Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๑

Description: คลังธรรมเล่ม๑

Search

Read the Text Version

๕0)๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา.พฅ๑๑ จตุตาโร อาหารา ะ กพฬีกาโร อาหาโร โอฬาริโก วา อุ[ชุโม วา, ผสโส ตุดิโย, มโนสญเจตนา ตติยา, วิผผาณํ จตุตุลํ ฯ แปล : อาหาร (สภาพที่นำมาซึ่งผล) ๔ คือ อาหารคือคำข้าว หยาบหรือละเอียด ๑ อาหารคือผัสสะ เป็นที่ ๒ อาหารคือมโนผัญเจตนา เป็นที่ ฅ อาหารคือวิญญาณ เป็นที่ ๔ ฯ อคติคมนกถา ว่าด้วยการถึงอคติ ๔ ๑. ฉันทาคติ ลำ เอียงเพราะรักใคร่กัน ๒. โทสาคติ ลำ เอียงเพราะไม่ชอบกัน ต. โมหาคติ ลำ เอียงเพราะเขลา ๔. ภยาคติ ลำ เอียงเพราะกลัว ที่มา ๑: ลังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/เท๑๑ จตุตาริ อคติคมนานิ : ฉนทาคติ คชุฉติ, โทสาคติ คชุฉติ, โมหาคติ คจฺฉติ, ภยาคติ คจฉติ ฯ แปล : การถึงอคติ ๔ คือ ถึงความลำเอียงเพราะรักใคร่ ๑ ถึงความลำเอียงเพราะซัง ๑ ถึงความลำเอียงเพราะเขลา ๑ ถึงความลำเอียง เพราะกลัว ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๔ ๕๓๙ ที่มา ๒: ปฐมอคติสูตร ปฐมปัณณาสฺก์ องฺ.จตุฤก.๒๘๑๗ ฉนุทา โทฮา ภยา โมหา โย ธมมํ อติวตุตติ นิหียติ ตสส ยโส กาฬปกเขว จนุฑิมา ฯ แปล : ^ดประพฤติล่วงธรรมเพราะความชอบ ๑ เพราะ ความซัง ๑ เพราะความหลง ๑ เพราะความกลัว ๑ ยศของผู้นั้นย่อมเส์อม ดุจดวงจันทร์ข้างแรมฉะนั้น ฯ ตัณ'>1ปปาทกลา ว่าด้วยเหตุเกิดตัณหา ๔ ๑. เพราะจีวรคือเครื่องนุ่งห่มเป็นเหดุ ๒. เพราะบิณฑบาตคืออาหารเป็นเหดุ ฅ. เพราะเสนาสนะคือที่อยู่อาสัยเป็นเหดุ ๕. เพราะต้องการยิ่ง ๆ ขึ้นไปเป็นเหดุ ที่มา ๑: สังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ฅ๑๑ จตุตาโร ฅณฺชุปปาทา : จีวรเหตุ วา อา'3โฮ ภิคุชุโน ฅญหา รุปปชุชมานา อุปปชุชติ, ปีณฺฑปาดเหตุ วา ... เฮนาฮนเหตุ วา ... อิติภวาภวเหตุ วา อาๅโฮ ภิกชุโน ฅณุหา อุปปชุชมานา อุปุปชุชติ ฯ แปล : เหดุเกิดขึ้นแห่งตัณหา ๔ คือ ตัณหาเมื่อเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ย่อมเกิดขึ้นเพราะจีวรเป็นเหดุ ๑ ... เพราะบิณฑบาตเป็นเหดุ ๑ ... เพราะเสนาสนะเป็นเหดุ ๑ ... เพราะต้องการยิ่ง ๆ ขึ้นไปเป็นเหดุ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๕๔๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ที่มา ๒: ตัณทุปปาทสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.จตุกก. ๒๑/๙ ตณฺหาทุติโย 1^ริโส ทีฆมฑธาน สํสรํ อิตถภาวณณถาภาวํ สํสารํ นาติวตฺตติ ฯ แปล : คนที่มีตัณหาเรนเพื่อนย่อมเวียนว่ายไปตลอดกาล ยาวนาน ไม่ล่วงฟันตังสารวัฎอันมีความเป็นอย่างนี้และ ความเป็นอย่างอื่นไปได้ ฯ เอตมาทีนวํ ณตุวา ตณฺหํ ทุกขสุส สมุภวํ วีตตฉเโห อนาทาโน สโฅ ภิคุชุ ปริพุพเช ฯ แปล : ภิกษุรูโทษนี้และรู้ตัณหาว่าเป็นที่เกิดแห่งทุกข์แล้ว พึง เป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ยึดมั่นถือมั่น มีสติเที่ยวไป ฯ ปฏิปทากถา ว่าด้วยปฏิปทา ๔ (นัยที่ ๑) ๑. ทุกขาปฏิปทา ทันธาภิญญา ปฏิบัติลำบาก ทั้งรูโด้ช้า ๒. ทุกขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา ปฏิบัติลำบาก แต่รู!ด้เร็ว ฅ. อ[ุ ขาปฏิปทา ทันธาภิญญา ปฏิบัติสะดวก แต่รู!ด้ช้า ๔. อ[ุ ขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา ปฏิบัติสะดวก ทั้งรู!ด้เร็ว ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๑๑ จตอุ[โส ปฏิปทา ะ ทุฤขาปฏิปทา ทนฺธาภิณณา, ทุกขาปฏิปทา ขิปฺปาภิณณา, อ[ุ ขาปฏิปทา ทนธาภิณณา, อุ[ขาปฏิปทา ขิปปาภิณณา ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๕๔๑ แปล : ปฏิปทา ๔ คือ ทุกขาปฏิปทา ทันธาภิญญา ปฏิบัติ ลำ บาก ทั้งรู1ด้ซ้า ๑ ... สุขาปฏิปทา ฃิปปาภิญญา ปฏิบัติสะดวก ทั้งรู้ ไส์เ^ว ๑ ฯ ปฏิปทากลา ว่าด้วยปฏิปทา ๔ (นัยที่ ๒) «9. อักขมา ปฏิปทา ปฏิบ้ตไม่อดทน ๒. ขมา ปฏิปทา ปฏิบัติอดทน ฅ. ฑมา ปฏิปทา ปฏิบัติแก ๔. สมา ปฏิปทา ปฏิบัติระงับ ที่มา : ส์งคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๑๑ อปราปี จดสุโส ปฏิปทา : อกขมา ปฏิปทา, ขมา ปฏิปทา, ทมา ปฏิปทา, สมา ปฏิปทา ฯ แปล : ปฏิปทาอีก ๔ คือ อักขมา ปฏิปทา ปฏิบัติไม่อดทน ๑ ... สมา ปฏิปทา ปฏิบัติระงับ ๑ ฯ อธิบาย : ปฏิบัติไม่อดทน หมายถึงไม่อดทนต่อความหนาวงัอน เป็นต้น ปฏิบัติแก หมายถึงแกลำรวมอินทรีย์๖ คือ ดา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ หรีอแกอินทรียธรรมทั้งหลาย ปฏิบัติระงับ หมายถึงระงับอกุศลวิดกมี กามวิตกเป็นต้น (ที.ปา.อ. ๒๑๙) www.kalyanamitra.org

๕๔๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ธัมมปทกฝืา ว่าด้วยบทธรรมที่บัณฑิตไม่ละเลย ๔ ๑. อนภิชฌา ความไม่เพ่งเล็งอยากได้ ๒. อัพยาบาท ความไม่พยาบาทปองร้ายผู้อี่น ฅ. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๔. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ ที่มา ๑: ลังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ฅ๑๑ อดตาริ ธมฺมปทานิ ะ อนภิชุฌา รมุมปทํ, อพยาปาโท ธมุมปทํ, สมมาสติ ธมุมปทํ, สมุมาสมาธิ ธมมปทํ ฯ แปล ; บทธรรม ๔ คือ บทธรรมคือความไม่เพ่งเล็ง ๑ บทธรรม คือความไม่พยาบาทปองร้ายผู้อี่น ๑ บทธรรมคือความระลึกชอบ ๑ บท ธรรมคือความตั้งใจมั่นชอบ ๑ ฯ ที่มา ๒: อัมมปทสูตร ปฐมปัณณาสก์ อง..จตุฤก. ๒๑/๒๙ อนภิชุผาฤ วิหเรยย อพุยาปมุฌน เจตสา สโต เอกคุคจิตตสุส อชุฌตตํ อุ[สมาหิโต ฯ แปล พึงเนิน^ม่มากไปด้วยความเพ่งเล็ง มีใจไม่พยาบาท มีสติ มีจิตมีอารมณ์แน่วแน่ ตั้งมั่นด้วยติในความเป็น กลางอย่ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๔ ๕๔๓ ธัมมสมาทานกถา ว่าด้วยธรรมสมาทาน ๔ ๑. ให้ทุกข์ในป้จจุบันและมีทุกข์เป็นวิบากต่อไป ๒. ให้ทุกข์ในป้จจุบัน แต่มีสุขเป็นวิบากต่อไป ฅ. ให้สุขในป้จจุบัน แต่มีทุกข์เป็นวิบากต่อไป ๔. ให้สุขในปัจจุบันและมีสุขเป็นวิบากต่อไป ที่มา : สังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ต๑๑ จดดาริ ธมฺมสมาทานานิ : อดุลาจุโส ธมฺมสมาทานํ ปจจุปปนฺนํ ทุกฃณเจว อายติณจ ทุฤฃวิปากํ ... อุ[ฃวิปากํ ...อดุลาวุโส ธมมสมาทานํ ปชุทุปฺปนุนํ อ[ุ ฃญเจว อายติณจ ทุกฃวิปากํ ... อุ[ฃวิปากํ ... ฯ แปล : ธรรมสมาทาน ๔ คือ ธรรมสมาทานที่ให้ทุกข์ในปัจจุบัน ทั้งมีทุกข์เป็นวิบากต่อไปก็มี ธรรมสมาทานที่ให้ทุกข์ในปัจจุบัน แต่มีสุขเป็น วิบากต่อไปก็มี ธรรมสมาทานที่ให้สุขในปัจจุบัน แต่มีทุกข์เป็นวิบากต่อไป ก็มี ธรรมสมาทานที่ให้สุขในปัจจุบัน ทั้งมีสุขเป็นวิบากต่อไปก็มี ฯ อธิบาย : ธรรมสมาทาน หมายถึงการถือปฏิบัติธรรม หรือหลัก การที่ประพฤติ ข์อที่ ๑ ได้แก่ข้อปฏิบัติของพวกอเจลกคือพวกนักบวช เปลือยนอกพระพุทธศาสนา ข้อที่ ๒ ได้แก่การประพฤติพรหมจรรย์ ของผู้มีถึเลสแรงกล้า เมื่อไม่สามารถสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ก็ร้องไห้นํ้าตา นองหนัา ข้อที่ ต ได้แก่การปฏิบัติธรรมโดยคำนึงถึงความสบายเป็นหลัก หรือการหมกมุ่นอยูในกามทั้งหลาย ข้อที่ ๔ ได้แก่การประพฤติพรหมจรรย์ ในพระพุทธศาสนา (ที.ปา.อ. ๒๑๙) www.kalyanamitra.org

๕๔๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ธัมมขันธกลา ว่าด้วยธรรมขันธ์ ๔ ๑. สีลขัฬธ์ กองแส ๒. สมาธิขันธ์ กองสมาธิ ต. ฟ้ญญไขันธ์ กองปัญญา ๔. วิ ตติขันธ์ กองวิมุตติ ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๑๑ จดดาโร ธมมฤขนุธา ะ สีลคขนุโธ สมาธิกขนโธ ปญผาคขนุโธ วิมุดดิกฃนโธ ฯ แปล : ธรรมขันธ์ ๔ คือ สิลขันธ์ กองคืล ๑ สมาธิขันธ์ กองสมาธิ ๑ ปัญญาขันธ์ กองปัญญา ๑ วิมุตติขันธ์ กองวิมุตติ ๑ ฯ พลกลา ว่าด้วยพละ ธรรมเป็นกำลัง ๔ ๑. วิริยพละ กำ ลังคือความเพียร ๒. สดิพละ กำ ลังคือสติ ต. สมาธิพละ กำ ลังคือสมาธิ ๔. ปัญญาพละ กำ ลังคือปัญญา www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๔ ๕๔๕ ที่มา : ส์งคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ต๑๑ จดตาริ พลานิ : วีริยพลํ สติพลํ สมาธิพลํ ปณณาพลํ ฯ แปล : พละ (ธรรมเปีนกำลัง) ๔ คือ กำ ลังคือความเพียร ๑ กำ ลังคือสติ ๑ กำ ลังคือสมาธิ ๑ กำ ลังคือปัญญา ๑ ฯ อธิฏฐานกถา ว่าด้วยอธิษฐานธรรม ๔ ๑. ปัญญา รอบรูในสิงที่ควรรู้ ๒. สัจจะ ความจริงใจ คือประพฤติสิงใดก็ให1ด้จริง ต. จาคะ สละสิงที่เป็นข้าคืกแก่ความจริงใจ ๔. รุปสมะ สงบใจจากสิงที่เป็นข้าสืกแก่ความตาย ที่มา ๑: สังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ต๑๑ จดตาริ อธิฎุฮานานิ : ปฌณาธิฎฺรานํ สจจาธิฎจานิ จาคาธิฎจานิ คูปสมาธิฎฺจานิ ฯ แปล : อธิษฐาน (ธรรมที่ควรตั้งไว่ในใจ) ๔ คือ อธิษฐานคือ ปัญญา ๑ ... อธิษฐานคืออุปสมะ ๑ ฯ ที่มา ๒: ธาตุวิสังคสูตร ม.อุ. ๑๔/ฅ๔ฅ ปผผํ ฬปุปมชเชยฺย สจจมาjรณขยุย จาคมาjพฐเหยย สา4ติเมว ใส อุ[สิกเฃยุย ฯ แปล : ไมพงประมาทปัญญา พึงรักษาลัจจะเข้าไว้ พึงเพิ่มพูน จาคะ พึงคืกษาลันติเท่านั้น ฯ www.kalyanamitra.org

๕๔๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั 11ญหาพยากรณคฝิา ว่าด้วยหลักการตอบปัญหา ๔ ๑. เอผัสพยากรณียป็ญหา ป้ญหาviจะสัองตอบโดยส่วนเสียว ๒. วิภัชชพยากรณืยฟ้ญหา ปัญหาที่จะต้องแยกตอบ ฅ. ปฎิจฉาพยากรณียฟ้ญหา ปัญหาที่จะต้องสอบถามก่อนตอบ ๔. ฐปนียฟ้ญหา ปัญหาที่พึงงดเสีย (ไม่ต้องตอบ) ที่มา ๑: ลังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ต®๒ จตตาริ ปญหาพยากรณานิ ะ เอกํสพยากรณีโย ปณโห, ปฎิljจุฉา- พฺยากรณีโย ปญโห, วิภชุชพฺยากรณีโย ปณุโห, ฮปนีโย ปญโห ฯ แปล : ปัญหาพยากรถ!(หลักการตอบปัญหา) ๕ คือ เอกังส พยากรณียปัญหา ๑ ... ฐปนียปัญหา ๑ ฯ ที่มา ๒: ปัญทาพยากรณสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.จตุทก. ๒๑/000 เอกํสวจนํ เอกํ วิภชุชวจนาปรํ ฅดิยํ ปฎิlJจุเฉยุย จชุตถํ ปน ฟิาปเย ฯ แปล : กล่าวแกั!ดยส่วนเดียว ๑ จำ แนกกล่าวแก้ ๑ ย้อน ถามกล่าวแก้ ๑ งตกล่าวแก้ ๑ โย จ เนสํ ฅดล ดดฺถ ชานาติ อนุธมมดํ จนุปณหสุส คูสโล อาทุ ภิกชุ๊ ฅถาวิธํ ฯ แปล : ก็ภิกษุใดรู้ความเหมาะสมในฐานะนั้น ๆ แห่งปัญหา เหล่านั้น บัณฑิตทั้งหลายกล่าวภิกษุนั้นว่าเป็นผูฉลาตใน ปัฌหาทั้งส์ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๕๔๗ คัมมกถา ว่าด้วยกรรม ๔ ๑. กรรมดำ มีวิบากดำ ๒. กรรมขาว มีวิบากขาว ต. กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาว ๔. กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ที่มา ๑: ส์'งสืติสูตร ที.ปา. ๑๑/ฅ๑๒, กุกกุโรวาทสูตร คหปติวรรค ม.ม.๑ค/๘๑ จตุตาริ กมุมานิ : อตุถาวุโส กมุมํ กถเหํ กฉ!หริปากํ ... กมุมํ อุ[ฤกํ อุ[กกริปากํ ... กมมํ กลเหอุ[กก กณหอุ[กกริปากํ ... กมมํ อกถเหํ ออุ[ก.กํ อกณหออุ[ฤกริปากํ กมมฤขยาย สํวตุคติ ฯ แปล : กรรม ๔ คือ กรรมดำ มีวิบากดำก็มี กรรมขาว มี วิบากขาวก็มี กรรมทั้งดำทั้งขาว มีวิบากทั้งดำทั้งขาวก็มี กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพี่อความสินกรรมก็มี ฯ อธิบาย ะ กรรมดำ มีริบากดำ ไดํแก่ อกุศลกรรมบถ ๑อ ซึ๋ง อำ นวยผลให้บังเกิดในอบายภูมิ กรรมขาว มีริบากขาว ได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑0 ที่งอำนวยผลให้บังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ กรรมทังดำทังขาว มีริบากทัง ดำ ทั้งขาว ได้แก่ กรรมคละเคล้าผสมกันระหว่างอกุศลกับกุศล ที่งอำนวยผล ให!ด้รับทั้งทุกข์และสุขในภพที่เกิด กรรมไม่ดำไม่ขาว มีริบากไม่ดำไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม ได้แก่ ญาณในอริยมรรค ๔ (ที.ปา.อ. ๒๒อ) www.kalyanamitra.org

๕๔๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั สัจฉิกรณียธัมมกถา ว่าด้วยส์จฉิกรณียธรรม ๔ ๑. ชาติก่อน ควรทำให้ประจักษ์ด้วยสติ ๒. การธุติแอะอุบ้ติของสรรพสัตว์ ควรทำให้ประจักษ์ด้วยทิพพจักษุ ต. วิโมกข์ ๘ ควรทำให้ประจักษ์ด้วยนามกาย ๔. ความสิ้นอาสวะ ควรทำให้ประจักษ์ด้วยปัญญา ที่มา : ลังคีติสูตร ร1.ปา.๑๑/ฅ๑๒ จตุคาโร สจุฉิกรณียา ธมุมา : ใ^พุเพนิวาโส สติยา สชุฉิกรณีโย, สตุฅานํ ธุดูปปาโต จกชุนา สชุฉิกรณีโย, อฎุฮวิโมกฺฃา กาพน สจฉิกรณียา, อาสวานํ ขโย ปญผาย สจฉิกรณีโย ฯ แปล : สัจรกรณียธรรม (ธรรมที่พึงทำให้แจ้งประจักษ์) ๔ คือ พึงทำให้แจ้งซี่งขันธ์ที่ตนเคยอยู่อาสัยในกาลก่อนด้วยสติ ๑ พึงทำให้แจ้ง ซึ๋งจุติและอุบตของสัตว์ทั้งหลายด้วยจักษุ ๑ พึงทำให้แจ้งซึ๋งวิโมกข์ ๘ ด้วย กาย ๑ พึงทำให้แจ้งที่งความสินไปแห่งอาสวะทั้งหลายด้วยปัญญา ๑ ฯ โอฆกลา ว่าสัวยโอฆะ กิเลสดุจฟ้วงนํ้า ๔ ๑. กาโมฆะ ห้วงนํ้าคือกาม ๒. ภโวฆะ ห้วงนํ้าคือภพ ต. ทิฎโฐฆะ ห้วงนํ้าคือทิเ ๔. อวิชโชฆะ ห้วงนํ้าคืออวิชชา www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๕๔๙ ที่มา ะ ส์โงสืติสดร ที.ปา. ๑®/ต๑๒ จฅตาโร โอฆา ะ กาโมโฆ ภโวโฆ ทิฏโรโฆ อวิชุโชโฆ ฯ แปล : โอฆะ(กิเลสดุจห้วงนํ้าหลากท่วมใจส์ตว์)๔ คือ ห้วงนํ้า คือกาม ๑ ห้วงนํ้าคือภพ ๑ ห้วงนํ้าคือทิฐิ ๑ ห้วงนํ้าคืออวิชชา ๑ ฯ โยคคฝืา ว่าด้วยโยคะ กิเลสเค1องประกอบ ๔ ๑. กามโยคะ เครึ่องประกอบคือกาม ๒. ภวโยคะ เครื่องประกอบคือภพ ฅ. ทิฎเโยคะ เครื่องประกอบคือทิฐิ ๔. อวิชชาโยคะ เครื่องประกอบคืออวิชชา ที่มา ๑ ะ สังคีติ^ดร ที.ปา.๑๑/ฅ๑๒ จดคาโร โยคา : กามโยโค ภวโยโค ทิฎจิโยโค อวิชชาโยโค ฯ แปล : โยคะ (กิเลสเครื่องประกอบเหล่าส์'ตว1วิในวิฎฏทุกข์) ๔ คือ เครื่องประกอบคือกาม ๑ เครื่องประกอบคือภพ ๑ เครื่องประกอบคือ ทิฐิ ๑ เครื่องประกอบคืออวิชชา ๑ ฯ ที่มา ๒: โยคสูดร ปฐมปัณณาสก์ อ^.จดุทก.๒๑/๑0 กามโยเคน สํดูฅตา ภวโยเคน ดูภยํ ทิฎุเโยเคน สํยูตุตา อวิชชาย ใ^รกฃตา สตตา คจฉน.ติ สํสารํ ชาติมรณคามิโน ฯ www.kalyanamitra.org

๕๕๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั แปล สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ และอวิชชาโยคะ ย่อมเป็นผู้มีปกติถึงชาติ และมรณะ ถึงการเวียนว่ายตายเกิดอย่ ฯ วิสังโยคกลา ว่าสัวยวิส์งโยคะ เค1องพรากจากโยคะ ๔ ๑. เครื่องพรากจากโยคะคีอกาม ๒. เครื่องพรากจากโยคะคีอภพ ต. เครื่องพรากจากโยคะคือทิฐิ ๔. เครื่องพรากจากโยคะคืออวิชชา ที่มา ๑: ลังคีติสูตร ที.ปา. (>๑/ฅ๑๒ จตุตาโร วิสํโยคา ะ กามโยควิสํโยโค ภวโยควิสํโยโค ฑิฎจิโยค. วิสํโยโค อวิชชาโยควิสํโยโค ฯ แปล : วิสังโยคะ ๔ คือ เครื่องพรากจากโยคะคือกาม ๑ ... เครื่องพรากจากโยคะคืออวิชชา ๑ ฯ ที่มา ๒: โยคสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.จตุกุก. ๒๑/๑0 เย 9 กาเม ปริญผาย ภวโยคผจ สพพโส ทิฎเโยคํ สยูหชุจ อวิชุชญจ วิราชยํ ^ 'ตุฅา เต เว โยคาติคา ชุนี ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๕๕๑ แปล ส่วนสัตว์เหล่าใดกำหนดรู้กามโยคะและภวโยคะได้ โดยประการทั้งปวง ถอนขึ้นซึ่งทิฏเโยคะ และสำรอก อวิชชาโยคะเสิยได้ สัตว์เหล่านั้นแลเflนผู้พรากจาก โยคะทั้งปวงได้แล้ว เป็นมุนีผู้ล่วงฟ้นโยคะเสิยได้ ฯ อธิบาย : วิสังโยคะ หมายถึงธรรมที่ให้พรากพ้นจากโยคกิเลส ได้แก่อริยมรรค ๔ โดย ข้อที่ ๑ ได้แก่ฌานจิตที่พิจารณาความไฝงามของ ร่างกายเป็นอารมถ!จนถึงขั้นอนาคามิมรรค ข้อที่ ๒ และข้อที่ ๔ ได้แก่ อรหัตตมรรค ข้อที่ ฅ ได้แกโสดาปัตติมรรค (ที.ปา.อ. ๒๒๑) คันถกถา ว่าด้วยคันถะ ๔ ๑. เครื่องรัดกายคืออภิชฌา ๒. เครื่องรัดกายคือพยาบาท ฅ. เครื่องรัดกายคือสิสัพพตปรามาส ๔. เครื่องรัดกายคือความเซึ่อแน่ว่าสิงนี้เป็นจริง ที่มา : ส์งสีตสูตร ที.ปา.๑๑/ต๑๒ จตฺตาโร คนฺถา ะ อภิชุฌา กายคนุโถ, พยาปาโท กายคนฺโถ, สีลพุพฅปรามาโส กายคนุโถ, อิทํสจจาภินิทโส กายคนโถ ฯ แปล : คันถะ ๔ คือ เครื่องรัดกายคืออภิชฌา ๑ เครื่องรัด กายคือพยาบาท ๑ เครื่องรัดกายคือสิสัพพตปรามาส ๑ เครื่องรัดกายคือ ความเซึ่อแน่ว่าสิงนี้เป็นจริง ๑ ฯ อธิบาย : คำ ว่า คันถะ หรือ กายคันถะ หมายถึงเครื่องรัดกาย ทั้งนามกายและรูปกายของเหล่าสัตวิให้แน่นอยู่ในรัฎฏทุกข์ (ที.ปา.อ. ๒๑) www.kalyanamitra.org

๕๕๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ^ปาทานคลา ว่าด้วยอปาทาน ๔ ๑. กา3^ปาทาน ถือมั่นกาม ๒. ฑิฎธุปาทาน ถือมั่นทิฐิ ฅ. สีลัพพชุปาทาน ถือมั่นทิลและพรต ๔. อัตตวาทุปาทาน ถือมั่นวาทะว่าตน ที่มา : ลังสืติสูตร ที.ปา.พฅ๑๒/๒๕๙ จตตาริ รุปาทานานิ : กาทุปาทาน ทิฎุฮปาทานํ สีลพุพดูปาทานํ อฅตวาทุปาทานํ ฯ แปล : อุปาทาน(ความถือมั่น)๔ คือ ความถือมั่นกาม ๑ ความ ถือมั่นทิฐิ ๑ ความถือมั่นคืลและพรต ๑ ความถือมั่นวาทะว่าตน ๑ ฯ โยนิกลา ว่าด้วยกำเนิด ๔ ๑. อัณฑชโยนิ กำ เนิดโนไข่ ๒. ชลาทุชโยนิ กำ เนิดโนครรภ์ ฅ. สังเสทชโยนิ กำ เนิดโนเถ้าไคล ๔. โอปปาติกโยนิ กำ เนิดผุดขึ้น www.kalyanamitra.org

นละคณะ] หมวด ๔ ๕๕0) ที่มา : ส์โงคีตสูตร ที.ปา.๑๙ฅ๑๒ จตสฺใส โยนิโย : อณฺฑชโยนิ ชลาทุชโยนิ สํเสทชโยนิ โอปปาดิก- โยนิ ฯ แปล : กำเนิด ๔ คือ กำ เนิดของสัตว์ที่เกิดในไข่ ๑ กำ เนิดของ สัตว์ที่เกิดในครรภ์ ๑ กำ เนิดของสัตว์ที่เกิดในเถ้าไคล ๑ กำ เนิดของสัตว์ที่ เกิตผุดขึ้น (โอปปาติกะ)๑ ฯ สัพภาวักกันติกถา ว่าด้วยลักษณะการถือกำเนิดของมนุษย์ ๕ ๑. ไม่รู้สิกตัวทั้ง ฅ ระยะกาล ๒. รู้สีกตัวเฉพาะขณะลงส่ครรภ์มารดา ฅ. รู้สักตัวขณะถ้าวลงส่ครรภ์และขณะอยูในครรภ์มารดา ๔. รู้สักตัวทั้ง ต ระยะกาล ที่มา ส์ง้คีติสูตร ที.ปา. ๑๑/๓๑๒ จตสโส คพภไวกกนฺติโย : อิธาวุโส เอกจฺโจ อสมฺปชาโน มาดู กุจฉึ โอกกมติ, อสมฺปชาโน มาดู ภูจุฉิสุมึ «าติ, อสมปชาโน มาดู ดูจฉิสุมา นิกฃมติ ... สมฺปชาโน มาดู คูจฉึ... สมปชาโน มาดู คูจุฉิสุมึ ... สมุปชาโน มาดู ดูจฉิสุมา นิกฃมติ ฯ แปล : การถ้าวลงส่ครรภ์ ๔ คือ คนบางคนในโลกนี๋ไม่รู้สักตัว ขณะถ้าวลงส่ครรภ์มารดา ไม่รู้สักตัวขณะอยู่ในครรภ์มารดา ไม่รู้สิกตัว ขณะคลอดจากครรภ์มารตา นี้เปีนการถ้าวลงส่ครรภ์ฃ้อที่ ๑ คนบางคนใน www.kalyanamitra.org

๕๕๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั โลกนี้รู้สิกตัวขณะก้าวลงส่ครรภ์มารดาอย่างเดียว แต่ไม่รู้สิกตัวขณะอยู่ใน ครรภ์มารดา ไม่รู้สีกตัวขณะคลอดจากครรภ์มารดา นี้เป็นการก้าวลงส่ ครรภ์ข้อที่ ๒ คนบางคนโนโลกนี้รู้สิกตัวขณะก้าวลงส่ครรภ์มารดา รู้สิกตัว ขณะอยู่ในครรภ์มารดา แต่ไม่รู้สีกตัวขณะคลอดจากครรภ์มารดา นี้ เป็นการก้าวลงส่ครรภ์ข้อที่ ฅ คนบางคนในโลกนี้รู้สิกตัวขณะก้าวลงส่ ครรภ์มารดา รู้สิกตัวขณะอยู่ในครรภ์มารดา รู้สิกตัวขณะคลอดจากครรภ์ มารดา นี้เป็นการก้าวลงส่ครรภ์ข้อที่ ๔ ฯ อธิบาย : การก้าวลงสู่ครรภ์ หมายถึงลักษณะการถือกำเนิดของ มนุษย์ ข้อที่ ๑ หมายถึงการถือกำเนิดของมนุษย์ทั่วไป ข้อที่ ๒ หมายถึง การถือกำเนิดของพระอสิดีมหาสาวก ข้อที่ ฅ หมายถึงการถือกำเนิดของ พระอัครสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้า ข้อที่ ๔ หมายถึงการถือกำเนิดของ พระพุทธเจ้า (ที.ปา.อ. ๗๒-๗ฅ) อัตตฟิาวปฏิฝืาภคลา ว่าด้วยลักษณะการได้อัตภาพ ๔ ๑. ตรงกับความจงใจของตน ไม่ตรงกับความจงใจของผู้อี่น ๒. ตรงกับความจงใจของผู้อี่น ไม่ตรงกับความจงใจของตน ฅ. ตรงกับความจงใจของตน ทั้งตรงกับความจงใจของผู้อี่นด้วย ๔. ไม่ตรงกับความจงใจของตน ทั้งไม่ตรงกับความจงใจของผู้อี่น ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ฅ๑๒ จต.ตาโร อตตภาวปฎิลาภา : อตุลาวุโส อตุตภาวปฏิลาโภ, ยสุปี อตุตภาวปฎิลาเภ อตุตสญเจตนาพว กมติ, โน ปรสญเจตนา ... www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๔ ๕๕๕ ฟ่รสผฺเจตนาฒว คมติ, ไน อฅดสญเจตนา...อตตสญเจตนา เจว กมติ, ปรสญเจตนา จ ... เนว อดุตสผฺเจตนา กมติ, โน ปรสญเจตนา ฯ แปล : ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลาย การได้อัตภาพที่ตรงกับความ จงใจของตนอย่างเดียว ไม่ตรงกับความจงใจของผู้อี่นก็มี การได้อัตภาพ ที่ตรงกับความจงใจของผู้อื่นเท่านั้น ไม่ตรงกับความจงใจของตนก็มี การได้ อัตภาพที่ตรงกับความจงใจของตน ทั้งตรงกับความจงใจของผู้อื่นด้วยก็มี การได้อัตภาพที่ไม่ตรงกับความจงใจของตน ทั้งไม่ตรงกับความจงใจของผู้ อื่นก็มี ฯ อธิบาย : การได้อัตภาพ หมายถึงลักษณะการจุติหรือตายของ พวกเทพต่าง ๆ และลัตว์บางพวก โดยข้อที่๑ หมายถึงการจุติของพวกขิฑฑา ปโทสิกเทพ (ผู้พินาศเพราะความสนุกสนาน) ข้อที่ ๒ หมายถึงการตายของ พวกลัตว์ที่ถูกนายพรานฆ่า ข้อที่ ฅ หมายถึงการจุติของพวกมโนปโทลักเทพ (ผู้พินาศเพราะความติดมุ่งร้ายกัน) ข้อที่ ๔ หมายถึงการจุติของพวกเทพ ที่เหลือตั้งแต่เทพชั้นจาตุมหาราชิกาเป็นด้นไป (ที.ปา.อ. ๒๒๒) ทักขิณาวิสุทธิกถา ว่าด้วยความบริสุทธื้ไฝบริสุทธิ้แฟงทักษิณา ๔ ๑. ทักษิณาบรืสุทธิ้ฝ่ายทายก ไม่บรืสุทธิ้ฝ่ายปฏิคาหก ๒. ทักษิณาบริสุทธี้ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บรืสุทธิ้ฝ่ายทายก ต. ทักษิณาไม่บรืสุทธิ้ทั้งฝ่ายทายกและฝ่ายปฏิคาหก ๔. ทักษิณาบริสุทธิ้ทั้งฝ่ายทายกและปฏิคาหก www.kalyanamitra.org

๕๕๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา.qq/ฅ๑ฅ จดสโส ฑกฃิณาวิอุ[ฑุธิโย ะ อตุลาๅโส ทกฃิณา ทายกโต วิอุ[ชุฌติ, โน ปฎิตุคาหกโต ... ปฏิคุคาหกโต วิอุ[ชุฌติ, โน ทายกโต ... ฌว ทายกโต วิธุ[ชุฌติ โน ปฏิคคาหกโต ... ทายกโต เจว วิอุ[ชุฌติ ปฎิคคาหกโต จ ฯ แปล : ทักขิณาวิสุทธิ(ความบริสุทธี้แห่งทักษิณา)๔ คือ ทักษิณา บริสุทธฝ่ายทายก ไม่บริสุทธี้ฝ่ายปฏิคาหก ๑ ทักษิณาบริสุทธึ๊ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธึ๊ฝ่ายทายก ๑ ทักษิณาไม่บริสุทธี้ทั้งฝ่ายทายกทั้งฝ่ายปฏิคาหก ๑ ทักษิณาบริสุทธิ้ทั้งฝ่ายทายกทั้งฝ่ายปฏิคาหก ๑ ฯ อธิบาย : คำ ว่า ทักษิณา หมายถึงทานวัตถุหรือของทำบุญ คำ ว่า บริสุทธิ' หมายถึงมีผลมาก (ที.ปา.อ.๑อ๔) ข้อ๑ ได้แก่ ทายกมีคืลมีกัลยาณ ธรรม แต่ปฏิคาหกคือผู้รับทุสืลมีบาปธรรม ทักษิณาซี่อว่าบรืสุทธิ้ฝ่ายผู้ให้ ข้อ ๒ ได้แก่ ทายกทุคืลมีบาปธรรม แต่ปฏิคาหกมีคืลมีกัลยาณธรรม ทักษิณาซื่อว่าบรืสุทธิ้ฝ่ายผู้รับ ข้อ ฅ ได้แก่ ทั้งสองฝ่ายทุคืลมีบาปธรรม ทักษิณาซื่อว่าไม่บริสุทธิ้ทั้งสองฝ่าย ข้อ ๔ ได้แก่ ทั้งสองฝ่ายมีคืลมี กัลยาณธรรม ทักษิณาซื่อว่าบริสุทธี้ทั้งสองฝ่าย ฯ สังคหวัตลุกถา ว่าด้วยส์งหควัตถ ๔ ๑. ทาน ให้ปันสิงของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ๒. ปียวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิงที่เปันประโยชน์แก่ผู้อี่น ๔. สมานัตตตา ความเปันคนมีตนเสมอ ไม่ถึอตัว www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๔๕๗ ที่มา ๑: ส์งคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ต๑ต จตุตาริ สงคหวตุดูนิ : ทานํ ปียวชุชํ อตุถจริยา สมานตุฅตา ฯ แปล : ส์งคหวัตถุ (คุณธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวนํ้าใจผู้อื่น) ๔ คือ จ่ ^ จ ^ ^_ ทาน ๑ ป็ยวาจา ๑ อัตถจริยา ๑ สมานัตตตา ๑ ฯ ที่มา ๒ะ ส์งคหสูตร ปฐมปัณณาสก์ องฺ.จตุฤก. ๒๑/ฅ๒ ทานผฺจ เปยยวชชผจ อตุถจริยา จ ยา อิธ สมานตุตตา จ ธม.เมชุ ตตุถ ตตุถ ยลารหํ เอเต โข สงคหา ใสเก รถสสาณึว ยายโต ฯ แปล : การให้ปัน ๑ การเจรจาไพเราะ ๑ การบำเพ็ญประโยชน์ ในโลกนี้ ๑ การเป็นผู้มีตนสมํ่าเสมอในธรรมนั้น *1 ตาม สมควร ๑ ธรรมเหล่านั้นแลเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจกันไว้ ในโลก เหมือนสลักเพลารถคุมรถที่แล่นไปอยู่ไว้ฉะนั้น ฯ เอเต จ สงคหา นาชุชุ น มาตา ใ^ตุตการณา ณภถ มานํ \\เชํ วา ปีตา วา นี่ตุตการณา ฯ แปล ถ้าธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวใจเหล่านี้!ม่พึงมีไซร้ มารดา หรือบิดาก็จะไฝพึงได้ความนับถือหรือการบูชาเพราะเหตุ แห่งบุตร ฯ ยสมา จ สงฺคหา เอเต สมเวฤขนติ ปณฑิตา ตชุมา มหตุฅํ ปปโปนฺติ ปาส์สา จ ภวนุติ เต ฯ แปล : ก็เพราะบัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นธรรมเครื่องยึด เหนี่ยวใจเหล่านี้ ฉะนั้น บัณฑิตเหล่านั้นจึงถืงความ เป็นใหญ่และเป็นที่น่าสรรเสริญ ฯ www.kalyanamitra.org

๕๕๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงศ์ อนริยโวหารกถา ว่าด้วยอนริยโวหาร ๔ (นัยที่ ๑) ๑. พูดเท็จ ๒. พูดส่อเสียด ต. พูดคำหยาบ ๔. พูดเพ้อเ^อ ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา.«๑/ฅ๑ต จตุตาโร อนริยโวหารา ะ ชุสาวาโฑ ปีธ[ุ ณา วาจา ผเสา วาจา สชุผปฺปอาโป ฯ แปล : อนริยโวหาร (ลักษณะการใช้วาจาของเหล่าอนารยซนผู้ตํ่า ทราม)๔ คือ พูดเท็จ ๑ พูดส่อเสียด ๑ พูดคำหยาย ๑ พูดเฟ้อเจ้อ ๑ ฯ อนริยโวหารกถา ว่าด้วยอนริยโวหาร ๔ (นัยที่ ๒) ร). เมึ๋อไม่ไส์เห็น 'ดูดว่าไสัเห็น ๒. เมื่อไม่ได้ยิน พูดว่าได้ยิน ต. เมื่อไม่ได้ทราบ พูดว่าได้ทราบ ๔. เมื่อไม่ได้รู้แจ้ง พูดว่าได้รู้แจ้ง ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา. «๑/ต๑ฅ อปเรปี จตุตาโร อนริยโวหารา : อทิฎฺเจ ฑิฎฺจวาทิตา, อฮุอุ[เต อุ[ตวาทิตา, อชุเต ชุตวาทิตา, อวิญณาเต วิญณาตวาทิตา ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๔ แปล ะ อนริยโวหารอีก ๔ คือ เมี่อไม่ได้เห็น พูดว่าได้เห็น ๑ ... เมื่อไม่ได้รู้แ^ง พูดว่าได้รู้แจ้ง ๑ ฯ อนริยโวหารกถา ว่าด้วยอนริยโวหาร ๕ (นัยที่ ฅ) ๑. เมื่อได้เห็น พูดว่าไม่ได้เห็น ๒. เมื่อได้ยิน พูดว่าไม่ได้ยิน ต. เมื่อได้ทราบ พูดว่าไม่ได้ทราบ ๔. เมื่อได้รู้แจ้ง พูดว่าไม่ได้รู้แจ้ง ที่มา : ส์งคีติสูตร ที.ปา. «๑/ฅ®ต อปเรปี จตตาโร อนริยโวหารา : ฑิฎฺเ« อทิฎ«วาทิตา, อุ[เต อสอุ[ตวาทิตา, ชุเต อชุตวาทิตา, วิฌณาเต อวิณ่ฌาตวาทิต่า ฯ แปล : อนริยโวหารอีก ๔ คือ เมื่อได้เห็น พูดว่าไม่ได้เห็น ๑ ... เมื่อได้รู้แจ้ง พูดว่าไม่ได้รู้แจ้ง ๑ ฯ อริยโวหารกลา ว่าสืวยอริยโวหาร ๔ (นัยที่ ๑) ๑. เว้นจากพูดเห็จ ๒. เว้นจากพูดส่อเสียด ต. เว้นจากพูดคำหยาบ ๔. เว้นจากพดเพ้อเจ้อ www.kalyanamitra.org

๕bo คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงสั ที่มา ลังคีติสูตร ที.ปา.qq/ฅ๑ฅ จตฺตาโร อริยโวหารา ะ เ^สาวาทา เวรมณี, ปีอ[ุ ฌาย วาจาย เวรมณี, ผรุสาย วาจาย เวรมณี, สมผปฺปลาปา เวรมณี ฯ แปล : อริยโวหาร (ลักษณะการโ'รวาจาของเหล่าอารยซนผู้ เป็นลัตบุรุษ) ๕ คือ เว้นจากพูดเท็จ ๑ ... เว้นจากพูดเฟ้อเจ้อ ๑ ฯ อริยโวหารกลา ว่าด้วยอริยโวหาร ๔ (นัยที่ ๒) ๑. เมื่อไฝได้เห็น พูดว่าไฝได้เห็น ๒. เมื่อไฝได้ยิน พูดว่าไฝได้ยิน ฅ. เมื่อไฝได้ทราบ พูดว่าไฝได้ทราบ ๔. เมื่อไฝได้รู้แจ้ง พูดว่าไม่ได้รู้แจ้ง ที่มา : ลังคีติสูตร ที.ปา.๑๙ต๑ต อปเรปี จตุคาโร อริยโวหารา ะ อฑิป็เจ อทิฎฺจวาทิตา, อสธุ[เต อสฺอุ[ตวาทิตา, อบุเต อบุตวาทิตา, อวิณฺณาเต อวิณณาตวาทิตา ฯ แปล : อริยโวหารอีก ๔ คือ เมื่อไม่ได้เห็น พูดว่าไม่ได้เห็น ๑ ... เมื่อไฝได้รู้แจ้ง พูดว่าไม่ได้รู้แจ้ง ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด๔ ๕๖๑ ^ อริยโวหารกลา ว่าด้วยอริยโวหาร ๔ (นัยที่ ค) ^ ร* <รุ_ พูดว่าได้เห็น ๑. พูดว่าได้ยิน ฅ. เมื่อได้ทราบ พดว่าได้ทราบ J ■ๆ .if พูดว่าได้รู้แจ้ง ที่มา : สังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/ค๑๓ อปเรปี จตุตาโร อริยโวหารา : ทิฎเจ ทิฎรวาทิตา, ลุ[เต ล[ุ ตวาทิตา, มุเต มุตวาทิตา, วิญณาเต วิญณาตวาทิตา ฯ * แปล : อนริยโวหารอีก ๕ คือ เมื่อได้เห็น พูดว่าได้เห็น ๑ ... เมื่อได้รู้แจ้ง พูดว่าได้รู้แจ้ง ๑ ฯ สมณกถา ว่าด้วยบุคคลผู้เป็นสมณะ ๕ ๑. สมณมจละ สมณะผู้!ม'หวั่นไหว ๒. สมณปชุมะ สมณะเปรียบด้วยดอกบัวหลวง ฅ. สมณใ]ณฑรีกะ สมณะเปรียบด้วยดอกบัวขาว ๔. สมณลุ[ชุมาละ สมณะผู้ละเอียดอ่อนในสมณะทั้งหลาย ที่มา : สังคีติสูตร ที.ปา.๑๑/๓๑๔ จตุตาโร ใ]คคลา ะ สมณมจ!ล สมณปใาโม สมลเใ]ฌุฑริไก สมเสเลุ[ สมณลุ[ชุมาโล ฯ www.kalyanamitra.org

๕๖๒ คลังธรรม แปล : บุคคลอีก ๔ คือ สมณมจละ'-^สฒ§เป็นสมณะ^ม่ หวั่นไหว ๑ สมณปทุมะ บุคคลผู้เป็นสมณะเปรียบด้วยดอกบัวหลวง ๑ สมณปุณฑรีกะ บุคคลผู้เป็นสมณะเปรียบด้วยดอกบัวขาว 6> ^ สมเณสุ สมณสุชุมาละ บุคคลผู้เป็นสมณะผู้ละเอียดอ่อนในสมณะทั้งหลาย ๑ ฯ อธิบาย : บุคคลผู้เป็นสมณะ ในที่นี้หมายถึงสมณะผู้เป็นพระ อริยบุคคล ๔ ประเภท คือ สมณะผู้!ม่หวันไหว ได้แก่ พระโสดาบันซึ๋ง เป็นผู้มีศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย สมณะเปรียบด้วยดอกบัวหลวง ได้แก่ พระสกทาคามี^งเป็นผู้ทาราคะ โทสะได้เบาบาง สมณะเปรียบด้วยดอกบัว ขาว ได้แก่ พระอนาคามีซึ่งเป็นผู้ปราศจากราคะ โทสะ จักเบ่งบาน(ตรัสรู้) ในไม่ฟ้า สมณะผู้ละเอียดอ่อนในสมณะบังหลายได้แก่ พระอรหันต์ซึ่งเป็นผู้ หมดกิเลสที่ทาความกระด้างทั้งปวง (ที.ปา.อ. ๒๒ต) อบ คลังธรรม เล่ม ๑ www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org