่� ที่่�แขน 724-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่แ่� ขน 725-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้ว้ ยการนวดที่่�ข้อ้ มืือ 725-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการนวดที่่ข� ้อ้ มืือ 227

กิิจกรรมบริกิ าร รหััสหัตั ถการ ชื่อ่� หัตั ถการ 725-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่่�ข้้อมืือ 725-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�่ข้้อมืือ 725-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่�่ข้้อมืือ 725-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่�่นที่�ข่ ้อ้ มืือ 725-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่�ข่ ้อ้ มืือ 726-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้ว้ ยการนวดที่ม่� ืือ 726-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการนวดที่ม่� ืือ 726-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มัันหอมระเหยที่ม่� ืือ 726-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�ม่ ืือ 726-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์�ที่ม่� ืือ 726-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่�ม่ ืือ 726-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่ม�่ ืือ 871-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้ว้ ยการนวดที่ส่� ะโพก เอว 871-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการนวดที่่ส� ะโพก เอว 871-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำำ��มันั หอมระเหยที่ส่� ะโพก เอว 871-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นัักที่ส�่ ะโพก เอว 871-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์ท� ี่ส่� ะโพก เอว 871-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่ส�่ ะโพก เอว 871-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่ส่� ะโพก เอว 872-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้ว้ ยการนวดที่ต่� ้น้ ขา 872-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการนวดที่ต่� ้้นขา 872-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มัันหอมระเหยที่่�ต้้นขา 872-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นัักที่ต่� ้น้ ขา 872-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่�่ต้น้ ขา 872-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่�่ต้้นขา 872-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่�ต่ ้น้ ขา 228

กิจิ กรรมบริกิ าร รหัสั หัตั ถการ ชื่่อ� หัตั ถการ 873-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้้วยการนวดที่ห่� ััวเข่่า 873-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการนวดที่ห่� ัวั เข่่า 873-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มันั หอมระเหยที่ห�่ ััวเข่า่ 873-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่�ห่ ััวเข่า่ 873-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่ห�่ ััวเข่่า 873-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่�่นที่�ห่ ัวั เข่่า 873-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่�่หััวเข่า่ 874-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้้วยการนวดที่่ข� า 874-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการนวดที่ข่� า 874-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่่�ขา 874-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่ข�่ า 874-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่่�นที่�่ขา 874-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่ข�่ า 875-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการนวดที่่�ข้้อเท้า้ 875-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการนวดที่่ข� ้้อเท้้า 875-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มันั หอมระเหยที่�ข่ ้อ้ เท้้า 875-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่ข�่ ้้อเท้า้ 875-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่่�ข้อ้ เท้า้ 875-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่่�นที่�่ข้อ้ เท้้า 875-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่่�ข้้อเท้้า 876-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้ว้ ยการนวดที่่�เท้้า 876-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการนวดที่่เ� ท้้า 876-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มันั หอมระเหยที่�เ่ ท้า้ 876-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่เ�่ ท้า้ 876-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศักั ดิ์�ที่่เ� ท้้า 876-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่เ�่ ท้้า 229

กิจิ กรรมบริิการ รหััสหัตั ถการ ชื่่อ� หัตั ถการ 876-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่่ระบุุรายละเอีียดที่่เ� ท้้า 900-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้ว้ ยการนวดที่ท่� ั่่ว� ร่่างกาย 900-77-12 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการทับั หม้้อเกลืือที่ท�่ ั่่�วร่่างกาย 900-77-13 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการนวดที่ท่� ั่่�วร่า่ งกาย 900-77-30 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการปฏิิบััติิตััวสำ�ำ หรับั หลัังคลอดที่ท่� ั่่ว� ร่่างกาย 900-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ�ำ� มัันหอมระเหยที่ท่� ั่่ว� ร่่างกาย 900-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นัักที่ท่� ั่่ว� ร่า่ งกาย 900-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่ท�่ ั่่�วร่่างกาย 900-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่�่นที่ท�่ ั่่ว� ร่่างกาย 900-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่�่ทั่่ว� ร่่างกาย 999-77-00 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้ว้ ยการนวดที่่ไ� ม่่ระบุตุ ำ�ำ แหน่ง่ 999-77-13 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการนวดที่่�ไม่่ระบุตุ ำ�ำ แหน่ง่ 999-78-10 การนวดด้้วยยาหรืือน้ำ��ำ มัันหอมระเหยที่่�ไม่่ระบุตุ ำ�ำ แหน่ง่ 999-78-11 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบราชสำำ�นักั ที่่�ไม่ร่ ะบุุตำำ�แหน่ง่ 999-78-12 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบเชลยศัักดิ์ท� ี่�ไ่ ม่่ระบุุตำ�ำ แหน่ง่ 999-78-18 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทยแบบอื่น�่ ที่่ไ� ม่่ระบุุตำ�ำ แหน่ง่ 999-78-19 การนวดด้้วยวิิธีีการแพทย์์แผนไทย ไม่ร่ ะบุุรายละเอีียดที่�ไ่ ม่ร่ ะบุตุ ำ�ำ แหน่ง่ ประคบ 100-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการประคบที่่�ศีีรษะ 100-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการประคบสมุุนไพรที่่ศ� ีีรษะ 100-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่�่ศีรี ษะ 100-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ศ่� ีรี ษะ 100-78-22 การประคบความเย็็นที่่�ศีรี ษะ 154-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้ว้ ยการประคบที่่�ใบหน้า้ 154-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่่�ใบหน้า้ 154-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุุนไพรที่่�ใบหน้้า 230

กิิจกรรมบริกิ าร รหััสหััตถการ ชื่อ่� หััตถการ 154-78-21 การประคบความร้้อนที่่�ใบหน้้า 154-78-22 การประคบความเย็็นที่ใ�่ บหน้้า 302-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่เ่� ต้้านม 400-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการประคบสมุนุ ไพรที่�่หน้้าท้้อง 400-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่่�หน้า้ ท้อ้ ง 400-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ห่� น้้าท้้อง 400-78-22 การประคบความเย็น็ ที่่�หน้้าท้อ้ ง 590-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่�่หลังั 590-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่่ห� ลััง 590-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่�่หลััง 590-78-21 การประคบความร้้อนที่�ห่ ลััง 590-78-22 การประคบความเย็น็ ที่ห�่ ลััง 721-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่�่ไหล่่ บ่า่ 721-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่่�ไหล่่ บ่า่ 721-78-20 การประคบด้้วยสมุนุ ไพรที่่�ไหล่ ่ บ่า่ 721-78-21 การประคบความร้อ้ นที่่�ไหล่ ่ บ่่า 721-78-22 การประคบความเย็น็ ที่่�ไหล่่ บ่า่ 722-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการประคบที่�่ต้น้ แขน 722-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุนุ ไพรที่่�ต้น้ แขน 722-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่ต�่ ้น้ แขน 722-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ต�่ ้้นแขน 722-78-22 การประคบความเย็็นที่ต่� ้้นแขน 724-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่่�แขน 724-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุนุ ไพรที่แ่� ขน 724-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่่�แขน 724-78-21 การประคบความร้อ้ นที่แ�่ ขน 231

กิิจกรรมบริิการ รหัสั หัตั ถการ ชื่่อ� หััตถการ 724-78-22 การประคบความเย็น็ ที่�แ่ ขน 725-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้้วยการประคบที่�ข่ ้อ้ มืือ 725-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่ข่� ้อ้ มืือ 725-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่่�ข้้อมืือ 725-78-21 การประคบความร้้อนที่่ข� ้้อมืือ 725-78-22 การประคบความเย็น็ ที่�่ข้้อมืือ 726-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการประคบที่่�มืือ 726-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่�่มืือ 726-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่ม�่ ืือ 726-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ม�่ ืือ 726-78-22 การประคบความเย็็นที่�่มืือ 871-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่่�สะโพก เอว 871-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่�่สะโพก เอว 871-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่ส่� ะโพก เอว 871-78-21 การประคบความร้อ้ นที่�่สะโพก เอว 871-78-22 การประคบความเย็น็ ที่ส�่ ะโพก เอว 872-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่่�ต้น้ ขา 872-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่่�ต้้นขา 872-78-20 การประคบด้้วยสมุุนไพรที่ต�่ ้้นขา 872-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ต�่ ้้นขา 872-78-22 การประคบความเย็็นที่ต�่ ้้นขา 873-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้้วยการประคบที่่�หััวเข่า่ 873-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่�่หััวเข่า่ 873-78-20 การประคบด้้วยสมุนุ ไพรที่�ห่ ัวั เข่่า 873-78-21 การประคบความร้้อนที่�่หััวเข่่า 873-78-22 การประคบความเย็น็ ที่�ห่ ััวเข่า่ 232

กิจิ กรรมบริกิ าร รหัสั หัตั ถการ ชื่่�อหััตถการ 874-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้ว้ ยการประคบที่�่ขา 874-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่�่ขา 874-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุุนไพรที่ข่� า 874-78-21 การประคบความร้้อนที่ข�่ า 874-78-22 การประคบความเย็น็ ที่�่ขา 875-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์ด์ ้ว้ ยการประคบที่่�ข้้อเท้้า 875-77-14 การบริิบาลหญิิงหลังั คลอดด้ว้ ยการประคบสมุุนไพรที่�ข่ ้้อเท้า้ 875-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่�่ข้อ้ เท้้า 875-78-21 การประคบความร้้อนที่�่ข้้อเท้้า 875-78-22 การประคบความเย็น็ ที่่�ข้้อเท้า้ 876-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์ด์ ้ว้ ยการประคบที่เ�่ ท้า้ 876-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่่เ� ท้้า 876-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่่�เท้้า 876-78-21 การประคบความร้อ้ นที่เ่� ท้้า 876-78-22 การประคบความเย็น็ ที่่�เท้้า 900-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้ง� ครรภ์์ด้ว้ ยการประคบที่�่ทั่่ว� ร่า่ งกาย 900-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการประคบสมุนุ ไพรที่่�ทั่่ว� ร่า่ งกาย 900-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุนุ ไพรที่ท่� ั่่ว� ร่่างกาย 900-78-21 การประคบความร้้อนที่ท่� ั่่�วร่่างกาย 900-78-22 การประคบความเย็็นที่่�ทั่่ว� ร่า่ งกาย 999-77-01 การบริิบาลหญิิงตั้�งครรภ์์ด้้วยการประคบที่ไ�่ ม่ร่ ะบุุตำำ�แหน่ง่ 999-77-14 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการประคบสมุุนไพรที่่ไ� ม่่ระบุตุ ำำ�แหน่่ง 999-78-20 การประคบด้ว้ ยสมุุนไพรที่่�ไม่ร่ ะบุตุ ำ�ำ แหน่่ง 999-78-21 การประคบความร้อ้ นที่ไ่� ม่ร่ ะบุุตำำ�แหน่ง่ 999-78-22 การประคบความเย็็นที่่ไ� ม่่ระบุตุ ำ�ำ แหน่่ง 233

กิิจกรรมบริกิ าร รหััสหััตถการ ชื่่อ� หััตถการ อบสมุนุ ไพร 900-77-15 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้ว้ ยการเข้า้ กระโจมที่�่ทั่่ว� ร่่างกาย 900-77-16 การบริิบาลหญิิงหลัังคลอดด้้วยการอบไอน้ำ�ำ� สมุนุ ไพรที่ท�่ ั่่ว� ร่า่ งกาย 900-78-00 การอบไอน้ำ�ำ�สมุุนไพรที่ท่� ั่่ว� ร่า่ งกาย 900-78-02 การเข้า้ กระโจมที่ท�่ ั่่ว� ร่่างกาย 1.5 การส่่งข้อ้ มููลและรายงานผลงานบริิการ ก. การส่่งข้อ้ มููลการให้บ้ ริิการ 1. หน่ว่ ยบริิการ ในพื้้น� ที่ ่� สปสช.เขต 1-12 ให้ส้ ่ง่ ข้อ้ มููลการให้บ้ ริิการตามโครงสร้า้ งมาตรฐาน ด้า้ นแพทย์แ์ ละสาธารณสุขุ กระทรวงสาธารณสุุข (43 แฟ้้ม) คืือ แฟ้้ม PERSON, แฟ้ม้ SERVICE, แฟ้ม้ DIAGNOSIS_OPD, แฟ้้ม DRUG_OPD, แฟ้้ม PROCEDURE_OPD มายััง สปสช.ทุุกเดืือนหรืือทุุกวััน ผ่่านระบบข้้อมููลผู้้�ป่่วยนอกและส่่งเสริิมป้้องกัันโรค รายบุุคคล (OP/PP individual records http://op.nhso.go.th/op/) 2. หน่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่ �่ สปสช.เขต 13 กทม. ส่ง่ ข้อ้ มููลส่่งข้อ้ มููลการให้้บริิการดัังนี้้� 2.1 วัันที่�่ 1 ตุลุ าคม – 31 ธัันวาคม 2564 บัันทึกึ ข้้อมููลผ่่านโปรแกรม OPBKK 2.2 ตั้ง� แต่ว่ ันั ที่่� 1 มกราคม 2565 บัันทึกึ ข้อ้ มููลผ่่านโปรแกรม e-Claim ข. สำำ�นักั งานหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติเิ ขต กำำ�กับั ติดิ ตามการส่ง่ ข้อ้ มููลบริิการการแพทย์แ์ ผนไทย โดยหน่่วยบริิการบัันทึึกข้้อมููลบุคุ ลากรในระบบข้อ้ มููลพื้้น� ฐานหน่่วยบริิการ (CPP) ได้้ที่�่ http://cpp.nhso.go.th/ CPP/authen/ ให้เ้ ป็น็ ปััจจุบุ ันั 2. บริกิ ารฝงั เข็ม็ หรืือบริกิ ารฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั กระตุนุ้ ไฟฟา้ ในผู้�้ ป่ว่ ยกลุ่ม่� หลอดเลืือดสมอง (Stroke) รายใหม่ท่ ี่ต่� ้อ้ ง ฟื้�้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง ตามประกาศคณะกรรมการหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ เรื่�่อง หลัักเกณฑ์์การดำ�ำ เนิินงานและการ บริิหารจััดการกองทุุนหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิสำ�ำ หรัับผู้�้ มีีสิิทธิิหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่�อนไขการรัับค่่าใช้้จ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุุขของหน่่วยบริิการ พ.ศ. 2565 ได้้กำ�ำ หนดหลัักเกณฑ์์การจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายเพื่่�อบริิการฝงเข็็มหรืือบริิการฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุุ้นไฟฟ้าใน ผู้้�ป่่วยกลุ่�มหลอดเลืือดสมอง (Stroke) รายใหม่่ที่�่ต้้องฟื้้�นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง จำ�ำ นวนไม่่เกิิน 1.61 บาทต่อ่ ผู้้�มีสิทิ ธิิ ตามหลัักเกณฑ์ ์ วิิธีีการและเงื่�อนไขที่่� สปสช. กำ�ำ หนด ดังั นี้้� 1. วัตั ถุปุ ระสงค์์ เพื่อ�่ เพิ่ม�่ การเข้า้ ถึงึ บริิการฝังั เข็ม็ หรืือบริิการฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั กระตุ้�นไฟฟ้า้ ในผู้�้ ป่ว่ ยกลุมุ่ โรคหลอดเลืือดสมอง (Stroke) รายใหม่่ สิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุุขภาพแห่ง่ ชาติิ ที่่�ต้อ้ งฟื้น�้ ฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง 234

2. กลุ่�ม่ เป้า้ หมาย ได้้แก่่ ผู้้�ป่่วยสิิทธิิหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ในกลุ่�มโรคหลอดเลืือดสมองรายใหม่่ ภายหลัังที่่�พ้้นระยะ วิิกฤติิ มีีอาการ และสััญญาณชีีพคงที่�่ (Post stroke) ที่�่จำำ�เป็็นต้้องฟื้้�นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง (Intermediate Care; IMC) 3. คุุณสมบััติิของหน่่วยบริิการ 1. เป็็นหน่่วยบริิการในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิที่�่ขึ้�นทะเบีียนศัักยภาพการให้้บริิการฝัังเข็็ม หรืือบริิการฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้�นไฟฟ้้าในผู้�้ ป่่วยกลุ่�มโรคหลอดเลืือดสมองระยะฟื้�้นฟููรายใหม่่ ร่่วมกัับบริิการฟื้�้นฟูู สมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง (Intermediate care : IMC) โดยมีีรายละเอีียด ดัังนี้้� หลัักเกณฑ์์การขึ้น้� ทะเบีียนหน่ว่ ยบริิการเพิ่่�มเติมิ ศัักยภาพบริิการฝัังเข็ม็ การประเมิิน  มีีระบบบริิการอื่น�่ ๆ รวมถึึงบริิการฝังั เข็ม็ หรืือฝัังเข็ม็ ร่ว่ มกัับกระตุ้�นไฟฟ้้า ควบคู่่�กัับบริิการฟื้�น้ ฟููสมรรถภาพ ทางการแพทย์์ในระยะกลาง (IMC) การจััดบริิการฝัังเข็็มหรืือฝังั เข็็มร่ว่ มกับั กระตุ้�นไฟฟ้้า มีีระบบบริิการอย่า่ งใด ก. บริิการฝัังเข็ม็ อย่่างหนึ่่ง� หรืือทั้้�งสอง ข. บริิการฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้�นไฟฟ้า้ การจััดบริิการฟื้�้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์ใ์ นระยะกลาง (IMC) มีีระบบบริิการอย่า่ งใด 1. บริิการฟื้้�นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง อย่่างหนึ่่ง� หรืือทั้้�งสอง 2. บริิการกายภาพบำำ�บััด  มีีแพทย์์หรืือบุุคลากรวิิชาชีีพที่่�สอดคล้้องกัับบริิการสาธารณสุุขที่�่จำ�ำ เป็็นต่่อ ผู้้�มีสิิทธิิที่ล�่ งทะเบีียน 1. แพทย์์ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพเวชกรรมที่่�ผ่่านการอบรมหลัักสููตรฝัังเข็็ม มีีบุุคลากรผู้้�ให้้บริิการสาขา 3 เดืือน ที่�่รัับรองโดยกระทรวงสาธารณสุุขและหรืือแพทย์์แผนจีีน วิิชาชีีพใดสาขาวิิชาชีีพหนึ่่�ง ขึ้�นทะเบีียนและได้้รัับใบอนุุญาตเป็็นผู้�้ประกอบโรคศิิลปะสาขา หรืือทั้้�งสอง การแพทย์์แผนจีีน 2. แพทย์เ์ วชศาสตร์ฟ์ ื้�้นฟููและหรืือนัักกายภาพบำำ�บััด มีีบุุคลากรผู้�้ให้้บริิการสาขา วิิชาชีีพใดสาขาวิิชาชีีพหนึ่่�ง หรืือทั้้ง� สอง 235

หลัักเกณฑ์์การขึ้้น� ทะเบีียนหน่่วยบริกิ ารเพิ่่ม� เติมิ ศัักยภาพบริิการฝัังเข็ม็ การประเมิิน  มีีสถานที่่ � อุปุ กรณ์์ และเครื่่อ� งมืือที่่จ� ำ�ำ เป็็น พร้้อมใช้้งาน สำ�ำ หรับั บริิการ มีีครบทุกุ ข้อ้ ฝังั เข็ม็ หรืือฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั การกระตุ้�นไฟฟ้า้ สอดคล้อ้ งกับั มาตรฐานการประกอบ โรคศิิลปะสาขาการแพทย์แ์ ผนจีีน (Professional Standards for the Art of Healing in Traditional Chinese Medicine) ตามรายการที่่ก� ำำ�หนดในแบบ รับั รองศักั ยภาพ/ความพร้อ้ มการให้บ้ ริิการฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั บริิการฟื้น้� ฟููสมรรถภาพ ทางการแพทย์์ในระยะกลาง (Intermediate care; IMC) ในระบบหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิ ปีีงบประมาณ 2564 ทั้้ง� นี้้� หากหน่ว่ ยบริิการมีีการจัดั บริิการ โดยไม่ผ่ ่า่ นเกณฑ์ก์ ารตรวจประเมิินขึ้น� ทะเบีียนการจัดั บริิการ ฝัังเข็็มหรืือฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้ �นไฟฟ้้าในผู้้�ป่่วยกลุ่ �มโรคหลอดเลืือดสมองระยะฟื้้�นฟููรายใหม่่ ควบคู่่�กัับบริิการฟื้้�นฟูู สมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง (IMC) จะไม่่มีีสิิทธิิได้้รัับค่่าบริิการฝัังเข็็มหรืือฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้�นไฟฟ้้า เพิ่่�มเติิมและไม่ร่ ัับพิิจารณาการขออุทุ ธรณ์์ 2. มีีบุคุ ลากรที่�่มีีคุณุ สมบััติิ ดัังนี้้� 2.1 แพทย์ผ์ ู้ป�้ ระกอบโรคศิิลปะสาขาเวชกรรมที่ผ่� ่า่ นการอบรมหลักั สููตรฝังั เข็ม็ 3 เดืือนที่ก่� ระทรวง สาธารณสุุขรับั รอง หรืือ 2.2 แพทย์์แผนจีีนที่่ข�ึ้น� ทะเบีียนเป็็นผู้้�ประกอบวิิชาชีีพสาขาการแพทย์แ์ ผนจีีน 4. หลักั เกณฑ์์ เงื่่�อนไขการจ่่ายค่า่ ใช้้จ่่ายเพื่่�อบริิการสาธารณสุขุ 1. แนวทางการจััดบริิการ โดยให้้บริิการฝัังเข็็มหรืือฝัังเข็็มร่่วมกัับกระตุ้�นไฟฟ้้าในผู้�้ ป่่วยกลุ่�มโรค หลอดเลืือดสมองระยะฟื้�้นฟููรายใหม่่ที่�่ต้้องฟื้�้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ในระยะกลาง (IMC) ทั้้�งแบบผู้้�ป่่วยใน (IP) ผู้�้ ป่ว่ ยนอก (OP) และในชุุมชน ตั้้ง� แต่่ผู้้�ป่ว่ ยพ้น้ ระยะวิิกฤติิและมีีอาการ และสัญั ญาณชีีพคงที่�่ รวมระยะเวลา ไม่่เกิิน 6 เดืือน 2. หน่่วยบริิการต้้องจััดระบบบริิการฝัังเข็็ม โดยบููรณาการร่่วมกัับระบบบริิการฟื้้�นฟููสมรรถภาพ ทางการแพทย์ใ์ นระยะกลาง (Intermediate care; IMC) โดยอาจมีีรููปแบบบริิการ เช่น่ รููปแบบที่่� 1 เป็น็ บริการฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั บริการฟื้น�้ ฟููสมรรถภาพทางการแพทย์ใ์ นโรงพยาบาลขนาดใหญ่่ (รพท., รพศ., รพ. มหาวิิทยาลัยั , รพ. สังั กัดั กรมแพทย์ท์ หารบก และ อื่น�่ ๆ) ตั้้ง� แต่่ หลังั พ้น้ ระยะวิิกฤติิ โดยให้บ้ ริิการฝังั เข็ม็ ต่อ่ เนื่อ�่ งตลอดระยะเวลา 6 เดืือน รููปแบบที่่� 2 เป็น็ บริิการฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั บริิการฟื้น�้ ฟููสมรรถภาพทางการแพทย์์ ในหน่ว่ ยบริิการที่่� มีี Intermediate ward หรืือ Intermediate bed ซึ่่�งรัับผู้้�ป่่วยที่่�ส่่งต่่อมาจาก โรงพยาบาลขนาดใหญ่่ 3. แนวทางการให้้บริิการฝัังเข็็มในผู้�้ ป่่วยโรคหลอดเลืือดสมองระยะฟื้�้นฟููรายใหม่่ ควรให้้บริิการ อย่่างน้อ้ ย 1 - 2 ครั้้�ง/สัปั ดาห์์ ต่่อเนื่่อ� งไม่น่ ้้อยกว่า่ 10 ครั้้ง� และประเมิินซ้ำำ�� เมื่อ่� ครบ 10 ครั้้�ง เพื่่อ� พิิจารณารัักษาต่่อ 236

อีีก 10 ครั้้�ง รวมเป็น็ 20 ครั้้ง� โดยต้้องมีีการประเมิินและบันั ทึึกค่่า Barthel index (BI) ร่ว่ มด้ว้ ยทุุกครั้้�งที่ใ�่ ห้้บริิการ ทั้้ง� นี้้� อาจฝังั เข็ม็ ห่า่ งขึ้น� ตามดุลุ ยพิินิิจของแพทย์์ โดยให้เ้ ป็น็ ไปตามแนวทางการดููแลผู้้�ป่ว่ ย ที่ก�่ รมการแพทย์แ์ ผนไทย และการแพทย์์ทางเลืือกกำ�ำ หนด 5. อัตั ราชดเชยค่่าบริิการ 5.1 จ่า่ ยตามผลงานหรืือรายการบริิการ (Free schedule) ในอัตั ราครั้้ง� ละ 150 บาท ไม่เ่ กิิน 20 ครั้้ง� หรืือ ไม่่เกิิน 180 วััน (6 เดืือน) นับั จากวันั ที่ผ่� ู้้�ป่่วยได้้รัับบริิการฝังั เข็็มครั้้�งแรก โดยอัตั ราค่า่ บริิการดังั กล่า่ วเหมาจ่่าย รวมค่่าเข็็ม ค่า่ กระตุ้�นไฟฟ้า้ และค่า่ บริิการทางการแพทย์แ์ ล้ว้ 5.2 จ่า่ ยตามมาตรฐานบริิการ ในอัตั รา 1,000 บาท เมื่อ�่ หน่ว่ ยบริิการสามารถให้บ้ ริิการฝังั เข็ม็ หรืือ ฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั กระตุ้�นไฟฟ้า้ ผู้�้ ป่ว่ ยรายเดิิมครบ 20 ครั้้ง� ในหน่ว่ ยบริิการเดีียวกันั ทั้้ง� นี้้จ� ะต้อ้ งมีีการประเมิินและบันั ทึกึ ค่า่ Barthel index (BI) ร่่วมด้้วยทุุกครั้้�งที่ใ่� ห้้บริิการ โดยแพทย์์เวชศาสตร์์ฟื้้�นฟูู นัักกายภาพบำำ�บัดั หรืือบุุคลากร วิิชาชีีพสาขาอื่น่� ๆ ที่่�ผ่่านการอบรมหลักั สููตรการประเมิินค่า่ Barthel Index (BI) 6. การส่่งข้้อมููลขอรัับค่่าใช้จ้ ่า่ ย และการประมวลผลออกรายงานจ่า่ ยชดเชย 6.1 หน่ว่ ยบริิการ บันั ทึกึ ข้อ้ มููลผลงานการให้บ้ ริิการและผลการประเมิินค่า่ BI (BI0-BI20) ทุกุ ครั้้ง� ผ่า่ นระบบ e-Claim ซึ่่�ง สปสช. จะประมวลผลจ่า่ ยตามวัันที่่�จััดส่ง่ ข้้อมููล (Send date) ภายใต้ร้ หััสหน่่วยบริิการ ที่เ่� ข้า้ ร่ว่ มโครงการ (HCODE) โดยจะจ่่ายค่่าใช้จ้ ่า่ ยเป็น็ รายกิิจกรรมทุุกสิ้น� เดืือน 6.2 สำ�ำ หรับั การจัดั บริิการฝังั เข็ม็ หรืือบริิการฝังั เข็ม็ ร่ว่ มกับั กระตุ้�นไฟฟ้า้ ในชุมุ ชน ผู้ใ้� ห้บ้ ริิการต้อ้ ง บันั ทึึกผลงานบริิการแบบ OP visit ในโรงพยาบาล 6.3 ผู้ใ�้ ห้บ้ ริิการต้อ้ งบันั ทึกึ รหัสั วิินิิจโรคหลักั (ICD-10) ให้เ้ ป็น็ ไปตามมาตรฐานการให้ร้ หัสั สำ�ำ หรับั ผู้�้ ป่่วยกลุ่�มโรคหลอดเลืือดสมอง (I60 – I64) ร่ว่ มกัับรหััสวิินิิจฉััยโรคแพทย์์แผนจีีน (ICD-10-TM) ได้้แก่่ U78110 – U78117 ดังั แสดงในตาราง คู่่�กัันทุกุ ครั้้ง� ที่ใ่� ห้บ้ ริิการ U78110 รหัสวนิ ิจฉัยแพทยแ์ ผนจีน (ICD-10-TM) U78111 Apopletic wind stroke โรคหลอดเลือดสมองทีเ่ กดิ จากลมภายใน U78112 Prodome of wind stroke อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง U78113 Sequelae of wind stroke โรคตามมาจากโรคหลอดเลือดสมอง U78114 Collateral stroke โรคหลอดเลือดสมองในระดับเสน้ ลมปราณแขนง (เสน้ ล่ัว) U78115 Meridian stroke โรคหลอดเลือดสมองในระดับเส้นลมปราณหลกั (เส้นจิง) U78116 Bowel stroke โรคหลอดเลือดสมองในระดบั อวัยวะกลวง U78117 Visceral stroke โรคหลอดเลือดสมองในระดับอวัยวะตนั Hemiplegia อัมพาตครึ่งซีก 237

รหัสั บริกิ ารตามกรมบัญั ชีีกลางและรหัสั หััตถการการแพทย์์แผนจีีน (ICD-10-TM) รหััสบริิการตามกรมบัญั ชีีกลาง รหััสหัตั ถการตาม ICD-10-TM ชื่อ่� หัตั ถการ 58001 ค่่าฝัังเข็ม็ 9991810 Single-handed needle ฝังั เข็ม็ 9991811 insertion Double-handed needle ฝังั เข็็ม insertion ค่่าฝัังเข็็ม พร้้อมการก 9991801 Electro acupuncture ฝัังเข็็ม + เครื่�่องกระตุ้�น ร ะ ตุ้ � น จุุ ด ฝัั ง เ ข็็ ม ด้้ ว ย therapy ไฟฟ้า้ เครื่่�องกระตุ้�น เฉพาะ 58020 ก ร ณีี ก า ร รัั ก ษ า แ ล ะ 9021801 Subcutaneous elec- ฝัังเข็็ม + เครื่่�องกระตุ้�น tro-needling ไฟฟ้า้ ฟื้น�้ ฟููสมรรถภาพ ผู้้�ป่ว่ ย โรคอัมั พฤกษ์ ์ อััมพาต 9031801 Muscle electro-needling ฝัังเข็็ม + เครื่�่องกระตุ้�น ไฟฟ้า้ 6.4 ผู้ใ�้ ห้บ้ ริิการต้อ้ งบันั ทึึกรหััสหัตั การการแพทย์์แผนจีีน ICD-10-TM รหััสใดรหัสั หนึ่่�ง ดัังแสดงใน ตาราง คู่่�กันั ทุกุ ครั้้�งที่่�ให้บ้ ริิการ 6.5 ผู้ใ�้ ห้บ้ ริิการต้อ้ งประเมิินและบันั ทึกึ ค่า่ Barthel index (BI 0 – BI 20) ร่ว่ มด้ว้ ยทุกุ ครั้้ง� ที่ใ�่ ห้บ้ ริิการ 6.6 ผู้ใ�้ ห้้บริิการต้้องจัดั เก็็บเอกสารที่จ่� ำ�ำ เป็น็ เพื่อ่� การตรวจสอบ กำ�ำ กัับ ติดิ ตาม และประเมิินผล 3. กรณีีการใช้้ยาน้ำ��ำ มัันกััญชาในผู้�้ ป่่วยโรคมะเร็็ง พาร์์กิินสััน และไมเกรน และการใช้้สารสกััดกััญชาในผู้้�ป่่วย โรคลมชัักและมะเร็็งระยะท้้าย ตามประกาศสำำ�นัักงานหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ เรื่�่อง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่�อนไขการจ่่าย ค่า่ ใช้้จ่า่ ยเพื่�่อบริิการสาธารณสุุข กรณีีการใช้ย้ าน้ำ��ำ มันั กััญชา ในผู้�้ ป่่วยโรคมะเร็ง็ พาร์ก์ ิินสััน และไมเกรน และการใช้้ สารสกัดั กัญั ชาในผู้้�ป่ว่ ยโรคลมชักั และมะเร็ง็ ระยะท้า้ ย พ.ศ. 2564 ได้ก้ ำ�ำ หนดหลักั เกณฑ์ ์ วิิธีีการ และเงื่อ� นไขการจ่า่ ย ค่า่ ใช้จ้ ่่ายเพื่่อ� บริิการสาธารณสุุข กรณีีการใช้้ยาน้ำ�ำ� มัันกััญชา ในผู้�้ ป่ว่ ยโรคมะเร็็ง พาร์ก์ ิินสันั และไมเกรน และการใช้้ สารสกััดกััญชาในผู้้�ป่่วยโรคลมชัักและมะเร็็งระยะท้้าย ในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ โดยหน่่วยบริิการที่�่มีี สิทิ ธิไิ ด้้รัับค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยเพื่่อ� บริิการสาธารณสุุข จะต้้องให้บ้ ริิการสาธารณสุขุ แก่่ผู้้�มีสิิทธิิ ตามเงื่�อนไขดัังนี้้� 1. กลุ่ม่� เป้้าหมาย ได้แ้ ก่ ่ ผู้้�มีสิิทธิิ ที่่ไ� ด้ร้ ับั การวิินิิจฉััยโรคและมีีการใช้น้ ้ำำ�� มันั กัญั ชาหรืือสารสกัดั กััญชา ดัังนี้้� 1.1 กรณีีการใช้้ยาน้ำำ��มันั กัญั ชาที่่�ผลิิตจากช่อ่ ดอกซึ่�ง่ ยามีี delta-9-tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 mg/ml ได้้แก่่ 238

1.1.1 ผู้้�ป่่วยโรคมะเร็็ง (กษัยั ) 1.1.2 ผู้้�ป่่วยโรคไมเกรน (ลมปะกังั ) 1.1.3 ป่ว่ ยโรคพาร์์กิินสันั 1.2 กรณีีการใช้้ยาน้ำ�ำ�มันั กััญชาที่�ผ่ ลิิตจากราก ลำำ�ต้น้ กิ่่�ง ก้า้ น ใบ ดอก และเมล็ด็ ได้้แก่่ 1.2.1 ผู้้�ป่่วยโรคมะเร็ง็ (กษัยั ) 1.2.2 ผู้้�ป่่วยโรคไมเกรน (ลมปะกััง) 1.3 กรณีีการใช้้สารสกัดั กััญชา 1.3.1 ผู้้�ป่ว่ ยโรคลมชักั ที่ร�่ ักั ษายากในเด็ก็ 1.3.2 ผู้้�ป่ว่ ยมะเร็ง็ ในระยะท้้าย 2. หน่่วยบริกิ าร ได้แ้ ก่่ หน่ว่ ยบริิการที่ม่� ีีใบอนุญุ าตให้จ้ ำ�ำ หน่า่ ยยาเสพติดิ ให้โ้ ทษ ประเภท 5 (กัญั ชา) โดยมีีเงื่อ� นไข ดังั นี้้� 2.1 การใช้้ยาน้ำ�ำ� มัันกัญั ชาที่ผ่� ลิิตจากช่อ่ ดอก ซึ่ง่� ยามีี delta-9-tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 mg/ml ต้้องมีีผู้้�ประกอบวิิชาชีีพการแพทย์์แผนไทย ผู้้�ประกอบวิิชาชีีพการแพทย์แ์ ผนไทยประยุกุ ต์์ หรืือผู้้�ประกอบ วิิชาชีีพการเวชกรรม เป็็นผู้้�ทำำ�หน้้าที่่�สั่�งใช้้ โดยผู้้�ประกอบวิิชาชีีพดัังกล่่าวต้้องผ่่านการอบรมหลัักสููตรกััญชาทาง การแพทย์์ที่่�กระทรวงสาธารณสุุขรัับรอง และ ต้้องผ่่านการอบรมการใช้้น้ำ�ำ�มัันกััญชา (ตำ�ำ รัับหมอเดชา) จาก กรมการแพทย์์แผนไทยและการแพทย์์ทางเลืือก ตามเงื่�อนไขของโครงการที่�่ขออนุุมััติิไว้้กัับคณะกรรมการพััฒนา ระบบยาแห่ง่ ชาติิ 2.2 กรณีีการใช้ย้ าน้ำำ��มันั กัญั ชาที่ผ่� ลิิตจากราก ลำ�ำ ต้้น กิ่�ง่ ก้้าน ใบ ดอก และเมล็็ด ต้้องมีีผู้�ป้ ระกอบ วิิชาชีีพการแพทย์แ์ ผนไทย หรืือผู้้�ประกอบวิิชาชีีพการแพทย์แ์ ผนไทยประยุุกต์์ เป็็นผู้้�ทำ�ำ หน้า้ ที่ส่�ั่ง� ใช้้ โดยผู้�้ประกอบ วิิชาชีีพดัังกล่่าวต้้องผ่่านการอบรมหลัักสููตรกััญชาทางการแพทย์์ที่่�กระทรวงสาธารณสุุขรัับรอง และ ต้้องผ่่าน การอบรมแนวทางการใช้้ยาน้ำ��ำ มัันกััญชาทั้้�ง 5 จาก โรงพยาบาลเจ้้าพระยาอภััยภููเบศร ตามเงื่�อนไขของโครงการ ที่่�ขออนุุมัตั ิิไว้ก้ ัับคณะกรรมการพััฒนาระบบยาแห่่งชาติิ 2.3 กรณีีการใช้ส้ ารสกัดั กัญั ชา ต้อ้ งมีีผู้ป้� ระกอบวิิชาชีีพการเวชกรรม ซึ่ง�่ ผ่า่ นการอบรมหลักั สููตรกัญั ชา ทางการแพทย์ท์ ี่ก่� ระทรวงสาธารณสุขุ รับั รอง รวมถึงึ ได้ร้ ับั การขึ้น� ทะเบีียนกับั สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้เ้ ป็็นผู้้�สั่�งใช้ส้ ารสกัดั กัญั ชา กรณีีการใช้้สารสกััดกััญชารัักษาโรคลมชัักที่�่รัักษายากในผู้�้ ป่่วยเด็็ก ให้้อยู่�ภายใต้้การดำ�ำ เนิิน การของกุุมารแพทย์์ อนุุสาขากุุมารเวชศาสตร์์ประสาทวิิทยา และตามเงื่�อนไขของโครงการที่�่ขออนุุมััติิไว้้กัับ คณะกรรมการพััฒนาระบบยาแห่ง่ ชาติิ 3. หลัักเกณฑ์์ เงื่่�อนไขการจ่่ายค่า่ ใช้้จ่า่ ยเพื่่�อบริิการสาธารณสุขุ 3.1. การใช้น้ ้ำำ��มัันกััญชาในผู้�้ ป่ว่ ยโรคมะเร็็ง พาร์ก์ ิินสััน และไมเกรน การใช้ย้ าน้ำ��ำ มันั กัญั ชาที่ผ�่ ลิิตจากช่อ่ ดอก ซึ่ง�่ ยามีี delta-9tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 mg/ml ข้อ้ บ่่งชี้้� เป็็นผู้้�ป่ว่ ยได้้รับั การวิินิิจฉััยว่่าเป็็นโรคมะเร็ง็ (ทุกุ ชนิิด) หรืือผู้�้ ป่ว่ ยที่่�ได้ร้ ัับการวิินิิจฉััยว่่า 239

เป็น็ ไมเกรน หรืือผู้�้ ป่่วยที่�่ได้ร้ ับั การวิินิิจฉััยว่า่ เป็็นพาร์์กิินสันั เพื่่�อบรรเทาอาการ ดัังนี้้� - ปวด และ/หรืือ - นอนไม่่หลับั และ/หรืือ - เบื่อ�่ อาหาร อััตราการจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายสำำ�นัักงานสนัับสนุุนค่่าใช้้จ่่ายในการให้้บริิการแก่่หน่่วยบริิการ โดย เหมาจ่า่ ยตามอััตราดังั นี้้� ชนิิดยา ขนาด อััตราจ่า่ ย ปริิมาณการใช้้ยา ยาน้ำำ�� มัันกััญชาที่�ผ่ ลิิตจากช่่อดอก ซึ่่�งยามีี delta- (ml) (บาท/ขวด) (ขวด/คน/เดืือน) 9-tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 mg/ml 10 ml. 172 1-2 3.2 การใช้้ยาน้ำำ��มัันกััญชาที่ผ�่ ลิิตจากราก ลำ�ำ ต้้น กิ่่�ง ก้า้ น ใบ ดอก และเมล็็ด ข้้อบ่ง่ ชี้้� เป็็นผู้้�ป่ว่ ยที่่�ได้ร้ ับั การวิินิิจฉัยั ว่่าเป็น็ โรคมะเร็ง็ (ทุุกชนิิด) หรืือผู้�้ ป่ว่ ยที่�่ได้ร้ ัับการวิินิิจฉััย ว่่าเป็็นไมเกรน เพื่่�อบรรเทาอาการ ดัังนี้้� - ปวดเรื้อ� รังั - นอนไม่ห่ ลับั อััตราการจ่่ายค่่าใช้้จ่่าย สำำ�นัักงานสนัับสนุุนค่่าใช้้จ่่ายในการให้้บริิการแก่่หน่่วยบริิการ โดย เหมาจ่า่ ยตามอััตราดัังนี้้� ชนดิ ยา ขนาด อตั ราจา่ ย ปรมิ าณการใช้ยา ยานำ้� มนั กัญชาท่ีผลิตจากราก ล�ำตน้ ก่งิ กา้ น ใบ (ml) (บาท/ขวด) (ขวด/คน/เดือน) ดอก และเมลด็ 5 ml. 150 2-4 3.3 การใช้ย้ าน้ำำ�� มันั สารสกััดกัญั ชา ข้อ้ บ่ง่ ชี้้� - ผู้�้ ป่่วยโรคลมชัักที่�่รัักษายากในเด็็ก ผู้�้สั่�งใช้้ยาต้้องเป็็นกุุมารแพทย์์อนุุสาขากุุมารเวชศาสตร์์ ประสาทวิิทยา และได้ร้ ับั การอบรมหลักั สููตรการใช้ส้ ารสกัดั กัญั ชาทางการแพทย์ท์ ี่ก�่ ระทรวงสาธารณสุขุ ให้ก้ ารรับั รอง กรณีีการรักั ษาผู้�้ ป่ว่ ยโรคลมชักั ที่ร่� ักั ษายากในเด็ก็ ได้้แก่่ Dravet Syndrome และ Lennox-Gastaut Syndrome และ/หรืือโรคลมชัักที่ด่�ื้อ� ต่อ่ ยารัักษาตั้ง� แต่่ 2 ชนิิดขึ้�นไป - ผู้้�ป่ว่ ยมะเร็ง็ ระยะท้า้ ยที่่�ได้ร้ ับั การดููแลแบบประคับั ประคอง (Palliative Care) อััตราการจ่่ายค่่าใช้้จ่่าย สำำ�นัักงานสนัับสนุุนค่่าใช้้จ่่ายในการให้้บริิการแก่่หน่่วยบริิการ โดย เหมาจ่า่ ยตามอัตั ราดัังนี้้� 240

ชนดิ ยา ขนาด อัตราจา่ ย ปรมิ าณการใช้ยา หมายเหตุ (ml) (บาท/ขวด) (ขวด/คน/เดอื น) ยาน�้ำมันสารสกัดกัญชาที่มี delta- 5 ml. 500 2 9-tetrahydrocannabinol (THC) ไม่เกนิ 0.5 mg/drop 900 ใช้ได้เฉพาะกรณีผู้ป่วย มะเรง็ ระยะทา้ ยทไี่ ดร้ บั 2,000 2 การดูแลแบบประคับ ยาน�้ำมันสารสกัดกัญชาท่ีมี delta- 5 ml. 6,000 ประคอง (Palliative 9-tetrahydrocannabinol (THC) และ Cannabidiol (CBD) ในอตั ราสว่ น Care) 1:1 ยาน้�ำมันสารสกัดกัญชาที่มี Canna- 10 ml. 6 bidiol (CBD)100 mg/ml และมี ใช้ได้เฉพาะกรณีผู้ป่วย delta-9-tetrahydrocannabinol 30 ml. (THC) ในอัตราส่วนที่ CBD:THC 2 โรคลมชักท่ีรักษายาก มากกวา่ หรือเทา่ กับ 20:1 ในเดก็ หมายเหตุุ 1. กรณีียากลุ่�มบัญั ชีี 3 ได้้แก่่ 1.1. ยาน้ำ��ำ มันั กัญั ชาที่ผ�่ ลิิตจากช่อ่ ดอก ซึ่ง�่ ยามีี delta-9-tetrahydrocannabinol (THC) 2.0 mg/ml 1.2. ยาน้ำำ�� มันั กัญั ชาที่่ผ� ลิิตจากราก ลำำ�ต้น้ กิ่�่ง ก้้าน ใบ ดอก และเมล็็ด 1.3. ยาน้ำำ��มันั สารสกััดกััญชาที่�่มีี Cannabidiol (CBD)100 mg/ml และมีี delta-9-tetrahydroc- cannabinol (THC) ในอััตราส่่วนที่�่ CBD:THC มากกว่า่ หรืือเท่่ากัับ 20:1 รายการยา รููปแบบ และเงื่�อนไขการใช้้ต้้องดำ�ำ เนิินการ ตามประกาศคณะกรรมการพััฒนาระบบยา แห่ง่ ชาติิและโครงการที่ข่� ออนุมุ ััติิไว้้กับั คณะกรรมการพัฒั นาระบบยาแห่่งชาติิ 2. หน่ว่ ยบริิการสามารถยื่่น� อุทุ ธรณ์์ต่่อสำำ�นักั งานได้เ้ ป็็นรายกรณีี หากให้้บริิการมากกว่่าที่ก่� ำำ�หนด 3. กรณีีที่ห่� น่ว่ ยบริิการได้ร้ ับั การจ่า่ ยหรืือการสนับั สนุนุ ค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยรายการใดรายการหนึ่่ง� จากหน่ว่ ยงานอื่น�่ ไม่ส่ ามารถนำำ�ข้อ้ มููลมาเรีียกเก็บ็ กับั สำ�ำ นัักงานได้้ 4. การส่ง่ ข้้อมููลขอรัับค่่าใช้้จ่่าย และการประมวลผลออกรายงานจ่่ายชดเชย 4.1 หน่ว่ ยบริิการบันั ทึกึ ข้อ้ มููลในโปรแกรมการเบิิกชดเชยยา หัวั ข้อ้ ยากัญั ชา ซึ่ง่� เป็น็ โปรแกรมที่บ�่ ริิหาร จััดการร่่วมกัันระหว่่างสานัักงานคณะกรรมการอาหารและยากัับสำ�ำ นัักงาน สำำ�หรัับข้้อมููลที่่�ส่่งหลัังจากที่�่กำ�ำ หนด จะถืือว่่าหน่ว่ ยบริิการไม่ป่ ระสงค์์จะขอรัับค่่าใช้้จ่า่ ยเพื่่อ� บริิการสาธารณสุขุ 4.2 สำ�ำ นัักงานจะทำำ�การตรวจสอบและประมวลผลข้้อมููลการจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายเพื่�่อบริิการสาธารณสุุข ตามวัันที่�่มีีการบัันทึึกและส่่งข้้อมููล (Sent date) เป็็นรายเดืือน หลัังจากนั้้�นจะรายงานผลการรัับส่่งข้้อมููล (REP) ให้ห้ น่่วยบริิการตรวจสอบผ่่านระบบ Seamless for DMIS 241

บทที่ 6 ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่าย ในลักษณะงบลงทุน เป็น็ ค่า่ ใช้้จ่า่ ยเพื่อ่� ชดเชยค่า่ เสื่อ่� มของสิ่ง่� ก่อ่ สร้า้ งและครุภุ ัณั ฑ์ท์ ี่ใ�่ ช้ใ้ นการบริิการผู้�้ ป่ว่ ยนอก บริิการผู้�้ ป่ว่ ยใน และบริิการสร้้างเสริิมสุุขภาพและป้้องกัันโรค โดยขอบเขตบริิการเป็็นไปตามคำำ�สั่่�งหััวหน้้าคณะรัักษาความสงบ แห่่งชาติิ ที่�่ 37/2559 เรื่อ�่ ง ค่่าใช้จ้ ่่ายที่เ่� กี่ย่� วข้อ้ งและจำำ�เป็น็ ต่่อการสนัับสนุนุ และส่ง่ เสริิมการจััดบริิการสาธารณสุุข และค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยอื่น�่ ตามกฎหมายว่า่ ด้้วยหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิลงวัันที่่� 5 กรกฎาคม พุุทธศัักราช 2559 และประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่่อ� ง หลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่อ� นไข การรับั เงิน การจ่า่ ยเงิน การรักั ษาเงิน และ รายการของค่่าใช้้จ่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้อง และจำำ�เป็็นต่่อการสนัับสนุุนและส่่งเสริิมการจััดบริิการสาธารณสุุขและค่่าใช้้จ่่าย อื่�่น พ.ศ. 2559 ลงวัันที่่� 26 กัันยายน พ.ศ. 2559 และตามที่�่คณะกรรมการหลัักประกันั สุุขภาพแห่่งชาติิกำ�ำ หนด แนวทาง เงื่�่อนไข และหลัักเกณฑ์์การจ่า่ ยค่่าใช้้จ่า่ ย ค่่าบริิการทางการแพทย์์ที่�่เบิิกจ่่ายในลัักษณะงบลงทุุน ได้้รัับจำ�ำ นวน 128.69 บาทต่่อผู้�้ มีีสิิทธิิ สำำ�หรัับ ผู้�้มีสิิทธิิ 47.5470 ล้า้ นคน  242

1. หน่ว่ ยบริิการที่�ม่ ีีสิิทธิิรับั เงิิน 1.1 เป็็นหน่่วยบริิการในระบบหลัักประกัันสุุขภาพแห่่งชาติิ ที่�่ขึ้�นทะเบีียนเป็็นหน่่วยบริิการปฐมภููมิิ หน่่วยบริิการประจำ�ำ หน่่วยบริิการรับั ส่่งต่่อทั่่�วไป ทั้้�งนี้้ � สำ�ำ หรับั หน่่วยบริิการรัับส่่งต่่อเฉพาะโรค และหน่่วยบริิการ รัับส่่งต่่อทั่่ว� ไป ที่ข�่ึ้น� ทะเบีียนใหม่ร่ ะหว่า่ งปีงี บประมาณ 2565 จะไม่่ได้ร้ ัับจัดั สรรเงิน 1.2 กรณีีที่่�มีีหน่ว่ ยบริิการลาออก และมีีการโอนย้า้ ยประชากรระหว่า่ งกันั ในปีีงบประมาณ 2565 ให้้โอน เงินค่่าบริิการทางการแพทย์์ที่เ่� บิิกจ่่ายในลัักษณะงบลงทุนุ ให้ก้ ัับหน่ว่ ยบริิการที่ร�่ ัับดููแลประชากรจริิงตามสััดส่่วนที่่� ให้้บริิการ 1.3 หน่่วยบริิการที่่�ไม่่สามารถให้้บริิการสาธารณสุุขจนครบปีีงบประมาณของสััญญาการให้้บริิการ สาธารณสุขุ จะถููกเรีียกคืืนเงินตามสััดส่ว่ นที่่อ� ยู่�ไม่ค่ รบปีงี บประมาณ 2. การแบ่ง่ สัดั ส่ว่ นเงินิ สำ�ำ หรับั คำ�ำ นวณจ่า่ ยเงินิ ค่า่ บริกิ ารทางการแพทย์ท์ ี่เ�่ บิกิ จ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ เป็น็ การจ่า่ ยชดเชยค่า่ เสื่อ�่ มราคาของหน่ว่ ยบริิการสำ�ำ หรับั บริิการผู้�้ ป่ว่ ยนอก บริิการผู้�้ ป่ว่ ยในและบริิการสร้า้ ง เสริิมสุขุ ภาพและป้อ้ งกันั โรค ด้ว้ ยสัดั ส่ว่ นเงินอัตั ราต่อ่ หัวั ผู้�้มีสิทิ ธิิของแต่ล่ ะประเภทบริิการ ในปีี 2565 แล้ว้ นำ�ำ อัตั ราที่ไ�่ ด้้ คููณกับั เป้า้ หมายจำ�ำ นวนผู้�้มีสิทิ ธิหิ ลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิ จำ�ำ นวน 47.5470 ล้า้ นคน ผลของการแบ่ง่ สัดั ส่ว่ นเงินของ แต่ล่ ะประเภทบริิการ มีีดัังนี้้� 2.1 สััดส่่วนบริิการผู้้�ป่่วยนอก 52.97 บาทต่่อประชากรผู้้�มีสิิทธิิ 2.2 สััดส่ว่ นบริิการสร้า้ งเสริิมสุุขภาพและป้อ้ งกันั โรค 16.44 บาทต่อ่ ประชากรผู้�้มีสิทิ ธิิ 2.3 สััดส่ว่ นบริิการผู้้�ป่่วยใน 59.28 บาทต่อ่ ประชากรผู้้�มีสิิทธิิ 243

3. หลัักเกณฑ์ก์ ารจััดสรรเงินิ 3.1 สำ�ำ หรัับบริิการผู้้�ป่่วยนอกและบริิการสร้้างเสริิมสุุขภาพและป้้องกัันโรคให้้ตามจำำ�นวนผู้้�มีีสิิทธิิ ที่ล�่ งทะเบีียนให้้กับั หน่่วยบริิการประจำำ� โดยแยกวงเงินเป็็น 2 กลุ่�มตามจำ�ำ นวนผู้้�มีสิทิ ธิิที่�่ลงทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 คืือ 3.1.1 กลุ่�มหน่ว่ ยบริิการสังั กัดั สป.สธ. ใช้ข้ ้อ้ มููลจำ�ำ นวนผู้�้มีสิทิ ธิิที่ล่� งทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 เป็น็ ตัวั แทนในการจ่า่ ยค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยทั้้ง� ปี ี สำ�ำ หรับั กรณีีหน่ว่ ยบริิการที่ข�่ึ้น� ทะเบีียนใหม่ใ่ นปีงี บประมาณ 2565 หรืือกรณีีที่�่ มีีการเปลี่ย่� นแปลงจำ�ำ นวนผู้้�มีสิทิ ธิิที่ล่� งทะเบีียนของหน่ว่ ยบริิการ สปสช.จะปรับั การจ่า่ ยให้แ้ ก่ห่ น่ว่ ยบริิการที่เ�่ กี่ย่� วข้อ้ ง ภายใต้จ้ ำำ�นวนผู้้�มีสิิทธิิที่ล�่ งทะเบีียน 1 เมษายน 2564 3.1.2 กลุ่�มหน่ว่ ยบริิการอื่น่� ๆ ที่่เ� หลืือ ใช้้ข้้อมููลจำำ�นวนผู้�้มีสิิทธิิที่ล�่ งทะเบีียน ณ 1 พฤศจิิกายน 2564 เป็็นตัวั แทนในการจ่่ายค่่าใช้จ้ ่่ายทั้้ง� ปีี 3.2 สำ�ำ หรัับบริิการผู้้�ป่่วยใน ให้้ตามจำ�ำ นวนผลงานที่่�คิิดเป็็นค่่าน้ำ�ำ�หนัักสััมพััทธ์์ ตามระบบ DRGs (adjRW) ให้ก้ ับั หน่ว่ ยบริิการที่ใ่� ห้บ้ ริิการ โดยให้ใ้ ช้ข้ ้อ้ มููลผลงานบริิการผู้�้ ป่ว่ ยในที่ส่� ่ง่ มาในแต่ล่ ะเดืือนของปีงี บประมาณ 2564 จำำ�นวน 6 เดืือน (ตุุลาคม 2563 – มีีนาคม 2564) ด้ว้ ยอััตราต่อ่ 1 adjRW ที่�่เท่่ากัันทุกุ หน่ว่ ยบริิการ ทั้้ง� นี้้� ข้อ้ มููลผลงานผู้�้ ป่ว่ ยใน (adjRW) ที่ใ่� ช้ใ้ นการคำ�ำ นวณ เป็น็ ข้อ้ มููลเฉพาะผู้้�ป่ว่ ยในทั่่ว� ไป ซึ่ง่� ไม่ร่ วมถึงึ ข้อ้ มููลการให้บ้ ริิการ ผู้้�ป่ว่ ยในที่ม่� ีีการชดเชยเพิ่ม่� เติมิ พิิเศษจากการชดเชยผู้�้ ป่ว่ ยในทั่่ว� ไป ไม่ร่ วมถึงึ ข้อ้ มููลผู้�้ ป่ว่ ยในของหน่ว่ ยบริิการรับั ส่ง่ ต่อ่ เฉพาะโรค ไม่ร่ วมถึงึ ข้อ้ มููลผู้�้ ป่ว่ ยในที่ใ่� ห้บ้ ริิการเฉพาะด้า้ นของหน่ว่ ยบริิการที่ข่�ึ้น� ทะเบีียนเป็็นหน่ว่ ยบริิการรับั ส่ง่ ต่่อ เฉพาะด้้าน และไม่่รวมข้้อมููลที่ม่� ีีปัญั หาต่่างๆ หลังั จากวัันที่ �่ สปสช.ตััดข้้อมููล เช่่น ข้้อมููลส่่งช้้า 4. ขั้้น� ตอนการดำ�ำ เนิินงาน 4.1 สปสช. แจ้ง้ การจััดสรรเงินให้้กับั หน่ว่ ยบริิการทั่่ว� ประเทศทราบ โดยแจ้ง้ ผ่่าน สปสช.เขต โดยให้้ สปสช.เขต ตรวจสอบตัวั เลขการจัดั สรรและแจ้ง้ ยืืนยัันตััวเลขการจััดสรรในเขตที่�ร่ ับั ผิิดชอบ ให้ ้ สปสช.ทราบ 4.2 สปสช.เขต แจ้ง้ ตัวั เลขการจัดั สรรให้ห้ น่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่เ�่ ขตรับั ผิิดชอบจัดั ทำ�ำ แผนฯ ตามรายการ ในประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่อ�่ ง หลักั เกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่อ� นไข การรับั เงิน การจ่่ายเงิน การรัักษาเงิน และ รายการของค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยที่เ่� กี่ย�่ วข้อ้ งและจำ�ำ เป็น็ ต่อ่ การสนับั สนุนุ และส่ง่ เสริิมการจัดั บริิการสาธารณสุขุ และค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยอื่น่� พ.ศ. 2559 ลงวันั ที่่� 26 กัันยายน 2559 4.2.1 สำำ�หรับั หน่ว่ ยบริิการสังั กัดั สำ�ำ นักั งานปลัดั กระทรวงสาธารณสุขุ (สังั กัดั สป.สธ.) หลังั คำำ�นวณ ได้้จำ�ำ นวนเงิ นค่่าบริิการทางการแพทย์์ที่�่เบิิกจ่่ายในลัักษณะงบลงทุุนระดัับหน่่วยบริิการแล้้ว แบ่่งการจััดสรรแต่่ละ ระดัับ ดังั นี้้� 4.2.1.1 เงินที่จ�่ ัดั สรรระดับั หน่ว่ ยบริิการของหน่ว่ ยบริิการสังั กัดั สป.สธ. ให้ค้ ณะกรรมการ ประสานงานสาธารณสุุขระดัับอำำ�เภอ (คปสอ.) จััดทำำ�แผนฯ เพื่่�อส่ง่ ให้้ สสจ.ทราบและพิิจารณาเบื้้�องต้้นก่่อนส่ง่ ให้้ สปสช.เขต เพื่�อ่ อนุมุ ััติิ 4.2.1.2 เงินที่จ�่ ัดั สรรระดับั จังั หวัดั ของหน่ว่ ยบริิการสังั กัดั สป.สธ. ให้ค้ ณะกรรมการวางแผน และประเมิินผลสาธารณสุขุ จังั หวัดั (กวป.) จัดั ทำ�ำ แผนฯ จัดั สรรให้้ รพช./รพ.สต และส่ง่ ให้ ้ สปสช.เขต เพื่อ�่ อนุมุ ัตั ิิ 4.2.1.3 เงิ นที่�่จััดสรรให้้ระดัับเขตของหน่่วยบริิการสัังกััด สป.สธ. ให้้คณะกรรมการ 244

เขตสุุขภาพ จัดั ทำำ�แผนฯ จััดสรรให้ก้ ัับ รพช./รพ.สต. และส่ง่ ให้้ สปสช.เขต เพื่�่อ อนุมุ ัตั ิิ 4.2.2 สำ�ำ หรัับหน่่วยบริิการสัังกััดอื่�่นๆ ที่่�เหลืือ ค่่าบริิการทางการแพทย์์ที่�่เบิิกจ่่ายในลัักษณะ งบลงทุุนของหน่่วยบริิการ ให้้จัดั สรรตรงให้้หน่่วยบริิการทั้้ง� หมด โดยหน่่วยบริิการจัดั ทำ�ำ แผนฯ ดัังนี้้� 4.2.2.1 หน่่วยบริิการในพื้้�นที่่� สปสช.เขต 1-12 หน่่วยบริิการจััดทำำ�แผนฯ และส่่งให้้ สปสช.เขต อนุุมััติิ 4.2.2.2 หน่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่ �่ สปสช.เขต 13 หน่ว่ ยบริิการจัดั ทำ�ำ แผนฯ ส่ง่ ให้ ้ สปสช.อนุมุ ัตั ิิ ยกเว้น้ กรณีีศููนย์บ์ ริิการสาธารณสุขุ สังั กัดั กรุงุ เทพมหานคร ให้จ้ ่า่ ยตามแผนของสำ�ำ นักั อนามัยั กรุงุ เทพมหานคร และ ส่ง่ ให้ ้ สปสช.อนุมุ ัตั ิิ 4.2.2.3 หน่ว่ ยบริิการในสังั กัดั กรมแพทย์ท์ หารเรืือ กรมแพทย์์ทหารอากาศ จัดั สรรเป็็น ภาพรวมให้ก้ ับั กรมแพทย์ท์ หารเรืือ และกรมแพทย์ท์ หารอากาศ ให้จ้ ััดทำ�ำ แผนฯ และส่ง่ ให้้ สปสช.อนุมุ ััติิ 4.2.3 กรณีีที่ม�่ ีีการเปลี่ย�่ นแปลงรายการแผนสำ�ำ หรับั หน่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่เ�่ ขต 1-12 ให้ห้ น่ว่ ยบริิการ แจ้ง้ สปสช.เขต เพื่อ�่ พิิจารณาอนุมุ ัตั ิิ สำ�ำ หรับั หน่ว่ ยบริิการในพื้้น� ที่ �่ สปสช.เขต 13 กรุงุ เทพมหานคร กรมแพทย์ท์ หารเรืือ และกรมแพทย์ท์ หารอากาศให้แ้ จ้ง้ มายังั สปสช. เพื่อ�่ พิิจารณาอนุมุ ัตั ิิ 4.3 เมื่อ่� หน่ว่ ยบริิการได้ร้ ับั เงินโอน ให้เ้ ร่ง่ รัดั การดำำ�เนิินการจัดั ซื้อ� /จัดั หา ตามพระราชบัญั ญัตั ิกิ ารจัดั ซื้อ� จััดจ้า้ ง และบริิหารพััสดุุภาครััฐ พ.ศ.2560 หรืือตามระเบีียบของหน่ว่ ยบริิการต่อ่ ไป 5. กำ�ำ หนดการจ่า่ ยเงินิ ให้ห้ น่ว่ ยบริกิ าร 5.1 สปสช.จะเร่่งรััดการจ่่ายเงินให้ห้ น่ว่ ยบริิการโดยตรง ตามจำ�ำ นวนเงินที่่ไ� ด้้รัับอนุมุ ัตั ิิแผนฯ ภายหลััง จากที่ �่ สปสช. ได้้รับั การโอนเงินจากสำ�ำ นัักงบประมาณ 5.2 สำำ�หรัับหน่่วยบริิการภาครััฐสัังกััดอื่�่น (ยกเว้้นหน่่วยบริิการสัังกััดกรมแพทย์์ทหารเรืือ และ กรมแพทย์ท์ หารอากาศ) และภาคเอกชน ที่ย�่ ังั ไม่ไ่ ด้ท้ ำ�ำ ข้อ้ ตกลงให้บ้ ริิการสาธารณสุขุ / สัญั ญาให้บ้ ริิการสาธารณสุขุ ที่�่ เป็น็ รููปแบบที่ใ�่ ช้ใ้ นปัจั จุบุ ันั ต้อ้ งมีีหนังั สืือแสดงความจำ�ำ นงด้ว้ ย โดยสามารถดาวน์โ์ หลด แบบหนังั สืือแสดงความจำ�ำ นงได้ท้ ี่�่ www.nhso.go.th เลืือกเมนูู “บริิการข้อ้ มููล” > เลืือก “ศููนย์ข์ ้อ้ มููลกฎหมาย” > เลืือก “ดาวน์โ์ หลดเอกสาร” > เลืือก “แบบฟอร์ม์ อื่น�่ ๆ” > เลืือก “แบบหนังั สืือแสดงความจำ�ำ นงตอบรับั การดำ�ำ เนิินงาน” โดยให้ด้ ำ�ำ เนิินการ ดังั นี้้� 5.2.1 เมื่อ�่ ต้น้ สังั กัดั ของหน่ว่ ยบริิการ และหน่ว่ ยบริิการได้ร้ ับั แจ้ง้ วงเงินค่า่ บริิการทางการแพทย์ท์ ี่�่ เบิิกจ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ ที่ไ�่ ด้ร้ ับั จัดั สรร ให้จ้ ัดั ทำำ�หนังั สืือแสดงความจำำ�นงเพื่อ่� ขอรับั เงินค่า่ บริิการทางการแพทย์์ที่่� เบิิกจ่่ายในลักั ษณะงบลงทุนุ ตามแบบหนัังสืือแสดงความจำ�ำ นง จำ�ำ นวน 2 ชุดุ พร้อ้ มแนบแผนการบริิหารเงินค่า่ บริิการ ทางการแพทย์ท์ ี่เ�่ บิิกจ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ ที่ �่ ยื่น�่ ต่อ่ สปสช.เขต (สำ�ำ หรับั เขต 1-12) หรืือส่ว่ นกลาง (สำ�ำ หรับั เขต 13) เพื่อ�่ พิิจารณา 5.2.2 สปสช.เขตหรืือส่่วนกลาง จััดเก็็บหนัังสืือแสดงความจำำ�นง ต้้นฉบัับไว้้ และคืืนคู่�ฉบัับให้้ หน่่วยบริิการ 5.2.3 สปสช.เขตหรืือส่่วนกลาง ส่่งหนัังสืือแสดงความจำำ�นงฉบัับจริิง และรายละเอีียดแผน บริิหารเงินค่า่ บริิการทางการแพทย์ท์ ี่เ�่ บิิกจ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ ให้ส้ ปสช. เพื่อ�่ ใช้เ้ ป็น็ หลักั ฐานประกอบการโอนเงินให้้ หน่ว่ ยบริิการต่อ่ ไป 245

5.3 กรณีีหน่ว่ ยบริิการที่เ่� ข้า้ ใหม่่ กรณีีเป็น็ ภาครัฐั นอกสังั กัดั สธ.ต้อ้ งจัดั ทำำ�ข้อ้ ตกลงให้บ้ ริิการสาธารณสุขุ หรืือสััญญาให้้บริิการสาธารณสุุขกรณีีเป็็นภาคเอกชน พร้้อมทั้้�งแนบสำำ�เนาหน้้าสมุุดบััญชีีคู่่�ฝากของหน่่วยบริิการที่่� เป็็นบััญชีีของธนาคารเพื่่�อการเกษตรและสหกรณ์์การเกษตร จำ�ำ นวน 2 ชุุด ส่่งไปที่�่สปสช. เขต ยกเว้้น หน่่วยบริิการ ที่�่ขึ้�นทะเบีียนในพื้้น� ที่� ่ สปสช.เขต 13 กรุงุ เทพมหานคร ให้แ้ จ้ง้ มาที่ �่ สปสช. 6. การกำ�ำ กับั ติดิ ตามประเมินิ ผลการจัดั สรร หน่ว่ ยบริิการที่ร�่ ับั เงินจัดั สรรเงินค่า่ บริิการทางการแพทย์ท์ ี่เ�่ บิิกจ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ แล้ว้ ให้ร้ ายงานผล การจัดั ซื้อ� /จัดั หา ผ่า่ นทาง Website ของสปสช.ที่�่ www.nhso.go.th เลืือกเมนูู “บริิการออนไลน์”์ > หมวด “NHSO Budget”>เลืือก “ระบบรายงานการใช้เ้ งินค่า่ บริิการทางการแพทย์ท์ ี่เ�่ บิิกจ่า่ ยในลักั ษณะงบลงทุนุ (งบค่า่ เสื่อ�่ ม)” โดย สามารถลงทะเบีียนรับั User name, Password เพื่อ�่ ใช้้ Login เข้า้ โปรแกรมรายงานได้ท้ ี่ �่ สปสช.เขต 246

บทที่ 7 บริการท่ีจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการ การจ่า่ ยตามเกณฑ์ค์ ุณุ ภาพผลงานบริิการมีีเป้า้ ประสงค์ใ์ ห้ป้ ระชาชนมั่น� ใจว่า่ จะได้ร้ ับั บริิการ ที่ม�่ ีีคุณุ ภาพ และมาตรฐานตามความจำ�ำ เป็็นต่่อสุุขภาพและการดำำ�รงชีีวิิต และหน่่วยบริิการมีีการพััฒนาคุุณภาพผลงานบริิการ เพิ่่�มขึ้�นอย่า่ งต่่อเนื่อ่� ง หลัักเกณฑ์์การจ่่ายค่า่ ใช้้จ่า่ ย การจัดั สรรงบจ่า่ ยตามคุณุ ภาพผลงานบริิการนี้้� เป็น็ การจัดั สรรให้แ้ ก่ห่ น่ว่ ยบริิการที่ม�่ ีีผลการดำำ�เนิินงานตาม ตััวชี้�วััดคุุณภาพผลงานบริิการโดยนำ�ำ ไปบููรณาการไปกัับการจ่่ายค่่าใช้้จ่่ายค่่าบริิการควบคุุมป้้องกัันและรัักษาผู้้�ป่่วย โรคเบาหวานและความดันั สููง เพื่อ�่ จ่า่ ยตามตัวั ชี้ว� ัดั คุณุ ภาพผลงานบริิการควบคุมุ ป้อ้ งกันั ระดับั ทุตุ ิิยภููมิิ (Secondary prevention) รายละเอีียดตามบทที่�่ 12 การบริิหารค่่าใช้จ้ ่่ายบริิการควบคุุมป้้องกัันและรัักษาผู้้�ป่่วยโรคเบาหวาน และความดันั โลหิิตสููงระดับั เขต 247

บทที่ 8 การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว ส�ำหรับหน่วยบริการภาครัฐ สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แนวทางการบริหิ ารจัดั การ 1. มีีการกันั เงินไว้้ปรัับเกลี่ย่� ไม่เ่ กิินร้้อยละ 10 ของประมาณการรายรับั ที่่�หน่่วยบริิการสัังกัดั สป.สธ.จะได้้รัับ ปีีงบประมาณ 2565 สำ�ำ หรัับบริิหารจัดั การระดัับประเทศ/เขต/จังั หวััด และสำำ�หรัับการปรับั เกลี่่�ยรายรัับของแต่ล่ ะ หน่ว่ ยบริิการ (CUP) ภายใต้เ้ งื่อ� นไขการจ่า่ ยแบบขั้น� บันั ได (Step ladder) ตามจำำ�นวนผู้�้มีสิทิ ธิิสำ�ำ หรับั บริิการผู้้�ป่ว่ ยนอก ทั่่ว� ไปและค่า่ บริิการสร้า้ งเสริิมสุขุ ภาพและป้อ้ งกันั โรคสำ�ำ หรับั บริิการพื้้น� ฐาน และการเพิ่ม�่ ค่า่ ถ่ว่ งน้ำ��ำ หนักั บริิการผู้�้ ป่ว่ ยใน (กำำ�หนดค่่า K) ตามกลุ่�มระดัับหน่ว่ ยบริิการ 2. การคำ�ำ นวณจัดั สรรแบบขั้น� บันั ได (Step ladder) ตามจำ�ำ นวนผู้้�มีสิทิ ธิิสำำ�หรับั บริิการผู้�้ ป่ว่ ยนอกทั่่ว� ไปที่จ่� ่า่ ย แบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ผู้�้มีสิทิ ธิิ และค่า่ บริิการสร้า้ งเสริิมสุขุ ภาพและป้อ้ งกันั โรคสำ�ำ หรับั บริิการพื้้น� ฐาน ใช้จ้ ำำ�นวนประชากร ผู้�้มีสิทิ ธิิ ณ 1 เมษายน 2564 3. การคำ�ำ นวณการเพิ่�่มค่่าถ่่วงน้ำำ�� หนัักบริิการผู้้�ป่่วยใน (กำ�ำ หนดค่่า K) ตามกลุ่�มประเภทหน่่วยบริิการและ จำำ�นวนเตีียง 4. ปรับั ลดค่่าแรงระดับั หน่่วยบริิการ โดยใช้้ตัวั เลขการเบิิกจ่า่ ยงบบุุคลากรจากระบบของกรมบััญชีีกลางและ ระบบ GFMIS แยกรายการค่่าใช้้จ่่ายบุุคคลภาครััฐในระบบประกัันสุุขภาพด้้วยข้้อมููลบััญชีีถืือจ่่ายเงิ นเดืือน เป็็น ตัวั เลขอ้า้ งอิิงระดับั จังั หวัดั และสำำ�นักั งานสาธารณสุขุ จังั หวัดั ปรับั เกลี่ย�่ กระจายเป็น็ ราย CUP ด้ว้ ยข้อ้ มููลงบบุคุ ลากร ที่่ป� ฏิิบัตั ิิงานจริิงจากกระทรวงสาธารณสุุข 248

5. มีีการประกัันรายรัับค่า่ บริิการผู้�้ ป่ว่ ยนอกทั่่�วไป ค่่าบริิการสร้้างเสริิมสุุขภาพและป้อ้ งกัันโรคสำ�ำ หรับั บริิการ พื้้น� ฐาน และค่า่ บริิการผู้้�ป่ว่ ยในทั่่ว� ไป ปีงี บประมาณ 2565 เป็น็ ไปตามแนวทางและเงื่อ� นไข ที่ค�่ ณะอนุกุ รรมการกำ�ำ หนด หลักั เกณฑ์ก์ ารดำ�ำ เนิินงานและการบริิหารจัดั การกองทุนุ ภายใต้ค้ ณะกรรมการหลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิกำ�ำ หนด 6. ให้เ้ ขตสุขุ ภาพสามารถปรับั การจัดั สรรเงินที่ไ่� ด้้ โดยผ่า่ นความเห็น็ ชอบของคณะทำำ�งานกำ�ำ หนดแนวทางการ ใช้จ้ ่า่ ยเงินกองทุนุ หลักั ประกันั สุขุ ภาพแห่ง่ ชาติิของหน่ว่ ยบริิการสังั กัดั สำ�ำ นักั งานปลัดั กระทรวงสาธารณสุขุ ระดับั เขต (คณะทำ�ำ งานร่่วมฯ ระดัับเขต) หลักั เกณฑ์ก์ ารคำำ�นวณวงเงิิน และหลักั เกณฑ์ก์ ารจ่่ายค่่าใช้้จ่่าย 1. ค่่าบริิการผู้�้ ป่่วยนอกทั่่ว� ไป ค่่าบริกิ ารสร้้างเสริิมสุุขภาพและป้้องกัันโรคสำ�ำ หรัับบริิการพื้้น� ฐาน และค่า่ บริิการ ผู้�้ ป่่วยในทั่่ว� ไป 1) สปสช.ประมาณการรายรัับเงิ นเหมาจ่่ายรายหััว สำ�ำ หรัับค่่าบริิการผู้�้ ป่่วยนอกทั่่�วไป ค่่าบริิการสร้้าง เสริิมสุุขภาพและป้้องกัันโรคสำำ�หรับั บริิการพื้้�นฐาน (P&P basic services) และค่่าบริิการผู้้�ป่ว่ ยใน ก่อ่ นที่�จ่ ะมีีการ กันั เงินตามเกณฑ์ข์ อง สป.สธ.ดัังนี้้� 1.1) เงินค่า่ บริิการผู้�้ ป่ว่ ยนอกทั่่ว� ไปที่จ�่ ่า่ ยแบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ผู้้�มีสิทิ ธิิ คำำ�นวณวงเงินแบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ผู้�้มีสิิทธิใิ ห้้กัับหน่่วยบริิการประจำ�ำ ด้้วยอัตั ราเหมาจ่า่ ยในระดัับจังั หวััดที่ค�่ ำำ�นวณมาจากหลัักเกณฑ์์กลางทั้้ง� ประเทศ โดยใช้จ้ ำำ�นวนผู้�้มีสิิทธิิที่ล่� งทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 เป็็นตััวแทนในการจ่า่ ยค่่าใช้้จ่า่ ยแบบเหมาจ่่ายทั้้ง� ปี ี สำำ�หรัับ กรณีีหน่่วยบริิการที่�่จะขึ้�นทะเบีียนใหม่่ในปีีงบประมาณ 2565 หรืือกรณีีที่่�มีีการเปลี่�่ยนแปลงจำำ�นวนผู้�้ มีีสิิทธิิที่่�ลง ทะเบีียนของหน่ว่ ยบริิการ สปสช.จะปรัับการจ่า่ ยแก่่หน่ว่ ยบริิการที่่เ� กี่่�ยวข้อ้ ง ตามที่ �่ สปสช.เขตแจ้ง้ ภายใต้จ้ ำ�ำ นวน ผู้�้มีสิทิ ธิิที่ล่� งทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 1.2) เงินค่า่ บริิการสร้า้ งเสริิมสุขุ ภาพและป้้องกัันโรคสำำ�หรัับบริิการพื้้�นฐาน (P&P basic services) 1.1.1 คำ�ำ นวณวงเงินแบบเหมาจ่า่ ยต่อ่ ผู้�้มีสิทิ ธิใิ ห้ก้ ับั หน่ว่ ยบริิการประจำำ� ด้ว้ ยอัตั ราเหมาจ่า่ ยใน ระดับั จัังหวัดั ที่�่คำ�ำ นวณมาจากหลัักเกณฑ์ก์ ลางทั้้ง� ประเทศ โดยใช้จ้ ำำ�นวนผู้�้มีสิิทธิิที่่ล� งทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 เป็็นตััวแทนในการจ่า่ ยค่่าใช้้จ่่ายแบบเหมาจ่่ายทั้้ง� ปีี สำ�ำ หรัับกรณีีหน่่วยบริิการที่จ�่ ะขึ้�นทะเบีียนใหม่ใ่ นปีีงบประมาณ 2565 หรืือกรณีีที่�่มีีการเปลี่่�ยนแปลงจำ�ำ นวนผู้้�มีีสิิทธิิที่่�ลงทะเบีียนของหน่่วยบริิการ สปสช.จะปรัับการจ่่ายแก่่ หน่ว่ ยบริิการที่เ�่ กี่ย่� วข้อ้ ง ตามที่ ่� สปสช.เขตแจ้ง้ ภายใต้้จำำ�นวนผู้�้มีสิิทธิิที่่ล� งทะเบีียน ณ 1 เมษายน 2564 1.1.2 คำำ�นวณวงเงิ นตามผลงานบริิการเป็็นรายหน่่วยบริิการประจำ�ำ หรืือสถานบริิการ ด้้วย หลัักเกณฑ์์กลางทั้้ง� ประเทศ โดยเป็็นข้อ้ มููลผลงานบริิการตั้ง� แต่่เดืือนเมษายน 2563 ถึึงเดืือนมีีนาคม 2564 2) ประมาณการรายรับั เงินค่า่ บริิการผู้�้ ป่ว่ ยในทั่่ว� ไป ตามค่า่ น้ำ��ำ หนักั สัมั พัทั ธ์ท์ ี่ป่� รับั ตามวันั นอน (adjRW) โดยประมาณการผลงาน adjRW ที่ค่� าดว่า่ จะเกิิดขึ้�นในปีงี บประมาณ 2565 ด้้วยข้อ้ มููลผลงานบริิการเดืือนมกราคม 2562 - ธันั วาคม 2562 2.1) กรณีีที่�่หน่่วยบริิการให้้บริิการรัักษาผู้�้ ป่่วยภายในเขตเดีียวกัันประมาณการเงิ นรายรัับที่่�อััตรา 8,350 บาทต่่อ adjRW 2.2) กรณีีที่ห�่ น่ว่ ยบริิการให้บ้ ริิการรักั ษาเด็ก็ แรกเกิิดที่น�่ ้ำำ�� หนักั น้อ้ ยกว่า่ 1,500 กรัมั หรืือเด็ก็ แรกเกิิด ที่ป�่ ่ว่ ย ประมาณการเงินรายรัับที่่�อััตรา 9,000 บาทต่อ่ adjRW 249


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook