Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักธรรมตรี

Description: นักธรรมตรี

Search

Read the Text Version

ที่ส์งสมไว้ดีแลว จะใ^ทาอะไรกได้ตามความปรารถนาโดยไม่ เดือดร้อนใดๆ ไท. สุ่ขเกดจากการจ่ายทร้ฟยบร้โภค หมายถึง จะใช้ จ่ายทรัพย์ทาอะไรกตาม ย์อมทำได้งายไม่ต้องเดือิดร้อนตนเอง ฅ. สุขเกดจากความไม่ต้อง!.ป็'นหนี้ ซม่ายถึง ไม่ต้องกู้ หนี้ยืมสินใคร เพราะเรามีทรัพย์เป็นของตนเองอยู่แรฺว ย์อมเกิด ความสุขใจว่า เราไม่มีหนี้สิน ๔.สุขเกดจากการประกอบกฺารงานที่ปราศจากโทษ หมาย ถึง การประกอบอาซีพที่สุจริต ไม่ผิดดืลผิดธรรม ไม่ผิดกฎหมาย เป็นส์มมาอาชีวะ ความปรารถนาที่สมหมายไดโดยยาก มี ๔ อย่าง 0. ขอฟิม่บดจงเกิดมีเฟเราโดยทาง่ที่ขแบ ๒.ขอยศจงเกิดมีแกิเรากิบญาติพากพอง ๓. ขอเราจงรักษาอายูใหยืนนาน ^ เมึอ|เ«ชีพเ||^ ขอิเราจ^บงเกิด่โน๙วรรค ธรรมเป็นเทดุให้สมหมาย มี ๔ อย่าง 0. รทธาสัมปทา ถึงพร้อมต้าย่ศรัทธา ๒. สิลสํ^ปทา ถึงพร้อิมดวยติฟิ ๓. จาดสัมปทา ถึงพร้อมต้วยการบรัจาคทาน ๔. ปีญญาลํ^ปทา ถึงพร้อมฺด้วยปีญญา ธรรม ๔ อย่างนี้ พงทราบคำอรบายเหมือนโนสัมปรา- ยกิดลปรร่โยฬ ๔๔๒ ธรรมวภาด www.kalyanamitra.org

ด่ระกูสอนมํ่งดํ่งจะ^อยู่นานไม่ได้เพราะเหตุ ๔ประการ 0.ไฝแสวงหาพส่ดุที่หาย ๒.ไม่บูรณะพัสดุที่คราคร่า ๓.ไม่รูจกประมาณใน่สารบ^คสมบัต ๔. ดั้งสตรีหรือฆรษทด้สให้เป็นเฟเรือนพอเรือน 1 0.ไม่แสวงหาพัสดุที่หาย หมายถึง เครื่องอุปโภคบริโภค ต่าง.า เมื่อสูญหๅยไปแล้ว^ฝพยายามค้นหา สุดห้ายก็ขี๋[อมาใหม่ สมบัติก็ค่อยา หมดไป ๒.ไม่บูรณฺะพัสดุที่ครื่าคร่า หมาย่ถึง่ไฝรู้จักดูแลรักษาไมรู้ จักซ่อมแซมส์งต่างา ที่ผุพง ปล่อยให้เสิยหายไปโดยเปล่าประโยชน์ ๓.ไม่รู้จักประมาณในการบรีโภคสมบัติ หมายถึง อยาก จะขี๋[ออะไร ก็เอโดยไม่คำนึงถึงว่า อะไรควรซอุ อะไรไฝควรขี๋[อ ที่ง เป็นการให้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย ๔.ดั้รสดรืหรือบุรุษทุด้ลให้เป็นเฟเรือนพ่อเรือน หมายถึง ดั้งคนทุสืลมาเป็นหัวหน้าครอบครัวแน่นอนว่าย่อมดั้งอยู่ไม่ไดนาน ฆราวาสธรรม คือ หสักธรรมของผู้ครองเรือน ๘ประการ 0.สัฬะสัตย์ซอต่อกัน คือ เป็นผู้รักษฺาสัจ่จะความจริงเสมอ มีความซื่อตรงจริงุใจ่ต่อกัน • ๒. ทมะ รู้จักข่มจิตขอฺง่ตน คือ รู้จักควบคุมตัวเอง ไม่ให้ เกิด่โทสะ เป็นการแกฝนข่มใจ ไม่ปล่อยใจไปตามกิเลส ๓.ชันติ คือ ความอดทนอดกลั้น หนักเอาเบาเไม่เกียจคร้าน ในการทำงาน ทนต่อุกิเลสที่มายั่วเย้า ธรรมรภาค ๔๔๓ www.kalyanamitra.org

๔. จาคะ สละให้ปี!ฟงชองของดนนกํดนที่ควรให้ปีน ดือ มีนํ้าใจ เอื้อเฟ้อเพี่อแผ่ โอบรอมอารีต่อผู้อี่น ป็ญหานสะเฉลยคิทิปฏิฟ้ด*^มวด ๔ ๐. ถาม กรรมกิเลส ดืออะไร มีอะไรบ้าง ? ตอบ กรรมกิเลส ดือ กรรมเครื่องเศร้าหมอง มี ๔ ดือ 0. ปาณาติบาต ทำรวิตลํโตว์ให้ตกล่วง ๒.อทินนาทาน กิอเอาสิงของที่เจ้าของเขาไม่ไดืให้ด้วย อาการแห่งขโมย ฅ. กาเมสุ มีจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม ๔. มุสาวาท พูดเท็จ .' ๒.ถาม กรรมตรงข้ามกับกรรมกิเลสมีอะไรบ้าง ? ตอบ กรรมอันตรงกันข้ามกับกรรมกิเลสดือ . 0. เมตตา กรุณา ๒. ทาน หรีอ สิ'มมาอารวะ ฅ. กามสิ'งวร สำ รวมในกาม s ๔. สํจจวาจา พูดคำจริง ๓.ถาม เหตุให้เกิดประโยซนในป้จจุบันเรียกว่าอะไร มีกี่อย่าง- อะไรบ้าง ? ตอบ เหตุให้เกิดประโยชน์ในปัจจุบัน เรียกว่า ทิฎฐ&มมีกัดถะ มี ๔ อย่าง ดือ 0. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ๒ อารักขสัมปทา ถึง่พร้อมด้วยการรักษา s ฅ. กัล่ยาณมีตดตา ความมีเพี่อนเป็นคนดื ๔๔๔ ธรรมว๊ภาค www.kalyanamitra.org

๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควร ๔. สาม เมื่อปฏิบติตามเหตุนั้นแล้วจะได้รับผลอะไร ? ตอบ . เมื่อปฏิบัติตามจะได้รับผล คือ มีทรัพย์ มียศ ไมตรี เป็นด้น ในปัจจุบัน ๕. สาม ส์มปรายิกัตถประโยชน์หมายความว่าอย่างไร มีกี่อย่าง อะไรบ้าง ? ตอบ ส์มปรา0กัตถประโยชน์ คือ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ ในภพชาติเบื้องหน์ามี ๔ ประการ คือ ๑, ส์ทราสัมปทา . ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือ เชื่อสิงที่ ; ควรเชื่อ ๒. สิลสัมปทา ถึงพร้อุมด้วยคืล คือรักษๅกาย วาจา ให้เรียบร้อยดีงาม ต. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน ๔, ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา ร้จักบาปบุญ คุณโทษ ๖.ถาม สมบัติ ยศ อายุย่น สวรรค์ ท่านว่าเป็นผลที่ได้สมหมาย ยาก บุคคลพึงบำเพ็ญธรรมอะไร จึงจะได้สมหมาย ? .ตอบ พึงบำเพ็ญธรรมเป็นเหตุให้!ด้สมหมาย ๔ อปาง คือ ๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ๒. สิลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยคืล ต. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน ๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา ๗. ถาม มิตรแห้ ๔ จำ พวก คือใครบ้าง ? ตอบ คือ ๑. มิต่รมีอุปการะ ธรรมวภาค ๔๔๕ www.kalyanamitra.org

๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะนำประโยชน์ ๔. มิตรมิความรักใคร่ ๘.สาม บุคคลผู้สามารถยึดเหน์ยวนำใจคนอี่นไว!ด เพราะตั้ง อยูในธรรมอะไร มิกี่อยางอะไรบ้าง ? • ตอบ ในส์งคหรัตถ มิ ๔ อย่าง 0. ทานให้ป้นสิงของซองตนแก่ผู้อื่นที่ควรใฟ้ปัน ๒! ปิยวาจา เจรจาวาจาที่ออนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤตสิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความฺเป็นคนมิตนเสมอไม่ถือตัว ๙.ถาม มนุษน์ทุโเคนล้วนปราร่ถนาความสุข พระพุที่ธศาสนา แสดงความสุขของผู้ครองเรือนไรัอ่ย่างไร ? ตอบ แสดงไว้ ๔ อย่าง คือ 0. สุขเกิดแต่ความมิทรัพย์ ๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์ฬโภค ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ QO.ถาม คฤหัสถ์แสวงหาโภคทรัพย์โดยทางที่ชอบนั้น คือทางใด จงอธิบาย ? ตอบ คือ ทางสุ่จริตได้แก่ ขุยันทางานที่ปราศจากโทษ อาตัย กำ ลังแขนขา อดทนต่อความเหนื่อยยากสำบาก อาบเหงื่อ ต่างนํ้าก็ไม่ห้อถอย 00.ถาม ตระกูลลันมั่งตั้งจะตั้งอยู่ได้นาน เพราะสถฺานใดบ้าง ? ตอบ ตระกูลลันมั่งตั้งจนตั้งอยู่ได้นาน เพราะสถาน ๔ คือ ๔๔๖ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

o. แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว ๒. บูรณะพัสดุที่ครํ่าคร่า ต. รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ ๔. ตั้งสตรีหรือบุรุษผู้มีสืลใฟ้เป็นพอเรือนแม่เรือน ๐๒.ถาม ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ? ดุอฆ ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ๔คีอ 0. ส์จจะ ส์ตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน ต. ขันติ ความอดทน ๔. จาคะ สละให้ป้นสิงของของตนแกัคนที่ควรใบ้ปัน ๐01.ถาม คิหิปฏิบัติ คืออะไร ? ตอบ คือ หลักปฏิบัติของคฤหสถ - ๐๔.ถาม หมวดธรรมต่อไปน .คือ'หมวดไหนม่ในคืบ้ปฏิบัติ? ๑. อิทธิบาท ๔ ๒. ลังคหวต่ถุ ๔ ต. อธิษฐานธรรม ๔ ๔. ที่ฏิฐธัมม่กัตถประโยซน ๔ ' ๕: ปารือุทธิคืล ๔ ' ตอบ ข้อ ๒.และข้อ ๔.^ ธรรมวิภาค' ๔๔๗ www.kalyanamitra.org

คิฟ้ปฐบัติ ป็ญจกะ คือ หมวด ๕ ประโยชนเกิดแด่การถือโภfiaมบัดิ e อย่าง 0. เลี้ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา ปาวไพรโห้เป็นสุข ๒. เลี้ยงเพี่อนฝูงให้เป็นสุข ต. บำ บัดอันตรายที่เกิดแด่เหดุต่างๆ ๔. ทาพลี ๕ อย่าง คือ ๐. ญาสิพลี สงเคราะห์ญาติ ๒. อสิรพลี ต้อนรับแขก ๓. บุพพเปตพลี ทำ บุญอุทิศให้ผู้ตาย ๔. ราชพลี ถวายหลวง,มเลีย่ภาษีอากรเป็นต้น ๕. เทวดาพลี ทำ บุญอุทิศให้เทวดา ๕. บริจาคทานแก'สมณพราหมถ!ผู้ประพฤติชอบ สิล หมายถึง การรักษา กาย วาจา โห้เรัยบร้อย มี ๕ ประการ 0.ปาณาสิปาตา เวรมณี เว้นจากการทำชีวิตสัดว1ห้ตกล่วงไป ๔๔๘ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

๒. าเรรมณี^นว้นจากกaรถีอเอาสิงของที่เจ้า^^ ๓.กาฌสุ มจฉาจาราเวรฺมุ่ณี เว้นจากการประพฤติผุด ในกาม ๔. มุสาวาทา เวรมณเว้นจากการชุเดเท็จ , ๕.สุราเมรยมฺชซปมาท็ฎฐาฟ้า' เวรมเน เว้นจากการดื่ม นํ้าเมา คือ สุราเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท มิจฉาวผชชา ติ!อการดาขายิที่ใฝชอบธรรม๕ ประการ 0. ค้าขายเครื่องประหารไดแก่ ปีน หอก ดาบ ดูกระเป็ด เป็นต้น ๒. ค้าข่ายมนุษย์ ไต้แก่ การค้ามนุษย์เพี่อเป็นทาสหรือ ขายตัว เป็นต้น ๓. ค้าขายสัตว์เป็นส์าหรืบฆาเพี่อเรนอาหาร ไต้แก่ หมู เป็ด ไก่ ปลา เป็นต้น - ๔..ค้าขายนํ้าเมา ไต้แก่ สุราเมรัย ไวน์ สิงเสพติดทุกชนิด ๕^!ค้าขายยาพษ สำ หรับฆ่ามนุษย์ และสัตว์ทั้งปวง คณฺสมบตของสุปฺาสก มิ ๕ประการ P.;.ประกอบค้วยศรฺทธา คือ เร่อในการตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า เร่อV)ฎแทุ่งก^'3มที่าตั้Iค้ดื่จริ^พร่^ค้ร่วจรืง ๒,มีสลบรืสุทธ คือ รักษาคืล ๘ หรืออโนสถคืลให้สะอาด บริสุทธิ้ _^ ๓.ไม่ที่อมุงคลดื่นข่าว คือฺ เร่อกรรม ไมเร่อมงคล ไมเฟ้น คนหเบาเร่อง่าย ธรรมํรภาค ๔๔๙ www.kalyanamitra.org

๔.ไฝนสวงหาเ.ซดบุญนอกพรรพุทรศาสนา คือ ไม่ปฏิบัติ กิจหรือพิธีกรรมต่าง ๆ อนไมใช่หลักพิธีกรรมทางพระพุทธศาสฺนา ๕.นำ เพ็ญบุญแดในพระพุทธศาสนา คือ แสวงหาหรือเข้า ร่วมกิจกรรมงานบุญในพระพุทธศาสนา เช่น ทำ ทาน รักษาคืล เป็นต้น ปืญหาแสะเฉลยคิทิปฏิบดิหมวด ๕ 0. ถาม จะใช้จ่ายอย่างไร จึงซื่อว่าใช้จ่ายให้เป็นประโยชน์อย่าง แห้จริง ? ดอฃ ใช้จ่ายทรัพยให้เป็นประโยชน์อย่างแห้จริงอย่างนี้ 0. เลี้ยงตัวเอง บิดา มารดา บุดรภรรยา บ่าว่ไพร่ให้ เป็นสุข • ๒. เลี้ยงเพึ๋อนแง่ให้เป็นสุข ฅ.บำบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่าง ๆ ๔.ทำ พลี ๕ อย่าง คือ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ 0 อติกิพลี ต้อนรับแขก 0 บุพพเปตฬลี ทำ บุญอุทิศให้ ผู้ตาย 0 ราชพลี ถวายเป็นขอฺงหลวงมีภาษีอากร เป็นต้น 0 เทวดาพลี ทำ บุญอุทิศให้เทวดา 0 ๕. บริจาคทานในสมณพร่าหมเฟ้ผู้ประพฤติชอบ ๒.สร่ม จงเขียนคืส๕ ข้อที่ฅ พร้อมใฬั้ศาแปล?' ตัอฃ คืลขอที่ ต กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณีเร้นจาก.การ ประพฤติผิดในกาม ฅ. ถา'ม อุบาสกอุบาสิกา ควรงดเวนการคาขาย่ที่1ม่ชอบธรรม ๔๕งฺ) -ธฺรรมวํภาค www.kalyanamitra.org

อะไรบ้าง*? ตอบ อุบาสก อุบาสิกา ควรงดเว้นการค้าขายที่ไม่ชอบธรรม ดังต่อไปนี้ 0. ค้าขายเดรี่องประหาร ๒. ค้าขายมนุษย์ ต. ค้าขายสิตว้เป็นสำหร้บฆ่าเพื่อเป็นอาหาร \" ๔. ค้าขายนํ้าเมา ๔..ค้าขายยาพิษ ๔.ถาม จงเขียนค้ล๕ ข้อที่๕พร้อม่ทั้งคำแปล ? ' ตอบ สืลข้อที่ ๔ สุ่ราเมรยมัซซปมาทัฏฐานา เวรมฟ้ ■.เว้น จากการดื่มนี้าเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่ง ความประมาทฺ ๕. ถาม สมบัติและวิบ้ตของอุบาสกและอุบาสิกามีอะไรบ้าง ? ตอบ สมบัติของอุบาสก อุบาสิกา มีดังต่อไปนี้ 0. ประกอบดวยศรัทธา ๒. มีคืล ต.ไม่ถือมงคลดื่นข่าวคือเชื่อกรรม '' ^ i ๔.ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธสาสนา ๕.บำเพ็ญบุญแต่ในพระพุทธศาสนา ตรงกันข้ามกับสมบัติ ๕ นี้ เป็นวิบัติของอุบาสกอุนาสิกา ๖.ถาม คำ ว่าอุบาสกอุบาสิกาแปลว่าอะไร ? ตอบ อุบาสก แปลว่า ขายผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย อุบาสิกา แปลว่า หญิงผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย รรรมวํภาค ๔๔© www.kalyanamitra.org

๗.ลาม การค้าขายยาเสพตดมียาปัาเรนัค้น จัดเข้าในมีจฉา- วณซซาข้อไหน? ตอบ การค้าขายนาเมา ๘. ถาม การถือมงคลตื่นข่าวคือถืออย่างไร พระพทธ่ศาสนาสอน ให้ถืออย่างนั้นห1ออย่างไร? ตอบ ถือว่านี้ฤกห้คื ยามคื เป็นมงคลดึ นี้ฤกษ!ม่ดี ยามไมด ไม่เป็นสวัสดิมงคลพระพุทธศาสนาสอนไมให้ถือเข่นนั้น . สอนให้เชื่อว่า เรามีกรรมเป็นของตน เราหำดีจักไค้คื หำ ชั่วจักไค้ชั่ว ๙.ถาม คำต่อไปนั้แปลว่าอย่างไร ก..อดีถืพลี ข.ปุพพเปตพุลี ? ตอบ ก. การค้อนรับฺแขก ข. การหำบุญอุทิศให้ผ้ตาย ๔๕!อ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

คท!^ ผักกะ คือ ห}4วด ๖ ทศ แปลว่า สัาน่tเรือขาง ในฑนหมายถึง บุดศลท ปรากฏเกี่ยวข้องอยู่รอบสัานฟ้น่บุคคลVเมีความฒฟันธ์กบตวเรา ทุกระดบซํ้น ฝ็ ๖ทิศๆละ๕fmiรางตามหราviคงf s Q. ปุรัดถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหรา มารศๆรดา มีหนาที่ ^ จะตองปฏิบคืต่อบุตร ๕ ประการ 0. ห้ามไม่ใหทำความ่ซั่ว ๒.ให้ตั้งอยู่ในความสื ๓. ให้สืกษาสิลปรทยา ๔. หาคู่ครองที่สมควรให้ ๕. มอบทรพยํให้ในสมัย . บุตรรดาพึงนำรุงมารดาบิดาด้วยสถาน ๕ ด้งน 0. ท่านเลี้ยงเรามาแล้ว เลี้ยงฟานตอบ ๒. ช่วยทำกิจของท่าน ฅ่. ดำ รงวงสัสทุล ธรรมรภาค ^๕ www.kalyanamitra.org

๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก ๕. เมื่อฟานล่วงลับไปแล้ว ทำ บุญอุทิศให้ท่าน ๒.ทกฃิณพิส ดือ ทิศฌองชวา ครูอาจารย์ มึหนาที่ จะต้องปฏิบดืด่อดืษย์ ๕ ประการ 0. แนะนำดี ๒.ให้เรียนดี ๓. บอกติลปวิทยาให้เนเชิง ไม่ป็ดบังอำพราง ๔. ยกย่องให้ปรากฏในเพี่อนแง. ๕. ทำ ความป้องกันในทิศทั้งหลาย ดืษย์พึงนำรง ดรอาจารย์ดวยสฤาน ๕ ดังนี้ จิ นิ 0. ด้วยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ด้วยเข้าไปยืนฺคอยรับใช้ ๓. ด้วยเขึ้อฟ้ง ๔. ด้วยอุปัฏฐาก . ๕. ด้วยเรียนดีลปวิทยาโดยเคารพ ฅ. ป้จรมทิส ดือ ทิศเบื้องหลง บุตรภรรยา มีหน้าที่จ^ ต้องปฏิบต้ต่อสามี ๘ ประการ 0. จัดการงานดี ๒. สงเคราะห์คนข้างเดียงของสามีดี ๓!ไม่ประพฤตินอกใจสามี ๔. รักบาทรัพย์ที่สามีหามาได้ .๔๕๔ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

๕. ขยันไมเกียจคร้านในกิจการทั้งปวง สามีพึงบำร[งฺภรรยาด้วยสถาน ๕ ด้ง'สั 0, ด้วยยกย่องนับถือว่าเป็นภรรยา ๒. ด้วยไฝดูหมิ่น ฅ. ด้วยไฝประพฤตินอกใจ ๔. ด้วยมอบความเป็นใหญให้- ๕. ด้วยให้เครื่องแต่งตัว ๔. อุดดรทิส คือ ทิศเบื้องซ้าย มีดรสหายมีหน้าที่จะด้อง ปฏิฟ้ดด่อเพื่อน ๕ ประการ 0. รักษาเพี่อนผู้ประมาทแล้ว ๒. รักษาทรัพย์ของเพี่อนผู้ประมาทแล้ว ต. เมื่อมีภัย เอาเป็นที่พี่งพำนักได้ ๔.ไฝละทิ้งในยามกิบติ ๕. นับถือตลอดถึงวงสัของมิตร กุลบุตรพึงบำรุงมีตรสหฺายด้วยสถาน ๕ด้งนี้ 0. ด้วยให้ปัน ๒. ด้วยเจรจาถ้อยคำไพเราะ ต. ด้วยประพฤติสิง'ที่เป็นประโยซฺนั ๔. ด้วยความเป็นด้มีต'นเสมอ ๕. ด้วยไฝแกล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็นจริง ๔.เหฏฐมทิส คือุ ทิศเบื้องดา ปาวไพร่มีหน้าที่จะด้อง ธรรมวภาค ๔๕๕ www.kalyanamitra.org

ปฏิม!ต่อนาย & ประการ 0. อุกขนทPำการงานกอนฉาย ๒. เลิกทำการงานทีหลงนาย ฅ. ลิณอาแตลิงของที่นายให้. ๔. ทำ การงานให้ดีขึ้น ๕. นำ คุณของนายไปสรรเสริญ่ในที่นั้นๆ นายพึงบำรุงบาวไพร่ดวยสถาน ๕ ดีงนื้ . 0. ด้วยจัดการงานให้ทำตามสมควรแก่กำลัง ๒. ด้วยให้อาหารแสะรางวัลิ ฅ. ด้วยรักษาพยาบาลในเวลาเจ็ษไข ๔. ด้วฺยแจกของมีรสแปลกประหลาดให้กิน ๕. ด้วยปล่อยในสมัย ๖. อปรมพึส คอ ทิศผองบน สบณพราทม่ผมึหน้าที่สร ตองปฎิบติตอกลบุตร ๖ ประการ 0. ห้ามไม่ให้กระทำความ์ซว ' ๒.ให้ตงอยูในความดี ฅ. อนุเคราะห้ด้วยนํ้าใจอันงาม ๔!ใฟ้.ด้ฟ้งลิงที่อังไม่เคยพึง ๕. ทำ ลิงที่เคยได้พึงแล้วให้แจม่แจง ๖. บอกหางสวรรัค!ห้ กุลบุตรพึงบำรุงสมณพราหมณ์ ด้วยสถ่าน ๕ ด้งนื้ ๐:^ยเศยก่รัร่มคือ^ฟ้ร่รํปร่ะ 4 ๔๕๖ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

๒. ด้วยวจีกรรม คือ พูดอะไรไประกอบด้วยเมตตา ต. ด้วยมโนกรรม คือ คืดอะไรไ ประกอบด้วยเมตตา ๔. ด้วยความเป็น^ฝป็ดประดู คือ ไม่ได้ห้ามเข้าบ้านเรือน ๕; ด้วยให้อามิสทาน อบายมุข ดือ ปากทางแฟงความฟอมมี ๖ อย่าง 0. ดื่มนํ้าเมา ย่อมได้ร๊บความเสัอมมีโทษ ๖ ประการ 0. เสิยทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท่ ต. เกิดโรค ๔. คูกติเตียน ๕.ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกำลังปีญญา ๒. เที่ยวกลางดืน ย่อมได้รืบดวามเดื่อมมีโทษ ๖ ประการ 0. ข้อว่าไม่รักษาตัว ๒. ข้อว่าไม่รักษาลูกเมีย ต. ข้อว่าไม่รักษาทรัพย์สมบัติ ๔. เป็นที่ระแวงของคนทั้งหลาย ๕. มักถูกใส่ความ ๖.ได้รับํความลำบากมาก ๓. เที่ยวดูการเล่น ย่อมได้รับความเดื่อมมีโทษ ๖ ประการ ๐. รำ ที่ไหน ไปที่นน ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

๒.ขับร้องที่ไหน ไปที่นั่น ฅ. สีดสีตีเฟ้าที่ไหน ไปที่นั่น ๔. เสภาที่ไหน ไปที่นั่น ๕. เพลงที่ไหน ไปที่นั่น ๖. เถิดเทิงที่ไหน ไปที่นั่น ๔. เล่นการพนัน ย่อมได้ร้บความเร่อมมีโทษ ๖ ประการ 0. เมื่อชนะ ย่อมก่อเวร ๒. เมื่อแพ้ ย่อมเสิยดายทรัพย์ที่eสียไป . ฅ. ทรัพย์ย่อมฉิบหาย ๔.ไม่มีใครเร่อถือถิอยคำ ๕. เป็นที่หมื่นประมาทของเพี่อน- ๖.ไม่มีใครประสงค์จะแต่งงานด้วย ๕. ดมคนชั่วเป็นมีดร ย่อมได้ร้บความเร่อมมีโทษ ๖ ประการ ^ 0. นำ ให้เป็นนักเลงเล่นการพนัน ,๒. นำ ให้เป็นนักเลง.เจ้าชู้ ตุ. นำ ให้เป็นนักเลงเหล้า ๔. นำ ให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม ๕. นำ ให้เป็นคนลวงเขาซุงหนัา ๖. นำ ให้เป็นนักเลงหัวไม้ ๖. เกียจคร้านทำการงา!ณกอ้างเลศ ๖ สถานด้งนี้ 0. มักอ้างว่าหนาวนัก แล้วไม่ทาการงาน ,๔๕๘ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

๒. มักอ้างว่าร้อนใ!ก แล้วไฝทาการงาน ฅ. มักอ้างว่าเวลาเย็นแล้ว แล้วไฝทำการงาน ๔. มักอ้างว่ายังเอ้าอยู่ แล้วไฝทำการงาน ๕. มักอ้างว่าหิว'นก แล้วไฝทำการงาน ๖. มักอ้างว่ากระหาย•นัก แล้วไฝทำการงาน ป็ญหานละเฉลยฅิทิปฏิบัติหมวด ๖ 0. ถาม อยากทราบว่า ใครเ6นทิศเบื้องขวา เพราะเหตุไรจึงได •ส์อเซ่น•นั้น ? ตอบ ทิศเบื้องขวา สือ อาจารย์รวมทั้งธุป้ซฌาย์ และครูผู้ส์ง สอนวิชาการต่าง ๆ •ทุกระดับ ที่ใดัซื่อเซ่นนั้น เพราะ ท่านได้แนะนำพรํ่าสอน ชี้ผิดซี้ถูกใ•หIดยหวังดี เปรียบ เหมือนมืออ้างขวาที่ด้องทำงานประจำ•ที่สำคัญ ๒.ถาม จะปฏิบัติบารุงด้เป็นทิศเบื้องขวาอย่างไรบ้าง ? ตอบ ติษย์ด้องปฏิบัติบำรุงด้วยสถาน ๕ คือ 0. ด้วยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ด้วยเอ้าไปยืนคอยรับโอ้ ต. ด้วยเซื่อ•ติง ๔. ด้วยอุปัฏฐาก ๕. ด้วยเรียนติลปวิทยาโดยเคารพ ^๓.ถาม บุคคลุผู้ประสบกับความเสํอมเสียหรีอล้มเหลว ไฝ สามารถตั้งตัวได้เป็นเพราะเหตุอะไร ? ตอบ บุ่คคลผู้ประสบกับความเส์อมเสียหรีอล้มเหลว ไฝ ธรรมว๊ภาค ๔๕๙ www.kalyanamitra.org

สามารถตั้งตัวได้ เพราะประพฤติตัวเกี่ยวข้องในอบายมุข อันเป็นเหตุให้รบหาย - ถาม ขฺอทราบรายละเอียดของเหตุในข้อ ฅ. นั้น จงขี๋[แจง ? ตอบ มี ๖ ประการ คือ 0. ดื่มนั้าเมา ๒. เที่ยวกลางคืน ต. เที่ยวดการละเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕.คบคนชั่วเป็นมิตร ๖.เกียจคร้านทาการงาน(ตอบอบายมุข ๔ประการกี่ได้) ๕. ถาม สมณพราหมถ! เมื่อไดื่ร้บการบำรุงแล้ว ย่อมอนุเคราะห้ กุลบุตรอย่างไรบ้าง ? ตอบ อย่างนื้คือ 0. ห้ามไม่ให้กระทำความชั่ว ๒.ให้ตั้งอย่ในความดี ต. อนุเคราะห์ด้วยนั้าใจอันงาม ๔. ให้Iด้ฟ้งสิงที่ยังไม่เคยฟ้ง ๕. ทำ สิงที่เคยฟ้งแล้วให้แจ่ม ๖. บอกทางสวรรคให้ ๖.ถาม อบายมุข คืออะไร ดื่มนํ้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง ? ตอบ คือ เหตุเครึ่องรบหาย มีโทษ ๖ อย่าง คือ 0. เสิยทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ต. ๔๖0 ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

๔. ถูกติเตียน ๕.ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกำลังปัญญา ๗.ถาม นาย กเป็นผู้ฉลาดในการเลนพนันฟุตบอลเขาหวังให้ นาย ข ผู้เป็นเพื่อน มีเงินทองไว้ก่อฬร้างตัว จึงซักซวํน นาย ข ให้เล่นด้วย นาย ก จัดเข้าในประเภทมิตรแนะ ประโยซนัIด้หร้อไม่เพราะเหตุไร? ตอบ ไม่ได้ เพราะนายกกำลังซักซวนในทางฉิบหายผิด ลักษณะมิตรแนะประโยชน์ ธรรมวิภาค ๔๖© www.kalyanamitra.org

วิชาเรียงความแก้กระทูธรรม www.kalyanamitra.org

วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม วิชาเรียงความแท้กระดู้ธรรมเป็นวิชาทมีหลักการ เป็นเรอง ของความงามในการใ'รภาษา ?งเป็นวิชาที่นักเรียนจะต้องสืกษา และลกฝนให้มีประสบการณ์มากพอสมควรจึงจะมีความรู้ ความ ชำ นาญในการใช้ลัานวนภาษาที่ไพเราะและเหมาะสม อันจะทำ ให้ เรียงความมีความประณีตละเอียดอ่อนน่าอ่าน ควจมหมายชองคำวา \"เรียงความแฦกระทู้ธรรม'' คำ ว่า \"เรียงความแท้กระทู้ธรรม\" ตัดบทเป็นเรียงความ /แท้ / กระทู้ธรรม \"เรียงความ\" หมายถึง การกล่าวพรรณนาเนื้อความหรีอ อธิบายเนื้อความแล้วนำเอาเนื้อความมาต่อเชื่อมอันโดยลำตับหน้า หลังให้ผู้อ่านไต้อ่านรู้เรี่อง \"แท้\" หมายถึง การตอบหรือการเฉลยให้ตรงจุดของคำถาม นั้นหรือกำรเป็ดเผยส์งที่ปกปิดออกมาให้เห็น เ1ยงความแสืกฺระ^ธรรม ๔๖๓ www.kalyanamitra.org

\"กระทู้ธรรม\"หมายถึง ปัญหาทรีอคาถามที่เกี่ยวกับธรรมJ ทำ ไมพึต้องเรียนวซากระทู้ธํรรม การฺเรียนวิชานี้จำเปันอยางยิ่ง เพราะการเรียนวิชานี้นั้นเป็น การแสดงออกซึ๋งทัศนคติของแต่ละบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพโดย ทางการเขียน อนเป็นการแสดงออกแทนคำ'ดูดถึอเป็นการสรีาง บุคลากรใหม่ในด้านการเป็น นักดูด นักเขียน ในวงการพระพุทฮ- ศาสนาในโอกาสต่อไป ประโยชน์ขฺองวิชากระทู้ธรรม 0. เป็นการแสดงออกซึ่งทัศนคติของตนฺเอง ๒. เป็นการแสดงออกซึ่งความรีเกี่ยวกับธรรมะ ต,เป็นการแสดงออกซึ่งวาทะและสำนวนของผู้ที่โด้รับการ สืกษา ๔. เป็นการถ่ายทอดวิชาการไปส่อีกคนหนึ๋งใใชุและเข้าใจความ ๕. เป็นการ'พัฒนาด้านความรู้และปัญญาของตนให้กัาวหนัา อยู่เสมอ ๖.เป็นการสรีางบุคลากรในด้านศาสนาขั้นพื้นฐาน ซึ่งกลาย มาเป็นผู้เผยแผ่ศาสนาต่อไป ประ๓ทชองกระทู้ธรรม กระทู้ธรรมของนักธรรมขั้นตรี -โท - เอฺกนั้นแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ ๔๖๔ เรียงความแสืทระ^ธรรม www.kalyanamitra.org

o. พุทธภารต เป็นดำรัสของพระพุทธเจ้าโดยตรง ๒. สาวกภารต เป็นดำพูดของพระสาวก มี •๒ประเภทํ คือ เถรคาถา(พระภิกษุ)และเถรีคาถา(พระภิกษุณี) ๓. เทวตาภารต เป็นดำพูดของเทวดา ๔. อิสิภารต เป็นดำพูดของพวกฤๅษี ภาษีตทั้ง ๔ ประเภทนี้รวมเรียกเป็นดำกลางๆว่า \"ธรรม ภาษีต\" คือเป็นดำพูดที่ประกอบด้วยธรรมะนั่นเอง กระทู้ธรรม ๒ ประ๓ท 0. กระทู้ธรรม่ที่เป็นบุคลาธิษฐาน หมายถึง กระทู้ธรรม ที่อ้างํบุคคลเป็นที่ตั้งหรีอยกเอาเรื่องราวที่เกี่ยวกับบุคคลขึ้นมา กล่าวเพี่อให้เข้าใจในธรรมะนั้น เซ่น กัมมุนา รัตตะตี โลโก สัตว์ โลกย่อมเป็นไปตามกรรม เป็นด้น ๒. กระทู้ธรรมที่เป็นธรรมาธิษฐาน หมายถึง กระทู้ ธรรมที่อ้างธรรมะโดยตรงเป็นที่ตั้งไมอางบุคคล คือยกเอาธรรมะ ล้วนๆ ขึ้นกล่าว เซ่น ปะมาโท มัจจุโน ปะทัง ความประมาทเป็น หนทางแห้ง ความตายหรีอ ทุกโข ปาปัสสะ อุจจะโย การส์งสม บาป เป็นเหตุ นำ ความทุกข์มาให้ โครงสร้างของกระทู้ธรรม 0. กระทู้ตั้ง คือ กระทู้ธรรม่ที่เป็นป้ญหาที่ยกขึ้นมาก่อน สำ หรับใหแต่งแก้เซ่น สัพพะทานํง ธัมมะทานัง ข้นาติ การให้ ธรรมะย่อมชนะการให้ทั้งปวง เ1ยงความufiกระดูธรรม ๔๖๔ www.kalyanamitra.org

๒. คำ น่า คือ คาขึ้นต้นหรือ่คำชี้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือเมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้ว เวลาจะแต่งต้องขึ้นอารัมภบท ก่อนว่า \"บัดนื้จกได้บรรยายชยายความตามรรรมภารตfiไต้รขฺต ไว้ ผ เบองด้น เพื่อเป็นแนวทางแห่งการศกษานละประพฤด้ ปฎบัตของสาธุชน ผูใค่รในธรรมสิบต่อไป\" ท, เนื้อเรื่อง ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ สำ คับเนื้อหาสาระ ให้ต่อเนื่องกันเป็นเหตเป็นผล เมื่ออธิบายเนื้อเรื่องมาพอสมควรก็ นำ เอาข้อธรรม (กระทู้ธรรม) มาอ้างรับรองไว้เป็นหลักฐาน ๔. กระทู้รบ-หมายถึง การยกเอาธรรมภาษิตขึ้นมารับรอง ให้สมเหตุสมผลกับกระทู้ตั้ง เพราะการแต่งเรืยงความนั้นต้องมี กระทู้รับอ้างให้สมจริงกับเนื้อความที่ไต้แต่งไป มีใช่เขียนไปแบบ ลอยๆ ๕. บทสรุป หมายถึง รวบรวมใจความสำคัญของเรื่องที่ไต้ อธิบายมาแต่ต้นกล่าวสรุปล่งลันๆหรือย่อๆให้!ต้ความหมายที่ครอบ คลุมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาทงหมด แนวทางการบรรยายชองเรียงความกระทู้โดยปกติมี ๕ โวหาร 0.พรรณาโวหาร โวหารบรรยายให้เกิดความเพลิดเพลิน ๒.บรรยายโวหาร อธิบายแจกแจงกระทู้ธรรมชี้เหตุผล่ให้ เกิดวิริยะอุดสาหะในการนำไปปฏิบัติ ๓. เทศนาโวหาร ชี้แจงแสดงแนะนำให้เห็นผล่ดีผลเลิย และสอนให้ละการทำความชั่ว ทำ แต่ความดี ๔๖๖ เรึยงความ กระ^ธรรม www.kalyanamitra.org

๔. สาธกโวหาร การยกเรื่องราวต่าง®!.มฺาเป็นข้อเปรียบ เทียบ อุปมาอุปมัยโดยมีหสักวา ก.ไมยกเรื่องของคนอี่นที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ข.ไฝยกเรื่องของตนเองมาเป็นข้อเปรียบเทียบ หลกการแต่งกระทู้ ฅ ประการ 0. การตีความหมายกระทู้ตั้ง วิาหมายถึงอะไร กว้างแคบ แค่ไหน ในกระทู้นั้นมีความหมายทีต้องอธิบายกี่อย่าง เซ่น อต่ตา หะเว ชีตัง เสยโย ซ่นะตนนั้นแล ประเสริฐ ในกระทู้นั้ต้องมี ความหมายตังนั้ ก. คำ ว่า \"ตน\" คืออะไร ตนในทีนั้!ต้แกอัตภาพร่างกาย ทีสม่มติกันว่าเป็นคนไต้แก่ กายกับวิต่ ซ. คำ ว่า \"ซนะตน\"ไต้แก่อะไร คือชนะใจตนเองไม'ให้ ใจตกอยู่กับอำนาจกิเลสหรืออารมณฝายตํ่าทีมาซักนาหรอครอบ คลุมจิตใจของตนเองให้Iต้นั้นเอ่ง ฟ้าใครชนะจิตใจของตนเองไต้ กิชีอว่าชนะตน ค.คำ ว่า \"ประเสริฐ\" แปลว่า ดีกว่า เลิศกว่า เมื่อคน เราเอาชนะจิตใจของตนเองไต้ ชีอว่าไต้รับความชนะทีประเสริฐกว่า การชนะสงคราม หรือตัตรูภายนอก - ๒. การขยายความให้ซัดเจน หมายถึง การขยายความ ให้ซัดเจนแสะแจ่มแจ้งออกไป เซ่น ความชนะใจตนเองคืออะไรก็ ขยายให้แจ่มแจ้งออกไปว่า ไมให้จิตใจของตนเองตกอยู่ภายใต้ อำ นาจของกิเลส คือความโลภ ความโกรธและความหลง ซึ่งจะ เรยงความแสืกระ^รรรม ๕๖๗ www.kalyanamitra.org

เป็นสิงสนับสนุนให้จิตใจของตนคิดไปในทางชั่วทางบาป ทางทุจริต และที่ว่าประเสริฐนั้น ก็คิอการชนะจิตใจตนเองประเสริฐกว่าอย่าง อื่น เพราะการชนะคนอื่นแม้ 000 คน ก็หาประเสริฐเท่าการ ชนะตนเพียงครั้งเดียว ๓.ตั้งเกณฑ์อรบาย หมายถึงการอธิบายจะต้องมีหลักเกณฑ์ อธิบายถึงผลดีผลเสิยซึ่งจะเป็นเครื่องชี๋[ซัดลงไปให้เห็นว่า การ ชนะภายนอก เซ่น ชนะคนตั้ง 000 คน นั้นเป็นของไม่แน่นอน ภายหลังอาจจะกลับเป็นคนแพ1ต้ ส่วนการชนะตนเองนั้นเป็นการ ชนะโดยเดีดขาด ชนะแล้วไม่กลับแพ้อีก การแต่งกระทู้ธรรม มี ๒ แบบ คือ 0. การแต่งแบบตีวง คือ การพรรณนาความไปก่อนแล้วจึง หวนเข้าเนื้อหาของกระทู้ธรรมนั้นา กล่าวคือ การแต่งกระทู้แบบ อ่ธิบาย เรื่มต้นจากจุดอื่นซึ่งหางไกลให้มีความลัมพันธ์เนื่องกันเข้า ไปเป็นขั้นเป็นตอนก่อนหลังตามลำดับ จนกลมกลืนกับกระทู้ตั้ฮแล้ว จึงอธิบายธรรมหรือกระทู้นั้น ยกเหตุผลอุปมาสาธกและเซึ่อม กระทู้อื่นมารับให้สมกับข้อความอธิบายนั้น มากหรือน้อยตาม กำ หนดของ สนามหลวงที่ไต้บังคบไวในขั้นนั้นา (นักธรรม ตริ,โท, เอก) แล้วสรุปความ ๒. การแต่งแบบตั้งวง คือการอธิบายความหมายของ ธรรมะก่อนแล้วจึงขยาย ความออกไป กล่าวคือการอธิบายตรงจุด ธรรมะที่เป็นกระทู้ตั้ง ไม่ต้องมีลืลาหรือว่าร่ายรำให้ยืดยาวพอเข้า ถึงจุดก็อธิบายต่อไปเหมีอนกับแบบดีวงนั้นเอง ผดกันบัางก็เฉพาะ ๔๖๘ เรียงความแก้กระดู้ธรรม www.kalyanamitra.org

แบบดีวงต้อฺงเริ่มจาฤจุดอื่นเข้ามาเท่านั้น การใช้ภาษฺา ในการเขียนภาษาเรียงความ ผู้เขียนจะต้องพิถีพิถันการ ไข้ภาษาให้มาก ภาษาที่จะใข้ต้องเป็นภาษาเขียนเท่านั้นไม่เขียน ต้วยภาษาพูด ขีงพอสรุปเพี่อจำง่ายจุ คือ 0. ต้องใข้ภาษาเขียนที่ถูกต้อง ๒.ไมใช้ภาษาตลาด ภาษาแสลง ภาษาคำผวน ฅ.ไมใช้ภาษาพื้นเมือง หรีอภาษาถิ่น ๔.ไมใช้ภาษาต่างประเทศปนภาษาไทย ตัวอย่างของฺคำอารมภบฑในการแต่งกระทู้ - บัดนี้จักไต้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิต ที่ไต้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพี่อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบัติของสาธุซน ผู้ไครในธรรมลิบต่อไป - บัดนี้จักอธิบายขยายเบื้อความแท่งกระทู้ธรรมที่ไต้ตง เป็นอุทเทสไว้ เพี่อเป็นแนวทางแห่งการคืกษาและปฏิบัติของท่าน พุทธมามกะ ผู้ฝืกใฝ่ในธุระทั้ง•๒ ประการในศาสนา คือ คันถธุระ และวิปัสสนาธุระ อันเป็นกิจที่จะต้องกระทำในพระพุทธศาสนา เพี่อมุ่งประกอบตนและผู้อื่นให้ไต้ปุระสบลิงที่ตนปรารถนาเป็น ลำ คับต่อไป เรียงความแสืกระ^ธรรม ๔๖๙ www.kalyanamitra.org

ดัวอย่างชองดำพูดก่อนกส่าวอ้ๆงสุภาษิตอื่นม่าฟอม 0. สมด้วยธรรมภาษิตที่มาใน ความว่า ๒.สมด้วยความแห่งคาถาประพันธ์พุทธภาษิตที่มาใน.. ความว่า ดํวอย่างชองดำขึ้นด้นตอนสรุป 0. สรุปความว่า ๒. รวมความว่า ต. ประมวลความว่า. ๔๗๐ เ1ยงความนกระ{ธรรม www.kalyanamitra.org

นบบฟอร์มกๆรผียน^ชาเรียงความนกกระทู้ธรรม นักธรรมนละธรรมสกษาผตรี (กระทู้ตัง)00000000๐0000000000 (คำแปลกระทู้๐๐000000000000000000 บัดนี้จักไคํบรรยายขยายความตามธรรมภาษิตท1ตัลิขตไว้ ณ เบื้อง ต้นเฟ้อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบ้ตของสาธุซนผูใครโนธรรมสืบไป อธิบายความว่า .1............. .นี้สมต้วยธรรมภาษิตที่มาใน. ;. ว่า (กระทู้รับ)๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ - (คำแปลกระทู้รับ)๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ อธิบายความว่า..... สรุปความว่า r. : สมดวยธรรมภาษิตที่โต้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า (กระทู้ตัง)๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ (คำแปลกระทู้ตั้ง)๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ ตังไต้พรรณนามาต้วยประการฉะนี้ เ1ยงดวามแ?เกระดูธรรม ๔๗0 www.kalyanamitra.org

สำ หรับนักธรรมและธรรมสืกษาซนตรี ต้องเขียนใไ^ด้ อย่างน้อย ๒ หน้า (เน้นบรรทัด) โครงร่าง ๐. กระ'ยู้ตั้ง ๒. อารัมภบท ๓. เ'นอเรื่อง _ ^ -๔. กระ'คู้รับ 0 กระทู้ - - ^^ ๕. บทสรุป หลักการแต่ง 0. ตีความฺหมาย . ๒. ขยายความ ๓. ตั้งเกณฑ์อธิบาย ผลดี - ผลเสิย ๔๗๒ เรียงความแ/^กระ^รรรม www.kalyanamitra.org

สัวอย่างเรียงดวามนก้กระทู้ธรรม ปาปานํ อกรณํ สุขํ. การไม่ทำบาป นำ สุขมาให้. บัดนี้จักไดฺบรรยายขยายความตามธรรมภาษิตท1ด้ลิขิตไว้ณ เนี้องฺฅ้น เพี่อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบตของสาธุซน^คร่ โนธรรมสิบต่อไป อธิบายว่า การไม่ทำบาปติอความชั่วทั้งหลาย ย่อมนำความ สุขมาให้แกตัวเราเอง คำ ว่าบาปได้แก สิงที่ทำแล้วลิตใจเศร้าหมอง เดือดร้อนทั้งตัวเองและผู้อี่น บาปนั้นเลิดขึ้นได้ ฅ ทาง ดือ 0. ทางกาย ได้แก ฆ่าสิ'ต่ว์ 0 ลักทรัพย์ 0 ประพฤติผิด ในกาม 0 ๒^ ทางวาจา ได้แก่ ชุเดเท็จ 0 ชุเดส่อเสิยด o ชุเดคำ v_ . ร'่ _ หยาบ 0 พดเพอเจอ 0 ต.' ทางใจ ๓ ได้แก่ โลฦอยากได้ของเขา .0 พยาบาท ปองร้ายเขา 0 เห็นผิดทำนองคลองธรรม 0 สิงเหล่านี้จัดเป็นอกศลธรร่ม .เป็นกรรมชั่วห้า.ลามก นำ ทุกข์ดือความเดือดร้อI^ให้แก่ผู้กระทำ อคุศลธรรมทั้ง 00นี้ ล้วน ไม่เป็นที่พึงปรารถนาของคนดืมีดืลธร่รมทั้งหลาย ธรรมดาว่า ลัตว้ทุกซนิดนับแตมนุษย์เป็นด้นไปไม่ปราร.ถนำ ให้ผู้หนึ๋ง^ดเบียดเบียนตนรักวงสัตระกูลและห้าทาสบริวารเหมือนํร่ กัน หาก^ครมาเบียดเบียนให้เจ็บกายเจ็บใจ ก็เลิดความไม่พอใจ ในบุคคลนั้น หากถูกเบียดเบียนเพี่มมากขึ้นเสมอร่ ลิจะยิ่งเลิดความ ไม่พอใจมากขึ้นจำเป็นจะด้องดิ้นรนต่อล้ด้วยอุบายอย่างใดอย่างหนึ๋ง เรยงความเฬ่กระ^อรรมฺ ๔๗ต www.kalyanamitra.org

จนสุดความสามารถ บางครั้งการฒืยดเปียนนั้นสิมดวามประสงค ของตน แต่กระทำเกินขอบเขตกฎหมาย.กิจะต้องถูกเจ้าหน้าที่บ้าน เมืองจับกุมลงโทษตามกฎหมาย หากวาหลบหtflปไต้ ตนเองจัก ต้องคอยระแวงคนอื่นอีก จนถึงกับต้องยายไปอยู่ในสลานที่ที่ ฟืนเองคิตว่าปลอดฺกัย หรือบางครั้งเห็นว่าเรื่องที่ตนเองกระทำไว เงียบสงบแล้ว กิคุยอวตการกระทำของตนเอีงแกญาติมืตร่ หาก ผู้ที่ไต้รบการบอกเล่า นำ เรื่องนั้นไปเปิดเผยแก่ผู้อื่นทราบอีก ความ ลับกิจะขยาย ตัวกว้างขวางออกไป จนกระทั่งทรำบถึงเจ้าหน้าที่ผู้ รักษากฎหมาย กิจะนำตัวไปจองจัารับโทษตามความผิดที่ตนเอง ไต้กระทำขึ้น ทั่งนี้สมต้วยธรรมภาษิตที่มาโนองคุตตรนิกายติกนิบาต ความว่า นตถิ โลเก รโหฺ นาม ปาปกมฺมํ ปกุพุพโต. ซื่อว่าที่ลับของผู้ทำบาปกรรม ไม่มืใน่โลก อธิบายความว่า ขึ้นซื่อว่าความชั่วแล้วไม่ว่าจะกระรำโนที่ โตกิตาม จะมืคนเห็นหรือ ไม่กิตาม จัดว่าไมเป็นความลับทั่งสิน เพัราะตนของตนเอยู่แล้วย่อมก่อโห้เกิดความทุกข์แก่ตนเองทั่งสิน สรุปความว่า การไม่กระทำบาป คอ อกุศลธรรม C10 ทั่ง ปวง ประกอบแต่บุญ คือความดีงามโดยสมาเสมอ จะประฒผล บุญ คือ ความสุขกายสุขโจทั่งโล่กนี้ และโลกหน้า นี้สมต้ว่ย ธรรมภาษิตที่ไต้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นนั้นว่า ปาปานํ- อกรณํ สุขํ. การไม่ทำบาป นำ สุฃ่มาโหฺ. ตังไต้พรรณนามาต้วยประการฉะนี้ฯ ๔๗๔ เรยงความ่แสืกระ^ธรรม www.kalyanamitra.org

ดวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรม !£._ ลIa^mmBiSmiwrrn /ท่) ญ พ^ห. ามrnrnmrmi fmmfifmmi ms^iifu ล^^มศภmrtต่^แบข wmrirm%แล:fiร:ท)รนฟ่:} mdfff ใหฆา^ใเคตํห เ^kfmm^ฯญ ^«ร^ ร. m^N^yfy^^mTnfk}^rrmmnm^3v}m- . V «) 'J .^' ^£L. ''ะ^. :2L.^^.o^.,iarr^!^ /■»..-, t. 1» f V มrr^tSum ารลฅนุเฅภะหแล่ผู้ฅตๆท^1อ้ยาค V xu -vv •' ■^ v XV a/ / โค^ฟ miAftmml3Jid^mfrmj&:ffm^sm:fmmmาศ์h ?^หค์โ^ค้ผรท^ จะrnlmTntimm 111เ0น1^แฅค^hsmm Bmnmlm Q/ •. PJ» ** Q/ ^ Of £ไ V ฯB. mmmmfaeimrrmfm หมายgg mimfrmmmim/jm : Atniii ะ].ท. nnrnoin เ1ยงความแสืกระดูธรรม ๔๗๕ www.kalyanamitra.org

พเฑ มพ้^คนทุทฅikfrmmiSai ร' ลร>omเ^มนแรแลรร^ฟ่yfmr: mmmrwAmsisA! และจะภมพ^ใเพั้ศภมคด /พุ่เ1» mTrntmiSumhmm wSnrmBsfli^im หยเ^แล:ทูลจอพํmum/kBv^ms <9- ^' ใf(ulhmmfn7i,^fmu}mnmm^evsAelimm^ ไห^irnkSkhmiiifrmmu^emw ท^ฬ์ mkmm^3ปีi^1^l:\\pfkmlSmm^Miปีนรร ดร! qn^:M^u g: Aa?/ mmiMmขmrnSmtMsn mm ธป้ม หเฉ mm mfum. โทรมแล mi mfmmm ศมม&รทามตท หำ^ห้m»mทูม/๓ม' {ktktn^^im ฬทฌ้ย lisมัย mmwfj d^^ukmiLiluilfiWmm ^แปีน^ff3m&วไทไจ าหihๆ^ไทย่ลลุ^ iTmiffumit/mrfu^fffM ihn^:ร.พ. nnmmn ๔๗๖ เ1ยงความแสืกระ^ธรรม www.kalyanamitra.org

smtmmเพฒ ^1ร่ร3ข9^iem^ ท โอฒifitinp^s. 'รฅI็ mmmmAxi ย่ฒพแแพ่ศภม^fmฆ ^fmxm tmirnmAmLmmflhrA ร^เลร่สคultl^ufmm^uiAn^^ s • '. s 1mimA^ ' รเ'ikm^ A. if *~ ใ mmamiย้^^mmtถมๆ๓mlร:?rm^<^ 1 - เรียงดวามแก้กระดู้ธรรม ๔๗0 www.kalyanamitra.org

. พุทธศาสนสุภารดนกธรรมชั้นตรี สุภารตที่มาจาก ชุฑทกนิกาย ชาดก 0. อตฺตานํ นาติวตฺเตยย. บุคคลไม่ควรลืมตน .๒. อปฺปมาโท อมตํ ปทํ. ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย ต. อปฺปมเ?เตา น มียนฺติ. ^ม่ประมาทย่อมไม่ตาย ๔..กลยาณการี กล.ยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. ทำ ตีโติดี ทำ ชั่วได้ชั่ว ๕.นหิ สาธุ โกโธ. ความโกรธไม่ดเลย ๖. อทโกเธน ชั่เน โกอ. พึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ ๗. อสาธุ สาธุนา fเน. พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี ๘.\"รเน กทรียํ ทาเนน. พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้ ๙. สจฺเจนาลืกวาทินํ. พึงชนะคนชุเดปต ด้วยคำจริง 00. วิเจยุย ทานํ สุคตป.ปสต.ถํ. การเลือกให้ อันพระสุคตทรงสรรเสริญ ^๗๘ เรียงความllf(กระธรรม www.kalyanamitra.org

00. ธมุโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ. ธรรมที่ประพฤติดีแล้ว นำ สุขมาโฟ้ 0๒.ธมฺโม หเว รฤขติ ธม.มจารึ. ธรรมแล ย่อ่มรักษาผู้ประพฤติธรรม 0ฅ. เยปม!?!ตายถา มตา. ผู้ประมาทแล้ว เหมือนคนตายแล้ว. 0๔. ทุฦโข พาเลหิ สง.คโม. สมาคมกับคนพาล นำ ทุกข์มาให้. 0๕.น สง.คโม ปาปชเนน เสยฺโย. สมาคมกับคนชั่ว ไม่ดีเลย 0๖.น สนฺถวํ กาปุริเสน กยิรา. ไม่ควรทำความสนิทสนมกับคนชั่ว 0๗. อเวเรน จ สม.มนุติ. เวรย่อมระรับดีวยไม่มืเวร สุภาษดที่มาจาก ชุฑทกนิกาย ธรรมบท 0๘. อตฺตา หเว ข์ต เสยฺโย. ชนะตนนั้นแหละ เป็นดี 0๙.อต.ตา ห้ อคตโน นาโถ. ตนแล เป็นที่พงของตน ๒๐. อาโรค.ยปรมา ลาภฺา. ความไม่มืโรค เป็นลาภอย่างยิ่ง ๒0. อต.ตานํ. ทมยนุติ ปณฺฑิตา. บัณฑิต ย่อมสิกตน - เ1ยงความ กระ^ธรรม ๔๗๙ www.kalyanamitra.org

๒๒. อตฺตนา จงเตือนตนด้วยตนเอง ๒ฅ. อปปมาทํ ปสํสนุตื. บณฟ้ตปอมสรรเสริญความไฝประมาท ๒๔. สานิ กมมานิ นยนฺตื ทุ ฅตื. กรรมชั่วของตนเอง ปอมนำไปส่ทุคติ ๒๕. อกตํ ทุก.กฏํ เสยุโย. ความชั่ว ไม่ทำเสียเลยดีกว่า ๒๖. นตุถิ ราคสโม อค์.ติ. ไปเสมอด้วยราคะ ปอมไม่ม่ ๒๗.ขนฺตื ปรมํ ตโป ตืติฦขา. ขันติติอความอดทน เป็นตบะอปางยิ่ง ๒๘. จิตตสฺส ทมโถ สาธุ. การแกจิตเป็นความดี ๒๙. จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวทํ. จิตที่แกดีแสีว นำ สุขมาใษ้ ตอ. จิต.ตํ รก.เขถ เมธาวี. - ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต ตอ. สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ป็นาติ. การให้ธรรมะ ปอมชนะการให้ทั้งปวง ต๒ สพ.พรสํ ธมมรโส ขันาติ รสแห่งธรรม ปอมชนะรสทั้งปวง ตต. นิพ.พานํ ปรมํ สุขไ นิพพานเป็นสุขอปางยิ่ง ๔๘๐ 11ยงความนf(กระ{[ธรรม www.kalyanamitra.org

๓๔. สง.ขารา ปรมา ทุทขา. สังขาร เป็นทุกข์อย่างยิ่ง ๓๕. มโนปุพ.พง.คมา ธม.มา, ธรรมทั้งหสๆย แใจเป็นหัวหน้า ๓๖. ธม.มจารี สุขํ เสติ. ผู้ประพฤติธรรม อยู่เป็นสุข ๓๗. กิจฺโฉ มนุสุสปฏิลาโภ. ความได้เป็นมนุษย์เป็นการยาก ๓๘. กิจฺโฉ พุท.รานมุป.ปาโท. ความเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าเป็นการยาก ๓๙. สุทฺธิ อสุท.ริ ปจจต.ตํ. ความบรีสุทธี้แล่ะความไม่สุทธิ้ มีเฉพาะตัว ๔อ. นต.ถิ ปฌ.ฌาสมา อาภา. แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา ไม่มี ๔อ. ปมาโท มจฺจโน ปทํ. ความประมาท เป็นทางแห่งคว่ามตาย ๔๒. ปาปานํ อกรณํ สุขํ. การไม่ทำบาป นำ สุขมาให้ . ๔๓.ทนโต เสฎโจ มนุสุเสสุ. ในหยู่มนุษย์ ผู้สิกตนแด้ว เป็นผู้ประเสรีฐสุด ๔๔.นํตถิ โล่เก ฐนินทิโต.- คนไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก ๔๕. สุโข ปุฌ.ฌสุสุ อุจ.จโย* . การสังสมนุญr นำ สุขมาให้ เรียงความแก้กระ^ธรรม ๔๘จ www.kalyanamitra.org

๔๖. อภูตวาที นิรยํ อุเปติ. คนพูดไฝจริง ย่อมเฃ้าถึงนรก ๔๗. สุขา สงฆสฺส สามคดี. ความพร้อมเพรียงของหมู ใทีเกิดสุข ๔๘, สุขํ ยาว ชรา สิลํ. ดีลนำสุขมาใหดราบเท่าชรา ๔๙. นตฺถึ สนฺติปรํ สุขํ. ความสุข (อื่น) ยิ่งกริาความสงบไมม ๕อ. สุโข หเว สปปริเสนํ สงคโม. สมาคมกิบส์'ดบรุษ นำ สุขมาใฟ้ ๕๐. จิตฺตํ คุฤต สุขาวหํ! จิดที่คุ้มครองแล้ว นำ สุขมาให ๕๒. ปาปานิ ปริวซฺซเย. พึงละเว้นบาปทั้งหลาย ๕ฅ. วิสฺสาสปรมา ฌาดี. ความคุ้นเคยเป็นญาติอย่างยิ่ง ๕๔. อปุปมาเท ปโมทนติ. บัณฑิตย่อมบนเทีง่ความไม่ประมาท สุภารตที่มาจาก สังสุตฺตนิกาย สคาถวรรค ๕๕. นตฺถิ. อฤตส่ม เปมํ. ความรัก (อื่น) เสมอด้วยตน่ไม่มี ๕๖. กตสฺส นฤถิ ปฐก่ารํ. , ส์งที่ท่าแล้ว. ท่าคืนไม่ได้ ๔๘๒ ฬ'ยง!?ทามuflfทะดู้ธรรม www.kalyanamitra.org

๕๗.รฤเฃยฺย อดุตโน สาธุ๊ ลวณ โลณตํ ยถา. พึงรักษาความดีของตนไว้ ดงเกลือรักษา ความ่เคม. ๕๘! ททํ ฝ็?1ตานิ คนถดี. ^ห้ ย่อมผูกไมตรั1ว้1ด้ ๕๙. อนิจฺจา วัต สงุขารา. ส์งขารทั้งหลาย ไฝเที่ยงหนอ ๖๐. ว่ายเมเลว ปุริใส ยาว อฤถส นิปป.ทา. บุรุษพึงพยายามไปกว่าจะสำเร็จประโยซน สุภาษตที่มาจาก วนัยจฎก จุลลวรรค ๖๑.สุกรํ สาธุนา สาธ. ความดี อันคนดีทำง่าย ๖๒. สาธุ ปาเปน หุทกรํ. . ความดี อันคนชั่วทำยาก สุภาษิดที่มาจาก ชุททกนิกาย สุดตนิบาด ๖๓. กม.บุนา วต.ตดี ใสโก. สํตว้โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ๖๔.สุวิซาโน ภวํ โหดี. / ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ . เรียงความuf(กระ^ธรรม ๔๔๓ J www.kalyanamitra.org

บรรณานุกรม กรมการศาสนา ศาสนพรฉบับกรมการศาสนา. ฤรุงเทพ่ฯ ะ โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๘. คณาจารย์สำนกพิมพ์เลี่ยงเรยง ศาสํนพธี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเรยง ๒๕๔๙. คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเรยง ธรรมสืกบาชั้นตรี. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์เลี่ยงเรียง, ๒๕๔๖. คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเรียง พุทธประว้ตฉบับมาตรฐาน. กรุงเทพฯ : . โรงพิมพ์เลี่ยงเรียง, ๒๕๔๗. คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเรียง ธรรมวิภาคและคิหปฎิบัต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเรียง, ๒๕๓๕. คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์เลี่ยงเรียงวิมํ๒ศุเ เล่ม0ฉบบมาตรฐาน.กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์เลี่ยงเรียง, ๒๕๓๕. พันเอกปีน มุ ก้นต นนาสอนธรรมะตามห่เภสูตรฬาธรรุมตรึ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามqฏราซวิทยาลัย,๒๕๓๙. . พระใตร%กและอรรถกลาเฟสฉม้บมเrผกฏราชวิทยาลย กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามๆฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕. เฟกองธรรมสนามหลวง เรี่องสอบธร่รมสนามหลวงแมนกธรรม พ.ศ!ร]๕๔๓. กรุงเทพฯะ . . โรงพิมพ์การคาสนา, ๒๕๔๓. เฟกองธรรมสนามหลวง เรื่อง.สอบธรรมสนามหลวงแมนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๔. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์การคาสนา, ๒๕๔๔. เฟกองธรรมสนามหลวง เรื่องสอบธรรมสนามหลวงนมนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๕. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์การคาสนา, ๒๕๔๕. ๔๔๔ www.kalyanamitra.org

.แม่กองธรรมสนามหลวง เรื่องสัอ่นรร่รมฒๆรเหรrฬเผนกรรรม พ.ส.๒๕๔b. กรุงเทํพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๖. แม่กองธรรมสนามหลวง เรื่องสอบธรรมสนามหลวงนมนิกรรรม พ.ศ.๒๕๔๗. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๗. เฟกองธรรมสนามหลวง เรื่องสอนิรรรุมสนามหลวงนมนกรรรม พุ.ศ.๒๕๔๘. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา. ๒๕๔๘. วิ^มสิวัลย์ นนะนนวเรียงศวามนกักระ1 รรม นํครรรมนละรรรม^ทอาผั้ต่รึ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๙. วิชาการ กอฺงศาสนสืกษา กรมการศาสนา ทุทรประวัต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา,๒๕๓๗. . สูนย์พระสงพ์นัก\"เผยแผ่ธรรมสืกษาเ'ส์อพ์ฒนฺาสิงคม ยู่มือรรรมสืกษาชั้นตรี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอกพิมพ์Iท,๒๕๔๗. สุ^พ ปุญฌานุภาพ พระไตร!!ฎกฉนับสำหรบประชำชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามคุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. สมเดึจพระมหาศมณเวัา กรมพระยาวป็รญาณวโรรส ทุทรประวัต เล่ม ©-๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มห่าคุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘. สมเด็จพระลังฆราช(สา)ทุทรประวัด เล่ม ๓. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามๆฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘. สมเด็จพ่ระมหาสมณเวัา กรมพุระ;ยาวป็รญาณวโรรส นวโกวาท.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามคุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาว^ญาณวโรรส วิฟ้ยมุข เล่ม0. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาม(าฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔©. ๔๘๕ www.kalyanamitra.org

ซอชอบพระคุผฺและอนุโมทนาคับทุกท่าน รมีฝวนท่าคัญยึ๋งทำให้หนงรอเล่มนื้ฝาเร็จ อ.มาลินี สุวรรณฟ้ทักษ์ อ.ไพเราะห์ สุพรรณขันธ์ อ.สุรีย์ วรรณลิจ อ.อินทรา แววนีลานนท์ อ.อร่าม เจริญลาภ อ.สุภาภรณ์ วงส์ใหญ่ คุณนลุบล ประมาณพล คุณกอบคุล แววนีลานนท์ คุณจุฑาทพย์ คันทะนาด คุณฉลอง ศรีจนทร์ทอง คุณธวัซ-คุณทัศนีย์-คุณขัดสุดา รักสืล คุณรัซตซา-คุณบุญยกร่ บุญภัทราวาส คุณผดุง^ณเซยมจู .จงคงคา คุณซวโรจน์-ด.ซ.ธนภทร จงคงคา คุณลิริขัย-คุณพซนี ลีลาคุลเศรษฐ คุณซอรีนา จๆง่ คุณมณทิกา ลลากุลเศรษฐ์และครอบครัว คุณสุธรรม-คุณเรญ-คุณปารณ ยอดไกรศรี คุณดวงรัตน์-คุณนฺนท์นภัส งามเสงี่ยม คุณวรรฟ้ ที่ตั้งและครอบครัว คุณกซนัท-^อรรยา อุทัยเสวก คุณอรทัย เออณซพลและครอบครัว ; คุณรัฐภัทรี จงคงคา คุณปรีซา-คุณฉวีวรรณ รัฒนวีเชียร คุณผกาวัลย์ ล่นส่ง บรษัท แลนดบอก จำ กัด คุณกาญจน์-คุณอนงค์ งามเสงี่ยม ๔๘๖ www.kalyanamitra.org

ง!ผค£|1^ www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org