๔00๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : เมื่อบุคคลรู้แจ้งร่งธรรมอ้นเลิศ เลื่อมใสโดยความ เป็นของเลิศ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็น ทักฃิไณยบุคคลชั้นเยี่ยม เมื่อเลื่อมใสในพระธรรมอ้น เลิศซึ่งเป็นธรรมปราศจากราคะ สงบและเป็นสุข เมื่อ เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศซึ่งเป็นบุญเขตชั้นเยี่ยม ฯ แปล : อๆคสุมึ ทานํ ททดํ อๆคํ ปวฑฺฒดิ อๆคํ อาบุ จ วณุโณ จ ยโส กิตุติ อุ[ขํ พลํ ฯ เมื่อถวายทานในท่านผู้เลิศนั้น บุญอ้นเลิศย่อม เจริญเรื่อยไป อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขะ และ พละอ้นเลิศก็ย่อมเจริญเรื่อยไป ฯ แปล ะ อๆคสุส ทาดา ฌธาวึ อๆคธมมสมาหิโฅ เทวฎใต มบุสุใส วา อๆคปฺปตใฅ ปโมทติ ฯ ผู้มีปัญญาตั้งมั่นแล้วในธรรมอ้นเลิศ ให้ทานแก่ท่าน ผู้เป็นบุญเขตอ้นเลิศ จะเกิดเป็นเทวดาหริอมนุษย์ก็ตาม ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศ บันเทิงอยู่ ฯ กามูปฟ้ตติกถา ว่าด้วยผู้ตกอยู่ในอำนาจกาม ๓ ๑. ผู้มีกามปรากฎอยู่ตามธรรมชาติ ๒. เทวดาชั้นนิมมานรดี ฅ. เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ฅ ๔๓๙ ที่มา : กามูปปัตติสูตร ปัญจมวรรค ติกนิบาต ชุ.อิติ. ๒๕/๙๕ ติสโส อิมา ภิกฃท กามูปปตุติโย ฯ กตมา ติสโส ฯ ปชุชุปฎุริต- กามา นิมุมานรติโน ปรนิมุมิฅวสวตุติโน ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ตกอยู่ในอำนาจกามนี้มื ฅ ประเภท ฅ ประ๓ทคีออะไรบ้าง คือ เหล่าส์'ตว์ที่มีกามปรากฏอยู่ตามธรรมชาติ ๑ เทวดาชั้นนิมมานรดีที่ยินดีในทิพยสมบัติที่ตนเนรมิตขึ้นเอง ๑ เทวดาชั้น ปรนิมมีตวสวัตดีที่ยินดีในทิพยสมบัติที่เทวดาเหล่าอื่นเนรมิตให้ ๑ ฯ ปชุธุปฏุริฅกามา จ เย เทวา วสวตติโน นิมมานรติโน เทวา เย จญเฉเ กามโภคิโน อิตุถภาวณกเถาภาวํ สํสารํ นาติวตฺฅเร ฯ แปล : เหล่าสัตว์ผู้มิกามปรากฏอยู่ตามธรรมชาติ เทวดาผู้ ยินดีในกามที่ตนเนรมิตเอง เทวดาผู้บริโภคกามที่ผู้อื่น เนรมิตให้ รวมทั้งหมู่มนุษย์และสัตว์ผู้ยินดีในกามอื่น ๆ ย่อมไฝล่วงพ้นสังสารวัฏอันมิความเป็นอย่างนี้และความ เป็นอย่างอื่นไปได้ ฯ อุตตม!]ริสคฝืา ว่าด้วยลักษณะของภิกษผ้ลุถึงจดสิงสด ต ๑. มิสืลงาม ๒. มิธรรมงาม ฅ. มิปัญญางาม www.kalyanamitra.org
๔๔๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา ะ กัลยาณสืลสูตร ปัญจมวรรค ดิกนิบาต ชุ.อิดิ. ๒๙๙๗ คลยาณสีไล ภิๆขท ภิฤชุ กลยาณธมฺโม กลยาณฟ่ผโผ อิมฤ[มึ ธมมวินเย เกวลี รุสิฅวา รุตตม1jริโสติ ๅจจติ ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มีสืลงาม ๑ มีธรรมงาม ๑ มีปัญญางาม ๑ เราเรียกว่า 'ผู้บรรลุนิพพาน ผู้อยู่จบพรหมจรรย์ ผู้เป็น บุรุษสูงสุด' ในธรรมวินัยนี้ ฯ ยสฺส กาเยน วาจาย มนสา นตลี บุกกฎํ ติ เว กลยาณสีโลติ อาบุ ภิกรุ๊ หิรีมฬํ ฯ แปล : พระอรียเจ้าทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นเรียกภิกษุ ผู้!ม่ทาความชั่วต้วยกาย วาจา ใจ ผู้มีหิรีนั้นว่าเป็นผู้มี สืลงาม ฯ ยสุส ธมมา สุภาวิตา สดุต สมโพธิคามิโน ติ เว กลยาณธมุโมติ อาบุ ภิกชุ๊ อบุสุสทํ ฯ แปล : เรียกภิกษุผู้บำเพ็ญโพธิปักขิยธรรม ฅ๗ ประการมา แล้วเป็นอย่างดี ผู้!ม่มีกิเลสเป็นเครื่องฟูขึ้นนั้นว่าเป็นผู้มี ธรรมงาม ฯ โย บุกขสุส ปชานาติ อิเธว ขยมตฺตโน ติ เว กสุยาณปผโผติ อาบุ ฟิครุ๊ อนาสวํ ฯ เตหิ ธมเมหิ สมปนนํ อนึฆํ ฉินนสํสยํ อสิติ สพุพโลกสุส อาบุ สพุพปหายินํ ฯ แปล : เรียกภิกษุผู้รู้ประจักษ์ถึงความสินทุกข์ของตนใน อัตภาพนี้ ผู้!ฝมีอาสวะ สมบูรณ์ต้วยธรรมเหล่านั้น ไม่มี www.kalyanamitra.org
นละคณะ] หมวด ๓ ๔๔๑ ความทุกข์ ตัดความสงลํโยเสียได้ ไม่มีตัณหาและทิฐิ เป็นที่อาตัยอีกต่อไป ละกิเลสทุกอย่างในโลกได้หมดสิน นั้นว่าเป็นผู้มีปัญญางาม ฯ ธนวินทกกถา ว่าด้วยผู้ที่หาทรัพย1ด้ ฅ ๑. ทางานเหมาะสม ๒. เอางานเอาการ ฅ. มีความขยันหมั่นเพียร ที่มา : อาฬวกสูตร อุรควรรค ชุ.สุ. ๒(ะ/๑๔๙ ปฏิรูปการี ธุรวา ลูป็®ใ^ใ วินทเต ธนํ ฯ แปล : คนที่ทำงานเหมาะสม เอางานเอาการ มีความขยัน หมั่นเพียร ย่อมหาทรัพยั1ด้ ฯ มุนิกถา ว่าด้วยลักษณะของมุนี ฅ ๑. ดำ รงตนตรงดุจกระสวย ๒. เกลียดกรรมชั่ว ฅ. พิจารณาเห็นกรรมที่เป็นอกุศลและกุศล www.kalyanamitra.org
๔๔๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตต็วงส์ ที่มา มุนิสูตร อุรควรรค ชุ.ฟื. ๒๙๒๑๗ โย เว ฮิฅตฺโต ฅสรํว รุชุชุ ชิดูจฺฉติ กมุเมหิ ปาปเกหิ วีมํสมาโน วิสมํ สมณุจ สํ วาปี ธีรา IJW เวทยนฺติ ฯ แปล : ผู้ที่ตั้งตนไว้ถูก เป็นคนตรงดุจกระสวย เกลียด กรรมชั่ว พิจารณาเห็นทั้งกรรมที่ไม่ถูกต้องและถูกต้อง นักปราชญ์เรียกว่าเป็นพระมุนี ฯ อุปมาคฝืา ว่าด้วยอุปมาเกี่ยวกับการทำบุญ ๓ ๑. พระอรหันต์ทั้งหลายเปรียบต้วยนา ๒. ทายกทั้งหลายเปรียบต้วยซาวนา ต. ไทยธรรมเปรียบต้วยพิซ ที่มา : เขตดูปมฟตวัตถุ อุรควรรค ชุ.เปต. ๒๖/๑ เขตฺดูปมา อรหนฺโฅ ทายกา กลุ[สถูปมา พี'{ปมํ เทยุยธมุมํ เอตฺโฅ นิพฺพฅฅเฅ ผลํ ฯ แปล ะ พระอรหันต์ทั้งหลายเปรียบเหมือนนา ทายกทั้งหลาย เปรียบเหมือนชาวนา ไทยธรรมเปรียบเหมือนพืช ผล ทานย่อมเกิดจากการบริจาคไทยธรรมแก่ปฏิคาหกของ ทายก ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๔๓ สฃังเสติกถา ว่าด้วยผู้อยู่เป็นสุข ฅ ๑. ผู1ฝต้องดูแลใคร ๒. ผู้Iฝต้องไหใครดูแล ฅ. ผู้!ม่มีเยื่อใยในกาม ที่มา : สุขวิหาริชาดก อปัณณกวรรค เอกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๑0 ยญจ อผฒ น รกขนฺดิ โย จ อญเผ น รกขดิ ส เว ราช อุ[ขํ เสติ กาเมอุ[ อนเปกขวา ฯ แปล : ผู้ที่ไม่ต้องใหใครดูแล ๑ ผู้ที่ไม่ต้องดูแลใคร ๑ ผู้ที่ ไม่มีเยื่อใยในกามทั้งปวง ๑ ย่อมอยู่เปีนสุข ฯ อวัชชวาจากถา ว่าด้วยคำพูดที่มีโทษ ฅ ๑. คำ พูดที่ดังเกินไป ๒. คำ พูดที่แรงเกินไป ต. คำ พูดที่เกินเวลาไป ที่มา : ติตติรชาดก ห้งสิวรรค เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๔ อจุชุคฺคตา อติพลดา อติเวลํ ปภาสิฅา วาจา หนติ ทุมเมธํ ติตติรํวาติวสุสิตํ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๔๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวง^ แปล ะ คำ พูดที่ดังเกินไป ๑ คำ พูดที่แรงเกินไป ๑ คำ พูดที่ เกินเวลาไป ๑ ย่อมฆ่าคนพูดผู้มีป้ญญาเขลาเสีย เหมือน เสียงขันฆ่านกกระทาที่ฃันดังเกินไป ฯ ฑิฎฐาติว้ตตนกถา ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้ล่วงพ้นสัตรู ฅ ๑. ความขยัน ๒. ความแกล้วกล้า ต. ปัญญา ที่มา ะ ตโยธัมมซาดก อาสิสวรรค เอกกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๕๔ ยณสเด 9 ฅโย ธมฺมา วานรินุท ยถา ฅว ทคขิยํ ฐริยํ ปญผา ทิฎฮํ ใส อดิวดฺฅดิ ฯ แปล : ดูก่อนพญาวานร ผูใดมืธรรม ต ประการนี้ คือ ความขยัน ๑ ความแกล้วกล้า ๑ ปัญญา ๑ เหมือนท่าน ผู้นั้นย่อมล่วงฟันดัตรูได้ ฯ วิเทสวาสกถา ว่าด้วยข้อควรปฏิบัติเมื่ออยู่ต่างถิ่น ๓ ๑. ควรเก็บคำหยาบคาย ๒. อย่าแสดงความถึอดัว ต. ควรอดทนแม้คำขู่ดะคอกของคนชั้นคำ www.kalyanamitra.org
และคณะ] ทมวด ๓ ๔๔๕ ที่มา ะ ทัททรซาดก กาสิงควรรค จตุกกนบาต ชุ.ชา.๒๗/«๑๕-๕๑ฬ สกา รฎรา ปพุพาชิโต อฌณํ ชนปฑํ คโฅ มหนุตํ โกฎรํ กยิราถ ชุเฅตานํ นิเธตเว ฯ แปล : บุคคลผู้ถูกขับไล่จากบ้านเมืองของตนไปอยู่ยังถิ่นอี่น ควรสร้างฉางใหญ่ไว้สำหรับเก็บคำหยาบคายทั้งหลาย ฯ ยฅล โปสํ น ชานนติ ชาติยา วินเยน วา น ฅตุถ มานํ กยิราล วสํ อลเณาฅเก ชเน ฯ แปล : ในถิ่นใดไฝมืใครรู้จักตนทั้งโดยชาติกำเนิดหรือคุณธรรม เมื่อไปอยู่ในหมู่คนที่ไม่รู้จักในถิ่นนั้น ก็อย่าแสดงความ ถือตัวออกมา ฯ วิเทสวาสํ วสโต ชาตเวทสเมนปี ฃมิตพพํ สปญเผน อปี ทาสสุส ตช.ชิตํ ฯ แปล : เมื่ออยู่ต่างถิ่น ถึงจะมืปัญญาเสมอด้วยดวงตะวัน ก็ด้องอดทนให1ด้แม้กระทั่งคำขู่ตะคอกของคนรับใขั ฯ อเสวิตพพกถา ว่าด้วยคนไฝน่าคบ ฅ ๑. คนที่ไม่รู้จักบุญคุณใคร ๒. คนที่ไม่เคยทำความดีแกใคร ต. คนที่ไม่ตอบแทนความดีของใคร www.kalyanamitra.org
๔๔๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : ขวสกณขาดก กาลิงควรรค จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕ฅ๒ อกตณณมกตตารํ กตสส อปฺปฏิการกํ ยสมึ กดญณุตา นตลิ นิรตถา ฅสส เสวนา ฯ แปล : ผู้ที่ไม่สำนึกถึงบุญคุณของใคร ๑ ผู้ที่ไม่เคยทำความ ดีให้แก่ใคร ๑ ผู้ที่ไม่ตอบแทนบุญคุณที่เขาเคยทำให้ ๑ คน ฅ ประ๓ทนี้เป็นคนน่าตำหนิ ความกตัญฌูไม่มีใน การคบหากับผู้นั้นย่อมป่วยการเปล่า ฯ ปรมภริยากถา ว่าด้วยลักษณะของยอดภรรยา ๓ ๑. เมี่อสามีขัดลน ก็ขัดสนด้วย ๒. เมื่อสามีมั่งคั่ง ก็พลอยมั่งคั่งด้วย ต. เมื่อสามีมีซื่อเสียง ก็มีซื่อเสียงด้วย ที่มา : สุจจซซาดก ปุจิมันทวรรค จตุกกนิบาต ชุ.ซา.๒๗/๕๘๑ ยา ทลิทุที ทรทุทสฺส อฑฺฒา อฑฒสส กิตุติมา สา หิสส ปรมา ภริยา สหิรญณสุส อิตฺลิโย ฯ แปล : หญิงใดเมื่อสามีขัดสนก็ขัดสนด้วย เมื่อสามีมั่งคั่งก็ พลอยเป็นผู้มั่งคั่งมีซื่อเสียงด้วย หญิงนั้นแลนับว่าเป็น ยอดภรรยาของเขา เพราะผู้มีเงินย่อมมีหญิงหลายคน ฯ www.kalyanamitra.org
นละคณะ] หมวด ๓ ๔๔๗ อธิบาย : หมายถึงภรรยาคู่ทุกข์คู่ยาก ไม่ทอดทิ้งกันทั้งในยาม สุขและยามทุกข์ ธรรมดาชายที่รํ่ารวยมักมีภรรยาหลายคน โนจำนวนนั้น ภรรยาบางคนอาจทอดทิ้งสามีไดในเมื่อสามียากจนลงหรือหมดอำนาจวาสนา ส่วนภรรยาที่ไม่ทอดทิ้งในยามนั้นจึงซื่อว่ายอดภรรยา ฯ นวสตีกถา ว่าด้วยสถานที่ที่คนดีอยู่ไม่ได้ ฅ ๑. เป็นที่ไม่มีการนับถึอคนดี ๒. เป็นที่มีแต่การดูถูกคนดี ต. เป็นที่มีแต่การยกย่องคนเลว ที่มา : เนรุขาดก อาวาริยวรรค ฉักกนิบาต ชุ.ขา.๒๗/๘๖๔ อมานนา ยตุถ สิยา สนตาฟ้ วา วิมานนา หืนสมมานนา วาปี น ตตุถ วสตี วเส ฯ แปล : ในที่ใดไม่มีการนับถึอคนดี มีแต่ดูถูกคนดี หรือมีแต่ ยกย่องคนเลว ในที่นั้นคนดีย่อมอยู่ไม่ได้แน่แท้ ฯ ทุฏเฐนตถิกถา ว่าด้วยสิงที่หาไม่ไดในคนโหดร้าย ฅ ๑. เหตุผล ๒. คุณธรรม ต. คำ พดที่ดี www.kalyanamitra.org
๔๔๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ท4ีมา ทีป็ซาดก กัจจานิวรรค อัฏฐกนิบาต ชุ.ชา. ๒๗/๑เอต๕ แปล ะ ฌว ชุฎเฟิ นโย อดลิ น ธมฺโม น สุ[ภาสิดํ นิกุกมํ ชุ่ฎเ« ยูญเชถ โส จ สพภิ น รชุชติ ฯ เหตุผล ๑ คุณธรรม ๑ คำ พูดที่ดี ๑ ย่อมไฝมีใน คนชั่วร้าย จึงควรพยายามหลีกให้พ้นจากคนโหดร้าย เพราะเขาไม่ยินดีคำพูดดีของคนดีหรอก ฯ ฑหรามตกถา ว่าด้วยเหตุfiไม่ตายในวัยหนุ่มสาว ฅ ๑. ก่อนให้ทาน ตั้งใจไร้ดี ๒. กำ ลังให้ทาน ชื่นซมยินดี ๓. ครั้นให้แลัว ไม่เดีอดร้อนใจภายหลัง ที่มา : มหาธัมมปาลชาดก ทสกนิบาต ชุ.ชา.๒๗/๑๔๔ต ม่พูเพว ทานา ส[ุ มนา ภวาม ททํปี เว อดดมนา ภวาม ทตุวาปี เว นาชุดปาม ปชุฉา ดสุมา หิ อมหํ ทหรา น มิยยเร ฯ แปล : ก่อนจะให้ทาน พวกเราก็เป็นผู้ตั้งใจดี แม้กำลังให้ ก็ชื่นซมยินดี ครั้นให้แล้วก็ไม่เดีอดร้อนใจในภายหลัง เพราะเหตุนี้แหละ คนในตระกูลของเราจึงไม่ตายแต่ยัง หนุ่มสาว ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หร4วด ๓ ๔๔^ อัปปifญญคถา ว่าด้วยลักษณะของผู้มีปัญญาน้อย ๓ ๑. ได้^ความสุขแล้วมัวเมา ๒. ถูกความทุกข์กระทบแล้วถึงกับหลงเพ้อ ฅ. ถูกสุขทุกข์ที่จรมากระทบเข้าแล้วหวั่นไหว ทีมา : สิริมันทขาดก วีสตินบาต ชุ.ซา. ๒๗/๒ฅ0๖ ลทฺธา สุขํ มชุชติ อปฺปปผโผ ทุฤเขน ชุฎุใฟิปี ปโมหเมติ อาคนดูนา ลุ[ขทุชุเขน ชุฎฺโฮ ปทธติ วาริจโรว ฆมุเม ฯ แปล ะ คนที่มีป็ญญาน้อยไล้รับความสุขเข้าก็มัวเมา ครั้นถูก ความทุกข์กระทบเข้าก็ถึงกับหลงเพ้อไป ถูกสุขทุกข์ที่จร มากระทบเข้าก็กระเสีอกกระสนเหมือนปลายามหน้าแล้งฯ อุตตมขันติกถา ว่าด้วยขันติชั้นยอด ฅ ๑. อดทนต่อถ้อยคำของคนที่สูงกว่าไล้ ๒. อดทนต่อถ้อยคำของคนเสมอกันไล้ ๓. อดทนต่อถ้อยคำของคนเลวกว่าไล้ www.kalyanamitra.org
๔๕0 คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : สรภังคซาดก จัตตๆ?นิบาต ชุ.ขา.๒๗/ฅอต๙ ภยา หิ เสฎ«สุส วโจ ขเมถ สารมภเหสู ปน สาทิสสุส โย จีธ หีนสส วโจ ขเมถ เอฅํ ขนฺดี อุดตมมาชุ สนุโต ฯ แปล ะ คนเราอดทนถ้อยคาของคนผู้เหนือกว่าได้เพราะ ความกลัว ๑ อดทนถ้อยคำของคนที่เท่าเทียมได้เพราะ การแข่งขัน ๑ ส่วนผู้ใดในโลกนี้อดทนถ้อยคำของคนที่ ด้อยกว่าได้ ๑ ลัดบุรุษทั้งหลายกล่าวความอดทนของผู้ นั้นว่าสูงสุด ฯ นิญญวันตคลา ว่าด้วยลักษณะของฝ็มีปัญญา ๓ ๑. คิดแสืป้ญหาทึ๋ลิกชึ๋[งได้ ๒. ไม่vfาความชั่วไร้ประโยชน์ ฅ. ไม่ละทางประโยซน์ที่มาถึง ที่มา : สรภังคขาดก จัดตาฟ้สนิบาต ขุ.ขา.๒๗/ต0๕0 คมุภีรปผุหํ มนสาภิจินดยํ นจุจาหิตํ กมฺม กโรติ อุทุทํ คาสาคดํ อตลปทํ น ริเบจติ ตถาวิธํ ปลเณวนุตํ วทนติ ฯ www.kalyanamitra.org
นละคณะ] ทมๆฟิ 0) ๔๕๑ แปล ; ผู้ที่ฃบคิดแก้ปัญหาอันลึกซึ้งได้ ๑ ไม่ทาความชั่วหา ประโยชน์มิได้ ๑ ไม่ละทางแห่งประโยชน์ที่มาถึงตาม จังหวะ ๑ ผู้มิลักษณะเซ่นนั้นบัณฑิตทั้งหลายเรียกว่าผู้มิ ปัญญา ฯ สัปไ]ริสกลา ว่าด้วยคุณสมบัติของคนสื ฅ ๑. เป็นคนกตัญฌูกตเวที ๒. เป็นกัลยาณมิตรผู้รักใคร่มั่นคง ต. เป็นคนมีนั้าใจซ่วยเหลือผู้มีทุกฃ์ด้วยความเต็มใจ ที่มา : สรภังคซาดก จัดตาสิสนิบาต ชุ.ซา.๒๗/ฅ0«๑ โย ท กตฌ.ญ กตเวที ธีโร กลุยาณมิตฺโต ทฬหภตติ จ โหติ ธุฤขิตสส สกกจจ กโรติ กิจ.จํ ตลาวิธํ สปุาJริส์ วทามิ ฯ แปล ผู้มิปรีชาใตเป็นคนกตัญญกตเวที ๑ เป็นกัลยาณมิตร ผู้มีความรักใคร่มั่นคง ๑ ซ่วยทากิจชองผู้มีความทุกข์ ด้วยความเต็มใจ ๑ ผู้เซ่นนั้นเรียกได้ว่าคนดี ฯ www.kalyanamitra.org
๔๔๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มิดดชืรณกถา ว่าด้วยสาเหตุให้มิตรภาพฟอมคลาย ฅ ๑. ส์งสรรค์กันบ่อยเกินไป ๒. ไม่ไปมาหาส่กันให้สมํ่าเสมอ ฅ. ขอในเวลาที่ไม่ควรขอ ที่มา ๑: มหาโพธิซาดก ป้ญญาสนิบาต ชุ.ขา.๒๙๑ฅ๔ อจจาภิคขณสํสคคา อสไม สรเณน จ เอเดน มิดุตา ชรนุดิ อคาเล ยาจนาย จ ฯ แปล : ปวงมิตรสหายย่อมห่างเหินกันไดด้วยสาเหตุเหล่านี้ คือ ส์งสรรค์กันปอยเกินไป ๑ ไม่ไปมาหาล่กันให้สมํ่า เสมอ ๑ ขอในเวลาที่ไม่ควรขอ ๑ ฯ ที่มา ๒: มหาโพธิซาดก ปัญญาสนิบาต ชุ.ซา.\"๒๙๑ฅ๕ ฅสฺมา นาภิฤขณํ คอเฉ น จ คอเฉ อิราอิรํ คาเลน ยาอํ ยาเอยฺย เอวํ มิดฺฅา น ชิรเร ฯ แปล : เพราะฉะนั้น บุคคลจึงไม่ควรไปมาหาล่กันให้พรํ่า เพรื่อนัก ไม่ควรเหินห่างไปให้เนิ่นนาน และควรขอสิง ที่ควรขอตามกาลที่สมควร ด้วยอาการอย่างนี้ มิตร ทั้งหลายจึงจะไม่เหินห่างกัน ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] ทมๆด g) ๔๕๓ จาคกถา ว่าด้วยหลักความเสิยสละ ฅ ๑. ยอมสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ ๒. ยอมสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต ต. เมี่อนึกถึงธรรม ย่อมสละได้ทั้งอวัยวะ ทรัพย์ และชีวิต ที่มา : มหาสุตโสมชาดก อสีตินิบาต ชุ.ซา.๒๘/๙๘ต จเช ธนํ องควรสส องคํ จเช ชีวิตํ รฤฃมาโน องุส์ ธฟ้ ชีวิตญจาช สพฺพํ จเช นโร ธมฺมมบุสฺสรนุโฅ ฯ แปล : นรซนพึงสละทรัพย์ เพื่อรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะ เพื่อรักษาชีวิต เมื่อนึกถึงคุณธรรม พึงสละทุกอย่าง ทั้งทรัพย์ อวัยวะ แม้กระทั่งชีวิต ฯ ฆราวาสกถา ว่าด้วยข้อห้ามสำหรับผู้ครองเรือน ฅ ๑. ไม่ควรคบหญิงสาธารณะเป็นภรรยา ๒. ไม่ควรบริโภคอาหารอร่อยแต่ผู้เดียว ต. ไม่ควรเสพดีดถึอยคาอันให้ติดอยูในโลก www.kalyanamitra.org
๔๕๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : ฆราวาสป้ญหา วิธุรชาดก มหานิบาต ชุ.ชา.๒๘/เท๔๖ฅ น สาธารณทารสฺส น ฦผเช สา;แมคโก น เสเว โลกายดิคํ เนตํ ปญณาย ว'ๆผนํ ฯ แปล : ผู้ครองเรือนไม่พึงคบหาหญิงสาธารณะเป็นภรรยา ไม่พึงบริโภคอาหารมีรสอร่อยแต่ผู้เดียว ไม่พึงเสพดีด ถ้อยคำอันให้ดีดอยู่ในโลก เพราะถ้อยคำนั้นไม่ทำให้ ปัญญาเจริญขึ้นได้ ฯ ปริญญากลา ว่าสัวยการกำหนดรู้ ๓ ๑. ญาตปริญญา กำ หนดรู้ฃั้นรู้จัก ๒. ตีรณปริญญา กำ หนดรู้ขั้นพิจารณา ฅ. ปหานปริญญา กำ หนดรู้ถึงขั้นละได้ ที่มา : คุหัฏฐกสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม.๒๙/๑ฅ ผสุสํ ปริญณายาติ ผสฺสํ ตีหิ ปริญณาหิ ปริชานิตุวา ะ ณาต- ปริญผาย ตีรณปริญผาย ปหานปริผผาย ฯ แปล ะ คำ ว่า กำ หนดรู้ผัสสะแล้ว คือ กำ หนดรู้ที่งผัสสะ โดยปริญญา ต ประการ คือ ญาตปริญญา ๑ ดีรณปริญญา ๑ ปหาน ปริญญา ๑ ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๕๕ สีลคลา ว่าด้วยลักษณะของสืล ๓ ๑. ความสำรวม ๒. ความระวัง ๓. ความไม่ล่วงละเมิด ที่มา : ทุฏฐัฏฐกสุตตปิทเทส อัฎฐกวรรค ชุ.ม.๒๙/๑๗ โย ตตถ สํยโม สํวโร อวีติกกโม, อิทํ สีลํ ฯ แปล : ความสำรวม ความระวัง ความไม่ล่วงละเมิดสิกขาบท เหล่านั้น นี้จัดเป็นสิล ฯ วิเวกกถา ว่าด้วยความสงัด ฅ ๑. กายวิเวก ความสงัดกาย ๒. จิตตวิเวก ความสงัดแห่งจิต ๓. ลูปธิวิเวก ความสงัดจากอุปธิ (กิเลส ขันธ์ อกิสิงขาร) ที่มา : สิสสเมตเตยยสุตตนทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม. ๒๙/๔๙ วิเวเก สิกฃิสฺสามเสติ วิเวโกติ ฅโย วิเวกา : กายวิเวโก จิตุฅวิเวโก อุปธิวิเวโก ฯ แปล : คำว่า จักสิกษาวิเวกกัน มีอธิบายดงนี้ คำ ว่า วิเวก ได้แก่ วิเวก ๓ คือ กายวิเวก ๑ จิตตวิเวก ๑ อุปธิวิเวก ๑ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๕๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ กุหนวัตลุกถา ว่าด้วยเรื่องหลอกลวง ฅ ๑. หลอกลวงเกี่ยวกับการเสพป้จจัย ๒. หลอกลวงเกี่ยวกับอิริยาบถ ฅ. หลอกลวงเกี่ยวกับการพูดอ้อมค้อม ที่มา : ปุรา๓ทสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม.๒๙/๘๗ อภูหใกติ ตีณิ ชุหนวตุดูนิ : ปจจยปฎิเสวนสงขาตํ คูหนวตุธุ, อิริยาปอสงขาตํ คูหนวตฺรุ, สามนุตชปฺปนสงฺขาตํ คูหนวตฺรุ ฯ แปล ะ คำ ว่า ไม่หลอกลวง ไค้แก่ เรื่องหลอกลวง ต อย่าง คือ เรื่องหลอกลวงเกี่ยวกับการเสพปัจจัย ๑ เรื่องหลอกลวงเกี่ยวกับอิริยาบถ ๑ เรื่องหลอกลวงเกี่ยวกับการพูดอ้อมค้อม ๑ ฯ ปาคัพภิยคฝืา ว่าด้วยความคะนอง ฅ ๑. ความคะนองทางกาย ๒. ความคะนองทางวาจา ฅ. ความคะนองทางใจ ที่มา : ปุรา๓ทสุตตนํทเทส อัฏฐกวรรค ชุ.ม.๒๙/๘๗ ปาคพุภิยนุติ ตีฌิ ปาคพูภิยานิ ะ กายิกํ ปาคพฺภิยํ, วาจสิกํ ปาคพฺภิยํ, เจฅสิกํ ปาคพฺภิยํ ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด (ท ๔๕๗ แปล : คำ ว่า ความคะนอง ได้แก่ ความคะนอง ฅ อย่าง คือ ความคะนองทางกาย ๑ ความคะนองทางวาจา ๑ ความคะนองทางใจ ๑ ฯ ปฏิภาณวกถา ว่าด้วยฟ้มีปฏิภาณ ๓ ๑. มีปฏิภาณเพราะปริยัติ {การเล่าเรียน) ๒. มีปฏิภาณเพราะปริปุจฉา (การไต่ถาม) ฅ. มีปฏิภาณเพราะอธิคม (การบรรลุธรรม) ที่มา : ปุรา๓ทสุตตนิทเทส อัฏฐกวรรค ข.ม.๒๙/๘๘ ปฏิภาณวาติ ตโย ปฏิภาณวนโต : ปริยตติปฏิภาณวา ปริปุจฉา- ปฏิภาณวา อธิคมปฏิภาณวา ฯ แปล : คำ ว่า มีปฏิภาณ ความว่า บุคคลผู้มีปฏิภาณ ฅ ประเภท คือ บุคคลมีปฏิภาณเพราะปริยัติ ๑ บุคคลมีปฏิภาณเพราะปริปุจฉา ๑ บุคคลมีปฏิภาณเพราะอธิคม ๑ ฯ ปปญจธัมมกถา ว่าด้วยธรรมที่ทำใ'ด้เนิ่น'รา ฅ ๑. ตัณหา ความทะยานอยาก ๒. ทิฎเ ความคิดเห็นที่ยึดติด ฅ. มานะ ความสำคัญตน www.kalyanamitra.org
๔๕๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : กลหวิวาทสุตดนิทเทส ลัฏฐการรด ชุ.ม.๒๙/๑0๙ สผผานิทานา หิ ปปผจสงขาติ ปปญจาพว ปปผจสงขา ะ ตญหาปปณจสงฺขา ทิฎฺริปปญจสงฺขา มานปปผุจสงฺขา สญผานิทานา ...ฯ แปล : คำ ว่า เพราะว่าธรรมอันเป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้ามี สาเหตุมาจากอัญญา ความว่า ธรรมอันเป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้านั่นแล คือ ส่วนแห่งธรรมเครื่องให้เนิ่นช้า คือ ตัณหา ๑ ทิฏฐิ ๑ มานะ ๑ มี สาเหตุมาจากสัญญา ... ฯ ภารกถา ว่าด้วยภาระ ฅ ๑. ขันธภาระ ภาระคือเบญจขันธ์ ๒. ณิลสภาระ ภาระคือกิเลส ฅ. อภิสังขารภาระ ภาระคืออภิสังขาร ที่มา : มหาวิยูหสุตตนิทเทล อัฎฐกวรรค ชุ.ม. ๒๙/๑๔๙ ภาโรติ ตโย ภารา ะ ขนุธภาโร กิเลสภาโร อภิสงุขารภาโร ฯ แปล : คำ ว่า ภาระ ได้แก่ ภาระ ฅ อย่าง คือ ขันธภาระ ๑ กิเลสภาระ ๑ อภิสังขารภาระ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ฅ ๔๕๙ เฑวกถา ว่าด้วยเทพ ฅ ๑. สมมติเทพ เทวดาโดยสมมติ ๒. รุปปัตติเทพ เทวดาโดยกำเนิด ฅ. วิธ[ุ ทธิเทพ เทวดาโดยความบริสุทธิ้ ที่มา : โซตกมาณวปัญหานิทเทส ปารายนวรรค ชุ.จู. ฅ©/ฅ๒ เทวาติ ฅโย เทวา ะ สมมติเทวา จ รุปปฅติเทวา จ วิธุ[ทธิเทวา จ ฯ แปล : คำ ว่า เทพได้แก่ เทพ ต คีอ สมมติเทพ ๑ อุปปัตติเทพ ๑ วิสทธิเทพ ๑ ฯ อัตถกถา ว่าด้วยประโยชน์ ๓ (นัยที่ ๑) ๑. อัฅดัคละ ประโยชน์ตน ๒. ปรัฅถะ ประโยชน์ผู้อี่น ต. อุภยัคละ ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ที่มา : ขัคควิสาณสุตตนิเททส ชุ.จู. ฅ0/«๒ฅ ... สหาเย จ อใjคมฺปมาโน อา{เปฤขมาโน อา{คคยหมาโน อดคดลมปี ปรดุลมฺปี อุภยตลมุปี หาเปติ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๖๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : บุคคลเมื่ออนุเคราะห์ อุดหนุน เกื้อกูลพวกมิตรและพวก ลหาย ... ย่อมทำประโยชน์ตนบ้าง ประโยชน์ผู้อี่นบ้าง ประโยชน์ทั้งสอง ฝ่ายบ้างให์เส์อมไป ฯ อัตถกถา ว่าสัวยประโยชน์ ๓ (นัยที่ ๒) ๑. ทิฎฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์ปัจจุบัน ๒. สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ภายหน้า ฅ. ปรมัตถะ ประโยชน์อย่างยิ่ง (พระนิพพาน) ที่มา : ขัคควิสาณสุตตนิเททส ชุ.จ. ๓0/๑๒ต จ ชํ ... ทิฎฟึธมมิกมปี อดถํ หาเปติ, สมปรายิคมฺปี อดถํ หาฟติ, ปรมตุถมฺปี หาเปติ ฯ แปล : ... ย่อมทำประโยชน์ในชาตินี้บ้าง ประโยชน์ในชาติ หน้าบ้าง ประโยชน์อย่างยิ่งบ้างโห์เสิอมไป ฯ วิโมกขกลา ว่าสืวยวิโมกข์ ๓ ๑. อ[ุ ญญตวิโมกข์ หลุตพ้นด้วยเห็นความว่าง ๒. อนิมิตตวิโมกข์ หลุตพ้นด้วยไม่ถือนิมิต ฅ. อัปปณิหิฅวิโมกข์ หลุตพ้นด้วยไม่ทำความปรารถนา www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๖๑ ที่มา : วิโมกขกลา มหาวรรค ชุ.ปฏิ. ฅ๑/๕๖๙ ตโยเม ภิคุฃท วิโมคุฃา ฯ กดเม ฅโย ฯ อ[ุ ณณโต วิโมกโข, อนิมิตุโต วิโมกโข, อปปณิหิโต วิโมกโข ฯ แปล : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย วิโมกข์นี้มี ฅประการ ฅ ประการคีอ อะไรบ้าง คือ สุญญตวิโมกข์ ๑ อนิมิตตวิโมกข์ ๑ อัปปณิหิตวิโมกข์ ๑ ฯ งญจสีลานิสังสกลา ว่าด้วยอานิสงส์การรักษาเบญจสืล ๓ ๑. มิอายุยืน ๒. มีโภคสมบัติมาก ฅ. มีปัญญาคมกล้า ที่มา : ปัญจสิลสมาทานิยเถราปทาน สุภูติวรรค ชุ.อป. ต๒/๑๔๙ ปผจสีลานิ โคเปตุวา ตโย เหตุ ลภามหํ ทีฆายุโก มหาโภโค ติคุขปญโณ ภวามิหํ ฯ แปล : เรารักษาเบญจคืลแล้ว ย่อมได้เหตุ ต ประการ คือ เปันผู้มีอายุยืนนาน ๑ มีโภคสมบัติมาก ๑ มีปัญญา คมกล้า ๑ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๖๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ สภาวธัมมกถา ว่าด้วยสภาวธรรม ต ๑. qaลธรรม สภาวธรรมที่เป็นกุศล ๒. อกุศลธรรม สภาวธรรมที่เป็นอกุศล ต. อัพยากตธรรม สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ที่มา : ติกมาติกา อกิ.สงฺ. ต๔/๑ กุสลา ธมมา, อกุสลา ธมมา, อพุยากดา ธมมา ฯ แปล : (สภาวธรรม ต) คือ สภาวธรรมที่เป็นกุศล ๑ สภาวธรรม ที่เป็นอกุศล ๑ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ๑ ฯ อธิบาย : สภาวธรรมที่เป็นกุศล ได้แก่กุศลในภูมิ ๔ สภาวธรรม ที่เป็นอกุศล ได้แก่อกุศลจิตตุปบาท ๑๒ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤฅ หมาย ถึงสภาวะที่เป็นกลาง ร ชี้ขาดลงมิได้ว่าเป็นกุศลหรืออกุศล ได้แก่วิบากโน ภูมิ ๔ กิริยาอัพยากฤตในภูมิ ต รูป และนิพพาน หมายเหตุ : หัวข้อสภาวธรรม ต มีทั้งหมด ๒๒ หมวด เรืยกว่า ดิกมาติกา ๒๒ ในที่นี้แสดงเฉพาะหมวดที่ ๑ ผู้ต้องการความพิสดาร พึงดู ในดิกมาติกา แฟงคัมภีร์ธรรมส์'งคณี อภิ.สงุ. ต๕/๑-๒๒ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมๅด 0^ ๔๖๓ ภยกลา ว่าด้วยภัย ฅ ๑. ชาติภัย กลัวเกิด ๒. ชราภัย กลัวแก่ ฅ. มรณภัย กลัวตาย ที่มา : ติกนิทเทส ชุททกวัดชุวิภังค์ อภิ.วิ. ฅ«/๙๒๑ ดตุถ คดมานิ ติณิ ภยานิ ฯ ชาติภยํ ชราภยํ มรณภยํ ฯ แปล : ในดิกมาติกานั้น ภัย ฅ คืออะไรบ้าง คือ ซาติภัย ๑ ชราภัย ๑ มรณภัย ๑ ฯ อันตรธานกถา ว่าด้วยอันตรธาน ฅ (นัยที่ ๑) ๑. อธิคมันครธาน การบรรลุธรรมอันตรธาน ๒. ปฎิฟ้ตตันครธาน ข้อปฏิบัติอันตรธาน ฅ. ลิงภันครธาน ลมณเพศอันตรธาน ทีมา : ส์ทรัมมันดรธานปัญหา อิทธิพลวรรค เมณฑกปัญหภัณฑ์ มิลินท.๗/๑๔๕ ติณิมานิ มหาราช สาสนนครธานานิ ฯ กดมานิ ติณิ ฯ อธิคมนครธานํ ปฏิปคตนุดรธานํ เงุคนฺครธานํ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๖๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร อันตรธานคือความเส์อมแห่ง พระพุทธศาสนานี้มี ฅ อย่าง ฅ อย่างคืออะไรบ้าง คือ ความเส์อมแห่ง อธิคม (การบรรลุธรรม) ๑ ความเส์อมแห่งข้อปฏิบัติ ๑ ความเส์อมแห่ง สมณเพศ ๑ (ขอถวายพระพรมหาบพิตร เมื่ออธิคมเส์อม บุคคลแม้จะ ปฏิบัติดีก็บรรลุธรรมไม่ได้ เมื่อข้อปฏิบัติเส์อม สิกขาบทบัญญัติก็เส์อม คง เหลือไว้แต่สมณเพศ เมื่อสมณเพศเส์อม ก็เป็นอันขาดสูญเชื้อสายสมณะ)ฯ อันตรธานกถา ว่าด้วยอันตรธาน ฅ (นัยที่ ๒) ๑. ปริยัตติอันตรธาน ปริยัติอันตรธาน ๒. ปฎิทธอันตรธาน ปฏิเวธอันตรธาน ฅ. ปฏิฟ้ตติอันตรธาน ปฏิบัติอันตรธาน ที่มา : ติป็ฏกอันตรธานกถา อรรถกถาสุมังคลรลาสิปี ที.ปา.อ. ฅ/๘๗ ตีณิ หิ อนตรธานานิ นาม ปริยตุติอนตรธานํ ปฏิเวธอนตรธานํ ปฎิปตุติอนุตรธานนุติ ฯ ตตถ ปริยตตีติ ตีณิ ปีฎกานิ ฯ ปฏิทโธติ สจจปฎิเวโธ ฯ ปฏิปตตีติ ปฏิปทา ฯ แปล : อันตรธาน ฅ คือ อันตรธานแห่งปริยัติ ๑ อันตรธาน แห่งปฏิเวธ ๑ อันตรธานแห่งปฏิบัติ๑ บรรดาอันตรธานต นั้น ปีฎกฅซื่อว่า ปริยัติ การรู้แจ้งอริยส์จ ซื่อว่าปฏิเวธ ปฏิปทา ซื่อว่าปฏิบัติ ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๖๕ อคทปมนิพพานคอา รเ ว่าด้วยนิพพานลักษณะที่เปรียบกับยาแก้พิษ ฅ ๑. พระนิพพานเรนทพงของเหล่าสัตว์ทสูกพิษกิเลส เปรียบเหมือน ยาแก้พิษเป็นที่พึ่งของผู้ที่ได้รับพิษ ๒. พระนิพพานทำให้สินสุดแห่งทุกข์ เปรียบเหมือนยาแก้พิษที่ทำ ให้หายโรค ต. พระนิพพานทำให้เป็นอมตะ เปรียบเหมือนยาแก้พิษที่ทำให้!ฝตาย ที่มา : นิพพานรูปสัณฐานปัญหา เวสสันดรวรรค เมณฑกปัญหกัณฑ์ มิลินฺท.ต๒๘ ยถา มหาราช อคโท วิสปีฬิตานํ สตตาฟ้ ปฎิสรฌํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพานํ กิเลสวิสปีฬิฅานํ สตตานํ ปฏิสรลร ฯ ... โรคานํ อนุตกโร ... สพพชุกขานํ อนุตกรํ ... อคโท อมตํ ... นิพพานํ อมตํ ฯ แปล ; ขอถวายพระพรมหาบพิตร ยาแก้พิษย่อมเป็นที่พึ่งของ เหล่าสัตว์ที่ถูกพิษเบียดเบียน ฉันใด พระนิพพานก็เป็นที่พึ่งของเหล่าสัตว์ที่ ถูกพิษกิเลสเบียดเบียนฉันนั้น ยาแก้พิษย่อมกระทำที่สุดแห่งโรคทั้งหลาย(ทำ ให้หายโรค)ได้ ฉันใด พระนิพพานก็กระทำที่สุดแห่งทุกข์ทั้งปวงได้ ฉันนั้น ยาแก้พิษจัดเป็นยาที่ไม่ตาย ฉันใด พระนิพพานก็ทำให้!ม่ตาย ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org
๔๖๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ มณิรตนูปมนิพพานกถา ว่าด้วยนิพพานลกษณะที่เปรียบกับแก้วมณี ฅ ๑. พระนิพพานให้สำเร็จผลที่ปรารถนา เปรียบเหมือนแก้วมณีที่ให้ ส์งที่ปรารถนา ๒. พระนิพพานทำให้จิตร่าเริง เปรียบเหมือนแก้วมณีที่ทำให้รื่นเริง ต. พระนิพพานทำให้จิตสว่างไสว เปรียบเหมือนแก้วมณีที่ทำให้สว่าง ไสวไปทั่ว ที่มา : นิพพานรูปส์'ณฐานปัญหา เวสสันดรวรรค เมณฑกปัญหกัณฑ์ มิสิMท.ตต0 ยถา มหาราช มฌิรตนํ กามททํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพาน กาม ฑทํ ฯ ... มณิรฅนํ หาสกรํ ... นิพพานํ หาสกรํ... มณิรตนํ รุชุโชตตุตกรํ ... นิพพานํ ชุชุโชฅตุฅกรํ ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร รัตนะคือแก้วมณีย่อมให้ สมบัติที่น่าปรารถนาได ฉันใด พระนิพพานก็ให้มรรคผลที่น่าปรารถนาได ฉันนั้น รัตนะคือแก้วมณีย่อมก่อให้เกิดความร่าเริง ฉันใด พระนิพพานก็ ทำ ให้จิตร่าเริง ฉันนั้น รัตนะคือแก้วมณีย่อมทำความสว่างไสวไปทั่ว ฉันใด พระนิพพานก็ทำให้จิตสว่างไสว ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ฅ ๔๖๗ โลหิตจันทนูปมนิพพานกลา 'าาด้วยนิพพานลักษณะที่เปรียบกับไม้จันทน์แดง ๓ ๑. พระนิพพานยากที่จะบรรลุได้ เปรียบเหมือนไม้จันทน์แดงที่หา ได้ยาก ๒. พระนิพพานมืกลิ่นหอมหากลิ่นอื่นเปรียบมิได้ เปรียบเหมือนไม้ จันทน์แดงที่มืกลิ่นหอมหากลิ่นอื่นเปรียบมืได้ ฅ. พระนิพพานเป็นที่ยกย่องของอรียซน เปรียบเหมือนไม้จันทน์แดง ที่คนทั่วไปยกย่อง ที่มา : นิพพานรูปส์'ณฐานปัญหา เวสสันดรวรรค เมณฑกปัญหกัณฑ์ มลิบุท. «0/ตต0 ยถา มหาราช โลหิตจนุทนํ ชุฤลภํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพาน ชุลุลภํ ฯ ... โลหิตจนฑนํ อสมธุ[คนฺธํ ... นิพุพาน์ อสมสุ[คนธํ ... โลหิตจนฑฟ้ สชชนปสตถํ ... นิพุพาน์ อริยสชชนปสฅถํ ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร ไม้จันทน์แดงหาได้ยาก ฉันใด พระนิพพานก็บรรลุได้ยาก ฉันนั้น ไม้จันทน์แดงมีกลิ่นหอม หากลิน เปรียบมืได้ ฉันโด พระนิพพานก็มืกลิ่นหอม หากลิ่นเปรียบมืได้ ฉันนัน ไม้จันทน์แดงอันคนทั่วไปสรรเสรีญ ฉันใด พระนิพพานอันอรียซน สรรเสรีญ ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org
๔๖๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปทุมกลา ว่าสัวยธรรมชาติของดอกบัว ๓ ๑. เกิดเจริญเติบโตในนํ้า แต่ไม่ติดนํ้า ๒. โผล่อยู่เหนือนํ้า ฅ. ถูกลมพัดนิดหน่อยก็ไหว ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเปีนเช่นดอกบัว ๓ ๑. ไม่ยึดติดในสรรพสิง ๒. ดำ รงเต่นอยู่เหนือโลก ต. ทำ ความระวังกิเลสแม้เล็กน้อย ที่มา : ปทุมังคปัญหา สมุททวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฟ้ มิสินฺท.เอ/ต๘๕ ยถา มหาราช ปทุมํ รุทเก ชาตํ ธุทเก ส์วทธํ อนุปลิตส์ อุทเกน, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ภูเล คเณ ลาเก ยเส สกกาเร สมมานนาย ปริโภคปจจเยนุ จ สพฺพตุถ อนุปลิดเดน ภวิดพพํ ฯ ... ธุฑกา อจชุคคมม จาติ ... สพุพโลคํ อกิภวิดวา อจฺ^คคมม โลคุดดรธมุเม จาดพฺพํ ... อปุปมตฺดเกนปี อนิเลน เอริตํ จลติ ... อปฺปมตุดเกนุปี กิเลเสนุ สํยโม กรณึโย, กยทนุสาวินา วิหริดพุฟ ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร ดอกบัวเกิดในนํ้า เจริญเติบโต อยู่ในนํ้า แต่ไม่ติดด้วยนํ้า ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็น ฉันนั้น คือไม่ติดอยู่ในสิงทั้งปวง อันได้แก่ ตระกูล คณะ ลาภ ยศ อักการะ การยกย่อง การบริโภคปัจจัย ดอกบัวย่อมโผล่จากนั้าอยู่ ฉันใด พระ โยคาวจรผ้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็นฉันนั้น คือพึงครอบงาโลกทั้งปวงดำรง www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ต ๔๖^ เด่นอยูในโลกุตตรธรรม ดอกบัวถูกลมแม้เล็กน้อยพัดก็ไหว ฉันใด พระ โยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็นฉันนั้น คือพึงทำความสำรวมระวังในกิเลส แม้เล็กน้อย อย่อย่างผมองเห็นโทษภัย ฯ นิ นิ นาวากถา ว่าด้วยธรรมชาติของเรือ ฅ ๑. ทำ ให้คนข้ามนํ้าได้ด้วยไม้ด่อภัน ๒. ด้านกำลังคลื่นลมได้ ฅ. ท่องเที่ยวไปในทะเลใหเปได้ ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเข่นเรือ ๓ ๑. ทำ ให้ซาวโลกข้ามพ้นทุกข์ด้วยคุณธรรมด่าง ๆ ๒. อดกลั้นด่อคลื่นกิเลสต่าง ๆ ได้ ฅ. ยังจิตให้ล่องอยูในภาวะที่รู้แจ้งอริยลัจได้ ที่มา : นาวังคปัญหา สบุททวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ ปัลินท.๕/ฅ๔๗-ท๔๘ ยลา มหาราช นาวา พชุวิธทาาสงฆาฎสมวาพน พชุมปี ชนํ ดารยติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อาจารสีลคูณวฤตป- ปฎิวตดพทุวิธธมฺมสงุฆาฎสมวาเยน สเทวโก โลโก ดารยิดพุโพ ฯ ... พชุวิธอูมิตุถนิดเวควิสฎมาวฎฺฏเวคํ สหติ ... พชุวิธกิเลสดูมิเวคํ ลาภสคุการยสสิโลก\\เชนวนทนาปรถูเลสู นินทาปสํสาธุ[ขทุฤขสมมานท- วิมานนพชุวิธโทสดูนิเวคณ.จ สหิดพพํ ... มหติมหาสชุท.เท จรติ ... ติปริวฎฎท.วาทสาการจดูสจ.จากิสมยปฺปฎิ4วเธ มานสํ สณ.จารยิดพ.ฟ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๗0 คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล ะ ขอถวายพระพรมหาบพิตร เรือย่อมยังซนจำนวนมาก ให้ข้ามนํ้าได้ด้วยการประกอบต่อกันแห่งไม้จำนวนมาก ฉุนใด พระโยคาวจร ผู้บำ เพ็ญเพียรก็พึงเป็นฉันนั้น คือพิงยังซาวโลกพร้อมทั้งเทวโลกให้ข้าม พ้นทุกข์ด้วยการประชุมรวมกันแห่งอาจาระ คืล คุณ วัตรปฏิบัติ และ คุณธรรมจำนวนมาก เรือย่อมด้านทานกำลังคฺลี่นลม กระแสฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และพายุหมุนวนจำนวนมากได้ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญ เพียรก็พึงเป็นฉันนั้น คือพึงอดกลั้นกำลังแห่งคลื่นกิเลสที่หลากหลาย ลาภ ลักการะ ยศ ซี่อเสิยง การบูชา การกราบไหว้. การนินทาหรือสรรเสริญ สุขหรือทุกข์ การยกย่องหรือติเตียน และกำลังแห่งคลื่นโทสะที่หลากหลาย ให้1ด้ เรือย่อมเที่ยวไปได้ในห้วงนํ้าที่กว้างใหญ่หาฝืงไม่เจอ ในมหาสมุทร ที่กว้างไกลซึ่งดาดาษด้วยหมู่มังกรและมัจฉาที่มีขนาดใหญ่และน่ากลัว ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็นฉันนั้น คือพึงยังจิตให้ท่องไป ในปฏิเวธคือการรู้แจ้งอรืยลัจ ๕ ที่มี ฅ ปรืวัฏ (รอบ) และมี ๑๒ อาการ ฯ นิยามกกถา ว่าด้วยธรรมชาติของนายเรือ (ด้นหน) ๓ ๑. บังคับเรือให้แล่นไปโดยไม่พลั้งเผลอทุกขณะ ๒. รอบรู้ทุกสิงในมหาสมุทร ฅ. ทำ ลัญลักษถ!ห้ามใครแตะต้องเครื่องยนต์ ลักษณะฑืพระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นนายเรือ ๓ ๑. มีสติกำหนดจิตทุกขณะ ๒. รู้แจ้งลื่งตีสิงชั่วทั้งหมด ต. ระวังจิตมิให้คิดอกุศล www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด (ท ๔๗๑ ทีมา : นิยามกังคปัญหา สมุททวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ มิสินฺท.๘/ฅ๘๙ ยลา มหาราช นิยามโก รดตินุทิวํ สฅตํ สมิตํ อปุปมดโค ชุดดปุ- ปชุตโด นาวํ สาเรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ... โยนิโสมนสิลาเรน จิดดํ นิยาเมดพฺพํ ฯ ... ยํ กิณจิ มหาส3Jทุเท กลยาณํ วา ปาปกํ วา, สพพํ ตํ วิทิตํ โหติ ... ชุสลาชุสลํ สาวชุชานวชุชํ หืนปปณืดํ กณหชุชุกสปุปฎิภาคํ วิชานิดพุพํ ... ยนเด มๆทิคํ เทติ มา โกจิ ยนุตํ อามสิตุลาติ ... จิตุเด สํวรมุททิกา ทาดพพา ... ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร นายเรือ(ต้นหน)ย่อมเป็น^ฝ ประมาท พากเพียรพยายามบงคับเรือให้แล่นไปอย่างต่อเนื่องตลอดวัน ตลอดคืน ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรที่กำลังบังคับจิตอยู่ก็พึงเ{เน ผู1ม่ประมาทประกอบขวนขวายกำหนดบังคับจิตให้เปีนไปอย่างต่อเนื่องตลอด วันตลอดคืนต้วยโยนิโสมนสิการ ฉันนั้น สิงใด ๆ ในมหาสมุทรไฝว่าดีหรือ ร้าย นายเรือจำต้องรู้ทั้งหมด ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงรู้ว่า อะไรเปีนกุศลหรืออกุศล มีโทษหรือไม่มีโทษ เลวหรือประณีต จัดอยู่ใน ส่วนดำหรือขาว ฉันนั้น นายเรือย่อมให้ลัญลักษถ!นิว้ที่เครื่องยนต์ ห้ามใคร แตะต้องเครื่องยนต์ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พีงให้ลัญลักษณ์ คือความสำรวมไว้ที่จิตมิให้ตรึกนึกถึงอกุศลวิตกที่ชั่วช้าใด ๆ ฉันนั้น ฯ สักกกถา ว่าด้วยธรรมชาติของท้าวสักกะ (องค์อินทร์) ฅ ๑. เพียบพร้อมอยู่แต่ในความสุข ๒. ประคับประคองเหล่าเทพให้ร่าเริงในคุณความดี ๓. ไม่เบอหน่ายในทิพยสมบัติ www.kalyanamitra.org
๔๗๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเปีนเชนฑ้าวสักกะ ๓ ๑. ยินดียิ่งเฉพาะแต่สุขที่เกิดจากวิเวก ๒. ประคองจิตให้ร่าเริงในกุศลธรรม ต. ไม่เบื่อหน่ายในสุญญาคาร ที่มา : ส์กกังคปัญหา ปถวีวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ รสินฺท. ๙/๔©ฅ ยถา มหาราช สกโก เอกนฺตธุ[ขสมปุปีโต, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน เอกนุตปวิเวกสุขาภิรเคน ภวิตพฟ ฯ ... เฑเว ทิสุวา ปคคณหาติ, ... กุสเถสุ ธมเมสุ อลึนมตนุทิตํ สนุดํ มานสํ ปคคเหตพพํ ... สฤกสุส อนภิรติ นุปปชุชติ ... สุณฌาคาเร อนภิรติ น ฤปปาเทตพฺพา...ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร ห้าวส์'กกะเป็นผู้เพียบพร้อม ดีวยความสุขโตยส่วนเดียว ฉันใต พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็น ผู้ยินดียิ่งในความสุขที่เกิตจากความสงัตโตยส่วนเดียว ฉันนั้น ห้าวสักกะ ทรงเห็นเหล่าเทพแส่วทรงประคับประคองให้เกิตความร่าเริง(ในการสร้าง คุณความดี) ยิ่งนัก ฉันใต พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พีงประคองจิตที่ สงบ ไม่ห้อแห้ ไม่เกียจคร้านไวในกุศลธรรมทั้งหลาย พีงให้เกิตความ ร่าเริงยิ่ง พีงหมั่นเพียรพยายามเรื่อยไป ฉันนั้น ห้าวสักกะย่อมไม่ทรงเกิต ความเบื่อหน่าย(ในทิพยสมบัติ) ฉันใต พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็ไม่พิง ให้ความเบื่อหน่ายในสุญญาคาร(ที่ว่าง)เกิตขึ้น ฉันนั้น ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๗๓ มิคกถา ว่าด้วยธรรมชาติของสัตว์ป่า ฅ ๑. กลางวันท่องอยูโนป้า กลางคืนพักอยู่ในที่แจ้ง ๒. รู้จักหลบหลีกสัสตราๅธหนีรอดไปได้ ฅ. พบเห็นผู้คนก็พลันหลีกหนี ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นสัตว์ฟ้า ๓ ๑. กลางวันเร้นอยู่ในป้า กลางคืนอยู่ในที่แจ้ง ๒. เมื่อกิเลสสุมประดัง ก็หำ จิตให้หลีกพันได้ ฅ. พบพวกคนทุคืล ก็พลันหลีกห่าง ที่มา : มิคังคปัญหา อุปจิกๆวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ มิลิใ4ท- ๗/๔0๘-๔0๙ ยถา มหาราช มิโค ทิวา อรญเณ จรติ, รตตี อพโภกาเส, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ทิวา อรฌฺเณ วิหริตพพํ, รตุตึ อพฺโภกาเสฯ ... สตุติมหิ วา สเร วา โอปฅนฺเต วฌุเจติ ปลายติ, น กาย1Jปเนติ ... กิเลเสอุ[ โอปฅนุเฅอุ[ วณจยิฅพุพํ ปลายิฅพุฟ ... มบุสฺเส ทิสวา เยน วา เคน วา ปลายติ ... า5อุ[สีเล คูสีเฅ สงคณิการาเม ทิสุวา ...ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร ลัตว์ป้าย่อมเที่ยวอยู่ในป้า ตอนกลางวัน อยู่ในที่แจ้งตอนกลางคืน ฉันใต พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียร ก็พ็งเร้นอยูในป้าตอนกลางวัน อยู่ในที่แจ้งตอนกลางคืน ฉันนั้น ลัตว์ป้า เมื่อหอกหรือลูกศรตกด้องก็ลวงหลบหลีก ไม่นำกายเข้าไปใกล้ ฉันใต พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรเมื่อกิเลสทั้งหลายสุมประดังเข้ามา ก็พ็งใช้ อุบายหลีกให้พัน ไม่น้อมจิตเข้าไปหา ฉันนั้น ลัตว์ป้าครั้นพบเห็นผู้คนก็ www.kalyanamitra.org
๔๗๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ พลันรีบหนี มิให้พบเห็นตน ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียร ครั้นพบ เหล่าคนทุสืลที่ชอบก่อเรื่องทะเลาะวิวาท เป็นคนเกียจคร้าน กีพีงรีบหลบ หลีกหนี ไม่ให้พบเห็นตน ฉันนั้น ฯ จากวากกถา ว่าด้วยธรรมชาติของนกจากพราก ๓ ๑. ไม่ทอดทิ้งคู่ของตนจนสันป็วิต ๒. ยินดีแต่อาหารหลัก โดยมิให้กำลังเสัอมถอย ต. ไม่เบียดเบียนทำร้ายลัตว์อื่น ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นนกจากพราก ๓ ๑. ไม่ละทิ้งโยนิโสมนสิการจนสันชีวิต ๒. มิความลันโดษในบีจจัย โดยมิให้เสิอมจากไตรสิกขา ต. มิความละอายประกอบด้วยความเมตตาเอ็นดสรรพลัตว์ ที่มา : จักกวากังคปัญหา ฝ็หวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ ปัสิใ4ท. ๒/๔๑๔-๔๑๕ ยถา มหาราช จกกวาโก ยาว ชีวิตปริยาทานา ทุติยิกํ น วิชหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ยาว ชีวิตปริยาทานา โยนิโสมนสิกาโร น วิชหิตพุโพ ฯ ... เสวาลปณกภฤโข ... ยถาลาภสนฺโตโส กรณีโย ... ปาเณ น วิเหจยติ ... ลชุชีนา ทยาปนเนน สพุพปาณฎต- หิตาทุกมฺปีนา ภวิตพุพํ ฯ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๗๕ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร นกจากพรากย่อมไม่ละทิ้ง นกที่เป็นคู่ของตนตราบจนเนชีวิต ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็ไม่ พึงละโยนใสมนสิการตราบจนสินชีวิต ฉันนั้น นกจากพรากมีสาหร่ายและ จอกแหนเป็นอาหาร ยินดีพอใจด้วยอาหารนั้น แต่ก็ไม่เส์อมถอยด้านกำลัง และผิวพรรณ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพึยรก็พึงบำเพ็ญลันโดษตาม ที่ได้ โดยไม่ให้เป็นเหตุเส์อมจากสืล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณ หัสสนะ และกุศลธรรมทั้งปวง ฉันนั้น นกจากพรากย่อมไม่เบียดเบียน ทำ ร้ายลัตว์ทั้งหลาย ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็นผู้วาง ท่อนไม้ วางหัสตรา มีความละอาย กอปรด้วยความเอ็นดู มีจิตมุ่ง ประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพลัตว์อยู่ ฉันนั้น ฯ สัปปกถา ว่าด้วยธรรมชาติของงู ๓ ๑, เลื้อยไปด้วยอก ๒. เลื้อยหลบหลีกสิงที่เป็นพิษ ๓. พบมนษย์แล้วก็เดือดร้อนใจ ติดหลบให้พึน ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นงู ๓ ๑. เที่ยวไปด้วยปัญญา ๒. หลีกเว้นทุจริตอยู่ ๓. ติดเรื่องอกุศลแล้วก็ระอาเดือดร้อนใจ www.kalyanamitra.org
๔๗๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : ส์ปปังคปัญหา สิหวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ มิลินฺท.๔/๔๑๙-๔too ยถา มหาราช สปฺใป รุเรน คจฉติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ปญณาย จริตพฺพํ ฯ ... จรมาโน โอสธํ ปริวชุเชนฺโต จรติ ... ธุชุจริตํ ปริวชุเชนฺเตน จริตพุพํ ... มนุชุเส ทิชุวา ตปฺปติ โสจติ จินตยติ ... ฤวิตกเก วิตกเกตวา อรตึ ชุปฺปาทยิชุวา ตปุป้ตพุพํ โสจิตพพํ ... ฯ แปล ะ ขอถวายพระพรมหาบฟ้ตร งูเลื้อยไปด้วยอก ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเที่ยวไปด้วยปัญญาอันเป็นเหตุให้จิตเที่ยว อยู่ในญายธรรม ฉันนั้น งูเมื่อเลื้อยไปย่อมเลื้อยหลบหลีกสิงเป็นพิษไป ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงหลีกเว้นทุจริตเที่ยวไป ฉันนั้น งูครั้นพบเห็นพวกมนุษย์แล้วย่อมเดือดร้อนเศร้าใจ คิดจะหลบหนี ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรครั้นตรึกถึงอกุศลวิตกแล้วก็พึงเกิดความอิดหนา ระอาใจ ร้อนใจ เลียใจ คิดว่าเราปล่อยให้วันเวลาผ่านไปด้วยความประมาท ไม่สามารถที่จะได้วันเวลานั้นได้อีก ฉันนั้น ฯ มณิรตนกลา ว่าด้วยธรรมชาติของแก้วมณี ฅ ๑. มีแต่ความใสบริสุทริ้ ๒. ไม่หลอมรวมกับสิงใด ๆ ฅ. ประกอบขึ้นด้วยวัตนชาติ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด (ท ๔๗๗ ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นแก้วมณี 6» ๑. มีอาชีวะบริสุทธิ้ ๒. ไม่คบหาสมาคมกับเหล่าคนชั่ว ฅ. อยู่ร่วมกับเหล่าอารยชาติ ที่มา : มณิรดนังคปัญหา มักกฏกวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฟ้ มิลิมท.๗/๔๒๖ ยถา มหาราช มณิรตนํ เอกนุตปริลุ[ทุธํ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน เอกนุตปริลุ[ทุธาชีเวน ภวิตพุพํ ฯ ... น เกนจิ สทุรึ มิสสียติ ... ปาเปหิ ปาปสหาเยหิ สทุธึ น มิสสิตพฺพํ ... ชาติรตเนหิ โยชียติ ... คูตตมวรชาติมนุเตหิ สทุธี สํวสิตพพํ ... ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร รัตนะคือแก้วมณีมีความใส บริสุทธี้ฝวนเดียว ฉันโด พระโยคาวจรผู้บาเพ็ญเพียรก็พึงเปีนผู้มีอาชีวะ บริสุทธี้โดยส่วนเดียว ฉันนั้น รัตนะคือแก้วมณีอันสิงใด1ผสมรวมด้วยไม่ได้ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็ไม่พึงคบหาสมาคมกับเหล่าคนชั่ว กับ พวกสหายชั่ว ฉันนั้น รัตนะคือแก้วมณีอันรัตนชาติทั้งหลายประกอบไว้ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงอยู่ร่วมกับเหล่าท่านผู้มีชาติประเลริฐ กล่าวคืออยู่ร่วมกับเหล่าท่านผู้เปีนสมณะแก้วมณี เซ่นพระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ผู้เตวิชชะหรือฉฟิภิญญะ ฉันนั้น ฯ ฉัตตกถา ว่าด้วยธรรมชาติของร่ม ฅ ๑. กางอยู่สูง ๒. ซ่วยบังสืรษะ ต. สกัดกั้นลม แดด เมฆ ฝนประจำ www.kalyanamitra.org
๔๗๘ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ลักษณะที่พระโยคาวจรควรจะเป็นเช่นร่ม ๓ ๑. อยู่เหนืออำนาจกิเลส ๒. ช่วยสนับสนุนโยนิโสมนสิการ ฅ. สกัดกั้นกิเลสต่าง ๆ อยู่ประจำ ทมา : ฉัตตังคปัญหา กมภวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ มิสิบุท. ต/๔ต๑ ยถา มหาราช ฉตุตํ รุปริ มุทฺธนิ จรติ, เอวเมว โข มหาราช โยรนา โยคาวจเรน กิเลสานํ รุปริ ชุทุธนิ จเรน ภวิตพุพํ ฯ ... ธนุปตถมุภํ ... โยนิโสมนสิการปตฺถมุเภน ... วาตาตปเมฆ'Jฎริโย ... นานาวิธทิฎริ1]ถุ- สมณพฺราหมณานํ มฅวาตติวิธคคิสนฺฅาปกิเลส^ฎรโย ปฎิหนฺฅพฺพา*ฯ แปล ะ ขอถวายพระพรมหาบพิตร ร่มย่อมกางอยู่ข้างบนเหนือ สืรษะ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พิงเป็นผู้เที่ยวอยู่เหนือกิเลส ฉันนั้น ร่มช่วยบังสืรษะ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พิงเป็นผู้ สนับสนุน่โยนิโสมนสิการ ฉันนั้น ร่มย่อมสกัดกั้นลม แดด เมฆ และฝน อยู่ประจำ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พิงสกัดกั้นลมร้าย แดด คือไฟกิเลสทั้งสาม และฝนกิเลสของเหล่าสมณพราหมถ!เจ้าลัทธิต่าง ๆ อย่ประจำ ฉันนั้น ฯ โภชนาหารกถา ธรรมชาติของโภชนาหาร ๓ ๑. ช่วยเลี้ยงบำรุงสรรพลัตว์ ๒. สร้างพละกำลังแก่สรรพลัตว์ ต. เป็นที่ต้องการยิ่งนักของสรรพลัตว์ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๗๙ ลักษณะทีพระโยคาวจรควรจะเปีนเช่นโภชนาหาร ๓ ๑. สนับสนุนซี้ทางฟันทุกข์แก่สรรพสัตว์ ๒. พัฒนาตนด้วยการเจริญบุญกุศล ฅ. ทำ ตนให้เป็นที่ปรารถนาของซาวโลกทั้งปวง ทมา : โภซฟ้งคป้ญหา กุมภวรรค โอปัมมกถาปัญหกัณฑ์ รลินฺท. ๖/๔ตฅ ยถา มหาราช โภชนํ สพฺพสตฺตานํ อุปตุลมฺโภฺ, เอวฒว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สพพสตตานํ มคดูปตุถมเภน ภวิฅพฺพํ ฯ ... สพพ- สตฅานํ พลํ วฑฺเฒติ ... 1]ณฺณวฑฒิยา วฑุฒิตพุพํ ... สพพสตตานํ อภิปตุถิตํ ... สพฺพโลกาภิปตุถิเตน ภวิตพพํ ฯ แปล : ขอถวายพระพรมหาบพิตร โภชนาหาร ย่อมช่วยอุปถัมภ์ บำ รุงสรรพสัตว์ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเป็นผู้สนับสนุน ชี้ทางฟันทุกข์แก่สรรพสัตว์ ฉันนั้น โภชนาหารย่อมทำให้พละกำลังของ สรรพสัตว์เจริญ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงเจริญพัฒนาตน ด้วยการเจริญบุญ ฉันนั้น โภชนาหารเป็นที่ปรารถนายิ่งนักของสรรพสัตว์ ฉันใด พระโยคาวจรผู้บำเพ็ญเพียรก็พึงทำตนให้เป็นที่ปรารถนายิ่งนักของ ชาวโลกทั้งปวง ฉันนั้น ฯ ปหานกลา ว่าด้วยการละกิเลส ๓ ๑. ตทังคปหาน ละกิเลสได้ชั่วขณะด้วยสิล ๒. วิกฃัมภนปหาน ละกิเลสโตยช่มไว์ด้วยสมาธิ ฅ. สบุจเฉทปหาน ละกิเลสได้เด็ดขาดด้วยปัญญา www.kalyanamitra.org
๔๘๐ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ที่มา : นิทานาทิกถา วิสุพร.๑A) สีเลน จ ตทงคปฺปหานวเสน กิเลสปปหานํ ปการตํ โหติ, สมาธินา วิกฃมุภนปุปหานวเสน, ปถเณาย สชุชุเฉทปุปหานวเสน ฯ แปล : อนึ๋ง การละกิเลสด้วยอำนาจการละโดยองค์นั้น (ละ ซวคราว) ท่านประกาศไว้ด้วยสืล การละกิเลสด้วยอำนาจการละโดยข่ม ไว้ท่านประกาศไว้ด้วยสมาธิ การละกิเลสด้วยอำนาจการละโดยตัดได้ขาด ท่านประกาศไว้ด้วยปัญญา ฯ โลคกลา ว่าด้วยโลก ๓ (นัยที่ ๑) ๑. สังขารโลก โลกคือสังขาร ๒. สัตวโลก โลกคือหมูสัตว์ ต. โอกาสโลก โลกอันกำหนดด้วยโอกาส ที่มา : ทุทธานุสสติกถา ฉอนุสสตินิทเทส วิสุทฺร.๑/๒๒ต อปีจ ฅโย โลกา สงขารโลโก สตฅโลโก โอกาสโลโก ฯ แปล : อนึ่ง โลก ต คือ สังขารโลก ๑ สัตวโลก ๑โอกาสโลก ๑ ฯ โลกกลา ว่าด้วยโลก ๓ (นัยที่ ๒) ๑. มบุษย์โลก โลกคือหมู่มนุษย์ ๒. เทวโลก โลกคือหมู่เทพ ต. พรหมโลก โลกคือหมู่พรหม www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ๓ ๔๘๑ ทีมา : สามัญญผลสูตร อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ที.สี.อ. ๑/๑๕๖ สตตโลเก ลูปุปชุชมาโนปี คลาคโฅ น เทวโลเก น พฺรหฺมโลเก, มสุสโลเกเยว ^ปฺปชุชดิ ฯ แปล : พระตถาคตเจ้าแม้เมื่อทรงอุบัติในส์ตวโลก ย่อมไม่ทรง อุบัติในเทวโลก ไม่ทรงอุบัติโนพรหมโลก ย่อมทรงอุบัติโนมนุษย์โลก เท่านั้น ฯ หมายเหตุ : โลกต อีกนัยหนึ๋ง คือ กามโลก รูปโลก และอรูปโลก จัดตามนัยภพ ฅ พึงเทียบภพ ๓ มรณคลา ว่าด้วยความตาย ฅ ๑. ฃณิกมรณะ ตายทุกขณะจิต ๒. สนุจเฉทมรณะ ตายขาดจากทุกข์ ฅ. สัมนุติมรณะ ตายโดยลมมติ ที่มา : อรรถกถาส์ทธัมมปกาสินี ข.ปฏิ.อ. ๑๐๔/๑๕๘ ปุน ขณิกมรณํ สมุนุติมรณํ สนุจฺเฉทมรณนุติ อยมปเนตถ เภโท เวทิตพโพ ฯ แปล : โนมรณกถานี้พึงทราบประเภทแท่งความตายดังนี้คือ ขณิกมรณะ ๑ ส์มนุติมรณะ ๑ ลนุจเฉทมรณะ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๘๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ วัฏฏกถา ว่าด้วยวงจร ฅ ๑. กิเลสวัฎ วงจรกิเลส ๒. กัมมวัฎ วงจรกรรม ฅ. ^วิปากวัฎ วงจรวิบาก ที่มา : ภวจักกกทา ปัญญาภูมินิทเทส วิสุvjB. ๒/๒๔ต สงฃารภวา กมมวฎฺฎํ, อวิชุชาตฉรชุปาทานานิ กิเลสวฎฏํ, วิญณาณ- นามรูปสฬายตนผสสเวทนำ วิปากวฏฎนติ อิเมหิ ตีหิ วฏฺเป็หิ ติ'3ฏฺป็หิป ภวจกกํ ยาว กิเลสวฏฎํ น รุปจฉิชุชติ,*ดาว อชุปจฉินนปชุจยฅ.คา อนวฎฺเตํ ไ^นป.ใเนํ ปริวตุตนโต ภมติเยวาติ เวทิตพ.พํ ฯ แปล : พึงทราบว่า ภวจักรนี้จัดเป็นไตรวิ'ฏ ด้วยวัฏฏะ(วงจร)ฅ เหล่านี้ คือ สังขารและภพจัดเป็นกัมมวัฏ วงจรกรรม ๑ อวิซซา ตัณหา และอุปาทานจัดเป็นกิเลสวัฏ วงจรกิเลส ๑ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ และเวทนาจัดเป็นวิปากวัฏ วงจรวิบาก ๑ ตราบโดที่กิเลสวัฏยัง ไม่ขาด ตราบนั้น ภวจักรก็ยังไม่หยุดนิ่งเพราะปัจจัยไม่ได้ถูกตัดขาด ย่อม หมุนเรื่อยไปโดยการเวียนวนซํ้าแล้วซํ้าเล่า ฯ วยกถา ว่าด้วยวัย ฅ ๑. ปฐมวัย วัยแรก (๑-ตฅ ปี) ๒. มัชฌิมวัย วัยกลาง (ฅ๔-๖๗ ปี) ฅ. ฟ้จฉิมวัย วัยท้าย (๖๘-๑ออ ปี) www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมๆด ๓ ๔๘๓ ที่มา : มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทรนิทเทส วิสุทฺริ.๒/๒๘๗ ใส (โยคาวจโร) ตเมว วสฺสสดํ ปปีมวเยน มชผิมวเยน ปจฉิม- วเยนาดิ ดีหิ วเยหิ ปริจฉินุทดิ ฯ ดดล อาทิโต เดตดีส วสสานิ ปปีมวโย นาม ฯ ดโด จๆดุดีส มชผิมวโย นาม ฯ ดโด เดดฺตีส ปชุฉิมวโย นามาติ ฯ แปล : ท่านผู้บำเพ็ญเพียรนั้นย่อมกำหนดหนึ่งร้อยป็นั้นแหละ ด้วยวัยทั้ง ฅ คือ ปฐมวัย ๑ มัซฌิมวัย ๑ ปัจฉิมวัย ๑ ในจำนวน ๑00 ป็นั้น ฅฅ ปี ซื่อว่าปฐมวัย จากนั้นไปอีก ฅ๔ ปี ซื่อว่ามัซฌิมวัย จากนั้นไปอีก ฅฅ ปี ซื่อว่าปัจฉิมวัย ฯ วิฟ้ลลาสกลา ว่าด้วยความคลาดเคสิอน ๓ ๑. สัญญาวิปลลาส ความจำคลาดเคลื่อน ๒. จิดดวิปัลลาส ความคิดคลาดเคลื่อน ๓. ทิเวิฟ้ลลาส ความเห็นคลาดเคลื่อน ที่มา : ปหาตัพพธัมมปหานกถา ญาณหัสสนวิสุหรินิหเหส วิสุV!ริ. ๒/ฅ๖๖ วิปลฺลาสาติ อนิจจชุชุขอนตุดอธุ[เภอุ[เยว วตุถูอุ[ นิจจํ อุ[ข็ อตุดา อุ[ภน.ติ เอวํ ปวตุโด สญณาวิปล.อาโส จิตุดวิปลุลาโส ทิฎฺเวิปลลาโสติ อเม ดโย ฯ www.kalyanamitra.org
๔๘๔ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : คำ ว่า วิปัลลาส ได้แก่ วิปัลลาส ฅ อย่างนี้ คือ ส์ญญาวิปัลลาส ๑ จิตตวิปัลลาส ๑ ทิฐิวิป้ลลาส ๑ ที่เป็นไปในวัตอุทิ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา และไม่งาม อย่างนี้ว่า 'เที่ยง เป็นสุข เป็นอัตตา และงาม' ฯ สัฑธัมมกถา ว่าด้วยพระส์ทธรรม ๓ ๑. ปริยัตติสัทธรรม คำ สอนอันจะด้องเล่าเรียน ๒. ปฎิฟ้ตติสัทธรรม ปฏิปทาอันจะด้องปฏิบัติ ฅ. อธิคมสัทธรรม ผลอันจะพึงเข้าถึงด้วยการปฏิบัติ ที่มา : ปารารกกัณฑ์ อรรถกถาสมันตปาสาทิกา วิ.อ. ๑/๒ฅ๖ สทุธมฺมฎเติยาติ ติวิโธ สทธมโม ปริยตุติสทุธมโม ปฏิปตุติ- สทุธมโม อธิคมสทุธมโมติ ฯ แปล : คำ ว่า เพื่อความตั้งมั่นแฟงพระสํโทธรรม พึงทราบว่า พระส์ทธรรมมี ฅ ประเภท คือ ปริยัตติส์ทธรรม ๑ ปฏิป้ตติส์ทธรรม ๑ อธิคมสัทธรรม ๑ ฯ อธิบาย : ปริยัตติสัทธรรมได้แก่ พระพุทธพจน์ทั้งหมดที่ประมวล ไวัในพระไตรปิฎก ปฎิฟ้ตติสัทธรรม ได้แก่ ข้อปฏิบัติคือธุดงค์ ๑๓ ฃันธกวัตร ๑๔ มหาวัตร ๘๒ คืล สมาธิ และวิปัสสนา อธิคมสัทธรรม ได้แก่ มรรค ๔ ผล ๔ และนิพพาน ๑ พระสัทธรรมทั้ง ๓ นี้ เรียกโดยทั่วไป ว่า ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด ฅ ๔๘๕ พฑธวจนกถา ว่าด้วยพระพทธพจน์ ฅ ๑. ปฐมทุทธพจน พุทธดำรัสทตรัสแรกสุด ๒. มัชฌิมพุทธพจน์ พุทธดำรัสที่ตรัสระหว่างแรกสุดกับท้ายสุด ฅ. ป็จฉิมพุทธพจน์ พุทธดำรัสที่ตรัสท้ายสุด ที่มา : ปฐมมหาส์งคีดิกถา นิทานกถา อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ที.สี.อ. ๑/๑๕ กถํ ปจมมซฌิมปจฉิมวเสน ดิวิธํ ฯ สพุพเมว หิทํ ปจมพุทฺธวจนํ มชุฌิมพุทธวจนํ ปจฉิมพุทธวจนนติ ติปปเภทํ โหติ ฯ แปล : ว่าโดยพระดำรัสที่ตรัสครั้งแรก ท่ามกลาง และท้ายสุด พระพุทธพจน์จัดเป็น ต อย่างไร คือ พระพุทธพจน์แม้ทั้งหมดนี้มี ฅ ประ๓ท คือ ปจมพทธพจน์ ๑ มัซฌิมพทธพจน์ ๑ ปัจฉิมพุทธพจน์ ๑ ฯ ปริยัตติกลา ว่าด้วยปริยัติ ๓ ๑. อลคัทดูปมาปริยัติ เรียนปริยัติดุจงูพิษ ๒. นิสสรณัตถปริยัติ เรียนปริยัติเพี่อให้พ้นจากวัฏฎทุกข์ ฅ. ภัณฑาคาริกปริยัติ เรียนปริยัติเพี่อเป็นคลังพระธรรม ที่มา : ปฐมมหาสิงคีดิกถา นิทานกถา อรรถกถาสุฟ้งคลวิลาสินี ที.สี.อ. ๑/๒๑ เอตถ ปน ตีสุ ปีฎเกสุ ติวิโธ ปริยตติเภโท ทฎฺจพุโพ ฯ ติสุโส หิ ปริยตติโย อลคทุทุปมา นิสุสรณตถา ภณุฑาคาริกปริยตติ ฯ www.kalyanamitra.org
๔๘๖ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ แปล : อนึ่ง ในพระไตรป็ฎกน พึงทราบประ๓ทแห่งปริยัติมี ฅ กล่าวคือ อลคัททูปมาปริยัติ ๑ นิลสรณัตถปริยัติ ๑ ภัณฑาคาริกปริยัติ ๑ ฯ สันโตสกถา ว่าด้วยส์นโดษความยินดี ๓ ๑. ยถาลาภสันโดษ ยินดีตามที่ได้ ๒. ยถาพลสันโดษ ยินดีตามกำลัง ฅ. ยถาสา'5ปสันโดษ ยินดีตามสามควร ที่มา : ลันโตสกถา สามัญญผลสูตร อรรถกถาสุมังคลรสาสินี ที.สี.อ. ๑/๑๘๔ จีวเร ยถาลาภสนฺโตโส ยถาพลสนุโฅโส ยถไสารุปปสนโฅโสติ ติวิโธ ฯ แปล : สันโดษโนปัจจัยคือจีวรมี ฅ คือ ยถาลาภสันโดษ ๑ ยถาพลสันโดษ ๑ ยถาสารุปสันโดษ ๑ ฯ หมายเหตุ ะ สันโดษ ฅ นี้เป็นไปในปัจจัย ๔ แต่ละอย่าง คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ ติลานปัจจัยเภสัชบริขาร จึงรวมเป็นสันโดษ ๑๒ วิรติกถา ว่าด้วยเจตนางดเว้น ๓ ๑. สัมปีตดวิริต เว้นสิงประจวบเฉพาะหน้า ๒. สมาทานวิริติ เว้นด้วยการสมาทาน ฅ. สชุจเฉทวิรัติ เว้นด้วยตัดขาด (เสตุฆาตวิรัติ) www.kalyanamitra.org
และคณะ] หมวด (ท ๔๘๗ ที่มา : ถูฏทันตสูตร อรรทกถาสุมังคลวิลาสินี ที.สี.อ. ๑/๒๗๔ ตตุถ ปาณาติปาตา ทรมณืติอาทีธุ[ เวรมณี นาม วิรติ ฯ สา ติวิธา โหติ สมปฅตวิรติ สมาทานวิรติ เสดูฆาตวิรติ ฯ แปล : ในคำว่า ปาณาติปาตา เวรมณี เป็นต้นนั้น วิรัติ คือ เจตนาเป็นเหตุงดเว้น ซื่อว่าเวรมณี วิรัตินั้นมี ต อย่าง คือ ส์'มป้ตตวิรัติ ๑ สมาทานวิรัติ ๑ เสตุฆาตวิรัติ (ความงดเว้นตุจซักสะพานตัดตอน) ๑ ฯ ปรินิพพานกลา ว่าด้วยปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ๓ ๑. กิเลสปรินิพพาน ตับกิเลส ๒. ขันธปรินิพพาน ตับขันธ์ ฅ. ธาดูปรินิพพาน ตับธาตุ ที่มา : ส์มปสาทนียสูตร อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ที.ปา.อ. ๙๘๘ ติณี ปรินิพพานานิ นาม กิเลสปรินิพฺพานํ ฃนธปรินิพพาน ธาดูปรินิพพานนุติ ฯ ตตุถ กิเลสปรินิพพาน โพธิปลุลงฺเก อโหสิ ฯ ฃนธปรินิพฺพาน่ คูสินารายํ ฯ ธาดูปรินิพพาน อนาคเต ภวิสสติ ฯ แปล : ปรินิพพาน (ของพระตัมมาตัมพุทธเจ้า) มี ฅ คือ กิเลส ปรินิพพาน ๑ ขันธปรินิพพาน ๑ ธาตุปรินิพพาน ๑ บรรดาปรินิพพาน ต นั้น กิเลสปรินิพพานไต้มี ณ โพธิบัลลังก์ ขันธปรินิพพานไต้มี ณ เมีองกุสินารา ธาตุปรินิพพานจักมีในอนาคตกาล ฯ www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 626
Pages: