Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๑

Description: คลังธรรมเล่ม๑

Search

Read the Text Version

๘๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ โอฆติณณคลา ว่าด้วยผู้ข้ามโอฆะได้ ที่มา : ส์มพทุลภิกฃวัตถุ ภิกชุวรรค ชุ.ธ. ๒๕/ฅ๗0 ปณจ ฉินุเท ปณจ ชเห ปฌจ รุตตริ ภาวเย ปณจสงคาติโค ภิคุชุ โอฆติณฺโณติ '3จจติ ฯ แปล : พึงตัดธรรม ๕ อย่าง (ตังโยชน์เบื้องตา ๕) พึงละธรรม ๕ อย่าง (ตังโยชน์เบื้องสูง ๕) พึงเจริญธรรม ๕ อย่าง (อินทรีย์ ๕) ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ภิกษุผู้ข้ามกิเลสเป็นเหตุให้ ขัดข้อง ๕ อย่าง(ราคะโทสะโมหะ มานะ ทิฏฐิ)ได้ ท่าน เรียกว่าผู้ข้ามโอฆะได้แล้ว ฯ อุปสันตกลา ว่าด้วยผู้สงบระงับ ที่มา : ส์นตกายเถรวัตถุ กิกชุวรรค ชุ.ธ. ๒๕/ฅ๗๘ สนุตกาโย สนุตวาโจ สนุตมโน อุ[สมาหิโต วนุตโลกามิโส ภิฤชุ รุปสนุโตติ ๅจจติ ฯ แปล ภิกษุผู้มีกาย วาจา ใจสงบ มีจิตตั้งมั่น คายอามิสใน โลกได้แล้ว เรียกว่าผู้สงบระงับ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๘๙ อัตตโจทนากลา ว่าด้วยการเตือนตน ที่มา : นังคลกูฏเถรวัตถุ ภิกชุวรรค ชุ.ธ. ๒๙ตฅ)๙ อตุตนา โจทยตุตาใร ปฏิมํเส ตมตุตนา โส อดตคูฅุโต สติมา อุ[ฃํ ภิคุชุ วิหาหิสิ ฯ แปล : จงเตือนตนด้วยตนเอง พิจารณาดูตนด้วยตน ดูก่อน ภิกษุ เธอนั้นมีสตืคุ้มครองตนได้แล้ว จักอยู่เป็นสุข ฯ อัตตนาถกถา ว่าด้วยการพึ่งตน ที่มา : นังคลกูฏเถรวัตถุ ภิกชุวรรค ชุ.ธ. ๒๙ต๔0 อตตา หิ อตตโน นาโถ อตุตา หิ อตุตโน คติ ตอุ[มา สสเณม อฅฺตานํ อสฺสํ ภทรํว วาฌิโช ฯ แปล : ตนแลเป็นที่พึ๋งของตน ตนแลเป็นคติของตน เพราะ ฉะนั้น จงทะนุถนอมตนไว้ เหมือนพ่อค้าทะนุถนอม ม้าตี่ไว้ฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๙๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ทหรกถา ว่าด้วยภิกษุหนุ่มแน่น ที่มา : สุมนสามเณรวัตลุ ภิกขุวรรค ขุ.ธ. ๒๕/ต๘๒ โย หเว ฑหโร ภิกขุ ยูณชติ ชุทุธสาสฌ โสร5 โลกํ ปภแสติ อพุภา ร^ตุโตว จนฺทิมา ฯ แปล : ภิกษุถึงยังหนุ่มแน่นอยู่ หากเพียรพยายามในพระ พุทธศาสนา ก็ย่อมทำไหโลกนี้สว่างไสวได้ เหมือน จันทร์เพ็ญที่พ้นจากเมฆหมอกแล้วฉะนั้น ฯ อาจริยนมกไรกถา ว่าด้วยการนอบน้อมอาจารย์ ที่มา : สาริปุตตเถรวัตลุ พราหมณวรรค ขุ.ธ. ๒๕/ฅ๙๒ ยรรุหา ธมมํ วิชาฌยุย สรJมาสราพุทฺธเทสิตํ สฤกจจํ ดํ นมสเสยย อคุคิษุฅดํว พุราหมโณ ฯ แปล บุคคลรู้แจ้งธรรมที่พระส์'มมาส์'มพุทธเจ้าทรงแสดง แล้วจากอาจารย์ใด พีงนอบน้อมอาจารย์นั้นด้วยความ เคารพ เหมือนพราหมณ์นอบน้อมการบูชาไฟฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ $๑ พราหมณกถา ว่าด้วยผ้ประเสริร ทีมา : ทิศาโคตมีวัตอุ พราหมณวรรค ชุ.ธ. ๒๕/ฅ๙๕ ปึอุ[ถูลธรํ ชนตุ๊ กิสนุธมนิสนุถตํ เอกํ วนสมึ เพายนฺตํ ตมหํ พฺรูมิ พราหมณํ ฯ แปล : ผู้ที่นุ่งห่มผ้าบังสุกุล ซูบผอม สะพรั่งด้วยเผ้นเอ็น เพ่งฌาน อยู่ผู้เดียวในป่า เราเรียกว่าเป็นพราหมณ์ (ผู้ประเสริฐ) ฯ ปรมชุขคลา ว่าด้วยสุขอย่างยิ่ง ที่มา : มจจสินทสูตร มจจสินทวรรค ชุ.อุ. ๒๕/๑๑ อ[ุ ขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกกโม อสมิมานสุส วินใย เอตํ เว ปรมํ อุ[ขํ ฯ แปล : ความปราศจากราคะคือการละกามทั้งหลายได้นำความ สุขมาใหในโลก การกำจัดอัสมิมานะ (ความถือตัวเป็น นั่นเป็นนี่) นั่นแหละนำความสุขมาให้อย่างยิ่ง ฯ www.kalyanamitra.org

๙๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อธิวาสนขันติกถา ว่าด้วยความอดกลั้น ที่มา : สุนทรีสูตร เมสิยวรรค ชุ.อุ. ๒๕/ต๘ ดูฑนุติ วาจาย ชนา อสณฌตา สเรหิ สงคามคตํว ภูญชรํ อุ[ตุวาน วาฤยํ ผรูสํ คูทีริตํ อธิวาสเย ภิคุชุ อชุฎฺจจิตุโต ฯ แปล เหล่าซนผู้ไฝมีความสำรวมระวังชอบใ'รวาจาที่มแทง ผู้อี่น เทมีอนทหารข้าสืกโ'รลูกศรทิ่มแทง'ช้างที่ออกสืก ภิกษุได้ฟิงคาหยาบคายที่คนเหล่านั้นพูดแล้วอย่าคิด ประทุษร้าย พึงอดกลั้นใ' .ด้ ฯ กัมมกิริยากถา ว่าด้วยการทำกรรม ที่มา : อาใ!'นทสูตร โสณวรรค ชุ.อุ. ๒๕/๔๘ อุ[กรํ สาคูนา สาคู สาคู ปาเม่น ชุกกรํ ม่าป็ ม่าเม่น อุ[กรํ ม่าม่มริเยหิ ชุคุกรํ ฯ แปล : ความดีคนดีทำได้ง่าย ความดีคนชั่วทำได้ยาก ความชั่วคนชั่วทำได้ง่าย ความชั่วพระอริยะทั้งหลาย ทำ ได้ยาก ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวค ๑ ๙ผ สามัคคีกถา ว่าด้วยความสามัคคี ที่มา : ส์งฆสามัคคีสูตร ทุติยวรรค เอกกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๑๙ อุ[ขา สงฆสส สามคุคี สมคุคานญจนุคุคโห สมคุครโด ธมฺมฎโฮ โยคณขมา น ธํสดิ ฯ แปล : ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะนำความสุขมาให้ และการอนุเคราะห์ช่วยเหลือหมู่คณะที่พร้อมเพรียงกันก็ นำ ความสุขมาให้ ผู้ยินดีในหมู่คณะที่พร้อมเพรียงกัน ดำ รงอยู่ในธรรม ย่อมไม่เส์อมจากธรรมอันเป็นแดน เกษมจากโยคะ (คือ มรรค ผล นิพพาน) ฯ 1]ญญลัคขณกลา ว่าด้วยลักษณะบุญ ที่มา : เมตตสูตร ตติยวรรค เอกกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๙๒๒ มา ภิกฃท า^ณณานํ ภายิคุถ, อุ[ขสุเสตํ ภิคุขเว อธิวจนํ อิฎฮสส กนุฅอุ[ส ชยอุ[ส มนาปสส, ยทิฑํ ฌานิ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่าได้กลัวบุญเลย คำ ว่า\"บุญ\"นี้ เป็นซื่อของความสุขที่น่าปรารถนา น่ายินดี น่ารักใคร่พอใจ ฯ www.kalyanamitra.org

๙๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปุญญกามกถา ว่าด้วยผู้ต้องการบุญ ทํ่มา : เมตดสูตร ตรนวรรต เตกกป็บาต ชุ.อิตํ. ijqผเมว ใส สิคุเขยุย อายตคคํ ^'แทฺริยํ ทาฬผจ สมจริยผจ ฌดุดอิดตผจ ภาวเย ฯ แปล กุลบุตรผู้หวังประโยชน์พึงส์'งสมบุญที่มีผลสูงสุด ที่ให้ผลฟ็นความสุข คือ พึงบำเพ็ญทาน บำ เพ็ญ สมจริยา {การประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ) และ บำ เพ็ญเมตตาจิต ฯ ฟ้ฌฑิตกถา ว่าด้วยลักษณะบัณฑิต ที่มา(๑): อุภยัตถสูตร ตติยวรรค เอกกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๒ต ทิฎฺเฮ ธมฌ จ โย อดโถ โย จดฺโถ สมปรายิโก อตุลาภิสมยา ธีโร ปณฺฑิโดติ ปรุจจติ ฯ แปล เพราะรู้ถึงประโยชน์ ๒ อย่าง คือ ประโยชน์ใน ปัจจุบันและประโยชน์ในภพหน้า เราจึงเรียกธีรชนว่า เป็นบัณฑิต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ^๕ ที่มา(๒): ปัญหาพยากรณสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.จตุกุก. ๒๑/๔๒ อนฅุลํ ปริวชุเชติ อตุถํ คณหาติ ปณฑิโต อตุถาภิสมยา ธีโร ปณฺฑิโฅติ ป'}จจติ ฯ แปล บัณฑิตย่อมเว้นส์งที่ไม่เป็นประโยชน์ ถือเอาแต่ส์งที่ เป็นประโยชน์ ธีรชนผู้มีปัญญาท่านเรียกว่าบัณฑิตเพราะ รู้จักประโยชน์ ฯ ฟ้ตลิตลุ[ขกลา ว่าด้วยความสุขที่ปรารถนา ทีมา : สุซปัตถนาสูตร ตติยวรรค ติกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๗๖ สืลํ รคุเฃยุย เมธาวี ปตุถยาโน ฅโย ลุ[เข ปสํสํ วิตุฅลาภณจ เปชุจ สณุค ปโมฑนํ ฯ แปล ผู้มีปัญญาเมื่อปรารถนาความสุข ฅประการ คือความ สรรเสริญ ๑ การได้ทรัพย์ที่ถูกใจ ๑ ตายไปได้รื่นเริงใน สวรรค์ ๑ ก็พึงรักษาคืล ฯ สังลิยไ]คคลกถา ว่าด้วยคนที่ถูกระแวง ที่มา : สุขปัตถนาสูตร ตติยวรรค ดิกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๗๖ อกโรนุโฅปี เจ ปาป็ กโรนฺฅเ}ปเสวติ สงภิโย โหติ ปาปสมึ อวณโฌ จสส รูหติ ฯ www.kalyanamitra.org

gb คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล แม้จะมิได้ทำความชั่ว แต่ยังไปคบหาอยู่กับคนทำ ชั่ว ผู้นั้นย่อมถูกคนระแวงในกรรมชั่ว ทั้งความเสิยซื่อ เสียงของเขาก็งอกงาม ฯ ลุทธคลา ว่าด้วยคนโลภ ที่มา : อันตรามลสูตร จตุตถวรรค ติกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๔๘ ธ อตลํ น ชานาติ ฤทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ อนธตมํ ตทา โหติ ยํ โลโภ สหเต นรํ ฯ แปล : คนโลภย่อมไม่รู้จักประโยชน์ คนโลภย่อมไม่เห็น ธรรม ความโลภครอบงำนรซนเมื่อใด เมื่อนั้นย่อมมีแต่ ความมิดบอด ฯ ทุฏฐกถา ว่าด้วยคนโกรธ ที่มา : อันตรามลสูตร จตุตถวรรค ติกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๘๘ ชุฏุโปี อฅถํ น ชานาติ ชุฎุโปี ธมมํ น ปสสติ อา4ธฅมํ ตทา โหติ ยํ โทโส สหเต นรํ ฯ แปล : คนโกรธย่อมไม่รู้จักประโยชน์ คนโกรธย่อมไม่เห็น ธรรม ความโกรธครอบงานรชนเมื่อใด เมื่อนั้นย่อมมี แต่ความมืดบอด ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๙๗ มุฬหกถา ว่าด้วยคนหลง ทีมา : อันตรามลสูตร จดุตถวรรค ติกนิบาต ชุ.สิติ. ๒๕/๘๘ ชุฬุโห อตฺถํ น ชานาติ ชุฬโห ธมมํ น ปรุ[สติ อนธตมํ ตฑา โหติ ยํ โมโห สหเต นรํ ฯ แปล : คนหลงย่อมไม่รู้จักประโยชน์ คนหลงย่อมไม่เห็นธรรม ความหลงครอบงานรซนเมื่อใด เมื่อนั้นย่อมมีแต่ความ มืดบอด ฯ พรหมกถา ว่าด้วยพระพรหมของบุตร ที่มา : สพรหมกสูตร จตุกกนิบาต ชุ.สิติ. ๒๙๑อ๖ พรหมาติ มาตาปีฅโร พาจริยาติ -เจจเร อาชุเนยุยา จ ว่ตตาน์ ปชาย อชุกมปกา ฯ แปล : บิดามารดาผู้อนุเคราะห์เกื้อกูลแก่ประซาคือบุตรธิดา ท่านเรียกว่าเบินพระพรหม เบินบุรพาจารย์ และเบิน อาทุไนยบุคคล(พระอรหันต์)ของบุตรธิดา ฯ www.kalyanamitra.org

๕๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปราภวบุฃกลา ว่าด้วยปากทางแห่งความฟอม ที่มา ปราภวสูตร อุรควรรค ชุ.สุ. ๒๙๙๖ นิททาสืลี สภาสีลี อใ^ฎฺราตา จ โย ฬโร อลโส โกธปญณาโณ ตํ ปรไภวโต ยุฃํ ฯ แปล ะ ^ดซอบนอน ชอบมั่วสุม ไม่เอางาน เกียจคร้าน ชอบโกรธขึ้นหน้า นั่นคือปากทางแห่งความเส์อมของ เขา ฯ คัมมกลา ว่าด้วยการกระทา ที่มา : วสลสูตร ธุรควรรค ชุ.สุ. ๒๕/๑ต๖ น ชจจา วสโล โหติ น ชจจา โหติ พฺราหมโณ กมฺชุนา วสโล โหติ ก นา โหติ พราหมโณ ฯ แปล ะ คนเราจะเป็นคนเลว จะเป็นคนประเสริฐเพราะชาติ ก็หาไม่ แต่เป็นคนเลวเป็นคนประเสริฐก็เพราะการ กระทำของตน ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๙๙ ปุคคลกฝืา ว่าด้วยบุคคล^ด้รับความสำเร็จ ที่มา ะ อาฬวกสูตร อุรควรรค ชุ.สุ. ๒๕/๑๘๙ ปฏิรูปการี ธุรวา ?fl«าตา วินทเต ธนํ สจฺเจน กิดดึ ปปฺใปติ ททํ มิตุฅานิ คนุลติ ฯ แปล : ผู้ทำ การงานทีเหมาะสม เอาธุระ เพียรยืนหยัด ย่อมหาทรัพย1ด้ ผู้มีส์จจะย่อมได้รับการยกย่องให้เกียรติ ผู้ให้ย่อมผูกไมตรี1ว1ด้ ฯ ชืวิตกถา ว่าด้วย?วิต ที่มา ส์ลลสตร มหาวรรค ขุ.สุ. ๒๕/๕๔0 อนิมิดฅมนผผาตํ มจุจานํ อิธ ชวิดํ กสิรผอ ปริตฅณจ ตผจ ชุฤเขน สผญดํ ฯ แปล ชีวิตของสํโตวโลกทั้งหลายไฝมีนิมิตเครี่องหมายให้รูใด้ ว่าจะเป็นอยู่ได้นานเท่าไร ทั้งชีวิตนั้นหรือก็ทั้นนิดเดียว ทั้งลำบากยากเข็ญ และประกอบด้วยความทุกข์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑0๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มรณภยกถา ว่าด้วยมรณภัย ที่มา : ลัลลสูตร มหาวรรค ข.สุ. ๒๙๕๔๒ ผลานมิว ปฤคานํ ปาโด ปฅนโด ภยํ เอวํ ชาดาน มจจาฟ้ นิจจํ มรณโด ภยํ ฯ แปล ผลไม้ที่สุกแล้วย่อมมีภัยโดยต้องหล่นในเวลาเ•รา ฉันใด ส์'ตว์ผู้เกิดมาแล้วย่อมมีภัยโดยต้องตายแน่นอน ฉันนั้น ฯ มจธุกถา ว่าด้วยมัจจุคือความตาย ที่มา : ส์ลลสูตร มหาวรรค ชุ.สุ. ๒๙๕๔๕ ทหรา จ มหนตา จ &ย พาลา เย จ ปณุฑิดา สพุเพ มจุอุวสํ ยนดิ สพุเพ มจุ^ปรายนา ฯ แปล ทั้งเด็ก ทั้ง^หญ่ ทั้งคนโง่ ทั้งคนฉลาด ล้วนต้องไป ล่อำ นาจแห่งความตาย ล้วนบ่ายหน้าไปทาความตาย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๐๑ ก้มมคลา ว่าด้วยเรื่องกรรม ที่มา : วาเสฎฐสูตร มหาวรรค ชุ.สุ. ๒๙๖๖อ กมฺนา วดุดตี โลโค กมุเ{นไ วดดตี ปชา กมมนิพนุธนา สตุตา รถสฺสาณีว ยายโต ฯ แปล : ส์'ตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม ปวงประซาก็เป็นไป ตามกรรม สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นเครื่องผูกพัน เหมีอน หมุดที่ตรึงรถที่กำลังแล่นไปฉะนั้น ฯ อัปปชีวิตกลา ว่าด้วยชีวิตส์น ทีมา : ชราสูตร อัฎฐกวรรค ชุ.สุ. ๒๙๘๑๑ อปป็ วต ชีวิตํ อิฑํ โอรํ วสสสตาปี มิยุยตี โย เจปี อตีจจ ชีวตี อถ โข โส ชรสาปี มิยุยตี ฯ แปล ชีวิตนี้สันนัก มนุษย์ที่เก็ดมาแล้วย่อมตายภายใน ร้อยปี แม้หากจะมี^ตจะอยู่ไล้เกินกว่านั้นไป ผู้นั้น ก็ล้องตายเพราะความแก่แน่แท้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๐๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อวเสสกถา ว่าด้วยสิงที่เหลือของคนตาย ที่มา : ขราสูตร อัฏฐกวรรค ชุ.สุ. ๒๕/๘๑๕ ทิฎฮาปี ^ตาปี เด ชนา เยสํ นามมิทํ ฟ่ๅจุจดิ นามํเยวาวสิสสติ อคุเฃยุยํ เปตสส ชนดูโน ฯ แปล : คนทั้งหลายที่มีซื่อเรียก!านอยูนี้ก็ยังเห็นตัวกันอยู่บ้าง ยังได้ยินเสิยงกันอยู่บ้าง สำ หรับผู้ที่ตายไปแล้วคงเหลือ แต่เพียงซื่อเท่านั้นที่พูดถึงกันอยู่ ฯ มานกถา ว่าด้วยความถือตัว ที่มา : ปุรา๓ทสูตร อัฎฐกวรรค ชุ.สุ. ๒๕/๔๖๒ ดูเปกขโค สทา สโฅ น โลเก มญผเต สมํ น วิเสสี น นีเจยฺโย ตสฺส โน สนติ ดูสสทา ฯ แปล ะ วางใจเรนกลาง มีสติทุกเมื่อ ไฝสำคัญตัวเองว่า เสมอเขา เต่นกว่าเขา หรีอว่าด้อยกว่าเขา ผ้นั้นย่อม ฃ่ จะไม่มีอาการฟู๕ขนหรีอยุบลง ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๐๓ ภิกขุปฏิปทาคลา ว่าด้วยข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุ ที่มา : ตุวฏกสูตร อัฏฐกวรรค ชุ.สุ. ๒๙๙ต(ร: นินุทาย นปุปท&ธยย น ^ณณฒยย ปสํสิโต ภิฤ'y โลภํ สห มจฺฉริ!ยม ใคธํ เปชุณิยผจ ปIjเทยย ฯ แปล ภิกษุไม่ควรหวั่นไหวเพราะนินทา ได้รับการสรรเสริญ ก็ไม่ควรฮึกเหิมใจ ควรบรรเทาความโลภ รวมทั้งความ ตระหนี่ ความโกรธ และการพูดส่อเสียดเสิย ฯ อนุปาทานกลา ว่าด้วยความไม่ถือมั่น ที่มา อัดตทัณทสูตร อัฎฐกวรรค ชุ,สุ. ๒๙๙๕๑ ใเรไณํ นาภิมนุ!ทยุย ม!ว ฃนุตี ม ภูพฺพ!ย หิยยมา!ม ม โส!จยุย อากาส์ ม สิโฅ สิยา ฯ แปล ะ ไม่พึงเพลิดเพลินของเก่า ไม่พึงทำความพอใจของใหม่ ไม่พึงเสียใจเมื่อของเก่าและของใหม่นั้นเสีอมสูญ และ ไม่พึงอาสัยอากาศ(คือตัณหา) ฯ www.kalyanamitra.org

๑0๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ทักขิณากถา ว่าด้วยทักษิณาทาน ที่มา : ใแตรมาน มัญ^ฏฐกวรรค อิตถิวิมาน ชุ.วิ. ๒๖/๘0๔ นดุลิ อิดเด ฟ่สนนมหิ อปปคา นาม ทกขิณา ดลาคเด วา สมุทุทุเธ อลวา ดสุส สาวเก ฯ แปล : เมี่อจิตเลื่อมใสในพระตถาคตส์มพุทธเจ้า (ในพระ ปัจเจกพุทธเจ้า) หรือในสาวกของพระตถาคต ทักษิณา ทานซื่อว่าน้อยเรนไม่มี ฯ ธัมมาธัมมกถา ว่าด้วยธรรมและอธรรม ที่มา : อัมรกเถรคาถา จตุกกนิบาต ชุ.เถร. ๒๖/ฅอ๔ น หิ ธมุโม อธมุโม จ ฤโภ สมวิปาคิโน อธมโม นิรยํ เนติ ธมโม ปาเปติ สุคคตึ ฯ แปล ธรรมและอธรรมสองประการนี้จะมีผลเสมอกันหามีได้ คืออธรรมย่อมนำไปซื่นรก ส่วนธรรมนำให้ถึงสุคติ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๐๕ อโม'มทิวสกถา ว่าด้วยวันคืนไม่สูญเปล่า ที่มา ะ สิริมัณฑเถรคาถา ฉักกนิบาต ชุ.เถร. ๒๖/๔๕๑ อโมฆํ ฑิวส์ กยิรา อปุเปน พชุเกน วา ยํ ยํ วิวหเต รฅติ ตดูนนุตสส ชีวิตํ ฯ แปล : บุคคลพึงทำวินและคืนไมใฟ้,ร้ประโยชน์(ด้วยการใส่ใจ ถึงวิปัสสนา) จะน้อยหรือมากก็ได้ เพราะวันคืนผ่านพ้น ไปเท่าใด ปึวิตของผู้นั้นก็พร่องไปเท่านั้น ฯ สีลกถา (๑) ว่าด้วยเรื่องคืล ที่มา : สิลวเถรคาถา ทวาทสกนิบาต ชุ.เถร. ๒๖/๖๑๔ สีลํ พลํ อปุปฎมํ สีลํ อา'Jธนุดุตมํ สีลํ อาภรณํ เสแฮํ สีสํ กวจมพฺฦดํ ฯ แปล : คืลเปันกำลังหาสิงเปรืยบมิได้ เปันอาวุธอย่างสูงสุด เปันอาภรณ์อันประเสริฐ เปันเกราะอันน่าอัศจรรย์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๐๖ คล้'JOรรม [พระธรรมกิตติว•รส์ สีลคฝืา(๒) ว่าด้วยเรื่องสืล ที่มา : สีลวเถรคาถา ทวาทศกนิบาต ชุ.เถร. ๒๖/!ว๑๕ สีลํ เสq มเหสฤโข สีลํ คนฺโธ อใ^ดฺดโร สีลํ วิเลปนํ เสฎฮํ เยน วาติ ทิใส ทิสํ ฯ แปล สืลเป็นสะพานที่มีกำลังมาก เป็นกลิ่นหอมชั้นเยี่ยม เป็นเครื่องลูบไล้ที่ประเสริฐสุด ที่งเป็นเหตุให้บุคคลผู้ สมบูรณ์ด้วยสิลหอมฟ้งไปทั่วทุกทิศ ฯ สืลกถา(๓) ว่าด้วยเรื่องสืล ที่มา : สีลวเถรคาถา ทวาทสกนิบาต ชุ.เถร. ๒๖/๖๑๖ สีลํ สมฺพลเมวคคํ สีลํ ปาเลยยบุดดมํ สืลํ เสฎโ® อติวาโห เยน วาติ ฑิโส ทิสํ ฯ แปล สืลเป็นข้าวห่อชั้นยอด เป็นเสบียงเดินทางชั้นเยี่ยม เป็นพาหนะอันประเสริฐยิ่งนัก ซึ๋งพาไปได้ทั่วทุกทิศ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคผะ] ทมาด ร ๑๐๗ สีลกอา(๔) ว่าสัวยเ1องสืล ที่มา : สีลวเถรคาถา ทวาทสกนิบาต ชุ.เถร.๒๖A>«>๒ อาทิ สีลํ ปติฎฺฮา จ คฤยาณานผจ มาสุคํ ป9{ขํ สพพธมมานํ ดสฺมา สึลํ วิโสธเย ฯ แปล : สืลเปีนเบื้องต้น เปีนที่รองรับ เปีนปอเกิดแห่ง คุณความดีทั้งหลาย และเปีนประธานแห่งธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น พึงรักษาดีลให้บริสุทธึ๊เกิด ฯ สัจจวาจากถา ว่าด้วยคำสัตย์ ที่มา : วังคีสเถรคาถา มหานิบาต ชุ.เถร. ๒๖/๑๒ฅ๘ สจอํ เว อมดา วาจา เอส ธมุใม สนนฅโน สจุเจ อดุเถ จ ธมุเม จ อชุ สนฺโต ปติฎธิดา ฯ แปล คำส์'ตย์แลเปีนส์งไม่ตาย ธรรมบื้เปีนของเก่า ส์'ตบุรุษ ทั้งหลายเปีนผู้ดำรงมั่นอยู่ในคำสัตย์ทั้งที่เปีนอรรถและ เปีนธรรม ฯ www.kalyanamitra.org

๑๐๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ตถาคตกถา ว่าด้วยเรื่องพระตถาคต ที่มา : วังคีสเถรคาถา มหานิบาต ชุ.เถร. ๒๖/๑๒๖๕ พชุเนํ าต อดลาย ^ปปชชนฺดิ ดลไคดา อิดลีนํ ijiffานลเจ เย เด สาสนการกา ฯ แปล พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุฟ้ตขึ้นเพี่อประโยชน์แก่ ผู้คนมากมาย ทั้งสตรีและบุรุษผู้ทำตามคำส์งสอนของ พระองค์แท้หนอ ฯ กามกถา ว่าด้วยพิษกาม ที่มา : สุเมธาเถรีคาถา มหานิบาต ชุ.เถรี. ๒๖/๕๙๑ อนิจจา อทุธุวา กามา พชุชุคุฃา มหาวิสา อโยคูโฬว สนตตฺโด อฆยูลา ชุกฃปผลา ฯ แปล กามทั้งหลายเนินของไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีทุกข์มาก มีพิษมาก เหมีอนก้อนเหล็กที่ร้อนจัด เนินต้นเค้าแห่ง ความคับแค้น มีทุกข์เนินผล ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๐๙ ปาภฎคลา ว่าด้วยทรัพย์ต้นทุน ที่มา : จุลลกเสฏฐิชาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๔ อปฺปเกนปี เมธาวี ปไภเฎน วีจกฃโณ สฎจาเฟ่ดิ อดตานํ อชุ๊ อคคีว สนธมํ ฯ แปล คนมีปีญญาเห็นประจักษ์ย่อมตั้งตัวได้ด้วยทรัพย์ ด้นทุนแม้เล็กน้อย เหมือนคนก่อไฟกองน้อยให้เป็นกอง ใหญ่ได้ฉะนน ฯ เทวธัมมกถา ว่าด้วยผู้มีเทวธรรม ที่มา : เทาธัมมซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๖ หิริโอตฺฅปปสมฺปนุนา ธ[ุ คุกธมมสมาหิฅา สนุโต สiJlJริสา โอเก เทวธมฺมาติ วุจจเร ฯ แปล : ผู้สมบูรณ์ด้วยหิริและโอตตัปปะ ตั้งมั่นอย่ในธรรม อันขาว ท่านเรียกว่าผู้สงบ ผู้เป็นส์ตบุรุษ ผู้มืเทวธรรมใน โลก ฯ www.kalyanamitra.org

๑๑๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปาณฆาตีคลา ว่าด้วยคนที่ชอบข่า ที่มา มตกภัตตขาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๘ เอวญเจ สตุตา ชาเนยุชุ๊ ชุๆขายํ ซาดิสมภโว น ฟ่าใณ ปาณินํ หญเผ ปาณฆาฅี หิ ใสจดิ ฯ แปล ถ้าซาวโลกทั้งหลายรู้อย่างนี้ว่าการเกิดมาและการ เติบโตนี้เรนปอเกิดแห่งความทุกข์ ซาวโลกก็ไม่ควรฆ่า กัน เพราะว่าคนที่ซอบฆ่าย่อมเสียใจภายหลัง ฯ ธัมมโกวิทกถา ว่าด้วยผู้ฉลาดรู้ธรรมเนียม ที่มา : ติตติรขาดก เอกกนิบาต ชุ.ขา.๒๗/ค๗ เย ผมปจายนฅิ นรา ธมฺมสส โกวิทา ทิฎเ9 ธมฺเม จ ปาสํสา สมฺปราโย จ คติ ฯ แปล : นรซนผู้ฉลาดรู้ธรรมเนียม นอบน้อมถ่อมดนต่อผู้หลัก ^หญ่ ในกาลปัจจุบันย่อมเรนผู้ควรแก่การสรรเสริญ และในกาลข้างหน้าก็ไปได้ดี (คือไปสุคติ) ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๑๑ นิคติifญญาคลา ว่าด้วยผู้ใช้ปัญญาหลอกคนส์น ที่มา : พกชาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/ฅ๘ นาจจนุตํ นิคฅิปฟ่ญโผ นิคดยา เมธติ ฯ แปล ะ ผู้ที่ใช้ปัญญาหลอกลวงคนอื่นไว้ย่อมไม่ได้รับความสุขใจ ตลอดกาล ฯ อมิดดเสยยกถา ว่าด้วยความดีของสัตรู ที่มา : มกสชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๙๕ เสยโย อนิดโต มติยา ^เปโด น เตุวว นิดโด มติวิปปหีโน ฯ แปล สัตรูที่มีความรู้ยังจะดีกว่า มิตรที่ปราศจากความรู้จะ ดีอะไร ฯ ทุมเมธกถา ว่าด้วยผู้ด้อยปัญญา ที่มา ะ อารามดูสกชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๔!ว น เว อนดลถูสเลน อดถจริยา อ[ุ ขาวหา หาเปติ อตฺถํ ชุมุเมโธ กปี อารานิโก ยถา ฯ www.kalyanamitra.org

๑๑๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล คนฉลาดไม่เข้าเรื่องไปทำหน้าที่อะไรก็นาความสุข สำ เร็จมาให!ม่ได้ ผู้ด้อยปัญญามักจะทำใหเสียเรื่องเสมอ เหมือนลิงเสีาสวน(ถอนด้นไม้มาดูราก)ฉะนั้น ฯ อนุปายกลา ว่าสัวยความไม่แยบยล ที่มา : เวทัพพชาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๔๔ อใ{ปาพน โย อฅลํ อิจฉติ ใส วิหฌผติ ฯ แปล ผู้หวังประโยซน้โดยไม่แยบยลย่อมเดือดร้อนได้ ฯ นักขัตตกถา ว่าด้วยฤกษ์ยาม ที่มา : นักขัตตชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๙ นฤขดดํ ปฏิมาฌนฺดํ อดฺโล พาลํ อุปจจคา อตฺโถ อตุถสส นกฃตตํ กึ กริสุสนุติ ตารกา ฯ แปล คนเขลาผู้มัวคอยถือฤกษ์ยามอยู่ ประโยชน์จึง ล่วงเลยไปเสีย ประโยชน์เป็นตัวฤกษ์ของประโยชน์เอง ดวงดาวทั้งหลายจักทำอะไรไห!ด้ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] ทมวด ๑ ๑๑๓ ชิตกถา ว่าด้วยชัยชนะ ที่มา คุททาลซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๗0 ฬดํชิดํ สา^ ชตํ ยํ ชิตํ อวชิยยดิ ตํ โข ชิตํ สาธุ ชิตํ ยํ ชิตํ นาวชิยยติ ฯ แปล : ชัยชนะใดกลับแพ1ด้ ชัยชนะนั้นมิโซ่ชัยชนะที่แท้ ชัยชนะโดไม่กลับแพ้ ชัยชนะนั้นแลเป็นชัยชนะที่แท้ ฯ อกตัญผูกลา (๑) ว่าด้วยคนอกตัญญ ที่มา : สีลวนาคซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๗๒ อคดญชุสส โปสสุส นิจจํ วิวรทสฺสิโน สพพณเจ ปรวิ ทชุชา ฌว นํ อภิราธเย ฯ แปล : ถึงจะมิโครโท้สมบัติโนแผ่นดินทั้งหมดแก่คนอกตัญฌู ผู้มองหาแง่ร้ายอยู่เป็นนิจ ก็ทำ โท้เขาพอโจไม่ได้เลย ฯ www.kalyanamitra.org

๑๑๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อกตัญณูกถา(๒) ว่าด้วยคนอกตัญฌู ที่มา อกตัญฌซาดก เอกกนํบาต ชุ.ซา.๒๗/๙0 * •' ! โย ใ^พฺเพ กตกลุยาโณ ^ กฅตฺโถ นาวทุชุฌติ ปจฉา กิจเจ สชุปปนุเน กดตารํ นาธิคจฉติ ฯ แปล : ^ดมีคนเคยทำความดีทำประโยซฟ้ห้แก่ตนมาก่อน แต่ไม่รู้สำนึกโนบุญคุณของเขา ผู้นั้นเมี่อมีความจำเป็น เกิดขึ้นภายหลัง ย่อมหาผ้ช่วยเหลือไม่ได้ ฯ ส้มพหุลญาติกถา ว่าด้วยการมีญาติมาก ที่มา : รุกขธัมมซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๗๕ สาเ สมุพชุถา ผาตี อปี รุฤขา อรผผขา วาโต วหติ เอกฎจํ พฺรหนฺตมฺปี วนปฺปตี ฯ แปล : มีญาติมากเป็นการดี แม้ด้นไม้ที่เกิดขึ้นในป่าหลาย ด้นรวมกันมาก ๆ ก็เป็นการดี ด้นไม้ที่ขึ้นอยูโดดเดี่ยว ถึงจะงอกงามใหญ่โตระดับเจ้าป่า ลมก็พัดใหโค่นลัม ลงได้ ฯ www.kalyanamitra.org

น«ะคณะ] หมวด ๑ ๑๑๕ คัลยาณโมคขคฝืา ว่าด้วยการเปล่งวาจางาม ที่มา ะ สารัมภชาดก เอกกนํบาต ชุ.ชา.๒๗/๔๘ คฤยาณิเมว มุญเจยย น หิ เจยย ปาปีคํ ไมคฺโข คสุยาณิยา สา^ 3{ดุวา ดปปดิ ปาปีคํ ฯ แปล ะ บุคคลพึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไฝพึงเปล่งวาจาชั่ว เลย การเปล่งวาจางามยังประโยซใรให้สำเร็จ ผู้เปล่ง วาจาชั่วย่อมเดือดร็อน ฯ อิจฉัฬติกถา ว่าด้วยความต้องการ ที่มา : มหาสารชาดก เอกกปิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๙๒ ^ฤคฎุเจ ^รมิจุฉนุดิ มนดีชุ อจุฐหลํ ปียผจ อนฺฬปานมหิ อด,เล ชาเต จ ปณฺฑิดํ ฯ แปล ยามคบขัน ย่อมต้องการคนกล้า ยามประชุมปรึกษา ย่อมต้องการคนไม่พูดพล่าม ยามมีข้าวนั้า ย่อมต้องการ คนที่รัก ยามเกิดปัญหา ย่อมต้องการผู้รึ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๑๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ วิสสาสกถา ว่าด้วยความไว้วางใจ ที่มา : วิสศาสโภขนซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๙๓ น วิสสเส อวิสสตฺเถ วิสสตุเลช น วิสฺสเส วิสสาสา ภยมเนฺวติ สีหํว มิคมาดูกา ฯ แปล ะ ไม่ควรไว้วางใจในผู้ที่ยังไม่คุ้นเคยกัน แม้ผู้ที่คุ้นเคย กันแล้วก็ไม่ควรไว้วางใจ ภัยย่อมมาจากความไว้วางใจกัน เหมือนภัยจากแม่กวางตกถึงราซสิห์ฉะนั้น ฯ สังขารกถา ว่าด้วยเรื่องส์งขาร ที่มา : มหาสุทัสสนซาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๙๕ อนิจจา วต สงขารา รุปปาทวยธมฺมิโน รุปฺปชุชิดูวา นิเชุฌนฺติ เตสํ ม จโข แปล ะ ส์งขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มืความเกิดขึ้นและ ความเสิอมไปเป็นธรรมดา เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป ความ ที่ดังขารเหล่านั้นสงบระงับได้ เป็นสุข ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๑๗ ปมัดดคลา ว่าด้วยผู้ประมาทมัวเมา ที่มา : อสาดรูปชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑00 อสาตํ สาตแปน ปียรูเม่น อปปียํ ชุคุขํ สุ[ขสุส ฐเม่น ม่มดดมดิวดดดิ ฯ แปล สิงท!ม่น่าชื่นซมย่อมครอบงำผู้ประมาทแล้วในรูปแบบ ที่น่าชื่นซม สิงที่ไม่น่ารักย่อมครอบงำโนรูปแบบที่น่ารัก สิงที่เป็นทุกข์ย่อมครอบงำในรูปแบบความสุข ฯ นวเสกถา ว่าด้วยสถานที่ที่ไม่ควรอยู่ ที่มา : เวรชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑0ต. กปิชาตก สัดตกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑0๔๑ ยฅถ เวรี นิวึสติ น วเส ฅดล ม่ฉเฑิโด เอกรฅตํ ทฺวิรตุตํ วา ทุกฃํ วสติ เวริสุ[ ฯ แปล มีคนที่คอยจองเวรอยู่ ณ ที่ใด ผู้ฉลาดไม่พึงอยู่ ณ ที่ใณั้ เพราะเมื่ออยู่ในหมู่คนที่คอยจองเวรต่อก้นแม้เพึยง คืนเดียวหรือสองคืนก็ทำให้เกิดทกข์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๑๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สิปปกลา (๑) ว่าด้วยสืลปวิทยา ■ส์มา : สาสิตดกชาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/®0๗ สาธุ โข สิปปกนนาม อปี ยาทิสกีทิส์ ฯ แปล ซึ้นส์อว่าสิลปวิทยาไม่ว่าประ๓ทใดก็อานวยประโยชน์ ไห!ด้ทั้งนั้น ฯ สิปปกลา(๒) ว่าด้วยสืลปวิทยา ที่มา ะ พาหยขาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/®0๘ สิกเขยุย สิกขิดพพานิ สนดิ ดจฉนุทิโน ชนา ฯ แปล สืลปวิทยาโดควรสืกษา ก็ควรสิกษาไว้๓ด คนที่เขา พอใจสิลปวิทยานั้นย่อมมีแน่ ฯ นาจินดยันตคลา วาด้วยคนคิดไม่เป็น ที่มา ะ วัฎฎกชาดก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/®®๘ นาจินฺดยนฺโด 1]ริโส วิเสสมธิคอฺฉดิ ฯ แปล คนที่คิดไม่เป็นย่อมไม่ได้พบสิงวิเศษ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๑๙ ยสัสสีกถา ว่าด้วยเรื่องผู้มียศ ที่มา ะ ทุมเมธชาดก เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๒๒ ยสํ ลทธาน ชุมฺเมโธ อนดลํ จรติ อดดโน อดุดโน จ ปเรสญจ หึสาย ปฏิปVVติ ฯ แปล ผู้มีป้ญญาทรามได้ยศมาแล้วย่อมประพฤติแต่ร่งที่ไม่ เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อจะเบียดเบียนตน และคนอี่น ฯ วายามกถา ว่าด้วยความพยายาม ที่มา : อัมพชาดก เอกกนิบาตชุ.ชา.๒๗/๑๒๔. ฝึรภชาดก เดรฝึกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๙๑๕ วายเมเลว ไส น นิพพินฺเทยย ปณฑิโต ฯ แปล : เป็นชายชาติบัณฑิตพึงพยายามHป อย่าเบื่อหน่าย ท้อแท้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๒๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ คัฝืยาณปาปคกลา ว่าด้วยผลดีผลเสีย ที่มา อสิลักขณชาตก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๒๖ ตเถเวคสุส กลยาณํ ดเถเวคลฺส ปาปคํ ดสมา สพฺฟ ฬ คลยาณํ สพพํ วาปี น ปาปกํ ฯ แปล : เหตุอย่างเดียวกันอาจเป็นผลดีสำหรับคนหนึ่ง แต่ เป็นผลร้ายสำหรับอีกคนหนึ่ง ดังนั้น เหตุต่าง ๆ ใช่ว่า จะเป็นผลดีไปเสืยทั้งหมด และก็ใช่ว่าจะเป็นผลร้ายไป เสียทั้งสิน ฯ สันตุฎเกถา ว่าด้วยความยินดีพอใจ ที่มา สุวัณณหังสชาตก เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑ฅ๖ ยํ ลๆธํ เดน ตุฎฺ9พพํ อดิโลโภ หิ ปาปใค ฯ แปล ได้สิงใดมาก็ควรยินดีพอใจสิงนั้น เพราะความโลภ จัดเป็นความชั่วร้าย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๒๑ กัมมันตกถา ว่าด้วยการงานที่รีบร้อนทำ ที่มา : สิคาลชาดก ทุกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๕ฅ อสฌกฃิตกมมนตํ ลุริฅาภินิปาติ'พํ ฅานิ กมมานิ ตปเปนฺติ ธุณ'หํ วชุโฌหิตํ ชุเฃ ฯ แปล : คนที่ทาการงานโดยไฝ'พิจารณาให้ดี เอาแต่รีบร้อน จะให้เสร็จไป การงานเหล่า'นั้นย่อมทำให้เขาเดีอดร้อนได้ เหมือนอาหารร้อน ร ที่รีบตักใส่ปาก ฯ มิตดธัมมกถา ว่าด้วยมิตรผู้มีมิตรธรรม ที่มา : คุณชาดก ทุกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๖๔ อปี เอ!! มิตโด มิดฅธมเมสุ ติฎอติ ใส ณาฅโก จ พ'พสุ จ โส มิดโต โส จ เม สขา ฯ แปล : มืตร ถึงแม้จะมืกำลังน้อย แต่ดำรงอยู่ในมิตรธรรม ก็นับได้ว่าเรนทั้งญาติ เรนทั้งพวก'พ้อง เรนทั้งเพื่อน ของเรา ฯ www.kalyanamitra.org

๑๒๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตตวงส์ ปราภวกลา ว่าด้วยยามเส์อม ที่มา ะ คิซฌขาดก ทุกนิบาต ชุ.ขา.๒๗/๑๗๘ ยทา ปราภโว โหฅิ โปโส ชีวิตสงขเย อล ชาลผจ ปาสผจ อาสชุชาปี น ชผติ ฯ แปล ะ ยามส์โตวโลกจะเส์อมถอยหรือถึงคราวจะต้องสินชีวิต แม้จะติดข่ายหรือปวงแล้วถึยังไฝร้สิกตัว ฯ วิสสาสกถา ว่าด้วยความไว้ใจ ที่มา : นๆลขาดก ทุกนิบาต ชุ.ขา.๒๗/๑๘© สงเกเลว อมิดฺฅสมึ มิดดสมิมฺปี น วิสสเส อภยา ภย ปนนํ อปี ^ลานิ กนุตฅิ ฯ แปล : พึงระแวงในคนที่ไม่เป็นมิตร แม้ในมิตรก็ไม่ควร วางใจ ภัยที่เกิดจากมิตรที่ติดว่าไม่มีภัยย่อมตัดถึง โคนรากทีเดียว ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๒๓ กัลยาณธัมมคลา ว่าด้วยผู้มีกัลยาณธรรม ที่มา : กัลยาณรัมมซาดก ทุกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/«>๙๑ คลยาณธมุโมดิ ยทา ชนินุท ไลเก สมญผํ อา^ปา1^ณาดิ ดสมา น หิยฺเยล นโร สปผุโผ หิริยาปี สาเโต ธุรมาทิยมติ ฯ แปล ะ เมื่อได้รับสมญาในโลกว่าเปีนคนดีมีกัลยาณธรรม นรซนผู้มีปัญญาก็ไม่ควรทำตนใฟ้เส์อมจากสมญานั้น เหล่าส์โตบุรุษย่อมประคับประคองหน้าที่ไว้ด้วยหิริ ฯ สัพภิสันลวกถา ว่าด้วยการคบหากับคนดื ที่มา ะ สิลานิส์งสซาดก ทุกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒ฅอ สพุภิเรว สมาเสถ สพภิ คูพเพล สนุลวํ ฯ แปล พึงคบหาสมาคมกับคนดีเข้าไว้ พึงทำความสนิทสนม กับคนดีเข้าไว้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๒๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มหากถา ว่าด้วย^หญ่ ที่มา : เกฉสิลชาดก ทุกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๕๔ เอวฌว มใjสฺเสสุ[ ทหไร เจปี ปญผวา ไส หิ ตตถ มหา ไหติ เนว พาไส สรีรวา ฯ แปล ในหมูมนุษย์ใ!นไซร้ ถึงจะเป็นเด็ก ถ้ามีปัญญา ก็ เป็น^หญ่ได้ แต่ถึงรูปร่างจะใหญโต ทว่าโง่เขลา ก็เป็น ^หญ่ไม่ได้ ฯ กาสาวารหกถา ว่าด้วยผู้สมควรห่มผ้ากาสาวะ ที่มา : กาสาวชาดก ทุกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๙๒ ไย จ วนตกสาวสฺส สึเลอุ[ สุสมาหิไฅ รุเปไต ทมสชุเจน ส เว กาสาวมรหติ ฯ แปล ผู้ที่คลี่คลายกิเลสดังใ!าฝาดได้แล้ว ดำ รงมั่นอยู่ในสิล ด้วยดี ประกอบด้วยความข่มใจและความซื่อดัตย์ ผู้ใ!น แลจึงสมควรแก่ผ้าย้อมใ!าฝาด ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๒๕ กรณืยคลา ว่าด้วยกิจที่พึงทำ ที่มา : 1]ฎภัตดชาดก ทุกนิบาต, โคธชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๙๕.๖ฅ๑ นเม นมนฺตสฺส ภเช ภชนุดํ กิจจาใjqพุพสส คเรยุย กิจฺจํ นานดฺลคไมสส ณรยย อดุลํ อสมภชนฅมปี น สมฺภเชยฺย ฯ แปล พึงอ่อนน้อมต่อผู้ที่อ่อนฟ้อม พึงคบผู้ที่เขาพอใจจะคบ ด้วย พึงทำกิจแก่ผู้ที่ช่วยทำกิจ ไม่พึงทำความเจริญให้แก่ ผู้ที่ด้องการความเสิอม อนึ่ง ไม่พึงคบหาสมาคมกับผู้ที่ เขาไม่พอใจจะคบหาสมาคมด้วย ฯ วิคติจฉกถา ว่าด้วยผู้หมดอยากแล้ว ที่มา : วิคติจฉชาดก ทุกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/ฅต๙ ยํ ลภติ น เดน สติ ยํ ปดฺเสติ ลทธํ หีเฬติ อิจฉา หิ อนนฺฅโคจรา วิคติจฉาฟ้ นโม กโรม เส ฯ แปล : ผู้ที่หมดอยาก ได้สิงใดก็ไม่ยินดีส์งใ5น ปรารถนา สิงใด ได้มาแล้วก็ไม่ไยดี อันความอยากนั้นไม่มีจบ สินเลย ข้าพเจ้าขอนมัสการท่านผู้หมดอยากแล้ว ฯ www.kalyanamitra.org

๑๒๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ กาลกถา ว่าด้วยกาลเวลา ที่มา : มูลปริยายชาดก ทุกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/ฅ๔© กาโล ฆสติ ฎตานิ สพฺพาฌว สหตุฅนา ฯ แปล : กาลเวลาย่อมกินส์โตว์ทั้งปวง รวมทั้งตัวมันเองด้วย ฯ ฑัณฑกถา ว่าด้วยการลงโทษ ที่มา : ติลมุฏฐิชาดก ติกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/ฅ๕๗ อริใย อนริยํ ชุพุฅํ โย ทณ&ฑน นิเสธติ สาสนํ ตํ นตํ เวรํ อิติ นํ ปณุฑิคา วิดู ฯ แปล เมี่ออนารยซนทำชั่ว อารยซนย่อมห้ามกันไว้ด้วย การลงโทษ การลงโทษนั้นถือว่าเป็นการส์งสอน ทั้ง ไม่เป็นเวร ฃ้อนี้เหล่าบัณฑิตร้กันซัดเจน ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๒๗ เทสสกลา ว่าด้วยคนที่น่ารังเกียจ ที่มา : มณิกัณฐชาดก ดิกงบาต ชุ.ซา.เอ๗/ต๖0 ฬ ดํ ยาเจ ยสฺส ปียํ ชิณีส เฑสฺใส โหติ อติยาจนไย ฯ แปล เมื่อรู้ว่าสิงใดเป็นที่รักของเขา ก็อย่าไปขอสิงนั้น จะ เป็นคนที่น่ารังเกียจก็เพราะชอบขอจัด ฯ มตตัฒณตากถา ว่าด้วยความรู้จักประมาณ ที่มา : สุกซาดก ดิกนบาต ชุ.ซา.๒๗/ต๖๖ ดสุมา มฅดผุชุดา สา^ โภชนสมึ อคิทธิดา อมดุดผญ หิ สีทนุดิ มดุดญญ ว น สีทเร ฯ แปล ความรู้จักประมาณคือไฝหลงติดอยู่แต่เรื่องกิน เป็น ความติ เพราะว่าผู1ม'รู้จักประมาณในการกีนมีแต่จะ ล่มจม ผ้ฐประมาณเท่านั้นจึงจะไม่ล่มจม ฯ www.kalyanamitra.org

๑๒๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มธุรภาสิตกถา ว่าด้วยถ้อยคำที่อ่อนหวาน ที่มา : สุชาตชาดก ดิกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕©๘ ดสุมา สขิลวาจสฺส มนฺดภาผี อาjทธโต อดฺลํ ธมมผจ ทีเปติ ม^ราเดสส ภาสิตํ ฯ แปล เมื่อต้องการจะเป็นที่รัก'นับสิอฃองคนอื่น ก็ควร พูดแต่คำที่สละสลวย พูดแสดงความรู้ ไฝพูดฟ้งไป แสดงเหตุผลใ'ค้ซัดเจน ถ้อยคำที่พูด'นั้นจัดเป็นถ้อยคำที่ อ่อนหวาน ฯ เสย^ป(สวนาคลา ว่าสืวยการคบหากับคนประเสริฐ ที่มา : เสยยชาดก ติกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๕๕๕ s เสยยโส เสยยโส โหติ โย เสยุยาjปเสวติ ฯ แปล : คบหากับคนที่ประเสริฐ ก็จะพลอยประเสริฐไปต้วย ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๒๙ ลักขิกกถา ว่าด้วยเรื่องของคนมีบุญ ที่มา ะ สิริชาดก ดิกนิบาต ชุ.ขา.๒๗/๔๕๑ ยํ ^คคา สงฆรนดิ อลคฺขิคา พชุ๊ ธนํ สิปปวนฺโต อสิปปา วา ลคุฃิกา ฅานิ ภูญชเร ฯ แปล : คนไม่มืบุญขวนขวายรวบรวมทรัพย์ใดไว้เป็นอันมาก คนมีบุญจะมีความรู้หรือไม่มีความรู้ก็ตาม ย่อมได้ใช้สอย ทรัพย์เหล่านั้น ฯ คดปุญญคฝืา ว่าด้วยผู้ทำบุญไว้ดี ที่มา : สิริชาดก ดิกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๔๕๒ สพพฅฺล กฅใJผผสส อดิจฺจผุฒว ปาณิโน รุปปชุชนติ พ\\| โฟ้คา อปี นายฅฌธุfll ฯ แปล : โภคะเป็นอันมากย่อมล่วงเลยคนอื่น ๆ ไปเสิย มา เกิดขึ้นโนที่ทั้งปวงทีเดียวแก่ผู้ที่ทำบุญไว้แล้ว ใช่แต่ เท่านั้น รัดนะทั้งหลายก็เกิดขึ้นแม้ในที่ที่มีใช่แหล่ง กำ เนิด ฯ www.kalyanamitra.org

๑๓๐ คลังธรรม [พระธรรมกิดคิวง^ ปรักคมคฝืา ว่าสัวยความบากบั่น ที่มา ะ จุลลกาสิงคชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/«0๕ เทวา น อิสสนดิ ไเริสปรคคมสุส ฯ แปล ความบากบั่นเยี่ยงชายชาญ แฟ้เทวดาก็กีดกันไม่ไส์ ฯ ทานกถา ว่าด้วยการใฟ้ ที่มา : มหาอัสสาโรหชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/«0๖ อเทยเยสุ[ ททํ ทานํ เทยเยสุ[ นปุปเวจฉดิ อาปาสุ[ พยสนํ ปดุโด สหายํ นาธิคจุฉดิ ฯ แปล ให้ของแก่คนที่ไม่ควรใฟ้ คนที่ควรให้กลับไม่ยอมให้ เมื่อไห้รับความวิบัติเพราะลันตรายต่าง ๆ จะไม่ไห้เพื่อน ช่วยเหลือ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ สัญโญคาทิกลา ว่าด้วยการแสดงความสนิทสนมเป็นต้น ที่มา : มหาอัสสาโรหชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕0๘ สญใผคสมุโภควิเสสทสฺสนํ อนริยธมุเมq สเฮสุ นสุสติ กดผจ อริเยสุ จ อญชเวสุ มหปผลํ โหติ อชุมุปี ฅาทิสุ ฯ แปล การแสดงความสนิทสนมและความร่วมใจในคนที่ไร้ อารยธรรม มีแต่สาไถย ถึงจะทำให้วิเศษอย่างไร ก็ไร้ ผล แต่ที่ทำในอารยซนผู้ซื่อตรงคงที่แล้ว แม้จะนิดเดียว ก็มีผลมาก ฯ ^ชนารหกลา / ว่าต้วยผู้สมควรแก่เครื่องบูชา / ที่มา : มหาอัสสาโรหชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๐๙ โย 1]พเพ กฅกลุยาโณ อกา โลเก สุชุฤกรํ I ปจฉๆ กยิรา น วา กยิรา อชุจนตํ ชุเชนารโห ฯ แปล : ผู้ใดทำคุณงามความดีไร้ก่อนหน้าแล้ว ผู้นั้นซื่อว่าได้ ทำ สิงที่ทำได้ยากไวในโลกแล้ว ภายหลังเขาจะทำหรือไม่ ทำ อีกก็ตาม ก็เป็นผู้ควรแก่เครื่องบูชาตลอดไป ฯ www.kalyanamitra.org

๑๓๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ นมานกถา ว่าด้วยอย่าถือตัว ที่มา ะ ทัททรชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา. เอ๗/๕๑๖ ยตุถ โปส์ น ชานนติ ชาติยา วินพน วา น ดดล มานํ คยิราล วสํ อณุผาดเก ชเน ฯ แปล ในถิ่นใดไฝมีคนรู้จักตนทั้งโดยชาติกำเนิดหรือคุณธรรม เมื่อไปอยูในหฝูคนที่ไม่รู้จักในถิ่นนั้น ก็อย่าแสดงความ ถีอตัวออกมา ฯ วิเทสวาสกถา ว่าด้วยการอยู่ต่างแดน ที่มา : ทัททรชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๑๗ วิเฑสวาสํ วสโด ชาดเวทสเมนปี ขมิดพุพํ สปณุเผน อปี ทาสสส ดชชิดํ ฯ แปล : เมื่ออยู่ต่างถิ่น ถึงจะมีปัญญาเสมอด้วยดวงดะวัน ก็ ด้องทนให!ด้แม้กระทั้งคำขู่ดะคอกของคนวับใ'ร ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๓๓ นัตถิรโหกลา ว่าด้วยที่ลับไม่มีในโลก ที่มา : สีลวึมังสชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๑๘ นตร โลเก รโห นาม ปาปกมมํ ปคูพุพโต ปสุสนติ วนฎฅานิ ตํ พาโล มญฌเต รโห ฯ แปล : ขึ้นซื่อว่าที่ลับย่อมไม่มีในโลกสำหรับผู้ทำบาปกรรมไว้ คนทั้งหลายเห็นว่าเป็นป้า แต่คนพาลกลับสำคัญที่นั้น ว่าเป็นที่ลับ ฯ สังกิสัพพกถา ว่าด้วยสิงที่ควรระแวง ที่มา : 1]?มันทขาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๕๕๕ สงุเกยุย สงุคิตพุพานิ รกเขยยานาคดํ ภยํ ฯ แปล พึงระแวงส์งที่ควรระแวง พึงป็องกันภัยที่ยังไม่มาถึงคัว ฯ อุตตริตรกถา ว่าด้วยผู้ยอดเยี่ยม ที่มา ะ เ^สสปมันทิยซาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๕๙ เอโส หิ ลุตฺตริตโร ภารวโห ธุรนุธโร โย ปเรสาธิปนฺนานํ สยํ สนุธาดูมรหติ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๓๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : เมื่อคนอื่น ๆ ล่วงเกินกัน ตนเองสามารถเส์อม ประสานพวกเขาไว้ได้ ผู้นั้นแลจัดว่าเป็นผู้ยอดเยี่ยม เป็นผู้นำภาระไป และเป็นผู้ทรงธุระไว้ ฯ มโนกลา ว่าด้วยสำคัญที่ใจ ที่มา : ติตติรชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๗๕ มโน เจ เต นปุปณมติ ปฤขิ ปาปสุส กม3|โน อๅยาวฎสฺส ภทุรสฺส น ปาปชุปลิมุปติ ฯ แปล : ถ้าใจของท่านไมโน้มเอียงไปในการทำบาปกรรม บาป ก็จะไม่แปดเป็อนท่านซึ่งเป็นผู้บริสุทธิ้ ไม่ขวนขวายที่จะ ทำ บาปกรรม ฯ ภาสมานกถา ว่าด้วยคนดีแต่พูด ที่มา : สุจจซชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๗๙ ยญหิ กยิรา ตฌหิ วเท ยํ น กยิรา น ตํ วเท อกโรนฺตํ ภาสมานํ ปริชานนฺติ ปณุฑิตา ฯ แปล : ทำ สิงใดได้ จึงค่อยใ(แดถึงสิงนั้น ทำ สิงใดไม่ได้ อย่า พูดถึงสิงนั้น คนที่ไม่ทำ ดีแต่พูดนั้น พวกคนฉลาดเขา ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๓๕ ปรมภริยากถา ว่าด้วยยอดภรรยา ที่มา : สุจจซขาดก จตุกกนิบาต ชุ.ขา. ๒๗/๕๘๑ ยา ทลิทฺทึ ทลิทุทสุส อฑุฒา อฑฺฒสฺส กิตุติมา สา หิสส ปรมา ภริยา สหิรญณสุส อิตุถิโย ฯ แปล : หญิงใดเมื่อสามีขัดสนก็ขัดสนด้วย เมื่อสามีมั่งคั่งก็ พลอยเป็นผู้มั่งคั่งมีซื่อเสียงด้วย หญิงนั้นแลนับว่าเป็น ยอดภรรยาของเขา เพราะผู้มีเงินย่อมมีหญิงหลายคน ฯ สุขภาวกถา ว่าด้วยความสฃ า • กุฏิ'คูสกขาดก จตุกกนิบาต ชุ.ขา. ๒๗/๕๘๔ อนวฎฺฮิตจิตุตลุ[ส ลหุจิตฺฅลุ[ส หุ'พภิโน นิจจํ อทุธุวสีลลุ[ส อ[ุ ขภาโว น วิชุชติ ฯ แปล คนที่มีจิตไม่มั่นคง คนที่ใจเบา คนที่มักประทุษร้าย มิดร คนที่มีพฤติกรรมกลับกลอกเป็นนิจ ย่อมไม่มี ความสข ฯ www.kalyanamitra.org

๑0)๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปรโฆสานุสารีกลา ว่าด้วยผู้แล่นไปตามกระแส ที่มา ะ ทุททุภายซาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๘๘ อปุปตุวา ปฑวิณณาฟ้ ปรโฆสานุสาริโน ปนาทปรมา พาลา เต โหนุติ ปรปตุติยา ฯ แปล พวกคนเขลายังไม่ทันรู้เรื่องแจ่มแจ้งก็มักแล่นไปตาม กระแสเสียงผู้อี่น ถือคำเล่าลือเป็นสำคัญ คนเหล่านั้น มักเซี่อคนอื่นง่าย ฯ นปรนิตติยกลา ว่าด้วยผู้Iม่เซี่อคนอี่นง่าย ที่มา ะ ทุททุภายซาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๘๙ เย จ สึเลน สนุปนุนา ปผผาyปสเม รฅา อารกา วิรตา เรา น โหนุติ ปรปตุติยา ฯ แปล ซนเหล่าใดสมบูรณ์ด้วยสีล ด้วยปีญญา ยินดีในความ สงบ ซนเหล่านั้นนับว่าเป็นผู้ฉลาด งดเว้นจากการ ทำ ความชั่วเสียห่างไกล ย่อมไม่เชื่อคนอื่นง่าย ๆ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] ทมวด ๑ ๑๓๗ วยกถา ว่าด้วยวัย ที่มา : อนนุโสจิยชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗A)0ta น เหว ฮิฅํ นาสีนํ น สยานํ น ปดฺถฤ ยาวุปฺปตติ นิมิสสติ ตตุราปี สรติ วโย ฯ แปล สัตวโลกที่ยืน นั่ง นอน หรือเดินกันอยู่นี้ มิใซ่อายุ สังขารเท่านั้นที่ดิดตามไป แม้วัยก็ฝานไปทุกขณะที่ หลับตาและลืมตา ฯ อนชุโสจิยกถา ว่าด้วยสิงที่ไม่ควรโศกเศร้าถึง ที่มา : อนนุโสfยชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗^๑ฅ ตตุถตตนิ วตปปนฺเถ วินาภาเว อสํสเย ภูตํ เสสํ ฑยิตพพํ จวิตํ อนนุโสจิยํ ฯ แปล : เมื่อตนนั้นพร่องไปตามวัย ก็จะต้องพลัดพรากจากกัน ไปโดยไม่ต้องสงสัย หมู่สัตว์ที่ยังเหลืออยู่ควรมีเมตตา เอ็นดูกัน ส่วนผู้ที่ตายไปแล้วก็ไม่ควรจะเศร้าโศกถึง ฯ www.kalyanamitra.org