คำ ว่า รู้อยู่ หมายถึง รู้เอง มีค่นบอกให้รู้ เห็นเอง หรือ ภิกษที่ต้องอาบัติบอกให้รู้ คำ ว่า อาบัติชั่วหยาบ หมายถึง อาบัติส์งฆาทเสส และ อาบัติปารารก หลกเกณฑ์การปรืบอาบัติ 0. ภิกษุรู้อยู่ แกล้งปกอดอาบัติส์งฆาทิเสส และอาบัติ ปารารกของภิกษุอี่น ต้องอาบัติปาจตุตีย์ ๒. แกล้งปกปิดอาบัติอย่างที่นนอกจากอาบติส์งฆาทิเสส และปารารก ต้องอาบัติทุกกฏ ฅ. ไม่ตั้งใจปกปิด แต่ไม่มีเหตุก็ไม่บอกภิกษรูปใดรูปหนึ๋ง ไม่เปินอาบัติ ติกชาบทที่ ๕ ภิกษุรู้อยู่ เป็นอป็ชผายะอุปสมบทกลบุตรสู้มีอายุหย่อนกว่า ๒๐ ป็ ดองปาจิตติย์ คำ ว่า มีอายุหย่อนกว่า ๒๐ ปี คอมีอายุยังไม่ถึง ๒0 ปี การนับอายุให้นับตั้งแต่วันเกิต เซ่น เกิดวันที่ 0 มกราคม ๒๕ฅอ จนถึงวันที่ 0 มกราคม ๒๕๕อ มีอายุครบ ๒อ ปี บรืฃูรถ! และ การนับอายุท่านให้นับเอาวันที่อยู่ในท้องไต้อีก ๙ เดือน ล้า อุปสมบทอายุไม่ถึง ๒๐ ปี ไม่นับเป็นภิกษุ ต้องถึอว่าเป็นสามเณร ๒๙๒ www.kalyanamitra.org
หรักฬผท์การ!!'ผัอาบัติ 0.ฟ้กษุร้อย่ใ'^อปสมบทฝ็ฝ็อายูไม่สิง ๒0 ปี พระอป้ซฌๆย์ าฃ ฃ จิ ฃา า ต้องอาบตปาจิตตีย์ ๒.พระคู่สวด และพระนั่งอันดับ ต้องอาบัติทุกกฎ สิกขาษทที่ ๖ ภกษุเอยู่ ชวนพ่อค้าผู้ช่อ!๓ๆษีเดินทางด้วยกน นม้เน ระยะบ้านหนึ๋ง ค้องปาจิตตีย์ คำ ว่า พ่อค้าผู้ช่อ!ฬาชี หมายถึง ผู้ลักลอบขนของหนี ภาษี พวกโจรทำการจปล้น คำ ว่าสินระยะบ้านหนึ๋งหมายถึง เดินทางในหมู่บ้านกาหนด ชั่วละแวกบ้านหนึ๋ง หรือกำหนดชั่วไก่บินตก โนบ้าที่Hiมีบ้าน กำ หนดครี่งโยชน์ คือ ๘ กิโลเมตร หลกเกณฑ์การปรืบอาฟ้ดิ 0. ภิกษูร้อย่ชวนพ่อต้าผ้ซ่อนภาษีเดินทางสินชั่วละแวก จฃน ฃ่ บานหนึ่ง หรือโนบ้าสินระยะทางครี่งโยชน์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒. ถ้าไม่รู้เดินทางด้วยกัน ไม่ต้องอาบัติ สิกขาบทที่ ๗ ดิกษุขวนผู้หญิงเดินทางด้วยกัน แม้สินระยะบ้างหนึ่ง ค้องปาจิตตีย์ วิฟัย ๒๙๓ www.kalyanamitra.org
คำ ว่า.หญิง ในสิกขาบทนี้หมายถึง ผู้หญิงทรู้เดียงสา ส่วนการปรับอาบัติเหมือน กบสิกขาบทข้อที่ ๖ สิกขาบทที่ ๘ ภิกษกล่าวคํดค้านพระรรรมเทศนาของพระพทรเจ้า กกษ อื่นห้ามไฝฟิง สงฆ์สวดประกาศข้อความนั้นจบ ค้องปาจ้ตดีย์ คำ ว่าสงฆ์สวดประกาศ หมายถึง สวดสมนุภาสน์ คือการ สวดประกาศห้ามไมให้ดื้อรั้นเป็นมดีสงฆ์ลงโทษแก่เธอ สวดจบ ต ครั้งเออยังไม่ละทิฏเต้องอาบัติปาจิตดีย ให้สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม คือ การขับออกจากหมู่ ห้ามภิกษุร่วมอุโบสถส์งฆกรรม ห้ามคบหา สมาคมด้วย สิกขาบทที่ ๙ ภิกษุคบภิกษุเช่นนั้น ค้อร่วมภินก็ดี ร่วมอุโบสถสังฆ กรรมก็ดี รวมนอนก็ดี ต้องปาจิตดีย์ สิกขาบทนี้ต่อเนื่องกับสิกขาบทที่ ๘ คือห้ามภิกษุคบหา สมาคมด้วยกับภิกษุผู้ดื้อรั้น คัด่ด้านธรรมวินัย สิกขาบทที่ 00 ภิกษุเกลี้ยกล่อมสวมเณรที่ภิกษุอื่นให้ฉิบหายแล้ว เพราะ โทษที่กล่าวค้ดค้านพระธรรมเทศนาของพระพทธเจ้า ให้เป็นผู้ อุป้ฎฐากก็ดี ร่วมกนก็ดี ร่วมนอนก็ดี ค้องปาจิดดีย์ ๒๙๔ วนัย www.kalyanamitra.org
คำ ว่า สมณุทเฑส หมายถึง สามเณรทุกล่าวคัดค้านพระ ธรรมวินัย คำ ว่า นาสนะ แปสว่า ให้ฉิบหายเสิย หมายถึงบทลงโทษ แก่พระภิกษุหรือสามเณ่รผู้ที่ไม่สมควรถึอเพศเป็นพระภิกษุหรือ สามเณร มี ศ วิธี คือ 0. ให้สิก ๒. ไล่ออกจากล่านัก ฅ. ห้ามภิกษุอื่นคบหา สมาคม ภิกษุรูปใดฺรู้ว่าสามเณรถูกนาสนะแล้ว คบหาสมาคมค้วยก็ คื รับไวิเป็นอุปัฏฐากก็คื ร่วมนอนก็ดีร่วมภินก็ดี ต้องอาบัดีปาจิตดีย์ ป็ญหาและเฉสย^ปานวรรคที่ ๗ 0. ถาม ภิกษุเห็นว่าเป็นมดคัวเล็กๆ เลยบี้ตาย เซ่นนี้เธอจะ อาบดีปาจิตดีย์หรือไม่? ตอบ ไม่ว่าสัต่ว์เล็กหรือใหญ่ อาบัตปาจิตตีย์เท่ากันหมด ๒.ถาม อธกรณ์ที่ชำระแล้วฺ อธิกรณใดที่รื้อที่นแล้วอาบัดี และ อันใดไม่อานัดี ? ตอบ อธิกรณ์ที่เป็นธรรมแล้วรื้อที่นขึ้นชำระใหม่ต้องปาจิตตีย์ และอันที่ไม่อาบัดีก็คือ อธิกรณ์นี้น่ไม่เป็นธรรุมจริงๆ. ๓. ถาม ภิกษุรู่ปหนึ๋งซวนหญ่งและพ่อค้าหนีภาษีเดินทางต้วยกัน สันระยะทางบ้านหนึ๋ง ภิกษุรูปนี้จะอาบฺดีอะไร กี่คัว เพราะว่าอะไร สิกขาบทที่เกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นสจิตตกะ หรืออจิตตกะ ? ตอบ อาบัดีปาจิตตีย์สองคัว เพราะในสิกขาบทห้ามซวนหญิง เดินทางต้วยกัน เดินระยะทางบ้านหนึ่งและซวนพ่อค้า หนีภาษีเดินทางเกินระยะบ้านหรือล้าทำ ต้องอาบัดิปา- จิตตีย์ สิกขาบทเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นสจิตตกะ วํนฺย ๒๙๕ www.kalyanamitra.org
ฟิห่ธรรมิกวรรคที่ ๘ มี 0๒ สิกขาบท สิกขาบทที่ 0 ภกษุประพฤตอนาจาร ภิกษอื่นดกIดือน พูดผดIพี้ยนว่า ยังไม่ได้ถามท่านผู้รู้ก่อน ช้าพเด้าจักไม่ดืกษาในรกซ่าบทนื้ ด้อง ปาจดดืยั รรรมดาภิกบุฐ้ดืกษายังไม่เร่งใด ควุรจะเร่งนั้น ควร ใด่ถามไล่เรยงท่านผู้เ หลกเกณฑ์การปรบอาบติ Q. พู้ว่ากล่าวตัทเตือนเป็นพระภิกษุและพูดํตกเตือนถูกต้อง ตามพระวินัย ไม่เร่อฟ้ง ต้องอาบัติปาจิตตืย์ ๒. ผู้ว่ากล่าวไม่ไต้เป็นพระภิกษุ ต้องอาบัติทุกกฎ สิกขาบทํที่ ๒ ภิกษุอื่นท่องปาดืโมกข์อยู่ ภิกษุนกด้งพูดให้เธอคลาย อุดสาหะ ด้องปาจิดดืยั ๒๙๖ ว๊ www.kalyanamitra.org
หลักเกณฑ์การป^อาบติ Q. พูดแกล้งให้คลายความเพียรในการสักษาหรือท่องบ่น พระบ่าติโมกข ต้องอาบติบ่าจิตติย์ ๒.พูดดูหมิ่นธรรมอย่างอี่นท!มใซ่พระวินย ต้องอาป๋ติทุกกฏ ต. ไม่บ่รารถนาจะแกล้ง แต้พูดตามเหตุที่บ่รารภถึง ไม่ ต้อง อาบัติ สิกขาบทที่ ๓ ภิกษุต้องอาบัติแล้วแกล้งพูดว่า ข้าพเจ้าพึ๋งรู้เดยวนเอง ว่า ข้อนึ๊มาในพระปาติโมกข์ ล้าภิกษุอื่นรู้อปูว่า เธอเคย เมาก่อนแล้ว แด่แกล้งพูด์กนเขาว่าฟ็งสวดประกาศดวามข้อนั้น เมื่อสงฆ์สวด ประกาศแล้ว แกล้งทำไฝเสิก ต้องปาจิตตีย์ หลักเกณฑ์การปรบอาบัติ 0. ภิกษุทำผิดแล้ว แกล้งพูดให้คนอื่นเข้าใจผิดขณะพีง พระปาติโมกข์ว่า ต้นต้องอาบัติเพราะไม่รู้ ต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ล้ามีภิกษุรูปอื่นจำไต้ว่าเคยพีงปาติโมกข์มาหลายครั้ง สงฆ์พีงสวดโมหาโรปนกรรม คือสวดบ่ระกาศลงโทษปรับอาบัติ ปาจิตตีย์ แก่เธอ เพราะตั้งใจพูดให้คนอื่นหลงเข้าใจผิด สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุโกรธให้ประหารแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์ วนัย ๒๙๗ www.kalyanamitra.org
คำ ว่า ประหาร หมายถึง ทำ ร้ายร่างกายให้บาดเจ็บ ด้วยกาย หรือด้วยของเนื่องด้วยกาย ด้วยของviโยนไป หรือซัดไป ซื่อว่าประหาร หลกเกณฑการ!เร้บอาบัติ 0. ประหารภิกษุด้วยกันเอง หรือใซัให้ค่นอื่นประหาร ด้อง อาบัติปาจิตตีย์ ๒,ประหารคนทึ๋!ม่ใซ่ภิกษุ หรือส์ตว์ติรัจฉานต้องอาป๋ติทุกกฏ สิกขาบทที่ a ภิกษุโกรร เงื้อมือดจให้ประหารแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์ หล'กเกณฑ์การปร้บอาบัติ 0.กิริยาที่ทำท่าเพียงเงื้อมือดุจจะให้ประหารด้วยความโกรธ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒, ถ้าต่อแพื่อป้องกันตนเอง ไม่ตองอาบัติ สิกขาบทที่ ๖ ภิกษุใจฬก์พีองภิก]^นต้3ยอาบตีต้!)ฆาหเลสไฝมืมูลฺต้องปา^ คำ ว่า อาบัติสังฆาทิเสสไม่มืมูอ หมายถึง การใส่ควฺาม ภิกษุว่าต้องอาบัติสังฆาทิเสส โดยไม่มืมูลความจริง คือเรื่องที่นำ มาโจทก์ นั้น ตนไม่ได้เห็นเอง หรือไม่มืใครพูดให้พีง หรือไม่มื ๒๙๘ วิใ4ย www.kalyanamitra.org
หลักฐานเพียง พอที่จะแสดงให้รู้ว่าภิกษุตองอาบัติจริง หลักเกณฑ์การปริบอาบต 0.โจทก์ด้วยอาบัติลังฆาทิเสสไม่มีมูล ด้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒.โจทก์ด้วยอาบัติถลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุก กฎ ทุพภาษิตที่ไม่มีมูล ตองอาบัติทุกกฎ ลักขาบทที่ ๗ ภิกษุแกล้งก่อดวามรำคาญให้เกดแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์ คำ ว่า แกล้งก่อความรำคาญ หมายถึง แกล้งพูดให้เกิดความ กังวลใจ เซ่นแกล้งพูดใส่ความเพี่ออาเล่นว่าเธอด้องอาบตหนกอย่าง โน้นอย่างนี้โดยไม่นึกถงความฺทุกข์ของเพี่อน ด้องอาบัติปาจิตตีย์ ลักขาบทที่ ๘ เมื่อภิกษุวิวาทกันอยู่ ภิกษุไปแอบพีงความ เพี่อจะไต้รู ว่าเขาว่าอะไรตนหรือพวกของตน ต้องปาจิตตีย์ หลักเกณฑ์การปริบอาบติ 0. ขณะเตินไปแอบพีง ด้องอาบัติทุกกฎ ๒. ขณะได้ยินเสิยง ด้องอาบัติปาจิตตีย์ ต. มีความด้องการจะจับพระภิกษุประพฤติอนาจาร แอบ พีงเธอคุยกับผู้หญิงสองตํอสอง ไม่ด้อ่งอาบัติ วินัย ๒๙๙ www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ๙ ภิกษุให้ฉันทะดือความยอมไฬ้เ!ทสังฆกรรมที่เป็นฺรรรมแสิว ภายหลังกลับดเตียนสงฆ์ผู้ทำกรรมนั้น ต้องปาจิตตีย์ คำ ว่า ให้ฒ้ตะ หมายถึง การมอบความพอใจของตนให้สงฆ์ ทำ ลังฆกรรมตามสมควร ในํกรณีที่ตนไม่สามารฤเช้าร่วมลังฆกรรมได้ . หลักเกณฑ์การปรบอาบติ 0. ภิกษุมอบฉันทะให้สงฆ์ทำลังฆกรรมแล้ว ภายหลังกลับ ติเตียนสงฆ์ผู้ทำลังฆกรรมที่เป็นธรรม ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒. ถ้าติเตียนลังฆ่กรรมที่สงฆ์ทำไม่คูกต้อง ไม่ต้องอาบัติ สิกขาบทที่ 00 เ4มอสงฆ์กำลังประชุมทนลัดรนข้อความข้อหนึ๋ง ภิกษุใด อยูในที่ประชุมนั้น จะหลีกไปในชผะที่ลัดสินข้อนั้นยังไม่เสร็จ ไม่ ให้ฉันทะก่อนลุกไปเลีย ต้องปาจิตตีย์ หลักเกณฑ์การปรบอาบัติ 0. ภิกษุลุกขึ้นต้องการจะให้กรรมุเลีย พอขยับจากที่ต้อง อาบัติทุกกฏ ๒. เตินออกไปพ้นจากที่ประชุม ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ฅ. เห็นสงฆ์ทำกรรมไม่เป็นธรรม เห็นว่าจะเภิดทะเลาะ วิวาทกัน หรือมีภิจที่จำเป็นอย่างอื่น ไม่ต้องอาบัติ . ตอ๐ รงย www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ 00 ภิกษุพร้อมกับสงฆให้จีว่รเป็นบำเหน็จ แก่ภิกษุรูปใดรูป หนึ๋งนส้ว ภายหลังกลบดิเดีย!๓กษุอื่นว่า ให้เพราะเห็นแก่หน้า ^--- 5!'_ ^ กัน ดองปาจิดด็ย หลักเกณฑ์การปรบอาบต . 0. ปนว่าภิกษุ^ด้รับสมมติ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒..ให้บริขารอย่างอื่นแล้วปน •ต้องอาบัติทุกกฎ ฅ.ภิกษุ!!ฝไต้ริบสมมติ และอนุปลัมบัน ต้องอาบัติทุกกฎ สิกขาบทที่ ๐๒ ภิกษุร้อยู่ น้อมลาภที่ทายกเขาดั้งใจจะถวายสงฆ์มาเพื่อ บดคล ด้องปาจิดดึย์ หลักเกณฑ์การปร้บอาบัต ๐. น้อมลาภ คือเอยปากขอตรง ๆ ให้เขามาถวายตัวเอง ขณะ'ดูดต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ถ้าไต้มาต้องอาบัติปาจิตตีย์ ปืญหาและเฉลยสหธรรมิกวรรคที่ ๘ ๐. ถาม ภิกษุกำลังฟิงพระปาติโมกข์อยู่กล่าวขึ้นว่า จะสวดไป ทาไม ฟ้งก็ไฝรู้เรื่องน่าเบื่อน่ารำคาญ เซ่นนี้ต้องอาบัติ อะไร เพราะเหตุไร ? ๓๐๐ www.kalyanamitra.org
ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะก่นสิกขาบท ๒. ถาม ภิกษุ ก ท่องนวโกวาทอยุ่ภิกษุข เข้าไป่พูดว่าคุณจะท่อง เอาไปทำไม ออกพรรษาก็สิก ไฝคิดบวชจนตาย ภิกษุ ก เหนต้วยเลยเลิกท่องนวโ.กวาท จะวินิจฉัยอาบัติโทษของ ภิกษุ ข ว่ากระไร จงวินิจฉัยมา ? ตอบ- วินิจฉัยว่า นวโกวาทแบ่งออกเป็น ๒ ดอนคือ วินย ดอนหนึ๋ง ธรรมดอนหนึ๋ง พูดแกล้งให้ภิกษุอื่นคลาย ความอุดสาหะ ตอนวินัยเป็นอาบัติปาจิตตีย์ ดอนธรรม เป็นอาบัติทุกกฏ.ล้าทั้งสองตอนเป็นอาบัติทุกอย่าง ฅ,ถาม อย่างไรเรียฺกว่า \"อาบัติไม่มีมล\"โจทก์อาบัติไม่มีมูลต้อง อาบัติอะไร ? ตอบ กำ หนดโดยอาการ ฅ คือ ไม่ไต้เห็น ๑ ไม่ไต้ยิน 0ไม่ รังเกียจว่าภิกษุนั้นต้องอาบัติซื่อนั้น 0 เรียกว่าอาบัติไม่มี มูลโจทก์อาบัติปาราข้ก่ต้องสิงฆาทิเสสโจทย์ต้วย สิงฆาทิเสสต้องปาจิตตีย์ โจทย์อาจาระวิบัติตากว่า สิ'งฺฆาทิเสส ควรปรับอาบัติปาจิตตีย์ เพราะเป็นมุสาวาท อยูในตัว ที่ว่านี้ประสงค์โม่มีมูลทั้งนั้น ๔. ถาม การจะจับภิกษุประพฤติชั่วโดยการแอบฟ้งจะไต้หรีอไม่? ตอบ ได!ม่เป็นอาบัติ แต่ต้องไม่โซการแอบฟ้งว่าเขาจะว่า อะไรตน ๕. ถาม ภิกษุคิดว่าล้านัอมลาภสงฆ์มาเพื่อตนต้องนิสัคคืยปาจิตตีย์ ตั3นี้จึงน้อมมาให้เพื่อาฟ้กษรูปอื่นมาไข้ ต้องอาบ้ติอะไร? จรช ตอบ ผิดเพราะในสิกขาบทปาจิตตีย์ ห้ามน้อมลาภสง^ฆ์มา เพื่อบดคล ๓0๒ วินัย www.kalyanamitra.org
รตนวรรคที๙ มี 00fกรเๆฃท สิกขาบททึ๋ 0 ภิกษุไม่ได้รับอนุญาตก่อน เข้าไปในห้องที่พระmแฝน ด้นเสด็จอยู่กับพระมเหสิ ด้องปๆจิฅด็ย์ หลักเกณฑ์การปรับอาบด 0. ภิกษุเข้าไปในห้องหรือสถานที่บรรทมของพระราชากับ พระมเหสื ต้องปาจิตตีย ๒. ถ้าไต้รบอนุญาต ไม่ต้องอาบัติ สิกขาบทที่ ๒ ภิกษุเห็นเครื่องบริโภคชองดฤห้สถ์ดกอยู่ ถือเอาเรน ชองเก็บ ได้เองก็ด้ ให้ผู้อื่นถือเอาก็ด้ ด้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ ชอ่งนั้นตกอยูในวัต หรือในที่อฺาศัย ด้องเก็บไว้!ห้แก่เจ้าชอง ถ้า ไม่เก็บด้องทุกกฎ วิใ!ย ฅ๐ติ www.kalyanamitra.org
คำ ว่า เครื่องบ^ค หมายถึง ของมีค่าต่าง ๆ เซ่น แก้ว แหวน เงิน ทอง เพชร พลอย เปีนต้นตลอดถึงเครื่องใช้สอย ของคนทั่วไป หลกเกณฑ์การปรบอาบัติ 0. เห็นของมีค่าต่าง ๆ ตกอยู่นอกเขตวัด นอกที่พักของ ตน หรือนอกที่รับนิมนต์ เก็บเองหรือใช้ให้คนอื่นเก็บ ต้องอาบัติ ปาจิตตีย์ ๒. ถ้าตกอยู่ในวัด ในเขตที่พักของตน หรือที่รับนิมนต์ไม่ เก็บ ต้องอาบัติทุกกฎ สิกขาบทที่ ฅ ภกษุไม่บอกลาภิกษุอื่นที่มีอยู่ในวัคฺก่อน เช้าไปบ้านใน เวลารืกาล ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่การด่วน คำ ว่า เวลาว้กาล หมายถึง เวลาตั้งแต่เที่ยงแล้วจนถึง อรุณวันใหม่ คำ ว่า การต่วน หมายถึง มีเหตุจำเป็นเร่งต่วน เซ่น ภิกษุ สูกงูกัด ต้องรืบไปหมอ ภิกษุอาพาธหนก เป็นต้น หลกเกณฑ์การปรบอาบัติ 0.ไม่บอกลาเช้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒. ถ้ามีภิจรืบต่วน ไม่ต้องอาบัติ ๓๐๔ วินัย www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุทำกล่องเข็ม ด้วยกระดูกก็ดี ด้วยงาก็ดึ ด้วยเซา ก็ดี ด้องปาจิตตีย์ ด้องดอยกล่องนนเสิยก่อน จิงแสัดงอาบัดดก สิกขาบทนี้มีข็อเรียกว่า เภทนกปาจิตตีย์ คือ อาบติปาจิต® ที่ ล่วงสัะเมิดนล้วด้องทบหรือทำลายให้แดกเสิยก่อน จิงแสัดง อาบัติดก หลักเกณฑ์การปรืบอาบัติ 0. ภิกษุทำเองหรีอใข็ให้คนอื่นทำกล่องเข็มที่ทำด้วยงา กระดูก หรือเขา ขณะทำ ด้องทุกกฎ ๒. ทำ เสรีจหรือได้มาด้องอาบัติปาจิตตีย์ ต. ถ้าเ!!นของที่ทำเสรีจแล้วมีคนอื่นเอามาถวาย ภิกษุ ใช้สอยด้องอาบัติทุกกฎ สิกขาบทที่ ๕ ภิกษุทำเตียงหรือดั่ง พึงทำให้มิเห้าเพียง ๘ นิ้วพระสัคด เว้นไว้นด่เฟแคร่ ถ้าทำให้เภินกำหนดนิ้ ด้องปาจิตตีย์ ด้องลัด ให1ด้ประมาผเสิยก่อนจิงแสัดงอาบัติดก สิกขาบทนี้มีซื่อเรียกว่า เฉทันกปาจิตตีย์ คออาบัติ ปาจิตตีย์ที่ล่วงละเมิดแล้วภิกษุด้องตัดให้!ด้ประมาณเสียก่อน จึง แสดงอาบัติตก วิใ!■ย ต๐๕ www.kalyanamitra.org
หลกเกณฑ์การปรบอาบต 0/ภิกษทำเองหรือใฟ้ห้ฟ้อี่นทา เกินประมาณที่กำหนด ต้อง อาบัติปาจิตตีย์ ๒.ไฝไต้ทำเองแต่มีคนนำมาถวายใซสอย ต้องอาบัติทุกกฏ คำ ว่า นิ้วพระสุคต คือ มีความยาวเท่ากับ ฅ นิ้วมีอฃอง คนปานกลางในป้จจบันนิ้ สิกขาบทที่ ๖ ภกษทำเตียงหรือดั่งทุ้มนุ่น ต้องปาจิตตีย์ ต้องรื้อเสิย ก่อนจึงแสดงอาบัตีตก หลกเกณฑ์การปรืบอาบติ 0. ภิกษุทำเองหรือโฟ้ห้คนอื่นทำเตียงหรือดั่งที่บัดต้วยนุ่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒. ทำ ของใช้อย่างอื่นนอกจากเตียงและดั่ง ต้องอาบัติทุกกฎ ต.ใช้สอยเตียงและดั่งที่ทำเสร็จแล้วเขาเอามาถวาย ต้อง อาบัติทุกกฎ สิกขาบทนิ้มีซื่อเรืยกว่า อุททาลนกปาจิตตีย์ คือปาจิตตีย์ ที่ล่วงละเมีตแต้ว ภิกษุจะต้องรื้อเสิย่ก่อนจึงจะแสดงอาบัติตก สิกขาบทที่ ๗ ภิกษุทำต้าปูนั่ง พึงทำให!ต้ประมาณ ๆ นั้นยาว ๒ คืบ ต0๖ วินัย www.kalyanamitra.org
พระสุคต กว้างคบครี่ง ชายคีบหนึ่ง ถาทำให้เกนกำหนดนี้ ต้อง ปฺาจิดคีย์ ต้องสัดให้1ต้ประมาผเสิยก่อน เงแสดงอาบัคีดก หลกเกณฑ์การปรบอาijli Q. ภิกษุทำเองต้องทำให้!ดตามกำหนด ถ้าทำเกินกำหนด ต้องอาบัติปาจิดตีย์ ๒. ใซให้คนอื่นุทำเกินประมาณ ขณะทำต้องอาบัติทุกกฏ ไต้ มาต้องอาบัติปาจิตตีย์ และสิกขาบทนี้เรียกว่า เฉทนกปาจิตตีย์ คือต้องตัดให้!ต้ประมาณเสิยก่อน จึงแสดงอาบัติดก คาว่า คีบพระสุคด มีประมาณเท่ากับ ๓ คืบของคนวัยกลาง คนในปัจจุบัน สิกขาบทที่ ๘ กิกษุทำผ้านุ่งอดแผล ฟ้งทำให้!ต้ประมาณ ๆ นั้นยาว ๔ คีบ พระสุคด กว้าง ๒ คีบ ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้อง ปฺาจิ๋ดคีย์ ต้องสัดให้!ต้ประมาผ่เสิยก่อนจึงแสดงอาบัคีดก หลักเกณฑ์การปรับอาบัติในสิกขาบทนี้ เหมีอนกับสิกขา บทที่ ๗ สิกขาบทที่ ๙ ภิกษุทำผ้าอาบนั้าฝน พึงทำให้!ต้ประมาณ ๆ นั้นยาว ๖ คีบพระสุคด กว้าง๒ คีบครึ๋ง ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้องปาจึดคีย์ ต้องสัดให้!ต้ประมาณเสิยก่อน จึงแสดงอาบัดดก รใรฺ'ย ฅ๐๗ www.kalyanamitra.org
ผ้าอาบนาฝน ดือผ้าที่ทรงอนุญาตโฟั' ฉพาะชฺวฤดูฝน ๔ เดือน การป^อาบัติในสิกขาบท่นี้ เหมือนกบสิกขาฃทที่ ๗ สิกขาบทที่ 00 ภิกษุทำจีวรให้เท่าจึวรพระสุคตก็ดื เภินกว่านั้นก็ดื ต้อง ปาจิตตีย์ ประมาณจีวรพระสุคตนั้นยาว ๙ ตีบพระสุคต กว้าง ๖ ตีบ ต้องตัตให้Iต้ประมาณเสิยก่อน จีงแสตงอาบัติตก หลัก!ภณท์โทรปร้บอาMนสิกขาบทนี้เหมือนก้บสิกขาบทที่๗ สรุปปาจิตตีย์ ๙๒ ๐. ล่วงเข้าแต้วทำให้เป็นคนเลว คือ กล่าวมุสา กล่าว ส่อเสิยด ดี่มสุราเมรัย โจทก์ด้วยอาบัติลังฆาทิเสสไม่มีมูล ๒. ล่วงเข้าแต้วทำให้เป็นคนดุร้าย คือ กล่าววาจาเสิยด แทงให้เจ็บใจ ให้ประหาร ให้ฆ่าลัตว์ติรัจฉาน ๓. ล่วงเข้าแต้วทำให้เสิยหาย คือ ประจานความซั่วฃอง กัน ปิดความชั่วของกันและกัน นั่งในที่ลับกับหญิงสองต่อสอง .เดินทางกับผู้หญิง เดินทางกับพ่อด้าหนีภาษี แอบฟ้งคนอื่นคุยกัน เห็นของตกเก็บเป็นของตน ๔.ล่วงเข้าแต้วถูกมองว่าชุกซน คือ เล่นจี้ เล่นนํ้า หสอน ภิกษุ ซ่อนของเพี่อต้อเล่น า51ดเย้าให้เกิดความรำคาญ ๕. ล่วงเข้าแต้วทำให้เสิยกิริยา คือ รับนีมนต์ฉนไว้ก่อน แต้วไปฉันในที่นีมนต์ทีหลังไม่แปงขนมที่เขาถวายมามากแก่ภิกษุอื่น เข้าไปนั่งแทรกแซงในสคุลที่เขากำลังบริโภคอาหารเป็นด้น ๖. ล่วงเข้าแต้วล่อความสะเพร่า คือ ใช้เสนาสนะสงฆ ๓๐๘ วิฟ้'ย www.kalyanamitra.org
แล้วไม่เก็บให้เรียบร้อย เอานํ้ามีตัวส์ตว์รดหญ้า บริโภคนํ้ามีตัวส์ตว์ ๗.ล่วงเซาแล้วทำให้เสิยฺธรรมเนียมของพระภิกษุ คือ นอน รีวมกับอนุปสัมบัน ห้ามโภชนะแล้วฉันอีก ฉันอาหารโนเวลาวิกาล ฉันข.องที่ ไม่ประเคน ปืญทาและเฉลยรดนวรรคที่ ๙ 0. ถาม ภิกษุถ้าไม่ได้รับอนุญาตก้าวข้ามธรณีประตู ที่พระเจ้า แผ่นดินประทับกับพระมเหสี อาการที่จะอาบัติตัดสิน กันตอนโดและอาบัติอะไร ? .ตอบ เมื่อภิกษุก้าวล่วงธรณีประตูเข้าไป จฺะด้องอาบัติปาจิตตีย์ ๒,ถาม ภิกษุเห็นของตกอยู่นอกรัด เก็บได้ฬรีอไม่ ถ้าตกโนรัดด้อง เก็บไหม ? ตอบฺ เก็บไม่ได้ ถ้าเก็บด้องปาจิตตีย์ ถ้าตกโนรัดด้องเก็บและ ประกาศหาเจ้าของ ถ้าไม่เก็บด้องทุกกฎ ๓. ถาม ภิกษุเข้าบ้านโนเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื่นโนรัด ด้องอาบัติอะไร หริอไม่ ? ตอบ ภิกษุเข้าบ้านโนเวลาวิกาล ไม่บอกลาภิกษุอื่นโนรัด ด้อง อาบัติปาจิตตีย์ เว้นไร้แต่มีกิจริบด่วน ๔. ถาม ๓ทนกปาจิตตีย์ คืออะไร อยู่โนสิกขาบทเรื่องโด ถ้าเอา กล่องเข็มที่ทำจากงาข้างของภิกษุอื่นมาโข้อาบัติหริอไม่? ตอบ เภทนกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ที่ด้องด่อยกล่องเข็มโห้แดก เสียก้อนจึงแสดงอาบัติตก เอากล่องเข็มภิกษุอื่นมาโข้ ด้องทุกกฎ และ๓ทนกปาจิตตีย์มีเพียงสิกขาบทเตียว เท่านั้น วิฟ้ย ๓๐๙ www.kalyanamitra.org
๕. ถาม มีทายกถ่วายเตียงนอนแก่ภิกษุรูปหนึ๋ง แต่มีเท้าสูงเกิน กำหนด ภิกษุนั้นได้นำไปใซ เซ่นนี้ ควรจะปรับอาบัติ s ปาจิตตีย์ได้หรือไม่? ตอบ จะปรับอาบัติปาจิตตีย์Iม่ได้ เพร่าะเตียงนั้นเธอไม่ได้ทำ ขึ้นเอง แต่เมื่อเอ่อใช้สอยด้องอาบัติทุกกฎ ๖. ถาม ที่เรืยกว่าอาบัติปาจิตตีย์ตามสิกขาบทว่าเฉทนกปาจิตตีย์ และ๓ทนกปาจิตตีย์นั้น หมายความว่าอย่างไร ? ตอบ หมายความว่า ภิกษุทำผ้าปูนั้งเกินประมาณ ทำ ผ้านุ่งปิต แผลเกินประมาณทำผ้าอาบนั้าฝนเกินประมาณทำจิวร เท่าจีวรพระสุคตก็ตี เกินกว่านั้นก็ตี ด้องปาจิตตีย์ ด้อง ตัตให1ด้ประมาณเสิยก่อนจึงแสตงอาบัติตก อย่างนี้ เรืยกว่า เฉทนกปาจิตตีย์ ภิกษุทำกล่องเข็ม ด้วยกระดูก ด้วยงา ด้วยเขา ด้องปาจิตตีย์ ด้องต่อยกล่องนี้เสียก่อน จึงแสตงอาบัติตก อย่างนี้เรืยกว่า เภทนกปาจิตตีย์ Ploo วิใ!ย www.kalyanamitra.org
กัณฑ์ท ๘ ปาฏเทสนืยะ ๔ สิกขาบท ปาฎเทสนียะ แปลว่า อาบัติที่ต้องแสดงคืน คืออาบัติที่ ภิกษูต้องแล้วจะต้องแสดงอาบัติต่อหน้าภิกษรูปใดรูปหนึ๋งจึงจะ จ <141 ฃั ฟันไต้ จัดเป็นอาบัติที่มีโทษเบา มี ๔ สิกขาบท รกขาบทที่ 0 ภิกษุทั]ชองเคี้ยวชองฉันแด่มือนางภิกษุณี^โช่ญาติ ด้วย มือชองตนมาบริโภค ด้องปาฏิ่เทสนียะ หลกเกณฑ์การปริบอาฟ้ติ 0. รับของเคี้ยวของฉันจากมีอนางภิกษุณี ผู้ไม่ใช่ญาติ ที่ กำ ลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่ ขณะรับ ต้องอาบัติทุกกฏ , ๒.ขณะฉัน ต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ ฅ. รับจากมีอของคนอื่นที่นางภิกษุณีบอกใฟัถวาย ไม่ต้อง อาบัติ วิใ!ย ฅ0๐ www.kalyanamitra.org
รกขาบทฑี ๒ ภิกษุฉันอยูโนทฺนิมนต์ ถ้ามีนางภิกษุณีมาสั่งทายกไห้เอฺา สั่งนั้นร่งนี้ถวาย เรอพึงไล่นางภิกษุณีนั้นให้ถอยไปเรย ถ้าไฝไล่ ต้องปาฏิเทสนียะ หล้กเกณฑการปรบอาบต 0.ถ้าภิกษุไม่ไล่นางภิกษุณีออกไปเสีย ขณะรับประเคนทุกรูป ต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ขณะฉันต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ สิกขาบทที่ ๓ ภิกษุไม่เป็นไข้ เขาไม่ไต้นิมนต์ รับของเคี้ยวชองฉันใน ตระกูลที่สงฆ์สมมติวาเป็นเสขะ มาบรัโภค ต้องปาฏิเทสนิยะ คำ ว่า ตระกูลที่ไต้รับสมมติให้เป็นเสขะ หมายถึง ตระกูล ที่มีศรัทธาต่อพระพุทธศาสนามาก แต่ยากจน สงฆ์จึงประกาศ สมมติให้เป็นตระกูลเสขะ ไม่ให้ภิกษุรับของเคี้ยวของฉันจาก ตระกลนั้น หลฺกเกณฑ์การปรับอาบัติ 0. ภิกษุไม่ไต้รับนิมนฺต์1ว้ก่อน หรือไม่เป็นไข้ เข้าไปรับ บิณฑบาต ขณะรับต้องอาบัติทุกกฎ ๒. ฉันของที่รับมานั้น ต้องฺอาบัติปาฏิเทสนิยะ ฅ.ไต้รับนิมนต์1ว้ก่อนหรือเป็นไข้ ไม่ต้องอาบัติ ๓๑๒ วิไ!ย www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ๔ สิกษุอยูโนเสนาสนะป้าเป็นที่เปลี่ยว ไม่เป็นไซ้ ร้บฃอง เคี้ยวซองฉ้นที่ทายกไม่ไดแจ้งความใหทร่าบก'สน ดวยมือซอง ตนมานรีโภค ต้องปๆฏิเทสนียะ คำ ว่า เสนาสะป้า หมายถึง วัดที่ตั้งอยู่ห่างจากหมู่บาน ประมาณ 0 กิโลเมตร หรือ ๕00 ชั่วสูกธยู ถึามีซาวบ้านมาที่วัด แจ้งใหทราบว่า จะมาถวายภัต่ตาหาร พึงบอกให้เขารู้ว่ารอบาวัด มีโจรคอยดักปลน เพื่อเขาจะได้เตรืยมตัวป้องกัน เมื่อบอ่กอย่าง นี้เขานาอำหารมาถวายรับได้ไฝด้องํอาบ้ติ แต่ถึาไม่บอกให้ทราบ ด้องปาฏิเทสนียะ ป็ญพๆแสะเฉฟิยปาฏเพฺสนียะ ๔ 0. ถาม ปาฏิเทส่นี้ยะ เป็นชั่ออาบัติแปลว่ๆอะไร เป็นซื่อของ สิกขาบทแปลว่าอะไร และมี'ตั้งหมดกี๋สิกขาบท ? ตอบ ปาฏเทส'นยะเป็นซื่ออาบติแปลว่า \"จะพึงแสดงสืน่\" เป็นซื่อของสิกขาบทแปลว่า \"ปรับด้วยอาบัติปาฎิเทส - •นียะ\" มี ๔ สิกฃิาบท ๒.ถาม ภิกษุรับของเคี้ยวของฉันจากมือนี้างภิกษุณีที่มิใ'ซ่ญาติ ด้วยมือตนเองควรจะปรับอาบัติเธอด้วยขอใด ? ตอบ ถาภิกษุนี้นเขาไปบณฑบาตในบ้านถวายกลางทาง ภิกษุ รับ ควรปรับอาบัติ ปาฏิเทส'นยะซ้อตน ถ้าถวายในเวลา อี๋น ไม่มีขอจะพึงยกซื่นไปปรับ . ฅ.ถาม, สิกขาบทอะไร •คำรูปเดียวพ้นอาบัติตั้งหมู่ ? ตอบ ปาฏิเทสนี้ยะสิกขาบทที่ ๒ ไล่ภิกษุณีผู้แมรืแม่แรด (ส์ง วิใ4ย ต๑๓ www.kalyanamitra.org
ทายกให้เอาส์งนั้นส์งนถ่วายแก่.ภิกษุ)แม้เป็นผู้บอกไล่ เพียงรูปเดียว ฟันฺอาบัติทั้งหยู่ ๔. ถาม ปาฏิเทสนียะสิกขาบทที่ ต ทรงบัญญ้'ติไว้ด้วยหมาย ประโยชน์อย่างไร ? ตอบ ด้วยหมายประโยชน์จะป้องกันสกุลเสขะที่สงฆ์สมมติ ไม่ให้ยุ่งยาก และจะยังภิกษุให้รู้จกประมาณในการ แสวงหา ๕. ถาม คาว่า สกุลเสขะ หมายเอาสกุลอะไร ? ตอบ หมายถึง สกุลที่ได้รับธรรมพิเศษนับแต่พระโสดาบันขึ้น ไปถึงพระอนาคามีแต่เป็นผู้อัตคัดขัดสนไม่สมควรที่ภิกษุ จะพึงเข้าไปรบกวน ยกเว้น 0. ถ้าเขานิมนต์ให้รับ ๒. ภิกษุอาพาธ. ๖.ถาม . ภิกษุอยูโนเสนาสนะป้าเปลี่ยว ไม่เป็นไข้ รับของเคี้ยว ของฉันที่ทายกแจ้งให้ทราบก่อนด้วยมีอตนมาบริโฦค จะ อาป้ติหรือไม่อย่างไร ? ตอบ่ ไม่อาบัติ เพราะทายกแจ้งให้ทฺราบก่อนแล้ว แสดงว่าเขา ป้องกันโจรภัยอันจะพีงเภิดมีแล้ว ๗.ถาม เสนาสนะป้าเป็นที่เปลี่ยว กล่าวถึงในสิกขาบทอะไรบ้าง และเป็นที่เซ่นไร? ตอบ กล่าวถึงในปัฅตวรรคสิกขาบทที่ ๙ และปาฏิเทสนิยะ สิกขาบทที่ ๔ เป็นที่ประกอบไปด้วยความรังเกียจ คือ ในอาราม และอุปจารแห่งอาราม พวกโจรคุร้ายมาปล้น มาฆ่ามนุษย์เห็นปรากฏอยู่ ตั้งแต่เขตบ้านมาถึงเขต อารามไกล ๒๕ เล้น ซื่อว่า เสนาสนะป้าเป็นที่เปลี่ยว ฅ๑๔ วิปัย www.kalyanamitra.org
เสฃิยรัตร มี ๗๕ สิกขาบท เสขยวัตร แปลว่า วัตรที่สืกษควรสิกษา หรือธรรมเนียม ที่ภิกษควรสิกษา มี ๔ หมวด สิอ 0.หมวดสารูป ว่าด้วยธรรมเนียมที่ควรประพฤติเวลาเข้าบ้าน ๒. หมวดโภชนปฏิสังยต ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาต และฉฺนอาหาร . ๓. หมวดธัมมเทสน่าปฎิสังอุต ว่าด้วยธรรมเนียมไม่ให้ แสดงธรรมแก่บุคคลพูแส่ดงอาการไม่เคารพฺ ๔.หมวดปกิณกะ ว่าด้วยธรรมเนียมก่ายอุจจาระ ป้สสาวะ เสข้ยวดรทั้ง ๔ หม้วดนี้ เมื่อภิกษุล่วงละเมิด ปรับอาบัติ ทุกกฏ พระภิกษุและสามเณรทุกรูปด้องสิกษาฃนบธรรมเนียม และมารยาท่เหล่าน(ห้ด มิฉะนั้นจะทาให้เป็นที่ไม่น่าศรัทฺธาเลื่อมใส แก่ผู้ที่พบเห็น หมวดสารู่ปที่ 0 มี ๒๖ สิกขๆบท Q. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราจักนุ่งให้ทียบร้อย วนย. ๓๑๕ www.kalyanamitra.org
๒. ภิกษุพึงทำความสืกษฺาว่า เราจัภห่มใหเรียบร้อย ฅ. ภิกษุพึงทำความพึกษาว่า เราจักปิดกายด้วยด1ปในบาน ๔. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักปิดกายด้วยดีนั่งในบาน ๕. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักระวังมือเท้าด้วยดี!ปในป้าน ๖.ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักระวังมือเท้าด้วยดีนั่งในป้าน ๗.ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักมืตาทอดลงไปในป้าน .๘. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักมืตาทอดลงนั่งในป้าน ๙. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่เวิกผ้าไปในป้าน 00. ภิกษุพึงทำความฺสืกษาว่า .เราจักไม่เวิกผ้านั่งในป้าน 00. ภิกษุพึงทำความดีกบาว่า เราจักไม่หัวเราะไปในป้าน 0๒. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่หัวเราะนั่งในป้าน . 0ฅ.ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่พูดเสิยงด้งไปในป้าน ©๔.ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่พูดเสิยงด้งนั่งในฺป้าน ©๕. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่โครงกายไปในป้าน ©๖. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไมโครงกายนั่งในป้าน ©๗. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่ไกวแขนไปในบาน ©๘. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่ไกวแขนนั่งในป้าน ©๙. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่ส์นดีรษะไป่ในป้าน ๒©. ภิกษุพงทำความดีกษาว่า เราจักไม่นั่นดีรษะนั่งในบาน ๒©.ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่เอามือคํ้ากายไปในบาน ๒๒. ภิกษุพึงทำความดีกษาว่าเราจักไม่เอามือฺคํ้ากายนั่งในป้าน ๒ฅ.ภิกษุพึงทำความดีกษาว่า เราจักไม่เอาผ้าคลุมดีรบะไป ในป้าน ฅ©๖ - วนัย www.kalyanamitra.org
. ๒๔. ภิกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักไม่เอาผ้าคลุ่มสิรษะ นั่งในบ้าน ๒๕. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่เดินกระโหย่งเท้าไป ในบาน ๒๖: ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่นั่งรัดเขาในบ้าน หมวดโภชนปฏิสังยุดที่ To มี ๓0 รกชาบท 0. ภิกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักรับปิณฑบาตโดยเคารพ ๒.ภิกษุพึงทำความสืกษาวา เมี่อรับบิณฺฑบาต เราจักแลดู แตในบาตร ฅ. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักรับแกงพอสมควรแก่ ข้าวสุก ๔. ภิกษุพึงทาความสืกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตแตพอ เสมอขอบปากบาตร ๕.'ภิก่ษุ่พึงทำความสืกษาว่า เราจักฉนฺบิณฑบาตโดยเคารพ ๖. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เส์อฉันบิณฑบาต เราจักแลดู s แตในบาตร ๗.ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่ขดข้าวสุกให้แหว่ง ๘: ภิกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักฉันแกงพอสมควรแก่ ข้าวสุก ๙.ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราจักไม่ขยุ้มข้าวสุกแต่ยอดลงไป 00. ภิกษุพึงทำควุามสิกษาว่า เราจักไมกลบแกงหรีอ กั่บ่ข้าวด้วยข้าวสุก เพราะอยากจะได้มาก วนัย ๓©๗ www.kalyanamitra.org
00. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราไม่เจ็บไข้ จักไม่ขอแกง หรือข้าวสุก เพื่อประโยชน์แก่ตนมาฉัน 0๒.ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไม่คู่บาตรของผู้อื่น ด้วยคิดจะยกโฑฺษ 0ฅ.ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ทำคำข้าวใหใหญ่นัก 0๔.ภิกฺษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักทำคำข้าวให้กลมกล่อม 0๕. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เมื่อคำข้าวยังไม่ถึงปาก เรา จักไม่อ้าปากไว้ท่า ©๖. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เมื่อฉันอยู่ เราจักไม่เอานิ้ว มือสอดเข้าปาก ©๗.ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เมื่อข้าวอยู่ในปาก เราจัก ไม่พูด ©๘. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่โยนคำข้าวเข้าปาก ©๙. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันกัดคำข้าว ๒๐. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันทำกระพึงแก้ม ให้ต่ย ๒©. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันพลางสะบดมือ พลาง ๒๒.ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าว ให้ตกลงในบาตรหรือในที่นิ้น ๆ ๒๓. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันแลบลิ้น ๒๔. ภิกษุพึงทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันดังจับ ๆ ๒๕.ภิกษุพื่งทำความคิกษาว่า เราจักไม่ฉันดังซูด ๆ ต©๘' รปัย www.kalyanamitra.org
๒๖.^กษุพึงทาความสืกษาว่า เราจักไฝฉันเลียมือ ๒๗.ภกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักไมฉันขอดบาตร ๒๘. ภกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักไฝฉนเลียริมลปาก ๒๙.ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไฝเอามือเป็อนจับ ภาชนะนา ฅอ. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไฝเอานาลีางบาตรมื เมล็ดข้าวเทลงในบาน หมวดธมมเทสนๆปฏิสังยุดที่ ฅ มี 0๖ สิกขาบท 0. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คน ไฝเป็นไข้ มืริมในมือ . ๒. ภิกษุพึงทำความพึกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คนไฝ เป็นไข้ มีไม้พลองในมือ ฅ. ภิกษุพึงทำความพึกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คนไฝ เป็นไข้ มืฉัสตราในมือ ๔. ภิกษุพึงทำความสืกษาวา เราจักไฝแสตงธรรมแก'คนไฝ เป็นไข้ มือาวุธ่ในมือ ๕. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คนไฝ เป็นไข้ สวมเขียงเท้า ๖. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า .เราจักไฝแสดงธรรมแก'คนไฝ เป็นไข้ สวมรองเท้า ๗. ภิกษุพึงทำความสืกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คนไฝ เป็นไข้ ไปในยาน วิไ3ย ๓๐๙ www.kalyanamitra.org
๘. ภิกษพึงทำความสิกษาวา เราจักไฝแสคงธรรมแค่คนไฝ เป็นไข้ อยู่บนที่นอน ๙. ภิกชุพึงทำความสิกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแก่คนไฝ เป็นไข้ นั่งรัดเข่า : 0๐. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแค่คน ไฝเป็นไข้ พันสิรษะ 00. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราจักไฝแสดงธรรมแค่คน ไฝเป็นไข้ คลุมสิรษะ 0๒.ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไฝ แสดงธรรมแค่คนไฝเป็นไข้ นั่งบนอาสนะ 0๓. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เรานั่งบนอาสนะตา จักไฝ แสดงธรร่มแค่คนไฝเป็นไข้ นั่งบนอาสนะสูง 0๔ ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เรายีนอยู่ จักไฝแสดงธรรม แก่คนไฝเป็นไข้ ผู้นั่งอยู่ 0๕,ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไฝ แสดงธรรมแค่คนไฝเป็นไข้ ผู้เดินไปข้างหน้า 0๖. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไฝ แสดงธรรมแค่คนไฝเป็นไข้ ผู!้ ปในทาง หมวดปกิณกะที่ ๔ มี ฅ สิกขาบท - 0. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราไฝเป็นไข้ จักไฝยีนถ่าย อุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ ๒. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราไฝเป็นไข้ จักไฝยีนถ่าย อุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ บ้วนเขฬะ ลงในของเฃีย่ว ๓๒0 วินัย www.kalyanamitra.org
๓. ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราไม่เป็นไข้ จ้กไม่ยีนถ่าย อุจจาระ ถ่ายป้สสาวะ บ้วนเขฬะลงในนํ้า ป็ญหๆและIฉลยเฬซิยวัตร 0. ถ่าม อะไรเรียกว่า เสัขิยวตร มีกี่สืกขาบท เส!เยวัตรสำคัญ อย่างไร ? ตอบ วัตรทภิกษุสามเณรจะพึงสิกษ่า เรียกว่าเส!เยวัตร มี ๗๕ สิกขาบทสำคัญ่อย่างนี้ สิอเป็นวัตรอันภิกษุสามเณรจะ ต้อฺงสิกษวใหเจกขนบธรรมเปียมประพฤติกิริยามารยาท ให้เรียบร้อยตามพระพทธบัญฤฐ'ติ เป็นบรรทัดฐาน สำ หรับคัดความประพฤติของภิกษุสามเณร ในเวลาเข้า บ้านรับบิณฑบฺาต ฉันอาหิาร ธรรมเปียม่แส่ดงธรรมแก่ บุคคลที่แสดงอาการไม่เคารพ และธรรมเปียมการถ่าย อุจจาระปัสสาวะ เพื่อป้องกันโลกวัชซะอันเขาจะติเตียน เป็นต้น toi ถาม เสขิยวัต่รแปงออกเป็นกี่หมวด จงบอกซี่อหมวดและ จานวนสิกขาบท่มาดู เสขิยวัตรจัดเข้าในวินัยประ๓ท่ ไหน ภิกษุละเมิดต้องฺอาบัติอะไร ? ตํอบ เสขิยวัตรแปงออกเป็น ๔ หมวด หมวดสารูป มี ๒๖ สิกขาบท หมวดโภชนป.ฏิสํงยุต มี ฅอ สิกขาบท . หมวดธัมมเทศนาปฏิสํ'งยุต มี ๐๖ สิกขาบท หมวดปกิณกะ มี ๓ สิกขาบุท จัดเข้าในอภิสมาจฺาร ภิกษุละเมิดต้องอาบัติทุกกฎ ฬ่ย ~ ๓๒๐ www.kalyanamitra.org
๓,ถาม พระพุทธเจ้าทรงแสดงวัตรหรือรรรมเนยมผู้ดีสำหรับ ภิกษุสามเณรไว้อย่างไร ตอบให้มีหลัก ? ตอบ ทรงแสดงธรรมเนียมที่เรืยกว่าเสขิยวัตรไว้ ๔ หมวดคือ 0.สารูป ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติโนเวลาเข้าบ้าน ๒.โภชนปฏิลังยุตฺ ว่าด้วยธรรมเนียมรับฺบิณฑบาตและ ฉันอาหาร ต. ธัมมเทศนาปฎิลังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมไมให้แสดง ธรรมแก่บุคคลผู้แสดงอาการไมเคารพ ๔.ปกิณกะ ว่าด้วยธรรมเนียม.ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ๔.ถาม นุ่งห่มอย่างไรเรืยกว่าเรืยบร้อย ถ้าภิกษุนุ่งห่มไม่เรียบ ร้อยจะด้องอาบัติอะไร ? .ตอบ นุ่งห่มเป็นปรืม่ณฑล คือนุ่งห่มปกปัดมณฑลสะดี! ถึงกระโจมอก เบื้องล่างปัดมณฑลเข่าทั้งสอง เพียงครึ๋ง แข้ง เรียกว่า นุ่งห่มเรียบร้อย ห่มเป็นปริมณฑล คือ ทำ มุมทั้ง ๒ ให้เสมอกันแล้วจึงม้วน'เข้า ถ้าอยูในวัดห่ม เฉวียงปาลดผ้าลงจากไหล่ข้างหนึ๋ง เรียกว่า ห่มเรียบร้อย ถ้าไม่สนใจนุ่งห่มให้เรียบร้อยด้องอาบัติทุกกฎ ถ้าตั้งใจ นุ่งห่มเรียบร้อย แต่ผู้มาใหม่ทำไม่คูกธรรมเนียม เพราะ ยังไม่ลันทัด ไม่ด้องอาบัติ ๕. ถาม ภิกษุเข้าไปในบ้านคลุมอวัยวะ ห่านห้ามหรืออนุญาด จง ตอบอ้างหลัก? ตอบ คลุม^อวัยวะในควรจะปก่ปัด เซน นุ่งห่มปกปัดร่างกาย ให้เรียบร้อย ห่านอนุญาตดง สิกขาบทที่ ต ที่ ๔ แห่งหมวดสารูป ในเสขิยวัตร คลุม ต๒๒ วิไ!ย www.kalyanamitra.org
อวัยวะที่ควรเปิด เซ่น คลุมสืรษะ ท่านห้าม ดังสิกขา บทที่ ๑๓ ที่ ๑๔ แท่งหมวดนั้น ๖.ถาม ครองผ้าอย่างไร เรียกวาเป็นปริมณฑล ? ตอบ นุ่งปิดสะดือ ปกเข่าทั้ง ๒ เรียกว่านุ่งเป็นปริมณฑล ท่ม เข้าบ้านปิดหลุมคอ ปกข้อมือทั้ง ๒ ปกเข่าทั้ง ๒ เรียก ว่าท่มเป็นปริมณฑล .๗. ถาม ในเสฃิยวัตรทรงสอนให้ภิกษุสำรวมตาไว้อย่างไร ? ตอบ ทรงสอนให้ภิกษุสำรวมตาไว้ว่า เราจักมีตาทอดลงไป นั่งในบ้าน ๘.ถาม ภิกษุจ้องดูบาตรของตนขณะฉันบิณฑบาต ต้องอาบัติ หรีอไม่ ถ้าจ้องดูบ่าตร่ของผู้อื่นเล่าต้องอาบัติอะไรหรีอไม่ . ตอบ่ให้มีหลัก ? ตอบ ไม่ต้องอาบัติอะไร ถ้าจ้องดูบาตรของผู้อื่นต้วยคิดจะ ยกฺโทษ ต้องอาบัติทุกกฎ ตามสิกขาบทที่ ©๒ โภชน- ปฏิลังยุต เสขิยวัตร หากดูต้วยความเสัอเทื้เอจะให้ .ของฉันที่ผู้อยูใกล้เคียงไม่มี ไม่ต้องอาบัติ ๙. ถาม ในเสขิยวัตรทรงสอนการรับบิณฑบาตที่'ปาศวัทราเลื่อม ใสไว้อย่างไรบ้าง ? ตอบ ทรงสอนรับบิณฑบาตที่น่าเลื่อมใสไว้ว่า เราจักรับบิณ ฑบาตโดยเอื้อเฟ้อจักมองดูแต้ในบาตร จักฺรับ่''ลมอขอน ปากบาตร * 00.ถาม ข้อว่า ภิกษุพึงท่าความคิกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดย เคารพนั้นมีอธิบายอย่างไร? ตอบ มีอธิบายว่า ภิกษุฉันบิณฑบ่าตแม้เป็นของเลว ก็โม่แสดง วฟ้ย ^๒๓ www.kalyanamitra.org
อาการรงเกียจ สือฉนโดยปกติ และเมี่อฺ^โนก็ใม่ฉันพลาง ทากิจอื่นพลาง 00.ถาม โภซ่นปฐส์งยุดข้อ ๒๒,๒ต มีศวามว่าอย่างไร ? ตอบ มีข้อความดงต่อไปนี้ โภชนปฐสังยุต . ข้อ ๒๒ พึงสิกษาว่า เราจกไม่ฉัน ทำ เมล็ดข้าวให้ตก ข้อ ๒ฅ พึงสิกษาว่า เราจักไม่ฉันแลบลิ้น 0๒.ถาม ภิกษุโดยสารรถรางไปกับคฤหัสถ์จะแสดงธรรมกับผู้ที่มๆ ด้วยนั้นไดหรือไม่ ? ตอบ นั่งเสมอกันหรือภิกษุนั่ง คฤหัสถ์ยืน แสดงได้ เข้าใจว่าใน ที่เข้นนั้นไม่เปึนเวลาสมควร เว้นไว่แต่จะสนทนาธรรม กนปัาง 0๓.ถาม ตามพระวินัย ภิกษุถืออิริยาบทไหนเปีนอิรืยาบถเคารพ จงตอฺมอ้างที่มฺาด้วย่ ? ตอบ ถืออิริยาบถยืนเป็นอิริยาบถที่เคารพ ดังทำนปัญญัติไว้ ในสิกขาบทที่0๔ธัมมเทศนาปฏิส์งยุตุ เสข้ยวัตรว่า ภิกษุ พึงทำความสิกษาว่า เรายืนอยู จักไม่แสดงธรรมแก่ ค'liไม่เป็\"นไข้ผู้นั่aอยู 0๔.ถาม หมวดปกิณกะมีอื่สิกขาบท อะไรปัาง มีประโยชน์อย่างไร? ตอบ มี ต สิกขาบท สิอ สิกขาบทที่ 0 ภิกษุพึงทำความสิกษาว่า เราไม่เป็นไข้ จักไม่ยืนถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาว่ะ 'สิกขาบทํที่ ๒ ภิกษุพึงทำศวามสิกษาว่า เราไม่เป็นไขจัก ไม่ถ่ายอุจจาระ ถ่ายป้สสาวะ หรือบ้วนนํ้าลายลง่ใน ชองเขียว (พึชพันธุIม้) \" ๓๒๔ www.kalyanamitra.org
สิกขาบทที่ ต ภิกษุพึงทาความสิกษาว่า เราไม่เป็นไข้จัก ไม่ถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ หรือบ้วนนํ้าลายลงในนํ้า สิกขาบทที่ 0 เป็นอาการของสมณะ สิกขาบทที่ ๒,ต ป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค และป้อง กันความไม่น่าดู ©๕.ฤาม ในเสขิยวัตรทรงสอนให้ช่วยกันรักษาสิงแวดล้อมไว้ อย่างไร ? ตอบ ทรงสอนให้ช่วยกันรักษาสิงแวดล้อมไว้ว่า เราจักไม่เอา นํ้าล้างบาตรที่มีเมล็ดข้าวเทลงในระแวกบ้าน จักไม่ถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ บ้วนเขฬะลงในนํ้า ©๖.ถาม เสฃิยวัตรแต่ละหมวดต้อ'งใข้เมี่อใด ไม่ทำอาบ้ตอะไร ? ตอบ หมวดสารูป ใข้เมื่อฺไปนอกวัด หมวดโภชนปฎิส์โงยุต ใซเมื่อฉันและบิณฑบาต หมวดธ้มมเทสน่าป^สิ^ย่ต ใซเมื่อสอนห้รอเตือน หมวดิปกิณกะ ใข้เมื่อปัสสาวะ อุจจาระ บ้วันเขฬะ ล้าไม่ทำอาบ้ติทุกกฎ ©๗.ถาม ภิกษุไม่เอื้อเสิอในเสฃิยวัตร ปฐบ้ตืผิดธรรมเนียม ต้อง อาบัติอะไร ? ตอบ ภิกษุไม่เอื้อเฟ้อในเสฃยวัตร ปฏิบัติผิดธรรมเนียม ต้อง อาบัติทุกกฎ รฟ้เย ฅ๒๕ www.kalyanamitra.org
กัณฑ์ที่ ๙ อรกรผเ!มถะ ๗ อธิกรณสมถะ เรื่องที่เกิดชื้นนเ[วจะต้อง่จฺดต้องพำให้เรียบร้อย เรียกว่า อธิก่รณ์ มี ๔ ประ๓ท คือ ๐.วิวาทาธิกรณ ได้แก่ วิวาทถกเถียงกันปรารภพระธรรม วนัย จะด้องได้รับการชี้ขาด ว่าถูกหรือผิด ๒. อนุวาทาธิกรณ์ ได้แก่ การโจทก์กันด้วยอาบัติ จะด้อง ได้รับวินิจฉัยว่าจริงหรือไมจริง ๓. อาปีตตาธิกรฌ์ได้แก่ การด้องอาบัติหรือถูกปรับอาบัติ จะต้องทำคืน คือทำให้พ้นโทษ ๔.กิจจาธิกรณ์ได้แก่ ธุระที่สงฆ์จะพึงทำ เซ่นให้อุปสมบท จะด้องทำให้สำเร็จ วิธีระงับอธิกรณ์ เมื่ออธิกรณ์ทั้ง ๔ เกิดขึ้นแล้ว ทรงวางหลักในการระงับไวิ เรืยกว่า อธิกรณสมถะ มี ๗ อย่างคือ ๓๒๖ วินัย www.kalyanamitra.org
o. ลํโมมุขาวินัย ๒. สติวินัย ต. อมูฬหวินัย ๔ ปฏิญญาตกรณะ ๕. เยภุยยสิกา ๖. ตัสสาปาปิยสิกา ๗. ติณวัตถารกวินัย 0. สัมมุขาวนย สัมมุขาวินัย คือระพียบหรือวิธระงับอรกรผ์ทั้ง ๔ นั้น ในที่พร้อมหน้า มี ๔ อย่าง คือ 0. พร้อมหน้าfเงฆ์คือ สงฆ์ผู้เข้าประชุมต้องครบตามกำหนด ๒.พร้อมหน้าบุคคล คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ ต้องอยยู่่พร้อมหน้ากัน .๓. พร้อมหน้าวัตถุ คือ ยกอธิกรถiนั้นๆ ขึ้นสํที่ประชุม เพอวินแิจจฉฉัย ๔๔.. พ1 ร้อมหน้าธรรมวินัย คือ การวินิจฉัยอธิกรณต้องฮด พระธรรมวินัยเป็นหลัก ๒. สติวินัย สดวินัย คือ การระงับอธิกรณ์ด้วยการยกสติขึ้นเป็นหลัก ลัดสินไต้แก่ การที่สงฆ์สวดประกาศให้แก่พระอรหนต้ว่า ฟานเป็น ผู้มีสติสมบูรณ์ ย่อมไมล่วงละเมิดสิกขาบทใดๆ ที่พระพุทธเจ้าทรง ห้าม เพี่อระงับอนุวาทาธิกรณ์ รนัย. ต๒๗ www.kalyanamitra.org
๓. อมฬหวินย อมูฟัทวนัย คือ ฑๆรระงับอธิกรณนกภฑษุที่หายเป็น{(ๆ แอ้วได้แก่การที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมติแก'ภิกษุผูหายเป็นบ้าแล้ว สงฆ์สวดประกาศให้ท่านไม่ด้องอาบัติ ที่ล่วงละเมิด่ในขณะเป็นบ้า ภิกษุผู้เป็นบ้าย่อมได้รับการยกเว้นไมด้องอาบัติในทุกสิกขาบท ใช้ ระงับอนุวาทาธิกรณ์ ๔. ปฏิญญาดกรณ่ะ ปฏิญญาดกรณะ คือ การระงับอธิกรณ์ด้วยการปรบอานัดิ ตามคำรับสารภาพ ภิกษุรับิสารภาพว่าด้องอาบัติอย่างใด พึงปรับ ตามอาบัตินั้น ให้ปลดเปลื้องตัวเองด้วยการแสดงอาบัติ อย่กรรม หรือลาสิกขา ตามความผิดที่ล่วงละเมิด ใช้ระงับอาป้ตตาธิกรณ์ ๕. เยภยยสิกา เยภุยยสิกา คือ การระงับอธิกรณ์โดยการถือเอาเสิยง ข้างมาก เป็นหสักตัดสินในกรณีที่พระภิกษุทะเลาะกันเรื่องพระ ธรรมวินัย ล้าปล่อยไว้จะเกิดความเสิยหายจึงให้สงฆ์ทั้งหมด ออกเสิยงร่วมกัน มติออกมาอย่างไรให้ยึดมฺติเสิยงช้างมากเป็นหสัก ใช้ระงับวิวาทาธิกรณี ๖, ต'สสาปาป็ยสิกา ตัสสาปาป็ยสิกา คือ การระงับอธิกรณ์ด้วยการลงโทษ แก่ผู้กระทำความผิดแมนiยอมรับ ในกรณีที่ภิกษุด้องอาบัติ สงฆ์ ต๒๘ วิฟ้'ย www.kalyanamitra.org
พิจารณาแล้วเห็นว่า เธอกระทำความผิดจริง แดเธอไม่ยอมรับ สงฆ์สวดประกาศให้ยอมรับ หากไม่ยอมรับสงฆ์สวดประกาศจบ ปรับอาบัติตามความผิด และเพิ่มโทษโนฐานะทำให้สงฆ์ลำบากใน การวินิจฉัย ใช้ระงับอนวาทาธิกรถ! ๗. ติณวัตถารกวินัย ติณวัดถารกวินัย ดือ ระผียบติงกลบไว้ด้วยหญ้า ได้แก่ การยอมความประนิประนอมกุนทั้งส่องฝ่าย ไม่สิบสาวหาความว่า ใคร ผิดใครถกเหมือนกลบความผิดไว้ด้วยหญ้า ในกรณีที่พระภิกษุ ด้องอาบัติเล็ก®! น้อย®! แล้วซัดทอดกันและกันจนเป็นเรื่องจึงระงับ ด้วยการประนิประนอมกัน เลิกแล้วต่อกัน ใช้ระงับอาปัดตาธิกรณี สรุปการระงับอธิกรณ์ 0 วิวาทาธิกรณี ระงับด้วย ลํมมุขาวินัย ๒. อนวาทาธิกรณี ระงับด้ว่ย ติณวัตถารกวินัย ต. อาปัดตาธิกรณี ระงับด้วย ๔. ภิจจาธิกรณี ระงับด้วย เยภุยยลิกา ลํมมุขาวินัย สติ.วินัย อมูฬหวินัย ตัสสาปาปียลิกา สัมมขาวินัย . ปฏิญญาตกรณะ ติณวัดถารกวินัย ลํมมุขาวินัย วินัย ๓๒๙ www.kalyanamitra.org
ป็ญหาและเฉลยอรกรณสมถะ ©. ถาม วินัยมุขกัณฑที่๙ ว่าด้วยเรี่องอะไร ? ตอบ วินัยมุขกัณฑ์ที่ ๙ ว่าด้วยเรื่องอริกรณสมถะ คือ ธรรม สำ หรับระงับอริกรล! ๒. ถาม สมเด็จพระศาสดาทรงจัดกิจการของหม่อริกรถ!1วฺหมวด หนึ่ง ด้วยมีรัดอุประสงค์อย่างไร ? ตอบ ด้วยมีพระทุทธประสงุค์จะทรงมอบการปกครองคณะไว้ แก'สงฆ์ ไม่ปล่อยให้บุคคลเ8นใหํญ่ จึงทรงอนุญาตให้ สงฆ์ผู้'ทำกิจนั้นร อันเกี่ยวด้วยการปกครอ่งคณะ มีการ รับคนเขาอุปสมบทเป็นด้น ๓. ถาม อริกรถ!คืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ? ตอบ อริกรถ! คือ เรื่องที่เกิดขึ้นซึ๋งด้องจัดทำให้เรียบร้อย มี ๔ ประเภท คือ วิวาทาริกรถ!อนุวาทาริกรถ!อาป้ตตา- ริกรถ! และกิจจาริกรถ! ๔. ถาม ธรรมเป็นเครื่องระงับอริกรณ์นั้น เรียกว่าอะไร มีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ตอบ ธรรมเป็นเครื่องระงับอริกรถ! เรียกว่าอริกรณสมถะ มี ๗ อย่างคือ 0. สํมมุขาวินัย ๒. สติวินัย ๓. อมูฬหวินัย ๔.ปฏิญญาดกรณะ ๕. เยภยยสิก่า ๖. ตัสสาปาป็ยสิกา ๗. ติณรัตถารกวินัย ๕. ถาม การอุปสมบท จัดเป็นอริกรถ!อะไรด้วยประการหนึ่ง หรีอไม่ และจะพึงระงับด้วยสมถะอะไร ? ๓๓๐ วินัย www.kalyanamitra.org
. ตอบ จัดเข้าในกิจจาธิกรณ์ด้รยประการหนึ่ง ในอธิกรณ์๔ พึง ระงับด้วยส์มมุ่ขาวินัย คือความพร้อมเพรียงแห่งสงฆ์ บุคคล วัตถุ ธรรมวินัย . ก. พร้อมหน้าสงฆ์ คือ ภิกษุเข้าประชุมครบองค์กำหนด สงฆ์ ข. พร้อมหน้าบุคคล คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้อยู่ พร้อมหน้ากัน .. ค. พร้อมหน้าวัตถุ ได้แก่ยกเรื่องที่เกิดขึ้นนั้นวินิจฉัย ง. พร้อมหน้าธรรมวินัย ได้แก่วินิจฉัยถูกธรรม ถูกวินัย ๖. ถาม่. วิวาทาธิกรณ์คืออะไร ระงับด้วยสมถะอะไร ? ตอบ วิวาท่าธิกรณ์ คือการถกเถียงกันปรารถธรรมวินัยว่า อย่างนี้ถูกอย่างนี้ผิดระง้บด้วยกัมมุขาวินัย และเยภุยยสิกา ๗.ถามฺ ภิกษุเถียงกันเรื่องการแก้ปัญหาจราจรเป็นอธิกรณ์ อะไรหรีอไฝฺ เพราะเหตุใด ? ตอบ เถียงเรื่องการแก้ปัญหาจราจรไม่จัดเป็นอธิกรณ์ เพราะ ไม่ใช่การเถียงกันปรารภพระธรรมวินัย ๘. ถาม จงอธิบายการใช้สมถะระงับอธิกรณ์ ? ตอบ 0. ส์มมุขาวินัย ระงับอธิกรถ?1ด้ทุกอย่าง . ๒. สติวินัย อยูฬหวินัย ตัสสาปาป็ยสิกาทั้ง ๓ เป็นเรื่อง ระงับเฉพาะอนุวาทาธิกรณ์ ฅ. ปฏิญญาตกรณะ ติณวัตถารกวินัย ทั้ง ๒ เป็นเรื่อง ระงับเฉพาะอาปัดตาธิกรณ์และระงับอนุวาทาธิกรณ์ ด้วยก็ได้ ๔. เยฦยยสิกา เป็นเรื่องระงับเฉพาะวิวาทาธิกรณ์ วิใ!ย ๓ฅ0 www.kalyanamitra.org
๙.ถาม ภิกษุกระทำคืนอาบัติที่ตองแล้วโดยสมควรแก่ธรรม จัด เป็นระงับอธิกรณอะไร ด้วยสมถะข้อไหน ? ตอบ จัดว่าเธอระงับอาป้ตตาธิกรถ!ด้วยส์มมุขาวินัยกับ ปฏิญญาตกรณะ 00.ถาม เมื่ออนุวาทาธิกรณ์เกิดขึ้นแล้ว ควรระงับด้วยสมถะ อะไรบ้าง? ตอบ ควรพิจารณาดูว่าควรระงับด้วยสมถะอะไรจึงจะชอบธรรม 0. ล้าจำเลยรับสารภาพ ระงับํด้วยปฏิญญาตกรณะ ๒. ล้าไฝรับ แต่พิจารณาได้ความจริงตามที่กล่าวหา พร้อมด้วยพยานหลักฐานอันเป็นเครื่องประกอบ ระงับด้วยตัสสาปาป็ยสิกา ฅ. ล้าเป็นอธิกรถ!ที่ยุ่งยากและเป็นเรื่องสำคัญระงับ ด้วยสติวินัยฺ ๔. ล้าเป็นบ้า ระงับ ด้วยอมูฬหวินัย. 00.ถาม การปลงอาบัติจัดเข้าในอธิกรณสมถะข้อไหน สำ หรับ ระงับอธิกรถ!อะไร ? ตอบ การปลงอาบัติจัดเข้าในปฏิญญาตกรณะ สำ หรับระงับ อาปัตตาธิกรถ่! ๐๒.ถาม ติณวัตถารกวินัย มีอธิบายอย่างไร ? ตอบ ติณวัตถารกวินัย ได้แก่กิริยาที่ใข้ประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่าย ไมด้องชำระ ไฝด้องสะสางความเติม วิธี ข้ใน เรื่องยุ่งยากและเป็นเรื่องสำคัญอันจะเป็นเรื่องกระเทือน ทั่วไป ฅฅ๒ www.kalyanamitra.org
กัณฑ์ที่ 00 มาตรา มาตรา กิริยากำหนดประมาณ เริยกว่า มาตรา มี ๕ ประเภท คือ 0. มาตราเวลา กำ หนดเอาการหมุนรอบตัวเองของโลก 0 รอบ เท่ากับ 0 วัน โลกหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบ เป็น 0 วัน ๑๔ วัน หรือ ๑๕ วัน เป็น 0 ปักษ์ ๒ ปักษ์ เป็น ๑ เดือน ๔ เดือน เป็น© ฤดู ๓ ฤดู เป็น ๑ ปี ฤดูทั้ง m แบ่งอย่างน ตั้งแต่แรม ๑ คา เดือน ๑๒ ถึง ขึ้น ©๕ คา เดือน ต จัด เป็นฤดูหนาว ตั้งแต่แรม © คา เดือน ๔ ถึงขึ้น ©๕ คา เดือน ๗ จัดเป็น ฤดูรุ้อฺน ^ , วนัย ตฅฅ www.kalyanamitra.org
ตั้งแต่,แรม 0 คํ่า เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ คา เดือน ๑๑ •จด เปีนฤดูฝน่ ๐๒ เดือน เ!!เ'นภาษาบาลี มาคสิรมาส เดือน 0 หรือเดือนอ้าย ปุสสมาส เดือน ๒ หรือเดือนยี่ มาฆมาส เดือน ฅ ผัคคุณมาส เดือน ๔ จิตตมาส เดือน ๕ วิสาขมาส เดือน ๖ เซฏฐมาส เดือน ๗ อาสาฬหมาส เดือน ๘ สาวนมาส เดือน ๙ ภัททปทมาส เดือน 00 อัสสยุชมาส หรือ ปฐมกัตดืกมาส เดือน 00 กัตดืกมฺาส เดือน 0๒ ๒. มาตราวิด เป็น 0 นิ้ว ๗ เมล็ดข้าวเปสิอก เป็น 0 คีบ เป็น 0 ศํอก 0๒ นิ้ว เป็น 0 วา ๒ คีบ. เป็น 0 อุสภร ๔ ศอก เป็น 0 คาวต ๒๔ วา ๘๐ อุสภร ตต๔ วิฟ้'ย www.kalyanamitra.org
๔ คาวุต■ ฟ็น 0 โยชน์ อีกอย่างหนึ๋ง เป็น 0 ธนู ๔ ศอก เป็น 0 โกสะ ๕00 ธนู เป็น 0 คาวุต ๔ โกสะ ๔ คาวุต เป็น 0 โยชน์ ฅ. มาตราตวง เป็น 0 กฑวะ คือฟายมือ เป็น 0 ปัตถะ คือกอบ ๔ มุฏฐ คือกำมือ เป็น 0 นาสิ คือทะนาน เป็น 0 อาฬหกะ ๒ กุฑวะ ๒ ป็ตถะ ๔ นาสิ ๔. มาตราชั่ง มาตราสำหรับใช้ชั่งของอี่นนอกจากเงินและทอง ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น 0 กุญชา คือกล่อม ๒ ๆญชา เป็น 0 มาสก คือกลํ่า ๕ มาสก เป็น la อี'กฃะ ๘ อักขะ เป็น 0 ธรณะ 00 ธรณะ เป็น 0 ปะละ 000 ปะละ เป็น 0 ตุลา ๒0 ตลา เป็น 0 ภาระ วิปัย ตฅ๕ www.kalyanamitra.org
มาดราสำหรบใช้ชั่งเงินนละทอง ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น 0 กุญซา .๒กฌชา เป็น๑มาสก (ะมาสก เป็น ๒อักขะ ๘ อักขะ เป็น 0 อรณะ ๕ ธรณะ เป็น ๐ สุวัณณร ๕ สุวณณะ เป็น 0 นิกขะ ๕. มาตรารป็ยร มาตรานี้สำหรับตีราคาสินค้า ๕ มาสก เป็น 0 บาท ๔ บาท เป็น 0 กหาปณร มาตราพิเศษ 0นี้วพระสุคต เท่ากับ ตนี้วมือของคนกลางคนในป้จจุบันนี้ 0 คีบพระสุคต เท่ากับ ฅ คีบของคนกลางคนในปัจจุบันนี้ * หมายเหตุ กัณฑ์ที่ 00 นี้ไม่นิยมออกข้อสอบ คีกษาไว้เป็น ความ^ ฅฅ๖ วิใ!ย www.kalyanamitra.org
วิชาธรรมวิภาค www.kalyanamitra.org
ทกะ คือ หมวด ๒ ธรรมมีอปกๆระมากมี ๒ อย่าง ๐. สต ความระลึกได้ ๒.สัมปชัญญะ ความรู้ดัว สติ หมายถึง ความระลึกถึงสิงที่ล่วงมาแล้ว เซ่นนึกถึง การกระทาและคำที่พูดแล้วแม้นานได้ ความระลึกถึงสิงอันจักมี ในภายหน้า เซ่น นึกถึงความตายอันจักมีแก่ตน ความระลึกถึงสิง อันเป็นปัจจุบัน เซ่น กำ หนตลมหายใจเข้าออกเป็นด้น สัมปชัญญะ หมายถึง เมึ๋อกำลังทำ กำ ลังพูต กำ ลังคิต ก็ รู้ตัวว่า เรากำลังทำ กำ ลังพูต กำ ลังคิต เมื่อกำลังยืน เดฺน ก็ รู้ลึกตัวว่า เรากำลังยืน กำ ลังเติน หรือเมื่อกำลังอ่านหนังลึอ ก็ รู้ลึกตัวว่า เรากำลังอานหนังลึอ เป็นด้น ธรรม 1ฮํ อย่างนี้ เป็นเครื่องอุปการะไม่ให้พลั้งเผลอและ ไม่ให้พลั้งพลาตอันจะนฺามาซึ๋งความเกื้อกูลใน่การงานทั้งปวง ตฅ๘ ธรรมวิทาค www.kalyanamitra.org
ธรรมเป็นโลกบาฟิ ดือ คุ้มดรองโลก มี ๒ อย่าง 0. หร ความละอายแก่ใจ ๒.โอตตัปปะ คว่ามเกรงกลัวต่อบาป หริ หมายถึง ความละอายแก่ใจตนเอง ในการกระทำ ทุจริตต่าง'7 หั้งมีอาการรังเกียจต่อบาปทุจริต เสมือนบุคคลเห็น สิงปฏิถูล ต่าง ๆ แล้วไฝอ.ยากเข้าไปใกล้ ไมือยากจับต้อง โอตตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อตลซองการกระทำ ชั่วทุจริต เสมือนคนเห็นงูกลัวต้อพษขอังตันแล้วหลีกเลี่ยงเสิยให ธรรุม ๒ อย่างนื้ กคลธรรุมก็เริยก เทวธรรมก็เริยก เพราะล้าโลกขาดธรรมสองอย่างน โลกย่อมถึงความลับสน วุ่นวาย แต่ล้ามนุษย์มืหิริแสะโอตตัปปะ ไม'ทำบาปใ^นห็ลับและ ที่แจ้ง่ โลกก็จะสงบร่มเย็นอยู่ต้วยกันอย่างมืความสุข ธร่รมอนทำให้งาม. มี ๒ อย่าง 0. ขัน่ต ความอดทน ๒.โลรัจจะ ความเสฺงี่ยม ขันติ หมายถึง ความอดทนอตกลั้น ไต้แก่อดทนต้อราคะ โทสะ โมหะที่เถิดขึ้น อดทนต่อคำล่วงเถินต่าวาของผู้อื่น .อดทน ต่อความลำบากตรากดร่าและความหนาวร้อน อดทนต่อทุกขเวทนา อันเถิดจาก่โรคภัยไข้เจ็บ ย่อมส่งผลให็หตัาดา ถิริยา ท่าทาง และ คำพด งฺดงาม น่าเคารพนับถือ www.kalyanamitra.org ธรรมรภาค - ฅฅ๙
โสรัจจะ หมายถึง ความสงบเสงี่ยมทางกาย ทางวาจา และ ทางใจ ในบางแห่งใช้คาว'ๆ อวิโรธนะไมโกรธ ในภาษาไทยว่า ใจเย็น ก็ทำ ให้งดงามเหมือนกัน f • www.kalyanamitra.org
บุคคลหาได้ยากมี ๒ อย่าง 0. บุพการี บุดคลผู้ทำอุปการะถอน ๒.กสัญผูกตเวที บุคคลผู้รู้อุปการะที่ฟานทำแล้ว และทำตอุบแทน บุคคลผู้ทำอุปการะแก่ผู้อึ๋นก่อุน ซี๋อ บุพการีได้แก่มารดา บดาเป็นบุพการีของบุตร อุปัชฌาย์อาจารย์เป็นบุพการีของด้ษย์ และพระพุทธเจ้าเป็นบุพการีของพุทธบริษท แม้พระมหากษัตริย์ก็ จัตเป็นบุพการีของพสกนิกร ส่วนบุคคลอื่นผู้ทำอุปการะก่อนก็ควร สงเคราะห์เข้าในข้อนี้บุคคลฺอย์างินี้หฺาได้ยากในโลก กด้ญญ หมายถึง ผู้รูอุปการคุณได้แก่ บุตรผู้รู้อุปการคุณของ มารด่าบตา สืษย์ผ้รูอปการคณของอุปัชฌาย์อาจ่ารย์ และพุทธ- •บริษัทผู้รู้อุปการคุณของพระพุทธเจ้าแม้พสกนิกรผู้รู้อุปการคุณของ พระมหากษัตริย์ หรีอบคค์ลผร้อุปการคณของผ้อุปการะตนก่อน 1 ฃ่ฃ ร s จิ จิเ จิ . กตเวที หมายถึง การตอุบแทนคุณผู้มีอุปการคุณ ด้วยวัตถุ สิงของ ด้วยการทำกิจให์ ด้วยสิ'มมาคารวะ ด้วยการตั้งอยูในโอวาท คาสิ'งสอฺน ด้วยประกาศคุณให์ปรากฏ ฉะนน กตัญญกตเวที คือ ผู้รู้อุปการคุณของผู้อื่นแล้ว กระทำการตอปแทนคุณของทำน ยังคุณของทำนให์ปรากฏ ป็ญหาและเฉลยหมวด ๒ 0. ถาม คนที่ทำอะไรมักพลงพลาต เพราะขาตธรรมอะไร ? ตอุบ เพราะขาตสติ ความระลึกไดก่อนแต่จะทำ และขาด สิ'มปซัญญะความํรู้ตวในขณะทำ ธรรมวิภาด ๓๔0 www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 498
Pages: