องคเฒงอาชติลุล่ลัจจัย ๑. แาคัญเป็นอ่ปางอี่นและจับต้องฺ .๒. กายต่อกายถูกกนเข้า ต. สำ คัญถูกว่าเป็นผู้หญิงและจับ่ต้อง ๔. กาย่และของเนื่องคัว่ยกายถูกกัน องค์แฟงอาฃติทุกกฎ 0. สำ คัญถูกว่าเป็นผู้หญิงและถูกตอง ๒. สำ คัญเป็นอย่างอื่นและถูฤตอง ต. ของเนื่องดวยกายกับของเนื่องด้วยกายถูกกัน ๔. กายและของเนื่องด้วยกายถูกกัน สิกขาบทนี้เป็นสจิตตกะ ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่มี เจตนาจะถูกด้อง สิกขาบททุฅ ภิกษุมีความกัๆหนดอยู พ่คเสัยวหญิง ต้องสิงฆาสิเสส วัตณฟงอาบติ ๑. ผู้หญิงเป็นวัตถุแหงอาบัติสํงฆาทิเศส ๒. บณเฑาะก์เป็นวัตถุแห่งอาบัติถลลัจจัย ต. ผู้ซฺายเป็นวัตถุแหงอาบัติทุกกฎ ผู้หญงในสิกขาบพ หมาณอาผู้หญิงมินุษย เฉพาะที่รู้ เดียงสา ๑๙๒ วิฟ้โย www.kalyanamitra.org
หลก๓ณฺฑ์การปรบอานสิ 0.ในผู้หญิงพูดพาดพิงทวารเบาทวารหนัก และเมถุน ต้อง อาบัติสังฆาทิเสส อวัยวะส์น่เหนือหัวเข่าขึ้นไป โต้รากฃวญลงมา (ไหปลาร้า) ต้องอาบัติถุลลัจจัย อวัยวะอื่นนอกจากนั้น ต้องอาบัติ ทุกกฏ ๒. โนบัณเฑาะก์ ทวารและเมถุน เป็นวัตถุแห่งถุลสัจจัย อวัยวะทุกอย่างต้องอาบัติทุกกฏ ฅ.ในผู้ชาย ทุกสิงเป็นวัตถุแห่งทุกกฎ สิกขาบทนี้เป็นสจิตตกะ ไมเป็นอาบัติเ๓ภิกษุผู้ม่งอรรถมุ่ง ธรรม หรือมุ่งคำสอนพูดวาจาเซ่นนั้น สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุมีดวฺามกำหนัดอยู่ พูดล่อให้หญิงบำเรอดนด้ายกๆม ด้องสังฆาทิเสส สิกขาบทนี้หมายเอาพูดซักซวน พาดพิงถึงเมถุนธรร่ม เซ่น น้องหญิงผู้ใดบำรุงเราผู้ปร่ะพฤติพรหมจรรย์ ต้วยเมถุนธรรมนั้น นั้นเป็นยอดของการบำรุงบำเร่อทั้งหลาย หสักเกณฑ์การปร้บอาบสิเหมีอนสิกขาบทที่ ฅ สิกขาบทที่ ๕ ภิกษุซกที่อให้ชๆย่หญิงเป็นผัวเมยกัน ด้องสังฆาทิเสส หญิง ๒ ประ๓ท 0. หญิงอยู่ในการปกครองของมารดาบิดาเป็นต้น 711ย 0๙๓ www.kalyanamitra.org
๒.หญงต้องห้าม เซ่นผู้หญิงอยูโนปกครองของสกุล ภิกษุรับเป็นเถ้าแก่ซักส์อให้เขาเป็นสามีภรรยากัน ต้อง อาบติส์งฆาทเสส องค์แฟงการชกร่อ 0. รับคำของผู้วาน \" ๒.ไปบอกแก่อีกฝ่ายหนึ๋ง ต. กลับมาบอกผู้วาน การซักส์อย่อมสำเร็จเพราะองค์ ๒ ก็มี เซ่นชายวานให้ ภิกษุบอกนัดหญิงแพศยา ถ้าหญิงนนรับคำแดไม่กลับมาบอก ความ ปรารถนาคงสำเร็จ หลักเกณฑ์การปรับอาบติ 0. ถ้าเขาวานรับคำ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒. บอกแก่อีกฝ่ายหนึ่ง ต้องอาบัติลังฆาทิเสส ต. ถ้าจัดการเอง บอกแก่ฝ่ายแรก ต้องอาบัติกุลลัจจัย ๔. บอกแก่ฝ่ายที่สอง ต้องอาบัติลังฆาทิเสส ๕.ผู้วาน เจ้าตัวเป็นชายหรือหญิงกตาม เป็นมารดาบิดาหรือ ผู้ใหญ่อื่นของเขาก็ตาม ภิกษุรับแล้ว บอกแก่ฝ่ายหนึ่ง เป็นเจ้าตัว ก็ต่าม เป็นผู้ใหญ่ของเขาก็ตาม ต้องอาบัติลังฆาทิเสสr \" ๖,ไมทำเอง แต่ลังให้ผู้อื่นทำแทนอีกต่อหนึ่ง ต้องอาบัติ ลังฆาทิเสส ๗. เขาวานภิกษุหลายรูป รับเขาแล้ว บอกแม้แก่รูปเดียว ต้อง อาบัติลังฆาทิเสสต้วยกันทงนั้น 0๙๔ วินัย www.kalyanamitra.org
๘ ภิกษุแร!^มรู้ ซักโยงสามีภฺรรยาผู้หย่ากันแล้วให้กลับ คืนดีกันใหม่ ต้องอาบัติลังฆาทิเสส ในสิกขาบทนี้ เบ็เนอจิตตกะ รกขาบทที่ ๖ ภิกษุสร้างกุฎีที่ต้องก่อนละโบกด้วุยyนหรือดีนุ ที่งใฝมโด่ร เป็นเจ้าของ จ้าเพาะเป็นทฺอแขุองดน ต้องทำไหโต้ประมาเผโตุ่ย ยาวเพียง 0๒ คืบพระสุคด โดยกว้างเพียง ๗ คืบ วัดโนร่วมไม นละต้องไหสงฆ์แสดงที่ไห้ก่อน ถ้าไฝไห้สงฆ์แสดงที่โห้ก็คื ทำ ไห้ เภินประมาณก็คื ต้องลังฆาทเสส หลักเกณฑ์การปร้บอาบัต 0. ภิกษุขอให้สงฆ์แสดงทึ๋โห้แล้ว แต่กลับไปทาในที่อื่น หรอทำกุฎีให้ล่วงประมาณ แต่ละอย่างต้องอาบัติลังฆาทิเสสุ ทำ อย่างเดียวอาบัติตัวเดียว ทำ ๒อย่างอาบัติ ๒ ตัว ๒. เป็นอาบัติในการกระทำทีแรก ต้องอาบัติทุกกฏทุก ประโยคที่ทำ ฅ่.จนสิงอีกประโยคหนี้งจะสำเร็จ ต้องอาบัติอุลลัจจัย ๔. ทำ สำ เร็จต้อฺงอาบัติลังฆาทีเสส อาการล่วงอาบัติ ในสิกขาบทนี้มีข้อลังเกตตังนี้- 0. ต้องเพราะไม่ทำกึมี คือไม่ขอให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ๒. ต้องเพราะทำก็มี คือทำในที่อื่นจากที่อันสงฆ์แสดงให้ หรือทำให้ล่วงประมาณ วิปัย ๐๙๕ www.kalyanamitra.org
ต. ต้องเพราะไฝทาก็มี ต้องเพราะทาก็มี คือไม่ขอให้สงฆ์ ห้และทาให้ล่วงประมาณ รกชาบทที่ ๗ ถ้าที่อ่ยู่ชึ๋งจะสร้างสันนน มึทายกเป็นเจ้าชอง ทำ ให้เกิน ประมาณนั้นไต้ แด่ต้อฟ้ห้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ถ้ๆใมโห้สงฆ์ แสดงที่ให้ก่อน ต้องสังฆาทิเสส ในสิกขาบทห้อนี้ถ้าม่เจ้าภ่าพประสงค์จะสร้างให้ ไม่ต้อง มีจำ กัดประมาณของqg เพราะไม่ต้องรบกวนขอตอคนหมูมาก รกชาบทที่ ๘ ภิทษุ่โกรรเคือง แกต้งโจทค์กิกษเนต้รยอ่าบดปารฬกไม่มีมูล ต้อ่งสังฆาทิเสส อนุวาทารกรณ การโจททกันต้วยอาบัติในสิกขาบทนี้ ไต้แก'อนุวาทาธิกรฟ้ คือฟ้องร้องกล่าวหาต้วยเรื่องละเมิดสิกขาบทต้องอาบัติ อรกรณ์อนไมมฺมูฟิ อธิกรณ์อันไม่มีมูลต้องประกอบต้วยอาการ ต คือ 0. เวนจากการไต้เห็นเอง ๒. เว้นจากการไต้ฟัง ต. เว้นจากการไต้รังเกียจ ©๙๖ รฟ้ย www.kalyanamitra.org
อรกรผ์อันมีมูล อธกรณ์อันจัดว่ามีมูลเพราะต้องประกอบด้วยอาการ ๓ คือ 0.ไต้เห็นเอง ๒. เรื่องที่มียู้บอก และเซึ่อโดยเห็นว่ามีหลักฐาน ฅ. เว้นจากอาการ ๒ อย่างนน แดกริยาของฺเธอแสดง พิรุธ่เห็เกิดริงเกียจ . อัก่ษฌะการโจทก์ ๔ อย่าง 0. เล่าถึงเรื่องททำ ๒. ระบุอาบัติ ฅ. การห้ามลังวาส คือ อยู่รวมอันโนพระธรรมวินัย ๔ การห้ามสามีจักรรม- คือ การแสดงความเคารพ ๔ ข้อนี้ มีเหตุผลซัดเจนพอจะเข้าใจวาต้อ่งอาบัติปาราข้ก หอักเกณฑ์การปรบอาบัติ 0. อริกรฟ้1มมีมูส กิกษุ่โจทก์เองกีดี ลังให้คนอื๋น่โจทก์กีคื ด้วยอาบัติปาราข้ก ต้องอาบัติลังฆาทิเสส ๒. ภิกษุผู้ว่าความเป็นทนายแทนโจทก์ โจทก์ดาม ประสงค์'ของผู้ลัง ต้องอาบัติลังฆำห็เสส ๓ อธิกรณมีมูลอันอ่อน โจทก์ทำให้มั่นเข้า ต้องอาบัติ ลังฆาทิเสส ๔. อริกรณ์มีมูลเซ่นฺไต้เห็นจริง แดคลับคล้ายคลับคลา ลันนัษฐานลงไม่กนด โจทก์ทำให้มั่นเข้าว่าไดเห็นโดยถนัด ต้อง อาบัติลังฆาทิเสส วิไป้ย ©๙๗ www.kalyanamitra.org
๕. จำ เลยเป็น^มบริสุทธิ้ คือ ต้องปารารกแล้ว แต่ โจทก์สำคัญว่าเป็นผูบริสุทุธ และโจทก์ต้วยอธิกรณ1ฝมียูล ต้อง อาบัติส์งฆาทิเสสเหมือนกัน หลกเกณฑการไฝต้องอาบติ จำ เลยจะเป็นผู้บริสุทธิ้หรือไฝบริสุทธึ๊ก็ตาม แต่เข้าใจว่า เป็น^ม่บรืสทสั โจทก์ตรงตามอาการที่โต้เห็น ไต้ฟ้งหรือไต้รังเกียจ แม้อธกรณ์นันไฝเป็นจริง เซ่นโจทก์ตามไต้รับแจ้งความเห็จ ไฝ ต้องอาบัติ t สิกขาบทที่ ๙ ภิกษโกรรฬือง แกล้งหาเลสโจทก์ติกษุอื่นต้วยอาบัติ ปาราซก ต้องล้งฺฆาทเ.สส เฟิสติออะไร เลสคือกิริยาอาการที่พอจะยกขึ้นอ้างเพี๋อใส่ความ กำ หนด ต้วยอาการคังนี้ ๐. ถือเอาสัณฐานอย่างใดอย่างหนึ๋ง เซ่นรูปร่างสูงตา ดำ ขาว หรือคลํ้า จึงอ้างมาเป็นเหตโจทก์ต้วยไต้เห็นหรือสงสํย' ๒. ถือเอาขึ้อํฌมือนกัน เซ่นไต้ฟิงคนฺโน้นคนนื้บอกเล่า ร่อเดียวกับจำเลยทำอย่างนั้น เก็บมาอ้างเป็นเหตุหาความโจทก์ จำ เลย ต้วยไต้ฟ้งและสงสัย ต. ถือเอาเลสแห่งอธิกรณ์เป็นเรื่องของจำเสย เซ่นรู้ว่ๅ จำ เลยล่วงสิกขาบทบางข้อแต่ไฝถืงปารารกโจทก์ให็แรงถึงปารารก ไฝพ้นจากอาบัติ ๐๙๘ วินัย www.kalyanamitra.org
อธิกรณ์ที่เป็นเลส 0. เป็นเรื่องของผู้อื่น ๒. เป็นเรื่องของจำเลยเอง รทชฺๆบทที่ 00 ภิกษุพากเพยรเที่อจะทำลายสงฆ์ให้นดกกัน ภิกษุอื่น ห้ามไฝฟ็ง สงฆ์สวดกรรุมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ ละ ห้องสังฆาทิเสส \" คำ ว่าพากเพียรเพื่อทำลายสงฆ์ .หมายถึง ขวนขวาย หรือพยายามเพี่อจะให้สงฆแตกกัน จนมีสังวาสต่างกัน คือ ไม่ทำ อุโบสถกรร่มร่วมกัน คำ ว่า สงฆ์ หมายถึง ภิกษุที่อยู่พร้อมเพรืยงกัน คือมี สังวาสเสมอกัน อยู่ในสิมาเดียวกัน คำ ว่า อธิกรณ์หมายถึง เรื่องราวที่เป็นเหตุถกเถึยงกัน คือ่ เถียงกันว่า นั่นธรรม นั่นไมใขํธรรม นั่นวินัย นั่นไมใช่วินัย เป็นต้น > สิกขาบทนี้มีโทษหนักมฺาก เพราะเป็นสังฆเภท เมื่อลุะ โลกไปแส้วมื่อเวจีมหานรกเป็นที่ไป หสักเกณฑ์การปร้บอาบติ 0.เป็นหนัาที่ของภิกษผ้ร้เรื่องต้องห้ามปราม ถ้าไม่ห้ามต้อง อาบัติทุกกฎ ๒. ถ้าห้ามแส้วไม่ฟ้ง นำ ตัวมาท่ามกลางสงฆ์ตักเตือนอีก ฅ ครั้ง ถ้ายังขฺดขืนพีงสวดสมนภาส คือ ประกาศห้ามต้วยญัตุติ- วิฟ้'ย 0๙๙ www.kalyanamitra.org
จตุตถกรรม ถ้าละความเห็นผิดได้ฟ็นการดี ถ้าไม่ละต้องอาบัดี ทุกกฎทุกคราว ต.ถ้าสวดจนจบญัตติ คือคำเผดียงสงฆ์ จบอนุสาวนา คือ คำ หารือและดกลงของสงฆ์ ๒ คราวข้างต้น ต้องอาบัติลุลลัจจัย ๔. จบอนุสาวนาครั้งที่ ต ต้องอาบัติส์งฆาทิเสส ๕.ในกรรมเป็นธรรม เข้าใจถูกก็ดี เข้าใจผิดกดี แคลงใจ อยู่ก็ดี ไม่สละต้องอาบัติลํโงฆาทิเสส สิกขาบทนี้เป็นอจตตกะ รกชาบทที่ 00 ภิกษประพฤตดามภิกษุผู้ทำลายสงฆ์นน ภิกษุอึ่นห้ามไฝฟึง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตบั^ ถ้าไม่ละต้อง สังฺฆาทเส่ส สิกขาบทข้อนี้ม่อธิบายเหมือนสิกขาบทที่ 00 สิกขาบทที่ ๐๒ ภิกษุวายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามโม่ฟ็ง สงฆ์ส้วฺด กรรมเพื่อจะให้ละข้อ่ที่ประพฤตินน ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส คำ ว่า ว่ายากสอนยาก หมายถึง ผู้!ม่เห็นโทษของ่การ ประพฤติผิด ในสิกขาบททั้งหลาย ภิกษุอื่นว่ากล่าวต้กเดีอนไม่เชื่อ ฟ้ง ให้ลงโทษเหมือนสิกขาบทที่ 00และ ๐0 สิกชาบทที่ ๐๓ ภิกษุประทุษร้ายตระกูล คือประจบศ่ฤห้สฺฟิ สงฆ์ไล่เสิย จากวต กสับว่าติเตียนสงฆ์ ภิกษุอื่นห้าม่ไม่พื่ง สงฆ์สวดกรรีม ๒00 วินัย www.kalyanamitra.org
เพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไฝละ ห้องสัง?เาทเสล คำ ว่า ประชุษรายตระกูล หมายถึง เป็นผู้ประจบเซา ด้วย กิริยาทำตนอย่างคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาโข้สอย หรือด้วย อาการเอาเปรืยมให้ของน้อยแล้วหวังได้มาก คำ ว่า ประพฤติเลวทราม หมายถึง ประพฤตินอกทาง ของสมณะ เซ่น ประพ่ฤติสุงสิงกับหญิงสาวในตระกูล เล่นการ พนัน ตลกคะนอง ร้องรำทำเพลง มีพุทธานุญาตให้สงฆ์ ลง อุกเขปนียกรรม คือ ไล่เสิยจากวัด สรุปอาบัติสังฆาทิเสส 0. สิกขาบทที่ 0 - ๙ ด้องอาบัติตั้งแต่แรฺกทำ เรืยกว่า ปฐมาปีดติกะ ๒. สิกขาบทที่ 00 - 0๓ ด้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์สวดป.ระกาศ ห้าม ต ครั้ง เรืยกว่า ยาวตติยกะ . เรืยกว่า ครกาบัติ เพราะอาบัตินี้เป็นอาบัติหนักใน ฝ่ายที่แกั1ขได้ ๔. เรืยกว่า ทฎฎรรุุลลาลบาับตติ เพพรราะาอะาอบัาตบินต้'เ^ป็'^นอาบัติvท-ีd่-มี.เdรือง หยาบคายาอยอยยุู:่มมาากก ๕. เรยกว่า วุฎฐานคามีนี เพราะอาบัตินี้เป็นอาบัติที่กิกษ ด้องแล้วจะพ้นได้ด้วยการอยู่กรรม ๖. เรืยกว่า อาบัติซํ่วหยาบ ห.มายถึง อาบัติปาราชิก และ สังฆาทิเสส ^นย ๒00 www.kalyanamitra.org
วิธีออกจาทอๆบัดิสังฆๆทิเสส 0. ปริะพฤแวัตรซื่อว่าปริวาส ตามจำนวนวันทปกอด ๒. อยู่มานัต ๖ ราตริ ฅ. ต้องอัพภานด้วยสงฆ์ ๒๐ รูป ๔. ปฏิอัสสนา กรณีทำอาบติซํ้าซ้อน ป็ญหาแสะเฉลยกณฑ์ที่ ๕ 0. ถาม -. ส์งฆาทิเสสมีความหมายว่าอย่างไร ? ตอบ ถ้าเป็นซื่อของสิกขาบท แปลว่า ปรับอาบัติสิงฆาทิเสส ถ้าเป็นซื่อของอาบัติ แปลว่า ความละเมิดมีสงฆ์ในกรรม เบื้องต้นและกรรมอันทึ๋เหลือ คือสงฆ์เป็นผู้ปรับโทษให้ อยู่กรรม และสงฆ์เองเป็นผู้ระงับอาบัติ ๒.ถาม เพราะเหํตุอะไรอาป๋ตส์งฆาทิเสสจํงเริยกว่าครุกาบติ ทุ£แ^^'^^® ตอบ ที่เริยกว่า ครุกาบัติ เพราะเหตุว่าอาบัติสิงฆาทิเสสเป็น อาบัติหนักในส่วนที่จะพึงแก1ขไต้ที่เริยกว่า ทุฎจุลลาบัติ เพราะเหตุว่า มีเรื่องหยาบคายอยู่มาก ที่เริยกว่า'รุฎ- ฐานคามีนี เพราะเหตุว่า ภิกษุต้องอาบัตินี้แล้วต้องอยู่ กรรมจึงจะพ้นไต้ ฅ. ถาม ภิกษุมีความกำหนัด จับต้องกายอนุปสัมบัน ต้องอาบัติ อะไร ? ตอบ ถ้าอนุปสัมบันเป็นหญิงจับต้องเป็นอาบัติสังฆาทิเสส เป็น ๒๐๒ ว๊ใ!ย www.kalyanamitra.org
กะเทย จับต้องเป็นอาบัติอุลลัจจัย เป็นบุรุษ จับต้องเป็น อาบัติทุกกฏ ๔. ถาม ภิกษุมีความกำหนัดจับต้องส์'ตว์ดิรัจฉานเพศผู้และเพศ เมียต้องอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติทุกกฏ ๔. ถาม การพูดเกี้ยวเป็นอาบัติอะไรไต้บ้าง ? ตอบ ในหญิงมีเขตแห่งอาบัติ คือ 0.ทราวหนัก ทวารเบา เมถุน เป็นเขต่แห่งส์งฆาทิเสส ๒. อวัยวะอื่น เหนือบัวเข่า ใต้รากขวัญ (ไหปลาร้า) ภายในศอก เป็นเขต่แห่งถุลลัจจัย ฅ. นอกนี้เป็นเขตแห่งทุกกฎ ในบัณเฑาะก์เขตแห่งอาบัติ คือ 0, ทวารและเมถุนเป็นเขตแห่งถุลลัจจัย ๒.นอกนี้เป็นเขตแห่งทุกกฎ ในซายอวัยวะทั้งหมดเป็น เขตแห่งทุกกฎ ๖. ถาม ในคัมภีร์วิภังค์กำหนดองค์แห่งการซักส์อไวัเท่าไร•บอก มาให้ครบ ? ตอบ ในคัมภีร์วิภังค์กำหนดองค์แห่งการซักส์อไวั ฅ คือ 0. รับคำของผู้วาน ๒. บอกแก่อีกฝายหนึ๋ง ฅ. กลับมาบอกผู้วาน ๗.ถาม สามีภรรยาทะเลาะภัน ภรรยากลับไปอยู่บ้านเติม ภิกษุ ซักโยงให้ทั้งสองํคืนดีกัน ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ เพราะ เหตุไร ? วํนัย ๒๐๓ www.kalyanamitra.org
ตอบ สามีภรรยาทะเลาะกัน ภรรยากลับไปอยู่บ้านเดิม ภิกษุ ซักโยงให้พั้งสองคืนดิกันไม่ต้องอาบัติ เพราะทั้งสองคน นั้นยังไมใต้หย่ากัน ๘.ถาม ลังฆาทิเสสสิกขาบทไหนที่ภิกษุต้องเพราะมีราคะ สิกขา บทไหนต้องเพราะมีโทสะ? ตอ่บ ตั้งแต่สิกขาบทที่0-๔ ภิกษุต้องเพราะมีราคะเป็นเต้ามูล สิกขาบทที่ ๘ - ๙ ต้องเพราะมีโทสะเป็นเต้ามูล ๙. ถาม การปรบอาบัติในลังฆาทิเสสข้อที่ ๕มีกฏเกณฑ์อย่างไร? ตอบ, องค์แห่งอาบัติ 0. พูดตกลงกับฝ่ายแร่ก เป็นถุลลัจจัย , ๒.บอกฝ่ายที่ ๒ เป็นลังฆาทิเสส(แม้รับคำหลายรูป บอก เพียงรูปเดียว ก็ลังฆาทิเสสทุกรูปฺ) ๓. ภิกษุแมIมรซักโยงสามีภรรยาผู้หย่ากันแล้วให้กลับ คืนดีกันใหม่ '^'^ลังฆาทิเสส ๔.ใซให้ผู้อึ่นซักส์อ ต้องสังฆาทิเสส , 00.ถาม คำ ว่า \"หญ็ง\" ในสังฆาทิเสสข้อ ๒,๓,๔,๕, เหมีอนหรือ ต่างกันอย่างไร ? ตอบ หญิงในสิกขาบทที่ ๒ หมายรวมถึงทารก หญิงในสิกขา บทที่ ๓,๔,๕, เฉพาะหญิงที่รู้ความ 00.ถาม สังฆาทิเสสสิกขาบทที่๗มีเกณฑ์การปรับอาบ้ติอย่างไร? ตอบ่ 0. เมื่อจะเริ่มสร้าง แต่มีความตั้งใจที่จะไม่ให้สงฆ์แสดง ที่ให้ ต้องอาบัติทุกกฎ ๒.ขณะกำลังสร้าง แต่ยังไม่เสร็จ ต้องถุลลัจจัย ๓. ขณะที่สร้างเสร็จพอดี ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๒0๔ วินัย www.kalyanamitra.org
๐๒.ถาม คำ ว่า \"ไฝมีมูล\" ใน่ส์งฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๘ หมายถึง อะไร ? ตอบ 0.ไฝได้เห็นว่าเขาอาบัติ ๒.ไฝได้ยินว่าเขาอาบัติ , ๓. เว้นจากหลงเข้าใจผิดฺติดว่าเป็นความจริง ๐๓.ถาม อ่าการโจทก์มีอะไรบัาง ? ตอบ 0. เล่าเรื่องที่เขาทำ ๒.บอกผู้อี่นว่าเขาอาบัติอะไร ๓. ห้ามเขาเข้าร่วมส์งฆกรรม \"' ๔. ห้ามผู้อื่นทำความเคารพเขา ๐๔.ถาม โจทก์ด้วยอาบัติไฝมีมูลเป็นอาบัติอะไร.? ตอบ โจทก์ด้วยอาบัติปาราชิก.ด้องสิงฆาทิเสส โจทก์ด้วยอาบัติสังฆาทิเสส ด้องปาจิตตีย์ โจทก์ด้วยอาบัติอื่นนอกจากนี้ ด้องปาจิตตีย์ในมูสฺาวาท สิกขาบท ๐๕.ถาม ภิกษุโกรธ.เคือง แกล้งหาเลสโจทก์ภิกษุอื่นด้วยอาบัติ ปาราชิก คำ ว่า \"เลส\" กำหนดด้วยอาการคืออย่างไร ? ตอบ กำหนดด้วยคำว่า\"เสส\" ด้วยอาการอย่างนี้ . 0. ถึอเอาสัณฐานอย่างใดอย่างหนึ๋งคล้ายจำเลย จึงอ้าง มาเป็นเหตุโจทก์ ๒. ถือเอาที่อเหมีอ่นกันกับจำเลย เก็บมาอ้างเป็นเหตุ หาความโจทก์จำเลย ๓. ถือเอาเลสแห่งอธิกรณ์เป็นเรื่องของจำเลยมาโจทก์ วินัย ๒๐๕ www.kalyanamitra.org
©๖.ถาม ภิกษุพากเพียรทำลายสงฆ์ให้แตกกัน สงฆ์แตกกัน ตาม ความมุ่งหมายอย่างหนึ่ง ไฝแตกกันตามมุ่งหมายอย่าง หนึ่ง เธอต้องอาบ้ติส์งฆาทิเสสอย่างเดียว หรืออย่างไร ? ตอบ เธอยังไฝต้องอาบัติส์งฆาทิเสสทั้ง ๒ อย่าง เพราะสงฆ์ ไฝไต้สวดกรรม ครั้นสงฆ์สวดกรรมครบ ๓ ครั้งแล้ว เธอ ยังประพฤติอยู่ สงฆ์จะแตกหรือไฝแตกกันก็ตาม เธอ ต้องอาบัติส์งฆาทิเสส ©๗.ถาม ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไฝพีง สงฆ์สวดกรรม โพึ่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ล้าไฝละต้องส์งฆาทิเสส สิกขาบทที่เท่าไร ทรงบัญญัติเพี่อประสงค์ใด ? ตอบ สิกขาบทที่ ๑๒ แห่งสิงฆาที่เสส ทรงบัญญัติเพี่อป้อง กันไมให้ภิกษุดื้อต้าน ©๘.ถาม คาว่า ภิกษุประทุษรายตระกูล ในสิกขาบทที่ ๑๓ แห่ง สิงฆาทิเสส หมายถึงการทำอย่างไร ? ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุประจบคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย เซ่นเตินส่งข่าวให้เขาเป็นต้น หรือต้วยการเอา.เปรืยบโดย เซิงให้สิงของน้อยต้วยหวังไต้มาก ©๙.ถาม สิงฆาทิเสส๑๓สิกขาบทที่ซี่อว่า ยาวตติยกะ หมาย ความว่าอย่างไร ? ตอบ ที่ซื่อว่า ยาวตติยกะ เพราะให้ต้องอาบัติต่อเมื่อสงฆ์ ประกาศห้ามครบ ๓ ครั้ง ๒๐.ถาม สิงฆาทิเสสข้อไหนภิกษุล่วงละเมิตเข้าแล้ว จัดเป็นคน เลวทรามที่สุด เพราะเหตุไร ? ๒๑๖ วินัย www.kalyanamitra.org
.ตอบ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ 00 ภิกษุล่วงเข้าแส้วเป็นค่นเลว หรา.มอย่างที่สุด - เพราะอาสัยหฝูเขาแล้ว ยังทำลายหมู่ ทั้งเป็นอนันตริยกรรมอีกด้วย ๒©.ถาม สังฆาทิเสส อฅ สิกขาบท สิกขาบฺทไหนบ้าง เรียกปฐมา- ปัตติกะ เพราะเหตุไร? ตอบ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ 0-๙ เรียกว่า ปฐมาปัตติกะ เพราะให้ด้องอาบัติแต่แรกทำ ๒๒.ถาม จงอธิบายวิธีออกจากอาบัติสังฆาทิเสสแดโดยย่อ ? ตอบ เมื่อแน่ใจว่าเป็นอันด้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้ว จึงแจ้ง ความนั้นแก่สงฆที่มีภิกษุอย่างตาเพียง ๔รูปขอประพฤติ วัตรซื่อ มานัต เมื่อพระสงฆ์สวดอนุญาตให้แล้ว พีง ประพฤติให้ถูกระเบียบ ๖ ราตรี แล้วจึงมาขออัพภาน ต่อสงฆ์ที่มีภิกษุ ๒อ รูป สงฆ์สวตุอัพภานระงับอาบัติ นั้นแล้ว จึงเป็นผู้บริสุท^ตฺามเดิม แต่ส้าผู้ด้องอาบัติ นั้นปกป็ด่เสืยไฝบอกแก่ภิกษุด้วยกัน ปล่อยไวให้วันลวง เท่าใด พึงประพฤติวัตรซื่อ ปริวาส ก่อนสินวันเท่านั้น เสรจแล้วจึงประพฤติมานัตและขออัพภานต่อสงฆ์ตาม ธรรมเนียม วิใ!ย ๒๐๗ www.kalyanamitra.org
อนยด ๒ อนยด แปลว่า อาบัติวางไ'?Iฝแน่นอน ฝ็ ๒ สิกขาบท สิกขาบฑที่ 0 สิทษนั่งใน่ที่ลับดากับห^งสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อ ถือไถ้ มาพูดชื้นถ้วยรรรมฅอปาง คือ ปาราชก หรือลังฆาฑเสส หรือปาจดคืย์ อย่างใดอย่างหนึ๋ง ภิกฃุรบอย่างได ให้ปรืบอย่างนั้น หรือเขาว่า^าเพาะธรรมอย่างใค ให้ปรบอย่างนั้น ลักษณะวาจาที่ควรเชื่อสิอได้ คนที่มีวาจาควรเชื่อถือไถ้ ถ้องเป็น^หญ่มีคุณธรรม มืสืล ไม่มีอคติต่อคนที่เรากล่าวหา ทสักเก{นท์กๆรปร้บอาฟ้เ 0.เชุเดไผยีนยันฟ้ดลงไฬาสัองอาป๋สิอะไร ภิกชุรับอย่างใด 1อ่0๘ วปัย www.kalyanamitra.org
ให้ปรับอาบัติอย่างนั้น ๒. ผู้พูดยีนยันขัดว่าติองอาบัติอย่างนั้นๆ มีพยานหลัก ฐานพร้อมทุกอย่าง แต่ภิกษุไฝรับ ควรปรับ่อาบัติตามคำชองผู้มี วาจาควร ฟอถีอไติ สิกขาบทท ๒ ภิกษุนั่งในที่ลับหูถบหญิงสองฺด่๑.สอง ถ้ามีคนที่ควรฟฺอ ถือใด มาพูดขึ้นควยธรรม ๒ อย่าง คือ ลังฆาทเสส หรือ ปาจิดดย์ อย่างใดอย่างหนึ๋ง ภิกษุ่รบอย่างใด ใทปรืบอย่างนั้น หรือเขาว่าจิาเพาะธรรมอย่างใด ใหปรืบอย่างนั้น ที่ลับ IQ อย่าง .Q. ที่มีวัตธุกำบัง และเห็นไม่ได้ .พอจะเสพเมธุนไติ เรียก ว่า ที่ลับตา - ๒. ที่แจิงแต่ห่างพอจะพูดเกี้ยวผู้หญิงได้ เรียกว่า ที่ลับหู สรุปอนิยด 0.ที่ลับตาปรับอ่าบัติ ต อย่างคีอ่ ปาราชิก ลังฆาห็เสส และ ปาจิตตีย์ ๒.ที่ลับหูปรับอาบติ ๒ อย่างคือ ลังฆาทิเสสและปาจิตตีย์ ฅ. สองต่อสอง หมายถึง นั่งกันสองคน คือผู้หญิงหนึ๋ง และผู้ชายหนึ่ง ไม่มีบุคคลที่สามอยู่ด้วย ฬฺยุ ๒๐๙ www.kalyanamitra.org
ปืญทๆและเฉสยอนิยด ๒ 0.ถาม สิกขาบท๗นไรเรียกวา อนิยตสิกขาบท ? ดอบ่ สิกขาบทที่กำหนดอาบติไ%iแน่นอนรียfฑ่าอนิยตสิกขาบท ๒. ถาม อนิยต ๒ มไว้ทำไม เพราะไฝมีฝ็าบัติแผนกหนึ๋ง ? ตอบ แรเไฝมีอาบัติแผนกหนึ่งก็จริง แต่การที่มีอนิยตไว้ก็เพอ เป็นคู่มือของพระวินัยรร สำ หรับยกขึ้นวินิจฉัยอนุวาทา- รกรณอันไมแฟ่นอน นึ่งเกี่ยวกับผู้หญง ๓. ถาม ความเฟลกก็นของอนยตใฬ ๒ สิกขาบทฟ้นอย่างไรบาง? ตอบ ความแปลกกันของอนิยตทั้ง ๒ นั้น สิกขาบทแรกกล่าวกึง ที่กำ บังนึ่งเรียกว่า\"ที่ลับตา\"อันอาจปร่ะพฤติล่วงละเมิด กึงปฐมปาราป็ก สิกํขาบทหลัง กล่าวกึงที่แจ้งแต่หาง กันพูดฟ้งไม่ได้ยิน นึ่งเรียกว่า \"ที่ลับหู\" อันอาจ ประพฤติล่วงละเมิดเพียงลังฆาทิเสสเป็นอย่างสูง ๔. ถาม อนิยตสิกขาบทที่ 0 ห้ามภิกษุทำอะไร ? ตอบ ห้ามภิกษุนั่งในที่ลับตากับหญิงสองต่อสอง คือนั่งในที่มื วัตลุกำบังมองไม่เห็นด้วยตาแต่ได้ยินเสิยง เซ่นในห้อง ที่ป็ดมิดชิดเป็นด้น ๔. ถาม ในอนิยต ปรับอาบัติไว้อย่างไร เพราะเหตุใด จึงปรับ อาบัติอย่างนั้นจงขึ้แจง? ตอบ ในอนิยตปรีบอาบัติไว้อย่างนี้ คือ 0. ที่ลับตา ปรับฺด้วยอาบัติ ต อย่าง คือ ปาราชิก ลังฆาทิเสส ปาจึตติย ๒,ที่ลับหู ปรับด้วยอาบัติ ๒ อย่าง คือ ลังฆาทิเสส ๒00 วิiรย www.kalyanamitra.org
ปาจิตตีย์ ที่ปรับอ\"ย่างนั้น ก็เพราะยังไม่แน่นอนว่า ภิกษุ นั้นจะล่วงละเมิดสิกขาบทไหน ในเมื่ออยูในที่ เซ่นนั้น กับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่พอเชื่อได้มาพูดขึ้นด้วย รรรม ต อย่างดังกล่าวนั้น ภิกษุรับอย่างใด พึงปรับอย่าง นั้น หรือเขาว่าจำเพาะธรรมอย่างใด ก็ปรับอย่างนั้น V. ถาม อนิยดสิกขาบทที่ ๒ ห้ามภิกษุทำอะไร ? ตอบ อนิยดสิกขาบฺทที่ ๒ ห้ามภิกษุนั้งในที่ลับหู คือนั่งใ'^ที่ คนสามารถมองเห็นได้ด้วยดา แต่หูไม่ได้ยินเสิยง เซน นั่งในห้องที่เปิดประดูหรือหน้าต่าง เป็นด้น 111ย ๒00 www.kalyanamitra.org
กัณฟ้ที่ ๖ นสสัค^ยปาจิดสิย์ ฅ0 สิกขาบท นสสัคคิยะ นปฟึวํๆ ทำ ให้สละสังของ คือต้องอาบัดิ เพราะร่งชองใดให้สละสังชองนั้น จึงจะพ้นอาบัดไต้ ปาจึดคืย์ แปลว่า การละเมดอนยังกศฺลให้ดกไป รวมกน สองสัพท์แปลว่า ปาจึดคืยัยันทำให้สละสังของ นิสสัคคิยปาจิดดียั มี ตอ สิกขาบทแปงเป็น ๓ วรรค ๆ ละ 00 สิกขาบท 0. จีวรวรรค มี 00 สิกขาบท ๒.โกสิยวรรค มี 00 สิกขาบท ต. ป้ตตวรรค มี 00 สิกขาบท ๒๑๒ วิฟ้ย www.kalyanamitra.org
จีวรวร่รคที่ 0 มี 00 สิก่ข่าบท สิกขาบทที่ 0 ภิกษุทรงอติเรกจีวรได้เพียง 00 วนเป็นอย่างยิ่ง ถ้าล่วง 00 วันฺไป ด้องนิสสัคติยปาจีฅติย์ อติเรกจีวรหมายถึง ผ้านอกํจากไตรจีวรได้แก่จีวรอันไม่ใช่ ของอธิษฐานและไมใช่ของวิกัป เป็นธํรรมเนียมของพระภิกษุเมื่อ อยู่จำพรรษาแล้วถึงฤดูกาลที่เปส์ยนจีวร เรียกว่า จีวรกาล ภิกษุ ที่ไม่ได้รับประโยชน์จากกาลนี้ พึงเก็บอติเรกจีวรได้1ม่เกิน 00 วัน ผาใซ้ทำจีวร ๖ ประเภท . ๐.โขมัง ผ้าทาด้วยเปลือกไม้ เช่นผ้าลินิน ๒. กัปปาสิกัง ผ้าทำด้วยผ้าย ๓.โกเสฺยยง ผ้าทำด้วยไหม คือผ้าแพร ๔. กัมพะลัง ผ้าทำด้วยขนลัตว์(ยกเว้นผมและขนมนุษย์) เช่น ผ้าลักหลาด ว๊งโย ๒๐๓ www.kalyanamitra.org
๕. สาณง ผาทำด้วยเปลือกไม้ป่าน ๖. ภงคัง ผ้าทำด้วยส์มภาระเจือกัน เซ่นผ้าด้ายแกมไหม ผ้า ๖ ชนิดนี้ มีประมาณยาว ๘ นี้ว กว้าง ๔ นี้วขึ้นไป ด้องวิกัป คือทำให้เป็นสองเจ้าของ การเสียสละ อาบัตินี้เมื่อภิกษุด้องเข้าแล้ว ต่อมีอสละสิงของ จืง แสดงอาบัติได้ การสละแก่ผ้สมควรมี ฅ คือ 0. แก่สงฆ' ๒. แก่คณะ ฅ. แก่บุคคล สิกขาบทที่ ใท ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คื!ทผี่งต้องนสสัดติยปาจืดดีย์ เว้นไว้แด่ไต้สมมติ ไตรจีวร ผ้านุ่งคือสงบ 0. อันตรวาสก ผ้าห่มคือจืวร ๒. อุดตราสงค์ คือผ้าคลุม 9 ฅI.. สังฆาภฏิ กาลที่อยู่ปราศจากไตรจีวรได 0. จำ พรรษาครบแล้ว อยู่ปราศจากจืวรได้ 0 เดือน ๒๐๔ วํฟัย www.kalyanamitra.org
๒.ได้กรานกฐินแล้ว อยู่ปราศจากจีวรต่ออีก ๔ เดือน ต. อาพาธหนักได้รับสมมติคือการตกลงของสงฆ์ให้อยู่ ปราศจากไตรจีวรได้ จนกว่าจะหาย กำ หนดเขตอยู่ปราศจากไตรจืวร 0. สิงปลูกสร้าง ได้แก่ กุฏิ วิหาร ศาลา เรือน เป็นด้น ล้าภิกษุอยู่รูปเดืยว กำ หนดกุฏินั้นทั้งหลังเป็นเขต ล้าอยู่หลายรูป แต่คนละห้อง ให้กำหนดเอาห้องของตัวเองเป็นเขต ล้าอยู่ในห้อง รวมกัน กำ หนดเอาหัตถมาส คือห่างจากตัวได้ประมาณ 0 ศอก ๒. โคนต้นไม้ กำ หนดเอาเครื่องล้อมเป็นเขต ล้าไม่มื เครื่องล้อม กำ หนดเอาเงาของด้นไม้ในเวลาตอนเที่ยงเป็นเขต ล้าอยู่หลายรูปกำหนดเอาหัตถมาส ฅ. ที่แจ้ง กำ หนดเอาหัตถมาส 1 พ รน้ย ๒๐๕ www.kalyanamitra.org
หลกเกณฑ์การปรบอาบัติ 0. หมดเขตอานิสงสิเกฐินแล้ว ต้องครองไตรจีวรให้ครบ ถ้าจะออกไปที่ไหนต้องกลับ่เข้ามาก่อนอรุณ่ขึ้น อรุณขึ้นแล้วกลับ มา ซื่อว่าอยู่ปราศจากไตรจีวรเกินหนึ๋งราตรี ต้องอาบัตินิสลัคคิย- ปาจิตตีย์ ๒.ผ้าไตรจีวรเนินนิสลัคคีย์ ยังไมสละนำมาใข้อีกต้องอาบัติ- ทุกกฏ สิกขาบทที่ ฅ ถ้าผ้าเกิดขึ้นแกภกษ ๆ ประสงดจะทาจีวร แด่ยังไม่พอ ถ้ามืที่หวงว่าจะใต้มาอีก พึงเกิบฺผ้านั้นไ^ต้เพียงเดือนหนึ๋งเนิน อย่างยิ่ง ถ้าเก็บไวให้เกินเดือนทนึ๋งไป แม้ถึงยังมีที่ห่วังวาจะไต้ อยู่ ต้องนสสัดดืยปาจีดืย์ คีาว่า อกาลจีวร หมายถึง จีวรที่เกิดขึ้นนอกกาลจีวร นอก เขตอานิสงลักฐิน อกาลจีวรก็คีออติเรกจีวรนั่นเอง มีผ้าไม่พอที่จะ เย็บเนินจีวรแต่มีหวังว่าจะไต้ผ้ามาเฟ้มเก็บไวั1ด1ม'เกิน 0 เดือน ถ้าทำจีวรไม่ทัน พึงอธิษฐานเนินบริขารอย่างอี๋น หริอวิกัป หริอ สล่ะให้แก่คนยิ่น ทสักเกณฑ์การปรบอาบัติ 0, เก็บผ้าล่วงเวลาไป 0 เดือน เนินนิสลัคคีย์ พึงสละ ๒. ถ้าไม่สละ เอามาให้สอยต้องอาบัติทุกกฎ ๒๐๖ ว๊นัย www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุใช้นางภิกษุณีที่!ฝใช่ญาดิ ใฬ้ช้กก็ดี ให้ย้อมก็ดี ให้ ทุบก็ดึ ช้งจีวรเก่า ดฺองนิสสัคคิยปๆจีดดีย้ คำ ว่า จีวรเก่า หมายถึง จีวรที่ใช้แล้ว นุ่งแล้ว ห่มแล้ว แม้ครั้งเดียวที่อํว่าเป็นจีวรเก่า คำ ว่า ญาติ หมายถึง คนที่นับเนื่องถึงกันทางมารดาหรือ บิดาตลอด ฅเ ชั่วคน คือ ช้างบน ๓ ช้างล่าง ฅ ตนเอง 0 รวม เป็น ๗ มี 0.บิทวด ๒.บิ ต. พ่อ ๔. ตัวเอง ๕. ลูก ๖.หลาน ๗. เหลน เขยและสะใภ!ฝนับว่าเป็นญาติ หลักเกณฑ์กาฬรบอาบัติ 0. ให้ซัก ให้ย้อม หรือให้ทุบ แต่ละอย่าง®[•ต้องอาบัตินิส ส์'คคิยปาจีตดีย์ ๒.ทำ ๒อย่าง่ฬร้อมกัน เซ่นให้ซักและย้อมหรือย้อมและทุบ ทำ อย่างแรกเสร็จ ต้องอาบัตินัสส์'คคิยปาจีตดีย้ ทำ อย่างหลงต้อฺง อาบัติทุกกฏ ต.ทำ ต อย่างพร็อมกัน ทำ อย่างแรกต้องอาบัตินัสส์คติย- ปาจีตดีย์ ทำ อย่างหลังแต่ละอย่างต้องอาบัติทุกกฎ ๔. ซักผ้าปูนง ผ้าปูนอน ต้องอาบัติทุกกฎ ลักษณะที่ไฝต้องอาบัติ วินัย ๒อ๗ 0. ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ๒.ไม่ไดใช้ให้ทำแต่เขาทำเอง www.kalyanamitra.org
ฅ. จีว่รเป็นของใหม่ ๔. ใฟ้ห้ซักบริขุารอี่นที่ไมฺใซ่จีวร สิกขาบทที่ ๕ ภกษุร้ฃจีวรแดมอนางภิกษุณีที่ไม่ใซัญๆด เว้นไว้แด่นลก เปลี่ยนกัน ต้องนสสัคคิยปาจีดดีย คำ ว่า ไฝใช่ญาต้ หมายถึง คนที่ไม่นับเนี่องถึงกันทาง มารดาหรือบิดา ๗ ชั่วคน ข้างบน ฅซัา■งล่าง ต่ ดนเอง 0 สิกขาบทนี้ทรงหามไม่ให้ภิกษุรับของภิกษุณฺผู้มีลาภน้อย ถึาจะรับต้องแลกเปลี่ยนโดยเป็นของมีราคาเท่ากัน สิกขาบทที่ ๖ ภิกษุขอจีวรด่อคฤหัสถ์^โช่ญาติไม่ใช่ปวารณา ไต้มา ต้องนัสสัคติยปาจีดติข์ เว้นไวแด่มีสมัยฺที่จะฃอจีวรไต้ ติอเวลา ภิกษุมีจีวฺรอนโจรลกไป หรือมีจีวฺรอนรบหายเสิย คำ ว่า ไม่ใช่ปวารณา หมายถึง คนไม่ไต้เป็นญาติและไม่ ไต้ส์งไว้ให้บอกให้ขอฺในคราวที่ต้องการฺ หลกเกณฑ์การปรบอาบติ 0. ทุกครั้งที่ขอ ต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ถาขอแล้วไต้ผ้ๆมา ต้องอาบัตินิลสิ'คคิยปาจิตตีย์ ๓. ถ้าไมใช่ญาติ รือยู่หรือว่าสงสิย ติดว่าเป็นญาติ ข่อ ในสมัยที่ไม่ควรขอ ต้องอาบัตินิสิสิคติยปาจิตตียที่งนี้น่ เรืยกว่า ๒0๘ ^งย www.kalyanamitra.org
ติทปาจิตตีย์ ๔. เขาเปีนญาติ คิดว่าไม่ใช่ญาติ หรือสงสัย ขอผาต้อง อาบัติทุกกเ} สิกขาบทที่ ๗ ในสมัยเช่นนั้น จะขอmใต้ณ็ฟ็ยงผ้าทุ่งผ้าห่มเท่านั้น ถ้า ขอให้เกินกว่านั้นใต้มา ต้องนสสัดคิยปาจิตตีย์ วิธีขอผ้า ผ้าหาย๓ผืน พึงขอไต้๒ผืน ผ้าหาย ๒ ผืน พึงขอ ไต้ผืนเตียว ล้าหายผืนเดียวห้ามขอ หลักเกณฑ์การปรบอาบต 0. ฒั้ใจจะขอผ้าให้เกินกว่าที่กำหนดขณะขอต้องอาบัติทุกกฎ ๒.ไต้ผ้ามา ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓. นำ ผ้าไปมากต้วยคิดว่ๅล้าเหลือจะนามาคืน แตฬาของ ถวาย ส่วนที่เหลือ ไม่ไต้ถวายเพราะเหตุจีวรถูกโจรขิงไปหรือหาย .รับมากกว่ากำหนดไม่เป็นอาบัติ สิกขฺาบทที่ ๔ ถ้าคฤห้สถ้ที่ใมใช่ญ่าตีใฝใช่ปวารณา เขาพูดว่า เขาจะ ถวายจิวรแกภกษุ่ซื่อนั้ กิกชุนั้นทราบค่วาม่แถ้ว เข้าใปพูดิให้เขา ถวายจิวรฺอ่ยางนนอฺย่างนั้ทฝ็ราคาแพงกว่าตีกว่าที่เขาfnหนดใวิ เตีมใต้มา ต้องนิสลัดดยปาจิตตีย์ วิปัย่ ๒๑๙ www.kalyanamitra.org
หลกเกณฑ์การปรบอาบต 0. ภิกษุพูดให้เขาจายทรัพย์ซื้อจีวรราคาแพงกว่า หรือดี กว่าที่เขาปวารณา ต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ไต้ผ้ามาต้องอาบัตินิสส์'คติยปาจิตดีย์ ผ้าที่ไต้มานั้น ต้องสละแก่ภิกษุหรือแก'สงฆ์ ต. ถ้าส์'งให้จีายทรัพย์นอยกว่าราคาที่เขาปวารณาไว้ ไต้ มาไฝต้องอาบัติ สิกขาบทที่ ๙ ถ้าคฤหัสถ์ผู้จะถวายจีวรแก่ภิกษุมึหลายคน แด่เขาไมใช่ ญาติไมโช่ปวารณา ภิกษุไปพูดโหัเขารวมทุนเข้าเป็นอ'นเดียวกัน ให้ซื้อจีวรที่แพงกว่าดีกวาที่เขากำหนดไว้เติมไต้มา ต้องนสสัค ติยปาจีตดีย์ เกณฑ์การปรับอาบัติเหมือนสิกขานที่ ๘ สิกขาบทที่ 00 ถ้าใครรนำ ทรืพย์มาเพอด่าจีวรแต้วถามภิกษุว่า ใครเป็น ไวยาว้จกรของเธอ ถ้าภิกษุต้องการจีว่ร ก็พึงแสดงคนวัดหรือ อุบาสกว่า ผู้นี้เป็นไวยาวัจกรของภิกษุทั้งหลาย ครั้นเขามอบ ถวายไวยาวัจกรนั้นแต้วสังภิกษุว่า ถ้าต้องการจีวรให้เข้าไปหา ไวยาวัจกร ภิกษุนั้นพึงเข้าไปหาเขาแต้วทวงวา เราต้องการจีวร ดงนั้ ไต้ ฅ ครั้ง ถ้าไม่ใต้จีวร ไปยืนแด่พอเขาเห็นไต้ ๖ ครั้ง ถ้าไม่ไต้ขืนไปทวงให้เกิน ฅ ครั้ง ยืนเภิน ๖ ครั้ง ไต้มาต้องนิส สัคติยปาจีดดีย์ ถ้าไปทวงและยืนครบกำหนดแต้วไมใต้จีวร จำ เป็น ต้องไปบอกเจ้าของเติมว่า ของนั้นไม่สัาเรืจประโยขน์แก่ดน ให้ ๒๒0 วปัย www.kalyanamitra.org
1ชา1รียกเอาของเขาดื!ณาเสัย คำ ว่า ไวยาวัจกร หมายถึง ผู้ที่คอยอุปัฏฐากดูแลช่วย เหสอกจฃองพระภิกษุ การทวง ๒ อย่าง 0. การพูดทวง ไม่ควรพูด่เป็นเช่งคำส์ง เช่นท่านจงให้ ^วรแก่อ่าตมาเป็นต้นให้พูดในเซิงหลกเลยง la. การรนทวง ให้ยืนนงๆ ให้เขาเห็น ห้ามนั่งบนอาสนะ ห้ามรับขอ่งถวายเป็นต้น เมื่อเขาถามถึงเหตุที่มว พึงบอกว่า \"ให้ ท่านคิดเอาเองเถิด หรือท่านรู้อยู่แล้ว\" ห้ามบอกตรง ๆ ว่ามาทวง ค่าจวร หลักเกณฑ์การปรับอาบต 0. ล้าทวงตามกำหนดแล้วไต้มาไม่ต้องอาบัติ ๒. ล้าทวงตามกำหนดแล้วฺไม่ไต้ทรัพย์มา ต้องแจ้งให้เจา ของทรัพย์ทราบ ล้าไม่แจ้งต้องทุกกฎ ฅ. ล้าทวงเกินกำหนดไต้มา ต้องอาบัตินิสส์'คติยปาจิตตีย์ และของนั้นต้องสละ ปีญหาและเฉลยจีวรวรรคที่ 0 ©. ถาม คำ ว่า นิสลัคติยปาจิตตีย์หมายความว่าอย่างไร ภิกษุ ต้องอาบัตินี้แล้ว ทำ อย่างไรจึงจะพ้น ? ตอบ คำ ว่า นิสส์'คติยปาจิตตีย์ หมายความว่า อาบัติปาจิตตีย์ วิไ!ย ๒๒0 www.kalyanamitra.org
ที่จำ ต้องสละสิงของ ภิกษต้องอาบตนี้แล้วต้องสละสิง ของอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นก่อนแล้วแสดงอาบ'ติจํง ฟันจากอาบัตินั้นไต้ ๒.ถาม อติเรกจีวรไต้แก่จีวรเซ่นไร ภิกษุเก็บไร!ต้กี่วันทรงห้าม ไมให้เก็บอติเรกจีวรต้วฺยมีพทธประสงค์อย่างไร ? ตอบ ไต้แก่จีวรอันไมใซ่ของอธิษฐาน และไมใซ่ของวิกัป ทรง อนุญาตให้เก็บไว!ต้ 00 วันเป็นอย่างยง ล้าเก็บไว้เกิน กำ หนดนั้นไป ต้องนิสส์'คติยปาจีตติย ตามสิกขาบทที่ ๑ ^ แห้งจีวรวรรค ต้องอธิษฐานเป็นจีวรชนิดใดชนิดหนึ๋ง หรือวิกัปภายใน GO วน ทรงห้ามไว้เพี๋อป้องกันความ สรุ่ยสร่ายและความมกมากของภิกษุ ๓. ถาม ปาจีตติยแปงเป็นนิสสิ'คติยปาจีตติยและสุทธิกปาจีตติย เพราะเหตุเร? ตอบ เพราะว่า นิสส์'คติยปาจิตติย์นั้น จำ ต้องเสิยสละวัตถุ อันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั้นเสิยก่อน จึงแส่ดงอาบัติได ส่วนฺสุทธิกปาจีตํติอ ภิกษุฟังแสดงอ่าบัติไต้เลย ไม่มี วัตถุใดๆ ที่จีาต้องสละ ๔. ถาม ไต่รจีวร คืออะไรบ้าง ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรนั้นต้อง อาบ้ติอะไร ในกาลเซ่นไรทรงอนุญาตให้ภิกษุอยู่ปราศจาก ไตรจีวรไต้? ตอ่บ คือ อันตรวาสก ผ้านุ่ง 0 อุตตราสงค์ ผ้าห่ม 0 สิ'งฆาฏิ ผ้าคลุม 0 ภิกษุอยู่ปร่าศจาก่ไตรจีวร ต้องนิสสิ'คติยปา- จิตติย์ตามสิกขาบทที่ ๒ แห้งจีวรวรรค ในกาลที่ทรง อนุญาตให้อยู่ปราศจากไตรจีวร คือ ภิกษุจำพรรษาครบ ไตรมาสแล้ว อยู่ปราศจากไตรจีวรไต้ 0 เดือน หรือไต้ ๒๒๒ วินัย www.kalyanamitra.org
กรานกฐินแล้วทรงอนุญาตต่อรก ๔ เดือน และเมื่อ อาพาธหนักใดรัฃสมมติ .(ตกลง) จากสงฆใหอยู่ปราศ จากไตรจีวรจนกว่าจะหาย ๕. ถาม ภิกษุได้จีวรใหม่ เธอต้องปฏิบติอย่างไรบ้างจึงจะชอบด้วย พระวินัย? ตอบ หากเธอต้องการจะอธิษฐานเป็นฺไตรจีวรฝ็นใดฝ็นทนงก็ ทำ ได้ แต่ล้าเธอมุไตรจีวรครบแล้วประสงคจะมื่ไวิโซ พึง ปฏิบัติดังนี้ 0. เมื่อจะใบ้สอยหรือนุ่งหมจีวรนั้น ต้องพินทุก่อนตามฺ สิกขาบทท ๘ แห่งสุราปานวรรค ๒. เก็บไวโต้00 วันเป็นอย่างยิ่ง ตามสิกขาบทที่ 0 แห่ง จีวรวรรค s ๓. ต่อจากนั้นต้องวิกัป ๖.ถ่าม จีวรของภิก่ษุในพระพุทธ่ศาสนามีกำเนิดมาจากวัตลุกี่ ชนิด อะไรบ้างฺ ? ตอบ จีวรกำเนิดมาจากวัตธุ่ ๖ ชนิดดือ 0.โขมัง ผ้าทำด้วยเปลือกไฟ้ ๒. กัปปาสิกัง ผ้าทำด้วยผ้าย ๓.โกเสยยัง ผ้าทำด้วยไหม ๕. กัมพะลง ผ้าทำด้วยขนสิ'ตวั ๕. สาถฬั ผ้าทำด้วยเปลือกไมัสาณะ (บ้าน) ๖.กัง่ดัง ผ้าทำด้วยสิมภาระเจีอิกัน เซ่น ผ้าด้ายแกมไหม ๗. ถาม คนเซ่นไรเรืยกว่าญาติ คนเซ่นไรเรียกว่าปวารณา ? ตอบ คนที่เป็นเชื้อสายสิบเนื่องถึงกันทางมารดาก็ดื ทางบิดา ก็ดื ตลอด ๗ ซวคน ดือนับชั้นตนเป็น 0 บ้างบน ๓ บ้าง วฺ14{1 ๒๒ต www.kalyanamitra.org
ล่าง ต.เรุ๊ยกว่าญาติ คนผู้อนุญาตให้ภิกษุมีความต้องการ ต้วยปัจจัยขอไต้ เรียกว่าคนผู้ปวารณา แสดงไว่ใน คัมภีร์วิภังค์ ๔ จำ พวก คือ ปวารณากำหนดปัจจัย 0 ปวารณากำหนดกาล 0 ปวารณากำหนดทั้ง ๒ อย่าง 0 ปวารณาไม่กำหนดทั้ง ๒ อย่าง ๑ ๘. ถาม ภิกษุขอจีวรจากคืษย์ของดน จะขดข้องทางพระวินัย หรือไม่? ตอบ ถ้าคืษย์ของดนเป็นญาติหรือปวารณาไว้ขอได!ม่ฃัดข้อง .หรือไม่ไต้เป็นญาติแล่ะไม่ไต้ปวารณา แต่ภิกษุมีจีวรฉิบ หายหรือโจรชิงเอาไปเสีย ก็ขอไต้ดามสมควร ๙. ถาม ภิกษุต้องการจีวร จะขอคฤหัสก!ต้หรือไม่ ? ตอบ ถ้าขอกะคฤหัสถ์ผู้เป็นญาติหรือปวารณาควร ถ้าเขาไม่ใช่ ญาติ ไม่ใช่ปวารณาไม่ควร ในคราวจีวรถูกลัก ถู่กชิง หรืออันดรธานไปต้วยลันดรายอย่างใดอย่างหนึ๋งุขอเขา ไต้ควร แต่ต้องรู้จักประมาณในการขอ .คือ จีวรหายไป ต ผืนขอไต้๒ ผืนหายไป๒ ผืน ขอไต้ 0 ผืน ถ้าหาย ไปผืนเดียวขอเขาไม่ไต้ 00.ถาม จีวรที่เป็นนิสลัคคืย์แล้ว่ ควรสละให้แกใคร ถ้าจีวรนั้น สูญหายพึงปฏิบัติเช่นไร ? ตอบ ควรสละให้แก่สงฆ์ก็ไต้ แก่คณะก็ไต้ แก่บุคคลก็ไต้ ถ้า จีวรนั้นสูญหายพึงแสดงอาบัติเท่านั้น po.ถาม ขอหราบนิสลัคคีย์โดยล่วงเวลาลัก ฅ อย่าง ? ตอบ นิสลัคคืย์โดยล่วงเวลา ๓ อย่าง * 0. อยู่ปราศจากไดรจีวรเกิน 0 ราดรื ๒. เก็บอติเรกจีวรเกิน 00 วัน ๒๒๔ วํนัย www.kalyanamitra.org
ฅ. เก็บอติเรกบาตรเกิน ๗ วัน ๔. อกาลจีวรที่ได้อนุญาตเกิน 0 เดือน ๕. อัจเจกจีวรล่วงกาล ๖. จีวรอยูปราศจากเกิน ๖ คืน ๗. อนุญาตพิเศษเภส์โซล่วง ๗ วัน •©๒.ถาม ติกปาจีตดืย์ ดืออะไร มีสิกขาบทไหนบ้าง เพราะเหตุไร จีงเรียกอยางนั้น ? . ตอบ ปาจีตดืย์ ฅ ตัว ในสิกขาบทเดืยวกัน มีในสิกขาบทที่ ๖ แห่งจีวรวรรค นิลสิ'คดืยกัณฑ์ ที่เรียกว่าอย่างนั้น เพราะเหตุว่า ภิกษุฃฺอจีวรต่อผู้มีใซญาติ นอกสมัย เขา มีใซ่ญาติ รู้อยู่ว่าไมใช่ ขอก็อาบัติ ลงสิ'ยว่าเขาเป็นญาติ ห่รีอไม่ ขอก็ด้องอาบัติ สำ คัญวาเขาเป็นญาติ ขอก็ด้อง อาบัติ เรียกสิน®เว่า ติกปาจีตดืย์หรีอติกนิลสิ'คดืยปาจีตติย ©๓.ถาม พระบัญญัติที่ให้ประโยชน์พิเศษแก'ภิกษุในจีวรลมัย (คราวถวายจีวร)มีอย่างไร ? ตอบ 0. อนุญาตให้ภกษุทรงอติเรกจีวรได้เกิน 00 วัน (จีวร วรรค สิกขาบทที่ o) ๒. อยู่ปราศจากไตรจีวร ได้ตลอดจีว่รกาล (จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๒) วินน ๒๒๕ www.kalyanamitra.org
โกสิยวรรคที๋ ๒ มี oa สิกขาบท รกขาบทที่ 0 ภิกชุทฟอสันกัดด้วยขฺน1%มเจือด้ายโหม ด้องนสสัดคย^ ปาจืตตีอ์ คำ ว่า สันกัด หมายถึง เป็นผ้าปูนงอย่างหนึ่งไฝได้ทอ ใช้ หล่อคือนาเอาขนเจียมวางลงแล้วเอๆนํ้าข้าวหฺรือยางเหนียวพรม ลงไ!!!ห้ขนเจียมจับกัน แล้วโรยขนเจียมทับ มีเครื่องรีดหรือทับ ทำ ให้เป็นแผ่นหนาบางตามด้องการ คำ ว่า ซนเจืยม หมายถึง ข้นสัตว์ประเภทกวฺาง เซ่น ขน แพะ และแกะ เป็นด้น หสักเกณฑ์การปรบอาบต 0. ภิกษุหล่อเอง หรือใช้ให้คนอี่นหล่อสันกัตเจีอด้วยไหม เรื่มทำด้องอาบัติทุกทฏ ๒. ทำ สำ เร็จ ด้องอาบัตินีสสัคคิยปาจิตตีย์ ๒๒๖ วินย www.kalyanamitra.org
ต. ภิกษุทำค้างไว้ ให้คนอื่นทำต่อจนเสร็จ หรอใซให้คน อื่นทำค้างไว้ ตัวเองทำต่อจนสำเร็จ .ค้องอาบัตินิสสํคคิยปาจิตตีย์ ๔. ทำ เองหร็อใฟ้ห้ผู้อื่นทำ เพอให้เป็นอย่างอื่นนอกจาก ผ้ารองนั่ง ค้องอาบัติทุกกฏ , ๕.ให้ของที่เขาทาไ^ดยปกติ ไม่ค้องอาบัติ รกขาบทที่ ๒ ภิกษุหสอติ^กดด้ายขํนฬียมฺดำล้าน ต้องนิสตัค สิกขาบทที่ ๓ ภิกษุจะหล่อสันสัตใหม่ ^งใช้ชนเจิยมดำ ๒ สํวน ชน เจึยมชาวล่วนหนึ๋ง ชนเจียมแดงล่านหนึ่ง ;ล้าใช้ชน]เจียมดำเกน ๒ ล่านชึ้นไป ต้องนสสัคด้ยปาจิตตีย์ สืกขานทุที่ เอ-ต ท่านประสงค้ใฟ้ชุ้ขนเจียมดำไม่เกิน ๒ ส่วนต่อ ๔ ส่วน ส่วนสิขาวและสืแดงไม่ไค้กำหนดไว้ว่าให้อื่สํวน เกณฑ์การปรับอาบัติเหมือนสิกขาบทที่ 0 สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุหล่อล้นสัตใหม่แล้ว พึงใช้!ห1ต้๖ ปี ล้ายังไม่ล้ง ๖ ปีหล่อฺใหม่ ต้องนสสัคตียปาจิตตีย์ เว้นไว้แด่ไต้สมมต หสักเกณฑ์การปรับอาบัติ o.ภิกษุที่!ดส่ม่ม่ติจากฬงฑ์ ค้อ ภิกษุอาพาธ สินถดถูกโจร รป้ย ^1.๒๗ www.kalyanamitra.org
ขโมย หรือไฟไหม้ เป็นต้น หล่อส์นถัตใหม่ไม่ต้องอาบัติ ๒. หล่อส์นถัตใหม่ ยังใฟ้,ม่ครบ ๖ ปี แม้ว่าจะสละให้ คนอื่นไปก็ตาม ขณะเริ่มหล่อต้องอาบัติทุ่กกฏ ต. หล่อเสร็จ ต้องอาบัตินิสลํโคติยปาจิตตีย์ สิกขาบที่ ๕ ภิกษุจะหล่อสันถัด พึงสัดเอาสันถัด๓าหนงคืบโดยรอบ มาปนลงโน^ถัดที่หล่อใหม่ เพื่อจะทำลายให้เสิยร ถ้าไม่ทำสังนี้ สัองนิลสัคคืยปๆจิดคืย์ หลกเกณฑ์การ่ปรบอาบัติ 0. ภิกษุห้ล่อสันถัตใหม่ไม่เอาสันถฺตเก่าผสมลงไป ขณะ หล่อต้องอาบัติทุกกฏ ๒. หล่อเสร็จแต้ว ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ต. หาสันถั่ตเก่าไต้น้อยหรือไม่ไต้เลย หล่อสันถัตใหม่ไม่ ต้องอาบัติ ๔.ไต้ของคนอื่นที่ทำเสร็จแต้วเอามาใซ!ม'ต้องอาบัติ สิกขาบทที่ ๖ เมื่อภิกษุเดินทางไกล ถ้ๆมีใครถวายขนเจียม สัองการก็ รืบได ถ้าไม่มีใค่รนๆมา นๆมาเองได้เพึยง ๓ โยชน ถ้าให้เภิน ฅโยขน!ปด้องนิลสัคดิยปาจีดดีย์ คำ ว่า โยชน์ เป็นมาตุราวัดระยะทางสมัยโบราณ 0 ๒๒๔ วินัย www.kalyanamitra.org
โยชน์เท่ากับ 0๖ กิโลเมตร ต โยชน์เท่ากับ ๔๘ กิโลเมตร หลักเกณฑ์การปรบอาบต 0. ภิกษุเดินทางนาขนเจียมไปเกิน ฅ โยชน์ ก้าวแรกต้อง อาบัติทุกกฎ ๒. เดินเกินไปก้าวที่ ๒ ต้องอาบัตินิสส์'คติยปาจิตตีย์ ลักขาบทที่๗ ฟิกษุ่ใช้นางภิกษุณีที่ไมโซ่ญาติ ใท้ขกก็ดี ใช้ย้อมก็ติ ใช้ สางก็ติ ขึ๋งชนเจียม ต้องนิสลัคติยปาจีดติย์ สิกขาบทที่ ๗ นี้ มีหลักเกณฑ์การปรับอาบัติ เหมีอน สิกขาบทที่ ๔ แห่งจีวรวรรค ลักขาบทที่ ๔ ภิกษุร้บเองก็ติ ใช้!ช้ผู้อึ๋น^ก็ติ ที่ง่ทองและเงิน หรือ ย้นติทองและเงินที่เขาเก็บไว้เพี่อตน ต้องนิสลัคติยปาจีดติย์ คำ ว่า ทอง หมายถึง ทองคำแท่งหรือทองรูปพร่รณี เซ่น สร้อยคอ แหวน และเครื่องประดบอ็่น่ ๆ คำ ว่า เงิน หมายถึง เงินที่เขาทำเป็นรูปพรรณ หรือเงิน ตราสกุลต่าง ๆ เซ่น เงินบาท เงินดอลล่าร์ เงินปอนด์ เป็นต้น เงินและทองตามพระวินัย เรืยกว่า รูปียะ จัดเป็นรัตกุอ่นา มาส ภิกษุไฝควรจับต้อง ถาจับต้อ่งเป็นอาบัติทุกกฎ จินย ๒๒๙ www.kalyanamitra.org
ทสักเกณฑ์การปรบอาบัติ 0.ภิทษุรับเอง หรือใฟ้ห้คนอี่นรับทองและเงิน ต้องอาบต นสสัคคิยปาจิตตีย์ - ๒. ภิกษยินดี หรือถือกรรมสิฑรเป็นเจ้าของทองและเงินที่ เขาเก็บไวให้ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ฅ. ภิกษุไฝยินดีทองและเงิน แต่ยินดีในสิงที่ใซ้ทองและ เงินแลกมฺา คือมีผู้นำทองและเงินมามอบไวที่ลูกสืษย์ และให้ลูก คืษย์แลกเป็นปัจจ้ยนำไปขี๋[อบาตรเป็นต้น อย่างนี้ไม'เป็นอาบัต้ ๔. ภิกษุเห็นทองและเงินตกอยูในวัด่ ไม่เก็บไวให้เจ้าของ ต้องทุกกฎ แต่ถ้าเก็บไวใฟ้เม่ต้องอาบัติ สิกขาบทํที่ ๙ ภิกษุทำการซื้อชายด้วยรูป็ยะ คือชองที่เขาใช้เป็นทอง และเงิน ด้องนิลสัคคืยปาจิดคืย์. คืาวา รูปียะ หมายถึง เงินทองหรือของอย่างอึ่น ใช้เป็น มาตรา สำ หรับแลกเปลี่ยน คำ ว่า ทำ การซื้อชาย หมายถึง เอารูปิยะไปซื้อจ่ายเป็นสิง ของต่างว เซ่น บาตร จีวร เป็นต้น หสัณก่ณฑ์การปรบอาบัติ 0.เอารูปิ^iไป่แลกซื้อหรือเปลี่ย่นเป็นํ^งิของิมาใซหรือมา& หรือเป็นค่าจ้าง ต้องอาบัตินิสสัคคืยปาจิตตีย์ ๒๓0 วฟัย www.kalyanamitra.org
๒. ของที่แลกเปลี่ยนมานั้ฬองสละแก่สงฆ์ หากเป็น ของใช้ต้องอาบัติทุกกฏ. ทุก ๆ ครั้งที่ใช้ ๓. ถ้าเป็นของฉัน ต้องอาบัติทุกกฎ ทุก ๆ คำ กลืน สิกขาบทฑึ่ 00 ภกษุแลกฟลี่ยนสิงขอ่งกบคฤหัสถ์ ต้องนิสสัคคยปาจิดดึย์ คำ ว่า แลกเปลี่ยนสิงของ หมายถึง การนำ'เอาลี่งของ อยางอนที่ไมใซเงินํและท่องไปแล.กเปลี่ยนกับของซาวป้าน เซ่น เอฺา จีวร แลกกับมีดโกน เป็นต้น หลกเกณฑ์การปรบอาบัติ ขณะพูดตกลงกันเพี่อแลกเปลี่ยน. ต้องอาบัติทุกกฎ ๒.แลกเปลี่ยนกันสำเร็จ ต้องอฺาบัตินํสฺสํ'คคิยปาจีตตีย์ ต..หามแลกเปลี่ยนกับซาวป้านและนักบวซนอกศาสนา แด ถ้าแลกเปลี่ยนกับเพี่อนสหธรรมิกต้วยกันไฝผิด ปืญหาและเฉลยโกสิยวรรคที่ 1ร1 0. ถาม ถึก่ษซื้อจีวรใช้เองต้องอาบัติอะไร ? ตอบ ต้องนัสสํ'คติย่ปาจีตตีย์ เพราะซื้อต้วยรูปียะ ๒.ถาม สํ'นกัดไต้แก่อะไร อย่างไหนทรงหาม อย่างไหนทรง อนุญาต ? วินํโย ๒๓0 www.kalyanamitra.org
ตอบ ได้แก่ เดรองลาดอย่างหนึ๋ง ที่เขาเอาขนเจียมหรือเด้น .ไหมมาวางซ้อนก่นขึ้นบนพื้นที่เสมอกัน แล้วเอานํ้าข้าว เป็นด้น เทลง กระทาที่เรืยกว่าหล่อ ไมใช่ทอ ส์นกัต ที่หล่อด้วยขนเจียมเจีอด้วยไหม หล่อด้วยขนเจียมดำล้วน หล่อด้วยขนเจียมดำเกินสองส่วนเจีอกับขนเจียมขาว ขนเจียมแดงอย่างละหนึ๋ง่ส่วน หล่อขึ้นโหมโดยไม่ตัด ล้นกัดเก่าคีบหนึ่งโดยรอบ(คีบสุคต) มาปนลง เหล่านี้ ทรงห้ามล้นกัตที่หล่อด้วยขนเจียมดำ ๒ ส่วน ขนเจียม . ขาว 0 ส่วน ขนเจียมแดง ๑ ส่วน และเมื่อหล่อตัดเอา ล้นถดเก่าคีบ่หนึ่ง (คีอสุคด) มาปนลงนี้ทรงอนุญาด ๓..ถาม จตุกกนิสล้คคียปาจีดคีย์หมายถึงสิกขาบทที่เท่าไรวรรค ไหน ความว่าอย่างไร ? ตอบ หมายถึง สิกขาบทที่ 0 แห่งโกสิยวรรค ทำ เองกิดี ใซ้ โห้ผู้อื่นทำ ตั้งแต่ด้นจนส่าเรืจหรือ่ทำด้างไวแล้วไซ้!ห้ผู อื่นทำจนส่าเร็จ หรือใซ้ให้^อื่นทำคางไว้ และดนทำจน ส่าเรืจ (ดิก แปลว่า ต จตุกกแปลว่า ๔ ในที่นี้หมายถึง การกระทำ ๔ อย่างที่สามารถเป็นนิสล้คคียปาจีดคีย์) ๔. ถาม โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๔ และ ๖ ว่าอย่างไร ? ตอบ■ สิกขาบทที่ ๔ กล่าวว่า ภิกษุหล่อล้นกัดใหม่แล้ว พึงใซ้1ด้ ๖ปีถ้ายังไม่ถึง๖ปีหล่อใหม่ ด้องนิสส่คคียปาจีดคีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ คีอสงฆ์ตกลงกันให้ใซ้ตํ่ากว่า ๖ ปีได้ สิกขาบทที่ ๖ กล่าวว่า เมื่อภิกษุเดินทางไกล ถ้ามีใคร ถวายขนเจียม ด้องการกิรับได้ ถ้าไม่มีใครนำมาให้นำมา 1ร]๓1ปี ■^ใ1ย www.kalyanamitra.org
เองได้เพียง ต โยชน์ ถ้าน์ามาให้เกิน ฅ โยชน์ ไป ด้องนิสสํโคคิยปาจิตตีย์ ๕. ถาม แก้วแหวน เงินทองของที่เป็นวัตถุอนามาส ทรงอนุญาต ให้จับด้องได้ในโอกาสเซ่นไรบ้างหรือไม่ หรือห้ามเด็ดขาด. ทีเตียว จงตอบมาให้มีหลัก ? ตอบ่ กฎทุกอย์างย่อมมีซ่อยกเว้นหาได้ห้ามเด็ดขาดทีเตียวไม่ คือของเซ่นนนตกอยูในวัดหรือในที่พักของภิกษุ ถ้าไม่ เก็บไว้และหายไป ไม่เป็นสิงตีงามแก่เจ้าถิ่น อาจถูก. สงลัยว่าเอาเสิยก็โด้ จิงทรงอนุญาตให้เก็บไว้ให้เจ้าของ ถึงจะจับด้องก็ที่อว่าได้รับอนุญาตพิเศษตามสิกขาบทที่๒ แห่งรตนวรรค และภิก่ษุ|1ด้รับสมมติ เป็นผู้ที้งของ เซ่นนั้น เป็นน์สลัคคีย์ จบด้องได้ ๖. ถาม ภิกษุแลกของกบสามเณร ของที่ได้ม่าเป็นนิสลัค่คีย์ , หรือไม่ แล่ะอาสัยอะไรเป็นหลักฺจึงตอบอย่างนั้น ? ตอบ ไม่เป็น อาคือ!ข้อ Op แห่งโกสิยวรรค ที่งทรงห้ามไม่ให้ แลกเปลี่ยนสิงของกับคฤหัสถ์เป็นหลัก วินย ๒ฅ๓ www.kalyanamitra.org
ป็ดดวรรค^ ท มี eo มีกซๆบท สกขๆบทที่ e บาตรนอกจากบาตรอรษฐาน เรียกว่าอติเรกบาตร อติเรก บาตรนั้น ภกษุเก็บโ^ดเพียง 00 วนเป็นอย่างยิ่งถ้าไหุ้ล่วง 00 วันไป ต้องนิสสัคติยปาจิตติย์ บาตรเป็นบริขารสำคัญขอ่งพระภิกษุ สำ หรับใช้บิณฑบาต เลี้ยงชีวิต ทรงอนุญาตให้พระภิกษุเก็บไวั!ดํ่องค์ล่ะ 0ใบ หฺลโกเกณฑ์การปรับอาบัติ 0. เก็บอติเรกบาตรไวิเกิน 00 วัน หรือเกิน 00 วันแต่เช้า ใจว่ายังไม่เกิน ๐0 วัน ต้องอาบัตินิสส์คติยปาจิตตีย์ ๒. บาตรยังไม่เกิน 00 วัน แต่เช้าใจว่าเกิน หรือสงสัยว่า เกิน 00 วัน เอามาใช้สอยต้องอาบัติทุกกฏ ต. บาตรขาดจากการครอบครองก่อน 00 วัน เซ่น บาตร หาย หรือแตก เป็นต้น ไม่ต้องอาบัติ ๔. อธิษฐานหรือวิกัปก่อน 00 วัน ไม่ต้องอาบัติ ๒๓๔ วินัย www.kalyanamitra.org
สิกขไบทที่ ๒ ภิกษุมีบาตรร้าวยังไฝถึง 00 นิ้ว ขอบาตรใหม่ต่อ คฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติไฝใช่ปวารณาได้มา ด้องนิสยัค์ติยปาจตติถ์ บาตรร้าว 0 แห่ง เกิน 0๐ นิ้ว หรือว่าบาตรร้าวหลายแห่ง ร้วมกินแล้ว่เกิน 00 นิ้ว ขอบาตรใหม่ไตIม่ด้องอาบัติ หลกเกณฺฑการปร้ฃอาบต 0. บาตรร้าวยังไม่เกิน 0๐ นิ้ว .ขอบาตรใหม่ต้องอาบัติทุก กฎขณะที่ขอ ๒. ถ้าขอไต้มา ต้องอาบัตินิสส์คคิยปาจิตตีย์ สิกขาบทที่ฅ ภิกษุรบประเคนเภสัชทั้ง๕คอ เนยใสเนยซ้นนำ ยัน นำ ผึ้ง นิ้าอ้อย แอ้วเก็บไร้ฉนได้เพียง ๗ ร้นเป็นอ่ย่างยิ่ง อ้าใหัลวง ๗ ร้นไปด้องนิสัสัคติยปาจิตตีย์ เหตุที่ทรงห้ามเก็บเภสัชทั้ง ๕ เกิน ๗ ร้น เพราะบาง .อย่างอาจจะเป็นของเน่าเสืย เมื่อฉันเข้าไปแอ้วทาให้เสิยสุขภาพ หสักเกณฑการปร้บอาบัติ 0. เก็บไร้เกิน ๗ ร้น ต้องอาบัตินิสสัคติยปาจิตตีย์ ห้ามนำ มาฉัน เอาไปทำอย่างอื่นไต้ ^า1ย ๒๓๕ www.kalyanamitra.org
}ร1. ภิกษตั้งใจไว้วาจะไม่บริโภค เก็บไว้เกิน ๗ วน ไม่ต้อง อาบัติ สิกขาบทที๋ ๔ เมื่อฤดูร้อนยงเทสิออย่อืก 0 เดือน ดือดั้งแด่แรม 0 คา เดือน ๗ จึงแสวงหาผ้าอาบนำฝ'เ^ค้ เมื่อฤดูร้อนยังเทดืออยู่อีก กึ๋งเดือน ดือดืงแด่ชึน 0 คา เดือน ๘ จึงทำนุ่งไต้ ถาแสวงทา ทรือทำนุ่งให้ลํ้ากว่ากำทนด'นั้นเขามา ต้องนิสสคคยม่าจึตดืย์ ผ้าอาบนั้าฝนเป็นบริขาร'พิเศษ'คี่ทรงอนุ่ญาต่ให้พระภิกษุใช้ ไต้ตลอดฤดูฝน ๔ เดือน เมื่อหมดฤดูฝนต้องริกัปดือทำให้เป็นสอง .^ เจาของ เวสาเกี่ยวกับผ้าอาบนํ้าฝน . 0.'ช่วงเวลาให้แสวงหาผ้าอาบนํ้าฝน ดือ ตั้งแต่แรม 0 คา เดือน ๗ถึง๑๕คาเดือน ๘(ฅอวันฺ) ๒, ช่วงเวลาให้ทำผ้าอาบนํ้าฝน ดือ ตั้งฺแต่ขึ้น 0 คา ถึง ขึ้น ๑๕ คา เดือน ๘ ต้ด เย็บ ย้อม พิน'ทุ และอธิษฐานเป็น ผ้าอาบนํ้าฝน(๑๕ วัน) ๓.ช่วงใช้ผ้าอาบนั้าฝน คอ แรม ๑ คา เดือน ๘ ถึง ขึ้น &๕ คาเดือน ๑๒ (๔ เดือน) หลกเกณฑ์การปรบอาบัติ ภิกษุแสวงหาหรือทำนุ่ง กํอน่หรือหลังเขตกำ'ทุนด ต้อง อาบัติ'นสลัคคิยปาจิตดืย์ ๒๓๖ lijfo www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ๕ ภิกษให้จีวรแก่ภิกฺษอึ่น่ แล้วโกรธชิงเอาคืนมาเอง่ก็สี ใช้ ให้ผู้อื่นชิงเอามาก็คื ต้องนิสสัคคืยบาจีดคืย์ ทสิกเกณฑ์การปรบอาบั๋สิ 0. แยงชิงเอามาด้วยคิดว่าเป็นของตน ไมใช่การขโมย ด้อง อาบัตินิศส์คคิยปาจิตตีย์ ๒. แย่งชิงบริขารอย่างอี่น ด้องอาบัติทุกกฏ ฅ.แย่งชิงฺของอนุปส์มบันทุกอย่าง ต้องอาบัติทุกกฏ . สิกขาบททฺ๖ ภิกยฃอต้ายด่อคฤห้ฟิถ์ที่ใมโซ่ญาติโมใช่ปวารณาเอามาให้ ช่างหูกทอเป็นจีวร ต้องนิสสัศติยปาจิตตีย์ หลกเกณฑ์การปริบอาบต 0.ภกษุ่ขอด้ายได้มาแล้ว่ ขณะให้ช่างหูกทาเป็นจีวร ต้อง อาบัติทุกกฎ . ๒.ช่างหูกทอจีวรเสร็จได้มา ตองอาบัตินสส์'คคิยปาจิตตีย์ ฅ.ขอมาห้าอย่างอืนนอกจาก่ทอเป็นจีวร ไม่ด้องอาบัติ สิกขาบทที่ ๗ ถ้าคฤห้ลถ์ที่ไม่ใช่ญาติไม่ใช่ปวารณา สั่งให้ช่างหูกทฺอ จีวรเพื่อจะถวายแก่ภิกษ ถ้าภกษุไปกำหนดให้เขาทำให้คืขึ้น ต้วยจะให้รางวัลแก่เขา ต้องนสฺสัคคืยปาจิตตีย์ ^นัย ๒๓๗ www.kalyanamitra.org
หลกเกณฑการปรบอาบัติ 0. ภิกษุใหุ้ของกำนัลเล็ก ๆ น้อย 1 หรือโดยที่สุดอาหาร บิณฑบาต ต้องอาบัตินิสส์คคิปา?ตตีย์ ๒.ช่างหูกทอจีวรตามที่ภิกษุบอก ต้องอาบัติทุกกฏ ฅ.ไต้จีวรนั้นมาต้องอาบัตินิสส์คติยปาจีตติย สิกขาบทที่ ๔ ถ้าอีก 00 วัน จะถ้งวันปวารณา คือตงแต่ขึ้น ๖ คา เดือน 00 ถ้าทายกรีบจะถวายผ้าจำนำพรรษา ก็รีฃเก็บใวั1ต้ แต่ ถ้าเก็บไวัเกนกาลจีวรไป ต้องนสสิดคืยปาจีตคืย์ กาลจีวรนันต้งนี้ ถ้าจำพรรษาแล้วไฝใต้กรานกเน นับแต่วันปวารณาไปเคืคษหที่ คือตั้งแต่แรมคาหนึ๋ง เดือน 00 ถึง กลางเดือน 0๒ ถ้าไต้กราน กฐนนับแต่วันปวารณาไป ๕ เดือน คือต้งแต่แรมคาทนึ๋งเดือน OQ ถึงกลางเดือน ๔ คำ ว่า ผ้าจำนำพรรษา หมายถึง ผ้าที่เจ้าภาพนำมาถวาย พระภิกษุ อยู่พรรษาครบ ฅ เดือนในวันออกพรรษา คำ ว่า ผ้าอัจเจกจีวร หมายถึง จีวรเร่งด่วนที่เจ้าภาพขอ ถวายพระภิกษุก่อนออกพรรษา 00 วัน . คำ ว่า จีวรกาล หมายถึง เวลาที่กำหนดให้พระภิกษุหา ผ้ามาตัดเย็บจีวร และเก็บไวัโดยไม่ต้องอาบัติ ตั้งแต่ออกพรุรษา ไป 0 เดือน คือตั้งแต่แรม 0 คา เดือน 00 ถึง ขึ้น ๑๕ คาเดือน ©๒ ถ้าไต้กรานก่เนแล้วยืดออกไปอีก ๔ เดือน ถึง ๑๕ คา เดือน ๔ ๒๓๘ วิฟ้'ย www.kalyanamitra.org
หลักเกณฑ์การปร้บอาบัติ ส้ๅเฒ็อจเจกจีวรไว้เกินช่วงจีวรกาล ต้องอาบตินิสส์คคิยปาจิตตีย์ สิกขาบทที่ ๙ ภกษุจีาพรรษาในเสนาสนะฟ้าซึ๋งเป็นที่เปลี่ยว ออก พรรษาแล้ว อยากจะเกึบไตรจีวรผืนไดผนหนึ๋งใว้ในบ้าน เมื่อสิ เหตก็เก็บไวIล้เฟ้ยง ๖ คืนเป็นอยๅงยิ๋ง ล้าเก็บไว้เกิน ๖ คืนไป ดองนิสสัดคืยปาจีดคืย์ เว้นไว้แด่สมมติ คำ ว่า เสนาสนะฟ้า หมายถึง เสนาสนะที่อยู่ห่างจาก หมู่บ้าน ประมาณ 0 กิโลเมตร และเป็นอันตรายต่อการถูกปล้น หลักเกณฑ์การปรบอาบัติ เป็นกรณีพิเศษสำหรับภิกษุที่อ่ยู่ในเสนาสนะบ้าอยู่ปราศจาก ไตรจีวรไต้เพียง ๖ คืน ล้าอยู่ปราศจากเกิน ๖ คืน ต้อ่งอาบัตินิส- ท/_ A สํคคืยปาจิตติย์ สิกขาบท3ททีท่ 00 กิกษฺรู้อยู่ น้อมลาภที่เซาจะถวายสงข์มาเพื่อตน ต้องนิส- lu น สัคคืยปาIจีAดคื«ย1์^ คำ ว่า ลาภ หมายถึง ปัจจัย ๔ มีจีวร บิณฑบาต เสนา สะ เภสัช และสิงของอื่น ร วิฟ้ย ๒๓๙ www.kalyanamitra.org
คำ ว่า น้อม หมายสิง การดขอตรง ๆ หรอ'ดูดโน้มน้าว ใ'ห้เขากวาย หลักเกณฑ์การปรบอาบต 0. ภิกษุดูดน้อมลาภมาเ'พื่อฺตน คือขอตรง ๆ หรือดูด เลียบเคืยงเพี่อจะใ'rIด้มา ขณะดูด ต้องอาบัติ'ทุกกฏ ๒. ดูดไต้มา ต้องอาบัตินิสส์โคคิยปาจิตตีย ฅ. ดูดน้อมมาเพี่อสงฆ์หยู่อี่น เพี่อเจดีย์ ต้องอาบัติทุกกฎ. ๔. น้อมลาภที่เขาจะถวายเจดีย์ หรือจะถวายบุคคลใ'ห้ส์บ กันต้องอาบัติทุกกฎ สรุปอาบัติน้สลัดดิยปาจิตตีย์ นิสลํโคคิยปาจิตตีย์ ตอ สิกขาบทนั้น แบ่งตามสิงของที่ 'ทำใหต้องอาบัติไต้ ฅ หมวด คือ หมวด 0 เป็นนิสส์'คคิยปาจิตตีย์โดยวัตธุ หมวด ๒ เป็นนิสลํโคคิยปาจิตตีย์โดยอาการของภิกษุ หมวด ต เป็นนิสส์โคคิยปาจิตตีย์โดยล่วงเวลา เป็น'นสลัฅตีย์โดยวดถุ 0. จับทองและเงิน ๒. แลกเปลี่ยนซื้อขายต้วยรูปิยะ ลํโนถัตที่หล่อเจือด้วยไหม ๔. ส์โนกัตที่หล่อด้วยขนเจียมคำสิวน ๕.. ส์โนถัตที่หล่อใ'รขนเจียมคำเกินส่ว'นุ ๒๔๐ วนัย www.kalyanamitra.org
เป็นนสสัคศีย์โดยอๆการชองภิกษุ แบ่งเป็น ฅ คอ โคยกิรยาที๋ได้รบร่งของมา 0. รบจีวรจากมือของภิกษุณีมิใซ่ญาติ มืใซบ่วารณา ๒. ขอจีวรต่อคฤหัสถ์'อี่ไม่ใซํญ่าติ มืใซ่บ่วารณา ฅ. จีวรอี่ขอเกินกำหนด ๔. จีวรอี่ส์งให้ทำดีขึ้นกว่ากำหนดไว้ ๕. ทวงจีวรเกินกำหนด ๖.แลกเบ่ลี่ยน่ของกับคฤหัสถ์ ๗. ขอบาตรโนกาล'อี่ไม่ควร ๘.โกรธแล้ว'รงจีวรดีนมา ๙. ขอด้ายมาทอจีวร 00. ส์งให้ซางดูกทอจีวรดีกว่าอี่เจ้าของกำหนด 00. น้อมลาภของสงฆ์มาเ•พี่อฺตน โดยกิรยาที่กระทำ 0.ใช้นางภิกษุณฺเห้'ซัก ให้ย้อม ให้'ทุบจีวร ๒. หล่อส์'นถตใหม่เมื่อใช้ยังไม่ถึง ๖ ปี ฅ. หล่อส์โนถัดใหม่ไมใช้ส์'นถัดเก่าผสม โดยกิริยาที่โห้ลากำหนด 0. ถึอขนเจียมเดีนไบ่เกิน ต โยชน์ ๒. ย้าอาบ'นาฝนอี่ลํ้ากำหนด เป็นนิสสัดคีย์โดยล่วงเวลา วิปัย ๒๔0 0. อยู่ป่ราศจากไตรจีวรเกิน 0 คืน ๒. เก็บอติเรกจีวรเกิน 00 ว้น www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 498
Pages: