Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม

หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม

Published by Guset User, 2021-09-13 08:57:13

Description: 2

Search

Read the Text Version

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 97 ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบที่ 2 (ที่มาของภาพประกอบท่ี 1 : https://mgronline.com/south/detail/9590000087806) (ที่มาของภาพประกอบที่ 2 : https://www.palangkaset.com/ผกั เศรษฐกจิ /ขมนิ้ ชัน-3-ผงขม้นิ /attachment/ 4-พ้ืนที่ปลกู ขม้นิ ชัน/ ดา้ นอตุ สาหกรรม กรมวิชาการเกษตรแนะนำช่องทางการปลูกขมิ้นชันในด้านอุตสาหกรรมยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เรง่ วจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธ์ุขมนิ้ ชันปลอดโรคสายพันธ์ุตรัง 1 และ ตรัง 84 - 2 เพ่ือเพ่ิมปริมาณ ผลผลิต - ขยายพันธุ์ดีปลอดโรค พร้อมหนุนส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเชิงการค้ารองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม ขมนิ้ ชัน ท้งั ตลาดภายในและตา่ งประเทศเผยสรรพคุณให้ “สารเคอรค์ ูมนิ อยด์” สูงกวา่ มาตรฐานยาสมุนไพร 120 เปอรเ์ ซ็นต์ ทำให้เปน็ ท่ีต้องการสงู ปัจจุบันสถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร ได้แนะนำว่าขมิ้นชัน เป็นพืชสมุนไพรเศรษฐกิจที่กำลัง เป็นที่ต้องการสูงของอุตสาหกรรมยาแผนโบราณและยาแผนปัจจุบัน อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง อุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อาหารเสริม โดยตลาดอุตสาหกรรมสารสกัดขมิ้นชัน มีมูลค่ารวม 49 ล้านบาท ในขณะท่ีปรมิ าณผลผลติ หวั สดซง่ึ ยงั ผลิตไม่เพยี งพอกบั ความต้องการของอุตสาหกรรมขมิ้นชันในประเทศ โดยที่ผ่านมาสถาบันวิจัยพืชสวนได้รับการติดต่อจากองค์การเภสัชกรรม เพื่อขอซื้อพันธุ์ขมิ้นชันคุณภาพปลอดโรค เพื่อนำไปส่งเสริมให้เกษตรกรในเครือข่ายปลูกเชิงการค้า เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพียงพอ กับอุตสาหกรรม ขมิ้นชันหลายแขนงที่กำลังขยายการเติบโต ซึ่งในเบื้องต้นองค์การมีความต้องการใช้ขมิ้นชันตากแห้ง ประมาณปีละ 90 ตนั ปจั จุบนั ไดม้ กี ารนำสารเคอรค์ มู นิ อยด์ที่สกัดจากขม้ินชนั ทขี่ ึ้นทะเบยี นเป็นยาพฒั นาจากสมุนไพร แผน ปัจจุบันรายการแรกของประเทศไทยสำหรับใช้บรรเทาอาการปวดในโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อนำมาผลิตผลิตภัณฑ์ แคปซลู สารสกดั ขม้นิ ชนั ทดแทนยาแผนปจั จุบนั สำหรบั สรรพคุณของขมิ้นชันมีสารออกฤทธิ์ท่ีมีประโยชน์ 2 กลุ่มคือ กล่มุ นำ้ มันระเหย (Volatile oil) และกลุ่มสารสีเหลอื งสม้ หรือท่เี รียกว่าสารเคอรค์ ูมนิ อยด์(Curcuminoid) ท้ังนี้ เพอื่ เปน็ การรองรบั การขยายการเติบโตของตลาดขมิน้ ชนั กรมวชิ าการเกษตรกำลังเร่งวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์ขมิ้นชันปลอดโรคระบบวัสดุปลูก (Substrate Culture) หรือการปลูกที่ใช้วัสดุอ่ืน ที่ไม่ใช่ดิน ขมิ้นชัน มี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ตรัง 1 และสายพันธุ์ตรัง 84 - 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ลดปัญหา โรคระบาดและการปนเปื้อนจากสารเคมตี กค้างในดนิ ทีอ่ าจมีผลต่อการเจริญเติบโตและสารเคมีตกค้างในผลผลิต ขมน้ิ ชนั ซง่ึ จะทำให้ไดผ้ ลผลิตท่สี งู ข้นึ กว่าการปลูกในดิน 97

98 (ที่มาของภาพประกอบ : https://www.kasetkaoklai.com/home/2019/09/เผยแทรนด์ขมิ้นชันอตุ สาหกรรม) สว่ นการขยายพันธุ์ ได้ใช้เทคนิคการเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือแทนการใช้หวั และแง่ง เพอื่ เพ่มิ ปริมาณต้นพันธ์ุได้ มากขึ้น สามารถรองรับความต้องการเกษตรกรที่จะนำขมิ้นชันพันธุ์นี้ไปปลูกเชิงการค้าในอนาคต โดยการวิจัย ดังกล่าวดำเนินการในศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2560 และจะแล้วเสร็จในปี 2564 นี้ และหากสำเร็จก็พร้อมแจกจ่ายขมิ้นชันสายพันธุ์ปลอดโรคไปยังกลุ่มเกษตรกรต่างๆ ต่อไป จากกระแสความ ต้องการของตลาดสมุนไพรที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน กรมวิชาการเกษตรได้ให้ความสำคัญในการพัฒนางานวิจัย และการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรของไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย และทดแทน การนำเข้ายาแผนปัจจุบันจากต่างประเทศ และการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าและผลักดันให้ ขมิ้นชันเป็นสินค้าส่งออกของประเทศไทย ในอนาคตด้วยการส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าสู่มาตรฐาน GAP และ อินทรีย์ในทุกพื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตที่สำคัญ ตลอดจนเร่งกระจายขมิ้นชันพันธุ์ปลอดโรคระบบวัสดุปลูกหรือไม่ใช้ ดินให้กว้างขวางมากขึ้น รวมทั้งเร่งวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเนื้อเยื่อเพื่อให้ได้ปริมาณต้นพันธุ์คุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมขมิ้นชันและเป็นทางเลือกให้เกษตรกรนำไปปลูกเพื่อการค้าป้อน ตลาดท้ังในและตา่ งประเทศในอนาคต ปจั จบุ ันมีสายพันธ์ุขม้ินชัน ทไ่ี ดร้ ับการข้ึนทะเบียนโดยกรมวิชาการเกษตรแล้วมีจำนวนแล้ว 5 สายพันธ์ุ ด้วยกันคือ ขมิ้นชันทับปุก (พังงา) ขมิ้นชันตาขุน (สุราษฎร์ธานี) ขมิ้นชันแดงสยาม ขมิ้นชันส้มปรารถนา และ ขมิ้นชันเหลืองนนทรี และมีสายพันธุ์ที่ผ่านการรับรองจำนวน 2 พันธุ์ด้วยกัน คือขมิ้นชันสายพันธ์ตรัง 1 และ ขมิน้ ชันสายพนั ธุต์ รงั 84 - 2 ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบที่ 2 ภาพประกอบท่ี 3 (ที่มาของภาพประกอบท่ี 1 : https://www.thaihealth.or.th/Content/38293-“ขมิ้นชนั ”ข้ึนทะเบยี นยาแผนปัจจบุ นั .html) (ท่ีมาของภาพประกอบท่ี 2 : https://www.abhaiherb.net/article/12/ขมน้ิ ชนั -ควรรับประทานขมนิ้ ชนั ตามเวลาไหนบ้าง-มาดู กนั ) (ที่มาของภาพประกอบท่ี 3 : https://www.thailandpostmart.com/product/1013450000565/ขมน้ิ ชนั -500-กรัมบ้านกร่าง/) 98

หลกั สูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 99 ด้านเกษตรกรรม ด้วยความทข่ี มิน้ ชันเปน็ พชื ท่ปี ลูกง่าย มคี ณุ สมบตั ิชอบอากาศค่อนขา้ งร้อนช้นื ชอบดนิ รว่ นปนทราย ระบายน้ำดี ไมช่ อบดินเหนียวและดินลูกรัง ต้องการความชุ่มช้ืนสูง เจรญิ เติบโตได้ดีในที่กลางแจ้ง เติบโตได้ดีในที่ดอน เป็นพืชปลูกง่ายสามารถปลูกขึ้นได้ทุกภาคของประเทศไทย ปัญหาของโรคแมลงรบกวนน้อย อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 8 - 9 เดือน ทำให้เป็นที่สนใจของเกษตรกรในการปลูกขมิ้นชันเป็นรายได้เสริมกันทั่วทุกภาคของ ประเทศและสว่ นใหญจ่ ะปลูกขมิ้นชันเป็นพืชสวนครวั หลงั บา้ นในปรมิ าณไมม่ ากนัก ปัจจุบันได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกขมิ้นชัน เนื่องจากขมิ้นชันเป็นพืชที่ปลูกง่ายมาก พอเป็นหัวแล้วปล่อยได้จนถึงเวลาเก็บปลูกได้ทุกพื้นที่ เพียงแต่อย่าให้ดินชุ่มน้ำมากอาจทำให้หัวเน่าได้ง่าย ทั้งนี้ ขมิ้นชันเป็นพืชตระกูลหัวและชอบดินแห้งแบบดินทราย วิธีการปลูกขมิ้นชัน คือ เริ่มต้นจากการเตรียมดินด้วย การใส่ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยคอกเพียงเล็กน้อยจะไม่ใช้สารเคมี จะต้องพรวนดินทิ้งไว้ ประมาณ 2 ครั้ง แล้วให้ยก แปลงปลูกขึ้นเล็กน้อยจากนั้นให้หักขมิ้นชันขนาดยาวประมาณ 1 ข้อนิ้วมือ ให้เลือกขมิ้นชันที่มีขนาดปานกลาง ไม่แก่และไม่อ่อนจนเกินไป แล้วนำขมิน้ ชันไปใส่ในหลุมฝงั ลงไปไม่ลึก ระยะระหว่างหลุมประมาณคืบเศษ แล้วจึง รดนำ้ ตามขมน้ิ ชันไมช่ อบนำ้ มาก จงึ ไม่จำเป็นต้องรดนำ้ บอ่ ย สามารถปลูกแบบปล่อยโดยไม่จำเป็นตอ้ งใสใ่ จมาก การปลกู ขมิ้นชนั มกั เร่ิมปลูกกันในช่วงต้นฤดูฝนประมาณปลายเดอื นเมษายน ถึงต้นเดอื นพฤษภาคม ของทกุ ๆ ปี จากนัน้ นับไปอีกประมาณ 9 เดือน จงึ สามารถเก็บได้เพราะเป็นช่วงที่พอเหมาะ เมื่อแตกใบแล้วผ่าน ไประยะหนึ่งใบจะแหง้ แต่จะมีหัวขม้ินชันอยูใ่ ต้ดิน ยังไม่ต้องทำอะไรเพียงแตร่ อให้ถึงเวลาเกบ็ เทา่ น้ัน และคาดว่า น่าจะเก็บเกี่ยวหัวขมิ้นชันได้ในช่วงฤดูหนาวหรือประมาณปลายเดือนธันวาคมถึงมกราคม ซึ่งช่วงนี้หัวขมิ้นชนั จะ แหง่ สนิทจากนัน้ จะถอนต้นออกพร้อมกนั โดยใชเ้ สยี มค่อย ๆ แซะหวั ข้นึ มา ใน 1 ตน้ ได้หวั ขมิ้นชันท่ีมีน้ำหนกั ประมาณ 2 ขีด และมีจำนวน 8 - 10 แง่ง หลังจากเก็บทั้งหมดแล้วให้นำมาผึ่งลมในร่มก่อน เพื่อรอให้คนมาซื้อ ราคารับซ้ือหวั สด ประมาณกิโลกรมั ละ 20 บาท (ทม่ี าของภาพประกอบ : ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว) คลิปวดิ ีโอเรอ่ื ง หลกั สตู รการปลกู ขมิ้นชันพันธ์แุ ดงสยาม โดยศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดนสระแกว้ ทั้งนี้สามารถดาวน์โหลดได้ผ่านช่องทางเว็บไซต์กลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งาน กศน. 99

100 ใบงานท่ี 1 เร่ือง ความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั พืชสมนุ ไพรขมน้ิ ชัน คำช้แี จง หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลความรู้เก่ยี วกับความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับพชื สมนุ ไพรขม้นิ ชันแล้ว จงตอบคำถามดังตอ่ ไปน้ี 1. จงบอกลักษณะทว่ั ไปของพืชสมนุ ไพรขมน้ิ ชัน 1.1 ชอ่ื สามญั ............................................................................................................................. ......... 1.2 ช่ือวิทยาศาสตร์............................................................................................................................ 1.3 ชอื่ อ่ืน....................................................................................................................... .................... 1.4 ถ่นิ กำเนดิ ............................................................................................................................. ........ 2. จงบอกลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องพชื สมุนไพรขม้นิ ชัน 2.1 เหงา้ ขมน้ิ ....................................................................................................................................... 2.2 แงง่ ขมิน้ ............................................................................................................................. ............ 2.3 ใบขม้นิ ........................................................................................................................................... 2.4 ดอกขมนิ้ ............................................................................................................................. ........... 3. จงอธิบายความสำคญั ของพืชสมุนไพรขมิ้นชันในด้านตา่ ง ๆ มาพอสงั เขป แล้วนำเสนอในรูปแบบแผนผัง ความคดิ Mind mapping 3.1 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3.2 ดา้ นอาหารและการบริโภค 3.3 ด้านเศรษฐกิจ 3.4 ด้านอุตสาหกรรม 3.5 ดา้ นเกษตรกรรม 100

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 101 แนวคำตอบ ใบงานที่ 1 เรือ่ ง ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ียวกับพืชสมุนไพรขมน้ิ ชนั 1. ตอบ ลกั ษณะทั่วไปของพชื สมุนไพรขม้นิ ชนั ชือ่ สามญั : Turmeric ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Curcuma longa L. ชื่อพอ้ ง : Curcuma domestica Valeton ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE ชอ่ื อื่น ๆ เช่น - ทว่ั ไป : ขมนิ้ - เชยี งใหม่ : ขมิน้ แกง ขมิน้ หยอก ขม้ินหัว - กะเหรีย่ ง กำแพงเพชร : ตายอ - กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน : สะยอ - ภาคกลาง พษิ ณโุ ลก : ขมนิ้ ชัน - ภาคใต้ : ขมี้ ้นิ , หม้นิ ถิน่ กำเนดิ ของขมิ้นชัน โดยขม้ินชนั มถี ่ินกำเนิดในประเทศแถบเอเชยี ใตแ้ ละเอเชียตะวนั ออกใต้ 2. ตอบ ลักษณะทางพฤกษศาสตรข์ องพชื สมุนไพรขมนิ้ ชนั 1. เหงา้ ขมิน้ คือ ลำต้นใตด้ นิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยแง่งทีม่ ลี ักษณะต่าง ๆ กนั 2. แง่งขมิ้น คือ แง่งแม่หรือแง่งหลักจะมีลักษณะกลม ซึ่งจะเป็นที่แตกของแขนงที่สองและสามต่อไป แขนงท่ีแตกออกมานี้ถา้ มลี ักษณะกลมจะเรียกว่า หัว และถา้ มลี ักษณะยาวคล้ายนว้ิ มือจะเรยี กว่า น้วิ ซง่ึ เปน็ ที่เกิด ของรากฝอย เนื้อในหวั มสี เี หลืองอมส้มหรอื สเี หลืองจำปาปนสีแสด และมกี ล่นิ หอม 3. ใบขม้ิน คือ ลำตน้ เหนือดนิ มีกาบกา้ นใบท่ีเรียงซอ้ นกันเปน็ ลำตน้ เทยี ม ลักษณะใบ เปน็ ใบเด่ยี ว กลางใบสี แดงคล้ำ แทงออกจากเหง้าใตด้ ิน ลักษณะใบรูปใบหอกยาวเรียว ปลายใบแหลม กว้าง 12 - 15 เซนติเมตร ยาว 30 - 40 เซนติเมตร มีเส้นกลางใบเหน็ ได้ชัดเจนทางด้านล่างของใบ ใบเรยี งแบบสลบั และอย่กู ันเปน็ กล่มุ 4. ดอกขมิน้ คอื ในส่วนของดอก ออกเปน็ ช่อ ช่อดอกจะเกิดบนลำต้นทม่ี ีใบหรือโผล่ข้ึนมาจากใจกลาง ของกลุ่มใบ ช่อดอกมีรูปร่างแบบทรงกระบอกหรือรูปกรวย ใบประดับมสี ีเขียวอ่อนๆ หรือสขี าว กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ตรงปลายช่อดอกจะมีสีชมพูอ่อน จัดเรียงซ้อนกันอย่างเป็นระเบียบ กลีบรองกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ มีขน กลีบดอกมขี าว ตรงโคนเชื่อมติดกันเป็นทอ่ ยาว บานครัง้ ละ 3-4 ดอก และผล รปู กลมมี 3 พู 3. ตอบ ความสำคัญของพชื สมนุ ไพรขมนิ้ ชันในดา้ นตา่ ง ๆ นำเสนอ 5 ดา้ น ได้แก่ 2.1 ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ 2.2 ด้านอาหารและการบรโิ ภค 2.3 ดา้ นเศรษฐกิจ 2.4 ดา้ นอุตสาหกรรม 2.5 ดา้ นเกษตรกรรม 101

ใบความรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง สรรพคณุ ของพืชสมุนไพรขม้นิ ชัน ขมิ้นชัน (Turmeric) หรือขมิ้น เป็นพืชที่มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อของเหง้ามีสีเหลืองเข้มไปจนถึงสีแสด มีเอกลักษณ์ที่เด่นชัด คือ รสชาติที่จัดจ้าน สีสันมีความสวยงาม อีกทั้งยังได้มีการนำเอาสมุนไพรมาประยุกต์ ผสมผสานลงไปในอาหารไทย ทำให้ได้รสชาติที่ดูแตกต่างแต่ลงตัว เมื่อพูดถึงเรื่องสมุนไพรที่คนไทยนิยมนำมา ทำอาหารเราคงจะพลาดที่จะเอ่ยถึงขมิ้นชันไม่ได้ เพราะว่าเป็นอีกหนึ่งวัตถุดิบที่ทำให้อาหารมีสีสันสะดุดตา ตลอดจนมีสรรพคุณทางยาที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายเพิ่มพูนเป็นลำดับถัดมาจากความอร่อย ตอนนี้จะมา ทำความรจู้ ักกบั สมนุ ไพรชนิดนี้กันให้มากขึ้น เพราะเหตุใดจึงเปน็ ทนี่ ิยมและประโยชน์ที่ได้จากสมุนไพรขม้นิ ชัน คณุ ประโยชนข์ องขมน้ิ ชัน (ทีม่ าของภาพประกอบ : https://shopee.co.th/blog/turmeric-health-benefits/) ขมิ้นชัน มีสารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoid) พบได้ในพืชมีเหง้าและพืชวงศ์ขิง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดอาการอักเสบ และลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ทำให้มีการนำขมิ้นชันมาประยุกต์ใช้ในอาหารและยา อยา่ งแพร่หลาย ซง่ึ มีประโยชนแ์ ละสรรพคณุ ดงั น้ี [1] 1. ล้างพิษตับ ขมิ้นชันมีสรรพคุณช่วยขับพิษที่สะสมในตับ เนื่องจากมีฤทธิ์ป้องกันตับอักเสบ ช่วยบำรุงตับ และฟื้นฟูตับ โดยมีการใช้ขม้ินชันทดลองรักษาโรคตบั แขง็ ในหนู ผลปรากฏวา่ อาการไมล่ ุกลามเพิ่ม ทำใหน้ ิยมใชเ้ ป็นสมุนไพรยา ทช่ี ว่ ยฟื้นฟูสขุ ภาพและล้างพษิ ออกจากตับ 2. รักษาโรคผวิ หนงั เรือ้ รงั ขมิน้ ชันสามารถใช้รักษาโรคที่เก่ียวกบั ผิวหนังได้ เชน่ โรคผน่ื คัน กลาก เกลอ้ื น ผวิ หนงั อกั เสบจากอาการแพ้ คนไทยสมัยก่อนใช้เหง้าสดของขมิ้นชันมาฝนและบดให้ละเอียด ก่อนจะนำไปทาบริเวณที่มีอาการคัน แต่ปัจจุบัน สามารถใชผ้ งขมิ้นชันสำเร็จรปู ผสมนำ้ เปลา่ หรอื นำ้ มันมะพร้าว นำไปทาบรเิ วณทีอ่ ักเสบหรือคันได้ .......................................................... 1 10 คณุ ประโยชน์ของขมิน้ ชนั สรรพคณุ ปอ้ งกันสารพดั โรค. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/1999331 (วันท่ีสบื ค้นขอ้ มลู 25 กรกฎาคม 2564) 102

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 103 3. แกอ้ าการทอ้ งรว่ ง สำหรับใครที่กินของผิดสำแดงเข้าไปแล้วเกิดอาการท้องร่วง สามารถหาขมิ้นชันในครัวมาใช้เป็นยาได้ โดยนำมาลา้ งให้สะอาด ปอกเปลือกและหั่นเปน็ ชิ้นเล็ก ๆ นำไปตำพร้อมผสมน้ำเปล่า หลังจากนั้นคั้นเฉพาะน้ำให้ ได้สัก 1 ถ้วยตวง แบ่งกนิ คราวละ 2 ชอ้ นโต๊ะ จะช่วยสรา้ งสมดลุ ให้ระบบขับถ่ายและระบบย่อยอาหาร 4. รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการรักษาอาการอักเสบ จึงสามารถช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารให้หายเร็วข้ึน นอกจากนี้หากหั่นขมิ้นชันผสมกับน้ำผึ้ง จะช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุกเสียดแน่น เรียกว่าเป็น สมนุ ไพรทีม่ อบประโยชนใ์ หค้ นกินอยา่ งครบสูตร ทั้งในรปู แบบอาหารและรปู แบบยา 5. ชะลอการแก่ก่อนวยั เน่อื งจากขม้นิ ชนั ออกฤทธต์ิ ้านอนุมลู อสิ ระ จึงถูกนำมาสกัดเป็นยาเสริมอาหารทีใ่ ช้บำรุงร่างกาย ป้องกันโรค ป้องกันการเสื่อมโทรมของเซลล์ และป้องกันร่างกายไม่ให้เส่ือมไปตามวัย ถือเป็นสรรพคุณด้านความงามที่น่าจะ ถูกใจใครหลายคน 6. รกั ษารดิ สีดวง สำหรับผูท้ ่ีเปน็ ริดสดี วงทวารและมแี ผลบริเวณทวารหนัก ใหใ้ ช้ผงขม้นิ ทาหวั ริดสดี วง จะชว่ ยสมานแผลให้ แหง้ และหายเรว็ ขึ้น เพราะขมิ้นชันจะชว่ ยลดการอักเสบ ชว่ ยฆ่าเช้อื โรค และทำใหเ้ นื้อเยื่อบริเวณแผลกระชับเร็วขึ้น 7. แกพ้ ษิ แมลงกัดต่อย หากถูกแมลงกัดจนเป็นแผล มีอาการบวมแดง สามารถบรรเทาได้ด้วยการใช้ผงขมิ้นชันผสมกับ น้ำมันมะพร้าว แล้วนำไปเคีย่ วบนไฟ จะได้น้ำมันนวดสำหรับทาแก้พิษแมลงกัดต่อย หรือจะนำผงขมิน้ ชันไปผสม กบั น้ำปูนใสเพอื่ นำมาพอกแผลก็ได้เช่นกนั 8. ป้องกนั โรคข้อเขา่ อกั เสบ ในผู้สูงอายุนิยมใช้ขมิ้นชันรักษาอาการข้อตึง ปวดเมื่อยตามข้อเข่า ซึ่งอาจจะเป็นไปตามวัยหรือพฤติกรรม ในชีวิตประจำวัน แต่ขมิ้นชันสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดในโรคข้อเข่าเสื่อมได้ โดยมีการนำมาใช้ทดแทน ยาแผนปัจจุบันอยา่ งแพร่หลาย 9. ลดระดบั ไขมนั ในเส้นเลอื ด สารไฟโตสเตอรอล (Phytosterols) ทอี่ ยูใ่ นพืชธรรมชาตอิ ยา่ งขมิ้นชนั จะช่วยยับย้งั คอเลสเตอรอล มีฤทธิ์ ในการลดไขมนั ในเส้นเลอื ด ป้องกนั ความเสี่ยงในการเกดิ โรคหลอดเลอื ดอดุ ตันและโรคหัวใจ 10. เสรมิ สรา้ งภมู คิ มุ้ กัน ขมิ้นชันสามารถช่วยปรับสมดุลและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย โดยเฉพาะในปัจจุบันมีปัญหามลพิษ ฝุ่นละออง PM 2.5 ที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย ทำให้เป็นภูมิแพ้ได้ง่าย จึงนิยมกินขมิ้นชันเพื่อเป็นตัวช่วยเสริม รา่ งกายใหแ้ ขง็ แรงต่อมลพิษ ขมิ้นชันอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิด เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินซี วิตามินอี ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก และเกลือแร่ต่าง ๆ รวมไปถึงเส้นใย คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน เป็นต้น และขมิ้นชันมีสรรพคุณทางยาที่รักษาอาการและโรคต่าง ๆ ได้หลายชนิด มีประวัติในการ นำมาใช้ในการรักษามากกว่า 5,000 ปี สำหรับขมน้ิ ชันที่จะนำมาใชป้ ระโยชน์นั้น การเกบ็ เกย่ี วไม่ควรเก็บในระยะ 103

104 ที่ขมิ้นเริ่มแตกหน่อ เพราะจะทำให้สารที่มีประโยชน์อย่างเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นมีน้อย ส่วนเหง้าที่เก็บมาต้องมี อายุอย่างน้อย 9 - 12 เดือน และต้องไม่เก็บไว้นานเกินไป และไม่ให้ถูกแสงแดด เพราะน้ำมันหอมระเหยในขม้ิน จะหมดไปเสียก่อน เมื่อได้เหง้ามาแล้ว หากจะนำไปรับประทานเพื่อใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ควรล้างให้สะอาด ก่อน และไม่ต้องปอกเปลือก แต่หั่นเป็นแว่นชิ้นบาง ๆ แล้วนำไปตากแดดสัก 2 วันแล้วนำมาบดให้ละเอียด ผสมกับ น้ำผึ้งแล้วปัน้ เป็นเมด็ เลก็ ๆ เท่าปลายนิ้วก้อย แล้วนำมารับประทานวันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 2 - 3 เม็ด หลังอาหาร และช่วงกอ่ นนอน หรือจะนำเหงา้ แก่มาขูดเอาเปลือกออกแล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด นำมาบดให้ละเอียด เติมน้ำ แล้วคั้นเอาแต่น้ำมารับประทานครัง้ ละ 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 ครั้ง หากนำขมิ้นมาใช้เป็นยาทาภายนอก เพื่อรักษา อาการแพ้ ผ่ืนคัน ผวิ หนงั อกั เสบ แมลงสัตว์กัดตอ่ ย ให้นำเหง้าขม้นิ มาฝนผสมกบั น้ำต้มสุก แล้วทาบรเิ วณที่เป็นวันละ 3 ครงั้ หรอื จะนำเอาผงขมนิ้ มาโรยก็ใชไ้ ด้เช่นกนั วิธีกินขมิ้นชนั ใหไ้ ดผ้ ลดี และได้ประโยชน์ [2] ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบที่ 2 (ทมี่ าของภาพประกอบท่ี 1 : https://malikkik.wixsite.com/thaiherbs/post/) (ท่ีมาของภาพประกอบที่ 2 : https://www.posttoday.com/life/healthy/638806) วิธีกินขมิ้นชัน มีการศึกษาพบว่า การรับประทานขมิ้นตามเวลาที่อวัยวะต่าง ๆ กำลังทำงาน จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของขมิ้นให้มากขึ้น ในขมิ้นชันนั้นมีสารสำคัญชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เคอร์คูมินอยด์ เป็นสารที่มี ประโยชน์ช่วยลดการอักเสบและป้องกันการเกิดโรคมะเร็งต่าง ๆ แต่ว่าร่างกายมีความสามารถในการดูดซึมได้ นอ้ ยมาก การรับประทานขม้นิ ชนั ให้ไดผ้ ลดี ควรรับประทานขมิน้ ชันตามเวลาต่อไปน้ีตามการรักษา 1. เลือกขมนิ้ ท่อี ายุอยา่ งนอ้ ย 9 เดอื น เพราะขมิ้นชนั อ่อนจะมสี ารเคอรค์ ูมนิ อยด์ในปรมิ าณนอ้ ย 2. รับประทานรว่ มกบั มื้ออาหาร เช่น กับพริกไทยดำ เพราะพริกไทยดำชว่ ยใหร้ ่างกายดูดซมึ สารเคอร์คูมินอยด์ ได้ดีกว่าทานขมน้ิ ชันอย่างเดยี วหลายเทา่ ตัว โดยควรทานระหว่าง หรอื หลงั รบั ประทานอาหาร 3. เนื่องจากขมิ้นชัน (ผง) นั้นละลายได้ดีในไขมัน หากปรุงอาหารจากขมิ้นชันด้วยน้ำมันจะให้ร่างกาย ดูดซึมได้ดกี วา่ เดมิ .......................................................... 2 ขมิ้น สรรพคณุ และประโยชนข์ องขมน้ิ ชนั . [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก.https://www.opsmoac.go.th/surin- local_wisdom-preview-422891791843 . (วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล 25 กรกฎาคม 2564) 104

หลกั สูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 105 4. รับประทานตามนาฬิกาชวี ติ มีการศึกษาพบวา่ อวัยวะในร่างกายทำงานในชว่ งเวลาตา่ งๆ กัน การรบั ประทาน ขม้ินชันตามเวลาท่ีอวัยวะนน้ั ทำงานจะได้ประโยชน์สูงสดุ ดังน้ี • เวลา 03.00-05.00 น. ช่วงเวลาของปอด หากรับประทานช่วงเวลานี้จะช่วยในการบำรุงปอด ชว่ ยใหป้ อดแข็งแรง ช่วยป้องกนั การเป็นมะเร็งปากมดลูก ชว่ ยเสรมิ สร้างภูมิคุ้มกันให้ผวิ หนงั และช่วยเร่ืองภูมิแพ้ หายใจไม่สะดวก • เวลา 05.00-07.00 น. ช่วงเวลาของลำไส้ใหญ่ ชว่ ยแกป้ ัญหาลำไสใ้ หญ่ สำหรับผทู้ ข่ี ับถ่ายไมเ่ ป็น เวลาหรอื รับประทานยาถ่ายมานาน หากรับประทานขมิ้นชนั ในช่วงนี้จะช่วยฟ้ืนฟปู ลายประสาทของลำไส้ใหญใ่ ห้ บีบรัดตัว เพอื่ ชว่ ยให้ขับถา่ ยได้อย่างเป็นปกติ ช่วยแกป้ ญั หาลำไส้ใหญข่ ับถ่ายน้อยหรือมากจนเกินไป และช่วยป้องกัน การเกิดโรคริดสีดวงทวารและมะเรง็ ลำไส้ได้อีกด้วย หากรับประทานพร้อมกับโยเกิร์ต น้ำผึ้ง นมสด มะนาว หรือ นำ้ อนุ่ จะช่วยชะล้างผนังลำไส้ใหส้ ะอาดได้ • เวลา 07.00-09.00 น. ช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร จะชว่ ยลดอาการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ จกุ เสยี ด แน่นท้อง และยังช่วยแก้อาการปวดเข่า ขาตึง บำรุงสมอง ป้องกันโรคความจำเสื่อมได้อีกด้วย จะช่วยแก้ปัญหา เรื่องกระเพาะอาหารที่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา และยังลดอาการท้องอืด จุกแน่น ปวดเข่า ขาตึง ช่วยบำรุงสมองและปอ้ งกนั ความจำเสอื่ มได้ • เวลา 09.00-11.00 น. ช่วงเวลาของม้าม ช่วยแก้ปัญหาเรื่องน้ำเหลืองเสีย มีแผลบริเวณปาก บรรเทาอาการของโรคเบาหวาน โรคเกาต์ การอ้วนเกินไปหรือผอมเกินไป • เวลา 11.00-13.00 น. ชว่ งเวลาของหัวใจ ชว่ ยบำรุงหวั ใจให้มีสขุ ภาพแข็งแรง • เวลา 15.00-17.00 น. ช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ ช่วยบำรุงหูรูดกระเพาะปัสสาวะให้ แข็งแรง แก้อาการตกขาว และการทำให้เหงอื่ ออกในชว่ งเวลานจ้ี ะชว่ ยทำใหร้ ่างกายขับสารพิษออกไปจากร่างกาย ไดม้ าก • เวลา 17.00 น. จนถึงเวลาเข้านอน การรับประทานขมิ้นชันในช่วงนี้จะช่วยทำให้ความจำดีขึ้น เมอื่ ตืน่ นอนจะไม่ออ่ นเพลีย การขับถ่ายก็จะดขี น้ึ ด้วย การหาซ้อื ขม้นิ ชนั มารบั ประทานเองไมว่ า่ จะเปน็ แบบผงหรือแบบแคปซูล ควรจะซื้อจากแหล่งผลิตท่ี ได้มาตรฐาน มีความสะอาด ปลอดสารเคมี ไม่มีสารสเตียรอยด์ปลอมปน และในกระบวนการผลิตนั้นตอ้ งไม่ผ่าน ความร้อนเกิน 65 องศา เพ่อื คงคุณภาพของขม้ินชัน ใสใ่ จกันสกั นดิ เพราะบางคนซื้อมารับประทานเองทกุ วัน ท้ังน้ี เพือ่ ความปลอดภยั (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 105

106 สรรพคณุ ของพชื สมนุ ไพรขม้นิ ชนั [3] ขมิ้นชันมสี รรพคุณ ดงั น้ี 1. ขมิน้ มีสารต่อตา้ นอนมุ ลู อิสระซ่ึงช่วยในการชะลอวัยและชะลอการเกิดริว้ รอย 2. ชว่ ยเสรมิ สร้างภูมติ ้านทานใหก้ บั รา่ งกาย 3. ช่วยเสรมิ สร้างภมู คิ มุ้ กันให้ผิวหนังมสี ุขภาพดีแข็งแรง 4. ขมิน้ ชนั อาจมบี ทบาทช่วยปอ้ งกนั การเกิดโรคมะเร็ง เช่น โรคมะเรง็ ลำไส้ มะเร็งปากมดลกู 5. ขม้ินสามารถช่วยลดระดบั คอเลสเตอรอลในรา่ งกายได้ 6. ชว่ ยกำจดั สารพิษออกจากร่างกาย 7. ช่วยบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน 8. มีส่วนช่วยรกั ษาโรคความดันโลหิตสูง 9. ชว่ ยลดอาการของโรคเกาต์ 10. ชว่ ยขับน้ำนมของมารดาหลงั คลอดบตุ ร 11. ชว่ ยรกั ษาระบบทางเดนิ หายใจท่มี อี าการผิดปกติ 12. ช่วยบำรงุ สมอง ปอ้ งกันโรคความจำเสื่อม 13. อาจมสี ่วนช่วยในการรักษาโรครูมาตอยด์ (ยงั ไม่ได้รบั การยืนยัน) 14. ช่วยลดการอกั เสบ 15. ช่วยแกอ้ าการวงิ เวียนศรี ษะ 16. ชว่ ยรักษาอาการแพแ้ ละไขห้ วดั 17. ชว่ ยบรรเทาอาการไอ 18. ช่วยรักษาอาการภมู ิแพ้ หายใจไมส่ ะดวกให้มอี าการดขี ้ึน 19. ช่วยป้องกนั การแขง็ ตัวของหลอดเลอื ด 20. ชว่ ยตอ่ ตา้ นอนมุ ลู อิสระในเม็ดเลือดแดงของผู้ป่วยธาลสั ซีเมีย ฮโี มโกบิลอี 21. ชว่ ยรักษาแผลที่ปาก 22. ช่วยบำรงุ ปอดให้มสี ขุ ภาพดแี ละแขง็ แรง 23. นำ้ มนั หอมระเหยในขมน้ิ ชันมสี รรพคุณช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง 24. ช่วยรักษาอาการท้องเสีย อุจจาระร่วง โดยนำผงขมิ้นชันผสมน้ำผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอนแล้วนำมา รับประทานครัง้ ละ 3 เม็ด 3 เวลา 25. ชว่ ยแกอ้ าการจดุ เสียด แน่นทอ้ ง ท้องอืด ท้องเฟอ้ 26. ช่วยรักษาโรคลำไส้อกั เสบ 27. ช่วยลดการบีบตวั ของลำไส้ .......................................................... 3 ขม้ิน สรรพคณุ และประโยชนข์ องขม้นิ ชนั 55 ข้อ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. https://medthai.com/. (วนั ที่สบื ค้น ข้อมูล 25 กรกฎาคม 2564) 106

หลกั สูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 107 28. ช่วยรกั ษาอาการลำไส้ใหญบ่ วม 29. ชว่ ยรักษาโรคกระเพาะอาหาร 30. ชว่ ยในการขบั ลม 31. ช่วยบรรเทาอาการนว่ิ ในถุงนำ้ ดี 32. มฤี ทธิใ์ นการช่วยขบั นำ้ ดี 33. ช่วยสมานแผลในกระเพาะอาหาร และทำความสะอาดลำไส้ 34. ชว่ ยบำรุงตับ ป้องกนั ตบั อกั เสบ ตบั อ่อนอกั เสบ และป้องกันตับจากการถกู ทำลายของยาพาราเซตามอล 35. ชว่ ยบำรงุ หรู ดู กระเพาะปสั สาวะใหแ้ ข็งแรง 36. ชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ โรครดิ สดี วงทวาร 37. ช่วยแก้อาการตกเลือด ด้วยการนำขมิ้นสดมาตำให้ละเอียด แล้วคั้นเอาน้ำมาผสมกับน้ำปูนใสแล้ว รบั ประทาน 38. ช่วยแกอ้ าการตกขาว 39. ช่วยรกั ษาอาการปวดหรืออกั เสบเนอื่ งจากไขขอ้ อักเสบ 40. ช่วยแกอ้ าการน้ำเหลอื งเสีย 41. ช่วยแก้ผืน่ คนั ตามร่างกาย 42. ช่วยรกั ษาโรคผวิ หนงั ผดผนื่ คนั 43. ช่วยรักษากลาก เกลื้อน ด้วยการใช้ผงขมิ้นผสมกับน้ำ นำมาทาบริเวณที่เป็นกลากเกลื้อนทุกวัน วันละ 2 ครง้ั 44. ชว่ ยรกั ษาโรคผิวหนังพุพอง ตมุ่ หนองใหห้ ายเรว็ ย่งิ ขนึ้ 45. ช่วยรักษาแผลจากแมลงสัตว์กัดต่อยได้ ด้วยการนำขมิ้นมาล้างน้ำให้สะอาด แล้วตำจนละเอียด คัน้ เอาแต่นำ้ มาทาบริเวณดังกลา่ ว 46. มีฤทธิ์ในการต่อต้านและฆ่าเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนัง และต่อต้านยีสต์ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้ ภูมคิ ุ้มกันตำ่ 47. ชว่ ยตอ่ ตา้ นปรสิตหรือเช้อื อะมีบาท่ีเปน็ ตน้ เหตุของโรคบดิ ได้ 48. ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรียและไวรัส เช่น แบคทีเรียที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร แบคทีเรียที่ ทำใหเ้ กดิ โรคทอ้ งเสีย แบคทเี รยี ท่ที ำใหเ้ กิดหนอง เปน็ ตน้ 49. มีฤทธิ์ในการต่อต้านการกลายพันธุ์ ต้านสารก่อมะเร็งที่มีความเกี่ยวข้องกับโรคที่เกิดจากการเสื่อม ของร่างกาย และโรคเบาหวาน 50. ช่วยสมานแผลตามร่างกายให้หายเร็วยิ่งขึ้น ด้วยการนำผงขมิ้นมาผสมกับน้ำแล้วทาลงบนบาดแผล และยงั ชว่ ยให้บาดแผลไมใ่ หต้ ิดเชอ้ื ของกระตา่ ยและหนูขาวได้ และสามารถเร่งให้แผลที่ติดเชอ้ื หายได้ 51. ขมิ้นชันยังมีสรรพคุณช่วยในการป้องกันการงอกของขนอีกด้วย โดยผู้หญิงชาวอินเดียมักนำขมิน้ ชนั มาทาผวิ เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้ขนงอก 107

108 52. ขมิ้นชันขัดผิว ใช้ทำทรีตเมนต์พอกผิวขัดผิวดว้ ยขมิ้นชัน ช่วยให้ผิวพรรณนุ่มนวล ขาวผ่องใส เต่งตึง ดว้ ยการนำขมนิ้ ชนั สดมาล้างนำ้ ให้สะอาด หั่นเปน็ ชนิ้ เล็ก ๆ แล้วนำไปปนั่ รวมกบั ดินสอพอง 2-3 เม็ด แลว้ ผสมกับ มะนาว 1 ลกู ป่นั จนเขา้ กนั นำมาพอกหนา้ หรือผวิ ท้ิงไว้ประมาณ 20 นาที แล้วลา้ งออกด้วยนำ้ สะอาด 53. ขมนิ้ ชันเป็นส่วนประกอบของทรตี เมน้ ตร์ กั ษาสวิ เส้ียน สวิ ผด สิวอดุ ตัน 54. ขมิน้ ชนั เป็นสว่ นประกอบอยา่ งหนึง่ ในเครื่องสำอางบำรงุ ผิวต่าง ๆ 55. นอกจากนีย้ ังช่วยปอ้ งกนั แมลงศตั รพู ืชไดอ้ ีกดว้ ย สรรพคณุ เดน่ ทางยาของขม้ินชนั รักษาอาการท้องอืดเฟ้อ โรคกระเพาะ แผลพุพอง บำรุงผิว เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการอักเสบ และมีฤทธิ์ในการขับน้ำดี น้ำมันหอมระเหยในขมิ้นชันมีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด การใช้ขมิ้นชันแก้แพ้แก้อักเสบ แผล ฝีพุพอง แมลงสัตว์กัดต่อยภายนอกโดยใช้เหง้ายาว ประมาณ 2 นว้ิ ฝนกบั น้ำต้มสุกทาบรเิ วณที่เปน็ วันละ 3 ครัง้ หรือใชผ้ งขม้ินชันโรยทาบรเิ วณท่ีมีอาการผ่ืนคันจาก แมลงสัตว์กดั ต่อยได้ อาการทอ้ งอืด ทอ้ งเฟ้อ แน่น จุกเสียด และอาหารไม่ย่อย ใชเ้ หง้าขมิ้นชันไม่ต้องปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดดจัด ๆ สัก 1 - 2 วัน บดให้ละเอียด ผสมกับน้ำผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย รบั ประทานครงั้ ละ 2 - 3 เมด็ วนั ละ 3 - 4 คร้ัง หลงั อาหารและก่อนนอน ถ้ามอี าการท้องเสียให้หยุดยาทนั ที นอกจากโรคเกี่ยวกับท้องแล้ว ขมิ้นชันยังมีสรรพคุณในการบำรุงร่างกายและช่วยบำรุงตับ รักษาระบบ ทางเดนิ หายใจท่ีผิดปกติ หืด ไอ เวียนศรี ษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออกั เสบอีกด้วย เพราะว่ามี ฤทธิล์ ดการอักเสบ ลดปฏิกิรยิ าภมู แิ พ้ เพ่ิมภมู ิคนุ้ กันใหแ้ ก่รา่ งกาย มีฤทธิ์ฆา่ เชือ้ แบคทีเรยี ที่ทำให้เกดิ หนอง มีฤทธ์ิ ขับน้ำดีช่วยในการย่อยและป้องกันไม่ให้เป็นนิ่วในถุงน้ำดี มีฤทธิ์ขับลม และมีการศึกษาการใช้ขมิ้นชันรักษา โรคกระเพาะในประเทศไทย (โรงพยาบาลศริ ริ าช) พบวา่ ไดผ้ ลดพี อควร ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบท่ี 2 ภาพประกอบท่ี 3 (ท่ีมาของภาพประกอบที่ 1 : https://sukapap-d.com/archives/1238) (ท่มี าของภาพประกอบที่ 2 : https://www.msc1999thailand.com/โรคแผลพพุ องกบั โรคตุ่มน้ำพอง) (ทม่ี าของภาพประกอบท่ี 3 :https://www.pobpad.com/แมลงกัดตอ่ ย-และวธิ ีรักษา) 108

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 109 ผลข้างเคยี งของขม้นิ ชนั [2] การรบั ประทานขมน้ิ ชันเพ่ือการรักษาโรคใด ๆ ก็ตาม ถ้าหากเรารวู้ ่าเราเป็นโรคอะไร แล้วรับประทานไป เร่อื ย ๆ จนโรคนน้ั หายไปแล้ว กค็ วรหยดุ รบั ประทาน ถึงแมข้ มิ้นชันจะมีประโยชน์กจ็ รงิ แต่หากร่างกายได้รับมาก เกินความต้องการอาจจะกลายเป็นโทษ ขมิ้นชันมีผลข้างเคียง คือ อาการแพ้ เช่น คลื่นไส้ ท้องเสีย ปวดหัว นอนไม่หลับ ดังนั้นหากคุณรับประทานขมิ้นชันแล้วมีอาการดังกล่าว ควรหยุดรับประทานและหายาชนิดอื่นรับประทานแทน และยงั มีความเช่อื เรื่องโทษและขอ้ เสยี ของขม้นิ ชนั ในแถบภาคใต้ว่า การรับประทานขมิน้ ชันที่มากเกนิ ไปและถ่ีเกินไปนั้น แทนท่จี ะช่วยปอ้ งกนั โรคมะเรง็ อาจจะเปน็ มะเรง็ ได้ อย่างไรก็ตาม ควรสังเกตอาการของตนเองด้วย เนื่องจากอาการท้องเสียนั้นเป็นอาการข้างเคียงทั่วไป อาจมีสาเหตุมาจากยาชนิดอื่น หรือจากภาวะของโรคที่เป็นอยู่แล้วร่วมด้วยก็เป็นได้ ดังนั้นควรสังเกตอาการของ ตนเองดว้ ยว่าเดิมกินยาอน่ื แล้วไม่มีปญั หาใช่หรอื ไม่ แตเ่ พ่ิงมามีปญั หาเมือ่ ตอนรบั ประทานขมน้ิ ชนั ร่วมดว้ ย กค็ วรสงสัยไว้ ก่อนว่าอาจเป็นผลข้างเคียงของขมิ้นก็ได้ แต่ทั้งนี้ถ้าคิดว่าเป็นผลข้างเคียงของขมิ้น ก็อาจจะรับประทานขมิ้นชัน ต่อไปได้ ด้วยการรับประทานซ้ำ และค่อย ๆ ปรับขนาดยา จาก 1 เม็ด เป็น 2 เม็ดต่อครั้ง แล้วดื่มน้ำตามมาก ๆ กอ็ าจจะทำให้รับประทานขมิ้นชนั ตอ่ ไปได้ การรับประทานอย่างพอประมาณและเหมาะสม รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ งดพฤติกรรมที่สุ่มเสี่ยงต่อ การเกดิ โรคคือสง่ิ ท่ีถูกต้อง บางส่งิ บางอย่างถึงแม้มันจะมปี ระโยชน์มากก็จริง แต่ถา้ มันมากเกินไปก็จะเป็นโทษต่อ ตนเองได้ จงึ ไมค่ วรหลงและรบั ประทานทานอย่างไรส้ ติ การค้นพบสรรพคุณใหม่ ๆ ของขมิ้นชันมีอีกมากมาย เช่น การป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด การชลอความแก่ การเป็นสารต้านมะเร็งและเนื้องอกต่าง ๆ พบว่า การกินอาหารผสมขมิ้นชันสามารถทำลายเชื้อไวรัส ที่ผ่านมาทางอาหารได้ รวมทั้งสามารถป้องกันมะเร็งจากสารก่อมะเรง็ ต่าง ๆ และยังมีสรรพคุณใน การต้านไวรัส โดยเฉพาะเชอ้ื HIV อันเป็นตน้ เหตขุ องโรคเอดส์ ขมิ้นชนั จงึ เป็นอีกความหวงั หน่งึ ของผปู้ ว่ ยเอดส์ ขมิ้นชันนอกจากที่จะมีคุณค่าทางอาหารแล้ว ยังถือเป็นพืชที่มีคุณค่าทางยาอีกด้วย ซึ่งชาวไทยนิยมน ำ สว่ นตา่ ง ๆ มาใชเ้ ป็นยาเพือ่ บรรเทาอาการที่เกดิ ขนึ้ กบั ร่างกาย โดยสามารถดูรายละเอียดได้ ดังนี้ ตวั อยา่ งวิธกี ารนำพืชสมุนไพรขม้นิ ชันมาใช้ [4] เหง้า : เหง้ารสฝาดหวานเอียด ใช้สำหรับแก้อาการไข้เรื้อรัง ผอมเหลือง แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะและโลหิต แก้ ทอ้ งรว่ ง สมานแผล แก้ธาตพุ ิการ ขับผายลม แก้ผน่ื คัน ขับกล่ินและสิ่งสกปรกในร่างกาย คุมธาตุ หยอดตา แก้ตาบวม ตาแดง น้ำคั้นจากเหง้าสดทาแก้แผลถลอก แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ลดอาการอักเสบ ทำให้ผิวพรรณผุดผ่อง นำมา อัดเม็ดทำเป็นยารักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ธาตุพิการ อาหารไม่ย่อย กระเพาะอาหารอ่อนแอ รักษาแผลใน กระเพาะอาหาร แก้ท้องรว่ ง แกบ้ ิด .......................................................... 2 ขม้ิน สรรพคณุ และประโยชนข์ องขมน้ิ ชัน . [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก.https://www.opsmoac.go.th/surin- local_wisdom-preview-422891791843 . (วันทสี่ บื คน้ ข้อมูล 25 กรกฎาคม 2564) 4 ขมน้ิ ชัน สมุนไพรไทยแท้ๆ พร้อมประโยชน์ และการนำไปใช้ใหถ้ กู วธิ .ี [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. http://203.157.123.7/ssopanom/?news. (วันที่สืบค้นขอ้ มลู 25 กรกฎาคม 2564) 109

110 ผงขมิน้ : (น้ำเหง้าแห้งมาบดเปน็ ผง) นำมาเค่ยี วกับน้ำมนั พืช ทำน้ำมนั ใสแ่ ผลสด ขมิ้นสด : (ใช้เหง้าสดล้างให้สะอาด) ตำกับดินประสิวเล็กน้อย ผสมน้ำปูนใสพอกบาดแผลและแก้เคล็ด ขดั ยอก เผาไฟ ตำกับน้ำปูนใส รับประทานแก้ทอ้ งรว่ ง แก้บิด การใชข้ มิ้นเพอื่ รกั ษาอาการแนน่ จกุ เสียด อาหารไมย่ ่อย เป็นข้อบ่งใช้เดียวที่มีรายงานการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับขององค์การอนามัยโลก และคณะกรรมการ แห่งชาตดิ า้ นยา วิธีใช้ 1. รบั ประทานผงขมิน้ ชนั ในขนาด 1.5 – 4 กรมั /วนั แบ่งเปน็ วันละ 3 – 4 ครงั้ ช่วงเวลาหลงั อาหารและกอ่ นนอน 2. ใช้ขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอน รับประทานช่วงเวลาหลังอาหารและก่อนนอน ครั้งละ 3 – 5 เม็ด วันละ 3 เวลา การใช้ขมิ้นรกั ษาอาการท้องเสีย วิธใี ช้ 1. ใช้ขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอน รับประทานช่วงเวลาหลังอาหารและก่อนนอน ครั้งละ 3 – 5 เม็ด วันละ 3 เวลา การใช้ขม้ินรกั ษาแผลและแมลงกัดต่อย วิธีใช้ 1. ใช้ผงขมิ้นชัน 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำมันมะพร้าว หรือน้ำมันหมู 2 – 3 ช้อนโต๊ะ เคี่ยวด้วยไฟอ่อน ๆ จน น้ำมนั กลายเป็นสเี หลือง ใชน้ ้ำมันที่ไดใ้ สแ่ ผล 2. นำขมิน้ ชันมาลา้ งใหส้ ะอาดแลว้ ตำจนละเอยี ด คน้ั เอานำ้ ท่ไี ด้มาใสแ่ ผล 3. เอาขม้นิ ชนั ผสมกบั น้ำปนู ใสเลก็ นอ้ ย จากน้นั ให้ผสมสารส้ม หรือดนิ ประสิว พอกบรเิ วณท่ีเป็นแผลและ แกเ้ คล็ดขดั ยอก การใช้ขมิ้นเพื่อรักษากลาก เกล้ือน วิธีใช้ 1. ผสมขม้ินกับน้ำแลว้ ทาบรเิ วณทีเ่ ป็นกลาก เกล้อื น จำนวน 2 ครง้ั /วัน การใช้ขม้นิ กำจัดและป้องกันศตั รูพชื วธิ ีใช้ 1. ตำขมิ้นชันแห้งครึ่งกิโลกรัมให้ละเอียด จากนั้นนำไปหมักในน้ำ 2 ลิตร ทิ้งไว้ค้างคืน เมื่อได้ที่แล้วจึง กรองเอาเฉพาะน้ำไปผสมน้ำเพิ่มอีก 2 ลิตร ใช้ฉีดพ่นแปลงผักจะช่วยป้องกันหนอนใยผัก หนอนกระทูผัก และ หนอนผเี สือ้ ท่วั ไป .......................................................... 4 ขม้ินชัน สมนุ ไพรไทยแท้ๆ พร้อมประโยชน์ และการนำไปใช้ใหถ้ ูกวิธี. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก. http://203.157.123.7/ssopanom/?news. (วนั ท่ีสืบค้นข้อมลู 25 กรกฎาคม 2564) 110

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 111 ผวิ สวยดว้ ยขมิน้ [2] 1. สูตรขมน้ิ สด (ชว่ ยใหผ้ ิวเรยี บเนยี น รักษาสวิ อดุ ตนั สิวอกั เสบ) • ผิวสวยดว้ ยขมน้ิ ชันสตู รแรก ให้นำขมน้ิ ชันมาล้างน้ำใหส้ ะอาดแลว้ นำไปปอกเปลือก หน่ั เปน็ ชน้ิ เล็ก ๆ • เสร็จแลว้ นำมาปน่ั ด้วยเครอ่ื งปน่ั แลว้ นำมาใสก่ ระปกุ แชใ่ นตู้เยน็ ใหค้ รบ 1 สัปดาห์ • ใช้คอตตอนบดั ปนั่ หจู ้มิ น้ำขมน้ิ ชันแล้วนำมาทาหน้ากอ่ นล้างหน้า 15 นาที • ควรใช้ตอนเยน็ หรือกอ่ นนอน เพราะอาจทำใหห้ น้าเหลือง ตอ้ งลา้ งประมาณ 2 คร้งั ถึงจะออกหมด 2. สตู รขมนิ้ สด/ ดินสอพอง/ มะนาว (ชว่ ยใหผ้ ิวหนา้ ผ่องใสเนยี นเรยี บ ออ่ นเยาว์ สวิ ยุบเรว็ ) • เตรยี มวัตถดุ ิบดงั นี้ ขมิ้นชันสดเลก็ น้อย/ ดนิ สอพอง 3 เมด็ / น้ำมะนาว 1 ผล • นำขมิน้ ชนั มาลา้ งนำ้ ให้สะอาด แลว้ ห่นั เป็นชน้ิ เลก็ ๆ • นำขมิ้นชนั ท่ีหัน่ แลว้ มาปน่ั รวมกบั ดินสอพองและนำ้ มะนาวจนละเอยี ดเป็นเนื้อเดยี วกนั • จะไดเ้ น้ือครมี เขม้ ขน้ ลา้ งหนา้ ใหส้ ะอาดแลว้ นำครมี ท่ีไดม้ าพอกท้ิงไว้ประมาณ 20 นาทแี ลว้ ลา้ งออก • ควรทำเป็นประจำและสม่ำเสมอ สัปดาหล์ ะ 2-3 คร้ังจะชว่ ยให้เห็นผลชดั เจนยิง่ ขน้ึ 3. สตู รผงขม้ินชนั / นำ้ มะนาว (ช่วยให้หนา้ เนยี นใส ช่วยลดอาการบวมแดงจากสวิ ชว่ ยลดสิวและช่วยให้ สวิ ยุบเร็ว) • นำผงขมนิ้ ชนั มาผสมกับนำ้ มะนาวพอข้น • นำมาแตม้ บริเวณที่เปน็ สวิ กอ่ นนอนหรือจะพอกทั่วใบหนา้ กไ็ ด้ • ทงิ้ ไว้ประมาณ 20-30 นาทแี ลว้ ลา้ งออก (หรอื จนกวา่ จะร้สู กึ ว่าแสบก็ให้ล้างออกได้เลย) 4. สูตรผงขมิ้นชนั / น้ำนม (บำรุงผวิ หนา้ ให้ผ่องใส อ่อนเยาว์ รกั ษาสิวเส้ียน กระชับรขู ุมขน รกั ษาแผลสวิ ) • นำผงขม้นิ ชนั ผสมกบั น้ำนมให้เข้ากนั • ล้างหนา้ ใหส้ ะอาด แล้วนำขม้ินชนั ทีไ่ ดม้ าขัดบนผิวหนา้ อยา่ งเบามือจนท่ัวใบหน้า • พอกทิง้ ไว้ประมาณ 5 นาที แล้วลา้ งออกด้วยนำ้ อนุ่ ๆ 5. สตู รผงขมนิ้ ชนั / น้ำผง้ึ (บำรุงผวิ หนา้ ใหผ้ อ่ งใส อ่อนเยาว์ รักษาสวิ เสีย้ น กระชับรขู ุมขน รักษาแผลสิว) • นำผงขมิ้นชนั ผสมกับนำ้ ผง้ึ ผสมให้เข้ากนั • ลา้ งหน้าให้สะอาด แลว้ นำขมนิ้ ชนั ทไี่ ด้มาขดั บนผวิ หนา้ อยา่ งเบามอื จนท่วั ใบหนา้ • แล้วพอกทิง้ ไว้ประมาณ 5 นาที แลว้ ลา้ งออกดว้ ยนำ้ อนุ่ ๆ 6. สูตรผงขมน้ิ ชนั / ดนิ สอพอง (ชว่ ยฆ่าเชื้อโรค บรรเทาอาการสิว) • นำดนิ สอพองมาผสมกับผงขมน้ิ ชันแล้วคนให้เข้ากัน • เสรจ็ แลว้ นำมาแตม้ ท่หี วั สวิ • หากจะนำมาพอกหน้าควรลดปริมาณผงขมน้ิ ชันลงจากเดิม 7. สูตรน้ำขมิ้นชัน/ นมสด/ดินสอพอง (ช่วยให้ผิวชุ่มชื่น เปล่งปลั่ง เรียบเนียน ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย แกอ้ าการผดผน่ื คัน) • การทำน้ำขมิ้นชัน ให้นำขมิ้นชันสดมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่นแล้วตำจนแหลก ผสมกับน้ำ เลก็ นอ้ ย แล้วกรองเอานำ้ ด้วยผา้ ขาวบาง • เตรียมวัตถุดบิ ดงั น้ี นำ้ ขมิ้นชนั 1 ช้อนชา/ นมสด 2 ชอ้ นชา/ และดนิ สอพองสะตุ 5 เม็ดใหญ่ 111

112 • นำดนิ สอพองมาบดจนละเอยี ด แล้วใส่นมสด นำ้ ขมนิ้ ชนั ผสมลงไปคนให้เขา้ กนั • นำมาพอกหน้าทง้ิ ไวป้ ระมาณ 20 นาที แล้วล้างออกดว้ ยน้ำสะอาด 8. สูตรขม้ินชันแหง้ / ว่านนางคำ/ ไพล/ ดนิ สอพอง (สูตรบำรุงผวิ ลดสวิ ) • เตรียมวัตถุดบิ ดังน้ี ขมิน้ ชันแหง้ 25 กรัม/ วา่ นนางคำ 200 กรมั / ไพล 50 กรมั / ดินสอพอง 1,000 กรมั • นำทกุ อยา่ งมาผสมรวมกันแลว้ บดให้ละเอยี ด • เสร็จแล้วนำมาพอกหน้าหรอื ผิวตัวประมาณ 10 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำอุ่นและตามด้วยน้ำเย็น สลับกนั • หากคุณผิวมันควรนำมาผสมกับน้ำมันมะกรูดเผาไฟ แต่ถ้าคุณเป็นคนผิวแห้งควรนำไปผสมกับ น้ำผ้ึงหรือนมสด คลิปวิดโี อเรื่อง หลักสูตรการปลูกขมิ้นชนั พนั ธแุ์ ดงสยาม Link หลักสูตรการปลูกขมิ้นชันพันธุ์แดงสยาม จำนวน 40 ชั่วโมง ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ สระแกว้ โดย อ.กฤษณา โสภี - YouTube (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) .......................................................... 2 ขมิ้น สรรพคณุ และประโยชนข์ องขม้ินชนั . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก.https://www.opsmoac.go.th/surin- local_wisdom-preview-422891791843 . (วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มูล 25 กรกฎาคม 2564) 112

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 113 ใบงานท่ี 2 เร่ือง สรรพคณุ ของพืชสมนุ ไพรขมนิ้ ชัน คำชแ้ี จง หลงั จากท่ีผ้เู รยี นไดศ้ ึกษาข้อมลู ความรู้เก่ียวกับสรรพคุณของพชื สมุนไพรขมนิ้ ชันแลว้ จงตอบคำถามดังตอ่ ไปน้ี 1. จงอธิบายประโยชน์ของพืชสมนุ ไพรขมน้ิ ชัน อยา่ งน้อย 5 ด้าน 1.1 ...................................................................................................................................................................... 1.2 ...................................................................................................................................................................... 1.3 ...................................................................................................................................................................... 1.4 ...................................................................................................................................................................... 1.5................................................................................................................ ....................................................... 2. จงบอกสรรพคณุ ของพืชสมุนไพรขมิน้ ชนั อย่างน้อย 10 ขอ้ ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................... ................................ 3. จงบอกวิธีการใชพ้ ืชสมุนไพรขม้นิ ชนั อยา่ งน้อย 5 ด้าน 3.1 ....................................................................................................................................................................... 3.2 ....................................................................................................................................................................... 3.3 ....................................................................................................................................................................... 3.4 ....................................................................................................................................................................... 3.5 ....................................................................................................................................................................... 113

114 แนวคำตอบ ใบงานที่ 2 เร่อื ง สรรพคณุ ของพชื สมนุ ไพรขม้ินชนั 1. ตอบ ประโยชนข์ องพชื สมุนไพรขมน้ิ ชนั 1.1 ล้างพิษตบั ขมิ้นชันมีสรรพคุณช่วยขับพิษที่สะสมในตับ เนื่องจากมีฤทธิ์ป้องกันตับอักเสบ ช่วยบำรุงตับ และฟื้นฟูตับ โดยมีการใช้ขมนิ้ ชนั ทดลองรกั ษาโรคตับแข็งในหนู ผลปรากฏว่าอาการไม่ลกุ ลามเพิ่ม ทำใหน้ ยิ มใชเ้ ป็นสมนุ ไพรยา ที่ชว่ ยฟ้นื ฟสู ขุ ภาพและลา้ งพษิ ออกจากตบั 1.2 รกั ษาโรคผิวหนังเร้อื รงั ขมิน้ ชนั สามารถใชร้ ักษาโรคท่ีเก่ียวกับผิวหนังได้ เช่น โรคผนื่ คนั กลาก เกลือ้ น ผวิ หนังอกั เสบจากอาการแพ้ คนไทยสมัยก่อนใช้เหง้าสดของขมิ้นชันมาฝนและบดให้ละเอียด ก่อนจะนำไปทาบริเวณที่มีอาการคัน แต่ปัจจุบัน สามารถใช้ผงขมน้ิ ชนั สำเร็จรปู ผสมน้ำเปล่าหรอื น้ำมันมะพรา้ ว นำไปทาบรเิ วณที่อกั เสบหรอื คันได้ 1.3 แกอ้ าการทอ้ งรว่ ง สำหรับใครที่กินของผิดสำแดงเข้าไปแล้วเกิดอาการท้องร่วง สามารถหาขมิ้นชันในครัวมาใช้เป็นยาได้ โดยนำมาลา้ งให้สะอาด ปอกเปลือกและห่ันเปน็ ชิ้นเล็ก ๆ นำไปตำพร้อมผสมนำ้ เปล่า หลังจากน้ันคั้นเฉพาะนำ้ ให้ ได้สกั 1 ถว้ ยตวง แบ่งกินคราวละ 2 ช้อนโต๊ะ จะชว่ ยสร้างสมดลุ ให้ระบบขับถ่ายและระบบยอ่ ยอาหาร 1.4 รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการรักษาอาการอักเสบ จึงสามารถช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารให้หายเร็วขึ้น นอกจากนี้หากหั่นขมิ้นชันผสมกับน้ำผึ้ง จะช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และจุกเสียดแน่น เรียกว่าเป็น สมุนไพรทีม่ อบประโยชน์ใหค้ นกนิ อยา่ งครบสตู ร ท้งั ในรูปแบบอาหารและรูปแบบยา 1.5 ชะลอการแกก่ ่อนวยั เนื่องจากขม้นิ ชันออกฤทธ์ิต้านอนุมูลอสิ ระ จงึ ถกู นำมาสกัดเป็นยาเสริมอาหารทีใ่ ช้บำรุงร่างกาย ป้องกันโรค ป้องกันการเสื่อมโทรมของเซลล์ และป้องกันร่างกายไม่ให้เส่ือมไปตามวัย ถือเป็นสรรพคุณด้านความงามที่น่าจะ ถกู ใจใครหลายคน 2. ตอบ สรรพคุณของพชื สมุนไพรขมิน้ ชนั 1. ขมน้ิ ชนั มสี ารตอ่ ตา้ นอนุมูลอสิ ระซ่งึ ชว่ ยในการชะลอวัยและชะลอการเกิดริ้วรอย 2. ช่วยเสรมิ สรา้ งภูมติ ้านทานใหก้ ับร่างกาย 3. ชว่ ยเสรมิ สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ให้ผวิ หนังมีสุขภาพดแี ข็งแรง 4. ขมิน้ ชนั อาจมีบทบาทชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ โรคมะเรง็ เช่น โรคมะเร็งลำไส้ มะเร็งปากมดลูก 5. ขม้ินชันสามารถชว่ ยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายได้ 6. ชว่ ยกำจดั สารพษิ ออกจากรา่ งกาย 7. ชว่ ยบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน 8. มีส่วนชว่ ยรกั ษาโรคความดันโลหติ สงู 114

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 115 9. ชว่ ยลดอาการของโรคเกาต์ 10. ชว่ ยขบั น้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร 3. ตอบ วธิ กี ารใช้พืชสมุนไพรขมนิ้ ชัน 1. การใช้ขมิ้นเพื่อรักษาอาการแน่นจุกเสียด อาหารไม่ย่อย เป็นข้อบ่งใช้เดียวที่มีรายงานการวิจัยทาง คลินกิ ทีเ่ ป็นทีย่ อมรบั ขององคก์ ารอนามยั โลก และคณะกรรมการแหง่ ชาติดา้ นยา วิธใี ช้ 1. รบั ประทานผงขมน้ิ ชันในขนาด 1.5 – 4 กรัม/วนั แบง่ เป็นวันละ 3 – 4 คร้งั ชว่ งเวลาหลังอาหารและ กอ่ นนอน 2. ใช้ขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอน รับประทานช่วงเวลาหลังอาหารและก่อนนอน ครั้งละ 3 – 5 เม็ด วนั ละ 3 เวลา 2. การใชข้ มน้ิ ชันรกั ษาอาการทอ้ งเสีย วธิ ีใช้ 1. ใช้ขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอน รับประทานช่วงเวลาหลังอาหารและก่อนนอน ครั้งละ 3 – 5 เม็ด วนั ละ 3 เวลา 3. การใชข้ ม้นิ ชนั รกั ษาแผลและแมลงกดั ตอ่ ย วธิ ใี ช้ 1. ใช้ผงขมิ้นชัน 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำมันมะพร้าว หรือน้ำมันหมู 2 – 3 ช้อนโต๊ะ เคี่ยวด้วยไฟอ่อน ๆ จน น้ำมนั กลายเป็นสีเหลือง ใชน้ ้ำมันทีไ่ ด้ใส่แผล 2. นำขมนิ้ ชนั มาลา้ งให้สะอาดแล้วตำจนละเอียด คัน้ เอานำ้ ท่ไี ดม้ าใส่แผล 3. เอาขม้ินชนั ผสมกับนำ้ ปูนใสเลก็ น้อย จากนั้นใหผ้ สมสารส้ม หรือดินประสวิ พอกบริเวณทีเ่ ปน็ แผลและ แก้เคล็ดขัดยอก 4. การใช้ขมน้ิ เพอ่ื รกั ษากลาก เกล้อื น วธิ ใี ช้ 1. ผสมขมน้ิ ชันกบั น้ำแล้วทาบริเวณทเ่ี ปน็ กลาก เกล้ือน จำนวน 2 ครงั้ /วนั 5. สรรพคุณทางการกำจดั และป้องกนั ศตั รพู ชื วิธใี ช้ 1. ตำขม้นิ ชันแหง้ ครงึ่ กิโลกรัมใหล้ ะเอียด จากนนั้ นำไปหมักในน้ำ 2 ลิตร ทงิ้ ไวค้ ้างคืน เม่อื ได้ที่แล้วจึงกรอง เอาเฉพาะน้ำไปผสมน้ำเพิ่มอีก 2 ลิตร ใช้ฉีดพ่นแปลงผักจะช่วยป้องกันหนอนใยผัก หนอนกระทูผัก และหนอน ผีเสือ้ ทว่ั ไป 115

ใบความร้ทู ่ี 3 เรื่อง สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมในการปลูกพืชสมนุ ไพรขมนิ้ ชัน สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมในการปลกู พืชสมนุ ไพรขมิ้นชัน [1] ขมิ้นชันเป็นพืชที่คนไทยรูจักกันมาแต่โบราณ โดยนำมาใช้แต่งสีแต่งกลิ่นและรสของอาหาร เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา การใช้ในผลติ ภณั ฑ์อาหาร เปน็ ตน้ ขมิ้นผงเป็นแหล่งสีธรรมชาตใิ ห้ความปลอดภัยมากกว่า สีสังเคราะห ตลอดจนเป็นสมุนไพรรักษาโรคต่าง ๆ เช่น แผลในกระเพาะอาหาร อาการทองอืด ท้องเฟ้อ ขับลม เป็นต้น ขมิ้นชันเป็นพืชปลูกง่ายสามารถปลูกขึ้นไดทุกภาคของประเทศไทย เติบโตไดดีในที่ดอนไมชอบ น้ำท่วมขัง ปัญหาของโรคแมลงรบกวนน้อย อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 8 - 9 เดือน เกษตรกรส่วนใหญ่จะ ปลูกขมิ้นชันเป็นพืชสวนครัวหลังบ้านในปริมาณไมมากนัก การที่พืชจะเจริญเติบโตแข็งแรงได้ดีนั้น หาได้ขึ้นอยู่ กับการให้น้ำและให้ปุ๋ยอย่างเพียงพอเท่านัน้ ไม่แต่ยังมีปัจจยั อื่น ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพืชสมุนไพรอยู่ อกี หลายประการ ทผี่ ้ปู ลูกเล้ียงควรจะรู้และทำความเขา้ ใจ ดังน้ี (ทีม่ าของภาพประกอบ : https://sites.google.com/site/aeo2340/kar-sangkheraah-saeng-cak-dwng-xathity/saeng- khxng-dwng-xathity-khux-xari ) ........................................ 1 การจดั การการผลิตขมิ้นชันในระบบเกษตรอนิ ทรียเ์ พอ่ื เพมิ่ ผลผลติ . [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู 26 กรกฎาคม 2564) 116

หลักสตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 117 1. สภาพภมู ิอากาศ 1.1 อุณหภมู ิ เจรญิ เติบโตได้ดีท่อี ุณหภูมิระหว่าง 20 - 35 องศาเซลเซยี ส ที่ตา่ งกันในแต่ละช่วงพัฒนาการของพืช - ช่วงการงอกเปน็ ตน้ ออ่ น ต้องการอุณหภมู ิ 30 - 35 องศาเซลเซียส - ช่วงการพฒั นาลำต้นเหนือดิน (แตกกอ) ต้องการอุณหภูมิ 25 - 30 องศาเซลเซียส - ช่วงเรมิ่ พฒั นาลำตน้ ใตด้ ิน (เหง้า) ต้องการอุณหภมู ิ 20 - 25 องศาเซลเซยี ส - ช่วงการแตกแขนง (แง่ง) ต้องการอุณหภูมิ 18 - 20 องศาเซลเซยี ส 1.2 ความชนื้ สัมพัทธ:์ ตอ้ งการอากาศรอ้ นชื้น ความชืน้ สัมพทั ธ์ 60 - 80 % 1.3 ความเข้มของแสง เจริญเติบโตไดท้ ั้งในที่โล่งแจ้งและมีแสงแดดรำไร - ขม้ินชนั ทป่ี ลกู ในทโี่ ล่งแจ้ง และได้รับแสงแดดเต็มที่ ให้ผลผลิตสูงกว่าในทีร่ ม่ รำไร - การปลูกในทรี่ ม่ จะสง่ ผลให้การพัฒนาเหง้าไม่ดี 1.4 ข้อจำกัด 1.4.1 ขมิน้ ชันตอ้ งการอุณหภูมิทแ่ี ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะชว่ งพัฒนาการของพืช - ชว่ งการงอกเป็นต้นออ่ น ต้องการอุณหภมู ิ 30 - 35 องศาเซลเซียส - ช่วงการแตกกอ ต้องการอุณหภมู ิ 25 - 30 องศาเซลเซียส - ชว่ งการเร่มิ สรา้ งหัว (เหงา้ ) ตอ้ งการอณุ หภูมิ 20 - 25 องศาเซลเซยี ส - ช่วงการแตกแขนง (แง่ง) ต้องการอุณหภมู ิ 18 - 20 องศาเซลเซียส 1.4.2 การปลูกขมิน้ ชันในทที่ ี่มแี สงแดดจัด จะไดผ้ ลผลิตมากกวา่ การปลูกในที่ร่มรำไร ควรหลีกเล่ยี งที่ ร่มจัด เนือ่ งจากมผี ลตอ่ การพัฒนาเหงา้ (ทมี่ าของภาพประกอบ :ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว) 2. สภาพพน้ื ท่ปี ลูก 2.1 ความสูงจากระดบั น้ำทะเล เจริญเติบโตไดด้ ที ี่ระดับความสูง 450 - 900 เมตร จากระดับน้ำทะเล 2.2 ความลาดเอียงของพนื้ ท่ี เป็นพื้นทีร่ าบ หรือพนื้ ท่ลี าดเอียงไมเ่ กิน 10 % และไมม่ นี ้ำท่วมขัง 2.3 ข้อจำกัด 117

118 - ขมิน้ ชันไมท่ นทานตอ่ สภาพน้ำทว่ มขงั - ไมค่ วรปลกู ในพื้นท่ีเดิม ตดิ ต่อกันเกนิ 2 - 3 ปี ควรเวน้ พนื้ ทไ่ี ว้ 1 ปี เพ่ือปอ้ งกนั การสะสมของเชื้อโรค 3. สภาพดนิ 3.1 ลักษณะของเนื้อดิน ขมนิ้ ชนั เจรญิ เติบโตได้ดใี นดนิ รว่ นปนทราย ระบายน้ำไดด้ ี 3.2 ความลึกของหน้าดิน หน้าดนิ ท่ีเหมาะสำหรบั การเจริญเติบโตของขม้ินชนั ควรมีความลึก 30 เซนติเมตร และ ร่วนซุย 3.3 ปรมิ าณอนิ ทรยี วัตถุ ปรมิ าณอินทรียวัตถใุ นดนิ ควรมีมากกว่า 2 % 3.4 การนำไฟฟ้าของดิน มคี ่าการนำไฟฟ้าของดนิ (EC) เทา่ กับ 2 dS/m 3.5 ความเป็นกรด - ด่างของดิน ขมนิ้ ชันเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาเหงา้ ไดด้ ีในสภาพดินท่ีมี pH 5-7 3.6 ข้อจำกัด - ดนิ เหนยี ว หรอื ดินลูกรัง ไม่เหมาะกับการเจริญเติบโต และการพัฒนาของเหง้าขม้ินชัน - ดนิ เปน็ ดา่ งจดั ไมเ่ หมาะกับการเจริญเติบโตของขม้ินชัน - ดนิ ทม่ี ีสภาพเป็นกรด เอ้ือให้เกดิ โรคเนา่ ของเหง้าและรากจากเช้อื แบคทีเรีย (ทม่ี าของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 21 การพัฒนาผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) 118

หลักสตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 119 4. ธาตุอาหาร 4.1 ขมิน้ ชนั ตอ้ งการธาตอุ าหารฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์ มากกวา่ 15 ppm 4.2 ขมน้ิ ชันตอ้ งการธาตอุ าหารโพแตสเซียมท่ลี ะลายน้ำได้ มากกว่า 100 ppm 4.3 ข้อจำกัด ขมิน้ ชันต้องการโพแตสเซยี มในระยะการเจริญเตบิ โตของต้นอ่อน แตกกอ และแตกเหงา้ 5. สภาพนำ้ 5.1 ปริมาณนำ้ ฝนทเ่ี หมาะสม 1,000 - 2,000 มิลลิเมตร/ต่อปี และมีการกระจายของฝนสม่ำเสมอใน ชว่ งเวลา 100 - 120 วนั 5.2 ปลกู ขมนิ้ ชนั ในชว่ งตน้ ฤดูฝน เพ่ือให้มรี ะยะเวลาการรับน้ำฝนอย่างนอ้ ย 4 - 5 เดือน 5.3 นำ้ ที่เหมาะสมกับการเกษตร ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ควรมลี ักษณะดังน้ี - มคี วามสะอาด ไม่มีสารอินทรียแ์ ละสารอนินทรีย์ท่เี ป็นพิษปนเปื้อน - มคี ่าโลหะหนัก เช่น สารหนู ไมเ่ กิน 0.25 มลิ กิ รัมต่อลติ ร , แคดเมียม ไมเ่ กนิ 0.03 มิลกิ รมั ตอ่ ลติ ร, ตะกัว่ ไมเ่ กนิ 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร - มีคา่ ความเป็นกรดเปน็ ดา่ ง อยู่ระหวา่ ง 6.0 - 7.9 - มีค่าอุณหภูมิของน้ำไมเ่ กิน 40 องศาเซลเซยี ส - มีคา่ ความเค็มของน้ำไมเ่ กิน 0.3 กรัมต่อลติ ร - มคี ่าปริมาณออกซิเจนละลายน้ำไม่ตำ่ กว่า 2 มลิ ลิกรมั ต่อลิตร 5.4 ข้อจำกดั - การปลกู ในทท่ี ่มี ีปรมิ าณน้ำฝนนอ้ ย/ ฝนทงิ้ ชว่ ง ตอ้ งจดั เตรียมระบบการใหน้ ้ำหรือชลประทาน - ขมนิ้ ชนั ต้องการน้ำแตกตา่ งกันในแตล่ ะช่วงพัฒนาการของพืช * ในระยะแรกของการเจริญเติบโต ให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะมีผลต่อการงอกของเหง้า และการเจรญิ เตบิ โตของตน้ อ่อน * ในระยะหวั เร่ิมแก่ ความตอ้ งการน้ำน้อยลง * ในระยะเก็บเก่ียว ไมต่ อ้ งการน้ำเลย ฤดูกาลปลกู พชื สมนุ ไพรขมิ้นชัน การปลูกขมิ้นชันในประเทศไทย เริ่มปลูกในช่วงต้นฤดูฝนประมาณปลายเดือนเมษายน ถึงต้นเดือน พฤษภาคมของทุก ๆ ปี และจะเก็บเกี่ยวหัวขมิ้นชัน ในช่วงฤดูหนาวหรือประมาณปลายเดือนธันวาคม ถึงมกราคม ซง่ึ ช่วงนี้หัวขมิน้ ชนั จะแห้งสนทิ จากการปลกู ขม้ินชันจนถงึ ฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วใช้เวลาประมาณ 8 -9 เดอื น เป็นพืชท่ีไมย่ าก ต่อการปฏิบัติดูแลรักษา แต่สง่ิ หน่งึ ท่ีเกษตรกรควรปฏิบัติ คอื ไม่ควรปลูกซ้ำแปลงเดิมติดต่อกัน คือควรหมุนเวียนสลับ กับพืชอื่นจะช่วยลดความเสยี หายจากโรคและแมลงศัตรพู ืช และควรปรับใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการกำจดั วัชพืชและการเก็บเกี่ยวขมิ้นชันเพื่อช่วยลดตน้ ทุนการผลิต ลดความเสียหายจากโรคและแมลง ศตั รพู ืชและควรปรับใช้ เครือ่ งจกั รกลการเกษตร ในการกำจดั วชั พืชและการเก็บเกี่ยวขม้นิ ชันเพ่ือช่วยลดต้นทุนการผลิต ระยะเก็บเกี่ยวขมิ้นชันที่เหมาะสม เก็บในช่วงฤดูแล้ง เมื่อขมิ้นชันมีอายุ 9 - 11 เดือนขึ้นไป โดยจะ สังเกตเห็นลำตน้ เหนือดนิ แสดงอาการเหี่ยวแห้งสนิท หลีกเล่ียงการเก็บในระยะที่ขม้ินชนั เร่ิมแตกหน่อ เพราะจะทำให้มี 119

120 สารเคอร์คูมินอยด์ต่ำ หากต้องการขมิ้นชันสำหรับใช้ในการผลิตน้ำมัน จะเก็บเกี่ยวขมิ้นชันเมื่ออายุ 2 ปี โดยจะ เก็บเกีย่ วในชว่ งฤดูแล้งของปีถัดไป ดังนั้น เราควรปลูกขมิ้นชนั ต้นฤดูฝน ประมาณเดือนเมษายน - พฤษภาคม เพื่อให้ระยะการรับน้ำฝนอยา่ ง น้อย 4-5 เดือน ขมน้ิ ชันจะไดม้ ชี ว่ งระยะการเจริญเติบโตและพฒั นาไดเ้ ตม็ ท่ตี ลอดฤดูฝน ขั้นตอนการปลกู พืชสมุนไพรขมน้ิ ชัน [2] (ที่มาของภาพประกอบ: http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf ) 1. การเตรียมดนิ 1.1 ไถพรวนดินให้ร่วนซุย อย่างน้อย 1 ครั้ง หากเป็นพื้นที่ที่หน้าดินแข็งหรือเป็นดินเก่า ควรไถพรวน ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ครงั้ 1.2 ตากดนิ ไว้ 1 - 2 สปั ดาห์ เพื่อทำลายไข่แมลงและเชือ้ โรคในดิน 1.3 เกบ็ เศษไม้ ซากวชั พืช กรวด และหิน ออกจากแปลง 1.4 ใสป่ ๋ยุ คอกทยี่ ่อยสลายดีแลว้ ในอตั รา 4 ตันตอ่ ไร่ หากดนิ เป็นกรด ควรใสป่ นู ขาว เพือ่ ปรับค่าความเป็นกรด เปน็ ด่างของดิน 1.5 หากพื้นที่ปลูกมีสภาพเป็นที่ลุ่มหรือที่ราบต่ำ มีการระบายน้ำไม่ดี ควรยกร่องแปลงกว้าง 1 - 2 เมตร สูง 15 - 25 เซนตเิ มตร ความยาวตามความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ี ระยะระหว่างรอ่ ง 50 - 80 เซนตเิ มตร ........................................ 2 ข้นั ตอนการปลูกและการดแู ลรักษาขมน้ิ ชัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ท่ีสบื ค้นข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 120

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 121 ( ทมี่ าของภาพประกอบ : สไลด์ ท่ี 21 และ 23 การพฒั นาผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) 2. เตรียมแปลงปลูก [2] - ทำแปลงยกร่อง 30 x 70 ซม. สำหรับการปลูกโดยปลกู แบบขุดหลมุ - ทำแปลงแบบแถกดนิ 35 x 50 ซม. วางหวั พนั ธุเ์ รียงปลกู ( ทม่ี าของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 30 การพฒั นาผลิตภณั ฑส์ มุนไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) ........................................ 2 ข้ันตอนการปลกู และการดแู ลรักษาขมิ้นชัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ท่ีสบื ค้นข้อมลู 26 กรกฎาคม 2564) 121

122 3. การเตรียมพันธ์ุ [1] ( ทีม่ าของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 25 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) การปลกู ขมิน้ ชนั อาจใช้ทอ่ นพนั ธ์ุได้ 2 ลักษณะ ดงั น้ี 3.1 การเก็บรักษาหัวพันธุ์ โดยวางผึ่งไว้ในที่ร่ม แห้ง สะอาด ปราศจากโรค แมลง และสัตว์ต่าง ๆ มารบกวน มอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก หรือฝงั เหง้าพันธ์ใุ นทรายหยาบทส่ี ะอาด เย็นในท่รี ม่ 3.2 การจดั เตรยี มหวั พันธ์ุ - การปลูกโดยใช้หัวแม่ น้ำหนักประมาณ 15 - 50 กรัม ใช้ 1 หัวต่อหลุม หากหัวพันธุ์มีขนาดใหญ่มาก ให้ตัดเปน็ ท่อน ๆ มีตาตดิ อยไู่ ม่น้อยกว่า 2 ตา - การปลกู โดยใชแ้ ง่ง น้ำหนักประมาณ 10 กรมั และมีตา 2 - 3 ตาตอ่ แง่ง โดยใช้ 2 - 3 แงง่ ต่อหลุม กอ่ นนำลงปลูกในแปลงควรแชดว้ ยยากนั ราและยาฆ่าเพล้ีย เพอื่ ป้องกันโรคหัวเน่าและกำจัดเพลี้ย ซ่งึ อาจติดมากับท่อน พันธุ์ และมักจะระบาดมากข้ึนในช่วงปีท่ี 2 - 3 ของการปลูก หากมิไดรับการเอาใจใสปองกันให้ดีก่อนปลูก เช่น ใช้ใบพลู เปล้าน้อย และต้นตะไคร้หอม บดแห้ง อัตรา 10,000 ppm คลุกกับหัวพันธุ์ก่อนปลูก หรือแช่ด้วยไตร โครเดอร์มา ควรระมัดระวังการใช้สารเคมีโดยสวมถุงมือยางที่มีสภาพเรียบร้อยไม่ขาด และควรสวมหน้ากากด้วย ก่อนปลูกขมิ้นชันควรรองกน้ หลุมดว้ ยปุ๋ย สตู ร 13 - 13 - 21 อัตรา 50 กก./ ไร่ และวางท่อนพันธุ์ลงในแปลงกลบดิน หนาประมาณ 5-10 เซนติเมตร หลงั จากน้ันขม้ินชนั จะใชเ้ วลาในการงอกประมาณ 30 - 70 วนั หลังปลูก ........................................ 1 การจัดการการผลิตขมิ้นชันในระบบเกษตรอนิ ทรียเ์ พื่อเพ่ิมผลผลติ . [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วนั ทส่ี ืบค้น ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 122

หลักสตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 123 จำนวนและนำ้ หนกั พนั ธขุ์ มนิ้ ชนั ท่ีใชป้ ลูกและผลผลิตทไ่ี ด้โดยประมาณ [1] ชนิดและขนาดของหวั พนั ธุท์ ี่ใช้ปลูก จำนวนหัวพนั ธุ์ทีใ่ ช้ น้ำหนักหัว ผลผลติ (กิโลกรมั /ไร่) ปลกู /ไร่ในระยะ พันธุ์ ปลูก 75X30 กิโลกรมั /ไร่ เซนตเิ มตร (ชิน้ ) (กโิ ลกรมั ) 1. หวั แม่ นำ้ หนักประมาณ 15-30 กรมั / หัว 7,100 155 3,300 2. หัวแม่ผาซีก น้ำหนักประมาณ 15-50 กรมั / ชนิ้ 7,100 215 2,700 3. แงง่ ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 1.5 เซนติเมตร 7,100 140 2,800 ยาวประมาณ 8 - 12 ซม. น้ำหนกั 15 - 30 กรมั / ช้ิน 7,100 75 2,500 4. แงง่ ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลาง 1 เซนตเิ มตร ยาว 6 - 9 เซนติเมตร น้ำหนกั 5 - 10 กรัม/ ชนิ้ 4. การปลูก [2] 4.1 วธิ ีปลกู 4.1.1 ขุดหลุมปลกู ลกึ 10 - 15 เซนติเมตร และรองก้นหลุมปลูกด้วยป๋ยุ คอก หลมุ ละ 200 - 300 กรมั 4.1.2 วางหัวพันธุ์ในหลุมปลูก กลบดินหนา 5 - 10 เซนติเมตร หรือนำหัวพันธ์ุ ไปเพาะก่อนนำไปปลูก โดยนำไปผ่ึงในท่ีร่ม คลมุ ด้วยปุย๋ คอกที่ย่อยสลายแล้ว นานประมาณ 30 วัน หวั พันธ์จุ ะแตกหน่อข้ึนมา จึงนำไปปลูก ในแปลง หรือนำหัวพันธุ์ไปเพาะก่อนนำไปปลูก โดยนำไปผึ่งในที่ร่ม คลุมด้วยปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายแล้ว นานประมาณ 30 วนั หวั พันธุจ์ ะแตกหน่อข้นึ มา จงึ นำไปปลูกในแปลง 4.2 ระยะปลูก กำหนดระยะปลูก 35  50 เซนติเมตร การปลกู ในสภาพยกรอ่ งใชร้ ะยะห่างระหว่าง แถว 45-75 เซนติเมตร และระหว่างต้น 25 - 50 เซนติเมตร หากปลูกขมิ้นชันเป็นพืชแซม ใช้ระยะห่างระหว่าง ต้น 30 เซนตเิ มตร 4.3 จำนวนต้นตอ่ ไร่ หัวพนั ธุ์ประมาณ 400 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ........................................ 1 การจดั การการผลิตขมิน้ ชันในระบบเกษตรอนิ ทรยี เ์ พื่อเพิม่ ผลผลติ . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันท่ีสืบค้น ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 2 ขนั้ ตอนการปลูกและการดแู ลรกั ษาขมนิ้ ชัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วันที่สืบค้นขอ้ มลู 26 กรกฎาคม 2564) 123

124 (ท่มี าของภาพประกอบ :ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว) ( ที่มาของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 17 , 31 การพัฒนาผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) 5. การดแู ลรักษาขมน้ิ ชันชนั [2] 5.1 การคลมุ แปลง หลังจากปลูกเหง้าพันธุ์แล้ว ควรใช้ฟางข้าวหรือใบหญ้าคา หรือวัสดุอย่างอื่น ที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน คลุมแปลงปลูก เพอื่ ลดการระเหยของนำ้ ในดิน และชว่ ยรักษาความช้ืนในดิน ซ่ึงจะมผี ลดตี ่อการงอกของขม้นิ ชนั ........................................ 2 ขั้นตอนการปลูกและการดแู ลรักษาขมิน้ ชนั . [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมลู 26 กรกฎาคม 2564) 124

หลักสตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 125 (ทม่ี าของภาพประกอบ : http://www.bansuanporpeang.com/node/26976) 5.2 การให้นำ้ ขมิ้นชนั เป็นพืชท่ตี ้องการความช้ืนสูง แต่ไม่ต้องการสภาพทชี่ ้ืนแฉะหลังจากปลูกเหง้าพันธุ์แล้ว ควรรดน้ำให้ ชุ่มเพื่อรักษาความชื้นของดินให้เหมาะสมต่อ การงอก ลำอย่างต่อเนื่องในระยะเริ่มปลูก จนถึงระยะที่ต้นยังมี ขนาดเล็ก ควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอหรือให้น้ำเมื่อเห็นว่าดินแห้ง โดยเมื่อพืชเริ่มโต การให้น้ำควรลดลง หรือให้ ตามความเหมาะสม โดยทั่วไปในฤดูฝนที่มีฝนตกสม่ำเสมอไม่จำเป็นต้องให้น้ำเพิ่ม และควรระมัดระวังไม่ให้มีนำ้ ท่วมขงั ในแปลงปลูกนาน ๆ เพราะจะทำใหต้ น้ เนา่ เสียหายได้ และหยุดการให้น้ำ ในระยะที่ตน้ เร่ิมมีใบสีเหลืองใน ฤดแู ล้ง ซงึ่ เป็นชว่ งทขี่ มิน้ ชนั ชนั เข้าสู่ระยะพักตวั ขมนิ้ ชนั ตอ้ งการนำ้ แตกตา่ งกันในแต่ละชว่ งพัฒนาการของพืช 5.2.1 ในระยะแรกของการเจรญิ เติบโต ใหน้ ำอยา่ งสม่ำเสมอซึ่งจะมผี ลต่อการพฒั นาเหง้า และการเจริญเติบโต ของตน้ ออ่ น 5.2.2 ในระยะเหงา้ เร่มิ แก่ ความตอ้ งการน้ำนอ้ ยลง 5.2.3 ในระยะเก็บเก่ียว ไม่ตอ้ งการน้ำเลย ( ทีม่ าของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 39 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์สมุนไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) 125

126 ( ที่มาของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 40 การพัฒนาผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) 5.3 การใสป่ ุย๋ 5.3.1 หากดนิ มีความอดุ มสมบรู ณ์ ไม่จำเป็นตอ้ งใส่ป๋ยุ เพม่ิ เตมิ ในปแี รก 5.3.2 หากปลูกขมิ้นชัน 2 ปี ใส่ปุ๋ยคอก 300 - 500 กรัมต่อหลุม หลังจากดายหญ้าในฤดูฝน โดยใส่ รอบโคนตน้ 5.3.3 กรณีที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพ โรยเป็นแถวข้างต้น ห่างจากโคนต้น 8 – 15 เซนตเิ มตร ใส่ 2 คร้ัง ครั้งแรกหลงั ปลกู 1 เดอื น และครั้งท่สี อง หลงั ปลูก 3 เดอื น ขม้นิ ชันตอ้ งการโพแตสเซยี มในระยะการเจรญิ เติบโตของต้นอ่อนแตกกอ และแตกเหงา้ [1] - ค่าฟอสฟอรัส (P) ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ มากกว่า 15 ppm - คา่ โพแทสเซียม (K) ท่ลี ะลายน้ำได้ มากกว่า 100 ppm ความตอ้ งการแรธ่ าตหุ ลักของขมิ้นชนั เพ่อื การเพม่ิ ผลผลติ - ไนโตรเจน (N) ปริมาณ 20 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ - ฟอสฟอรัส (P) ปรมิ าณ 10 กิโลกรัมตอ่ ไร่ - โพแทสเซยี ม (K) ปริมาณ 40 กิโลกรมั ต่อไร่ ........................................ 1 การจดั การการผลติ ขมิน้ ชนั ในระบบเกษตรอนิ ทรยี เ์ พ่อื เพิ่มผลผลติ . [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันทสี่ ืบคน้ ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 126

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 127 แรธ่ าตุ หน้าทแ่ี ละความสำคญั ต่อพืช อาการของพืชท่ีขาดธาตอุ าหาร ไนโตรเจน 1. เป็นส่วนสำคัญในการกระตุ้นความ 1. ใบซดี ใบเหลืองผดิ ปกติ โดยใบลา่ งจะ เจริญเติบโต ของใบและลำตน้ เหลอื งก่อน (N) 2. ทำใหใ้ บมสี ีเขียวเข้ม 2. ใบแห้งหลดุ ร่วง 3. ทำใหพ้ ชื ตั้งตวั เรว็ ในระยะเร่ิมปลูก 3. ลำต้นผอมสงู กงิ่ ก้านลบี เล็ก ฟอสฟอรัส 4. เพิม่ ปริมาณโปรตนี แก่พชื 4.พืชโตช้ามาก ใหผ้ ลผลติ ต่ำ คณุ ภาพเลว (P) 5.ชว่ ยให้พืชสมุนไพรท่ีใชใ้ บ และลำต้นมี คุณภาพดีขนึ้ 1. ดอกและผลแคระแกรน็ พืชบางชนิด โพแทสเซียม 1. ช่วยให้การออกดอก และสรา้ งเมล็ด พชื อาจมลี ำตน้ หรือเถาบดิ ต้นแคระแกรน็ (K) 2. ช่วยใหร้ ากฝอยรากแขนงเจรญิ เติบโต โต 2. พืชพวกธญั พืชจะล้มงา่ ย เร็ว ในระยะเรมิ่ ปลูก 3. ขอบใบของพชื บางชนดิ เป็นสมี ว่ ง เช่น 3. ชว่ ยเรง่ ให้พืชแกเ่ รว็ ลำต้นแข็งแรง ขา้ วโพด 4. ต้นเตีย้ ออกดอกชา้ 1. ชว่ ยสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต ของราก หวั 1. ขอบใบเหลอื ง แล้วเปล่ยี นเปน็ สนี ำ้ ตาล 2. ช่วยใหผ้ ลไม้มีรสชาติดีขน้ึ ปลายใบไหม้เหยี่ วแห้ง 3. ทำใหพ้ ืชมีความตา้ นทานโรค ทนแล้งได้ดี 2. พชื ทีใ่ หห้ ัวจะมแี ป้งน้อย มีน้ำมาก 4. สรา้ งคาร์โบไฮเดรตแก่พืช เพ่ิมปริมาณแปง้ เน้ือฟ่าม ในพืชกนิ หัว 3. พชื ใหฝ้ ักจะมเี มล็ดไมเ่ ต็มฝัก 4. เมลด็ พชื จะลีบ มีนำ้ หนักเบาผิดปกติ ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ทมี่ าของภาพประกอบ : 1 http://www.maikron.go.th/photogallery57/g99/index.html#) (ท่มี าของภาพประกอบ : 2 https://www.maenoicurry.com/product/151/ผงขม้ินแท-้ ตราแม่นอ้ ย) 127

128 5.4 การกำจดั วชั พืช [2] ควรเอาใจใสด่ แู ลกำจัดวัชพชื อยา่ งสมำ่ เสมอ โดยเฉพาะในชว่ งแรกหลังตน้ งอกและระยะ ที่ต้นยังเล็กกรณีท่ี มีวัชพืชขึ้นมาก ควรใช้จอบดายหญ้า และพรวนดินเข้าโคนต้นไปพร้อม ๆ กัน บริเวณโคนควรใช้มือ ถอนวัชพืชจะดีกว่า ใชจ้ อบดายหญา้ เพราะอาจจะทำความเสียหายให้พชื ที่เราปลกู ได้ 5.4.1 ศัตรูพชื ทสี่ ำคัญ 5.4.1.1. วชั พชื กำจดั ไดโ้ ดยการถอนหรอื ใชจ้ อบดายออก พรวนดิน และกลบโคนตน้ เพอื่ ให้เหง้า เจริญเตบิ โตดี ปที ี่ 1 กำจดั วัชพืช 3 ครงั้ - ครั้งท่ี 1 เมอื่ ขมิ้นชนั เร่มิ งอก ยาวประมาณ 5 - 10 เซนติเมตร - ครง้ั ที่ 2 หลงั การปลูก 3 เดือน คร้งั ท่ี 3 ชว่ งฤดูแลง้ ปที ่ี 2 กำจดั วชั พืช 2 ครั้ง - ครัง้ ท่ี 1 ชว่ งฤดแู ลง้ - คร้งั ที่ 2 ช่วงฤดูฝน ( ที่มาของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 30 การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) ........................................ 2 ขั้นตอนการปลกู และการดแู ลรกั ษาขมน้ิ ชัน. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ทสี่ บื คน้ ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 128

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 129 5.5 โรคของขมิน้ ชนั ทพ่ี บไดแ้ ก่ [2] - โรคเหี่ยว คือโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas solanacearum ทำให้ต้นมีอาการใบเหลือง ต้นเหี่ยว หัวเน่าและมีเมือกสีขาวข้น ซึมออกมาตรงรอยแผล อุณหภูมิและความชื้นในดินสูงจะเอื้ออำนวยต่อการ เกิดโรคโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในดินชนื้ ท่ีอณุ หภมู ิสงู กว่า 24 องศาเซลเซียส - โรคเหง้าและรากเน่า คือ การให้น้ำมากเกินไปหรือเกิดจากการปลูกซ้ำที่เดิมหลาย ๆ ครั้ง ทำให้เกิด การสะสมของเช้อื โรค สาเหตุของโรคเหงา้ และรากเนา่ มดี งั น้ี 1. โรคเหงา้ เน่า เกิดจากเชอื้ รา Pythium aphanidermatum และ Pythium graminicolum 2. โรครากเน่า เกิดจากเชอื้ รา Fusarium oxysporum และ Fusarium zingiberi ( ทมี่ าของภาพประกอบ : สไลด์ ที่ 43 และ 45 การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพร https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf ) การปอ้ งกนั กำจดั - พื้นที่ปลูกมีการระบายนำดี ไม่เคยปลูกขมิ้นชันที่เป็นโรคหรือพืชที่เป็นพืชอาศัยของโรคมาก่อน - หากเคยปลูกพืชที่เป็นพืชอาศัยของโรค ควรกำจัดวัชพืช ไถพรวน และผึ่งดินให้แห้งก่อนปลูก อย่างน้อย 1 เดือน ........................................ 2 ข้นั ตอนการปลูกและการดแู ลรักษาขมิ้นชนั . [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ทีส่ บื ค้นขอ้ มลู 26 กรกฎาคม 2564) 129

130 - หากแหล่งปลูกเคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ข้าว ข้าวโพด เป็นเวลา 3 ปี แลว้ จึงกลบั มาปลูกขม้ินชันใหม่ หรือจัดการดินโดยใช้ปุย๋ ยเู รยี และปนู เผา อัตรา 70 : 800 กิโลกรมั ต่อไร่ - ใช้หวั พันธ์ุที่ปลอดโรค โดยคดั เลอื กมาจากแหล่งทไี่ มเ่ คยมีการระบาดของโรคมากอ่ น - การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ อยา่ ใหเ้ กดิ บาดแผล แยกผลผลิตท่ีเป็นโรคนำไปเผาทำลาย - ถอนตน้ ที่เป็นโรคเผาทำลาย และขุดดินบริเวณนัน้ ผงึ่ แดด และโรยปูนขาว การป้องกันกำจัด โรคดงั กลา่ ว เมอ่ื เกิดแลว้ รักษายากในเบือ้ งต้นควรถอน ทำลายและควรป้องกันก่อนปลูก โดย การหมนุ เวียน แปลงปลกู และใช้เหงา้ พันธ์ทุ ปี่ ราศจากโรค 5.6 แมลงศัตรพู ืช ไดแ้ ก่ [1] 5.6.1 แมลงดูดกินน้ำเล้ียง (Scale insect หรือ Sucking insect) เช่น เพลี้ย หอย มักวางไข่ไว้ท่ีผิวเปลือกเหง้า เหน็ เป็นสะเกด็ สีขาว ดดู กนิ น้ำเลยี้ งทำความเสียหายแกต่ ้นและเหงา้ พบไดท้ ้ังในแปลง และในระยะหลังเกบ็ เก่ียว ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ทมี่ าของภาพประกอบท่ี 1 : https://www.kasetkaoklai.com/home/2020/04/ระวงั เพลี้ยออ่ นถว่ั ฝกั /) (ทมี่ าของภาพประกอบที่ 2 : https://www.manowthai.com/article110.html) 5.6.2 หนอนหรือแมลงกดั กินใบ ซ่งึ จะมีผลกระทบตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื การป้องกนั กำจดั ในเบอื้ งตน้ ควรทำลาย ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบที่ 2 (ทม่ี าของภาพประกอบที่ 1 : https://www.opsmoac.go.th/surin-warning-preview-401391791202) (ทมี่ าของภาพประกอบท่ี 2 : https://kasetgo.com/t/topic/209996) ........................................ 1 การจดั การการผลิตขมิน้ ชนั ในระบบเกษตรอนิ ทรยี เ์ พ่อื เพมิ่ ผลผลติ . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมลู 26 กรกฎาคม 2564) 130

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 131 การป้องกันกำจดั - ใชแ้ มลงชา้ งปกี ใส อัตรา 200 – 500 ตวั ตอ่ ไร่ - ฉีดพน่ ด้วยสารสะเดา - กอ่ นปลกู ไถ 1 คร้ัง ตากดินไว้ 7-10 วนั และไถพรวนอีก 1 ครัง้ - ใชม้ วนง่ามแดง (Red stink bug) คลิปวิดโี อเรื่อง หลักสูตรการปลกู ขม้ินชนั พันธ์ุแดงสยาม Link หลักสูตรการปลูกขมิ้นชันพันธุ์แดงสยาม จำนวน 40 ชั่วโมง ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ สระแกว้ โดย อ.กฤษณา โสภี - YouTube 131

132 ใบงานที่ 3 เรือ่ ง การปลูกพืชสมนุ ไพรขมน้ิ ชนั คำชี้แจง หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชันแล้ว จงดำเนินการ ดงั ต่อไปน้ี 1. จงอธบิ ายการปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชันอยา่ งละเอยี ด โดยการนำเสนอในรูปแบบ Flowchart ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 2. จากขอ้ 1 ใหน้ ำเสนอการปลูกพืชสมุนไพรขม้ินชันในรูปแบบ Flowchart ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ 3. จงปลูกพืชสมนุ ไพรขม้ินชัน โดยทำแปลงยกร่อง 30 x 70 ซม. สำหรบั การปลูกโดยปลกู แบบขดุ หลมุ อย่างน้อย 1 แปลง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. รายงานผลการปลูกพชื สมนุ ไพรขมิ้นชนั ตามขั้นตอนการปลูก พร้อมทั้งปัญหา อปุ สรรค และแนวทางการแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 132

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม ใบความรู้ท่ี 4.1 เรอ่ื ง การเก็บเกยี่ วพืชสมุนไพรขมิน้ ชัน หลังจากปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชันเมื่อช่วงต้นฤดูฝนจนย่างเข้าสู่ฤดูหนาว ประมาณปลายเดือนธันวาคม ลำต้นเหนือดินเริ่มแสดงอาการเหี่ยวแห้ง จนกระทั่งแห้งสนิทจึงเริ่มทำการเก็บเกี่ยวได้ การเก็บเกี่ยวพืชสมุนไพร ขมนิ้ ชัน มดี งั น้ี 1. ระยะเก็บเกีย่ วที่เหมาะสม [1] เกบ็ ในช่วงฤดูแล้ง เมือ่ ขม้นิ ชนั มีอายุ 9 - 11 เดือนขน้ึ ไป โดยจะสงั เกตเหน็ ลำต้นเหนือดิน ที่แสดงอาการ เหี่ยวแห้งสนิท ควรหลีกเลี่ยงการเก็บในระยะที่ขมิ้นชันเริ่มแตกหน่อ เพราะจะทำให้มีสารเคอร์คูมินอยด์ต่ำ หากต้องการขมิ้นชันสำหรับใช้ในการผลิตน้ำมัน สามารถเก็บเกี่ยวขมิน้ ชันได้เม่ืออายุ 2 ปี โดยจะเก็บเกี่ยวในช่วง ฤดแู ลง้ ของปีถดั ไป 2. วธิ กี ารเก็บเก่ียว [1] หลังการปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชันได้ประมาณ 7 เดือน ใบล่าง ๆ ของขมิ้นชันจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แสดงว่าขมนิ้ เริม่ แก่แล้ว ให้ปล่อยขมิน้ ชันไว้ในแปลงจนมีอายุ ประมาณ 9 - 11 เดอื น จงึ เริ่มขุดซึ่งอยู่ในช่วงเดือน พฤศจิกายนถงึ เดือนธันวาคม เนื่องจากการเก็บเก่ียวเป็นชว่ งฤดูแลง้ ในสภาพดนิ เหนียว เพราะดนิ จะแข็งทำให้เก็บ เกย่ี วยากอาจใหน้ ำดินพอชื้นท้ิงไว้ 1 สัปดาห์ แล้วจงึ ทำการเก็บเก่ียว โดยใช้จอบขุดหรือถอนข้ึนมาท้ังกอ ตัดแยกส่วนเหนือดิน และเหง้าออก ระวงั อย่าให้ผลผลิตเกดิ บาดแผล เพื่อปอ้ งกันการเขา้ ทำลายของเชือ้ โรค และไมค่ วรเกบ็ เกี่ยวในช่วงท่ีมีฝน เพอื่ ป้องกันโรคเชอ้ื รา 3. วธิ ีการขุด [1] การขุดต้องพยายามไม่ให้จอบโดนเหง้า ถ้าดินแห้งเกินไปในขณะที่จะขุดก็ให้รดน้ำก่อนทุกครั้ง เพื่อให้ สะดวกต่อการขดุ และง่ายตอ่ การเอาดินออกจากหวั ขม้ินชัน เสรจ็ แล้วจงึ ตดั ใบ ราก และลา้ งน้ำให้สะอาด ซ่ึงวิธีการขุด พชื สมนุ ไพรขมนิ้ ชันสามารถทำไดห้ ลากหลายวิธี เช่น การใชแ้ รงงานคนขดุ หวั ขม้ินชนั ในดนิ ทไี่ ม่แข็งเกินไป มกั จะ ขุดได้เฉลี่ยประมาณ 116 กิโลกรัม/วัน/คน หรือใช้เครื่องมือทุน่ แรง เช่น รถแทรกเตอร์ติดผ่านไถอันเดียว และคนงาน เดินตามเก็บหัวขม้ินชนั ซง่ึ จะชว่ ยให้ประหยัดต้นทนุ ค่าแรงงาน ........................................ 1 การจัดการการผลติ ขมน้ิ ชันในระบบเกษตรอินทรยี เ์ พอื่ เพิ่มผลผลติ . [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันทสี่ ืบค้น ขอ้ มลู 26 กรกฎาคม 2564) 133

134 ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ท่ีมาของภาพประกอบ : 1 https://www.palangkaset.com/ผักเศรษฐกจิ /ขมิ้นชัน-3-ผงขม้นิ -1-ขมิ้นชนั / attachment/4-พื้นที่ปลูกขม้ินชัน/) (ท่ีมาของภาพประกอบ : 2 https://www.palangkaset.com/พืชสขุ ภาพ/การปลกู ขมนิ้ -ขมนิ้ ชัน-1/) 4. ผลผลิต ขม้นิ ชนั กอหนึง่ ๆ จะมีหัวประมาณ 2 - 8 อนั และมแี งง่ นิว้ มือประมาณ 10 - 40 อนั ใหผ้ ลผลิตประมาณ ไรล่ ะ 3,200 - 3,500 กิโลกรัม สำหรบั บนพืน้ ที่ท่ีมีการชลประทาน แต่ถา้ ปลกู นอกเขตพน้ื ท่ี ชลประทานหรืออาศยั น้ำฝน จะใหผ้ ลผลติ ตำ่ กว่าน้ี ส่วนผลผลติ จากการปลูกขมนิ้ ชนั เปน็ พชื แซมไร่อนื่ ๆ จะไดผ้ ลผลิตสด ประมาณ 200 - 300 กโิ ลกรัม/ไร่ นอกจากนผี้ ลผลิตของขม้ินชนั ยงั ขนึ้ อยกู่ บั ระยะห่างของการปลูกพนั ธแ์ุ ละแหล่งปลกู ด้วย ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ทมี่ าของภาพประกอบ : 1 https://www.palangkaset.com/พืชสขุ ภาพ/การปลูกขมิ้น-ขมน้ิ ชัน-1/) (ที่มาของภาพประกอบ : 2 https://siamrath.co.th/n/223792) 5. ขอ้ ควรระวงั ในการเก็บเก่ียว ขอ้ ควรระวงั ในการเก็บเก่ียว มดี งั น้ี 1. เกบ็ เกยี่ วด้วยความระมัดระวงั อย่าใหผ้ ลผลติ เกดิ บาดแผล ฉีกขาด เพือ่ ป้องกันการเขา้ ทำลายของเชอื้ โรค 2. ไมค่ วรเก็บเกยี่ วในชว่ งทมี่ ีฝน เพ่ือปอ้ งกนั โรคเช้อื รา 134

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 135 6. การปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เก่ยี วพืชสมุนไพรขมิ้นชัน [2] การเตรียมขมิ้นชันหลังเก็บเกี่ยว เพื่อให้ขมิ้นชันคงสภาพที่ดีไม่สูญเสียสาระสำคัญหลังการเก็บเกี่ยว ดังนั้นหลังการเก็บเกี่ยวแล้วต้องนำมาตัดแต่งราก จากนั้นทำความสะอาดดินออก ในกรณีที่ต้องการขมิ้นชันสด อาจจะขายส่วนที่เป็นแง่ง ส่วนหัวแม่ควรเก็บไว้เป็นพันธุ์ปลูกในฤดูกาลต่อไป ถ้าเตรียมขมิ้นชันแห้งเพื่อนำไปใช้ใน การทำยารักษาโรคนั้น ต้องเป็นขมิ้นชันที่แก่เต็มที่ และต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสิ่งสำคัญ รวมทั้งต้องมีปริมาณ สารสำคญั เคอร์คูมนิ อยด์ไมน่ อ้ ยกวา่ 8.64 เปอรเ์ ซน็ ต์ จึงควรคำนึกถึงขัน้ ตอนตา่ ง ๆ หลังการเก็บเกย่ี ว ดังนี้ 1. การคัดเลือกสิ่งปนเปือ้ น ขมิ้นชันทีเ่ ป็นส่วนของพืชทีอ่ ยู่ใต้ดิน จะมีสิ่งปนเปือ้ นมากกว่าส่วนของพชื ท่ี เหนือดิน เช่น มีดิน ทราย หรือส่วนของพืชอื่น ๆ ปะปนมาด้วย ควรคัดเลือกสิ่งเหล่านี้ออกให้หมดก่อนนำไป ทำความสะอาด สิง่ ปนปลอมอาจจะทำให้ขมน้ิ ชนั มีคุณภาพตำ่ (ท่ีมาของภาพประกอบ : https://pantip.com/topic/32995424) (ท่มี าของภาพประกอบ : https://www.sentangsedtee.com/career-channel/article_17263) 2. การทำความสะอาดขมิ้นชัน ส่วนใหญ่ต้องทำความสะอาดหลังเก็บเกี่ยวทันที และทำให้แห้งโดยเร็วที่สุด เพื่อป้องกันการทำลายของเชื้อจุลินทรีย์ และแมลงศัตรูพืช แต่บางชนิดไม่สามารถทำความสะอาดด้วยน้ำได้ เช่น จำพวกดอก ซึ่งหลุดร่วงได้ง่ายหรือส่วนที่เป็นผลหรือเมล็ด การทำความสะอาดโดยคัดแยกหัวและแง่งออกจากกัน ตัด รากและส่วนต่าง ๆ ที่ ไม่ต้องการทิ้ง อาจใช้แปรงช่วยขัดผิว คัดเลือกส่วนที่สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลงนำมาล้าง ดว้ ยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครง้ั จากนั้นคัดแยก สว่ นของผลผลิตทจ่ี ะนำไปทำแห้งและเก็บรกั ษาไวท้ ำหวั พันธตุ์ อ่ ไป ........................................ 2 ข้ันตอนการปลูกและการดูแลรักษาขมิน้ ชนั . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มูล 26 กรกฎาคม 2564) 135

136 ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ท่มี าของภาพประกอบ : https://mgronline.com/south/detail/9600000092999) (ท่ีมาของภาพประกอบ : https://web.facebook.com/ชมรมผูป้ ลกู ขมนิ้ ชนั ภาคอสี าน- 745912978945065/) 3. การคดั แยกผลผลติ แยกตามวตั ถุประสงค์ดังน้ี 3.1 หวั ขมิ้นชนั ท่ีจะเก็บไว้ใช้ทำพันธุใ์ นฤดูตอ่ ไป ควรผง่ึ ไว้ในที่รม่ ทมี่ ีอากาศถา่ ยเทไดด้ ี 3.2 หัวขมิ้นชันทีจ่ ะขายเป็นขมิน้ สด ควรบรรจใุ นกระสอบป่านหรือถงุ ตาขา่ ย แลว้ นำไปสง่ ขายท่ตี ลาด 3.3 หัวขมิน้ ชนั ทจี่ ะแปรรปู เบอ้ื งตน้ เป็นขมน้ิ ชนั แหง้ ขมน้ิ ชันบดผง และนำ้ มนั ขม้ินชัน (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 136

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 137 ใบความรทู้ ี่ 4.2 เรือ่ ง การแปรรปู พืชสมุนไพรขม้ินชนั 1. การทำแหง้ ขมิ้นชนั ท้ังหัว [1] โดยนำมาตม้ หรือน่ึงเหง้าสด นาน 1-2 ชั่วโมง ตากแดด 6 - 8 วัน หรือเปา่ ลมร้อน 65 - 70 องศาเซลเซียส ให้ มคี วามชน้ื คงเหลือเพียง 8 - 10 เปอร์เซน็ ต์ จากนนั้ ทำความสะอาดเหงา้ ปอกเปลอื กหรือขัดผวิ ภายนอกของเหง้า อตั ราส่วนขมิ้นสด : ขมน้ิ แห้ง เท่ากับ 4 : 1 ในการต้มขม้ินชันกับน้ำเดือดจะทำให้ประหยัดเวลาในการทำแห้งมากกว่า 2 เท่า เม่ือเทียบกับวิธกี ารฝานสดแล้วตากแหง้ กบั แสงแดด และขมิน้ ที่ไดต้ ้องนำไปบดเปน็ ผงตอ่ ไป 2. การทำขมนิ้ ชนั แห้งแบบชิ้น โดยหั่นหรือฝานขมิ้นชันด้วยมีดหรือเครื่องหั่น หนาประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตร เกลี่ยให้บางบนถาดหรือตะแกรง จากนั้นนำไปอบ โดยใช้เครื่องอบแห้งแบบอุโมงค์ ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 -12 ชั่วโมง หรือนำไปตากแดด 3 วัน และอบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 3 ชัว่ โมง อตั ราการทำแหง้ ขม้นิ ชนั สด : ขมน้ิ ชันแห้ง เท่ากบั 8 : 1 การอบขมิ้นชันมีข้อควรปฏิบัติ ดังน้ี ควรเกลี่ยขมิ้นชันให้แผ่บาง ๆ บนภาชนะ ถ้าซ้อนทับกันหนาทำให้เกิด ความร้อน จะทำให้ขมิ้นชันมีสีดำ คุณภาพลดลง ดอกควรทำให้แห้งเรว็ ท่สี ดุ เพือ่ ถนอมสีของดอกให้เหมือนเดิม ถ้าเป็นดอก ทมี่ กี ลนิ่ หอมควรผึ่งในทรี่ ่มที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี หรือตากแดดช่วงสั้น เพือ่ ป้องกันการเกิดเช้ือรา ดอกบางชนิดอาจมัด รวมกนั แขวนตากไวบ้ นราว ใบอาจทำใหแ้ ห้งวธิ ีเดียวกับดอก ใบทีอ่ มุ้ นำ้ ไวม้ ากอาจเพิ่มความร้อนในการอบแห้งให้ สูงกว่าปกติ ทั้งต้นของพืชล้มลุก ถ้าไม่อุ้มน้ำไว้มากอาจผูกมัดรวมเป็นกำแล้วตากแห้ง รากและลำต้นใต้ดินเวลา ตากหรอื อบแหง้ ในตู้ควรหม่นั กลบั ขมน้ิ ชนั บอ่ ย ๆ เพื่อปอ้ งกันการเกดิ เชื้อรา ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบที่ 2 (ที่มาของภาพประกอบ : 1 //www.dede.go.th/ewt_dl_link.php%3Fnid%3D43961%26filename%3 Dsolar_energy+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th&lr=lang_en|lang_th) (ท่มี าของภาพประกอบ : 2 http://www.bansuanporpeang.com/node/14379) ........................................ 1 การจดั การการผลติ ขมนิ้ ชันในระบบเกษตรอนิ ทรียเ์ พื่อเพมิ่ ผลผลติ . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก. https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_25630311105015_91741.pdf. (วันทส่ี ืบค้น ขอ้ มลู 26 กรกฎาคม 2564) 137

138 3. การทำขมนิ้ ชนั ผง โดยนำขมิ้นชันที่แห้งสนิทมาบด ให้เป็นผงด้วยเครื่องบดที่สะอาดหรือด้วยการตำแล้วร่อนเอาเฉพาะผง ขมิน้ ชัน คือขมิ้นชันแห้ง 1 กิโลกรัม จะไดข้ มิน้ ชันผง 0.8 กิโลกรัม การบดรอ่ น ขมิ้นชันที่ตอ้ งบดเปน็ ผงละเอียด ควรอยใู่ นสภาพแห้ง กรอบจงึ จะบดไดด้ ี อาจทดสอบความกรอบ ได้งา่ ย ๆ โดยลองหักขมิน้ ชันวา่ หักได้งา่ ยหรือไม่ หรอื ลองป่นดว้ ยมอื วา่ เป็นผงได้งา่ ยหรือไม่ ดงั นั้นขม้ินชันก่อนบด ควรมีความชนื้ ไม่เกินรอ้ ยละ 5 (ทม่ี าของภาพประกอบ https://www.kasetkaoklai.com/home/2017/05) 4. การกลนั่ น้ำมนั หอมระเหยขม้นิ ชนั [2] นำเหงา้ ขม้ินชนั มาหั่นเป็นช้นิ บาง ๆ เพื่อให้ไอน้ำผ่านได้ง่าย ไดน้ ำ้ มันท่ีมีคุณภาพและปริมาณมาก ใส่ขม้ินชัน ทเี่ ตรียมไวล้ งในหม้อกลน่ั และใช้วธิ ีการกลั่นดว้ ยน้ำและไอน้ำ (water and steam distillation) อุณหภูมิท่ีใช้ใน การกลั่น ระหว่าง 150 - 200 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 8 - 10 ชั่วโมง อัตราการกลั่นน้ำมันหอมระเหย ใช้ขมิ้นชันสด 1,000 กิโลกรัม ไดน้ ้ำมนั ขม้ินชัน 2 กโิ ลกรมั ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบท่ี 2 (ท่มี าของภาพประกอบ : 1 https://siamrath.co.th/n/60932) (ทมี่ าของภาพประกอบ : 2 https://www.chemipan.com/a/th-th/244-สนิ คา้ /326-เคมีเครอ่ื งสำอาง/ 331-น้ำมันหอมระเหย/2304-น้ำมนั หอมระเหย-ขมนิ้ ชนั -turmeric-essential-oil-1kg.html) ........................................ 2 ข้ันตอนการปลกู และการดูแลรักษาขมิ้นชนั . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วันท่ีสืบคน้ ข้อมูล 26 กรกฎาคม 2564) 138

หลกั สตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 139 5. การบรรจุและการเกบ็ รักษาขมน้ิ ชัน [2] 5.1 บรรจขุ ม้ินชันท่ีแห้งแลว้ ในภาชนะท่ีสะอาด แหง้ และปดิ ให้สนิท เช่น บรรจใุ นถุง/พลาสติกใส มัดปากถุง ให้แนน่ แล้วบรรจใุ นถังพลาสติกทม่ี ฝี าปดิ หรือบรรจุน้ำมันขมนิ้ ชนั ในขวดแก้วปดิ ฝาใหส้ นทิ 5.2 เกบ็ ในที่แหง้ สะอาด อากาศถา่ ยเทได้สะดวก 5.3 ไมค่ วรวางวัตถดุ บิ ขม้ินชันใหส้ มั ผสั กับพ้นื โดยตรง ควรเก็บไว้บนชั้นวางหรือยกพื้น 5.4 นำวัตถุดบิ ขมิ้นชันออกมาผึง่ ในที่ร่ม ทกุ 3 - 4 เดือน 5.5 ไม่ควรเก็บวตั ถดุ ิบขมิน้ ชนั ไว้นาน เนื่องจากปริมาณน้ำมนั หอมระเหยจะลดลงประมาณ 25% เมื่อเก็บไวน้ าน 2 ปี ( (ที่มาของภาพประกอบ : https://farmerspace.co/สรา้ งมาตรฐาน-ไรข่ ม้นิ ชนั /) 6. ผลติ ภัณฑ์จากขมิน้ ชัน ขมน้ิ ชันสด (Turmeric fresh) ขมน้ิ ชนั ผง ( Ground turmeric) ขมิ้นชนั แหง้ (Turmeric dry) ขมนิ้ ชันแคปซูล (Turmeric Capsules) (ที่มาของภาพประกอบ : กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) คลิปวิดีโอเรอ่ื ง หลกั สูตรการปลูกขมิน้ ชนั พันธ์แุ ดงสยาม Link หลักสูตรการปลูกขมิ้นชันพันธุ์แดงสยาม จำนวน 40 ชั่วโมง ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ สระแกว้ โดย อ.กฤษณา โสภี - YouTube ........................................ 2 ข้ันตอนการปลูกและการดแู ลรักษาขมนิ้ ชนั . [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก. http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. (วนั ทสี่ ืบค้นข้อมลู 26 กรกฎาคม 2564) 139

140 ใบงานที่ 4 เร่อื ง การเก็บเกีย่ วและการแปรรปู พืชสมนุ ไพรขมิน้ ชัน คำชี้แจง หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปพืชสมุนไพรขมิ้นชันแล้ว จงตอบคำถามดงั ต่อไปน้ี 1. จงอธบิ ายการเกบ็ เก่ยี วปลูกพชื สมนุ ไพรขม้ินชันอย่างละเอยี ด โดยการนำเสนอในรปู แบบ Flowchart ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. ยกตวั อย่างการแปรรปู พืชสมุนไพรขมนิ้ ชัน อยา่ งนอ้ ย 3 ตัวอยา่ ง ............................................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ ...................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ผลผลิตจากการปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชันของตนเอง จะมีแนวทางการแปรรูปพืชสมุนไพรขมิ้นชันอย่างไร จงอธบิ าย มาพอสังเขป .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................. ............. ..................................................................................................................... ......................................................... 140

หลกั สูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 141 แนวคำตอบ ใบงานที่ 4 เรื่อง การเกบ็ เกีย่ วและการแปรรูปพืชสมนุ ไพรขมน้ิ ชัน 1. การเกบ็ เกยี่ วปลูกพืชสมุนไพรขมนิ้ ชนั 1.1 ระยะเกบ็ เก่ียวท่เี หมาะสม 1.2 วธิ ีการเก็บเก่ียว 1.3 วธิ กี ารขุด 1.4 ผลผลติ 1.5 ข้อควรระวงั ในการเกบ็ เกย่ี ว 1.6 การปฏิบตั ิหลงั การเกบ็ เกีย่ วพืชสมนุ ไพรขมิ้นชนั 2. ตัวอยา่ งการแปรรูปพืชสมุนไพรขม้นิ ชัน 2.1 การทำแห้งขม้นิ ชันท้งั หวั 2.2 การทำขมนิ้ ชนั แหง้ แบบชิ้น 2.3 การทำขมนิ้ ชนั ผง (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 141

ใบความร้ทู ี่ 5.1 เรอ่ื ง การเพิม่ มูลคา่ ผลผลิตพืชสมนุ ไพรขมนิ้ ชัน ขมิ้นชันเป็นสมุนไพรท่ีคนไทยและคนในทวีปเอเชียอีกหลายประเทศนำมาใช้ประโยชน์ ทงั้ เป็นอาหาร ยา และเครื่องสำอาง จนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และมีแนวโน้มนิยมกันมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากผลการศึกษาวิจัย ทางวิทยาศาสตร์ พบว่า ในขมิ้นชันมีสารสำคัญที่เป็นสารออกฤทธิ์อยู่ 2 กลุ่ม ได้แก่ น้ำมันหอมระเหย และสารกลุ่ม เคอร์คูมินอยด์ มีฤทธิ์ทางยาหลายอย่าง เช่น ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ขับลม ฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งน้ำดี ช่วยย่อยอาหาร ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันโรคมะเร็ง เป็นที่ยอมรับขององค์การอนามัยโลก ในขณะนี้ กระทรวงสาธารณสุขได้พัฒนา เป็นตำรับยาบรรจุในแคปซูล กินรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย และนำเข้าในบัญชียาหลักแห่งชาติ ใช้ในสถานพยาบาลทั่วประเทศ อย่างไรก็ตามในการแปรรูปขมิ้นชันจากเหง้าดิบมาเป็นผง ไม่ว่าจะใช้เพื่อเป็นยา หรือเป็นเครอ่ื งสำอางประทนิ ผิว ประชาชนสามารถดำเนินการได้เอง แต่จะต้องระมัดระวัง ตงั้ แต่อายุของขมิ้นชัน การแปรรูป การเก็บรักษา เพราะหากไม่ถูกต้อง จะทำให้ได้สารสำคัญในขมิ้นชันเหลือน้อยหรือเสื่อมคุณภาพได้ ง่ายสรรพคุณในการใช้งานกจ็ ะลดลง โดยเฉพาะผงขมน้ิ ชันบรรจถุ ุงพลาสติกท่ีวางขายตามข้างทางตามแผงลอยต่าง ๆ มีโอกาสเสื่อมคุณภาพได้ง่าย มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา กล่าวว่า จากการวิจัยพบว่า ในประเทศไทยมีขมิ้นชัน มากถึง 34 สายพันธุ์ แต่สายพันธุ์ที่ดีที่สุด ตามผลการวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าสายพันธ์ุแดงสยาม มีสารเคอรค์ มู ินอยดถ์ ึงร้อยละ 10 - 12 เหง้า ขม้ินอายุ7 - 9 เดือนจะสมบรู ณ์เต็มท่ี การแปรรปู ที่ใช้กันส่วนมากจะใช้วิธีฝานเป็นชื้นบาง ๆ แล้วนำมาอบหรือตากแห้ง หลังจากที่ป่นเป็นผงขมิ้นชันแล้ว จะต้อง เก็บรักษาในภาชนะที่ปิดสนิท แห้ง และระวังไม่ให้ถูกแสงแดด ความร้อน หรือความชื้น เนื่องจากจะทำให้สาร เคอร์คูมินอยด์ และน้ำมันหอมระเหยในขมิ้นชันสลายตัวเร็วขึ้น เช่น หากเก็บนาน 2 ปี น้ำมันหอมระเหยจะลดลงถึง ร้อยละ 25 ดังน้นั จงึ ขอใหเ้ ก็บในภาชนะที่ปิดสนิท อากาศเข้าไม่ได้ เช่น ขวดทึบแสง มีฝาปิดสนิท ไม่ให้อากาศเข้าได้ อยา่ ใหถ้ ูกแดด ควรวางในทรี่ ่ม ไมค่ วรเกบ็ ผงขมน้ิ ชนั ในถุงพลาสติกทีร่ ัดปากถุงด้วยยางท่วั ไป เนื่องจากไม่สามารถ ปอ้ งกันไอนำ้ ได้ และจะทำใหผ้ งขมิ้นมคี วามชน้ื เกิดเชอื้ ราไดง้ า่ ย สารสำคัญในขมิ้นชนั คอื เคอร์คูมนิ อยด์และน้ำมันหอมระเหย ขมนิ้ ชันทด่ี ตี อ้ งมีปริมาณเคอร์คูมินอยด์ คำนวณเปน็ เคอร์คูมิน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก และนำ้ มนั หอมระเหยไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 6 โดยปริมาตร ต่อน้ำหนัก ตามมาตรฐานของตำรับยาสมุนไพรไทย หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 และร้อยละ 4 ตามมาตรฐานของ องคก์ ารอนามัยโลก ภมู ิปญั ญาไทยใชป้ ระโยชน์จากขมนิ้ ชันในการรักษาพิษแมลงสัตว์กัดต่อย บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ การบำรุงผิวพรรณ และใช้ในการปรงุ แต่งกลิน่ และรสอาหาร การพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ากขมิน้ ชัน ได้แก่ ยา เช่น ลดกรด รักษาแผล และลดอาการอักเสบ ส่วนอาหารเสริมสุขภาพและเครื่องสำอาง เช่น ครีมบำรุงผิว สบู่ ผลิตภัณฑส์ ปา Aroma Therapy และลกู ประคบ ยาทากันยุง ส่วนผสมในอาหารสัตว์ ผลิตภณั ฑส์ ำหรับสัตว์เลี้ยง และผลิตภัณฑป์ ้องกันกำจดั ศัตรพู ชื เป็นตน้ ........................................ 1 วธิ ปี ลกู ขมิ้นชนั (Turmeric). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://www.plookphak.com/how-to-plant-turmeric/. (วันทีส่ บื ค้นขอ้ มลู 27 กรกฎาคม 2564) 142

หลักสูตร การปลูกพืชสมุนไพรกพล้ืุ่นมอบาช้าีพนเกขษมตร้ินกชรรันม 143 (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) วิธีเพ่มิ ผลผลติ และคณุ ภาพของขมน้ิ ชัน [1] สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ ไดว้ ิจัยดา้ นการพัฒนาสมุนไพรเพ่ืออตุ สาหกรรมและการส่งออก ดังน้ี 1. อิทธพิ ลของร่มเงา ระยะปลูกต่อผลผลติ และปริมาณสาระสำคัญของขมิ้นชัน พบว่าการปลูกขมิ้นชัน ในแปลงที่ไม่พรางแสง, พรางแสง 50%, 60% และ 70% ผลผลิต Rhizome ไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าระหว่าง 421.46 - 442.85 กรมั ต่อต้น แต่เมอ่ื พรางแสง 80% ผลผลติ ลดลงเปน็ 196.11 กรัมต่อตน้ ปริมาณสาร Curcuminoid ใน Rhizome ของขมิ้นชนั ท่ปี ลูกในแปลงทไ่ี ม่พรางแสง, พรางแสง 50%, 60%, และ70% ไม่แตกตา่ งกนั โดยมคี ่าระหวา่ ง 7.62-8.11% แต่เม่อื พรางแสง 80% ปริมาณสาร Curcuminiod ลดลงเป็น6.96% 2. ชนิดปุ๋ย ช่วงเวลาในการใส่ที่เหมาะสมสำหรับการปลูกขมิ้นชัน พบว่าขมิ้นชันที่ใส่ปุย๋ มูลไก่ อัตรา 250 กรัม ต่อต้น และปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 14.06 กรัมต่อวัน มีแนวโน้มให้ผลผลิต Rhizome ต่อต้น มากกว่าต้นที่ไม่ใส่ปุ๋ย และการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง เมื่อพร้อมปลูก และขมิ้นชันอายุ 2 เดือนหลังปลูก มีแนวโน้มให้ผลผลิต Rhizome ตอ่ ตน้ มากทสี่ ุดเทา่ กบั 818.77 กรัมตอ่ ตน้ 3. การขยายพันธุ์ขมิ้นชันโดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยง 2 ขั้นตอน พบว่าการนำตายอด ขมิ้นชันที่มีอายุ 1 - 3 เดือน มาผ่าแบ่งตามยาวเป็น 4 ชิ้นส่วน ความยาว 0.5 เซนติเมตร เพาะเลี้ยงในอาหารสูตร MS ท่ี เติม TDZ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แล้วย้ายไปเลี้ยงในอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการ เจริญเตบิ โต เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สามารถกระตุน้ ยอดได้ 18.22 0.62 ยอดต่อชิ้นส่วน มีความยาวเฉลี่ย 3.85 เซนติเมตร ต่อยอด และมีอัตราการสร้างราก 88.40 2.6% สามารถปลูกลงดินในสภาพโรงเรือนได้และเจริญเติบโตได้ดีในสภาพ แปลงปลกู ปริมาณเคอร์คูมินอยด์ของขม้ินชนั ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือจากต้นแม่เดียวกันมีความแปรปรวนต่ำ 4. การขยายพันธุ์ขมิ้นชันโดยการกระตุ้นชิ้นส่วนตาในอาหารเหลวที่เติม TDZ พบว่า การเลี้ยงชิ้นส่วนตายอด ขมิ้นชันในอาหารเหลาสูตร MS ที่เติม TDZ 16 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 1 สัปดาห์ แล้วย้ายไปเล้ียงในอาหารสูตร MS ท่ี ไม่เติมสารควบคมุ การเจริญเติบโต เปน็ เวลา 8 สัปดาห์ มอี ัตราการสรา้ งยอดใหม่เปน็ 14.50 1.33 ยอดตอ่ ช้นิ ส่วน ........................................ 1 วิธปี ลกู ขมิ้นชัน (Turmeric). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก. https://www.plookphak.com/how-to-plant-turmeric/. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมูล 27 กรกฎาคม 2564) 143

144 วิธีการเพิ่มมูลคา่ ให้กบั ผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยการผลิตบรรจภุ ัณฑท์ ีส่ ร้างสรรค์ [2] ในการเพิ่มมูลค่าของสินค้าด้วยการผลิตบรรจุภัณฑ์ที่สร้างสรรค์นั้นเราจะต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง สิ่งที่จะ ชว่ ยเพ่ิมมูลคา่ ของสินค้าได้ก็คือ บรรจภุ ณั ฑ์ ซงึ่ บรรจุภณั ฑม์ คี วามสำคัญมากและมผี ลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อของ ผบู้ ริโภค ถา้ หากสนิ คา้ นัน้ ๆ ดสู ะอาด ดูแปลกตา ดูนา่ รับประทาน และดนู ่าเชอื่ ถอื กจ็ ะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการซอื้ สินคา้ หรือผลิตภัณฑ์ของเรามากข้ึน การเพิ่มมูลค่าสินค้าดว้ ยบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบหรือ ผลิตบรรจุภัณฑ์มาอย่างดีนัน้ จะสามารถช่วยเพิ่มโอกาสในการซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์นั้น ๆ และยังช่วยสร้างภาพลักษณ์ในผู้บริโภครับรู้ถึง คุณภาพของสินค้าและบริการต่าง ๆ อีกด้วย แถมยังช่วยทำใหส้ ินค้าดูมคี ุณค่า แตกต่างจากคู่แข่ง เนื่องจากพฤติกรรม ของผู้บรโิ ภคเปลีย่ นไปไม่หยุดนิ่ง บรรจภุ ัณฑท์ เี่ ราใช้ก็จะต้องพัฒนาต่อไปไมห่ ยุดนิ่งเชน่ กัน ซ่งึ ในการเพิม่ มูลค่าสินค้า ด้วยบรรจภุ ัณฑ์นนั้ เราสามารถทำได้โดยการใช้บรรจุภณั ฑ์ทีส่ รา้ งสรรค์ ซึ่งจะสง่ ผลเกดิ การตัดสนิ ใจซื้อสินคา้ ภาพประกอบท่ี 1 ภาพประกอบที่ 2 (ทมี่ าของภาพประกอบ : 1 https://www.proudpack.net/hot-item/spray-perfume11.html) (ทม่ี าของภาพประกอบ : 2 https://thaiscentplus.com/A2-15ml-35ml/) บรรจุภัณฑ์สร้างสรรค์ จะช่วยสร้างความมั่นใจแก่ผู้ซื้อในระดับหนึ่ง คือ บรรจุภัณฑ์ที่มีการออกแบบ โดยอาศัยเทคโนโลยี นวัตกรรมและแนวคิดทส่ี รา้ งสรรค์ โดยมอี งคป์ ระกอบ 3 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ 1. ประโยชน์ของการใช้งาน ในการออกแบบหรือผลิตบรรจุภัณฑ์สิ่งแรกที่เราควรจะนึกถึงก่อนทุกครั้ง คือ ประโยชน์ของการใชง้ านบรรจุภณั ฑ์ ซึ่งเราจะต้องรู้ก่อนว่าสินค้าของเราคืออะไร และรู้ว่าลูกค้าต้องการแบบ ไหน เราถึงจะผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อเวลาที่เราออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับการใช้งานนั้น ๆ ได้อย่างดี และสะดวกต่อการใช้งาน เช่น บรรจภุ ณั ฑข์ นม อาหาร เครอื่ งดมื่ หรอื บรรจุภัณฑ์เคร่ืองสำอาง โดยส่วนใหญ่แล้ว การออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ต้องออกแบบให้สะดวกต่อการใช้งาน คือ บรรจุภัณฑ์มีความแข็งแรง หยิบจับง่าย สวยงาม มีขนาดกะทัดรดั หยบิ จับถนัดมอื มฝี าปิดสนทิ และดสู ะอาดปลอดภัย 2. ใหค้ วามร้สู ึกถึงอารมณข์ องผู้บรโิ ภค เชน่ การท่ีผู้บรโิ ภคเหน็ ครั้งแรกจะต้องใหค้ วามรสู้ กึ คุ้มค่า ไม่แพง ไมถ่ กู แตจ่ ะตอ้ งคุ้มคา่ ลกู ค้าไดค้ วามคุ้มคา่ ผ้ปู ระกอบการก็ไดค้ วามคุ้มทุน และสามารถสื่อสารให้ลกู คา้ ท่เี ห็นแล้ว เขา้ ใจชัดเจนว่าบรรจภุ ัณฑน์ ้ันต้องการสือ่ สารถึงอะไร โดยภาพทีจ่ ะสื่อสารจะตอ้ งตรงกบั เรื่องราวของแบรนด์ ........................................ 2 เพ่ิมมูลค่าให้กับผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยการผลติ บรรจภุ ณั ฑท์ สี่ รา้ งสรรค.์ [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก. https://www.vkplastic.com/2019/07/22/. (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมลู 27 กรกฎาคม 2564) 144

หลักสตู ร การปลูกพืชสมุนไพรกพลืุ้่นมอบาช้าีพนเกขษมตริ้นกชรรันม 145 เพราะจะสร้างการจดจำได้ง่าย โดยพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อถึงสินค้าที่อยู่ภายในได้ ซึ่งการออกแบบและ ผลติ บรรจภุ ัณฑ์ทีใ่ ช้ความคิดสร้างสรรค์ จะชว่ ยสร้างความมั่นใจแก่ผู้ซื้อในระดบั หน่ึง จะสง่ ผลให้เกิดการตัดสินใจ ซือ้ สนิ ค้า และนำสินค้าไปใช้ ในออกแบบและผลิตบรรจภุ ัณฑ์อย่างสร้างสรรค์ ก็คอื การออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ ที่แปลกใหม่ แตกต่างจากแบบเดิมทั้งในแง่ของรูปทรง ฉลากและตัวอักษร รวมไปถึงข้อความที่สื่อสาร และสามารถ ดงึ ดูดความสนใจจากกลุ่มเปา้ หมายไดเ้ ปน็ อย่างดี 3. ผลิตบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณภาพ การนำวัสดุที่มีคุณภาพและความปลอดภัยเพื่อการผลิตบรรจุภัณฑ์ จะสามารถทำให้สินค้าของคุณดูน่าเชื่อถือมากกว่าการใช้วัสดุที่ไม่มีคุณภาพ วัสดุที่นำมาผลิตบรรจุภัณฑ์นั้นก็มี หลากหลาย ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ก็จะขึ้นอยู่กับว่าผลิตภัณฑ์ของเราคืออะไร และควรที่จะใช้ บรรจุภัณฑแ์ บบไหนใหเ้ หมาะกบั สินคา้ และปลอดภยั (ท่ีมาของภาพประกอบ : https://www.skincarecafefactory.com/category/2541/หมวดe-บรรจภุ ัณฑค์ รมี -กระปกุ -หลอด-ขวด) การเพิ่มมูลคา่ ด้วยบรรจภุ ัณฑท์ ี่มีการคดิ สร้างสรรคน์ ้ัน ไม่เพียงแต่เป็นการออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ ให้มีหน้าตาที่สวยงามเท่านั้น แต่ยังจะต้องเน้นความแตกต่างให้กับสินค้าของแบรนด์เพื่อให้เกิดเป็นรูปแบบของ การสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์แบบใหม่ ๆ ที่จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเลือกซื้อสินค้า ดังนั้นผู้ท่ีผลิตบรรจุภัณฑ์ควร จะใส่ใจในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ เพื่อให้ดึงดดู ใจผู้ซ้ือด้วย และนอกจากนี้เรามีบรกิ ารออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์และ ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกเพื่อช่วยให้ทุกท่านสามารถเป็นเจ้าของบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่สวยงามในรูปแบบของ ตนเอง ในราคาที่ยอ่ มเยาเรายงั มีบริการสำหรบั ใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำสำหรบั ผู้ท่เี ร่มิ ทำธุรกิจอีกด้วย (ทีม่ าของภาพประกอบ : https://perfect770.com/?p=2383) 145

146 (ที่มาของภาพประกอบ : https://www.pinterest.com/benzpol/ชะลอมไผ่/) (ท่มี าของภาพประกอบ : (ทีม่ าของภาพประกอบ : http://www.รับ https://www.thaiherbinfo.com/th/product/ขมิ้นชันแคปซลู -250-มก.) ผลติ สบรู่ าคาถกู .com/ครมี ขมิ้นชนั นาโน+รับ ผลิตสบรู่ าคาถกู +105016.html) (ทมี่ าของภาพประกอบ : (ทม่ี าของภาพประกอบ : (ท่ีมาของภาพประกอบ : 7 https://web.facebook.com/Sirirajdrugs/ https://th.kongkaherb.co.th/pr https://positioningmag.com/ photos/pcb.1156246311382074/ 28969/) 1156246278048744/) oduใcบt/คยาวหามม่อรงขู้ทม่ี ้นิ 5ช.นั2-50-g/) 146


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook