Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๑

Description: คลังธรรมเล่ม๑

Search

Read the Text Version

๑๓๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ นิราสากถา ว่าด้วยผ้ปราศจากความหวัง ที่มา : สีลวีมังสชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗^๒0 สุขํ นิราสา ธุ[ปติ อาสา ผลวติ อุ[ขา ฯ แปล เมื่อปราศจากความหวังก็หลับสบาย เพราะความ หวังที่ส์าเร็จผลจึงจะนำสขมาให้ ฯ นสาธุกถา ว่าสัวยคนไม่ดี ที่มา : รถลัฎฐิชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๖๒๘ อลโส คิหี กามโภคี น สาธุ อสญผโด ปพฺพชิโฅ น สาธุ ราชา น สาธุ อนิสมฺมการี โย ปณฺฑิโค โกธโน ตํ น สาธุฯ แปล คฤหัสถ์ผู้บริโภคกามเกียจคร้าน ไม่ดี บรรพชิตไม่ สำ รวม ไม่ดี พระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงใคร่ครวญก่อน ปฏิบัติราชกิจ ไม่ดี บัณฑิตมักโกรธ ไม่ดี ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๏ ๑๓๙ ปงควกลา ว่าด้วยโคจ่าฝูง ที่มา : ราโซวาทชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗A)m๔ ควญเจ ดรมานานํ ชิมุหํ คจฉติ ใ คโว สพพา คาวี ชิม.หํ ยนฺติ เนต.เต ชิม.หํ คเต สติ ฯ แปล : เมื่อฝูงโคว่ายข้ามแม่นํ้ๆอยู่ ถ้าโคจ่าฝูงว่ายคดเคี้ยวไป โคทั้งหลายก็ย่อมว่ายคดเคี้ยวตามไปด้วยในเมื่อผู้นำพา ไปคดเคี้ยวอย่างนั้น ฯ ปริกฃวันตกลา ว่าด้วยผู้รอบคอบ ที่มา : ซัมทุกซาดก จตุกกนิบาด ชุ.ซา. ๒๗/๖๔๑ โย จีธ คมุมํ ^แต ปมาย ถามพลํ อต.ตนิ สํวีทิต.วา ชปเปน มนเตน อุ[ภาสิเตน ปริกขวา โส วิใ ชินาติ ฯ แปล : ผู้ใดรู้ถึงเรี่ยวแรงและกำลังของตนทั้งทางความรู้ ทางที่ปรึกษาผู้รู้ ทางวาจาสุภาษิต พิจารณาใคร่ครวญ กํอนแล้วลงมือทำงาน ผู้นั้นจัดว่าเป็นผู้รอบคอบ ย่อมมื ชัยอย่างไพบูลย์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๔๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อมิฅตวสกถา ว่าด้วยผู้ตกอยู่ในอำนาจสัตรู ที่มา : วานรชาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา. เอ๗/ร;)๖๘ โย จ ปติดํ อดถํ น ขิปฺปม ชุผฅิ อมิตดวสมฌฺวดิ ปจฺฉา จ อใjฅปฺปติ ฯ แปล : ^ดฺไม่รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วโดยฉับพลัน ผู้ นั้นจะต้องตกอยู่ในอำนาจของสัตรูและจะต้องเดือดร้อน ในภายหลัง ฯ กาลัณณุตากถา ผิ ^ ว่าด้วยความรู้จักกาล ที่มา : คซคุมภขาดก จตุกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๖๘๑ โย ทนฺธกาเล ทนฺเธติ ฅรณืเย จ ตารยิ สสีว รตุตี วิภชํ ตสุสตุโถ ปริชุ]รติ ฯ แปล : ผู้ใด ในเวลาที่ควร'ราก็ซ้า และในเวลาที่ควรรีบเร่ง ก็รีบเร่ง ประโยชน์ของผู้นั้นย่อมบริบูรณ์ เหมือนดวง จันทร์ส่องแสงสว่างในเวลากลางคืนฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ G>d& ปรวจนกลา ว่าด้วยคำพูดของคนอื่น ที่มา : วัณณาโรหชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๗๖๔ โย ปเรสํ วจนๆนิ สทุทเหถ ยลาตลํ ฃิปป็ ภิชุเชล มิด.ตสมึ เวรลเจ ปสเว พชุ๊ ฯ แปล : ^ดเซื่อคำของคนอื่นเป็นจริงเป็นจัง ผู้นั้นย่อมพลัน แตกจากมิตร ซํ้ายังจะต้องประสบเวรเป็นอันมาก ฯ สืลุตตมกลา ว่าด้วยสืลยอดเยี่ยม ที่มา : สีลวีมังสชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๗๖๗ โมฆา ชาติ จ วณุโณ จ สีลเมว กิเตตมํ สีเลน อบุเปตสุส อุ[เดนตุโล น วิชุชติ ฯ แปล : ชาติกำเนิดก็ดี วรรณะก็ติ เป็นเรื่องเหลวเปล่า ฟ้ง มาว่าติลเท่านั้นยอดเยี่ยมที่สุด เมื่อปราศจากสืลเสีย แลว สุตะ (การคํกษา) ก1ริประโยชน์ ฯ www.kalyanamitra.org

คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สุทธสีลกลา ว่าด้วยสืลที่บริสุทธ ที่มา : สีลวีมังสชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๗๗© น เวทา สมปรายาย น ชาติ นปี พนุธวา สกณจ สีลสํอุ[ทุธํ สมปรายอุ[ขาวหํ ฯ แปล : ความรู้ ชาติกำเนิด และพวกพ้อง ก็นาความเป็น ใหญ่และความสุขมาใหในชาติหน้าไม่ได้ สืลที่บริสุทธิ้ ของตนเท่าใ!นนำความสุขมาใหในชาติหน้าได้ ฯ อกัลยาณมิตตกลา ว่าด้วยผู้มิใช่มิตรแท้ หมา : หิริชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๗๗๑ หิรินตรนุตํ วิชิธุจฉมานํ ดวาหมสฺมิ อิติ ภาสมานํ เสยยานิ กมฺมานิ อนาทิยนดํ เนใส มมนุติ อิติ นํ วิชญฌา ฯ แปล : คนทีไม่อายใจ ยังรังเกียจมิตรอยู่ ดีแต่พูตว่าเรายัง เป็นเพื่อนกัน แต่ไม่เคยหยิบยื่นสิงที่ดี ๆ ให้ พึงรู้เถิตว่า เขามิใช่มิตรแห้ของเรา ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๔๓ รสกถา ว่าด้วยรส ที่มา : หิริชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ขา. ๒๗/๗๗๕ ปวิเวกรส์ ใเตฺวา รสํ อุปสมสุส จ นิทุทโร โหติ นิปปาโป ธมมปีติรสํ ปีวํ ฯ แปล : บุคคลได้ดื่มรสอันเกิดจากวิเวก รสแห่งความสงบ และรสคือธรรมปีติ ย่อมเปีน^ม่มีความกระวนกระวาย เปีนผ้หมดบาป ฯ ปชุฎฐปุคคฝืกอา ว่าด้วยผู้ประทุษร้ายคนอื่น ที่มา : สาลิยชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๗๙๕ โย อปุปา]ฎฺฮสส นรสุส า]สสติ อุาไธสส โปสสุส อนงคณสส ตเมว พาลํ ปจุเจติ ปาป อ[ุ ขโม รโช ปฏิวาตํว ฃิตุโต ฯ แปล : ^ดประทุษร้ายคนที่ไม่คิดประทุษร้ายดอบซึ่งเป็นคน บริสุทธิ้ ทั้งไม่มีความผิดอะไร บาปกรรมย่อมกลับมาหา คนพาลผู้นั้นเอง เหมีอนกับฟ้นละอองที่ถูกเป่าทวนลม ไปย่อมปลิวกลับมาหาคนเป่านั้นเองฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๑๔๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ วุฑฒิกถา ว่าด้วยความเจริญ ที่มา : ปลาสชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๘๑0 น ดสฺส ^ฑผิ ฤสลปฺปสตุลา โย วฑผมาโน ฆส&ด ปติฎฺธํ ตสุสูปโรธํ ปริสงฺกมาโน ปตารยื ยูลวธาย ธีโร ฯ แปล จำ เริญขึ้นแต่กลับไปทำลายที่พึ่งเรย ความเจริญ ของผู้นั้นท่านผู้ฉลาดไม่สรรเสริญ นักปราชญ์รังเกียจ การรื้อร่างร้านของเขา จึงได้พยายามที่จะตัดต้นตอเสิย ฯ เวรกถา (๑) ว่าด้วยเรื่องเวร ที่มา ะ ที?เติโกสลชาดก ปัญจกนิบาด ชุ.ชา. ๒๗/๔๑๕ อกโคจุฉิ มํ อวธิ มํ อชินิ มํ อหาสิ เม เย จดํ '^ปนยหนติ เวรํ เฅฐปสมมติ ฯ แปล : คนเหล่าใดไม่จองเวรกันไว้ว่า เขาต่าเราไว้ เขาทำ ร้ายเราไว้ เขาชนะเราไว้ เขาลักสิงของของเราไป เวร ของพวกเขาย่อมระงบลงได้ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๔๕ เวรกถา (๒) ว่าด้วยเรื่องเวร ที่มา : ทีฆีติโกสลชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๔®๖ น หิ เวเรน เวรานิ สมมนตีธ ภูทาจนํ อเวเรน จ สมุมนดิ เอส ธมุโม สนมุดโน ฯ แปล : แต่ไหนแต่ไรมาเวรทั้งหลายในโลกนี้ย่อมระงับไม่ได้ด้วย การจองเวร แต่จะระงับได้ด้วยการไม่จองเวร นี่เป็น ธรรมดาที่มีมาเก่าแก่ ฯ สุตกถา ว่าด้วยวิชาความรู้ ทีมา : ยูสิกชาดก ปัญจกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๔๒๘ สพุพํ ^มธีเยล หีนมุฤคฎฺฮมชุผิมํ สพฺพสุส อดลํ ชาเนยย น จ สพฺพํ ปโยชเย โหติ ฅาทิสโก กาโล ยตุถ อตฺถาวหํ สุตํ ฯ แปล ะ อันวิชาความรู้ควรสืกษาทุกอย่างไป ไม่ว่าจะเป็น วิชาชั้นด้น ชั้นสูง หรือชั้นกลาง ควรรู้ประโยชน์ของ ทุกวิชาที่สืกษา แต่ไม่ควรใช้วิชาทุกอย่างที่สืกษามา ย่อมมีสักเวลาหนี่งที่วิชาความรู้นั้น ๆ จะนำประโยชน์ มาใช้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๔๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ น1ไกขาป1^ญจคฝืา ว่าด้วยความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด ที่มา : เสตเกตุซาดก ฉักกนิบาต ข.ซา.๒๗/๔๕๒ ปาปานิ กมมานิ กริตวา ราช พา] โด ฌว จ&รยย ธมมํ สหสุสเวโทปี น ตํ ปฏิจฉ า}คขา ปา]ญจ จรณํ อปดวา ฯ แปล : มีความรู้มากแต่ชอบทำบาปกรรม ไฝประพฤติธรรม เลย ถึงจะรู้วิชาตั้งพนอย่าง เมื่อยังไม่ถึงการปฏิบัติตาม กอาสัยวิชานั้นฟ้นความเดือดร้อนไปไม่ได้ ฯ เวทจรณกถา ว่าด้วยผลของวิชาและจรณะ ที่มา : เสดเกตุซาดก ฉักกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๘๕๕ กิตุสิลเจ ปา!โปติ อธิจจ เวเท สนฺดึ ไ]เณติ จรเณน ทนโด ฯ แปล ะ ผู้เรียนวิชาจบย่อมได้รับเกียรติ ส่วนผู้ฝ็กฝนตนด้วย จรียธรรมย่อมได้พบส์นติ (พระนิพพาน) ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๔๗ นวสตีกถา ว่าด้วยสถานที่ที่ไม่ควรอยู่ ที่มา เนรซาดก ฉักกนิบาต ข.ซา. ๒๗/๘๖๔ อมานนา ยตฺถ สิยา สนตานํ วา วิมานนา หีนสมุมานนา วาปี น ตตฺล วสตี วเส ฯ แปล ในviใดไฝมีการนับถือคนดี มีแต่การดูถูกดูหมิ่นคนดี หรือมีแต่การยกย่องคนเลว คนดีย่อมไฝอยู่ในที่นั้นแล ฯ อวิเสสกรกถา ว่าด้วยสถานที่ทำให้คนแผกกันไม่ได้ ที่มา : เนรุซาดก ฉักกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๘๖๕ ยคุล อลโส จ ฑฤโข จ สูโร ภีเ จ \\|รยา น ดฤล สนโด วสมุตี อวิเสสคเร นเค ฯ แปล ะ ในที่ใด มีคนบูชาคนเกียจคร้านกับคนขยัน คนกล้า หาญกับคนขี้ขลาดว่าเสมอกัน สัตบุรุษย่อมไฝอยู่ในที่นั้น ซึ๋งเป็นภูเขาที่ทำคนให้แผกแตกต่างกันไฝได้ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๔๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ลักฃีอลักฃีกดา ว่าด้วยคนโซคดีโชคร้าย ที่มา : สิริกาฬลัณณิซาดก ฉักกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๘๙๗ อดดนา ลคขี อลคขี ฅนา ฬ หิ ลฤขี อลกขึ วา อผโผ อผผสส คารใค ฯ แปล : จะโซคดีตนก็ทำเอง จะโชคร้ายตนก็ทำเอง จะโซคดี หรือโซคร้าย จะมีใครอื่นมาทำให้อีกคนหนึ๋งได้เล่า ฯ ธัมมาทิกดา ว่าดวยธรรมฟ้นต้น ที่มา : ตุณฑิลซาดก ฉักกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๙ตต ธมุโม รหโท อกทุทโม ปา{เ เสทมลนุฅิ ๅจจดิ สึลผจ ฬวํ วิเลปนํ ฅสส คนฺโธ น กทาจิ ฉิชุชติ ฯ แปล : ธรรม บัณฑิตกล่าวว่าเป็นห้วงนํ้าที่ไฝมีเปีอกตม บาป บัณฑิตกล่าวว่าเป็นเหงื่อไคลและมลทิน และดีล บัณฑิตกล่าวว่าเป็นเครี่องลูบไลใหม่ ๆ ที่มีกลิ่นหอม ซึ๋ง ไม่รู้จักจางหายในกาลไหน ร ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๔๙ ญาติสังคหกถา ว่าด้วยการสงเคราะห์ญาติ ที่มา : มัยหกสคุณซาดก ฉักกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๙๔๔ ธีโร โภเค อธิคมม สงฺคณหาติ จ ผาดเก เดน ไส กิตุดึ ปปใปติ เปจจ สฤเค ปโมทติ ฯ แปล นักปราชญ์ย่อมอาสัยทรัพย์สมบัติสงเคราะห์ญาติ ร ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงได้รับเกียรติยศ ละโลกมี๋เ!ปแล้วกี บันเทิงอยู่บนสรวงสวรรค์ ฯ นิญชเคคฝืา ว่าด้วยฟ้ประนมกร ที่มา : ปัพพรตวิเหฐกซาดก ฉกกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๙๔๒ โย ฑิสฺวา ภิกชุ จรญปปนฺนํ ใเรคุฃิดวา ปณชลิโก นมสฺสติ ทิฎฺเจว ธมฺเม ลภเด ปสํสํ สคคญจ โส ยาติ สรีรเภทา ฯ แปล ะ ผู้ใดพบเห็นภิกษุผู้เพียบพร้อมด้วยจริยธรรมแล้ว ประนมกรนมัสการ ให้ท่านเป็นผู้นำทาง ผู้นั้นย่อมได้ การยกย่องสรรเสริญในป้จจุบัน เมื่อสินชีพแล้วย่อมได้ ขึ้นสวรรค์ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๕๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ เสวนากถา ว่าด้วยการคบหา ที่มา : มโนซชาดก ส์'ตตกนิบาต ชุ.ขา. ๒๗/๙๙๔ นิหียติ ใเริใส นิหีนเสวี น จ หาเยถ กทาจิ ชุฤยเสวี เสฎุฮ3{ปคมญจ ^เทติ ขิฟ่ป็ ตสุมา อตฺตโน คูตุตรํ ภเชถ ฯ แปล : คบหากับคนเลวย่อมเส์อมลง คบหากับคนที่เสมอกัน ย่อมไม่เส์อมในกาลไหน ๆ เมื่อคบหากับคนที่ดีกว่าย่อม เด่นขึ้นทันใด เพราะฉะนั้น พึงคบหาแด่ผู้ที่ดีกว่าตน ฯ ยาจนกถา ว่าด้วยการขอ ที่มา : อัฏฐิเสนซาตก สัตตกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑0ฅ๗ โย จ ยาจนชีวาโน กาเส ยาจํปี ยาจติ ปรฌจ ใ^ญณํ ลพเภติ อตตนาปีจ ชีวติ ฯ แปล : นักบวชผู้เ!เนอยู่ด้วยการขอ เมื่อขอสิงที่ควรขอ ในเวลาที่ควรขอ ย่อมทำให้ผู้อี่นได้บุญ ทั้งตนเองก็เป็น อยู่ได้ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๕๑ ทิสกถา ว่าด้วยผู้เป็นหัวหน้าคน ที่มา : กปีชาดก ส์'ตตกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๐๔๒ ฑิโส เว ลชุจิตตสส โปสสุสาบุวิธิยยโฅ ฯ แปล หัวหน้าคนอาจจะใจเบาไดในเมื่อมีผู้คอยคล้อยตาม ฯ ปริหารกกลา (®) ว่าด้วยผู้บริหารหมู่คณะ ที่มา : กป็ชาดก ส์ตตกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๐๔๔.๑๐๔๕ น สาธุ พลวา พาโล ยูถสุส ปริหารโก ฯ ธีโร จ พลวา สาธุ คูถสุส ปริหารโก ฯ แปล : ผู้บริหารหมู่คณะถึงจะมีกำลังอำนาจ แต่ถ้าเป็นคน โง่เขลา ก็เอาดีไม่ได้ ผู้บริหารหมู่คณะถ้าเป็นคนฉลาด และมีกำลัง จึงจะได้ผลดี ฯ ปริหารกกถา (๒) ว่าด้วยผู้บริหารหมู่คณะ ที่มา : กปีชาดก ส์ตตกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๐๔๗ ฅสุมา สุเลยยมตฺฅานํ สีลํ ปผุผํ สุด๊!เจ คณํ วา ปริหเร ธีโร เอโก วาปี ปริพพเช ฯ www.kalyanamitra.org

๑๕๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงเ^ แปล ดังนั้น ผู้ฉลาดพึงพิจารณาดูดัวเอง คือ ดูคืล ปัญญา และวิชาความรู้ของตน แล้วจึงค่อยบริหารหมู่คณะ หรือไฝก็ปลีกดัวอยู่ตามลำพังเสิย ฯ อัตถจารีกถา ว่าด้วยผู้บำเพ็ญประโยชน์ ที่มา ะ กปิชาดก ส์ตตกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑0๔๖ โย จ สีลผจ ปญผผจ จตดนิ ปรุ[สติ ^ภินฺนมฅถํ จรติ อดดใน จ ปรรุ[ส จ ฯ แปล : ผู้ที่พิจารณาเห็นคืล ปัญญา และวิชาความรู้ไนตน ย่อมบำเพ็ญประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นได้ครบทั้ง สองส่วน ฯ วาจากถา ว่าด้วยคำพ็ไม่ควรพูด ที่มา ะ คันธารชาดก คัดตกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑อ๕๙ แปล เยฬ เกนจิ วณฺเณน ปโร ลภติ รุปฺปนํ มหฅรยเทิเ เจ วาจํ น ฅํ ภาเสยย ปณุฑิโต ฯ บุคคลอื่นจะได้รับความเลียหายเพราะถ้อยคำอย่าง โตอย่างหนึ่ง ถ้อยคำนั้นถึงแม้ว่าจะมีประโยชน์มาก บัณฑิตก็ไม่ควรพูต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๕๓ สกพุทธิกถา ว่าด้วยจิตสำนึกในตัว ที่มา : คันธารชาดก คัดตกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑0๖0 โน เจ อสุส สกา ชุทุธิ วินโย วา สุสิคุฃิโต วเน อนุธมหึโสว จเรยย พชุโก ชโน ฯ แปล : ถ้าคนเราไม่มีจิตสำนึกในตัวหรือระเบียบวินัยที่ได้ รับสํงสอนมาอย่างดี ผู้คนจำนวนมากก็จะประพฤติตัว เหมีอนกับกระบีอปาตาบอดเที่ยวอาละวาดอยในปา ฯ กตัญญกถา ว่าด้วยคนกตัญญู ที่มา : ทัฬหธัมมชาดก คัตตกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑อ๔ต โย ใ เพ กตกลุยาโณ กฅฅโถ อนุทุชฌติ อฅถา ฅสุส ปวฑฒนุติ เย โหนุติ อภิปตุถิตา ฯ แปล ผู้ใดมีคนเคยทำความดีทำประโยชน์ให้แก่ตนมาก่อน ย่อมสำนึกในบุญคุณของเขา ประโยชน์ทั้งหลายที่ผู้นั้น ปรารถนาย่อมเจริญ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๕๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ฟ้ณฑิตากถา ว่าด้วยบัณฑิตสต1 ที่มา : สุลสาชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๑๖๒ น หิ สพุเพธุ[ ฮาฌอุ[ ijllส โหติ ปณฺฑิโต อิตุสืซ ปณุฑิตา โหติ ตตล ตตถ วิจกฃณา ฯ แปล : โซ่ว่าบุรุษเท่านั้นจึงจะเป็นบัณฑิตไดในทุกสถานการณ์ แม้สตรีผู้มีป้ญญาประจักษ์ในเหตุการณ์นั้นๆ ก็เป็น บัณฑิตได้เหมือนกน ฯ ธีรวิสยกถา ว่าด้วยวิลํโยนักปราชญ์ ที่มา : อินทริยชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๒อ๒ คิชุฉกาเล กิจุฉสโห โย กิจฉํ นาดิวดฺตดิ ส กิจฉนฺตํ อุ[ขํ ธีโร โยคํ สมธิคจฉติ ฯ แปล : ถึงคราวลำบากก็ทนลำบากได้ ไฝย่อท้อต่อความ ลำ บาก ผู้นั้นจัดว่าเป็นนักปราชญ์ ย่อมได้รับความสุข ซึ่งเป็นปลายทางแท่งความลำบาก ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๕๕ สาธุกถา ว่าด้วยชั้นแห่งความดี ที่มา : อินทริยชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๒0๔ ทกฺฃํ คหปตึ สาธุ สํวิภชุชญจ โภชนํ อหาไส อดถลา๓q อดลพยาฟ่ฅดิ อพยโถ ฯ แปล สำ หรับคฤหัสถ์ ความขยัน เป็นความดีซั้นต้น ไต้ ของกินแล้วแปงปันไป เป็นความดีซั้นสอง ไต้ลาภผล แล้วไฝระเริงใจ เป็นความดีซั้นสามฯ สุนีภตกถา ว่าด้วยสมบัติที่ขนออกดีแล้ว ที่มา : อาทิตดชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๒๑อ เอวมาที!!โด โลโก ชราย มรเณน จ นืหเรเถว ทาเนน ทินุนํ โหติ อุ[นีภฅํ ฯ แปล โลกถูกไฟชราและมรณะเผาผลาญอยู่อย่างนี้ พึงรีบ ขนสมบัติออกเสียต้วยการบริจาคทาน สมบัติที่บริจาค แล้วซื่อว่าขนออกไปดีแล้ว ฯ www.kalyanamitra.org

๑๕๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ทานยุทธกถา ว่าด้วยการให้กับการรบ ที่มา : อาทิตตชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑เอ®๒ ทานญจ ^ทฺธฌจ สมานมาlj อปุปาปี สนดา พา]เก ชนา{ติ อปปมุปี เจ สทฑหาโน ททาติ เตเนว ใส โหติ ธุ[ฃี ปรฅถ ฯ แปล การให้ก็ดี การรบก็ดี ใๆานว่าเสมอกัน คนน้อยชนะ คนมากได้ก็มี ถ้าบุคคลเป็นผู้เที่อมั่นแม้จะให้ทานน้อย เขาก็มีความสุขในโลกหน้าได้ด้วยการให้ทานใ!น ฯ วิเจยยทานกถา ว่าด้วยการเสิอกให้ทาน ที่มา : อาทิตดชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา. เอ๗/®๒®ต วิเอยย ทานํ สุคตปปสฅฝื เย ทกขิเณยุยา อิธ ชืวโลเก เอเตสุ ทิ){นานิ มหาเผสานิ พีชานิ ๅตุตานิ ยถา สุเฃต.เต ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๕๗ แปล การเลือกให้พระสุคตเจ้าทรงสรรเสริญ ทานที่ถวาย ไจ้ในท่านที่เป็นทักษิไณยบุคคลในชีวิตนี้ย่อมมีผลมาก เหมีอนพืซที่หว่านลงไวในนาดี ฯ ปาปากรณกลา ว่าด้วยการไม่ทำบาป ที่มา : อาทิตตชาดก อัฎฐกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๒๑๔ ใย ปาณฎฅานิ อฌฟึยํ จรํ ปฐปวาทา น กโรติ ปาป็ ภีเ ปส์สนุติ น ตตถ สูรํ ภยา หิ สนโต น กโรนฺติ ปาป็ ฯ แปล : ผู้ที่ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายย่อมไม่ยอมทำบาป เพราะคำค่อนขอดของคนอื่น ในการทำบาปนั้น บัณฑิต ย่อมสรรเสริญคนขลาดกสัว ไม่สรรเสริญคนกล้าเลย แห้จริงสัตบุรุษทั้งหลายย่อมไม่ทำบาปเพราะกลัว ฯ พรหมจริยกถา ว่าด้วยคุณของพรหมจรรย์ ที่มา : อาทิตดชาดก อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๒๑๕ หีเนน พฺรหฺมจริพน ขดฺติพ ^ปปชุชติ มชฌิเมน จ เทวดดํ ฤดฅเมน วิสุชผติ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๕๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : พรหมจรรย์อย่างตํ่าทำMด้ฟ็นกษัตริย์ พรหมจรรย์ อย่างกลางทำให้ได้ฟ้นเทวดา พรหมจรรย์อย่างสูงทำ ให้บริสุทธี้สินเซิง ฯ วุฑฒสาสนากรกถา ว่าด้วย^ม่ทำตามคำสอนของผู้ใหญ่ ที่มา : คิซฌซาดก นวกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๒๕๔ เอวมฺปี อิธ ^ฑุฒานํ โย วาฤยํ นาวพชุฌติ อสิสีมจโร ทิตฺโต คิชุโฌวาติฅสาสโน สเว พุยสนํ ปปุโปติ อกตุวา ^ฑฒสาสฟ้ ฯ แปล : ผู้ที่ไม่เชื่อคำพูดของผู้ใหญ่ชื่อว่าละเมิดคำสิ'งสอน ^ม่ทำตามคำสิ'งสอนของผู้ใหญ่ย่อมถึงความย่อยยับทุก คนไป เหมือนแร้งไม่เชื่อคำบิดา บินเลยเขตแดนของ ตนไป จึงมอดไหม!ปทั้งตัว ฯ สหายกถา ว่าด้วยสหายที่ดี ที่มา : โกส์มพิยซาดก นากนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๒๕๒ สเจ สเฟัล นิปกํ สหายํ สทุธิณจรํ สาธุวิหาริ ธีรํ อภิฦยย สพุพานิ ปริสฺสยานิ จเรยฺย เตนตุฅมโน สติมา ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๕๙ แปล : ถ้าได้ธีรซนคนมีปัญญา ผู1ปด้วยกนได้ อยู่ด้วย ความดีมาฟ็นสหาย ก็พึงกำจัดข้อขัดข้องทั้งปวงเสิย มี ความพอใจเที่ยวไปกับผู้นั้นอย่างมีสติเถิด ฯ ฟ้กฃปาตีกลา ว่าด้วยนกแตกฝูง ที่มา ; จุลลสุวกราชชาดก นวกนิบาต ข.ชา.๒๗/๑๒๖๘ m ผลดลา สมุภชนดิ อผใลดิ ชหนุติ นํ อตตตุถปญณา ทุมฺเมธา เต โหนติ ปกฃปาติโน ฯ แปล : นกเหล่าใดจับกลุ่มกันเพราะด้องการผลไม้ ครั้น รู้ว่าด้นไม้นั้นหมดผลแล้วก็ดีจากไป นกเหล่านั้นเห็นแก่ ประโยชน์ตน โง่เขลา มักจะเป็นนกแตกฝูง ฯ วัณณกถา ว่าด้วยผิวพรรณผุดผ่อง ทีมา : จักกวากชาดก นวกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑ต๑๒ อปปมปี เจ นิพชุตึ ฦญขติ ยทิ อสาหเสน อปรูปฆาตี พลผจ วณุโณ อ ฅทสฺส โหติ น หิ สพโพ อาหารมเยน วณโณ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๖๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : ถึงแม้จะบริโภคอาหารที่เย็นขีดเพียงเล็กน้อย แต่ไม่ เบียดเบียนใครด้วยการกระทำที่ตํ่าช้า ก็มีกำลังและผิว พรรณงดงามได้ ผิวพรรณจะผุดผ่องเพราะอาหารอย่าง เดียวก็หาไม่ ฯ พาลเสวนากถา ว่าด้วยการคบหากับคนพาล ที่มา : หลิททราคซาดก นวกนิบาต ชุ.ชา. เอ๗/๑ต๒๑ มาสอุ[ พาเลน สงคจฉิ ชุฤโข พาเลหิ สงคโม ฯ แปล ะ อย่าลังคมกับคนพาล เพราะการลังคมกับคนพาลมี แต่นำความเดีอดร้อนมาโม้ ฯ โกธคฝืา ว่าสืวยความโกรธ ที่มา : กณหซาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑ต๖๔ อปฺโป ชุตุวา พชุ โหฅิ วฑฒเต โส อขนุติโช อาสงคี พชุม่ายาโส ตสฺมา โกธํ น โรจเย ฯ แปล ความโกรธนั้นเกิดจากการที่ทนไม่ได้ ทีแรกก็มีน้อย แล้วก็ขยายมากขึ้น มีแต่ทำโม้ขัดช้อง ทำ โม้คับแด้นมาก เพราะฉะนั้น จึงไม่ควรชอบความโกรธ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๖๑ โลฟิกลา ว่าสัวยความโลภ ที่มา : เาณหขาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/€)ต๖๖ อาโลปสาหสาการา นิกติ วญจนานิ จ ทิสสนดิ โลภธมุผq ดสุมา โลภํ น โรจพ ฯ แปล : การปล้น อาการที่ร้ายกาจ (การจี้) การปลอมแปลง และการหลอกลวง ปอมเห็นได้ซัดโนผู้มีความโลภ เพราะฉะนั้น จึงไม่ควรชอบความโลภ ฯ อสัปา]ริสคตกลา ว่าด้วยความดีที่ทำโนคนไม่ดี ที่มา นิโครธซาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๔๒๕ ยลาปี วืชํ อคุคิสมี ฑยุหติ น วิฐหติ เอวํ กตํ อสปiJริเส นสุสติ น วิฐหติ ฯ แปล ะ เมล็ดพีซที่หว่านลงไปในไฟย่อมวอดวาย ไม่งอกขึ้นได้ ฉันโด ความดีที่ทำไวในคนไม่ดีก็เสิยเปล่า ไม่งอกงามได้ ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

©b๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ กตัญณุกตกถา ว่าด้วยความดีที่ทำในคนกตัญญ ที่มา : นิโครธชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๔๒๖ กตณญมฺหิ จ โปสมหิ สีลวนุเต อริยๅตุติเน อุ[เขตเต วิย พีชานิ กตํ ตนุหิ น นอุ[สติ ฯ แปล ความดีที่ทำไวในคนกตัญญู มีสืลธรรม มีความ ประพฤติประเสริฐ ย่อมไฝเสียไป เหมีอนเมล็ดพีซที่ หว่านลงไปในนาดีฉะนั้น ฯ มาตาโ)ตุหิงสกกลา ว่าด้วยผู้เบียดเปียนบิดามารดา ที่มา : ตักกลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๔๓๕ โย มาตรํ วา ปีตรํ สวิฎฺฮ อา[เสเก หิสติ ปาปธนุโม กายอุ[ส เภทา อภิสมปรายํ อสํสยํ โส นิรยํ รุเปติ ฯ แปล : เป็นคนชั่วช้า เบียดเบียนบิดามารดา^ม่ถือโทษ โกรธตอบ ผู้นั้นตายไปยังสี'มปรายภพภายภาคหน้าจะ ต้องตกนรกโดยไม่ต้องสงสี'ย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๖๓ มาตา!เ^^ฟ้ฏฐานกลา ว่าด้วยการบำรงเลี้ยงบิดามารดา ที่มา : ตักกลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๔ต๖ โย มาตรํ วา ปีตรํ สวิฏฺฮ อนฌน ฟ่าฌน ^ปฎ9หาติ คายสุส เภทา อภิสมปรายํ อสํสยํ ใส อุ[คติ รุเปติ ฯ แปล : บำ รุงเลี้ยงบิดามารดาด้วยข้าวด้วยนํ้า ผู้นั้นตาย ไปยังส์มปรายภพภายภาคหน้าย่อมเข้าถึงสุคติโดยไม่ด้อง สงสัย ฯ ธัมมจารีกถา ว่าด้วยผู้ประพฤติธรรม ที่มา : มหาธัมมปาลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๕๕0 ธมฺโม หเว รคุขติ ธมมจารึ ธมโม อ[ุ จิณโณ อ[ุ ขมาวหาติ เอสานิสํโส ธม.เม อ[ุ จิฉแณ น ชุค.คติ คจ.ฉติ ธม.มจารึ ฯ แปล ธรรมแลย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรมเป็นปกติ ธรรมที่ บุคคลประพฤติดีแล้วนำความสุขมาให้ นี้เป็นอานิสงส์ แห่งธรรมที่ประพฤติดีแล้ว ผู้ที่ประพฤติธรรมเป็นปกติ ย่อมไม่ถึงทุคติ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๖๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ นาสิเทกถา ว่าด้วยคนที่ไม่ควรเข้าใกล้ ที่มา : กุกคุฏซาดก ฑสกนิบาต ชุ.ซา.เอ๗/๑๔๕๔ ^กขผชลิปคคหีดา วาจาย ปลิสุฉเฮิตา มนุสณผคฎ มาสีเท ยสุมึ นฅถิ กฅผผฅา ฯ แปล : คนที่ประคองอัญชลีแห้ง (แสร้งไหว้) เคลีอบคำใฐดไว้ เป็นมนุษย์กระพี้ ไม่มีความกตัญฌู ไม่ควรจะเข้าใกล้ ฯ มัจฉรีกถา ว่าด้วยคนตระหนี่ ที่มา : พิลารโกสิยซาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๔๗๕ ยสเสว ภีโฅ น ททาติ มจฉรี ฅเทวาททโฅ ภยํ ฯ แปล : คนตระหนี่กลัวจนจึงให้ทานไม่ได้ ความตระหนี่นั้น จึงเป็นภัยสำหรับคนที่ไมให้ ฯ ปรโลคปติฏฐากฝืา ว่าด้วยที่พึ๋งในปรโลก ที่มา : พิลารโกสิยซาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๔๗๖ ตสุมา วิเนยุย มจเฉรํ ทชุชา ทานํ มลาภิฎ า^ณณํ หิ ปรโลกสฺมึ ปติฎฮา โหติ ปาณิฬํ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ©๖๕ แปล ะ ดังนั้น พึงกำจัดความตระหนี่ถี่เหนียว ครอบงำ มลทินใจเสียแล้วให้ทานกันเถิด เพราะว่าในภพชาติหน้า บุญเท่านั้นที่จะเปีนที่พึ๋งของดัตวโลกทั้งหลายไล้ ฯ อัปปทักขิณากฝิา ว่าด้วยทานที่ให้จากของน้อย ที่มา : พิลารโกสิยชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๕๗๙ อปุปมเปเก ปเวอฉนดิ พบุเนเก น ทิจุฉเร อปฺปสมา ทกฃิณา ทินฺนา สหสเสน สฟ้ มิตา ฯ แปล : คนพวกหนี่ง แม้จะมีของเล็กน้อยก็ให้ทานไล้ คน พวกหนี่ง แม้จะมีของมากก็ให้ทานไม่ไล้ ทานที่ให้!ป แล้วจากของเพึยงเล็กน้อย ก็นับว่าเสมอล้วยการให้ จำ นวนพัน ฯ นเวรกถา ว่าด้วยเวรไม่มี ที่มา : จักกวากชาดก ทสกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๔๙๒ โย น หนติ น ฆาเตติ น ขินาติ น ชาปเย เมตุตํโส สพุพฎเฅอุ[ เวรํ ตสส น เกนจิ ฯ แปล ^ดไม่ฆ่าเอง ไมโซให้คนอื่นฆ่า ไม่ทำให้คนอื่นเสีย ทรัพย์เอง ไมโซให้คนอื่นทำให้เสีย มีใจเมตตาในส์'ตว์ ทั้งปวง ผู้นั้นย่อมไม่มีเวรกับใคร ๆ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๖๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ {[ณฑิตธัมมกฝืา ว่าด้วยธรรมดาของบัณฑิต ที่มา : ฏริปัญหาขาดก ทสกนิบาต ข.ชา.๒๗/๑๕๙๗ น ปณฺฑิตา อตุฅอุ[ฃสส เหตุ ปาปานิ กมุมานิ สมาจรนุติ ชุกเขน ตุฏุรา ขลิตาปี สนตา ฉนทา จ โทสา น ชหนติ ธมมํ ฯ แปล : เหล่าบัณฑิตย่อมไม่ประกอบบาปกรรมเพราะเห็น แก่ความสุฃล่วนตัว แม้จะกระทบกับความทุกข์เข็ญ แม้จะผิดพลาดไปก็สงบนิ่งอยู่ ไม่ยอมละทิ้งคุณธรรม เพราะความชอบและความซัง ฯ เมตติกถา ว่าด้วยการผูกไมตรีไม่จืดจาง ที่มา : ภูริปัญหาขาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๕00 ยสฺสาปี ธมุมํ 1]ริโส วิชญณา เย จสุส กงุขํ วินยนติ สนโต ดํ หิสส ทีปญจ ปรายนผจ น เตน เมตุตี ชิรเยล ปณโผ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๖Gfil แปล บุคคลได้รู้แจ้งธรรมจากท่าน^ด และท่าน^ดกำจัด ความสงส์'ยของตนออกได้ ผู้นั้นแหละจัดเป็นที่พึ่ง เป็นผู้นำทางของตน ผู้มีป้ญญาอย่าให้ไมตรีกับผู้นั้น จืดจางได้ ฯ โสตถิกลา ว่าด้วยสวัสดิมงคล ที่มา : มหามังคลซาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/«๕0๕ โย สพุพโอกสุส นิวาดวุตุติ อิตถีมไนํ สหทารกานํ ขนุฅา ชุรุฅตานํ อปฺปฎิถูลวาที อธิวาสนํ โสตฺถานํ ฅทาชุ ฯ แปล : ผู้ใดประพฤติถ่อมตนต่อคนทั่วโลก ทั้งหญิงและชาย ตลอดทั้งเด็ก ๆ อดทนต่อคำพูดที่ซั่วหยาบได้ ทั้งไม่ พูดจาน่าเกลียด ความอดกลั้นนั้นท่านยกย่องว่าเป็น สวัสติมงคลสำหรับเขา ฯ www.kalyanamitra.org

๑๖๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สหายโสตอิกฝิา ว่าด้วยสวัสดิมงคลในสหาย ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๕0๖ โย นาวชานาติ สหายมิตเต สิปเปน ฤฤยาหิ ธ&นน ชอฺจา เจปผโผ อดถกาเล มติมา สหาเยธุ[ เว โสตลานํ ตทาา3 ฯ แปล ไม่ดูหมิ่นมิตรสหายทั้งหลายทั้งทางสืลปะ ทางวงส์ ตระกูล ทางทรัพย์ และทางชาติกำเนิด เป็นคนเรือง ปัญญา มิความคิดในเวลามิเรื่องเกิดขึ้น ท่านยกย่อง ผู้นั้นว่ามิสรัสติมงคลในสหายทั้งหลาย ฯ มิฅฅโสตอิกลา ว่าด้วยสวัสดิมงคลในมิตร ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ข.ชา. ๒๗/๑๕0๗ มิดตานิ เว ยสฺส ภวนุติ สนฺโต สํวิสสตถา อวิสํวาทกสส น มิตตชุพภี สํวิภาคี ธเนน มิตุเตอุ[ เว โสตถานํ ตทาชุ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๖๙ แปล : ผู้ใดมีปกติพูดไม่คลาดเคลื่อนจากความจริง มี สัตบุรุษทั้งหลายผู้คุ้นเคยกันเป็นมิตรแท้ เป็นผู้ไม่ ประทุษร้ายมิตร ชอบแปงป้นทรัพย์ของตนไท้แก่มิตร ท่านยกย่องผู้นั้นว่ามิสวัสติมงคลในมิตรทั้งหลาย ฯ ทารโสตถิกถา ว่าด้วยสวัสดิมงคลในภรรยา ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๕อ๘ ยสฺส ภริยา ดูลุยวยไ สมคคา อบุพพตา ธมมกามา ปชาตา โกลินิยา สีลวตี ปติพุพตา ทาเรส เว โสดูถานํ ตทาทุ ฯ แปล ผู้ใตมิภรรยาซึ่งมิวัยเสมอกัน อยู่ร่วมกันด้วยความ ปรองดอง ประพฤติตามใจกัน เป็นคนชอบธรรมะ ให้ กำ เนิดบุตรได้ มิสืลโดยสมควรแก่ตระกูล รู้จักปรน นิบัติสามี ท่านยกย่องคุณความดีในภรรยาของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดีมงคลในภรรยาทั้งหลาย ฯ www.kalyanamitra.org

๑๗๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ราชโสตถิกถา ว่าสืวยสวัสดิมงคลในพระราชา ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ข.ซา. ๒๗/๑๕©๙ ยสุส ราชา ฎดปดี ยสสฺสี ชานาดี โสเจยยํ ปรกกมญจ อเทวชผดา สุหทยํ มมนฺดี รา'Jสุ เว โสตุลานํ ฅทาทุ ฯ แปล : พระราซาผู้ทรงฟ้นเจ้าแผ่นดิน ทรงมีพระราซอิสริย ยศ ย่อมทรงทราบความใสสะอาดและความฃยนหมั่น เพียรของราชเสวกคนใดว่าเป็นผู้มีใจซี่อตรงจงรักภักดีต่อ พระองค์ ท่านยกย่องคุณความดีของราชเสวกนั้นว่า เป็นสวัสดีมงคลในพระราชาทั้งหลาย ฯ สัคคโสตถิกถา ว่าด้วยสวัสดิมงคลในสวรรค์ ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๕๑อ อนนณจ ปานญจ ททาดี สทฺโธ มาลผจ คนธณจ วิเลปนผจ ปสนุนจิตุโด อทุโมทมาโน สคุเคสุ เว โสตถานํ ดทาทุ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๗๑ แปล ^ดมีศรัทธาให้ข้าว นํ้า ดอกไม้ ของหอม และ เครื่องลูบไล้ มีจิตเลื่อมใสอนุโมทนา ท่านยกย่องคุณข้อใณั้ ของผู้นั้นว่าเป็นสวัสดิมงคลในสวรรค์ ฯ อรหันตโสตถิกถา ว่าด้วยสวัสดิมงคลในพระอรหันต์ ที่มา : มหามังคลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๕๑๑ ยมริยธมฺฌน 1]นนุติ ^ทธา อาราธิดา สมจริยาย สนุโฅ พชุสฺธุ[ตา อิสโย สีลวนุโฅ อรหนุคมชุเฌ โสดถานํ ดทาชุ ฯ แปล : ส์'ตบุรุษทั้งหลายผู้เจริญแล้ว ผู้ยินดีแล้วในสัมมาปฏิบัติ เป็นพหูสูต แสวงหาคุณความดี มีสืล ย่อมอบรมผู้ใต ด้วยอริยธรรม ท่านยกย่องคุณความดีที่ผู้นั้นพึงได้รับว่า เป็นสวัสดีมงคลในท่ามกลางพระอรหันต์ ฯ พาลธัมมกถา ว่าด้วยธรรมดาของคนพาล ที่มา : ซุณหชาดก เอกาทสกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๕๔๙ พาลา จ โข สงคติสนุถวานิ 1]พเพ กตํ วาปี วินาสยนุติ พทุปี พาเลธุ[ กตํ วินสฺสติ ดถา หิ พาลา อกดฌุญเปา ฯ www.kalyanamitra.org

๑๗๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล ะ พวกคนพาลมักทำให้การพบปะกัน การสนิทสนมกัน หรือแม้กระทั่งบุญคุณที่ทำไว้เก่าสูญสันไปหมด บุญคุณ ที่ทำ ไว้ในพวกคนพาลนั้น ถึงจะมีมากมายก็สูญเปล่า เพราะว่าคนพาลเป็นคนไม่รู้คุณ ฯ ธีรธัมมกถา ว่าด้วยธรรมดาของธีรซน ที่มา ซุณหชาดก เอกาทฮกนิบาต ขฺ.ซา. ๒๗/๑๕๕0 อปุรํเป้ ธืเรธุ[ กตํ น นสสติ ตถา หิ ธีรๆ อ[ุ กตญญรูปา ฯ แปล : บุญคุณที่ทำไว้ในเหล่าธีรซน ถึงจะน้อย ก็ไม่สูญเปล่า เพราะว่าธีรชนเป็นคนรู้คุณ ฯ กามกถา (๑) ว่าด้วยกาม ที่มา : ปานิยชาดก เอกาทสกนิบาต ข.ชา. ๒๗/๑๕๙๖ อปฺปสุสาทา ชุคุขา กามา นตุถิ กามาปรํ ชุคุขํ เย กาเม ปฎิเสวนติ นิรยนุเด คุปปชุชเร ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๗๓ แปล : กามทุกอย่างให้ความแช่มชื่นน้อยนิด แดให้ทุกข์มาก ไฝมีทุกข์อื่นยิ่งไปกว่าทุกข์เพราะกาม ผู้ที่ยังหมกมุ่นใน การเสพเสวยกามอย่ย่อมเข์าถึงนรก ฯ กามกถา (๒) ว่าด้วยกาม ที่มา ะ ปานียซาดก เอกาทสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๕๙๙ แปล วิสํ ยถา หลาหลํ เตลํ ปกคูป็รตํ ยกา ตมฺพโลหํ วิลีนํว กามา ทุคูฃตรา ฅโด ฯ กามทั้งหลายให้ทุกข์ร้อนแรงยิ่งกว่ายาพิษที่ร้ายแรง ยิ่งกว่านํ้ามันที่เดือดพล่าน ยิ่งกว่าทองแดงที่หลอม ละลาย ฯ มัจชุปรายนคฝืา ว่าด้วยผู้บ่ายหน้าไปหามฤตยู ที่มา ทสรถซาดก เอกาทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๖๑๔ ทหรา จหิ เย ๅฑุฒา เย พาลา เย จ ปณฑิตา อทุธา เจว ทลิฑทา จ สพ,เพ มจฺคูปรายนา ฯ แปล : ทั้งเด็กและ^หญ่ ทั้งคนโง่และคนฉลาด ทั้งคนรวย และคนจน ล้วนปายหน้าไปหามฤตยูทั้งนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๑๗๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มัจจภยกลา ว่าด้วยภัยประจำของสัตวโลก ที่มา ทสรทชาดก เอกาทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๖๑๕, เตมิยชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๘/๑๑๒๖ ผลานมิว ปฤคานํ นิจุจํ ปดนโด ภยํ เอวํ ชาดาน มจจานํ นิจจํ มรณโด ภยํ ฯ แปล ผลไฟ้ที่สุกแล้วมีภัยประจำ คือจะต้องหล่นจากต้น แน่นอน ส์'ตาโลกที่เกิดมาแล้วก็มีภัยประจำ คือจะต้อง ตายแน่นอน ฯ เอกามัจจกถา ว่าด้วยตัวคนเดียว ทีมา : ทสรทชาดก เอกาทสกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๖๒0 เอโกว มชุโจ อชุเจติ เอโกว ชายเด ภูเล สํโยคปรมาเตุวว สมฺโภคา สพพปาณินํ ฯ แปล : คนเราเมี่อตาย ก็ไปคนเดียว เมื่อเกิด ก็มาคนเดียว ส่วนการอยู่ร่วมภันของสำส์'ตว์นี้เ{เนเพียงการเกี่ยวข้องภัน เท่านั้นเอง ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๗๕ คออกรณคลา ว่าด้วยการทำกิจ ที่มา : สมุททวาณิซซาดก ทวาทสกนิบาต ข.ซา. ๒๗/๑๖๘ต อนาคตํ ปฎิกยิราถ กิจจํ มา มํ กิจจํ กิจจกาเล พณธสิ ตํ ตาฑิสํ ปฏิกฅกิชุจการึ น ตํ กิชุจํ กิจจกาเล พฺยเธสิ ฯ แปล ะ พึงรีบทากิจให้เสร็จล่วงหน้า อย่าให้กิจมาบีบรัดตัวใน เวลาที่ทำกิจ คนที่รีบทำกิจเสร็จเรียบร้อยก่อนแล้ว เซ่นนั้น กิจนั้นก็จะไม่บีบรัดตัวในเวลาที่ทำกิจ ฯ โคสิงคิกลา ว่าด้วยอุปมาเหมือนเขาโค ทมา : กามซาดก ทวาทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๖๘๖ ควํว สิงฺคิโน สิงฺสํ วฑุฒมานสุส วฑฺฒติ เอวํ มนทสุส โปสสส พาลสฺส อวิชานโต ภิยุโย ตณุหา ปีปาสา จ วฑฺฒมานสส วฑฒติ ฯ แปล : เมื่อคนโง่เขลาไม่รู้อะไรเจริญเติบโตอยู่ ความอยาก และความโหยหิวก็เจริญเติบโตตาม เหมือนเขาโคเจริญ เติบโตตามตัวโคฉะนั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๑๗b คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ {[ญญาติตติกลา ว่าด้วยความอมด้วยปัญญา ที่มา : กามชาดก ทวาทสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๑๖๙อ ปณฺผาย ติดดีนํ เสฎ^ น ใส คาเมหิ ดปฺปติ ปผุผไย ติตตํ า^ริสํ ฅณุหา น ภู'!เต วสํ ฯ แปล : อิ่มด้วยปัญญาประเสริฐกว่าอิ่มทั้งหลาย ผู้อิ่ม ด้วยปัญญาย่อมไม่เร่าร้อนเพราะกาม ผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาก็ดึงไวในอำนาจไม่ได้ ฯ ทัชชากถา ว่าด้วยพึงใฟ้ทาน ที่มา : โกสิยชาดก ทวาทสกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๗๒๑ อปฺปมหา อปฺปกํ ทชุชา อบุมชุฌโค มชฌกํ พชุมหา พชุกํ ทชุชา อฑานํ ชุปปชุชติ ฯ แปล เมื่อมีน้อย ก็ควรให้แต่น้อย เมื่อมีปานกลาง ก็ควร ให้ปานกลาง เมื่อมีมาก ก็ควรแปงปันให้มาก การ ไม่ให้เสียเลย ดูไม่สมควร ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๗๗ เอก้นตกถา ว่าด้วยทำอยู่ท่าเดืยว ทมา : มหาปทุมชาดก ทวาทศกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑๗(ะ๗ ฌกนุตชุชุนา สกกา เอกนตสิฃิเฌน วา อดดํ มหดฺเด ฮาเป^ ฅสฺมา อุภยมาจเร ฯ แปล : อ่อนเปียกอยู่ท่าเดียวหรือแข็งกร้าวอยู่ท่าเดียว ย่อม ไม่อาจดำรงตนอยู่ในฐานะใหญโตได้นาน ดังนั้น จึง ไม่ควรประพฤติทั้งสองอย่าง ฯ อนุมัชฌกถา ว่าด้วยเดินสายกลาง ที่มา : มหาปทุมชาดก ทวาทสกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๗๕๘ ปริฎใฅ มุทุ โหติ อติติกโฃ จ เวรวา เอฅญอ อุภยํ ผดฺวา อใjมชุฌํ สมาจเร ฯ แปล : อ่อนเกินไปก็จะถูกรังแก แข็งเกินไปก็จะมีภัยเวร รู้ ทั้งสองอย่างนี้แล้วควรทำดัวเป็นกลาง ๆ ฯ www.kalyanamitra.org

๑๗๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สามัคคีกถา ว่าด้วยความสามัคคี ที่มา : ผันทนซาดก เตรสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ร)๘อ๕ สามคยฌว สิณขถ เธเหดํ ปสํสิดํ สามฤยรโด ธมมฎโCI โยคฤเขมา น ธํสดิ ฯ แปล พึงสิกษๆความสามัคคี ความสามัคคีนี้อันท่านผู้รู้ ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว ผู้ยินดีในความสามัคคี ตั้งอยู่ โนธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเป็นแดนเกษมจาก โยคะ ฯ สมุทฑปารกลา ว่าด้วยอุปมาเหมือนต่งทะเล ที่มา : ซวนหังสซาตก เตรสกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/ร)๘๑๔ อนุโฅปี เจ โหติ ปสนุนจิฅโต ปารํ สนุทุฑสฺส ปสนุนจิตโต อนุโตปี โส โหติ ปชุฎฺฮจิตโต ปารํ สนุทฑสฺส ปชุฎฺ«จิตุโต ฯ แปล ถ้าใจใสซื่อต่อกัน ถึงจะอยู่คนละล่งทะเล ก็เหมือน อยู่ใกล้ชิดกัน ถ้าใจคีดร้ายต่อกัน ถึงจะอยู่ใกล้ชิดกัน ก็เหมือนอยู่คนละล่งทะเล ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๗๙ นินทากถา ว่าด้วยเรื่องการนินทา ที่มา : ตักการิยชาดก เตรสกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๔๙ฅ น เว นินทา ธุ[ปริวชุชเยถ นานา ชนา เสริตพพา ชนินท เยเนว เอโค ลภเต ปสํสํ เดเนว อญโผ ลภเฅ นินุทิฅารํ ฯ แปล อันการนินทาใช่ว่าจะหลีกพ้นได้ง่ายเลย คนที่เราพอ จะคบหาได้นั้นมีอัธยาสัยต่าง ๆ กัน คนหนึ่งได้รับการ ยกย่องเพราะเรื่องใด อีกคนหนึ่งอาจถูกเขานินทาเพราะ เรื่องเดียวกันนั้นก็ได้ ฯ จิตตกถา ว่าด้วยความคิด ที่มา : ตักการิยชาดก เตรสกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๘๙๕ สพฺโพ โลโก ปรจิตเคน อติจิตฺโต สพโพ โลโค จิตุตวา สมฺหิ จิต.เต ปจ.เจคจิต.ตา ว่ฤ สพพสต.ตา คสุสีธ จิตตสส วเส น วต.เต ฯ www.kalyanamitra.org

๑๘๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : ซาวโลกทั้งปวงต่างมีความคิดต่างไปจากความคิด ผู้อื่น ซาวโลกทั้งปวงต่างมีความคิดอยูในใจของตนเอง สรรพสัตว์ทั้งหลายต่างมีความคิดเฉพาะตัว คนเราจึง ไม่ควรตกอย่โนอำนาจความคิดของใคร ฯ ทุกฃูปนีตกถา ว่าด้วยผู้ตกอยู่ในห้วงทุกข์ ที่มา : สรภชาดก เตรสกนิบาต ข.ชา. ๒๗/๑๙๑๗,มหาชนกชาดก มหานิบาต ข.ชา. ๒๔/๑๑๔๗ ทุกฃูปนีโตปี นโร สปญโณ อาสํ น ฉินฺ&ทยุย ^ขาคมไย พทุ หิ ผสฺสา อหิตา หิตา จ อวิตกกิตาโร มชุจุมปปชุชนุติ ฯ แปล : นรซนผู้มีปัญญาถึงจะดกอยู่ในห้วงทุกข์ก็ไม่ควร จะเนหวังต่อความสุขซึ่งจะมีมา เพราะส์งที่มาสัมผัส ซึ่วิตมากมายนั้น ที่ไม่เกื้อกูลก็มี ที่เกื้อกูลก็มี คนที่ไม่ ตระหนักก็มักจะถึงทุกข์ปางตาย ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๘๑ อจินติตกถา ว่าด้วยสิงทื่ไม่คาดคิด ที่มา : ฝึรภซาดก เตรสกนิบาต ข.ชา. ๒๗/๑๙๑๘.มหาชนกชาดก มหานิบาต ชุ.ชา. ๒๘/๑๑๔๘ อจินติดม!! ภวติ จินุติตม!] วินสฺสติ น หิ จินุตามยา โภคา อิตุถิยา ใ^ริสสุส วา ฯ แปล ส์งที่มิได้คิดไว้ก็เกิดมีได้ ส์งที่คิดไว้แล้วก็สูญสลาย ไปได้ โภคะทั้งหลายของชายหญิงจะสำเร็จได้เพียงแค่คิด ก็หาไม่ ฯ อริยธัมมกถา ว่าด้วยธรรมดาของอารยซน ที่มา : มหาอุกๆสชาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๙๗๖ คริโย หิ อริยสุส กโรติ กิจจํ ฯ แปล : ธรรมดาอารยซนย่อมช่วยเหลือทำกิจของอารยซน ด้วยกัน ฯ www.kalyanamitra.org

๑๘๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สตธัมมกถา ว่าด้วยธรรมดาของคนดี ที่มา : มหาอุกๆสชาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/®๙๗๔ กโรนฺติ เหเต สฃืนํ สฃาโร ปาณํ จชนุตา สตเมส ธมุโม ฯ แปล แท้จริง เพี่อนยํอมสละชีวิตทำเพี่อเพี่อนได้ นี่เป็น ธรรมดาของคนดี ฯ มิดดานุกัมปคฝืา ว่าด้วยการอนุเคราะห์เพี่อน yI»ๆ : นทๆqnqit«าดท ปทผผกนํบาท ชุ.ชา.๒๙0๙๔0 ชุตาปี เหเก ฃลิตา สกมชุนา มิตตาใjกมฺปาย ปติฎุฮหนดิ ฯ แปล : คนบางคนถึงจะล้มเหลวทางกิจการไปแล้ว ถึงจะผิด พลาดไปแล้วจากกิจการของดน ก็ตั้งตัวใหม่ได้ด้วย ความอนุเคราะห์ของเพี่อน ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๘๓ เสจนกถา ว่าด้วยการประพรมนํ้า ที่มา : อุททาลกซาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑๙๙๙ น สุทุธิ เสอฌนดฺถิ นปี เกวสี พราหฺมโณ น เจว ขนุติ โสรชุจํ นปี ใส ปรินิพทุโต ฯ แปล ะ ด้วยการประพรมนํ้า จะทำให้มีความบริสุทธิ้จริงก็หาไม่ จะทำให้เป็นพราหมณ์ก็หาไม่ จะทำให้มีความอดทน และความเสงี่ยมงามขึ้นก็หาไม่ ทั้งจะทำให้ผู้นั้นเย็นลงก็ หาไม่ ฯ สืติภูตกถา ว่าด้วยคนที่เย็นลงแล้ว ที่มา : ธุททาลกซาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒00๒ สพฺเพว โสรตา หนุตา สพฺเพว ปรินิพุทุตา สพเพสํ สีติฎตานํ อดลิ เสยุโยถ ปาปีโย ฯ แปล ถ้าทุกคนสงบได้แล้ว สิกฝนตนแล้ว ทั้งหมดก็เย็น ลงได้ เมื่อทุกคนเย็นลงได้แล้ว ไฉนยังจะมีคนดีคนชั่ว อีกเล่า ฯ www.kalyanamitra.org

๑๘๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สมพทุลญาติกถา ว่าด้วยมีญาติมากเป็นการดี ที่มา : ตัจฉสูกรซาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๑0๖ สาธุ สมฺพชุลา ณาตี ฟ้เ รฤขา อรญฌชา สูกเรหิ สมคุเคหิ พุยคุโฆ เอกายฌ หใต ฯ แปล ญาติพี่น้องมารวมกันเข้ามากคนเหมือนต้นไม้ที่เกิด ในป่ามากต้น ย่อมทำการต่าง ๆ ให้สำเร็จลงไต้ ฝูง หมูป่ารวมตัวกันกำจัดเสีอโคร่งไต้สำเร็จมาแล้วเพราะไป ในทิศทางเดียวกัน ฯ มิตตทุพภกถา ว่าด้วยผู้ทรยศเพื่อน ที่มา : มหาวาณิซซาดก ปกิณณกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๑๒๕.วิธุรซาดก มหานิบาต ชุ.ซา. ๒๙๒๕๘๔ ยสส 'เก.ขสฺส ฉายาย นิสืเทยุย สเยย.ย วา น ตสส สาฃํ ภญเชยุย มิต.ตชุพโภ หิ ปาปโก ฯ แปล : เคยนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่ง ของต้นไม้นั้น เพราะผู้ทำเซ่นนั้นข้อว่าเป็นผู้ทรยศเพี่อน และเป็นคนบาป ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๑ ๑๘๕ ตาณกถา ว่าด้วยสิงต้านทาน ที่มา : จิตตส์โมภูตซาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา.๒๗/๒๒๕๘ ^ปนิยยดิ ชีวิตมปปมายํ ชรูปนีฅสุส น สนุติ ตาณา ฯ แปล : ชีวิตของส์'ตวโลกถูกชรานำไปหาความตายเรื่อยไป อายุของส์'ตาโลกทั้งหลายน้อยนิด ชีวิตที่ถูกชราพาไปหา ความตายย่อมไม่มีการต้านทานได้เลย ฯ นิญญาเสยยกลา ว่าด้วยปัญญาประเสริฐ ที่มา : สิริมันทซาดก วีสตินิบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒ต๐๔ ปณฺโณ ว เสยุโย น ยสสุสิ พาโล ฯ แปล : คนมีปัญญาย่อมประเสริฐกว่า คนโง่ถึงจะมียศสักดิ้ จะประเสริฐอะไร ฯ www.kalyanamitra.org

๑๘๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ อัปปฟ้ญญากลา ว่าด้วยผู้สือยปัญญา ที่มา ะ สิริฟ้นทชาดก วีสติปีบาต ชุ.ซา.๒๗/๒ต0๖ ลทธา มชชดิ อปปปญโผ ชุคเขน ชุรุโฮปี ปโมหเมดิ อาคนุดูนา อุ[ขชุคุเขน ชุฎุโฮ ปทธติ วาริจโรว ฆมฌ ฯ แปล : ผู้ติอยปัญญาได้พบสุขเข้าก็มักมัวเมา ถูกทุกข์ กระทบเข้าก็มักมีดมน ได้สัมผัสสุขหรือทุกข์ที่โคจรมาเข้า ก็มักดิ้นพล่านเหมีอนปลายามหน้าแล้ง ฯ พลวพาลกถา ว่าด้วยคนโง่แต่มีกำลัง ที่มา : สิริมันทชาดก วีสติปีบาด ชุ.ชา.๒๗/๒ฅอ๔ น สาธุ พสวา พาโอ สาหสํ วินทเต ธนํ ฯ แปล : คนโง่ที่มีกำลังได้ทรัพย์มาด้วยการกระทำที่ซั๋วข้า หา ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๑ ๑๘๗ สิรืกถา ว่าด้วยสิริมงคล ที่มา : สิริมันทชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา.๒๗/เอฅ๑๗ อสํวิหิดกมุมนฺตํ พาลํ มุมุมนติมนุดินํ สิรี ชหดิ มุมุเมธํ ชิณฺณํว อรโค ฅจํ ฯ แปล ะ สิริมงคลย่อมละทิ้งคนโง่^ฝจัดแจงงานใฟ้ดี มีความ คิดความอ่านไม่ดี ทั้งด้อยปัญญาไป เหมีอนงูทิ้งคราบไป ฉะนั้น ฯ พาลกถา ว่าด้วยคนโง่ ที่มา สิริมันทชาดก วีสตินิบาต ชุ.ชา.๒๗/๒ฅ๑๙ ทาไสว ปณฌลุ[ส ยสสุสิ พาโล อด.เลอุ[ ชาเดชุ ดถาวิเธชุ ยํ ปณุฑิโด นิใเณํ สํวิเธดิ สมุโมหมาปชุชติ ดตุถ พาโล ฯ แปล : คนโง่ถึงจะมียศสักดี้ก็ตกเป็นเบี้ยล่างของคนมีปัญญา เมื่อมีกิจการต่าง ๆ เกิดขึ้น กิจการใดคนฉลาดจัดการได้ ละเอียดเรียบร้อย กิจการนั้นคนโง่ย่อมถึงความมีดมน ฯ www.kalyanamitra.org