Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักธรรมตรี

Description: นักธรรมตรี

Search

Read the Text Version

๒.ถาม รรรมมีอุปการะมาก ได้แก่อะไรบ้าง บุคคลผู้ขาดธรรม นี้จุะเป็นเซ่นไร ? ตอบ ได้แก่ สติ ความระลึกได้ และส์'มปซฺญญะ ความรู้ตว บุคคลผู้ขาดธรรมข้อนี้จะเป็นคนหลงลืมจะทำจะชุเดหรือ, จะคิดอะไรมักผิดพลาด ๓. ถาม ธรรมคุ้มครองโลกมีอะไรบ้าง ? . ตอบ มีอยู่ ๒ อยาง คือ ๑. หิริ ความละอายแก่ใจ ๒.โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป ๔. ถาม ธรรฺมข้อนี้จะคุ้มครุองโลกได้อย่างไร ? ตอบ ธรรมข้อนั้นจะคุ้มครองโลกได้ เนื่องจากป้จจุบันโลกที่ เกิดวิกฤดการณโนด้านต่างๆ ส่วนหนื่ง์นั้นเป็นเพราะ ชาวโลกละทิ้งธรรม คือ หิริและโอดตัปปะ ไม่ละอาย แกใจไม่เกรงกลัวต่อผลแห่งความซว ขาดเมดดา กรุณา เป็นคนเห็นแก่ตัวจัด มีการเบียดเบียน กระทำทุจริต โดยุ วิธีต่างๆ หากชาวโลกมีธรรมคู่นี้ ตั้งมั่นโนใจแล้วก็จะ ซ่วยคุ้มครองโลกให้พ้นจากภาวะวิกฤตในปัจจุบันได้ ๕. ถาม โลกเดือดร้อนวุ่นวาย เพราะขาดธรรมอะไร ? ตอบ เพราะขาดธรรมคุ้มครุองโลก ๒ อย่าง ดือ ๑) หิริ ความละอายแก่ใจ ๒)โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป ๖. ถาม หิริกับโอต่ตัป็ปะ ตัางกันอยางไร ? ตอบ ต่างกันอย่างนี้ ๓๔๒ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

Q. หิริ คือ ความละอายใจตนเองที่จะประพฤติชั่ว ๒. ส่วนโอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลฃอ่งความชั่ว ที่ตนจะได้รับ . ๗.ถาม บุคคลมีกาย วาจาใจงดงาม เพราะปฎิบ้ติธรรมอะไร? ตอบ เพราะปฏิบัติธรรมอันทำให้งาม ๒ อย่าง คือ 0. ขันติ ความอดทน ๒.ใสรัจจะ ความเสงี่ยม ๘. ถาม ขันติ กับใสรัจจะ เป็นธรรมทำให้งามได้อย่างไร ? ตอบ ขันติ ความอดทน ใสรัจจะ คุวามเสงี่ยม ผู้ที่สมบูรณ์ ด้วยธรรมทั้ง ๒ นี้ ย่อมมีใจหนักแน่นไม่แสดงอาการ ออกมาให้ปรากฏแม้จะประสบความดีใจ เสียใจ ก็อด กลั้นได้ รักษากาย วาจา ใจให้สุภาพ สงบเส่งี่ยมเป็น ปกติไว!ด้ จึงทำให้งาม ๙. ถาม จะเรียกคนเซ่นไรว่าเป็นหนี้ทานผู้อื่นอยู่? ตอบ เรียกคนผู้!ด้รับอุปการะจากฟานแล้ว ว่าเป็นหนี้บุญคุณ่ ของท่าน เซ่นสุกเป็นหนี้มารดาบิดา คืษย์เป็นหนี้ครู อาจารย์ ประขาราษฎร์เป็นหนี้สมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน พุทธบริษัทเป็นหนี้พระพุทธเจ้า เมื่อเป็นหนี้บุญคุณ ท่านอยู่เซ่นนี้สมควรจะทำปฏิการะตอบแทนคุณท่านจึง จะเปลื้องหนี้เสียได้ 00.ถาม ผู้!ด้ซึ๋อว่ากตัญฌูกดเวทีบุคคลเพราะปฏิบัติตนอย่างไร ? ตอบ เพราะเป็นผ้ร้อุปการะที่ท่านทำแล้ว และตอบแทน ฃ่ ฃิ ร ธรรมวภาค ฅ๔ฅ www.kalyanamitra.org

Xoo.ถาม บุพการี ได้แก'บุคคลเซ่นไร พระพุทธเจ้าทรงดารงอยู่ ในฐานะบุพการีของพุทธบริษัทอย่างไร ? ตอบ พระพุทธเจ้าทรงกระทำอุปการะแก่พุทธบริษัทก่อํน ด้วย การทรงแนะนำส์งสอนให้รู้ด้ เซอบตาม่พระองค์ เพี่อให้ ได้บรรลุประโยชน์ทง ฅคีอ ประโยชน์!นโลกนี้ประโยชน์ ในโลกหน้า และประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน จึงพี่อ ว่า เป็นบุพการี /0๒.ถาม บุพการีและกตัญญกตเวที คือ บุคคลเซ่นไร จัดเป็น คู่ไวอย่างไรน้าง? ตอบ- บุพการี คือ บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน กตัญฌูกตเวที คือ บุคคลผู้รับอุปการะที่ท่านทำแล้ว และตอบแทน จัด เป็นคู่ไว้ดังนี้ - 0. บิดามารดา กับ บุตรธิดา ๒. ครูอาจารย์ กับ คืษย์ ฅ. พระมหากษัตริย์ กับ ประชาราษฎร์ ๔. พระพทธเจ้า กับ พทธบริษัท เป็นด้น ต๔๔ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ติกะ คือ หพ่วด ๓ พระรัดนดรย ดีอ นฦวอันประเสริฐ มี ฅ อปาง 0.พระพุทธ ๒.พระธรรุม ฅ. พระสงฆ์ 0. ท่านผู้สอุนใหประซาซนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธ่รรมวินัย ที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา ชื่อว่าพระพุทธเรัา \"๒โพระธรรมวินัยที่เป็นคา.สอนของท่าน ชื่อว่า พระธรรม ต. หมู่ซนที่ฟังคำส์งสอนของท'ฯนแด้ว่ปฏิบัติซอบตามพุระ ธรรมวินัย ชื่อว่า พระสงฆ์ เหตุที่เรียกพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่ารัตนะนั้น ท่าน อธิบายไวในอรรถกถาว่า เป็นวัตถุที่ควรยำเกรง มีค่ามาก หาค่า มีได้และเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด คุณชองรัดนะ มี ๓ อปาง 0,พฺรุะพุทธเจ้ารู้ดีเชอมได้ด้วยพระองคเองก่อนแฟิว สอน ใหผู้อื่นเตามด้วย ๒. พระธรรมฺย่อมรักษาผู้ปฏิบัติโม่ไหตกไปโนที่ชว www.kalyanamitra.org ธรรมวิภาค ต๔๕

๓. พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผู้อื่นให้กระทาตามด้วย พระพุทธเจ้า ตรัสรู้อริยส์'จ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ด้วยพระองค์เองก่อนแล้วจึงสอนโห้ผู้อื่นรู้ตามด้วย ใน เบื้องด้นทรง สอนพระปัญจวัคคีย์และพระยสะกับสหายให้รู้ตาม และทรงสอนต่อมาอีก ๔๕ ปี จนถึงวันปรินิพพาน พระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนนั้น คือ ห้ามไม่ให้ ทำความ ชั่วทั้งปวง ให้ทำความดี และทำจิตใจให้ผ่องใสเป็นด้น เป็นการสอ'^ห้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ เมื่อประพฤติตามแล้ว พระ ธรรมก็ย่อมรกษาผู้ประพฤติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่วทั้งในโลกนี้และ โลกหน้า พระสงฆ์ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำส์งสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ไดสอนภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสกาให้ทำตามด้วย ในเบื้องด้น ภิกษุ ๖๐ รูปแยก,ย้ายก้^อกไปสอนประชาชน และต่อมาพระ สงฆ์อื่นก็ปฏิบัติเซ่นเดียวกัน ตั้งแต่ครั้งพุทธกาลจนถึงทุกวันนี้ ด้วย เหตุนี้ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสง^จึงนับว่าเป็นผู้ที่มีคุณแก่ โลกจนหาที่เปริยบมิได้ อาการที่พระพุทธเจ้าทรงส์งสอน มื ๓ อย่าง ๐. ทรงสั่งสอนเพื่อจะให้ผู้ฟ้งรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมที่ควรรู ควรเห็น ๒. ทรงสั่งสอนมีเหตุที่ผู้ฟ้งอาจตรองตามให้เห็นจริงได้ ๓. ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ริบ ประโยซนเตยสมควรแก่ความปฏิบัติ ๓๔๖ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

o. ทร<(^สอนเพื่ฟ้ห้ผู]ง^เผ็jฬิงใเพรรรเที่ควร|Frm คือ พระองสัทรงพิจ่ารณาถึงอุปนิสัยของผู้ฟ้งแล้ว แสดงให้ เหม่าะสม กับเพศภาวะ สติปัญญา บารมีของผู้นั้น'เพื่อที่จะได้รู้ตาม พระองศ!ปด้วย ' ๒.ทรงสั่งสอนมีเหตุที่ผู้ฟื^อาจตรองดามใmห็นจริงได้ คือ พระองค์ทรงสั่งสอนให้ผู้ฟังสามารถใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริง ไ^ยต่นเอ่งโดยตรองตามกังค่วามเป็นจริงว่า ทำ เหตุอย่างนี้ย่อม .ได้อานิสงส์อย่างนี้ ฅ. ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบดตามย่อมได้ริบ ปริะโยซนโดยสมควรแกความปฏึบัติ คือ ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผู้ฟัง เกิดศรทธาในค์าสอน แล้วนำเอาคำสอนไปปฏิบัติตาม เพื่อปฏิบัติ ตามแล้ว ย่อมได้รับผลจากการปฏิบัติตาม โดยไฝจำกัดกาลเวลา โอวาทของพระพุทธเจ้า มี ฅ่ อย่าง 0. เว้นจากทุจริต คือ ประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ ๒.ประกอฺบส่จริต คือั ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ๓. ทำ ใจของตนไห้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจมีโลภ โกรธ หลง เป็นด้น โอวาทปาฏิโมกข์ ฅ ช้อ.คือ 0. สัพพะปาปัสสะ อะกะระณง ไมทำความชั่วทั้งปวง ๒. กุสะลัสสูปะสัมปะทา ประกอบความดี ต. สะจิตตะปะริโยทะปะนัง ทำ จิตของตนให้ผ่องใส มีเนี้อํความอย่างเดียวกับโอวาททั้ง ตช้อนี้ เพราะคำว่า บาป www.kalyanamitra.org อรรมวิภาค ต่๔๗

เกุศล ทุ่จริต มีความหมายเหมือนก้น และคาว่า บุญ บุศล สุจริต ก็^วา^มายเ't^นก้นใ5แทนก้นไต้ เพราะฉะนน โอวาททั้ง ปวง?งสรุปลงฺเป็น ๓ ข้อ ๐. ไฝทำความชั่วทั้งปวง คือ เว้นจากความประพฤติชั่ว ต้วยกายวาจา ใจ - ๒. ประกอบความดี คือุ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ. ฅ. ทำ จดใจชองดฬฺโท้ฝองใส คือฺ ทำ ตนใต้หมดจดจาก เครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น โอวาททั้ง ฅ นี้เป็นหลักคำสอนของพระพทธศาสนา ซึ๋ง พระทุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระสาวก ©,๒๕อ องค์ ท.วัดเวฬุวัน ใกล้ กรุงราชคฤห์ เมื่อวันเพ็ญมาฆมาส (เดือน ฅ) ภายหลังตรัสรู้แล้ว ๙ เดือน เรียกว่า โอวาทปาฏิโมกข้ ทุจริต คือความประพฤติชั่วมี ๓ อย่าง 0. กายทุจริต ประพฤติชั่วด้วยกๆย ๒. วจีทุจริต ประพฤติชั่วด้วยวาจา ๓. มโนทุจริต ประพฤติชั่วด้วยใจ กายทุจริต คือความประพฤติชั่วด้วยกาย ฅ อย่าง มี ฆ่า ลัตว์ Q ลักทรัพย์ 0 ประพฤติผิดในกาม © . วจีทุจริต คือความประพฤติชั่วด้วยวาจา ๔ อย่าง มี,พูด เท็จ 0 พูดส่อเสืยด © พูดคำหยาบ © พูดเพ้อเจ้อ © มโนทุจริต คือความประพฤติชั่วด้วยใจ ฅ อย่าง มีโลภอยาก ได้ของเขา © พยาบาทปองร้ายเขา © เห็นผิดจากคลองธรรม © ฅ๔๘ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ทุจฺริต ฅ อย่างนี้ เป็นกิจไม่ควรทำ ไม่ควรประพฤสิ สุจริต ความประพฤตชอบ มื ๓ อย่าง 0. กายสุจริต ประฬฤดชอบด้วยกาย ๒. วจีสุจริต ประพฤติชอบด้วยวาจา ฅ/มโนสุจริต ประพฤติชอบด้วยใจ กายสุจริต คือความปรุะพฤติชอบด้วยกาย.ต อย่าง มีเว้น จาก การฆ่าสัตว์ Q เว้นจากกการสักทรัพย์ 0 เว้นจากการ ประพฤติผิดในกาม Q วจีสุจริต คือความุประพฤติชอบด้วยวาจา ๔ อย่าง มีเว้น จากการพูดเท็จ 0 เว้นจากการพูดส่อเสียด 0 เว้นจากการพูดคา หยาบ ๑ เว้นจากการพูดเฟ้อเว้อ 0 มโนสุจริต คือความประพฤติชอบด้วยใจ ต อย่าง มีไม่ โลภอยากได้ของเขา 6 ไม่พยาบาทปองร้ายเขา 0 เห็นชอบดาม คลองธรรม 0 สุจริต ต อย่างนี้ เป็นกิจควรทำ ควฺรประพฤติ อๆศสมูล หมายถึง รากเหง้าชองอกศล มื ฅ อย่าง 0.โลภะ อยากได้ของเขา ๒.โทสิะ ติดประทุษร้ายเพ ๓.โมหะ หลงใม่ร้จฺริง ฅ่วามอย่ๆก่ได้ติงของของคนSijมาฟ้นของตน ท็ฮว่า โอภร; เมีอมีโลภะ ความไม่ดีอย่างอื่น เซน ความมักได้ ความมี'กม่าก www.kalyanamitra.org ธรรมวสาด ต๔๙

ความตระหนี่และฤารปล้นทรัพยเป็นต้น ก็เกิดขุน ความคิดร้ายต่อผู้อื่น ชื่อว่า โทสะ เมื่อมีโทล่ะแล้ว ความ ไม่ดีอย่างอื่น เซ่น ความจองล้างจองผลาญ ความจองเวร การทำร้าย และการฆ่า เป็นต้น ก็เกิดขึ้น ความหลงไม่เจริงว่า อะไรผด อะไรถูก ชื่อว่า โมหะ เมื่^ มี โมหะแล้ว ความไม่ดีอย่างอื่น เซ่น ควๅมลบหลู่คุณท่าน ความ ดีเสมอ \"ความถีอดีและความเห็นผิดเป็นซอบ่เป็น่ต้น่ ก็เกิดขึ้น อฺกศลมูลทั้ง ต เหล่านี้ อย่างใดอย่างหนี่งมีอย่แล้ว อๆคล - อย่างอื่น ทยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็เจริญมากขึ้น เหตุนั้น ควรละเสืย กศลมูล หมายถึง รากเหง้าของกุ่ศล มี ฅ อย่าง 0. อโลภะ ไม่อยากได้ของเขา ๒.อโทสะ ไม่คิดปรุะทุษร้ายเขา ๓. อโมหะ ไม่หลงงมงาย • ความไม่อยากได้อื่งของของผู้อื่นมาเแนของดนชื่อว่า อโลภะ เมื่อมือโลภะแล้ว ความดีอย่างอื่น คือ ความไม่อยากไต้ของคนอื่น ความยินดีต้วยสมบัติของตน ความเสียสละ ความชื่อสี'ตยิ แล่ะ ความสุจริตเป็นต้น ก็เกิดขึ้น ความไม่คิดร้ายเขา ชื่อว่า อโทสะ เมื่อมือโทสะแล้ว ความ ดีอย่างฺอื่น คือ ความเมตตากรุณา ความไม่จองล้างจองผลาญ การ พูดอ่อนโยน การประพฤติสิงที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นเป็นต้น ที่ยัง ไม่เกิดก็เกิดขึ้น ๓๕๐:' รรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ศวามไม่หลง คือ ความรู้ดามความร่นจริงว่า อะไรผิด อะไรถูก เป็นต้น ส์อว่า อโมหะ.เมื่อมี อโมหะ ความดือปางอี่น .ดือ ความพลอยยินดื ความว่างายสอนง่าย และความเหนชอบ ตามคลองธรรม เป็นต้น ก็เกิดขึ้น กุศลมูลทั้ง ต นี้ อปางใดอย่างหนึ๋งมื่อยู่แล้ว ความดือปาง อื่น ดังกล่าวนั้น ทั้ยงไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ก็เจริญมากขึ้น เหตุนั้น ควรให้เกิดมีในส์'นดาน สัปปุริสบญญัดิ คือ ช้อที่สัดบุรุบดั้งไว้ มี ฅ อย่าง 0. ทาน สละผิงชองชองดนเพอร่นประโยชน์ แก่ผู้อื่น ๒.ปีพฟัชชา ถือบวช ร่นอุบายเว้นจากเบียดเบียน กันและกน ๓. มาดาปีดุอุบีฏฐาน ปฎิบีคมารดาบีดาชองดน ไหเป็นอุช การให้บีนผิงชองที่ควรให้ ซื่อว่า หาน ทานของส์ตบุรุษ ซื่อ สัปปุริสทาน มี ๕ อย่าง ดือ ให้ด้วยความศรัทธา 0 ให้ด้วย ความเคารพต่อผู้รับและสิงของที่ตฟ้ห้ 0 ให้ตามเวลาที่ควรให้ 0 ให้ด้วยใจอนุเคราะห้ 0ให้โดยไม่กระทบกระเทือนตนและผู้อื่น Q การเว้นจากการเบียดเบียนผู้อื่น ซื่อว่า บีพพัชชา ในบาลี แสดงความหมายแฟงปัพพัซซาไว้ ๓ ประการ ดือ อหงสา ความ ไม่เบียดเบียน 0 ส'ิ ญญมะ ความสำรวม 0 ทมะ ความแกตน 0 การปรนนฟ้ตมารดาบิดา ด้วยประพฤติออนน้อม ด้วยการ www.kalyanamitra.org ธรรมวิภาค ต๕©

รับใ^ ด้วยการเซื่อฟังตั้งอยูในโอวาท และดวยทารบารุงตามหน้าที่ รเองบุตร ๕ ปุระการ คือ เลี้ยงท่านตอน 0 ทำ คืจฃองท่าน 0 ทำ รง วงสัสฺคุล 0 ประพฤติตนโห้เป็นคนควรรบมรดก 0 เมื่อท่านล่วง ลับไปแล้วทำบุญอุทิศให้ท่าน 0 อย่างนี้ ซื่อว่า มาตาป็ดุอป็ฏฐาน ธรรมฅอย่างนี้ เรียกอีกอย่างหนึ๋ง่ว่าบัณฑตบัญญัติ อปัณณกปฏิปทา ข้อปฏิบัติที่บุดคลทำแล้ว โม่มีความผิดพลาด ดือ ปฏิบัติ ไม่ผิด มี ๓ อย่าง 0.อินทรีย์สังวรล้ารวมอินทรีย์ ๖ ดือ ดา ^ จมูก ลิ้น ทาย ใจ โมให้อินดื อินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟ้งฺเรยง ดมุกลิ่น ลิ้มรส ถูกล้องโผฏฐพพ่ะ รู้ธรรมารมณ์ล้วยใจ ๒.โภชเน มัดล้ญฌุตา รู้จกประมาณในการกินอาหารแต่ พอสมควร โม่มุากโม่น้อย ฅ.ซาครียานุโยค่ ประกอบความเพียรเฟ้อจะชำระใจให้ หมดจดโม่เห็นแก่นอนมากนัก 0. อินทรีย์สังวร หมายถึง สำ รวมระวังในอินทรีย์ ๖ มี ตา 'คู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมให้ยินติยินร้ายใ'นุเวลาตาเห็นรูป หโด้ยิน แยง จมูกได้สูดดม เป็นด้น!โนเป็นเหตุให้จิตไม่สงบ 'คืง'ซ่านให้ มีสติรู้เท่าทันอยู่เสมอในอารมณ์ต่างร ๒.โก'ซเน มัดล้ญฌดา หมายถึง รู้จักปุระมาณในการกิน อาหารแต่พอสมควร แต่พอติให้เพียงพอต่อรางกาย ไม่มากจน เกินไปทำให้อิดอัด ไม่น้อยเกินไปจนทำให้หิวโหย รบประทาน เพออังอัต่ตภาพให้เป็นไปได้เท่านี้น ฅ๕๒ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

๓. ซาดริยานโยค หมายถึง การประกอบความเพียรเพื่อ ชำ ระใจให้หมดจดเป็นความเพียรของบุคคลพู้สื'รแ ไม่ว่าจะ ทำ กิจการงานใด®ใ ก็มีสติ สัมปชัญญะ ไมโห้ความห้อแห้ง่วงนอน ความเกียจคร้านเป็นต้น เข้ามาครอบงำจิตใจได้ บุญกิริยาวัตลุ คือ สิงเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ มี ฅ อย่ใ'3 0. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สิลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาคืล ๓. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา บุญกิริยาวัตถุนี้โดยย่อมี PI อย่าง โดยพิสดารมี 00 อย่าง ชํงจะปรากฏในหมวด 00 ข้างหน้า การบริจาคสิงของของตนแก่ ธรรมรภาค ๓๕๓ www.kalyanamitra.org

คนที่ควรฺให้ปัน มี 00 อย่าง คือ ข้าว นํ้า ผ้า พาหนะ มาลัย ของ หอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก และประทีป การถวายจตุปัจจัย แก่พระภิกษุสาม.เณรเพื่อบูชาดุณก็ดี ให้แก่ผู้ทาอุปการะก่อน มี มารดาบิดาเป็นต้น ตอบแทนคุณก็ดี ให้แก่คนตกทุกฃเต้ยาก เพื่อ อนุเคราะห์ก็ดี ที่อทำเฟ้โย .^ การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย คือ เร้นข้อที่พระพุทธเจฺาห้าม ทำ ตามข้อที่พระองค์อนุญาต เซน รักษาคืล ๕ คืล ๘ หรีออุโบสถ คืลของคฤหัสถ์ และรักษาคืล 00 ฃฺองสามเณร รักษาคืล ๒๒ฅ่เ ของพระภิกษุ ซื่อ สิลมัย การอบรมจิตยังกุศลให้เกิดขึ้นในลันดานก็ดี การเจริญสมถะ ทำ ใจให้สงบจากนิวรถ!ก็ดี การเจริญวิปัสสนา ใช้ปัญญาพิจารณา ให้ร้เหนตามความเป็นจริงก็ดี ซื่อ ภาวนามัย . s/ สามญญสักษณะ คือภาวะที่๓ดขึ้นเป็นไปแก่สังขารพั้เปวงเรียกอึกอย่างว่า ไตรสักษณ หมายถึงสักษณะประจัา ของสังขาร มี m อย่าง ๐. อนจจต่า ความเป็นของไม่เที่ยง ๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์ ๓. อมัดตตา ความ่เป็นของไม่ใช่ตน ค์าว่า สังขารทั้งปวง ในที่นี้ หมายถึง ลังขารที่ถูกปรุงแต่ง ให้เกิดขึ้นมีลักษณะที่เสมอเหมือนกันอยู่ P1 อย่าง ได้แท่ 0. อนจจตา หมายความว่า ความที่ลังขารทั้งปวงไม่อยู่ตง ๓๕๔^ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตฺลรด'''^^'ใ เมือเกิดมาแล้ว ย่อมโต ขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงวันดับไป่ในที่สุด นับว่าส์งขารทั้งปวงไม่เที่ยง ใอ. ทุกขตา หมายถึง ส์งขารทั้งปวงทนได้ยาก ไม่ลามารถ - ดำ รงทนอยู่อย่างเดิมได้ มืควๆมเป็นทุกข ถูกบีบดันจากการเกิด การแก่ การเจ็บ ตลอดเวลา ทนอยู่ในสภาพเดินฺไม่ได้ ๓. อนัตตตา หมายถึง ความเป็นของไม่ใช่ตน เป็นสภาพ ว่าง เปล่าหาสภาวะที่แท้จริงไม่ได้ หาเจ้าของไม่ได้Iม่มืใดรเป็นเล้ว ของลี่งใดไม่เที่ยง ลี่งนั้นเป็นทุกข์ สิงใดเป็นทุกข์ลี่งนั้น เป็นอนัตตา ป็ญหาและIฉลยหมวด ฅ 0.ถาม พระพุทธ พระธรรม พรฺะสงฆ์ คือใคร รวมเรียกว่า อะไร ? ตอบ ท่านผู้สฺอนประชุมซนใท้ประพฤติซฺอบด้วยภาย วา^าใ^ ตามพระธรรมวินย ที่ท่านเรียกว่าพระพุทธศาสนา ซื่อ ว่าพระพุทธเจ้าพระธรรมวินัยดำสิงสอนของพระพุทธ- เจ้าซื่อว่าพระธรรมหมู่ซนที่ฟ้งดำสอนของพ่า-ทุพร^จ็า ปฏิบัติซอบตามพระธรรมวินัย ซื่อว่า พระสงฆ์ วาม เรียกว่าพระรัตนตรัย tel. ถาม พระรัตนตรัยมือะไรบ้าง รัตนะที่ 0 หมายถึงใคร ? จงอธิบาย ตอบ มืพระพุทธ 0 พระธรรม 0 พระสงฆ 0 รัตนะทื 0 หมายถึง พระพุทธเจ้า ได้แก่ท่านผู้สอนใท้ประชุมขน ประพฤติซอบด้วยกายฺ วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัยที่ ธรรมวิภาค ต๕๕ www.kalyanamitra.org

ท่านเรียกว่า พระพทธศาสนา ๓. ถรม พระธรรมคืออะไร ? ตอบ. คือ พระธรรมวินัยที่เ!เนคาส์งสอนของพระพฬรเจ้า ๔. ถามฺ ผู้ปฐนัติคื ได้รับอานิสงส์อย่างไร ? ตอบ ได้รับอานิสงส์อย่างนี้ คือ•รักษาผู้ปฏบตไมโห้ตกไปในที่ ชั่ว ไดรับความสุขเนินชั้นๆ ตามสมควรแก่ความปฏิบัติ . เซ่น ธรรมคือ หิริและโอตตัปปะ มีอยู่ในผู!ด ย่อมนๆ. ผู้นี้นไมให้ทาทุจริตอันเนินเหตุให้ถูกลงโทษตํๆง-^ มีถูก ออกจากตำแหน่งและถูกคุมขัง เนินด้น ๕. ถาม ไตรสรณคมน์ คืออะไร ? ตอบ คือ การถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เนินสรณะ ๖. ถาม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ได้ซื่อว่า รัตนะ เพราะ เหตุไร? ตอบ เพราะเนินของมีคุณคาและหาได้ยาก•เหมีอนเพชรฎล จินดามีคามากนำประโยชน์และความสุขมร่ให้แก'จ้เป็น เจ้าของ ๗.ถาม ตำ ว่า พระธรรม ในรัตนะ•ฅ คืออะไร มีคุณอย่างไร ? ตอบ คือ คำ ชั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีคุณ: คือ รักษวผู้ ปฏิบัติไมให้ตกไปในที่ชั่ว ๘. ถาม รัตนะ ต มีอะไรบ้าง รัต:นะ ต นั้น มีคุณอย่างไร่ ? ตอบ มีพระพุทธ 0 พระธรฺรม 0 พระสงฆ์0 มีคุณอย่างนี้ คือ 0. พระพุทธเจ้ารู้ดรู้ชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผู้อนให้รู้ตาม ๓๕๖ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

๒. พระธรรมย่อมรักษาผู้ปฎิบติไฟ้ห้ตก!'บ่'^'^\"'^'®''^ ต. พระสงฆบ่ฎบ'ติชอบตามคำสอ'!^ขก^'!'^' ก แล้วสอนผู้อื่นให้กระทำตามา ๙.ถาม โอวาทของพระพ'พร!.จ้ามีกี่อย่า'3 มีอะไรบ้าง ? ตอบ มี ตอย่างคือ 0. เว้นจากทุจริต สือ ประพฤติส์วด้วยกาย วาวา\"^ว ๒.ประกอบสุจริต คือ ประพฤติ®อบด้าย\"''^ ๓.ทำ ใจของตน่ใ'ด้'พบตวตวาอtตวี่ย'บ'ต^าบบบ'''^^ บี^®^ โกรธ หลง เป็นด้น 00.ลาน ในโอวาท ๓ ข้อ'นั้น 'รอไห่น''ป็บตำสั'3คือ'บ้าบ'\"'! บ้อ ไหนเป็นคำสอน คือ คำ แนะ'พำ ? ตอบ ข้อ 0 เป็นคำส์งคือห้ามทำ ข้อ ๒ และข้อ ต เป็นคำ สอนคือคำแนะ'นำใทํทำ eo.ลาม ทุจริต คืออะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? คอบ ทุจริต คือประพฤติ'ชั่ว ประพฤติเสียหาย มี> คือ 0. ประพฤติชั่ว.ด้วยกาย เรียกว่า กายทุวริต ๒.ประพฤติ •ชั่วด้วยวาจา เรียกว่า วรีทุวริต ๓.ประพฤติชั่วด้วยใจ เรียกว่า มโน'สุว^ต 0๒.ลาม คนที่ริบปากคำเขาไว้แล้วแท่ไฝทำตามนั้น จัดเข้าใน ทุจริตข้อไหน? คอบ จัดเข้าในวรีทุจริต en.ลาม ยูลเ'ทตุที่ท่าใ'ห้บุคคลท่าตวามยัวเรียกว่าอ มอะไรบาง? ตอบ เรยกวาอทุศลยูล หมายสีงรากเหง้าของอกุตรมี\" คีอ 0.โลภะ อยฺากได้ ธรรมฺวิภาค ฅ๕๗ www.kalyanamitra.org

๒.โทสะ สิดุประทุษร้ายเขา ฅ.โมหะ หลงไม่เชุร้ง 0๔.ถาม เส์อโทสะเกิดฃึ้นแถ้าฝ็ผลเฐนฏม่ๆงไ9 ตอบ เส์อฝ็โทสะแล้ว ค่วามไม่ดีอย่างแน เ^เน ความชุองล้าง จองผลาญ ความชุองเวร การทุดคำหยาบทารร้าร้าย การทำร้าย และการฆ่าเขาเฐนต้น ที่ยังไม่เกิด กิเกิดเน ที่ฒิดฃึ้นแล้วกิเชุริญมากขึ้น ofi.ถาม เมอรู้ร้าอกุศลยูลเหล่า•ยันเกิดขึ้นไนไชุ ควรทำอย่างไา? ตอบ เมอรู้ร้าอกุศลมูลเหล่ายัน เกิดฃ็นแล้ว ควรละเล้ย 0๖.ถาม ความทุก่ฃที่มนุษย์กำลังประลบอแทุทร้นขึ้ดีลาเหตุมา จากอะไร ? ตอบ ที่สาเหตุมาจากลัณหา คีอความอยๆทฐประทาาต้ๅง .f ไล้แก' 0.กามตัณฺหา ความอยากในอารมถ!ที่น่ารักไคร้ปาหลใชุ ๒. ภวตัณหา ความอยากเป็นโน่นเป็น•นี่ ๓. ร้ภวตัณหา ความอยากไม่เป็นโน่นไม่เป็นนี่ 0๗.ถาม จะตับความทุกข์ใน■ร้อ 0๖ นั้นไต้อย่างไร? ตอุบ จะตับความทุกข์นี่นไล้ล้องปฐป๋สิตฺามอร้ย่มรรคฐรงค์ ๘ ล้อ ปัญญาอันเห็นชอบ ดำ ริชอบ เชุรชุาชอบ การงาน ชอุบ เลี้ยงชีพชอบ ทำ ความเห็ยรชอบ ตังลดีชอบ ลังไชุ ไร้ชอบ หริอปฐปติตามหลักไตรสิกขา ดีอดีล ฐมาฐ และปัญญา 0๔.ถาม คนเราจะประพฤติดีหริอประพฤติข์วดีมูลเหตุมาชุากอะไา? ตอบ คนประพฤติดีที่มูลเหตุมาชุาก อโลภะ อโหละ อไมหJ ฅ๕๘ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ส่วนคนประพฤติชั่วมีมูล''ใ^ดู^''^'ไ^'^^^^ โทสะ โมหะ 0๙.ถาม เพราะเหตุไร หลักคำสอนโนทางพรร^พุทรสวลปว^'^^®^ - เรื่องการทำโจซองคนโหหม^^^^วส''^'^ล^''^'^^^^^^ ^ ตอบ เพราะไจเป็นธรรมชาติส่าคัญ ถ้าไจเคราหมส'3ล''ป็''^ เหตุไห้ทำชั่ว การทำซั่วมีผลเป็นความทุกข์ถ้าไจผ่อง'''•ผ้ว ณป็นเหตุไห้ทำดี การทำความติมีพล''^ จ'^^^'^. ๒๐.ถาม สิงที่เป็นทตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ เรียกว่าอะไรโดยย่อ มีเท่าไร อะไรบ้าง ? . ตอบ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ โดยย่อมี ฅ ดีอ 0. ทานมัย บุญส่าเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สิลมัย บุญส่าเรีจด้วยการรักบาดีล ๓. ภาวนามัย บุญส่าเร็จด้วยการเจริญกาวนา ๒0.ถาม วัตถุที่ควรไห้ ห่านแสดงไว้ 6)๐ อย่าง มีอะไรบ้าง ? - ตอบ มีดังตอไปนคือ ข้าว นํ้า ผ้า พาหนะ มาลัย ชองหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอนที่พัก แสะประทีป แม้สิงอื่นอันเป็น อัปปิยะไมมีโทษก็สงเคราะห์เข้าไนหานวตบุนี้ ๒๒.ถาม บุญกิริยาวัตถุ ดีออะไร ไนบุญกิริยาวัตถุ ฅ นั้น ข้อไหน กพดความโลภ ความโกรธและความหลง ? ตอบ คือ สิงเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ 0. ทานมัย กำ จัดความโลภ ๒. สิลมัย กำ จัดความโกรธ ๓. ภาวนามัย กำ จัดความหลง ธรรมวํภาค ๓๕๙ www.kalyanamitra.org

จตุกกะ Ha ทมวด ๔ วุฑฒิ คีร เหตุแห่งความเจเญ ๔อย่าง 0. สัปปุ^อสังเอวะ คมสัค่บุรน ๒. ส้หผัเมัสรว่นะ ฟืงคำสั่งรอนของท่าน «1.โยสั่โรมนรุการ โคร่ครองโคออมาอห่ข่ฐม ๔. รมมานรมมท่ฏิป็ครุ ประพฤรุรรรมรมควรนก่0ร'^ 0. รุปปรุรสังเรวะ หมายฺสิง การคมหากมรุคบุรุน คนรุ มีคุณธรรม คีอ.การแรวงหาครูรุ เฟ้อพบแล้วก็เฬปฝ^กรุวเป็น สืษสั หมั่นไปมาหาเ[สนทนาไต่ถามล้วยความรุโชุโล้เชุฐง^ ด)ึ ๒. ส์ท่รัมมั่รรวนะ หมายถีง การตั้งใจฟ้งคำนนะนำสั่ง รอนของรัคบุรุน ด้วยความเคารพนอบนํอม (ห่งคำครู) ท. โยนโรมนรุการ หมายรง การโค-^ครองฟ็จารผา หมวดรรรมของรุคบุรุน ด้วยปัญญาว่าอะไรรุ อะไรไม่ด้ อปาง ฅ๖๐ . ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ไหนถูก อย่างไหํนผิด และพิจารณาเหตุผลว่า การทำเหตุเซ่นนี้จะ ไดรับผลเซ่นไร เป็นต้น (ตรองคำครู) ๔. ธมมานุธมมปฎป้ตร หมายถึง การปฏิบัติตามธรรมที่ สมควรแก่ธรรมที่เราสามารถฺนำมาปฏิบัติไต้เพราะเมื่อเราไต้คบคนดี ไต้พิงคำสอนนำมาไตร่ตรองจนสุดท้ายสามารถนำมาปฏิบัติไต้จริง และเห็นผลไต้จริง (พำตามครู) สรุป วุฑฒิ ๔ ฃ้อนี้เป็นหลักการส่งเสริมให้ถึงความเจริญ ก้าวห่บัา เริ่มต้นต้วยการแสวงหาครูดี ไต้พิงคำครู ไตร่ตรองคำที่ ครูสอน จนนำมา1 จักร ดือ ธรรมเป็นดุจล้อรถนำไปฟูดวามเจริญ ๔ อย่าง 0. ปฏิรูปเทสวาสะ อแในประเทศอนสมควร ๒.สัปปุริสูป็สสยะ คฃสัตบรุษ ๓. อัตตสัมมาปณิร ดงตนไว้ชอบ ๔.ปุพเพกตปญญตา ความแ^ฬูเล้คำความด1^1ธ1างก่อน 0.ปฏิรูปเทสวาสะ หมายถึง การอ!!ในประเทศที่สมควร อุดมสมบูรถilปต้วยพิซพันธุธัญญาหารเหมาะกัปการประกอบอาซ่พ มีสถานดีกษา โรงพยาบาล วัดวาอารามที่ดี มีเพื่อนฟ้านที่ดี มี คุณธรรม ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง' ๒. สปปุริสูปีสสยะ หมายถึง การเช้าไปคบล้าสมาคมกับ สัตบุรุษ (คนดี) เมื่อเข้าไปหาแล้วก็พิงคำแนะนำลังสอนของ ท้าน โดย เคารพ และนำมาปฏิบัติให้เกิดผลจริง ธรรมรภาค . ๓๖© www.kalyanamitra.org

ท. อดดสัมมาปรนริ หมายถึง การดั้งตนไว้โนความดี ฟม ตนที่ใจ คือ ต้องมีศรัทธา มีคืล มีสุตะ มีจาคะ และมีป้ญญา มี เป้าหมายชีวิต ส่วนร่างกาย คือ ต้องวางตัวให้เหมาะสมกับฐานะ ของตุนเอง ๔.1]พเพกดปุญญดา หมายถึง ความรนฐ้มีปุญความดี ทึ๋ได้ทำไว้แล้วในชาดก่อน*f ทำ ให้ซาตัปัจจุบันไต้รับความสุข ความ เจริญไฝมีอุปสรรคอะไรมากีดขวาง สรุปจักร๔นี้เป็นธรรมที่นำผู้ปฏิบัติไปส่ความเจริญสุขสม หวังและถึงจุดหมายปลายทางไต้อยางมีความสุขและปลอดภัย อดดิ ศือ ความไฝเทยงรร่รมนี ๔ อย่าง 0. สันทาคดี สำ เอียงเพราะรักใคร่กัน ๒.โทสาคดี สำ เอียงเพราะไฝชอบกัน ท.โมหาคดี สำ เอียงเพราะโง่เขลา ๔. ภยาคดี สำ เอียงเพราะกสัว 0. สันทาคดี หมายถึง ความสำเอียงโดยสิอเอาความรัก ใคร่พอ่ใจของดนเป็นที่ดั้ง จนทำให้เสียความยุติธรรม เซ่น การ ตัด สินคดีความทำให้คนผิดเป็นถูกคนถูกเป็นผิดเป็นต้น ๒.โทฺสาคดี หมายถึง ความสำเอียงโดยถือเอาความเกสยด ขํฬไม่ชอบกันเป็นที่ดั้ง จนทำให้เสียความยุติธรรม เพราะสุอำนาจ ความเกลียดซัง เซ่นคอยซัดขวางความนจริญของผู้อี่น เป็นต้น; ท.โมหาคดี หมายถึง ความสำเอียงด้วยความโง่เขลาเบา ๓๖๒ ธรรมวภาPi www.kalyanamitra.org

ป็ญญารู้เท่าใฝสิงการณ์ เป็นฺคนเชื่อคนง่ายจนทำให้คิดไมรอบคอบ จนทำเสิยความยุติธรรม เพ่ดวนตัดสินใจลงโทษ^ม่ได้ทำความ ผิดเพราะได้ฟ้งขาวมา เป็นด้น ๔. ภยาคติ หมายถึง ความลำเอียงด้วยความกลว หรือ เกรงใจ จึงทำให้เกิดความลงเสโลเลสงสิ'ยไม่มีความมนคงในตัวเอง ไมกสิาตัดสินใจ เพราะตกอยู่ในอำนาจของผูอื่น จนทำให้เสิย ค่วามยุติธรร่ม่ เซน ไมกิลาลงโทษผู้ทำความผิดเพราะเป็นสก หลานของผู้มีอิทธิพล เป็นด้น สรุป จะเป็นคนทเทยง่ธรรม่ได้พึง่เวนเสืยให้1กลจากอคติ ๔ ฃอนี้เพราะเชื่อทำข้อใดขอหนึ่งแล้วก็เป็นเหตุให้เสิยความยุติธรรม อีนดรายชองภิกษุสามเผรผู้บว่ชใหม่ คือ สิงหี่ทำโ'!^สามารฝิลำรงอยู่เป็นสมณะได้มี ๔ อย่าง 0. อุดทนค่อคำสังสอนไม่ได้ ๒. เป็นคนเห้นนกิปากนกทอง ฅ เพรดเพสินในกามตุณ ๔.รุกผู้หญิง 0.อดทนต่อลำสั่งสอนไม่ได้ หมายสิงไม่อดทนต่อคำสอน เบื่อหน่ายต่อคำสั่งสอนของพระยุปัซฌาย์อาจารย์ เชื่อสั่งให้ทำ อะไรุก1ม่ทำ เชื่อฐกตักเตือนก็ไม่ยอมรับไม่แก1ข เชื่อบวชเข้ามา แล้วด้องอดทนต่อความยากลำบากตรากดรำ อดทนต่อทุกขเวทนา อดทนต่อกิเลส และอดทนต่อความกระทบกระทั่งให้!ด้ รรรมรภาค ฅ๖ฅ่ www.kalyanamitra.org

ไรร. รนดนผ็นนก่ปากนกท้อง หมายถึง เป็นผู้มีดวาม โลภในปัจจัย ๔ ไม่รู้จักประมาณในการบริโภค เป็นผู้มักมาก การ เป็นพระภิกษุสามเณรนั้น ต้องรู้จักพิจารณาต่อการขบฉัน รู้จัก ประมาณตนเอง ผุ. เพรดเพลินในกามคุผ หมายถึง การบวช คือการสละ ต่ออารมณ์อันน่าพอใจ ทั้งรูป เสียง กลิ่นรส อัมผัส ที่เป็น อันตรายต่อพรหมจรรย์ เ^ราะเมื่อเสพคุ้นต่อสิงเหล่านี้ ความ เป็นพระภิกษุที่สมบูรณ์ก็จะค่อย ๆจางหายไปสุคท้ายก็ต้องลาสิกขา ๔. รกผู้หญิง หมายถึง การที่มีความรักนั้นย่อมทำให้ลุ่ม หลงแล้วตกอยูโนภวังค์แห่งความรัก ใจจะไม่อยู่กับเนี้อกับต้ว กิจ อันพิงกระทำจะถูกละไป เพราะถูกครอบงำต้วยความใคร่และเมื่อ ทนไม่ไต้ย่อมกอับกลายเป็นผู้แพในศาสนา ; ปราน คอ ความเพชรพยายามในทางที่ชอบ ๔ อย่าง 0. อังวรปราน ไพียรระวังบาปไฝใท้เกิดขึ้นในสนดาน ๒.ปหานปราน เพียรระวังบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓.ภาวนาปราน เพียรใท้กศสเกิดขึ้นในอัมดาน ๔.อนรักขนาปราน เพยรรักษากศลที่เกิดขึ้นแล้วไมโท้ฟอม 0. อังวรปราน หม่ายถึง ความอัาร่วมระวังไมโท้ความชั่ว เกิดขึ้นนั้น คือการสำรวมระวังให้อินทรีย์ ๖ไต้แกตา หจยูกลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดี ยินรัาย หล่งมัวเม่า จนไม่กล้าทำความชั่วไต้ ๒. ปห่านปราน หมายถึง ความตงใจละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ให้หมดลิ้นไป ลิ่งที่ไม่ดีต่างร่ที่ดีดอยู่ในใจ พยายาม ลด ละ เลิก ให้ ๓๖๔ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

หมดไปจากส์'นดาน . ๓. ภารน่าปราน หมายถึง คฺวามตั้ฟ้จทำส์งที่เป็นความฺดี ที่ยงไฝเกิดขึ้น ก็ทำ ให้เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ก็ทำ ให้เจริญฺยิ่งๆขึ้นไป อันไดแก สิล สมาธิ ปัญญา ๔. อนุรักขนาปราน หมายถึง s ความเพียรตั้งใจรักษาบุญ กุศ่ลความดีงามที่มีอ'ยู่แล้วในตนไมให้เส์อมไป หมั่นรักษาความดี งามนั้นให้ตั้งมั่นอยู่ในจิตใจตลอดไป สรุป ปราน ๔ ข้อนี้ เป็นความเพียรชอบเพี่อประคับประ ครองตนไมให้ตั้งอยู่ในความประมาท ให้ดำรงตนอยู่ในเล้น่ทางแห่ง ความดี อธิษฐานธรรม คือ ธรรมที่ควร^ใ^นใส ๔ อยำง 0. ปัญญา รอบเร่งที่ควรรู้ ๒.สัจจะ ความจริงใจ คือ ประพฤคืร่งใดก็โห้1ด้จริง ๓.จาคะ ความสละร่งที่เป็นข้าคืกแก่ความจริงใจ ๔.อุปสม่ะ ความสงบใจจาก่ร่งที่(ป็นข้าคืกแก่ความสงบ ๐. ปัญญา ห่มายถึง รัอบรูร่งที่ควรุเ รูถึงเหตุและผล ว่า เมี๋อทำเหตุอย่างนี้ย่อมไล้ผลเซนนี้ สิงนี้ควรทำ ส์งนี้1มควรทำ สิง นี้เป็นบุญ สิงนี้เป็นบาป ปัญญาจะเกิดขึ้นไล้ ก็ล้องอาคัยการคักษา ล้นคว้าหาความรู้ทั้งภายในคัว ภายนอกคัว ปัญญาเกิดขึ้นไล้๓ทาง คือฺ สดมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการฟืงฺ 0 จินดมยปัญญา ปัญญาเกิดจากควๅมคืด 0 ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิด^ก การเจริญภาวนา 0 ธรรมวิภาค ๓๖๕ www.kalyanamitra.org

๒. สัจจะ หมายถึง ความจริงใจ หรือ ความสัตย์จริง ไม่ วาจะคิดพูดหำ อะไรถึคิดพูดหำ สิงนั้นจริง*!และย่อมได้รับผลจริง^ จาคะ หมายถึง การส่ละสิงของ สละอารมณ์ ที๋เป็น ข้าคิกแก่ความจริงใจนั้น คือสละอคติ ๔ อย่างที่จะหำใหตัวเรานั้น เสียสัจจะไป ฉะนั้นจึงด้องสละเสิย ๔. ธุปสมะ หมาย่ถึง ความสงบใจจากสิงที่เป็นข้าคิก อนฺ ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็นด้น มักจะมาขัดขวาง ต่อการหำจิดใหํสงบ สรุป ธรรมะ ๔ข้อนั้น เป็นธรรมะที่หำใที่เราไม่ประมาทใน การคิกษาในการรักษาสัจจะในการสละ และในการหำจิดใจให้สงบ อิทรบาทดือคุณเด่รื่อฬmๆใท้สัๆเร็จความประสงค์๔อ£^ 0. ฉันทะ พอใจรักโครัในสิงนั้น ๒.รัรยะ เพียรประกอบสิงนั้น 09. จิตดะ เอาโจรเกใสิในสิงนั้นไม่วางรระ ๔.วมังสา หมั่นตรึกตรุองพีจารณาเหคุผสโนสิงนั้น 0. ฉันทะ หมายถึง ความพูอใจรักใครในสีงนั้น*!หรือปลก ความรักให้เกิดขึ้นโนด้านการคิกษาก็ดี ในการหำหนาที่การงานกดี ที่เมี่อหำแสวย่อมอำนวยประโยซนสุขให้แก่ดนเองและผู้ที่น เป็น ไปเพี่อคุญงามความดี ๒. วรึยะ หมายถึง ความเพียรพยาย่ามที่จะหำสิงนั้น่ให้ เสิรืจด้ว่ยความกล้าหาญ แม้จะยากลาบากฺก็ด่ามด้อฺงมุงมานะ บากบนไม่ย่อห้อต่ออุปสรรคที่มาขัดขวาง ตั้งหฟ้าตงดาหำไป จนกว่าจะประสบความสำเร็จ ๓๖๖ ธรรมวํภาค www.kalyanamitra.org

. ๓. จตตร; หมายถึง การเอาใจฝืกใฝ่ จดจ่อ มีสมาธิในสิง นั้นไมวางธุระหากมีอปสรรคเข้ามา ก็มีสติสัมปชัญญะคอยกำกับ อยู่เสมอไฝปล่อยวาง ๔.วมังสา หมายถึง การหมั่นัตรึกต่รองพิจารณาหาเหตุผล ในสิงที่ทำดวยป้ญญาใข้ปัญญาพิจารณาถึงสิงที่ทำว่าถูกต้องหรือไฝ มีผลติอฝางไรจากการทำสิงนั้น ปรับ่ปรุงการทำงานให้ดีขึ้น สรุป ธรรม ๔ ข้อนี้ เป็นธรรม่ที่เกื้อหนุนกันต้องทำให้ครบ ทุกข้อจึงจะสมความประสงค์อย่างแน่นอน คว่รทาครามไฝประมาทในที่ ๕ สถาน 0.ในการละกายทุจริต ประพฤติกายสจริต ๒.ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจีสุจริต ๓.ในการละมโนทุจริต ประพฤติมโนสุจริต ๔.ในการละความเทนผิด- ทำความเห็นให้ถูก ขอ อ-ต มีอธิบายว่า การงดทำความซั่วฺทางกาย วาจา ใจ ให้ทำความดีทาง กาย วาจา ใจ ต้วPวามไฝประมาท มีสติทุก เมื่อในขณะที่เรากำลังทำ กำลังพด กำลังคิดอฺยู่ หากรุ่งนั้นเป็น สิงที่ไฝดี พึงงดเว้นเสิย พึงทำแต่ความดียิ่งาขึ้นไป ข้อ ๔ การละความเห็นผิดดีอ่ ทำ ความเห็นให้ถูก หมา.ยถึง การละความเห็นผิดที่ยึดมั่นถึอมั่นในเบญจขันธ์ ที่คิดว่าเที่ยงแห้ แน่นอนความจริงหาเป็นเซนนั้นไฝ ดังนั้นจึงมีความเห็นให้ถูกว่า ทุกชีวิตที่อยู่บนโลกนี้ล้วนเป็นของไฝเที่ยง เป็นทุกข้ เป็นอนั้ตตา ธรรมรภาค ต๖๗ www.kalyanamitra.org

อีกอย่างหฬึ๋ง o. ระว้งไจไฝให้กำหนดในอๆรมผ์ฟ็นที่ดั้งแห่ง ความกำหนด ๒. ระวังใจโมให้ขดเคืองในอารมณ์เป็นที่ดั้งแห่ง ความขัคเคือง ๓.ระ>aใจไมให้หสงในอารมณ์น)นที่ดั้รแห่งความหดง ๔. ระวังใจไมโห้มวเมาในอารมณ์เป็นที่ดั้งแห่ง ความมวเมา การระวังใจ หมายถึง มีสติรู้เท่าทันต่อความเป็นไปของ ใจ เซ่น เกิดความกำหนัด ขัดเคือง หลง มัวเมา ก็รู้เท่าทัน ดวบคุม ใจไห1ด้อย่าปล่อยไปตามอ่ารมณ์ต่างๆ . 0. คำว่า กำ หนัด หมายถึง ความรกใคร่ ยินดีชอบใจอันมี ราคะเป็นเหตุ ๒.คำ ว่า ขัดเคือง หมายถึง ความเกลียดขัง ไม่ยินดี ไม่ ชอบใจ อันมีโทสะเป็นเหตุ •๓. คำ ว่า หดง หมายถึง ความโง่เขลา ขาดสติไม่มีความ รอบคอบ อันมีโมหะเป็นเหตุ ๔. คำ ว่า มัวฒา หมายถึง ความมกมุ่นเพลิดเพลินติดอยู่ ในอารมณ์นั้นอย่างฺไม่สร่างชา อันมีมทะเป็นัเหตุ ปาริสุทธสืล คือ คืดอันบริฟิทร ทัๆให้บุคคดประพฤคืพรหมจรรยใด บรสุหรบริบูร ๔ อย่างคือ 0. ปาดโมกขมังวร กำ รวมในพระปาดโมกข์ ๓๖๘ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

๒. อินทรียสังวร สัารวมอินทรีย์ ๖ ฅ. อๆชีวปๆรี]^ธ เฟิยงชีวิตโดยทางที่ชอบ ใม่หลอฺก่ ฟึวงเซๆแยงชีพ ๔.ป็จฺจยปีจจเวกซณะ miรณาเสิยก่อ!ฬึงบ่ร^ 0. ปาตึโมกซสังวร. หมายถึง ความสำรวมระวังในพระ ปาติโมกข์ ได้แก่ สืล ๒๒๗ ข้อซึ๋งเป็นพุทธบัญญัติ เว้นข้อที่ พ่ระองค์ทฺรฺงห้ามฺทำตามข้อที่พร่ะองค์ทรงอบุญาตโดยเคารพ ๒, อินทรียสังวร หมายถึง คํวามสำรวมอินทรีย์ ๖ ได้แก่ ตา 1^ จมูก ลิ้น กายฺ ใจ ไม่ไหุ้ยินดียินร้ายในเวลาเห็น รูป ฟ้งเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกด้องสัมผัส รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ อันเป็นเหตุให้ ดีลด่ๆงพุร้อย ไม่บริสุทธี้ ๓. อาชีวปารีพุทธิ หมายถึง การเลิ้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบ. ไม่ล่วงละเมิดธรรมเนียมของพระภิกษุ เซ่น พูดอวดคุณวิเศษฺที่ ไม่มีในตน ทาการงานผิดวินัย เป็นด้น ให้เลี้ยงชีวิตด้วยอาหาร บิณฑบาต ด้วยบิจจัย ๔ อันควรแก่สมณะ.บุรีโภค ๔. ปีจจยปีจจเวกขณะ หมายถึง การพิจารณาบิจจัย ๔ ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ก่อนบริโภคทุกครั้ง ให้ พิจารณาโดยุความเป็นธาตุและเป็นของปฎิถูล ไม่ได้บริโภคเพื่อ สนองตัณหา แต่บริโภคเพื่ออังอัดภาพฺให้เป็นไปเท่านั้น อารีกขกมม้ฎฐาน ดีอ การเจริญธรรมเพื่อรักษาใจให้ฝองใสมี ๔ อย่าง 0. พุทราบุสสดิ ระถึกถึงคุณชองพระพุทธเจ้าที่มีใน ธรรมวภาค ติ๖๙ www.kalyanamitra.org

พระองค์^ละทรง๓อฎสศนอื่น ๒.เมสดๆ แฝไมสรีfดค์สจะให้สัสว์1^ปวงเป็นสุข ทั่วหนๆ ฅอ่สุภะ พจๆรณๆรๆงกๆยของสนนสะผู้อื่นให้เห็น .ว่ๆไม่งๆม ๔. มรณสสสิ นกถึงควๆม่ดๆยอนจกมีแก่สน 0. พทธๆนุสสต หมายถึง การระถึกถึงคุณของพระทุทธ เจ้าทั่งที่เป็นบริสุทธิคุณ ปัญญาธิคุณและกรุณาธิคุณ ตามบท สวดสรร เสริญพทุ่ธคุณ ทั่ง ๙บท มี^หง ส์มมาส์'มทุทโฮ.เป็นตน ๒. เมตสๆ หมายถึง การ{เฝไมตรีจิตแก่สัตว์ทั่งปวง ที่ง ประกอบด้วย ความรุกความเมตตาปรารถนาดีตอสร่รพสัตว์ทั่ง หลายให1ดรบความสุขความเจริญโตยไมฺเลือกที่รักมักที่ซัง . ๓. อสุภะ หมายถึง การพจารณารีางกายของตนให้เห็น ว่าไฝงามโดยการแยกพจารณาโดยอาการ ๓๒ เรเน ผม ขน เล็บ โสโครก ไม่สวยไฝงาม แล้วบรรเทาความกำหนัดยินดีเถึย ๔. มรฌัสสต หม่ายถึง การนึกถึงความตายอันจักมีแก่ ตนเป็นกำรเจริญฺมรณานุสสติ นึกถงความตายฺอันจะมีแก่ตน เพื่อ ไฝให้ประมาทโนการดำรงซีวต่ พรหมวิทๆร คือ ธรรมเป็นเดรองอยู่ชองพรหม ๔ อยาง Q. เมสสๆ . ความรักใคร่ ๓๗0 ธรรมวํฦาค www.kalyanamitra.org

la. ก'เฌา ควๆมสงสาร ท,มุทิดๆ ความุพสอยยินดี ๔;อุฒกรท ความวางIฉย 0.เมตตา หมายลึง ค1ามฺรักที่ไฝเจือ่ปนด้วยกาม เป็นความ รูสิกที่ปรารกนาดีต่อผู้อื่น ซึ๋งมลทษณะนำความสุขไปให้เขาโดย ส่วนเดียว เป็นการไฝเจาะจงแสุณสมบดี1ฑสัดความปองร้ายผู้อื่น ๒.กรุณา หม่ายถึง ความรู้สิกสงสาร จนทนไม่ได้เมี่อเห็น ผู้อื่นได้รับความลาบาก มีลักษ่ณ่ะคิดขจัดทุกขบำรุงสุขให้เขาส่วน เดียว เป็นการไม่เจาะจง มึลุณสมุบดีกำจัคความฒยดเบียนผู้อื่น ๓. มุทิตา หมายถึง ความรู้สิกขื่นซมยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดี สุขสมหวังไม่อิจฉา มีลักษณะคอยอนุโมทนาเขาส่วนเดียว เป็นการ ไม่เจาะจง มีดุณสมบัดีกำจัดความอิจฉาริษยา ๔.ธุฒกขาหมายถึง ความร้สิกวางเฉยเป็นกลางไม่เอนเอียง แต่กใม่ได้หมายความว่าเฉยเมย มีลักษณะทำใจให้เป็นกลางต่อ ทุกลังเป็นการไม่เจาะจงมีคุฌสมบดีกำจัดความกระทบกระทํ่ง์ผู้อื่น สรุป พรหมวหารธรรมนี้ ผู้ใหญ่พึงเจริญอยูเป็นนิตย์ ดีอการมีสดีพิจารณาในกาย เวทนา จตํ ธรรม เป็น อารมณ์ มี ๔ อย่าง ดือ Q.กายานุบีสสนา ดือ มีสดีพิจารณากาย หมายถึง สดี พิจารณากายเป็นอารมณ์ว่า กายนื้ลักว่ากายไฝใช่ลัตวุ บุคคล ตว ตน เรา เขา ธรรมวภาค ฅ๗๐ www.kalyanamitra.org

lo. เรทนานุป็ฟิสนๆ คือ มีสดิพฺจๆรณๆIวทนๆ หมายถึง สด!ทํทนดพิจารณาในเฟิผ่ทคือสุชทถปีนละไ^ ไฝทกข์แพไรมณ์'ฑ่เรทนารสักไทเรทนา ส^ั บุคคลสัรดนเรา เซา ๓.fดดาบุป็สสนา คือ มีสดพิจารณาจิด หมายถึง สคื เฑหนดพิจารณาใจที่เศร้าหมอง หรึอฝองใสรนอารมณ์ ร่าโ^ก็สัเ^ใจโม่ใฟสัทว์ บุคคล ดรดน เรา เซา ๔;รมมานป็สสนา คือ มีสคืพิจารณาธรรม หมายถึง สด กำ หนดพิจารณารรรม่ที่เป็นกศลและอกุศลที่ฬ้เกดกบ ใจเป็นอารมณ์ร่าธรรมฬสักร่าธรรม ไมโซ่sin บุคคล ดวดน เรา เซา ธาตุกํมมุ้ฎฐาน คือการกำหนดรูกายร่ามาจากอะไรอันมีใซ่ซองเรามี ๔ อย่าง 6. ปฐวีธาตุ คือ ธาตุคืนหมายถึง ราตอันโดที่มี ลักษณะแข้นแข็งตัว ธาตุนั้นเป็นปฐวีธาตุ ปฐวีธาตุนั้นที่เป็นภายโน คือ ผม ขน เล็บ ฟ้น หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อโนกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไลัใหญ่ ไลัน้อย อาหารเก่า อาหารโหม ๒. อาโปธาตุ คือ ธาตุนํ้า หมายถึง ธาตุอันโดมีลักษณะ เอิบอาบ ธาตุนั้นเป็นอาโปธาตุ อาโปธำตุนั้นที่เป็นภายโน คือ ดี เสลด หนอ่ง เลือด เหงอ มันข้น นํ้าตา- นั้าลาย นํ้ามูก ไขข้อ มูตร เป็นต้น ๓๗๒ ธรรมริภาค www.kalyanamitra.org

๓. เตโชธาตุ คือ ธาตุไฟ หมายถึง ธาตุอันใดมีลักษณะ ร้อน ธาตุนั้นเป็นเด่โซธาตุ เตโซธาตุนั้นที่เป็นภายใน• คือ ไฟทอัง ร่างกายให้อบอุ่น ไฟยังร่างกายให้ทรุดโทรม ไฟที่ยังกายให้ กระวนกระวาย ไฟที่เผาอาหาริให้ย่อยฺ ๔. วาโยธาตุ คือ ธาตุอม หมายถึง ธาตุอันใดมีลักษณฺะ พัดไปมา ธฺาตุนั้นเป็นวาโยธาตุ วาโยธาตุนั้นที่เป็นภายใน คือ ลม พัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องล่าง ลมในห้อง ลมในไลั ลมพัดไป ดามตัว ลมหายใจ อริยสัจ คือ ความจริงฺสันประเสริฐ มี ๔ อย่าง ©.ทุกข์ ความไม่สบายกายไม่อบายใจ K IQ* สทุสัย เหตุให้ทุกข์เกิด ๓. นโรธ ความตับทุกข์ ๔. มรรค ข์อปฏบดให้ถึงความตับทุกข์ 0. ทุกข์ หมายถึง สภาวะที่ทนได้ยาก ความทุกข์มีหลาย ประการ มีทั้งทุกข์จร และทุกข์ประจำนำมาส์งความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ถึงความพลัดพลาด ไม่ร้จํกจบสิน 4- to.สมุทัย หมายถึง ตัณหา ความทะยานยาก ขึ้งเป็นเหตุ ให้ทุกข์ทั้งปวงเกิด ทั้งที่เป็นกาม.ตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา ๓^ นโรธ หมายถึง ความตับตัณหาได้โดยสินเ^''^ 'พราะ เป็นเหตุตับทุกข์ทั้งปวง เมื่อทุกข์ตับเพราะนิโรธ ' นิพพานกิปรากฏ แต่นิโรธเป็นผลของการตับตัณ' ^ www.kalyanamitra.org

ใเชเนการดบทุกข ๘. มร่รค หมายถึง ข้อปฎบัติใ1«ถึงความดับทุกข์ โดย ปฏบัติตามมรรคมีองค์ ๘ไดัแก่ เห็นชอบ(ดัมมาทิฏ!) ดาร ชอบ(ลํโมมาดังกัปปะ) เจรจาชอบ(ดัม.มาวาจา) การงาน ชอบ(ดัมมากัมมฺนตะ) เลี้ยงข้พชอบ(ดัมมาอาชีวะ) เฟ้ยร ชอบ(ดัมมาวายามะ)ตั้งสติชอบ(ดัมมาสติ) ตั้งใจชอบ(ดัมมาสมาธิ) ส^ อริยดัจ๔ สมุทัยกับมรรคเป็นเหตุ ทุกข์กับนิโรธเป็น ผล ปืญหานละเฉฟิยหมวด ๔ ©.ถาม วุฑฒิ คืออะไร มีส์อย่างตอบมาดู? ตอบ วุฑฒ คือ ธรรมเป็นเครี่องฺเจริญ มี ๔ อย่าง คือ 0.ดัปปุริสดังเส้วะคบฟานผู้ประพ่ฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ที่เริยกว่า ดัตบุรุษ ๒. ดัหธัมมัสสวนะ ฟังคำสอนของฟานโดยเคารพ ต.โยนิโสมนสิการตริตรุองให็รู้จักสิงที่คืหรือชั่วโดย อุบายที่ชอบ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิป้ตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ชั่งได้ตรองเห็นแล้ว ๒. ดาม วุฑ(นิข้อ๔มีอธิบายอย่างไร ? ตอบ ธัมมานุธมมปฏปัตติ คือ เมื่อได้คบดัตบุรุษ ฟังธรรมของ ฟานแล้วพิจารณา ตรุตรองโดยแยบคายแล้วปฏิบัติตาม สมควรแก่ตน ตามสมควรแก่หนาที่ ตามสมควรแก่เพส ทวิภาค www.kalyanamitra.org

ตามสมควรแก่วัย หรือตามที่ตนได้ตรองเหนแล้ว ที่อว่าธ'มมานุ่ธมมปฏิปัตติ- ๓. ถาม บุคคลผู้หวังความเจรืญ ควรด้งอยูในธรรมอะไร ร อะไรบ้าง ? ^ ดอุบ ควรตั้งอยูในวุฑฒธร่รม มี 0. คบส์ตบุรุษ - ๒. ฟ้งคำส์'งสอนของท่านโดยเคารพ ต.■ตรืตรองใบ้รู้จักสิงที่ติหรือ่ซั่วโดยอุบายที่ชอบ ๔. ประพฤติธรรมสมควร่แก่ธรรมที่งได้ตรองเห็นแล้ว ๔*ถาม ธรรมเป็นดุจล้อรถนาไปส่ความเจริญเรืยกว่าอะไร? ตอบ เรืยกว่า จักรธรรม ๕.ถาม ปุพฺเพกตปุฌญตา หมายความว่าอย่างไร ? ตอบ หมายความว่า ความเป็นผู้Iด้ท่าความด!ว่ในปางก่อน ๖.ถาม ธรรม ๔ อย่าง ดุจล้อรถนำไปส่ความเจริญ ข้อว่า \"คบ สิ'ตบุรุษคือคนติ\"นนจะนำไปผู้ความเจริญได้อย่างไร? อุอบฺ เมีอคบสิ'ตบุรุษแล้วย่อมเป็นเหดุใบ้คืดฺดพูดติทำติ อันก่อ ใบ้เกิดความสุขความเจริญทั้งแก่ตนเองและผู้อี่นฟันจาก ความทุกข์ความเติอด์ร้อน ทั้งยังใบ้ถึงความเจริญอย่าง ที่สุด คือ พระนิพพานได้ ๓f.ถาม อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ คืออะไรบ้าง ? ตอบ อันตรายของพระภิก่ษุสามเณร่ผู้บวชใหม่ คือ 0. อดทนตอคำสอนไมได้เบื่อต่อคำส์ง์สอนฃี้เกียจทำตาม ๒. เป็นํคนเห็นแก่ปากแก่บ้อง ทนความอดอยากไม่ได้ ต.เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิ่ง•เ ขึ้นไป ธรรมวภาค ต๗๕ www.kalyanamitra.org

๔. รักผู้หญิง ๘.ถาม อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวซใหมนนข้อไหนสำคัญที่ สุด เพราะเหตุอะไร ? ดอฺบ ข้อ ๓ สำ คัญ เพราะกามคุณเป็นส่วนใหญ่ อันตรายข้อ อื่น ๆย่อมรวมลงโนกามคณทั้งสิน ๙.ถาม ปราน๔มีอะไรบ้าง ? ตอบ ปราน๔มี . 0. สํงวรปราน เพียรระรังไมให้บาปเภิดขึ้นในอันดาน ๒. ปหานปราน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ต. ภาวนาปราน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในอันดาน ๔. อฺนุรักขุนาปราน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้ เส์อม ๐0.ถาม คนเสพยาเสพติด เพียรพยายามจะเลิกให้1ด้ขึ้อว่าตั้งอยู่ ในปรานข้อไหน ? ตอบ คนเสพยาเสพติด่ เพียรพยายามจะเลิกให้!ดตั้งอยู่ใน ปหานปราน 00.ถาม อธิษฐานรรรมคือ รรรมที่ควรตั้งไวในใจ มีกิอย่าง อะไร บ้าง ? ตอบ อธิษฐานธรรม คือ รรรมที่ควรตั้งไวในใจ มี ๔ อย่าง คือ 0. ปัญญา รอบรู้สิงที่ควรรู้ ๒. อัจจะ ความจริง คือ ประพฤติสิงใดก็ให้!ด้จริง' ต. จาคะ สละสิงที่เป็นข้าคักแก่ความจริง ๔. อุปสมะ สงบใจจากสิงที่เป็นข้าคักแก่ควฺามสงบ ©๒.ถาม ผู้ที่ทางานไม่สำเร็จผลตาม่ที่ม่งหมาย เพราะขาดคุณ ต๗๖ ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ธรรมอะไรบ้าง? ตอบ เพราะประพฤติอิทธิบาท๔ ปี o)ฉนทะ พอใจรัก่ใครโนส์งนั้ษ ๒)รริยะ เพียรประก่อบสิงนั้น . ๓)จิตตะ .เอาใจฝืก่ใฟ้!นสิงนั้น ไฝวางธุระ X ๔) วิมังสา หมั่นตริติรองพีจารณาเหตุผลในสิงนั้น ๐๓.ถาม ปัจจยป้จจเวกขณะ หมายความว่าอย่างไร ? ตอบ หมายความว่า พีจารฌาถึงคุณและโทษของป้จจิ'ย ๔ ก่อนบริโภคบ้จจิย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ. และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา ๐๔.ถาม ธาตุกัมมัฏฐาน ปีอุะไรบ้าง กำ หนดพิจารณาอย่างไร เริยกว่าธาตุกัมมัฏฐาน? ตอบ ปี ๔ คือ ธาตุดิน.ธาตุนํ้า ธาตุไฟ ธาตุสม กำ หนด พิจารณากายนั้ให้เห็นฺว่าเบินแติเพียงธาตุ ๔คือ ตินนํ้า ไฟ ลม ประชุมกันอยู่ ไม่ใช่เรา ไม่ใซของเรา เรียกว่า ธาตุกัมมัฏฐาน ๐๔.ถาม พรหมวิหาร๔ปีอะไรบ้าง? ตอบ พรหมวิหาร ๔ คือ 0. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาจะให้ผู้อี่นเป็นสุข ๒. กรุณา ความสงสารคิดจะช่วยให้ฟ้นทุกข์ ๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี ๔. อุเบกขา ความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจ ในเมื่อผู้อื่น ถึงความวิบัติ ๐๖.ถาม ในพรหมวิหาร๔ข้อนั้น ข้อไหนสัาตัญที่สุด เพราะอะไร? ^รรมรภาค ๓๗๗ www.kalyanamitra.org

ตอบ ข้อ ๔ คึอ อุเบกขาสำคัญที่สุด เพราะเป็นธรรม สนับสนุนใหใข้พรหมวิหาร ๓ ข้อ เบื้องต้นุไคัถูกต้อง่ ©๗.ถาม .อริยสํจ๔ฝ็อะไรบ้าง ? ตอบ อริยสัจ ๔ มี >s^ O. ทุกข์ คือ ความไฝสบายกาย ไม่สบายใจ )^ ๒. สมุทัย คือ เหตุใหเกิดทุกข์ s ต. นิโรธ คือ ความคับทุกข์ ๔. มรรค คือ ข้อปฏิฃัคืให้ถึงคฺวามคับทุกข์ ©๔.ถาม ปรารถนาสิงใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นอริยสัจข้อไหน? ตอบ ปรารถนาสิงใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นทุกข์ ©๙.ถาม คำ ว่าทุกข์!ด้แกิอะไร มีสาเหตุมาจากอะไร? ตอบ ได้แก่ความไม่สบายกายไม่สบายใจั มีสาเหตุมาจาก ตัณหา คอ ความทะยานอยาก ๓๗๘ ธร'รมวภาค www.kalyanamitra.org

ป็ญจกะ คือ หมวด ๕ อนนตรึยกรรม คือกรรมหนักฝ็ายบาปหามสวรรค์ ห้าม'นิพพาน มี ๕ อย่าง 0. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒.ปีตุฆาต ฆ่าบดา ฅ. อรหนตฆาต ฆ่าพระอรหนค์ ทำ ร้ายพระพหรเ$าจนสิงยงพระ ๔.โลห้ตุปบาท โลหิตให้ห้อขึ้นไป ๔. สังฆฬท ยงลงฆ่!ห้นตกนยกจากกัน ©-๒. มาตุฆาต ป็ตุฆาต หมายสิง การข่ามารดาแสะปีดฺา ของตน'ส์งเป็นผู้มีพระคุณต่อบุตรธิดาสุดจะคณานับให้ดายด้วยอาวุธ อย่างโดอย่างห'นง ^ดข่ามาร่ดาปีดาของตนได้ นับว่าเป็นผู้ อกตัญญยิ่งนัก ธรรมวภาค ต๗๙ www.kalyanamitra.org

๓. อรหนตฆาต หมายถึง การฆ่าพระอรหันต์ผู้ทเป็น่อริย- บุคคลหมดจดจากกิเลสอาสวะบริสุทธิ้ด้วยกาย วาจา ใจ เป็นที่ เคารพลํโกการบูชาของมหาซนที่งหลาย ผู้ที่ฆ่าพระอรหันต์นับว่า เป็นผู้ที่โหดเหี้ยนอำมหิต ฆ่าไต์แม้กระทั้งผู้ทรงสืล ๔. โอหุร}ปบาท หมายถึง การทำริายพระทุทรเจ้าจนถึง ยังพระโลหิตให้หัอ่หี้นไปพระองต์มีคุณต่อซาวโลกมาก ส์งสอนพุทธ- มริษัทโดยไฝเหินแก่ความเหน็ดเหนื่อย ผู้ใดพยายามทำร้าย พระพุทธเจ้า แมIม่ถึงกับฆ่า เพียงแต่ยั่งพระโลหิตให้ห้อขึ้นไปนับ เป็นบาปหนักที่สุด เซ่น พระเทวหัตที่กลิ้งสิลาหมายจะฆ่าพระองต์ แต่ถู่กแต่สะเก็ดหินเท่านั้น ๔. สังฆเภท หฺมายถึง การทำลายสงฆํให้แดกออกจากกัน พระสงฆ์ถือว่าเป็นเนื้อนาบุญุอันยอดเยี่ยมของซาวโลก ภิกษุใด ทาให้ภิกษุสงฆ์ที่อยู่วัดเดียวกันแดกความสามัคคีจนไม่ยอมทำอังม- กรรมร่วมกัน เซ่น ลงอโบสถ ทำ ปวารณา เป็นต้น ห้ามทำเป็นเด็ดขาด อสืณหป้อจเว่กขณ , คีอขอํปฏิบัตที่ควรพีจารณาทุกๆ วัน ๕ ประการ 0. เราม้ฅว่ามนก่ร่!เรรรมสา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปไต้ ๒ เรามืความเจ็บรนธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไฟ้1ต้ ๓. เรามีความดายรนธรรมคา ไม่ล่วงพ้นความดายไปไต้ ๓๘อ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

๔.เรฺาจะตองพสัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งเน่ ๕. เรามีกรรมเป็นของตน ทำ ดีจกไดดี ทำ ชั่วสักไดซฺว 0. เรามีดวามแก่เป็นธรรมดา ไม่อ่วงพ้นดวามแก่ไปได้ เมื่อพิจารณฺาอย่างนี้แล้ว ย่อมเป็นเครื่องบรรเท่าความประมาท ความมวเมา ความลุ่มหลงในวัย ไมโทํประมาทในการดำร่งรวิต ในแต่ละวัยก่อนความแก่จะมาถึง ๒. เรามีดวำมเจ็บเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้ ความเจ็บไข้ได้ป๋วยย่อมเกิต่ฃึ้นได้กบทุกคน และความเจ็บมีทั้ง รักษาได้และรักษาไฝได้ปะปนเาน่ไป สักวันหนึ่งเราจะด้องเจ็บ แน่นอน ดังนั้นพึงพิจารณาใ#ด้ทุกรวัน ๓. เรามีดวฺามตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไป ได้ ความตายไฝมีนิมิตหมาย จะตายเมื่อไรไฝมีใครรู้ แต่ที่รู้ร ก่อ่นตายเราควรทำอะไรใพึกบชีวิตที่มีอยู่ เพราะความตายเราหนี ไฝฟ้นฺเ๗นอน ๔. เราจะตองพสัดฺพรากจากของรักของชอบใจทั้งรน เป็นการยํ้าเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ทุกร่งที่เกิดขึ้นกับเราทั้งสิง ชอบใจและไฝซอฺบใจ ต่างด้องมีอันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปในที่ลุด เป็นการเตรื่ยฺมใจรับกับสภาพที่เป็นจริงท่จะเกิดขึ้นไฝว่าเราจะรู้ดัว หริอไฝรู้ดัวกิตาม เพึอป้องกันความเศร้าโศกเสิยใจ ใหคฺสาย ความยึดมั่นถึอมั่นเส์ย ๕ เรามีกรฺรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรม เป็นกำเนุด มีกรรมเป็นเผาพันธุ มีกรรมเป็นที่พึ๋งอาดัย เราทำกรรม ใดไร้ เราทำดีจกได้ตื■ ทำ ชั่วจกได้ชั่ว เราจะต้องเป็นผู้รับผลของ กรรมนั้น ธรรมวภาค ฅ๘© www.kalyanamitra.org

สรุป การพิจารณาทั้ง ๕ ประการนี้ พิงพิจารณาอยู่เนือง นิตย์ จะได!มประมาทในการเกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา เวสาร้ซชกรณธรรม คือธรรมที่เป็นเพุพุให้ฬดความแก![วกล้านสะองอๆจกล้า หาญมึ๕ อย่าง ๑. ล้หรา เชื่อร่งที่ควรเชื่อ ๒.ล้ส รักษากาย วาจา ให้เรียบฺรัอย ฬ. พาพุสัจจะความเป็นผู้คืกษามาก ๔. วริยารัมภะ ปรารภความเพียร ๕. ป้ญญา รอบเร่งที่ควร! ๑. สหธา หมายถึง ความเชื่อสิงที่ควรเชื่อ เป็นความเชื่อ ที่ประกอบห้วยเหตุและผลมี๔ ชนิด ไห้แก่กัมมสัทธา เชื่อกรรม 0 วิปากสัทธา เชื่อผลของกรรม 0 กัมมัส่สก่ดาสัทธา เชื่อความ ที่สัดว์มีกรรมเป็นของดน 0 ดถาคดโพธิสัทธา เชื่อปัญญาดรัสรู้ ของพระพุทธเจ้า 0 ๒. ล้ส หมายถึง การรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อยเป็น ปกคืดีงาม เร้นข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ไห้แก่ ปาติโมกชสังวร คืลบ้าง นิจคืลบ้าง อุโบสถคืลบ้าง เป็นห้น ๓.พ่าพุสัจจะ หมายถึง ความเป็นผูสืกษามาก เรียกว่า เป็น พพุสูด ประกอบห้วยองค์๕ คือไห้ยินไห้พิงมาก 0ทรงจำสิงที่!ดยิน ไห้พิง 0 ฟองจำไว!ห้ 0 ขึ้นใจ 0 เข้าใจดลอด 0 ๓๘๒ ธร?มว๊ภาค www.kalyanamitra.org

๔. วิริยารมภะ หมายถึง การปรารภความเพียรไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้นทำความเพียรไปจนกว่าจะประสบความสำเร็จ . ๔. ป็ญญา หมายถึง การรอบเส์งที่ควร! รูทั่วถึงเหตุ และผลถึงสิงที่ควรทำ เป็นการรอบ!ในกองสิงขาร ใท้พีจารณาถึง ความเป็นไตรลักษณ หมายเหตุ ธรรม ๕ อย่างนี้สงเคราะห์ลงในไตรสิกขาดังนี้ สืล สงเคราะห์เข้าโน สิลสิกขา วรยาฆัJภะ สงเคราะห์เข้าใน จตตสิกขา รทรทพาหุสิ^และikyญา สงเคราะห์เข้าใน^kyญาสิกขา องค์แฟงภกษุบวชใท่ฝ หมายถึง พระนว่กะ ลับ่วชใหฺม่ ยงไฝเกน ๔ พรรษาจะ ต้องปฏปัดใท้ถูกต้อง ๔ ประการดังนี้ 0.สำ รวมในพระปาดโมกข์เว้นข์อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ทำ ตามข้อที่ทรํงอนญาฅ ๒.สำ รวมอนทรืข์ ต้อระว้ง ดา หุ จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมโห้ดวามรนต้ยนรายดุรอบงำไต้ในเวลาที่เห็นรูปต้วย นัยนดาเป็นต้น ฅ. ความเป็นคนไฝเอกเกริกเฮฮา ๔. อยู่ในเสนาสนะอนสงัด ๔. ฝความเห็นชอบ 0. สำ รวมในพระปาดโมกข์ หมายถึง ความสำรวมระวัง รรรมรภาค ต๔๓ www.kalyanamitra.org

ในพระปาติโมกข์ ได้แก สิล ๒๒๗ ข้อ ทีเป็นพุทธบญญ้ติ พร้อม .ทั้งอภสมาจาร ๒.ส์ารวมรนทร้ย์ หมายถึง ความสำรวมอินทุรีย มี ตา. หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้อินติยินร้าย ในเวลาเหนรูป ฟ้งเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส สํมผัส รูธรรมารมณ์ด้วยใจ ฅ. ความเป็นคนไฝเอกเกรก่เฮฮา หมายถึง การไม่สํง เสียงดังคึกคะนอง เป็นผู้สงบ สำ รวมระร้งคำพูคุต่างๆ ตลอดถึง การแสดง ท่าทางที่ใม่เหมาะสมด้วย ๔^อยูโนแณาสนะอนสงัด หมายถึง การอยูในเสนาสนะ อันสงัด ปราศจากเสียงอึกกระทีกครึกโครม เป็นที่อยู่ที่ไม่ พลุกพล่านด้วยผู้คนและไม่เป็นที่มั่วสุมต่าง ๆ ๕. มีความเห็นชอบหมายถึง มีความเห็นที่คูกด้องดาม พระธรรมวินยที่พระพุทธเจ้าทรูงบัญญัติไว้ติแลว เรียกว่าอัมมาทีฏเ องค์แห่งรรรมกถึก คือนกเทศน์ มี ๕ ปฺระการ 0.แสดงธรรมไปดามลำดับ ไม่ดัดดัดให้ขาดความ ๒. อางเหตุผลแนะนำให้ผู้ห้งเขาใจ ๓. ดั้งจิดเมดดาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผห้ง Iษแ รา^^^^ ๕.ไมโเสดงธรรมกระทบดนและผู้อื่น คือไม่ยกดนเสียดสิผู้อื่น 0.แสดงธรรมไปดามลำดับ ไม่ดัดดัดให้ขาดความ หมาย ถึง แสดงธ่รรมจากง่ายไปหายาก รู้จกรักษาเวลาในการแสดงให้ ต๘๔ ธรรมรภาค www.kalyanamitra.org

เป็นประโยชน์มากที่สุด สามารถให้ผู้ฟิงตรองตามไปไสัดี ไฝสับสน ๒. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผูฟ้งเราใจ หมายถึง .การ ขี[๋ แจงลงเหตุผลของธรรมนนใ ให้ผู้ฟ้งเข้าใจได้อย่างซัตเจน เช่น ความสุฃ่จากการมทรัพย์ เหตุก็มาจากการทำทานมามาก เป็นด้น 01.ดงจด่เมดฅาปรารถนาให้เ&'ฒระโยชน์ตอเฟืง หมาย ถึง คิตหวังจะให้ผู้ฟ้งได้รับประโยชน์จากการฟิงแล้วนำไปปฏิบัติ . ๔.ไฝแลดงธรรมเพุราะเทนแคลาภ หมายถึง ไม่หนัก ในลาภ ยศ สรรเสริญ แต่อย่างใต มุงหวังแสตงธรรมของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าให้แก่บริษัท ๔ ได้เถึดความเลื่อมใสน้ฝ็มนำไป ปฏิบั'ที่!ด้ ๕.ไฝแลดงธรรมคระทบดนแล่ะผู้อื่น หมายถึง การไม่ยก ตนข่มผู้อื่นั ทั้งที่มาฟังและไม่ได้ม่าฟ้งไม่พูตเสัยตสิผู้อื่น ต้อง แสตงธรรมโตยความเคารพทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ธมมลุลวนานิล่งสั คือ อานิลงสัชองคารฟึงธรรม ๕ ประภกร 0. ผู้ฟิงธ่รรมย่อมได้ห้งอื่งที่ยังไม่เดยฟืง ๒.ร่งใดได้เดยฟ็งแล้วแดไม่เข้าใจชดย่อมเข้าใจรํงนั้นยัด 01. บรรเทาดวามลงสัยเถึยได้ ๔.ทำ ดวๆมเห็นให้สูคด้องได้ ๕. จ้ดของผู้ฟิงย่อมผ่องใล 0.ผู้ฟ็งธรรมย่อมได้ฟิงอื่งที่ยัaไม่เดยห้ง หมายถึง พระธรรม ธรรมรภาค ต๘๕ www.kalyanamitra.org

คำ ส์'งสอนของพระพุทธเจ้า 'ส์งมีมากมาย เมื่อมีผู้มาแสดงให้ฟัง ย่อมไดฟังส์งใหม่ๆ เพิ่มเตมพอกพูนไปเรื่อยๆ ๒. รํงใดได้เคยฟังแสว นด่ไฝเช้าใจชัด ย่อมเช้าใจร่งนั้น ชัด หมายถึง ธรรมะต่างๆที่เราเคยได้ฟังมาแล้วจากใครก็ตาม ^ม่เช้าใจชัด พอได้ฟังที่ฟานข่ยายความให้ฟังก็เช้าใจอย่างแจ่ม ๓. บรรเทาความสงสัยเรยได้ หมายถึง ธรรมต่างๆที่เรา ฟังมาแล้วเก็ดความสงสัยไม่เช้าใจ เราก็ไต่ถามผู้รูในขณะฟัง ธรรมจนคลายความสงสัยได้ หรือเราอาจได้ยินได้ฟังมาจากที่อี่น ซึ่งอาจช้ดอยูในใจพอได้ฟังก็คลายความสงสัยได้ ๔. ทำ ความเห็นให้สูกด้อง หมายถึง ผู้ฟังธรรมบางครั้ง อาจมีความเห็นทีไม่ตรงต่อความเ{เนจริง เพราะไม่ค่อยเซึ่อใน เรื่องกฎ แห่งกรรม พอได้ฟังคำชี้แจงขยายความในเรื่องกฎแห่ง กรรม เป็นด้น ย่อมทำความเห็นให้ตรงถูกด้องได้ง่าย ๕. จิดชองผู้ฟังย่อ่มผ่องใส หมายถึง จิตที่น้อมไปดาม กระแสธรรมที่พระธรรมกถึกบรฺรยายขยายความ คลายความ สงสัยทั้งปวง มีความเช้าใจถูกด้องย่อมได้รับผลขอ่งความสุข ความ ฝองใสของใจ สรุป อานิสงส์จากการฟังธรรมทั้ง ๕ ช้อนี้ ย่อมปังเกิดมี แก'ผู้ตั้งใจฟังธรรมแสวงหาความหลุดพ้น จะได้ผ่ลอย่างเต็มที่ต่อ เมื่อผู้ฟังตั้งใจฟังโดยเคารพ มีสติพิจารณาตามกระแสธรรมที่ห่าน แสดงตลอด ดังพุทธพจน์ที่ว่า ผู้ฟังด้วยติย่อฺม่ได้ปัญญา ต๘๖. ธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org

ร?> r r-ร b พละ คือฮรรมเรนกาลง ๕ ประการ 0. สัทธา ความเชื่อ ๒. วริยะ ความเพียร ฅ. สติ ความระลึกได้ ๔. สมาธิ ความตั้งใจมั่น ๔. ปีญญา ความรอบรู้ 0. ส้ทธา หมายถง ความเชื่อมั่นในส์งที่ตนกระทำว่ามีคุณ ประโยชน์ เพราะเชื่อฺต่อส์งที่ควรเชื่อ เป็นความเชื่อที่ประกอบด้วย ปัญญาไตร่ตรองด้วยเหตุและผล เซ่น เชื่อํในการตรัสรู้ของ พระพทธเจ้า บาป บุญ นรก สวรรค์มีจริง เป็นด้น ๒. วิริยะ หมายถึง ความเพียรเป็นแรงจูงใจบุ่งมั่นในการ ธรรมวิภาค ต๘๗ www.kalyanamitra.org

ทากิจทงปวฟ้,ม่ใฟ้ท้อถอยเมึอเจออุปสรรค หมายเอาความเพียร ในลโมฺมัปปธาน ๔ และส์มมาวายามะในอริยมรรค เป็นตน ๓. สติ หมายถึง ความระลึก่ไสั เป็นเหอุควบคมใจใท้ตง มั่นกิบกิจการที่กำลังทาอยูใท้มความรอบคอบ เพี่อไม่ใท้เกิดความ ผิดพลาด หมายเอาความร่ะลักซอบในอริยมรรค - ๔. สมาร หมายุถึง ความตงใจมั่นลับเนื่องมาจากสติ เป็น จตที่มีความตงมั่นอยู่ในอารมณเติยว มีสมาธิตลอดในการทากิจ ทุกอ่ย่างจนกว่าจะลัาเร็จ นี้หมายุเอาสมาธิที่ฟ้นองคุฌาน ๕. ปัญญา หมายถึง ความรอบเ เป็นกำลังอุดหนุนใจใหรู ฬาท้ใ^เหอุการณที่จะเกิดเนและเทมารถแสัเฬ นี้หมายเอ่าอริยปัญญา สรุป พลธรรมนี้ กินทริย์ ๕ ก็เรียก เพราะเป็นใหญในกิจ ของตน ธรรม๕ ประการนี้ สามารฺถกำลัดฺธรรมที่เป็นข้าสีกใด้ สือ สทธา กำ จัดอลัทธิยา สือ ความไม่เชื่อ และวิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงลัย วิริยะ กำ จัดโกลัขซะ คือ ความเกียจคริานได้ สุติ กำ จัดปมาทะ คือ ความประมาทเลินเลอได้ สมาร กำ จัดนิวรณธรรม คือ ส์งที่เป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้ บรรลุความคืโด้ ปัญญา กำ จัดอญาณะ คือ่ ความไม่รู้และโมหะ คือ ความ หลงได้ ๓๘๘ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

นิวรณ์ อกศลรรรมที่กนจิดใมไห้บรรสุดวามดี หรือซดฺขวางไมไห้ บรรสุดวามดี (.รืยกว่านิวรณ์ มี ๕ อย่าง 0. กามฉนทะ ดวามพฺอโจรกใดรไนอารมณ์ที่ชอบใจ มีรูปเป็นดีน ไรa. พยาบาท ปองร้ายผูที่น ๓. ถีนมีทระ ดวามที่จิดหดฟูแฟึะเดรบเดลิ้ม ๔. อุทรจจกุกธุจจะ ฟ้งซ่านและรำดาญ ๕. วจิกจฉา ลงเลไมตกลงได้ 0. กามฉันหะ หมายรง ความพอใจรักใครในกามคุณ ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส ส์มผ'ส ธรรมารมณ์ เรฺนผู้ที่รักสวยรักงาม จะแก1ด้ด้วยการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน ^ ๒. พยาบาท หมายรง การปองร้ายผู้อี่น มักเกิดจาก ความโกรธด้วยอำนาจโทสะ จนกลายเป็นความพยาบาทด้ดุจอง ด้างจองผลาญผู้อื่น จะแก1ด้ด้วยการแฝเมตตาพรหมวิหาร ๓.สื14มีทระ หมายรง ความที่จิตหดหู่และเคสิบเคลิ้ม มัก ย่อที่อต่อการงานที่ทำ จะแก1ด้ด้วยการเจริญอนุสสติกัมมัฏฐาน . ๕. อุทรจจอุกอุจจะ หมายรง ความฟ้งซ่านและรำคาญใจ อนเป็นเหลุให้ใจไม่มนคง คิดไปเรื่อยเป็อย จะแ^ด้ด้วยการเจริญ มรณัสสตินึกรงความตายอันจะมีแก่ตน' ๕.วิจิกจฉาหมายรง ความลังเลสงอัยตัตสินใจไม่ได้ จะ แก1ด้ด้วยการเจริญธาลุกัมมัฏฐาน ธรรมวิภาค ๓๘๙ www.kalyanamitra.org

ขันธ์ ดือ กองสังขารร่างกายซองมนุษย์ นม่งเป็น ๕ กอง 0. รูปขันธ์ กองรูป ๒. เวทนาขันธ์ กองเวทน่า ท. สัญญาขันธ์ กองสัญญา ๔. สังขารขันธ์ กองสังขาร ๕. วิญญาณขันธ์ กองวิญญาณ 0.รูป หมายถึง การรวมตัวของธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ลมไฟ ประซมกันเรนกาย รปในที่นี้.หมายเอา รปที่มีใจครอง เซ่น มนษย์ .สัตว์ดิรัจฉานเป็นต้น ๒. เวทน่า หมายถึง การรับรู้ความรู้สืกของอารฺมณ์ที่มา กระทบตา'คูจมูก ลิ้นกาย ใจ เกิดความรู้สิกเป็นสุขชอบใจ ทกฃ ไฝชอบใจหรือไม่สุข ไม่ทุกข์ เฉยๆ . ท. สัญญา หมายถึง ความจำไต้หมายรู้ เป็นควฺาม,จำสิงที่ รับรู้นั้นไว์!ต้ เซ่น รู้ว่าลิ้คือรูป ก็จำ ไต้ว่า นี้คือรูป เป็นต้น ๘. สังขาร หมายถึง สังขารที่ถูกปรุงแต่ง แยกแยะสิงที่รู้ และจำไต้ จะดีหรือชั่วเป็นกลางๆ เป็นสังขารที่เกิดจากสัญญา กับเวทนาทีไม่ไต้ปรุงแต่ง เป็นจิตตสังขารและเป็นนามธรรม ต่าง จากสังขารในไตรลักษณ์ ที่หมายเอาสิงที่ปรุงแต่งขึ้น ทั้งที่เป็น อุปาทีนนกสังขาร และอนุปาทีน่นกสังขารที่เป็นรูปธรรม ๕. วิญญาณ หมายถึง ความรู้สิกที่เกิดจากอายต่นะ ภายในกระทบกับอายตนะภายนอก เซ่น มีรูปมากระทบตาก็รู้ว่า เป็นรูปอะไร เป็นต้น ๓๙๐ ธรรมวภาค www.kalyanamitra.org

สรุป ฃัพ์๕ นี้โดยยณรียกว่า นามรูป นามุ ได้แก่เวทนา ส์ญญา สังขาร วิญญาณ รูป คงเป็นรูป ป็ผหๆนสะเฉลยหมวด ๕ ©.ถาม กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มซอเรียกว่าอะไร? ตอบ กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุดมีที่อเรียกว่า อนันตรียกรรม่ คือ 0. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปีตุฆาต ฆ่าบิดา ต. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ ๔.โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเพ้นถึงยง์พระโล่หิต ให้ห้อขึ้นไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากถัน ๒.ถาม เพราะเหตุไร จึงเป็นกรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด ? * ตอบ ที่เป็นบาปหนักที่สุด เพรฺาะห้ามสวรร่ต์ ห้ามนิพพ่าน่ ตั้งอยูในฐานปาราชิกของผู้นับถือพระพุทธศาสนา ห้าม .ไมให้ทำเด็ดขาด ๓. ถาม ในพระพุทธศาสนา บุคคลผู้ฆ่ามารดาบิดาได้ซื่อว่าเป็น ผู้ทำ อนันตริยกรรมจะได้รับโทษอ่ย่างไร ? .^ตอบ จะได้ร้บโทษคือ ด้องไปส่ทุคติ ห้ามสว่รรต์ห้ามนิพพาน ๔. ถาม จงอธิบายความหมายของคำต่อไปนี้ บิจจยบิจจเวกขณะ อภณหบิจจเวกขณะ? ตอบ ปีจจยปีจจเวกฺขณะคือพิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปัจจัย ๔ คือ จึวร บิณฑบาต เสนาสนะและเภสัชไม่บริโภค ด้วยตัณหา ธรรมวิภาค ๓๙๐ y www.kalyanamitra.org