Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๑

Description: คลังธรรมเล่ม๑

Search

Read the Text Version

๑๘๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สังหีรifญญาคลา ว่าส์วยฟ้มีปัฌฌาอ่อนด้อย ที่มา : ฟ้งสซาดก วีสตินิบาต ข.ซา. ๒๗/๒ต๗ฅ ตสุส สํหีรปณุณสุส วิวโร ชายเต มหา รดติมนุไธว เปานิ ฐลานิ มนุปสุสติ ฯ แปล : เมื่อปัญญาอ่อนด้อย ซ่องทางรั่วไหลแห่งสมบัติก็ เกิดขึ้นได้มากหลาย แต่เขาก็มองเห็นได้หยาบๆ เหมือน เห็นภาพได้ลาง ๆ ในยามราตรี ฯ หีนชัจจกถา ว่าด้วยคนมีกำเนิดตรต้อย ที่มา : ฟ้งสซาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒ต๗๕ หืนชชุโจปี เจ โหติ ลูป็®าตา ธิติมา มโร อาจารสีลสมปนุโน นิเส อคุคีว ภาสติ ฯ แปล : ถึงแม้ว่าจะมืชาติตระกูลตาด้อย แต่มืความขยันหมั่น เพียร มืสติปัญญา มืมารยาทและความประพฤติงดงาม ก็รุ่งโรจน!ด้ เหมือนดวงไฟถึงอยู่ในที่มืดก็เจิดจ้า ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๘^ สหวาสกถา ว่าด้วยการอยู่ร่วมกัน ที่มา : ส์ตติคุมพซาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒ฅ๙๙ ยาทิส์ คูร[ุ เต มิตุตํ ยาทิสญดูปเสวติ โสปี ฅาฑิสโก โหติ สหวาโสปี ฅาทิใส ฯ แปล ทำ คนเซ่นโดให้เป็นมิตร คบหาสนิทกับคนเซ่นใด ตัว เองก็จะเป็นเหมือนคนเซ่นนั้น เพราะการอยู่ร่วมกันจะ เป็นอย่างนั้น ฯ เสวนากถา ว่าด้วยการคบหา ที่มา : ส์ตติคุมพซาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๔00 เสวมาโน เสวมานํ สมุ^แโ® บ่'^ สโร ทุฎโ® กลาป็ว อลิตฺฅชุปลิมุปติ ฯ แปล คนชั่ว ใครไปคบเข้า ก็แปดเป็อนคนคบ ใครไปแตะ ต้องเข้า ก็แปตเ!เอนคนแตะต้อง เหมือนลูกศรที่อาบ ยาพิษพลอยให้ยาพิษติดแล่งศรไปต้วย ฯ www.kalyanamitra.org

๑๙0 คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ พา^ปเสวนากลา ว่าด้วยการคบหากับคนพาล ที่มา : ส์ตติคุมพชาดก วีสตินิบาต ข.ซา.๒๗/to๔0๑ ^ดิมจฺฉํ ฤสคเคน โย นโร อุปนยุหดิ อุสาปี \\เติ วายนุติ เอวํ พาดูปเสวนา ฯ แปล : นรซนเอาใบหญ้าคามาห่อปลาร้า nilใบหญ้าคาก็ พลอยเหม็นฟ้งไปด้วย ฉันใด การคบหากับคนพาลก็ทำ ให้เหม็นคลุ้งไปด้วย ฉันนั้น ฯ ธีเปเสวนากถา ว่าด้วยการคบหากับนักปราชญ์ ที่มา : ลัตติคุมพชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๒๔อ๒ ตคฺรํว ปลาเสน โย นโร อุปนยหติ ปฤตาปี อุ[รภี วายนฺติ เอวํ ธีรูปเสวนา ฯ แปล นรซนเอาใบไม้มาห่อกฤษณา แม้ใบไม้ก็พลอยหอม ฟังไปด้วย ฉันใด การคบหากับนักปราซญ้ก็ทำให้หอม ฟังไปด้วย ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๙๑ สันตาสันตกถา ว่าด้วยคนดีและคนชั่ว ทมา : ส์ตติคุมพชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๒๔0ต อสนุเด \\{ปเสเวยุย สนเด เสเวยฺย ปลเฑิโด อสนฺโด นิรยํ เนนฺติ สนโด ปาเปนุติ ลุ[ตุคติ ฯ แปล : ผู้ฉลาดไม่พึงคบหากับคนชั่ว พึงคบหาแต่คนดี เพราะว่าคนชั่วจะพาลงนรก คนดีจะพาขึ้นสวรรค์ ฯ อนิสัมมกถา ว่าด้วย^จที่ไม่พินิจทำ ที่มา : โสมนัสสชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๔๔๕ อนิสมุม คดํ กมุมํ อนวดลาย จินติตํ เภสชุชชุเสว เวภงโค วิปาโก โหติ ปาปโก ฯ แปล หน้าที่การงานที่ดำเนินการไปโดยไม่พินิจ ไม่คิดให้ ถ้วนถี่เสียก่อน ย่อมมีผลที่เลวร้าย เหมีอนผลโนแง่เสีย ของยา ฯ www.kalyanamitra.org

๑๙๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ นิสัมมกถา ว่าด้วยกิจที่พินิจทำ ที่มา : โสมนัสสชาดก วีสตินิบาต ข.ชา. ๒๗/๒๔01๖ นิสมฺม จ คดํ คมมํ สมฺมาวดฺถาย จินุติดํ เภสชุชสเสว สมปตุติ วิปาโก โหติ ภทุรโก ฯ แปล : หน้าที่การงานที่ดำเนินการไปโดยพินิจ คิดถ้วนถี่แล้ว ย่อมมีผลที่งดงาม เหมีอนผลโนแง่ดีของยา ฯ นิสัมมทณฑกถา ว่าด้วยการลงโทษโดยรอบคอบ ที่มา : โสมนัสสชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๕๔๙ นิสมม ทณุฑํ ปณเยยย จิสสโร เวคา กตํ ตปุปติ ฎมิปาล ฯ แปล ผู้เป็นใหญ่ควรพินิจให้รอบคอบก่อนลงโทษ การผลุน ผลันลงโทษย่อมทำให้เดือดร้อน ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑goo คุยหคลา ว่าด้วยความลับ ทมา : ปัญจปัณฑิตชาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒๕๔0 ชุยหสุส หิ ชุยฺหฌว สา^ น หิ หสส ปสดถมาวิคมมํ อนิปผนฺนดาย สฌยุย ธีใร นิปฺผนนดโถว ยถาสุขํ ภเณยย ฯ แปล : ขึ้นซื่อว่าความลับ ปกป็ดไว้นั่นแหละดี การเปีดเผย ความลับไม่น่าสรรเสริญเลย เมื่อประโยชน์ยังไม่สำเร็จ ควรอดกลั้นไว้ก่อน ต่อเมื่อประโยชน์สำเร็จแล้ว จึง ค่อยเผยความลับตามสบาย ฯ อัจเจนติกถา ว่าด้วยกาลเวลาล่วงไป ที่มา ะ หัดติปาลชาดก วีสตินิบาต ชุ,ชา.๒๗/๒๕๗๔ อจฺเจนุติ กาลา ดรยนติ รตุติโย วโยดูณา อบุไ^พพํ ชหนฺติ ฯ แปล กาลเวลาย่อมผ่านไป วันดีนก็ล่วงไป ๆ ชั้นแห่งวัยก็ ละลำดับไปเรื่อย ๆ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๙๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปริหารกลา (๑) ว่าด้วยหลักการบริหาร ที่มา : ส์'มภวชาดก ติงสตินิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๗๗๙ อดฺดานํ นาดิวดเตยย อธมมํ น สมาจเร อติดเส นปฺปตาเรยย อนดุเส น รุเโต สิยา ฯ แปล ะ นักบริหารอย่าลืมตัว อย่ามัวประพฤติไฝเป็นธรรม อย่าถลาไปในที่ไม่เป็นท่า อย่าใฝ่หาสิงที่ไร้ประโยชน์ ฯ ปริหารกถา(๒) ว่าด้วยหลักการบริหาร ที่มา : เตสกุณชาดก จัดตาฟ้สนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๙๙® ลุ[สงฺคหีตนฺตชโน สยํ วิตตํ อเวคุฃิย นิธิผจ อิณทานญจ น สเร ปรปดฺติยา ฯ แปล ะ นักบริหารควรสงเคราะห์คนภายในให้ดี ควรตรวจตรา ทรัพย์สินด้วยตัวเอง การเก็บทรัพย์สินก็ดี การให้ฐ้ยีมก็ดี ไม่ควรไว!จคนอื่น ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑&๕ ปริหารกลา (๓) ว่าด้วยหลักการบริหาร ที่มา : เตสกณขาดก จัตตาฟ้สนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๙๙๒ สยํ อายํ วยํ ชผฌา สยํ ชญผา กดไคดํ นิคคณฺฌ นิคุคหารหํ ปคุคณฺฌ ปคุคหารหํ ฯ แปล : นักบริหารควรรู้เรื่องรายรับรายจ่ายด้วยตัวเอง ควร รู้จักกิจการที่ทำเสร็จแล้วหรือยังไม่ได้ทำ ควรตำหนิคนที่ ควรตำหนิ ควรยกย่องคนที่ควรยกย่อง ฯ อสังกิตกถา ว่าด้วยไม่ทำตนให้เขาระแวง ทีมา : ปัณฑรกชาดก ติงสตินิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒๘๙{ท วิสุสาสเย นจนํ วิสุสเสยย อสงฺกิโฅ สงฺกิโต จ ภเวยย ฅถา คลา วิผญ ปรฤกเมยุย ยถา ยถา ภาวํ ปโร น ชญผา ฯ แปล ควรทำตนให้เป็นที่ไว้วางใจของคนอื่น แต่ไม่ควรจะ ไว้วางใจคนอื่นรื่าไป ตนเองอย่าให้คนอื่นระแวง แต่ ควรระแวงคนอื่น ริญฌูซนพึงพากเพียรไปด้วยท่าทีที่ ลึกซึ้งอย่างที่ตัตรูจะล่วงรู1ม่ได้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๙๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ทุลลภกถา ว่าด้วยสามีภรรยาที่หาได้ยาก ที่มา ; ส์มทุลาชาดก ติงสตินิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒๙ฅ๕ ธุ[ทลุลภิตถี ใ]ริสสส ยา หิตไ ภตฺฅิฅถียา ทุลุลโภ โย หิโฅ จ ฯ แปล ภรรยาที่คอยช่วยเหลึอสามีหาได้ยาก สามีที่คอยช่วย เหลือภรรยาก็หาได้ยาก ฯ มทกถา ว่าด้วยความมัวเมา ที่มา : ภัณทุติณทุกชาดก ติงสตินิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒๙ฅ๗ มทา ปมาโท ชาเยถ ปมาทา ชายเต ชโย ชยา ปโทสา ชายนติ มา มโท ภรดูสภ ฯ แปล : จากความมัวเมาก็เกิดความประมาท จากความ ประมาทก็เกิดความเส์อม จากความเส์อมก็เกิดโทษไปทั่ว ดังนั้น จงอย่ามัวเมา ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑^๗ ฟ้ญญาพลคฝืา ว่าด้วยพลังปัญญา ทีมา : เตสๆณชาดก จัตตาฟ้สนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ต00ต ดํ พลานํ พลํ «สฎุฮํ อคคํ ปณผาพลํ วรํ ปญณาพเลบุปตถทุโธ อตุลํ วินฺทติ ปณฺฑิโต ฯ แปล : อันพลังปัญญานั้นจัดว่าประเสริฐเยี่ยมยอดกว่าพลัง ทั้งหลาย บัณฑิตมีพลังปัญญาสนับสนุนจึงประสบความ สำ เร็จ ฯ นิญญไกฝืา (๑) ว่าด้วยปัญญา ทีมา : เตสกุณชาดก จัดตาสิสนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/ต00๖ ปฌฺณา ธุ[ฅวินิชุฉินี ปณฺฌา สิโลกวๆาฒนิ ปณณาสหิโต นโร อิธ ชุกเข ลุ[ขานิ วินุทติ ฯ แปล : ปัญญาเป็นเครื่องวินิจฉัยวิชาความรู้ ปัญญาเป็น เครื่องเพิ่มพูนซื่อเสียง ในโลกนี้คนมีปัญญาย่อมหาสุข พบแมในยามทุกข์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๙๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ ฟ้ญญากลา(๒) ว่าด้วยปัญญา ที่มา : สรภังคชาดก จัตตาฟืสนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๓0๕๔ ปณณา หิ เสฎุฮา ฤสลา วทนติ นฤฃตตรไชาริว ตารกานํ สีลํ สิรี จาปี สฅผจ ธมฺโม อนวายิกา ปฌณวโฅ ภวนุติ ฯ แปล เหล่าคนฉลาดกล่าวว่าปัญญานั่นแหละประเสริฐที่สุด ดุจดวงจันทร์ประเสริฐกว่าดวงดาวทั้งหลาย แม้สืล สิริ และธรรมของเหล่าสิ'ตบุรุษก็ยังดำเนินตามผู้มีปัญญา ฯ ฃันติกถา ว่าด้วยความอดทน ทีมา ะ สรภังคซาดก จัตตาฟ้สนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ฅ๐๓๗ โกธํ วธิตุวา น กทาจิ โสจติ มกขปุปหานํ อิสโย วณุณยนติ สพุเพสํ รุดฺดํ ผรุสํ ขเมถ เอตํ ขนุตึ ดุตฅมมาบุ สนโค ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๙๙ แปล ฆ่าความโกรธเฮยได้ ย่อมไม่เศร้าโศกในกาลไหน ๆ การละความลบหลู่เฮยได้พระฤษีเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ คำ หยาบคายที่คนทั้งปวงพูด ใครทนได้ ความอดทน ของผู้นั้นนักปราชญ์ยกย่องว่าเป็นความอดทนชั้นยอด ฯ อุตตมขันติกถา ว่าด้วยความอดทนชั้นยอด ที่มา : สรภังคซาดก จัดตาสิสนิบาต ข.ซา. ๒๗/ฅ©ต๙ ภยา หิ เสฎุ®สุส วโจ ฃเมถ สารมฺภเหดู ปน สาทิสสส โย จีธ หืนสส วโจ ฃเมถ เอตํ ฃนุตี รุตตมมาชุ สนฺโต ฯ แปล คนเราทนต่อถ้อยคำของคนที่เหนือกว่าได้เพราะกลัว ทนต่อถ้อยคำของคนที่เท่าเทียมกันได้เพราะการแข่งขัน แต่ว่าผู้ใดทนต่อถ้อยคำของคนที่ด้อยกว่าได้ ความอดทน นั้นท่านกล่าวว่าเป็นสูงสุด ฯ www.kalyanamitra.org

๒๐๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สีลวันตกถา ว่าด้วยลักษณะของผู้มีสืล ที่มา : สรภังคซาดก จัดตาฉสนิบาต ข.ซา. ๒๗/ฅ0๔๙ กาเยน วาจาย จ โยธ สผฌโต มนสา จ กิณจิ น กโรติ ปาป๋ น อดฺฅเหสุ อลิคํ ภณาติ ฅถาวิธํ สีลวนฺตํ วทนติ ฯ แปล ในโลกนี้ ^ดเปีนผู้สำรวมกาย วาจา และใจ ไม่ทำ บาปกรรมอะไร ๆ ไม่ใฐดจาพล่อย ๆ เพื่อตัวเอง บัณฑิต เรียกคนเซ่นนั้นว่าผู้มีสืล ฯ งญญวันตกฝืา ว่าด้วยลักษณะของผู้มีปัญญา ที่มา : สรภังคซาดก จัดตา^สนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ฅ0๕0 คมภีรปผุหํ มนสาภิจินุฅยํ นชุจาหิตํ กมฺม กโรติ สุทุทํ กาสาคดํ อสุลปทํ น ริผฺจติ ฅถาวิธํ ปญณวนฺตํ วทนุติ ฯ แปล ผู้ใดคิดแก้ปัญหาที่ลึกซึ้งได้ด้วยใจ ไม่ทำกรรมหยาบข้า หาประโยชน์มิได้ ไม่ละทิ้งประโยชน์ที่จะมาถึงตามจังหวะ บัณฑิตเรียกคนเซ่นนั้นว่าผู้มิปัญญา ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๐๑ สัปไ]ริสกลา ว่าด้วยลักษณะของคนดี ที่มา : สรภังคชาดก จัดตาฟ้สนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ฅ0๕๑ โย เว กตณญ กดเวฑิ ธีโร กลยาณมิตโต ทฬหภตติ จ โหติ ทุกฃิฅสส สกกจจ กโรติ กิชุจํ ฅถาวิธํ สปฺใ]ริสํ วฑนติ ฯ แปล : ^ดแลเป็นศนกตัญฌูกตเวที มีปัญญา เป็นกัลยาณมิตร ผู้มีความรักใคร่มั่นคง ช่วยทำกิจของ^ด้รับความทุกข์ ด้วยความเต็มใจ ผู้เช่นใ!นเรียกได้ว่าคนดี ฯ สิริกถา ว่าด้วยสิริโชค ที่มา : สรภังคชาดก จัตตาฟ้สนิบาต ชุ.ชา.๒๗/ตอ๕๒ mm สพุเพหิ คุฒหเปโฅ สทุโธ มุทุ สํวิภาคี วทฌญ สงคาหกํ สขิลํ สณหวาจํ ฅถาวิธํ โน สิริ โน ชหาติ ฯ แปล : ผู้ใดประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ คือ มีศรัทธา อ่อนโยน ชอบจ่ายแจก ^จคนอื่น สิรีโชคย่อม ไม่ละทิ้งคนเช่นนั้นซึ่งเป็นผู้สงเคราะห์ พูดจานิ่มนวล อ่อนหวาน ฯ www.kalyanamitra.org

๒๐๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ป้ญญวากฝืา ว่าด้วยการทำให้ตนมีปัญญา ทีมา : สรภังคชาดก จัดตาสนิบาต ชุ.ขา. ๒๗/ฅ0๕๖ เสเวล ใ^ทเธ นิใ]เณ พใ]สุสุเด รุคุคาหโก จใ]ใ!ริใ]จฉโก สิยา ส[ุ เฌยย สฤกจจ สุ[ภาสิฅานิ เอวงกโร ปญฌวา โหติ มจโจ ฯ แปล พึงคบหาท่านผู้รู้อรรถธรรม ละเอียดละออ เรียนรู้ มาก พึงทำตัวเป็นทั้ง'นกเรียนและ'นกถาม พึงตั้งใจพึง คำที่ท่านบอกโ'ค้ดี ผู้ทำ อย่าง'นื้!ด้จึงจะมีปัญญา ฯ มิตตภาวกถา ว่าด้วยมิตรภาพ ที่มา : นฉนิกาชาดก ป้ญญาสนิบาต ชุ.ชา. ๒๘/๕(ท สํวาเสน หิ มิดฺฅานิ สนธิย'นฺดิ ใ]นปปนํ เสวว มิตโฅ อสงุคนฺดู อสํวาเสน ชีรติ ฯ แปล : เมื่ออยู่ร่วมกัน มิตรภาพย่อมสิบเนึ่องได้เรื่อยไป แต่ เมื่อไม่ไปมาหาลู่กัน มิตรภาพนั้นก็จะเส์อมทรามลง ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๐๓ อิสสรสัญญีกถา ว่าด้วยสำคัญตัวว่าเป็นผู้ยิ่งใหญ่ ที่มา : อุมมาทันตีชาดก ปัญญาสนิบาต ชุ.ซา.๒๙๗๙ โย อิสสโรมหีติ กโรติ ปาป็ กตุวา จ โส บุตฺตปเต ปเรสํ น เคน โส ชีวติ ทีฆมาคู๊ เทวไปี ปาเปน สเมกฃเร นํ ฯ แปล : ผู้ที่ทำ บาปกรรมด้วยสำคัญตัวว่าเปีนผู้ยิ่งใหญ่ เมื่อ ทำ แล้ว ก็ไม่สะด้งกลัวเกรงใครอื่น ด้วยบาปกรรมนั้น เขาจึงมีชีวิตตลอดอายุขัยไม่ได้ แม้ปวงเทวาก็มองเขา ด้วยสายตาขิงขัง ฯ ธ้มมเวฑืกถา ว่าด้วยผ้ร้แจ้งธรรม ที่มา : อุมมาทันตีชาดก ปัญญาสนิบาต ชุ.ชา.๒๙๘ต โย อตุฅทุกเขน ปรสุส ทุฤขํ อ[ุ เขน วา อตฅอุ[ขํ ทหาติ ยเถวิฑํ มยห ตถา ปเรสํ โย เอวํ ปชานาติ ส เวฑิ ธมมํ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๐๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : ผู้ใดสร้างความทุกข์ให้ผู้อื่นด้วยความทุกข์ของตน หรือสร้างความสุขให้ตนด้วยความสุขของผู้อื่น ผู้นั้นไม่ ซื่อว่าผู้รูแจ้งธรรม ผู้ใดรู้ว่าสุขทุกข์นี้ของเรากับของเขาก็ เหมือนกัน ผู้นั้นซื่อว่าผู้รู้แจ้งธรรม ฯ จๆปุคคลคฝืา ว่าด้วยบุคคล ๔ ประเภท ที่มา ; อุมมาทันตีซาดก ปัญญาสนิบาต ฃุ.ซา.๒๘/๑0๑ สาธุ ธมมธุจิ ราชา สาธุ ปญณาณวา นโร สาธุ มิตตานมทุทุพุโภ ปาปสสากรณํ อุ[ขํ ฯ แปล พระราซาขอบพระทัยธรรมจึงจะดี นรซนมืปัญญา รอบรู้จึงจะดี มิตรไม่ประทุษร้ายมิตรจึงจะดี การ ไม่ทาความชั่วนำสุขมาให้ ฯ อสัปปุริสธัมมกฝิา ว่าด้วย^ม่มีธรรมของคนดี ที่มา มหาโพธิซาดก ปัญญาสนิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๑ฅ๒ ภเช ภชนตํ ปุริสํ อภชนุตํ น ภชุชเย อสปุljริสธมโม โส โย ภชนฺตํ น ภชุชติ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๐๕ แปล : คนที่น่าคบ จึงค่อยคบ คนทีไฝน่าคบ ก็อย่าไปคบ ผู้ทีไม่คบคนที่น่าคบ ซื่อว่าไม่มีธรรมของคนดี ฯ กปณกถา ว่าด้วยคนกำพร้า ที่มา : โสณกซาดก ส์ฎฐินิบาต ชุ.ซา.๒๙๑๙๒ โยธ ธมมํ นิรงคดวา อธมุมํ อาjวดุตติ ส ราช กปโณ โหฅิ ปาโป ปาปปรายโน ฯ แปล : ในโลกนี้ ^ดสลัดธรรมทิ้งหันไปคล้อยตามอธรรม ผู้นั้นได้ซื่อว่าคนกำพร้า คนบาป คนมีบาปไป ฯ อธัมมปฏินินนกลา ว่าด้วยผู้เคยประพฤติอธรรม ที่มา : ส์งกิจจซาดก ส์ฏฐินิบาต ชุ.ซา.๒๙๒๖๒ อธมฺมํ ปฎิปฬนฤ[ส โย ธมมมา{สาสติ ตสฺส เจ วจนํ กรรา น โส คจเฉยุย า]คฺคตึ ฯ แปล : ผู้ที่เคยประพฤติอธรรมมาแล้ว ใครพราสอนทาง ธรรมให้ หากทำตามคำสอนของท่านได้ ก็จะไม่ตกตํ่า www.kalyanamitra.org

๒๐๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ โปราณธัมมกสลกถา ว่าด้วยผู้ฉลาดในธรรมเนียมเก่า ที่มา : โสณนันทชาดก ส์ตตตินิบาต ข.ซา. ๒๙๔๖ฅ เย จ ธมมสฺส ฤสลา โปราณสุส ทิสํปติ จาริดุเตน จ สมปนนา น เต คอฉนุติ ชุคคติ ฯ แปล : ข้าแต่ทิศบดี ผู้ที่ฉลาดในธรรมเนียมเก่าแก'และ ปฏิบัติตามจารีตประเพณีย่อมไม่เข้าถึงทุคติ ฯ มิจฉาจารีกถา ว่าด้วยผู้ปฏิบัติผิดในพ่อแม่ ที่มา : โสณนันทชาดก ส์'ตตตินิบาต ชุ.ชา.๒๙๔๘๘ เอวํ กิจฉาภโต โปโส มาตุ อปริจารโก มาตริ มิจฺฉา จริตุวา นิรยํ โส รุปปชุชติ ฯ แปล ฃนาตพ่อแม่เลี้ยงดูมาอย่างยากลำบากเห็นปานนี้ ผู้เป็นลูกกลับไม่ปรนนิบัติดูแลท่าน ผู้นั้นซื่อว่าปฏิบัติผิต ในพ่อแม่ ย่อมเข้าถึงนรก ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๐๗ มาตาปีตุฎฐานกลา ว่าด้วยฐานะของพ่อแม่ ที่มา : โสณนันทขาดก ส์ตตตินิบาต ชุ.ซา. ๒๔/๔๙๗ พุรหมาติ มาตาปีตโร 1]พุพาจริยาติ วุจจIร อาทุฌยยา จ ปุดฅานํ ปชาย อนุกมปกา ฯ แปล : พ่อแม่ผู้อนุเคราะห์เลี้ยงดูลูก ท่านกล่าวว่าเรน พระพรหม เป็นพระอาจารย์คนแรก เป็นพระอรหันต์ ของลูก ฯ มาตาปีตุสักการกถา ว่าด้วยการสักการะพ่อแม่ ทีมา : โสณนันทซาดก สัตตตินิบาต ชุ.ซา. ๒๔/๔๙๔ คสมา หิ เต นมสเสยย สฤกเรยุย จ ปฉเฑิโต อนุเนน อโถ ปาเนน ... ปาทานํ โธวเนน จ ฯ แปล : ดังนั้น ผู้เป็นบัณฑิตพึงนอบน้อมและดักการะพ่อแม่ ดัวยการให์ข้าว ให์นํ้า ให้เลี้อผ้า ให้ที่หดับนอน ขัดสี ดัวให้ อาบนํ้าให้ และล้างเห้าให้ท่าน ฯ www.kalyanamitra.org

๒๐๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สตธัมมกถา ว่าด้วยคุณธรรมของคนดี ทมา : จุลลหังสซาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๕อ๙ อทฺธา เอใส สตํ ธมุโม โย มิตฺโต มิฅตมาปเท น จเช ชีวิตสสาปี เหตุ ธมมมนุสสรํ ฯ แปล : การที่เพี่อนระลึกถึงคุณธรรม ไม่ทอดทิ้งเพี่อนใน ยามมีภัยอันตราย แม้ชีวิตก็ยอมสละไห1ด้ นี่แหละคือ คณธรรมของเหล่าคนดีโตยแท้ ฯ อจริยากถา ว่าด้วยสิงviไม่ควรประพฤติ ที่มา ะ มหาหังสซาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๖๕ต น มชุเชล ยสํ ปดโต น พุยาเธ ปดตสํสยํ วายเมเลว กิจ.เจอุ[ สํวเร วิวรานิ จ ฯ แปล : ได้รับยศแล้วไม่พึงเมายศ ถึงความสงสัยโนชีวิต (ใกล้ ตาย) ไม่พึงเดีอตร้อน พึงพยายามรํ่าไปในกิจที่ด้องทำ และพึงอุตซ่องว่างทั้งหลายเลึย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒)๐๙ มหาปทกถา ว่าด้วยบทเรียนสำหรับผู้!ห£บ่ ทีมา : จุลลหังสชาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๕๒๑ ปทํ เหตํ มหนตานํ โพทุธุมรหนุติ อาปฑํ ฯ แปล : การรู้ถึงอันตรายล่วงหฟ้าเป็นบทเรียนสำหรับผู้ใหญ่ ทั้งหลาย ฯ นวิสสาสกถา ว่าด้วยส์งที่ไม่ควรวางใจ ทีมา : กณาลชาดก อสิตนิบาต ชุ.ชา. ๒๘/๘๔0 น วิสสเส สาฃใJราณสนุถตํ น วิสฺสเส มิตตปุราณโจรํ น วิสสเส ราช สฃา มมนุติ น วิสุสเส อิตุถิ ทสนุน มาตรํ ฯ แปล : อย่าวางโจที่นั่งเก่าที่ทำด้วยกิ่งไม้ อย่าวางใจเพื่อนที่ เคยเป็นโจรมาก่อน อย่าวางใจข้าราชการว่าเป็นคนของ ตน อย่าวางใจสตรีแม้จะมีลูกตั้งสิบคน ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สัพภิสันถวกถา ว่าด้วยการสนิทสนมกับคนดี ที่มา : มหาสุตโสมซาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๙๒๔ สกิเทว อ[ุ ตโสม สพภิ โหติ สมาคโม สา นํ สงฺคติ ปาเลติ นาสพภิ พชุ สงคโม ฯ แปล การได้ลนิฑสนมดุ้นเคยกับคนดีแม้จะเพียงคืนเดียว ก็ช่วยป้องกันเขาได้ แต่การสังคมกับคนชั่วแม้จะปอยครั้ง ก็ช่วยป้องกันเขาไม่ได้ ฯ สัพภิกถา ว่าด้วยการอย่ร่วมกับคนดี ที่มา : มหาสตโสมซาดก อสีตินิบาต ฃุ.ซา. ๒๘/๙๒๕ สพภิเรว สมาเสถ สพภิ ถูพฺเพถ สนฺถวํ สตํ สทุธมมมฌณาย เสยฺโย โหติ น ปาปีโย ฯ แปล ะ พีงอยู่ร่วมกับคนดี พีงทำความสนิทสนมกับคนดี รู้ เรื่องคุณธรรมของคนดีอย่างถี่ถ้วนแล้วย่อมมีแต่ความดี ไม่มีเสิย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๑๑ ปรมเสยยคลา ว่าด้วยสิงที่ประเสริฐที่สุด ที่มา : มหาสุดโสมชาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๙๗๔ อดดาว เสยุโย ปรมไว เสยุโย ลพภา ปียา โอจิดตุเดน ปจฉา ฯ แปล : ตัวเรานั่นแหละดีที่สุด ประเสริฐยอดเยี่ยมที่สุด แกฝนตนเองดีแล้ว จะไล้ส์งที่ตัวรักในภายหลัง ฯ ปียเสวนากลา ว่าด้วยการเสพสุขของรัก ที่มา : มหาสุดโสมซาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๙๗๖ โย เว ปียํ เมติ ปียาบุรฤฃี อตุตํ นิรงุกตว ปียานิ เสวติ โสณุโฑว ปีตุวา วิสมิสสถาลํ เดเนว โส โหติ ชุคุฃี ปรด.ถ ฯ แปล : ผูโดมัวแต่รักษาของรักอยู่ล้วยถือว่าเรารักของเรา ทำ ตัวเหินห่างจากความดี เสพสุขอยู่แต่ของรัก เหมือน คอเหล้าเแาเสพสุราเจือยาพิษอยู่ ผู้นั้นย่อมจะไล้รับ ความทุกข์ในภายภาคหน้า ฯ www.kalyanamitra.org

1ร>®1® คลังธรรม [พระ:ธรรมทิตดวงส์ อริยธัมม(สวนากฝิา ว่าด้วยการเสพอริยธรรม ทมา : มพๆสุดโสมชาดท รสิดินิบาต สุ.ชา. ๒(ง/๙ทะฬ โย จีธ สงขาย ปียานิ หิตวา กิจเฉนปี เสวดิ อริยรมุเม ทุกฃิโฅว ปีตุวาน ยโถสธานิ เตเนว โส โหติ อุ[ขี ปรตฺถ ฯ แปล : ผู้ใดพิจารณาได้แล้วสลัดทิ้งของรักเสีย หันกลับ มาซ่องเสพอารยธรรม แม้จะลำบากใจเหมือนคนไข้หนัก ทนดื่มยาก็ตาม ผู้นั้นย่อมจะได้รับความสุขในภายภาค หนัา ฯ จาคกถา ว่าด้วยความเสียสละ ที่มา : มหาสุดโสมชาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา.๒๘/๙๘ต จเช ธนํ องฺควรสส เหดู องคํ จเช ชีวิตํ รคุฃมาโน องฺคํ ธนํ ชีวิตญจาปี สพฺฟ้ จเช นโร ธมุมมทุสฺสรนฺโต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๑๓ แปล : นรซนพึงสละทรัพย์ เพี่อรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะ เพี่อรักษาชีวิต เมื่อนึกถึงคุณธรรม พึงสละทุกอย่าง ทั้งทรัพย์ อวัยวะ แม้กระทั่งชีวิต ฯ อสตสมาคมกถา ว่าด้วยการสมาคมกับคนไม่ดี ที่มา : มหาสตโสมขาดก อสีตินิบาต ชุ.ขา.๒๘/๙๙๗ กาฬปคุเฃ ยถา จนฺโท หายเตว อุ[เว อุ[เว กาฬปคุฃูปโม ราช อสตํ โหติ สมาคโม ฯ แปล ดวงจันทร์ในช่วงข้างแรมย่อมอ่อนแสงลงทุกวัน^ ฉันโต การสมาคมกับคนไฝดีก็มีอุปมาเหมือนช่วงข้างแรม ฉันนั้น ฯ สตสมาคมกถา ว่าด้วยการสมาคมกับคนดี ที่มา : มหาสุตโสมขาดก อสีตินิบาต ชุ.ขา. ๒๘/๙๙๙ อุ[ฤกปคุเฃ ยถา จนุโท วฑฒเฅว อุ[เว อุ[เว อ[ุ กกปกขูปโม ราช สตํ โหติ สมาคโม ฯ แปล : ดวงจันทร์ในช่วงข้างขึ้นย่อมสว่างขึ้นทุกวัน ๆ ฉันใด การสมาคมกับคนดีก็มือุปมาเหมือนช่วงข้างขึ้น ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ นโหติกถา ว่าด้วยเป็นไม่จริง ที่มา : มหาสุตโสมซาดก อสีตินิบาต ข.ซา. ๒๘/๑00๔ น ใส ราชา ใย อเชยุยํ ชินาติ น ใส สฃา ใย สฃารํ ชินาติ น สา ภริยา ยา ปติใน น วิเภติ น เต 1^ตุคา เย น ภรนติ ชิณล3 ฯ แปล : ราชาที่มุ่งเอาชนะคนที่ไม่ควรเอาชนะ ไม่ซื่อว่าราชา เพื่อนที่มุ่งเอาชนะเพื่อน ไม่ซื่อว่าเพื่อน ภรรยาที่ไม่ ยำ เกรงสามี ไม่ซื่อว่าภรรยา ลูกที่ไม่เลี้ยงดูพ่อแม่ผู้ แก่เฒ่า ไม่ซื่อว่าลก ฯ สันตกถา ว่าด้วยบัณฑิต ที่มา : มหาสุดโสมซาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา.๒๔/๑00๕ น สฺา สภา ยฅถ น สนุติ สนใด น เต สนุใต เย น ภณนติ ธมมํ ราคญจ ใทสญจ ปหาย ใมหํ ธมฺมํ ภณนุตาว ภวนติ สนุใต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๑๕ แปล : ที่ประชุมที่ไม่มีบัณฑิต ไม่ซื่อว่าที่ประชุม คนที่ไม่ พูดถึงธรรม ไม่ซื่อว่าบัณฑิต ต่อเมื่อละราคะ โทสะ และโมหะได้ พูดถึงธรรมเท่านั้น จึงจะซื่อว่าบัณฑิต ฯ อมิตตทุพภีกถา (๑) ว่าด้วย^ม่ประทุษร้ายมิตร ที่มา : เตมิยชาดก มหานบาต ชุ.ซา.๒๔/๑0๒0 ยํ ยํ ชนปทํ ยาติ นิคฒ ราชธานิโย สพฺพตุถ ชุ]ชิโฅ โหติ โย มิตุตานํ น ทุพภติ ฯ แปล : คนที่ไม่ประทุษร้ายมิตรจะไปยังที่ใดๆ ไม่ว่าจะเป็น แว่นแคว้นแดนตำบลหรือเมืองหลวง ย่อมได้รับการ ยกย่องบซาทกแห่ง ฯ อมิตตฑุพภีกถา(๒) ว่าด้วย^ม่ประทุษร้ายมิตร ที่มา : เตรยชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๔/๑0๒๒ อชุทุโธ สฆรํ เอติ สภาย ปฎินนทิโต ณาตีนํ ทุตฅโม โหติ โย มิตุตานํ น ชุพูภติ ฯ แปล : คนทีไม่ประทุษร้ายมิตรอยู่ที่บ้านตัวเองก็ไม่ขุ่นใจ อยู่ในที่ประชุมก็มีคนยินดี อยู่ในหมู่ญาติก็เป็นคนเด่น ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปฏิลาฟิคลา ว่าด้วยการได้สิงตอบแทน ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๑0๒ฅ,๑0๒๔ สกกตฺวา สฤกโต โหติ ครุ โหติ สการโว ฯ \\เชโก ลกเต \\เชํ วนทโก ปฎิวนุทนํ ฯ แปล : ส์'กกๆระเขา เขาก็จะสักการะตอบ เคารพเขา เขา ก็จะเคารพตอบ บูชาเขา ย่อมได้บูชาตอบ ไหว้เขา ย่อมได้!หว้ตอบ ฯ นมิตตทุพภีกถา ว่าด้วย^ฝประทุษร้ายมิตร ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๘/๑0๒๕ อฤคิ ยถา ปชุชอติ เทวตาว วิโรจติ สิริยา อชุชหิโต โหติ โย มิตตานํ น ทุพภติ ฯ แปล : คนที่ไม่ประทุษร้ายมิตรย่อมโชติช่วงเหมือนกองไฟ ย่อมรุ่งเรืองเหมือนเทวดา ทั้งจะไม่ถูกสิริโชคทอดทิ้ง ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๑๗ วัณณifจจยกลา ว่าด้วยสาเหตุที่ผิวพรรณผ่องใส ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ข.ซา. ๒๘/๑©๙๗ อดีดํ นาใ4โสจามิ นปปชปปามินาคตํ ปจจปปนฺฌน ยาเปมิ เตน วณุโณ ปสีทดิ ฯ แปล : สิงที่ผ่านไปแล้ว ข้าฯ มิได้เศร้าสร้อยถึง สิงที่ยัง ไม่มิมา ข้าฯ ก็มิได้วาดหวัง ข้าฯ เป็นอยู่ด้วยสิงที่มีอยู่ เฉพาะหน้าเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ผิวพรรณจึงผ่องใส ฯ นฬกถา ว่าด้วยอปมาเหมือนต้นอ้อสด ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๔/๑©๙๘ อนาคตปุปปชปปาย อดีตสสานุโสจนา เอเตน พาลา อุ[สสนุติ นโฬว หริโต ลูโต ฯ แปล : เพราะมัวแต่คาดหวังถึงสิงที่ยังไม่มีมา เพราะมัว แต่เศร้าสร้อยถึงสิงที่ผ่านไปแล้ว พวกคนเขลาจึงซีดเฉา ลงเรื่อย ๆ เหมือนด้นอ้อสดที่ถูกตัดโยนไว้กลางแดด ฯ www.kalyanamitra.org

๒๑๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ พรหมจริยากถา ว่าด้วยประพฤติพรหมจรรย์ ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙๑๑0๔ คูวา จเร พรหมจริยํ พฺรหฺมจไรื คูวไ สิยา ฯ แปล : คนหนุ่มควรประพฤติพรหมจรรย์ ผู้ประพฤติ พรหมจรรย์ควรเป็นคนหนุ่ม ฯ ฑหรกถา ว่าด้วยคนหนุ่มคนสาว ที่มา : เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๙๑๑อ๘ ทหราปี หิ มียนฺติ นรา จ อถ นาริโย ตตุถ โก วิสสเส โปโส ทหโรมุหีติ ชีวิเต ฯ แปล : ถึงจะยังหนุ่มยังสาวก็ตายได้ ไม่ว่าชายหรือหญิง ดังนั้น ใครเล่าควรจะวางใจในชีวิตว่าเรายังหนุ่มยังสาว อย่ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๑๙ อายุกถา ว่าด้วยอายุของมนุษย์ ที่มา : เตมิยซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๘/๑๑๑๔ ยถา วาริวโห ชุเโร คชุฉํ น ปริวตุตฅิ เอวมา^ มใ4สุสาน คจฉํ น ปริวดดดิ ฯ แปล แม่นํ้าที่เต็มล่งไหลรุดหน้าเรื่อยไป ไม่ย้อนกลับ ฉันใด อายุของมวลมนุษย์ก็เดินหน้าเรื่อยไป ไม่หวน กลับ ฉันนั้น ฯ พหูชนกถา ว่าด้วยคนเป็นอันมาก ที่มา : เตมิยซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๘/๑๑๒๗ สายเมเก น ทิสุสนฺติ ปาโต ฑิฏฮา พชุเ ชนา ปาโต เอเก น ฑิสุสนติ สายํ ฑิฏฮา พดู ชนา ฯ แปล : คนเป็นอันมาก ตอนเช้ายังพบกันอปูเลย ครั้นตกเย็น กลับไม่เห็นกันเสิยแล้ว ตอนเย็นยังพบกันอปู ครั้นตอน เช้ากลับไม่เห็นกันเสิยแล้ว ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ วายามกถา ว่าด้วยคุณค่าของความพยายาม ที่มา : มหาชนกชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๔/๑๑ฅ๑ นิสมม วฅตํ โลกสุส วายามสส จ &ทวเด ตสมา มชเฌ ส94ทุทสฺมึ อปสุสนตีรมา^เห ฯ แปล : แม่เทพธิดา ข้าพเจ้าพิจารณาถึงธรรมเนียมของโลก และเชื่ออานิสงส์ของความพยายาม เหตุนั้นข้าพเจ้า จึงยังพยายามแหวกว่ายอยู่ท่ามกลางทะเล แม้จะแล ไม่เห็นฝืงฯ ทติยคติกลา ว่าด้วยคติของการอย่กับเพื่อน ที่มา : มหาชนกชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๘/๑๒๙๒ สงุฆฎฎา ชายเต สทุโท ทุติยสเสว สา คติ ฯ แปล : เพราะกำไลสองอันกระทบกันจึงเกิดเสียง อยู่กับ เพื่อนก็มีคติอย่างนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๒๑ เอกัตฅกถา ว่าด้วยการอยู่คนเดียว ที่มา : มหาชนกชาดก มหานิบาต ข.ชา. ๒๘/๑๒๙๔ วิวาทปุปตุโต ทุติโย เกฌโก วิวทิสสติ ฅสส เต สคคกามสฺส เอกตุตมุปโรจตํ ฯ แปล : มีคนที่สองอยู่ด้วยจึงทะเลาะเานได้ อยู่คนเดียวจะ ทะเลาะกับใคร ดังนั้น ผู้ปรารถนาสวรรคในโลกนี้จง พอใจที่จะอยู่คนเดียวเถิด ฯ มาตาปีตุโปสกกลา ว่าด้วยผู้เลี้ยงดูบิดามารดา ที่มา : สุวัฌณสามชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๘/๑๔๑๙ โย มาตริ ปีตริ วา มจโจ ธมเมน โปสติ อิเธว นํ ปสํสนุติ เปชุจ สคเค ปโมทติ ฯ แปล : ผู้ใดเลี้ยงดูบิดามารดาตามธรรมเนียม ผู้นั้นอยู่ใน โลกนี้ผู้คนทั้งปวงก็สรรเสริญ ตายไปแล้วก็จะรื่นเริงอยู่ บนสวรรค์ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๒ คลังธรรม [พระธรรมกั้ตติวงส์ อัตถจริยากถา ว่าด้วยการบำเพ็ญประโยซใ4 ที่มา : มโหสรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๔/๑๖๔๕ ยสุเสว ฆเร ฦณฺเชยุย โภคํ ตสเสว อตฺถํ ใ^ริโส จเรยุย ฯ แปล : ได้กินไ^ซ1ภคทรัพย์ที่บ้านใคร ควรทำประโยซนโห้ เขาบ้าง ฯ อนารยกถา ว่าด้วยอนารยซน ที่มา : มโหสรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๙๑๖๖๗ อนริยฐโป ปุริโส ชนินท อหีว อจจงุกคโต ฑเสยุย น เคน มิฅตึ กยิรไถ ธีโร ทุกโข หเว กา1]ริเสน สงคโม ฯ แปล : อันอนารยชนคนชั่วนั้นเปรียบเหมือนงูที่อยู่ในพก อาจแว้งกัดได้เสมอ ผู้มืปัญญาไฝควรผูกไมตรีกับผู้นั้น การอังคมกับคนชั่วมืแต่จะทำให้เดือดร้อน ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๒๓ มุฬหกถา ว่าด้วยคนงมงาย ทมา ; มหานารทกัสศปซาดก มหานิบาต ชุ,ซา. ๒๘/๒๒๕๑ มุฬุโห หิ ชุฬหมาคมฺม ภิยโย โมหํ นิคชุฉติ ฯ แปล : คนงมงายมาคบหากับคนงมงาย ย่อมจะงมงายกัน ยิ่งขึ้น ฯ ปุริสภาวกลา ว่าด้วยปรารถนาเป็นชาย ทมา : มหานารทกัสสปซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๒ต'๔ โย อิชุเฉ 1Jริโส โหดู๊ ชๅตึ ชาตี ปุนปijiJ ปรฑารํ วิวชุเชยุย โธตปาโทว กทุทมํ ฯ แปล ชายใดปรารถนาจะเปีนชายทุกซาติไปก็พึงงดเว้น ล่วงเกินภรรยาของผู้อี่นเสีย เหมือนคนที่ล้างเท้าแล้ว หลบโคลนฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อิตถีภาวกถา ว่าด้วยปรารถนาเป็นหญิง ที่มา : มหานารทกัสสปซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๒๙๕ ยา อิชุเฉ า^ริโส โหดุ๊ ชาตี ชาตี ปุนป.!]นํ สามิกํ อปจาเยยุย อินุทํว ปริจาริกา ฯ แปล : หญิงใดปรารถนาจะเป็นชายทุกชาติไป ก็พึงยำเกรง สามีของตน เหมือนเหล่านางอัปสรยำเกรงองค์อินทร์ ฉะนั้น ฯ ทิพพกถา ว่าด้วยปรารถนาสมบัติทิพย์ ที่มา : มหานารทกัสสปซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๘/๒๒๙๖ โย อิจเฉ ทิพ.พโภคฌฺจ ทิพุพมายุ ยสํ สูขํ ปาปานิ ปริวชุเชดวา ติวิธํ ธม.มมาจเร ฯ แปล ปรารถนาโภคทรัพย์๑ อายุ๑ ยศ® สุข® ที่ปานของทิพย์ ผู้นั้นต้องเว้นการทำบาปอกุศลแล้ว ประพฤติสุจริตธรรม ฅ ประการ ฯ www.kalyanamitra.org

และคพะ] ท}ทด a ๒๒๕ อนามันตกถา ว่าด้วยกิจที่ทำโดยไม่ปรึกษากัน ทมา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒ต๖๙ อนามนุตกตํ กนุมํ ตํ ปชุฉๅ อนุตปฺปติ ฯ แปล : กิจกรรมที่ทำไปโดยไม่มีการปรึกษากันย่อมทำให้ เดือดร้อนภายหลังได้ ฯ ฆราวาสธัมมกถา (๑) ว่าด้วยธรรมของผู้ครองเรือน หมา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๔๖๔ สีลวา วตฅสนุปนุโน อปุปมตุโต วิจคุขโณ นิวาตๅตุติ อตุลทุโธ อุ[รโต สฃิโล มุชุ ฯ แปล ผู้อยู่ครองเรึอนควรเป็นคนมีดืลธรรม มีระเบียบ สมบูรณ์ ไม่ประมาทมัวเมา มีวิลัยทัศน์ ประพฤติ อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ตระหนี่ สงบเสงี่ยม พูดจาจับใจ และอ่อนโยน ฯ www.kalyanamitra.org

lalsb คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ฆราวาสธัมมคลา(๒) ว่าด้วยธรรมของผู้ครองเรือน ที่มา ; วิธุรชาดก มหานิบาต ข.ซา.๒๘/๒๔๖๕ สงคเหตา จ มิตุฅานํ สํวิภาคี วิธานวา ฅปฺเปยุย อนุนปาเนน สทา สมณพราหมเณ ฯ แปล : ผู้ครองเรือนควรช่วยเหลือมิตรสหาย รู้จักแปงปัน เข้าใจจัดการ บำรุงเลี้ยงสมณพราหมณ์ด้วยข้าวนํ้าทุก เมื่อ ฯ ฆราวาสธัมมกถา(๓) ว่าด้วยธรรมของผู้ครองเรือน ที่มา : วิอรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๘/๒๔๖๖ ธมมกาโม ลุ[ตาธาโร ภเวยย ปริ1]จฉโก สฤกจจํ ปยิรุปาเสยย สีลวนุเต พชุสลุ[เต ฯ แปล : ผู้ครองเรือนควรรักคุณธรรม จดจำอรรถธรรมที่ได้ ฟ้งมา หมั่นไตํถาม หมั่นเข้าหาท่านผู้ทรงสิล ผู้เรียน ร้มาก ด้วยความเคารพนบนอบ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๒0$ วาจากถา ว่าด้วยการพูด ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ข.ซา.๒๙๒๕0๗ นาติเวลํ ปภาเสยย น ดูณุหื สพพทา สิยา อวิคิณฺณํ มิตํ วาจํ ปดเต คาเส ^ทีรเย ฯ แปล : ไฝควรพูดเกินขอบเขต แต่ไม่ควรนิ่งเสมอไป เมื่อถึง เวลากิควรพูดแต่ถ้อยคำพอประมาณ ไม่พราเพรื่อ ฯ ราชเสวกกถา (๑) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๙๒๔๘๔ นาติสูโร นาติทุมเมโธ นปปมตุโฅ ทุทาจนํ ฯ แปล ข้าราชการอย่ากล้าเกินไป อย่าที่มเกินไป อย่า ประมาทพลั้งเผลอ ไม่ว่าเวลาไหน ฯ www.kalyanamitra.org

๒๒๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ราชเสวกกถา (๒) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/เอ๔๘๖ ตุลา ยถา ปคคหิตา สมทฉเฑา อุ[ธาริฅา อชุฌิฏโฉ น วิกมฺเปยุย ส ราชวสตี วเส ฯ แปล : ข้าราชการจงทาตัวเหมือนดังตราซูที่ถูกประคองให้มี ตันเที่ยงตรงเสมอ เมื่อเจ้านายไม่เรียกไข้ ก็อย่าหวั่นไหว ห้อแห้ ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่ในวงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๓) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๕๘๗ ตุลา ยถา ปคุคหิตา สมทณฑา สุธาริตา สพพานิ อภิสมโภนโต ส ราชวสตี วเส ฯ แปล ข้าราชการจงทำตัวเหมือนตังตราซูที่ถูกประคองให้ มืตันเที่ยงตรงเสมอ พึงปฏิบัติหน้าที่ทุกอย่างด้วย ความเที่ยงตรง ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่ในวง ราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๒^ ราชเสวกกถา (๔) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙๒๔๘๔ ทิวา วา ยทิ วา รตตึ ราชกิจiจอุ[ ปณฑิโต อชุฌิฎโ® น วิกมฺเปยุย ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล ข้าราชการควรฉลาดโนงานราชการทั้งปวง เมื่อถูก ใช้งานไฝว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืนก็อย่าได้หวั่นไหว ท้อแท้ ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยูในวงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๕) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๔๙๔ อบุทุธโต อจปโล นิปโก สํๅตินุทุริโย มโนปณิธิสมปนฺโน ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการไม่ควรฟ้งซ่าน ไม่คะนองกายวาจา ควร รู้รักษาตัวรอด ระวังหูตาโท้ดี มีความตั้งใจพร้อมมูล ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยูโนวงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ราชเสวกกถา (๖) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ข.ซา.๒๙๒๔๙๖ น นิทฺทํ พชุ มญฒยย น มทาย ชุรํ tin นาสส ทาเย มิเค หญเณ ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล ข้าราชการอย่าเห็นแก่นอนมากนัก อย่าดื่มสุราจน เมามาย อย่าฆ่าสัตว์ในป้าสงวน ผู้ประพฤตได้เซ่นนั้น จึงสมควรอย่ในวงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๗) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๙๒๕0๘ อกโกธโน อสง.ฆฏุโฏ สจโจ สณโห อเปธุ[โณ สมุผํ คิรํ น ภาเสยุย ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการอย่าเป็นคนมักโกรธ อย่าพูดกระทบใคร ควรพูดจริง พูดอ่อนหวาน ไม่พูดเสียดสี ไม่พูดเพ้อเจึอ ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่ในวงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๒๓๑ ราชเสวกกถา (๘) ว่าด้วยหลักราชการ ทมา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๔/๒(ร:0๙ มาตาเปติภโร อสส ภูเล เชฏ«าปจายิโก สญโห สฃิลสมภาใส ส ราชวสตี วเส ฯ แปล : ข้าราซการต้องเลี้ยงดูบิดามารดา ต้องอ่อนน้อม ถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ในตระกูล พูดจาอ่อนหวานไพเราะ ต่อท่านเหล่าใ!น ผู้ประพฤติไต้เซ่นใ!นจึงสมควรอยู่ในวง ราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๙) ว่าด้วยหลักราชการ ทมา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๘/๒๕๑อ วินึโฅ สิปุปวา ทนุโฅ กฅตใส นิยใฅ มุธุ อปฺปมฅใฅ ลุ[จิ ทกใฃ ส ราชวสตี วเส ฯ แปล ข้าราชการควรไต้รับการแนะนำมาดีแล้ว ควรมี ติลปวิทยา สิกฝนตนมาแล้ว ทาประโยชน์ เป็นคน มั่นคง อ่อนโยน ไม่ประมาท มีอสะอาด ขยันทำงาน ผู้ประพฤติไต้เซ่นใ!นจึงสมควรอยู่ในวงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ราชเสวกกถา (๑๐) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙๒๕๑๑ นิวาตวุตุติ าฑุเฒสู สปฺปติฟ้ส สคารโว อุ[รโต อุ[ฃสํวาโส ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการควรประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน มีความ เคารพยำเกรงในผู้มีอาวุโสสูงกว่า เป็นผู้สงบเสงี่ยม อยู่ด้วยได้อย่างสบาย ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควร อยูในวงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๑๒) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙๒๕๑ต สมเณ พุราหมเณ จาใเ เอวนุเต พชุลุ[อุ[เต สฤกจจํ ปยิรุปาเสยุย ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการพึงเข้าหาสมณพราหมถ่รผู้ทรงสืล ผู้คง แก่เรียน ด้วยความเคารพนบนอบ ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้น จึงสมควรอยู่ในวงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๓๓ ราชเสวกกถา (๑๒) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๘/เอ๕๑๘ ปลเณวา ทุทุธิสมฺปนโน วิธานวิธิโกวิโท กาลญญ สมยผญ จ ส ราชวสดึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการจะต้องมีป้ญญา มีจิตสำนึกสมบูรณ์ ฉลาดในการจัดการและวิธีทางาน รู้จักกาล(ทำบุญ) และสมัย(ทำกิจ) ผู้ประพฤติไต้เซ่นนั้นจึงสมควรอยูใน วงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๑๓) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๙๒๕๑๙ ฮาดา กมมเธยุเยฤ[ อปปมตุโฅ วิจฤขโณ อุ[สํวิหิตกมมนฺโต ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล ข้าราชการจะต้องขยันในการปฏิบัติราชการ ไม่ ประมาทพลั้งเผลอ มีวิสํยทัศน์ จัดแจงงานราชการ ให้สำเร็จต้วยดี ผู้ประพฤติไต้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่ใน วงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ราชเสวกกถา (๑๔) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรขาดก มหานิบาต ข.ซา.๒๘/๒๕๒ฅ สีลวา อโลโภ จ อบุวฅุโต จ ราชิโน อาวี รโห หิโฅ ตสส ส ราชวสตึ วเส ฯ แปล : ข้าราชการควรมีสิล ไม่โลภมาก อนุวัติตามเจ้านาย เข้าไว้ ทำ สิงที่เป็นประโยซนโฟ้เขาทั้งต่อหน้าและลับหลัง ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่โนวงราชการ ฯ ราชเสวกกถา (๑๕) ว่าด้วยหลักราชการ ที่มา : วิธุรขาดก มหานิบาด ชุ.ขา. ๒๘/๒๕๒๔ ฉนทณุญ ราชิโน จสุส จิต.ฅฎโ« จสฺส ราชิโน อสงคูสกๅตุติสส ส ราชวสตี วเส ฯ แปล : ข้าราชการควรรู้จักอัธยาสัยของเจ้านาย ควรปฏิบัติ ตามใจเจ้านาย อย่าประพฤติตัวเป็นเสัยนหนามกับเจ้านาย ผู้ประพฤติได้เซ่นนั้นจึงสมควรอยู่ในวงราชการ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๒๑)๕ มิตตทุพภกถา ว่าด้วยผู้ทรยศเพื่อน ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๔/๒๕๘ฅ ยสฺเสกรดดิมุปี ฆเร วเสยย ยฅถนนปานํ ใ^ริโส ณภถ น ฅสส ปาป๋ มนสาปี จินตเย อสุลญจ ปาณี ทหเต มิดฅชุพฺโภ ฯ แปล : ได้พักอาสัยอยู่ที่บ้านใครแม้เพียงคืนเดียว หรือได้ ข้าวได้นํ้าที่บ้านใคร ก็ไม่ควรคิดร้ายผู้นั้น ผู้มีจิตคิดร้าย เขา ซื่อว่าเผามีอที่ชุ่ม และซื่อว่าผู้ทรยศเพื่อน ฯ อหิตกถา ว่าด้วยสิงที่ไม่เป็นประโยชน์ ที่มา : วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๘/๒๕๙อ ยํ เว นรสุส อหิดาย อสุส น ตํ ปญโณ อรหติ ทสุสนาย ฯ แปล ส์งใดไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้คน ผู้มีป้ญญาไม่ควรเสิย เวลาดูส์งนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๒๓๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวง {[ณฑิตหทยกลา ว่าด้วยหัวใจนักปราชญ์ ที่มา : วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ขา. ๒๘/๒๖๔๗ ปณุณา หเว หฑยํ ปณุฑิตานํ ฯ แปล : ปัญญานั่นแลเป็นหัวใจของนักปราชญ์ ฯ อริยฑัสสนกถา ว่าด้วยการพบเห็นอารยซน ที่มา : เวสสันดรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๘/ฅอฅ๘ สาทุ ทสุสนมริยานํ สนนิวาใส สทา ธ[ุ โข ฯ แปล : การพบเห็นอารยซนเป็นความดี การอยู่ร่วมกับอารยซน นำสุขมาให้ทุกเมื่อ ฯ สันตาสันตกถา ว่าด้วยคนดีและคนไม่ดี ที่มา : เวสสันดรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๘/ต(ท0๘ อสนฺโต นิรยํ ยนุติ สนุโฅ สคฺคปรายนา ฯ แปล คนไม่ดีย่อมตกนรก คนดีย่อมขึ้นสวรรค์ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๏ ๒๓๗ มาตาปีตุทุกฃกถา ว่าด้วยการเปลื้องทุกข์ให้บิดามารดา ที่มา : เวสส์นตรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา.๒๙ต๔๒๕ เยน เกนจิ วณเณน ชดู ชุฤขํ อุฑพ.พเห มาดูยา ภคินิยาปี อปี ปาเณหิ อด.ตโน ฯ แปล ะ อันความทุกข์ของบิดามารดาหรือของพี่ฟ้องที่งเกิดขึ้น ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งชอบที่บุตรธิดาจะช่วยกันปลดเปลื้องให้ แม้ว่าจะด้องถึงกับสละชีวิตก็ตาม ฯ พฑธานุสาสนีกถา ว่าด้วยพระพุทธานศาสนี ที่มา : ฃุ.จริยา. ฅ๙๖๕๘ วีริยารมฺภญจ เขมโฅ เอสา ทุท.ธาบุสาสนี ฯ โกสชุชํ ภยโฅ ฑิสุวา อารท.ธวิริยา โหถ แปล ; ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านว่าเ{เนภัย และ เห็นการปรารภความเพียรว่าเป็นความปลอดภัย แล้ว ปรารภความเพียรเถิด นี้เป็นพุทธานุสาสนี ฯ www.kalyanamitra.org