Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

Published by dlit_sm037, 2021-11-17 08:37:02

Description: เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

Search

Read the Text Version

แนวการจดั การเรียนรู้ หลักสตู รนครศรธี รรมราชศึกษา ส�ำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั นครศรธี รรมราช ส�ำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ



ค�ำนยิ ม ผ้วู า่ ราชการจังหวัดนครศรธี รรมราช เราชาวนครฯ อยเู่ มืองพระ ม่ันอยใู่ นสจั จะ ศีลธรรม กอปรกรรมด ี มีมานะพากเพยี ร ไม่เบยี ดเบียนท�ำอันตรายผใู้ ด จากค�ำขวัญประจ�ำเมือง จะเห็นได้ว่าชาวนครศรีธรรมราช เป็นผู้ยึดมั่นสัจจะ มีศีลธรรม ท�ำความดีขยัน หมั่นเพียร ไม่เบียดเบียนผู้ใด ดังนั้น เพื่อเป็นการปลูกนิสัยดังกล่าวให้เกิดข้ึนกับชาวนครฯ จึงจ�ำเป็นต้องให้ศึกษา เรียนรู้ตั้งแต่เยาว์วัย หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ที่ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราชร่วมกับ หนว่ ยงานทง้ั ใน และนอกกระทรวงศึกษาธกิ าร รวมทง้ั ผู้ทรงคุณวฒุ ทิ กุ สาขาอาชพี ได้เขียนและเรยี บเรียง เพอื่ ใชเ้ ป็น แนวทางในการจดั การเรยี นรใู้ หก้ บั ผเู้ รยี น ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา และชนั้ มธั ยมศกึ ษานน้ั ถอื เปน็ มติ ใิ หมอ่ กี มติ หิ นง่ึ ท่ีได้มีการน�ำเน้ือหาท่ีเกี่ยวข้องกับจังหวัดนครศรีธรรมราชในทุกมิติ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งสำ� หรับการจัดการศกึ ษาทุกกลมุ ดว้ ยการน�ำเนือ้ หาสาระมาเรียบเรยี ง เปน็ หน่วยการเรยี นรู้ ดว้ ยส�ำนวนภาษาทงี่ ่าย เข้าใจงา่ ย พรอ้ มจดั ทำ� ภาพประกอบที่สวยงามเพอ่ื เป็นสอื่ ในการสร้าง ความเขา้ ใจท่ีชดั เจนยงิ่ ขึ้น จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ความส�ำคัญกับการจัดการศึกษาและมุ่งมั่นให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบท ความต้องการของชุมชน ความเจริญก้าวหน้าของจังหวัดและของประเทศ ซึ่งสาระส�ำคัญ ส่วนหน่งึ ก็คอื เรื่องรักหวงแหนทอ้ งถิ่น ซ่ึงเป็นบ้านเกดิ ของตนเอง การน�ำเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องกับจังหวัดในเรื่องต่าง ๆ เข้าสู่การศึกษาของจังหวัด ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทง้ั สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ สอื่ เทคโนโลยี และสอื่ อนื่ ๆ นบั เปน็ กระบวนการสำ� คญั ในการปลกู ฝงั คา่ นยิ มทด่ี งี าม ในดา้ นการอนรุ กั ษ์ สร้างสรรค์ สืบสานและพัฒนาท้องถิ่นให้แก่ผู้เรียนได้สืบสานความเป็นชาวนครฯไว้ในจิตวิญญาณความเป็นไทย ซ่งึ เปน็ หัวใจส�ำคัญของการรักถ่นิ เกดิ ของตนเอง ขอแสดงความช่ืนชมและขอบคุณคณะท�ำงานทุกฝ่ายท้ังผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รับผิดชอบแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และผู้สนับสนุนส่งเสริมทุกฝ่าย ที่ท�ำให้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ส�ำเร็จ สมบูรณ์ด้วยดี หวังว่าสถานศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช คงได้น�ำหลักสูตรน้ีไปปรับใช้ตามบริบทของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ซ่ึงจะมีการติดตาม ผลการใชต้ ่อไป (นายจำ� เริญ ทิพญพงศธ์ าดา) ผวู้ ่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช หลักสูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ ก

คำ� นยิ ม รองผ้วู า่ ราชการจงั หวัดนครศรีธรรมราช หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษาเล่มนี้เป็นความพยายามของนายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีถือว่าเป็นผู้ริเริ่มในการจัดท�ำหลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ท่ีเป็นเร่ืองราวการเรียนรู้ ครอบคลุม เร่ืองประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ เศรษฐกิจ คมนาคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประชากรกบั การเมอื งการปกครอง การศกึ ษา ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว โครงการพระราชด�ำริ และปัญหาของจังหวัดนครศรีธรรมราช ดังนั้น หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา เล่มน้ี ศึกษานิเทศน์ ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ค้นคว้าเรียบเรียง และผู้ทรงคุณวุฒิทุกสาขาอาชีพ ชว่ ยเตมิ เตม็ ใหถ้ กู ตอ้ งสมบรู ณต์ ามหลกั การ ทฤษฎี และสภาพปจั จบุ นั เหมาะอยา่ งยงิ่ สำ� หรบั การจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกสังกัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ได้เรียนรู้ท้องถิ่นของตนเอง มีความภาคภูมิใจ รกั ศรทั ธา หวงแหน แหลง่ ศลิ ปวฒั นธรรมและดำ� เนนิ ชวี ติ ตามขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี าม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามหลกั ศาสนา เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง มวี นิ ยั เหน็ ความสำ� คญั ของสว่ นรวมและรว่ มกนั พฒั นาจงั หวดั นครศรธี รรมราช ขอแสดงความชื่นชมยินดีกับคณะท�ำงานทุกฝ่ายท่ีจัดท�ำหลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา จนส�ำเร็จ เพ่ือน�ำไปใชจ้ ัดการเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้เรยี นได้มีความร้คู วามเข้าใจ รกั และศรทั ธา ในจังหวดั นครศรีธรรมราช (นายวริ ตั น์ รกั ษพ์ ันธ์) รองผ้วู า่ ราชการจังหวดั นครศรธี รรมราช ข แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

ค�ำนยิ ม ประธานคณะท�ำงานฝา่ ยผทู้ รงคณุ วุฒิ การเรียนรู้เรื่องบ้านเมืองหรือมาตุภูมิของตนเอง เป็นเจตนารมณ์หน่ึงของการจัดการศึกษามา แตค่ รง้ั โบราณ ทงั้ ในสงั คมตะวนั ออกและตะวนั ตก ถอื เปน็ กศุ โลบายทจ่ี ะสรา้ งความรจู้ กั ความเขา้ ใจ และความภาคภมู ใิ จ ให้เกิดแก่ผเู้ รียน อนั จะน�ำไปสกู่ ารรักหวงแหนและท�ำนบุ ำ� รุงบา้ นเมอื งหรือทอ้ งถิ่นใหเ้ จริญรงุ่ เรืองในกาลอนาคต “นครศรธี รรมราช” เป็นจังหวดั ใหญ่ในภาคใตข้ องประเทศไทย มคี วามส�ำคญั ในทางประวัติศาสตรม์ าแต่ อดตี ควบคกู่ บั ความเปน็ มาของชาตไิ ทยมพี ฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรท์ โ่ี ดดเดน่ ในคาบสมทุ รภาคใต้มคี วามแปรเปลย่ี นไป ตามปจั จยั แวดลอ้ มทง้ั ภายในและภายนอกทซ่ี บั ซอ้ น มคี วามเหมาะสมของทำ� เลทตี่ งั้ ทางภมู ศิ าสตรท์ อ่ี ยบู่ นคาบสมทุ ร ซง่ึ อยกู่ งึ่ กลางบนเสน้ ทางการคา้ ระหวา่ งจนี และอนิ เดยี มที รี่ าบลมุ่ อนั อดุ มสมบรู ณ์ กอ่ ใหเ้ กดิ การตงั้ ถน่ิ ฐานเปน็ ชมุ ชน และเมืองที่มีความรุ่งเรือง โดยเฉพาะเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ปัจจุบันกลายเป็นแหล่งโบราณคดี ที่มีคุณค่ายิ่ง และยังมีพลวัตอยู่จ�ำนวนมากมายในพ้ืนท่ีของจังหวัดนี้ การเรียนรู้เร่ืองบ้านเมืองนครศรีธรรมราช จึงย่อมกอ่ คณุ ประโยชน์แก่เยาวชนในจังหวัดนอ้ี ยา่ งอนนั ต์ น่ายินดีท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช (นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา) ไดร้ เิ รมิ่ และสานตอ่ เจตนารมณน์ ้ี โดยมอบหมายใหส้ ำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ไปจดั ทำ� “หลกั สตู รนครศรธี รรมราช” ข้ึนมา ด้วยกระบวนการเรียบเรียงตามโครงสร้างเนื้อหาและหน่วยการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมแก่ระดับช้ันของผู้เรียน ผ่านการตรวจสอบของผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถ่ิน จนม่ันใจได้ว่าโรงเรียนและครูสามารถขับเคล่ือนให้บังเกิดผลสัมฤทธิ์ แกผ่ เู้ รยี นซง่ึ เปน็ เยาวชนในจงั หวดั นครศรธี รรมราชไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ (ผศ.ฉตั รชัย ศกุ ระกาญจน์) ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวัดนครศรีธรรมราช ประธานคณะท�ำงานฝา่ ยผ้ทู รงคุณวฒุ ิ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ ค

คำ� นำ� หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ฉบับนี้ เป็นความคิดริเริ่มจาก นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมอบหมายให้ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตร นครศรีธรรมราชศึกษา ประกอบกับคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช (กศจ.) ได้ประชุม คร้งั ที่ 11/2561 เมอื่ วนั ที่ 24 ตุลาคม 2561 ได้ก�ำหนดจัดทำ� แล้วเสร็จเพอ่ื ใชใ้ นปีการศึกษา 2562 โดยให้สถานศึกษา น�ำไปใช้จัดการเรียนการสอน นักเรียน ให้มีความรู้ ความภาคภูมิใจ รัก ศรัทธา หวงแหน แหล่งศิลปวัฒนธรรม และด�ำเนนิ ชวี ิตตามขนบธรรมเนยี มประเพณีอันดงี าม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามหลักศาสนา เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี ินัย เหน็ ความสำ� คญั ของสว่ นรวมและร่วมกนั พฒั นาจังหวัดนครศรีธรรมราช หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา และแนวการ จดั การเรยี นรูน้ ครศรธี รรมราชศึกษา ซึ่งมหี นว่ ยการเรยี นรู้ 14 หนว่ ย ที่ครอบคลุมเรอ่ื ง ประวตั ิศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ ภมู ิอากาศ เศรษฐกิจ คมนาคม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ประชากรกับการเมืองการปกครอง การศกึ ษา ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหล่งท่องเที่ยว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และปัญหาของจังหวัดนครศรีธรรมราช สามารถน�ำไปใช้จัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั รวมทัง้ ส�ำหรบั การจดั การศกึ ษาทกุ กลมุ เชน การศกึ ษาพเิ ศษ การศึกษาสําหรบั ผูม้ ีความสามารถพเิ ศษ ต้ังแตช่ น้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 จนถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 โดยมมี าตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เปน็ ขอ กำ� หนดคณุ ภาพของผเู้ รยี น ทง้ั นใี้ นการจดั ทำ� แนวทางการจดั การเรยี นรู้ มอี งคป์ ระกอบ ของมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด สาระส�ำคัญ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และรายละเอียดของเน้ือหา สาระคอนขางละเอยี ด และยงั มีสว นประกอบอ่ืน เพื่อชวยใหส ถานศกึ ษา ครู ผสู อนและ ผูเก่ียวขอ งใหส ามารถน�ำไป จัดการเรียนการสอนไดอ ยา งมีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ ขอขอบคุณท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ให้แนวทางและเห็นความส�ำคัญในเร่ืองนี้ และขอขอบคุณคณะท�ำงานตามค�ำสั่งจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ 331/2562 ทุกท่านทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รับผิดชอบ หน่วยการเรียนรู้ รวมท้ังผู้ให้การสนับสนุนข้อมูล ท่ีส่งผลให้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ส�ำเร็จสมบูรณ์ด้วยดี ตลอดทงั้ ขอขอบคณุ สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทางการศกึ ษาทกุ สงั กดั ทนี่ ำ� หลกั สตู รไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท ของสถานศึกษา ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราชราช ขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี (นายเจียร ทองนุ่น) ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นครศรธี รรมราช ง แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

ค�ำชแ้ี จง การน�ำหลักสูตรนครศรีธรรมราช และแนวการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพและประสิทธิภาพ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนจะต้องด�ำเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ศกึ ษาหลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษาและแนวการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจ 2. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม น�ำสาระการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ในหลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา ไปบรู ณาการหรอื สอดแทรกในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 3. ครูผู้สอนวิเคราะห์แนวการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา เกี่ยวกับตัวชี้วัด และสาระ การเรยี นร้เู ป็นรายชัน้ 4. ครูผู้สอนน�ำแนวการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ไปใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียน การสอนตามรายชนั้ ทมี่ มี าตรฐานและตวั ชี้วัดทีก่ ำ� หนดไวใ้ ห้แลว้ ในแต่ละหน่วย 5. ครูผสู้ อนวดั ผลและประเมนิ ผลผ้เู รียนได้ตามตวั ช้วี ดั ทกี่ �ำหนดไวใ้ นแตล่ ะหน่วย หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ จ

สารบญั ก ข คำ� นยิ ม ผู้ว่าราชการจงั หวดั นครศรีธรรมราช ค ค�ำนยิ ม รองผู้วา่ ราชการจังหวดั นครศรีธรรมราช ง ค�ำนยิ ม ประธานคณะท�ำงานฝ่ายผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จ ค�ำนำ� 1 ค�ำชี้แจง 2 เกร่ินน�ำ 2 วสิ ยั ทัศน ์ 4 จุดหมายหลักสตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา 29 หนว่ ยท่ี 1 ประวัตศิ าสตร์นครศรธี รรมราช 39 หนว่ ยที่ 2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 64 หน่วยท่ี 3 ลักษณะภมู ิอากาศ 97 หนว่ ยที่ 4 เศรษฐกิจ 115 หน่วยท่ี 5 การคมนาคม 161 หน่วยที่ 6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 222 หนว่ ยท่ี 7 ประชากรกบั การเมืองการปกครอง 231 หน่วยที่ 8 การจดั การศึกษาจงั หวดั นครศรีธรรมราช 243 หน่วยท่ี 9 ศาสนา 284 หน่วยท่ี 10 ประเพณี วัฒนธรรม 350 หน่วยที่ 11 โบราณสถาน โบราณวตั ถุ 415 หนว่ ยท่ี 12 แหล่งทอ่ งเทีย่ วในจงั หวัดนครศรีธรรมราช 436 หนว่ ยท่ี 13 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ� ร ิ 475 หนว่ ยท่ี 14 ปัญหาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช 483 บรรณานุกรม 485 ภาคผนวก - คำ� ส่ัง จังหวดั นครศรธี รรมราช ที่ 331/2562 เรอ่ื ง การแต่งตัง้ คณะทำ� งานด�ำเนนิ งาน 494 ตามโครงการจัดทำ� หลักสตู รนครศรีธรรมราชศกึ ษา คณะผู้จดั ทำ� ฉ แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

เกรน่ิ น�ำ ตามค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 11/2559 เร่ืองการบริหารราชการ ของกระทรวง ศกึ ษาธิการในภูมภิ าคท่เี กย่ี วข้องกับศึกษาธิการจงั หวัด มดี งั น้ี ข้อ 4 ในแต่ละจังหวัด ให้มีส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเกย่ี วกบั การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายกำ� หนด การปฏบิ ตั ิ ราชการตามอ�ำนาจหน้าท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย และให้มีอ�ำนาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ 1. รบั ผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัด และการปฏิบตั ิงานราชการ ให้เปน็ ไป ตามอำ� นาจหน้าท่ีของคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และตามทค่ี ณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั มอบหมาย 2. สง่ เสรมิ สนับสนุนและพัฒนางานด้านวิชาการของกระทรวงศกึ ษาธิการในระดบั จงั หวดั 3. สง่ั การกำ� กบั เรง่ รดั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจงั หวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร 4. จดั ทำ� กรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน และกำ� หนดตวั ชว้ี ดั การดำ� เนนิ งานในลกั ษณะตวั ชวี้ ดั รว่ ม ของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจงั หวัด 5. ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารหรอื ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย รวมทง้ั ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เก่ยี วกบั ราชการประจ�ำท่วั ไปของกระทรวงศึกษาธิการ และประสานงานตา่ ง ๆ ในระดับจงั หวัด ขอ้ 5 ให้มีศึกษาธิการจังหวัด เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้างในส�ำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด อยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของศึกษาธิการภาค โดยอาจให้มีรองศึกษาธิการจังหวัดจ�ำนวนไม่เกิน หนงึ่ คนเพ่อื ชว่ ยเหลอื งานศึกษาธิการจงั หวดั ข้อ 6 ให้โอนอ�ำนาจหน้าท่ีของผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาและอ�ำนาจหน้าท่ี ของผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เฉพาะงานทเ่ี กยี่ วกับ อ.ก.ค.ศ.เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถม ศึกษาและ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ไปเปน็ อ�ำนาจหนา้ ทีข่ องศกึ ษาธิการจงั หวดั ขอ้ 8 ในระหวา่ งทย่ี งั มไิ ดม้ กี ารจดั ตง้ั สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ใหส้ ำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถม ศกึ ษาหรอื สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเขต 1 ในจงั หวดั ตา่ ง ๆ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ในจังหวดั นัน้ ๆ ไปพลางกอ่ น แล้วแต่กรณี ประกอบกบั คำ� สง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยแหง่ ชาติ ท่ี 19/2560 ขอ้ 5 ใหม้ กี ารจดั ตงั้ สำ� นกั งาน ศกึ ษาธกิ ารภาค จำ� นวนสบิ แปดภาค สังกดั ส�ำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ตามบญั ชีรฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงศึกษาธิการประกาศก�ำหนด เพอื่ ปฏิบัตภิ ารกจิ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารในระดับพ้ืนท่ี ท�ำหน้าท่ีขบั เคลื่อน การศกึ ษาในระดับภาคและระดับจงั หวดั โดยการอำ� นวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาการศกึ ษา แบบรว่ มมอื และบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่นหรือภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนที่นั้น ๆ และข้อ 11 ใหม้ สี ำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด สงั กัดส�ำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ ปฏบิ ัติภารกิจ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 1

ของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายก�ำหนด การปฏิบัติราชการตาม อำ� นาจหนา้ ท่ี นโยบาย และยทุ ธศาสตร์ของส่วนราชการตา่ ง ๆ ท่มี อบหมาย เพ่ือให้การบริหารงานของสำ� นักงานศึกษาธิการจงั หวดั มีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ จึงไดก้ �ำหนดใหม้ ีคณะ กรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวดั นครศรีธรรมราช โดยมีผู้วา่ ราชการจงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นประธานคณะกรรมการ และ ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั นครศรีธรรมราช ครัง้ ท่ี 11/2561 เมอ่ื วันท่ี 24 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมมีมติให้ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดท�ำหลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ประกอบกับ เป็นนโยบายของ นายจ�ำเรญิ ทิพญพงศธ์ าดา ผ้วู ่าราชการจังหวดั นครศรีธรรมราช ต้องการให้นกั เรียนมีความรู้ ภาค ภมู ใิ จ รกั ศรทั ธา หวงแหน ในแหลง่ ศลิ ปวฒั นธรรม และดำ� เนนิ ชวี ติ ตามขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี าม มคี ณุ ธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนา เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย เห็นความส�ำคัญของส่วนรวม และร่วมกันพัฒนาจังหวัด นครศรธี รรมราช โดยใหด้ ำ� เนนิ การให้แลว้ เสรจ็ เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถนำ� ไปใชจ้ ัดการเรียนรูต้ อ่ ไป วสิ ยั ทัศน์ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในภูมิสังคม รักถ่ินฐาน ภาคภูมิใจ มีจิตอนุรักษ์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนา จังหวัดนครศรธี รรมราช จดุ หมายหลักสตู รนครศรีธรรมราชศึกษา หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีศักยภาพ ในการพัฒนาตนเองตลอดชีวติ รัก ศรทั ธา และเป็นพลเมืองดีของจงั หวัดนครศรธี รรมราช ดังน้ี 1. มีความรู้ ความเข้าใจในบริบท สภาพปญั หา และแนวทางการพฒั นาของจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. มีคุณธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนา ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและเห็น ความส�ำคญั ของส่วนรวม 3. มีจิตส�ำนึกรักถ่ินฐาน เป็นพลเมืองดีของชุมชน สังคม และประเทศชาติ ยึดมั่นในการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ 4. มีจิตสำ� นกึ ในการอนุรกั ษ์ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และส่งิ แวดลอ้ ม มุ่งทำ� ประโยชน์ เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ และอย่รู ว่ มกันอย่างมคี วามสขุ 5. มีจิตส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยน้อมน�ำโครงการพระราชด�ำริ สู่การปฏิบัติ 2 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

การใชแ้ นวการจัดการเรยี นรู้หลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา แนวการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา ไดจ้ ดั ทำ� ขนึ้ ตามกรอบหลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา ซ่งึ แบ่งออกเปน็ 14 หน่วย ดังน้ี หน่วยที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ 1 ประวตั ิศาสตร์จังหวดั นครศรธี รรมราช 2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 3 ลักษณะภูมอิ ากาศ 4 เศรษฐกิจ 5 การคมนาคม 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 7 ประชากรกับการเมือง การปกครอง 8 การศึกษา 9 ศาสนา 10 ประเพณี วัฒนธรรม 11 โบราณสถาน โบราณวตั ถุ 12 แหลง่ ท่องเทยี่ ว 13 โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ 14 ปญั หาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช ในแตล่ ะหนว่ ยไดก้ ำ� หนดมาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั สาระสำ� คญั สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการวดั ผล ประเมินผล ไว้เป็นแนวทางจัดการเรยี นรู้ ทง้ั น้ี ผบู้ รหิ ารและครผู ู้สอนควรดำ� เนินการ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาหลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษาและแนวการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจ 2. ครผู สู้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม น�ำสาระการเรยี นรูใ้ นแต่ละหนว่ ยใน หลกั สตู รนครศรธี รรมราชศกึ ษา ไปบรู ณาการหรอื สอดแทรกในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 3. ครูผู้สอนวิเคราะห์แนวการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา เกี่ยวกับตัวช้ีวัด และสาระ การเรยี นรู้เป็นรายชั้นเพ่ือให้เข้าใจว่าหน่วยใดควรสอนชนั้ ใดบา้ งตามตัวช้ีวัดทกี่ ำ� หนดไว้ 4. ครูผู้สอนน�ำแนวการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนครศรีธรรมราชศึกษา ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนตามรายช้นั ที่มมี าตรฐานและตัวชวี้ ัดที่ก�ำหนดไว้ให้แล้วในแต่ละหน่วย 5. ครูผสู้ อนวัดผลและประเมนิ ผลผู้เรยี นได้ตามตัวชี้วดั ทีก่ ำ� หนดไว้ในแตล่ ะหน่วย ทงั้ นี้ ขอใหค้ รผู สู้ อนสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ไดน้ ำ� แนวการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สตู รนครศรธี รรมราช ศึกษาน้ี ไปบูรณาการหรอื สอดแทรกในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) และให้นำ� ไปใช้ในการจดั การเรยี นรตู้ ง้ั แต่ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึงชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ตามมาตรฐาน/ ตวั ชีว้ ดั ท่กี ำ� หนดไว้ในแตล่ ะหนว่ ย ตงั้ แต่หน่วยที่ 1 - 14 ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 3

หน่วยท่ี 1 ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความส�ำคญั ของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทาง ประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ชีว้ ัด ป.3/2 แสดงลำ� ดับเหตกุ ารณ์สำ� คัญของโรงเรียนและชมุ ชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งขอ้ มลู ที่เกย่ี วขอ้ ง ป.4/3 แยกแยะประเภทหลกั ฐานท่ีใช้ในการศกึ ษาความเปน็ มาของท้องถิ่น ป.5/1 สบื คน้ ความเป็นมาของท้องถ่นิ โดยใช้หลกั ฐานทห่ี ลากหลาย ป.5/2 รวบรวมข้อมูลจากแหล่งตา่ ง ๆ เพอ่ื ตอบคำ� ถามทางประวัตศิ าสตร์ ป.5/3 อธิบายความแตกตา่ งระหวา่ งความจริงกับขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกับเรื่องราวในท้องถ่นิ ป.6/2 นำ� เสนอข้อมลู หลกั ฐานที่หลากหลายในการทำ� ความเข้าใจเรือ่ งราวสำ� คัญในอดตี ม.1/1 วเิ คราะห์ความสำ� คญั ของเวลาในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ม.2/1 ประเมินความนา่ เชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลกั ษณะต่าง ๆ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ในดา้ นความสมั พนั ธแ์ ละการเปลยี่ นแปลง ของเหตกุ ารณ์อย่างตอ่ เนือ่ ง ตระหนักถึงความส�ำคญั และสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ ขึน้ ป.1/2 บอกเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนในอดีตที่มผี ลกระทบตอ่ ตนเองในปัจจบุ ัน ป.2/1 สบื คน้ ถงึ การเปลย่ี นแปลงในวถิ ีชวี ิตประจำ� วันของคนในชมุ ชน ของตนจากอดีตถึงปัจจุบัน ป.3/1 ระบุปจั จยั ที่มอี ิทธิพลตอ่ การต้งั ถ่ินฐานและพัฒนาการของชมุ ชน มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภมู ิใจและธำ� รง ความเป็นไทย ตัวช้ีวดั ป.1/3 ระบุสงิ่ ทต่ี นรกั และภาคภมู ิใจในท้องถิน่ สาระสำ� คญั การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นความเป็นมาของท้องถ่ินและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลและ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ มี่ อี ยทู่ ำ� ใหเ้ ขา้ ใจความเปน็ มาของชาตภิ มู ิ เกดิ ความสำ� นกึ รกั และภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง 4 แหนลักวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

สาระการเรยี นรู้ ประวัตศิ าสตรจ์ ังหวดั นครศรธี รรมราช การตัง้ ถ่นิ ฐาน สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ สมัยแรกเรม่ิ ประวตั ศิ าสตร์ สมยั ประวัติศาสตร์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทกั ษะกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ 5 ขั้นตอน ข้ันตอน แนวดำ� เนนิ การ 1. ก�ำหนดปัญหาหรอื ประเด็นท่ีจะศึกษา เป็นการก�ำหนดเป้าหมายท่ีชัดเจน เก่ียวกับประเด็นท่ีต้องการ ศกึ ษา ลักษณะการตง้ั ค�ำถามในประเดน็ ศึกษา ไดแ้ ก่ - ใคร เปน็ เรื่องท่ีมีความเกย่ี วขอ้ งกับใคร - อะไร เกิดอะไรข้นึ ในเหตุการณ์นน้ั - ท่ีไหน เหตกุ ารณเ์ กิดขน้ึ ท่ีไหน - เมอื่ ใด เหตุการณ์เกิดขน้ึ เม่ือใด สมัยไหน - ท�ำไม เหตุการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนเนอื่ งจากสาเหตุและปัจจัยใด - อยา่ งไร เหตุการณม์ ีผลอย่างไรตอ่ ปัจจุบัน การต้ังค�ำถามเป็นการเจาะเรื่องท่ีต้องการจะศึกษาให้ชัดเจน การตง้ั คำ� ถามจะชว่ ยกำ� หนดขอบเขตของเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาใหแ้ คบลง เพอ่ื เปน็ แนวทางในการค้นหาหลักฐานการแสวงหาค�ำตอบที่ต้องการรู้อย่างมี เหตผุ ลและทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งานขั้นตอนต่อไปสะดวกข้ึน 2. ศึกษา สำ� รวจ สบื คน้ รวบรวมขอ้ มลู เป็นการค้นคว้า ส�ำรวจ สืบค้นและรวบรวมข้อมูลว่า มหี ลกั ฐานอะไร และอยทู่ ีไ่ หน เช่น หอ้ งสมดุ หอจดหมายเหตุ พิพิธภณั ฑ์ โบราณสถาน อุทยานทางประวัติศาสตร์ อนุสาวรีย์ นอกจากน้ี การสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนร่วมในเหตุการณ์ หรือการขอค�ำแนะน�ำจาก ผเู้ ชย่ี วชาญทางประวตั ศิ าสตรก์ ช็ ว่ ยใหไ้ ดร้ บั ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ สามารถสบื คน้ หลักฐานได้ง่ายขึ้น และอาจได้รับแนวคิดใหม่ ๆ ในการศึกษา ประวัติศาสตรอ์ กี ดว้ ย หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 5

ขน้ั ตอน แนวด�ำเนนิ การ 3. การตรวจสอบและตีความหลักฐาน สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ข้นั ตอน คือ 4. การสรปุ ข้อเทจ็ จริง 1) การตรวจสอบและประเมนิ คณุ คา่ ภายนอก เปน็ การวเิ คราะห์ และพิสูจน์หลักฐานท่ีได้มาว่าเป็นหลักฐานจริงหรือหลักฐานปลอม 5. การนำ� เสนอขอ้ มลู สิง่ ท่ีควรพิจารณา ไดแ้ ก่ - ช่วงเวลาในการสร้างหลกั ฐาน - ผ้เู ขยี นหรือผสู้ รา้ งหลักฐาน - รูปเดิมของหลักฐาน - จุดมุ่งหมายในการเขยี นหรอื สรา้ งหลักฐาน 2) การตรวจสอบและประเมินคุณค่าภายใน เป็นการประเมิน พิสูจน์ความนา่ เชอ่ื ถอื ของหลกั ฐาน โดยพจิ ารณาวา่ หลกั ฐานช้นิ นั้นบอก เรื่องราวอะไรบ้าง เป็นข้อมูลจริงหรือเท็จ จากน้ันน�ำไปตรวจสอบกับ เอกสารหรอื หลกั ฐานชน้ิ อนื่ ๆ วา่ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์และตีความข้อเท็จจริง จากหลักฐาน ว่ามีอะไรเกิดข้ึนบ้าง เกิดข้ึนได้อย่างไร เพราะอะไร ส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร เพ่ือสามารถอธิบายหรือ ตอบประเดน็ ปญั หาหรอื ประเดน็ การศกึ ษาทต่ี งั้ ไว้ ในการตคี วามหลกั ฐานนนั้ ผู้ตีความต้องใช้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและต้องตีความด้วยใจ เป็นกลาง ไมเ่ ข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึง่ ไมต่ คี วามเกนิ หรือมากกว่าขอ้ มลู ท่ี ปรากฏในหลักฐาน และต้องตีความข้อเท็จจริง จากหลักฐานอย่าง เครง่ ครัดปราศจากอคติ ไมใ่ ชค้ า่ นยิ มของตนเองหรือมาตรฐานความคดิ ความเชื่อในปัจจุบันไปวินิจฉัยอดีตเพราะวันเวลาแตกต่างกัน ทัศนคติ วฒั นธรรมย่อมตา่ งกนั เป็นการนำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ วบรวมไวม้ าคดั เลอื ก และ ประเมิน เพื่อค้นหาความเก่ียวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริง ทางประวัติศาสตรท์ ่ตี ้องการทราบ เปน็ การตอบปญั หาหรอื ประเดน็ ทศ่ี กึ ษา ดว้ ยการนำ� ขอ้ มลู ทผี่ า่ น การตีความ มาเรียบเรียงเป็นเรื่องราวที่น่าอ่าน น่าสนใจ เข้าใจง่าย มีเหตุมีผล ถูกต้องตามข้อเท็จจริง และมีความต่อเนื่องในเนื้อหา นำ� เสนอหลากหลายรปู แบบ เชน่ การนำ� เสนอหนา้ ชนั้ การเขยี นรายงาน การแสดงแผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ 6 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

การวดั และประเมนิ ผล เครือ่ งมอื 1. แบบสังเกต วิธีการ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร 1. สงั เกต 3. แบบตรวจสอบการน�ำเสนอข้อมูล 2. ตรวจสอบเอกสาร 3. การน�ำเสนอขอ้ มูล ฯลฯ ฯลฯ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 7

หน่วยท่ี 1 ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช “ สงั ฆราชปราชญ์ เรยี นจบปิฏกไตร หลวกกวา่ ป่คู รใู นเมืองน้ี ทกุ คนลุกแต่เมืองนครศรธี รรมราช ” ก่อนมาเป็น นครศรีธรรมราช ช่ือเมืองท่ีมีความหมายว่า นครอันงามสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม อันเป็นจงั หวัดหนึ่งในประเทศไทยปจั จบุ นั น้ี นครศรธี รรมราช มพี ฒั นาการทางประวัตศิ าสตรม์ ายาวนาน นบั ต้ังแต่ ก่อนยุคประวัติศาสตร์ ซึ่งหมายถึงยุคสมัยที่ผู้คนแถบน้ัน ยังไม่มีตัวอักษรใช้สื่อสาร มีการต้ังถิ่นฐานอยู่ตามถ�้ำหรือ เพิงผา หาพืชและสัตว์กนิ เป็นอาหารไปวัน ๆ จนกระทัง่ รวมตวั กันเข้ามาเปน็ ชมุ ชนเกษรกรรมยคุ แรกเร่มิ แลว้ พฒั นา มาเปน็ เมอื งทา่ หรอื สถานกี ารคา้ ซงึ่ มชี อ่ื วา่ ตามพรลงิ ค์ จนกระทงั่ กลายเปน็ ชมุ ชนเมอื งหรอื นครรฐั ทร่ี งุ่ เรอื ง ซงึ่ มชี อื่ วา่ นครศรธี รรมราช ในพทุ ธศตวรรษที่ 18 เปน็ นครศนู ยก์ ลางแหง่ พทุ ธศาสนาในคาบสมทุ รภาคใต้ เปน็ นครของปราชญ์ หรือปู่ครู ที่มีชื่อปรากฏในศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามค�ำแหงมหาราช ดังขอ้ ความขา้ งตน้ หม้อและลายเขยี นสีแดง พบที่วัดสวนหลวง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 8 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

การต้ังถิน่ ฐาน หลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่ส�ำรวจและขุดพบ สามารถแบ่งลักษณะการต้ังถ่ินฐาน และการดำ� เนนิ ชีวตขิ องผคู้ นในเขตจังหวดั นครศรธี รรมราช ตัง้ แต่อดีตถงึ ปจั จุบนั แบง่ ออกได้เป็น 4 ชว่ ง เวลาดังน้ี 1. ชาวถ�้ำหรอื มนษุ ย์ถ้ำ� จากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ในภาคใต้น�ำมาเปรียบเทียบกับเมืองนคร ฯ เช่ือว่าคนก่อนประวัติศาสตร์ในเมืองนคร ฯ คงไม่แตกต่างกันมากนักคือ พักอาศัยอยู่ตามถ้�ำหรือเพิงผา หาอาหาร โดยการล่าสัตว์เก็บผลไม้ ใช้เคร่ืองมือหินประเภทครกและสาก ส�ำหรับบดต�ำพืชประกอบอาหาร บางครั้งอาจ ใช้ใบมีดหรือขวานหิน ส�ำหรับปอกลูกไม้หรือเปลือกไม้ ตัดเฉือนเน้ือสัตว์ มีหลักฐานทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่า เมอ่ื ประมาณ 6,500 - 5,000 ปี มาแลว้ มนษุ ย์ถำ�้ ในภาคใต้ประกอบอาหารโดยใชค้ วามร้อนจากไฟ รจู้ ักการหงุ ต้ม โดยใช้หม้อดินเผาและมีถ่านไม้เป็นเช้ือเพลิง ภาชนะที่ใช้ประกอบอาหารที่มีใช้โดยท่ัวไปคือ หม้อดินเผาก้นกลม และภาชนะแบบหมอ้ สามขาซงึ่ สามารถตงั้ ครอ่ มกองไฟ โดยไมต่ อ้ งใชเ้ สาหรอื กอ้ นเสา้ นอกจากนยี้ งั มภี าชนะใสอ่ าหาร เช่น ภาชนะทรงพาน หมอ้ กน้ ต้นื หมอ้ มีสัน ภาชนะประเภทชาม จอก ถว้ ย เหยอื ก แทน่ รองหมอ้ และแทน่ พงิ ถ้วย สำ� หรับรองรบั ถ้วยน้ำ� ดืม่ อาจท�ำจากเขาสตั ว์ เปน็ ตน้ นอกจากนช้ี าวถ้ำ� ยังรจู้ ักก่อกองไฟใหค้ วามอบอุน่ รจู้ ักทำ� เคร่ืองน่งุ ห่มโดยทำ� จากหนงั หรือขนสัตว์ หรือท�ำ จากเปลือกไม้ พบหนิ ทบุ เปลอื กไมห้ ลายชิ้น 2. ชมุ ชนเกษตรกรรมเรมิ่ แรก เป็นวิวัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานช่วงท่ีสองของเมืองนคร เริ่มจากชุมชนยุคหินใหม่ท่ีอาศัยบนท่ีราบ ปรากฏชดั ขน้ึ เมอื่ รจู้ กั ใชเ้ ครอื่ งมอื โลหะซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาของชมุ ชนเกษตรกรรม ทำ� ใหส้ ามารถ ปลกู ข้าวไดม้ ากกว่าเดิม เริ่มตั้งถิ่นฐานถาวร มกี ารเลือกถน่ิ ฐานในภูมิประเทศท่อี ดุ มสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ปรากฏชมุ ชนโบราณตามแนวสนั ทราย และทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� ลำ� คลอง เมอ่ื ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 5 เปน็ ตน้ มา โบราณ วัตถุของชุมชนสมัยน้ี นอกจากเครื่องมือที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันแล้ว ยังมีเครื่องดนตรีซ่ึงน่าจะเกิดจากการขัดแต่งหิน จากธรรมชาติท่ีเคาะแล้วมีเสียงดังกังวาน สันนิษฐานว่า เป็นระนาดหิน มีลักษณะคล้ายขวานหินยาว ขัดแต่งจน เรียบร้อย ลักษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า มีด้ามยาวมากกว่าด้านกว้าง 3 - 6 เท่า ด้วยเหตุท่ีมีขนาดแตกต่างกัน จึงท�ำใหเ้ กดิ ระดบั เสียงแตกตา่ งกัน ระนาดหินน้ีพบท่แี หล่งโบราณคดีริมคลองกลาย ตำ� บลสระแก้ว อ�ำเภอทา่ ศาลา นอกจากระนาดหินแล้วยังพบกลองมโหระทึกส�ำริดในภาคใต้ และเมืองนคร ฯ 12 ใบ แสดงพัฒนาการทางด้าน โลหะกรรม และการประกอบพิธีกรรมเก่ียวกับความเชื่อ กลองมโหระทึกเป็นวัตถุที่น�ำมาจากชุมชนภายนอก อาจมกี ารแลกเปลย่ี นวฒั นธรรมกบั ชมุ ชนโพน้ ทะเลจากจนี หรอื เวยี ดนามตง้ั แตป่ ระมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 1 - 3 เปน็ ตน้ มา หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 9

ระนาดหิน พบท่ี ต.สระแก้ว อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 3. ชุมชนเมอื งท่าและสถานกี ารค้า นบั ต้งั แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี 3 เปน็ ตน้ มา ชาวอินเดีย ชาวเปอรเ์ ซีย ชาวอาหรบั และชาวโรมัน ไดเ้ ดินเรือ มาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออกไกลแล้ว คาบสมุทรมลายูจึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางของเส้นทาง เดินเรือ จากฝ่ายตะวันตกอันได้แก่ อินเดีย เปอร์เซีย อาหรับ และโรมัน กับฝ่ายตะวันออกได้แก่ จีน เวียดนาม จามปา และเจนละ เรอื สนิ คา้ มกั ตอ้ งแวะเวียนพกั เพอ่ื ขนถ่ายสินค้าหรือหาเสบียงอาหาร ระยะแรกของการเดินเรอื น้ันต้องอาศัยการเดนิ เรือเลยี บชายฝ่ัง ตอ่ มาไดอ้ าศัยลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และ ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ดังน้ัน คาบสมุทรมลายู จึงเป็นจุดเหมาะสมส�ำหรับเป็นสถานีแวะพัก รวมท้ังรอมรสุมส�ำหรับเดินทางต่อไป โดยมีปัจจัยเก้ือหนุนคือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน นักเดินเรืออาศัย เดนิ ทางจากตะวนั ตกไปตะวนั ออก และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซงึ่ พดั ระหวา่ งเดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นมนี าคม นักเดนิ เรอื ก็อาศัยเดินทางกลบั จากตะวนั ออกไปตะวนั ตก จากจุดนเ้ี รอื สนิ คา้ จากตะวันตกเขา้ เทียบทางบรเิ วณฝ่งั ตะวนั ตกของคาบสมุทรมลายู ในแนวเส้นรงุ้ 7 องศาเหนือ และไม่เกินเส้นรุ้ง 8 องศาเหนือ บริเวณดังกล่าวอยู่ระห่างจังหวัดตรังไปถึงจังหวัดพังงา จากบริเวณน้ี สามารถเดินทางบกข้ามคาบสมุทรมลายูไปทางฝั่งตะวันออกที่พัทลุง เมืองนครฯ และบ้านดอน โดยเส้นทางตรัง - พัทลุง หรือเมืองนครฯ และตะก่วั ปา่ - ไชยา - บ้านดอน ซงึ่ บรเิ วณเมอื งทา่ ฝ่งั ตะวันออก กเ็ ป็นจุดท่เี รอื สินคา้ จากจนี และจากตะวันออกมาเทียบได้พอดีช่วงเวลาที่รอมรสุมก็อาจเป็นเวลาซ่อมแซมเรือจัดหาเสบียง เม่ือเตรียมการเสร็จ ก็เป็นเวลาพอดีกบั ลมมรสมุ เร่ิมพัดผ่าน ท�ำให้เดินทางกลับได้พอดี หลักฐานส�ำคัญได้แก่ โบราณวัตถุอันเป็นสินค้าจากต่างประเทศ เช่น ลูกปัดแก้ว ลูกปัดหินสี เครอ่ื งประดับ เครือ่ งแกว้ เศษเครือ่ งถว้ ยชามตลอดจนประตมิ ากรรม รูปเคารพทางศาสนาที่ติดมากบั เรอื เดินทะเล ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 8 เป็นต้นมา เกิดชุมชนอย่างถาวรบริเวณเมืองท่าชายฝั่งทะเล ได้แก่ ตะกั่วป่า พบจารึก อักษรปัลลวะ ภาษาทมิฬ มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ส่วนชายฝั่งตะวันออกพบหลักฐานจากศิลาจารึก หบุ เขาชอ่ งคอย อกั ษรปัลลวะ ภาษาสันสฤกต มอี ายุอยู่ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12 แสดงถึงชมุ ชนของกล่มุ ผูน้ บั ถือ ศาสนาพราหมณ์อินดู ลทั ธไิ ศวนกิ ายในเมอื งนคร 10 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

นอกจากกลมุ่ พอ่ คา้ และนกั แสวงโชคแลว้ กลมุ่ นกั บวชพราหมณ์ และพระภกิ ษใุ นพทุ ธ-ศาสนาคงเขา้ มา ตงั้ ถน่ิ ฐานในดนิ แดนแถบนใ้ี นเวลาใกลเ้ คยี งกนั เพราะพบประตมิ ากรรมรปู เคารพในศาสนา ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ 10 ซ่ึงเป็นของที่น�ำเข้าจากอินเดียโดยตรง และมีประติมากรรมท้องถ่ินต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา แสดงถึง การรับอิทธิพลทางศิลปกรรมจากอินเดีย เช่น พระพุทธรูปศิลปะอมราวดี คุปตะ หลังคุปตะ ปาละ เนะ เทวรูป อทิ ธิพลปลั ลวะ และโจฬะจากอนิ เดยี ใต้ เปน็ ตน้ 4. ชมุ ชนเมอื งและนครรัฐ การเขา้ มาของวัฒนธรรมอนิ เดยี ท�ำให้เกิดความเปลยี่ นแปลงอยา่ งมากตอ่ ชุมชนในภูมภิ าคนี้ ในระยะ เรม่ิ แรกศาสนาพราหมณ์ ดจู ะเดน่ กวา่ ศาสนาพทุ ธอยเู่ ลก็ นอ้ ย พราหมณจ์ งึ เปน็ บคุ คลทพี่ งึ ปรารถนาของชนชน้ั ปกครอง เพราะเป็นผู้สร้างและรับรองความศักดิ์สิทธ์ิของเทวราชา ชนชั้นปกครองจึงยกตนให้เหนือกว่าระดับหัวหน้าชุมชน เปน็ เทวราชา โดยผา่ นแนวความคดิ ของศาสนาพราหมณ์ ชมุ ชนหมบู่ ้านเปลยี่ นฐานะเปน็ เมอื งหรือนคร เอกสารจนี ต้ังแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 8 ได้กล่าวถึงรัฐต่าง ๆ ในเอเชียตะวันอกเฉียงใต้ เช่น ฟูนัน ลินย่ี พงศาวดาร ราชวงศเ์ หลยี งในพทุ ธศตวรรษที่ 13 กลา่ วถงึ อาณาจกั ร ชอ่ื ลงั กาสกุ ะ นกั ประวตั ศิ าสตรล์ งความเหน็ วา่ คอื รฐั ลงั กาสกุ ะ อยูใ่ นเขตจังหวัดปัตตานี มีหลกั ฐาน คือ ซากโบราณสถานในเขตอำ� เภอยะรงั อีกรฐั หนง่ึ คอื รัฐตนั มาลงิ จากบนั ทกึ ของเฉาจูกวั และหวงั ดา้ หยวน ในพทุ ธศตวรรษที่ 18 และ 19 ซ่ึงก็คือ รฐั ตามพรลิงค์ หรอื เมอื งนครศรีธรรมราช เมืองนครศรีธรรมราช เป็นรัฐที่มีพ้ืนฐานทางการเกษตร สินค้าพื้นเมือง ได้แก่ ข้าว การบูร ไม้หอม (ไมก้ ฤษณา) ไม้ฝาง ไมจ้ ันทน์ ขี้ผง้ึ งาช้าง เขาสัตว์ หนงั สตั ว์ และดบี กุ เปน็ เมืองทา่ ส�ำคัญมาตง้ั แต่พุทธศตวรรษท่ี 8 จาการรบั วฒั นธรรมของศาสนาพราหมณแ์ ละความเจรญิ ทางดา้ นคา้ ขาย สง่ ผลใหช้ มุ ชนเมอื งหลายชมุ ชน รวมกนั เปน็ นครรัฐตามพรลงิ ค์ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12 มกี ษตั รยิ ์ปกครองอย่างต่อเนอื่ ง จนถงึ พทุ ธศตวรรษที่ 14 ได้ผนวก กบั นครรัฐอน่ื ๆ ของอาณาจกั รศรีวชิ ัย จนประมาณพทุ ธศตรวรรษที่ 17 พ.ศ. 1773 ตามพรลงิ ค์ไดป้ ระกาศตัวเปน็ อสิ ระอีกครง้ั จากหลักฐานจารึกหลักท่ี 24 ของพระเจ้าจันทรภาณศุ รธี รรมราช แสดงวา่ เมืองนคร ได้ดำ� รงตนเปน็ รฐั อสิ ระ มคี วามรงุ่ เรอื งในสมยั ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 18 เปน็ รฐั เอกราช ในระยะเวลาเดยี วกนั กบั สมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหง แห่งกรุงสุโขทัย เป็นรัฐท่ีมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีพระมหากษัตริย์ทรงพระนาม พระเจ้า ศรีธรรมาโศกราช เป็นอาณาจักรท่ีมีอิทธิพลครอบคลุมท้ังแหลมมลายู บรรดาบ้านเมืองในอาณาบริเวณนี้ถูกผนวก เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจักรนครศรีธรรมราช โดยเรียกเมืองหลวงนนั้ วา่ เมอื งสิบสองนกั ษัตร เมืองนครศรธี รรมราช เจรญิ รงุ่ เรอื งถงึ ขดี สดุ ประมาณรอ้ ยปเี ศษ กอ่ นจะถกู ผนวกเขา้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจกั รอยธุ ยา เมอื่ ประมาณปลาย พุทธศตวรรษที่ 19 หรือต้นพุทธศตวรรษท่ี 20 หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 11

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ภาชนะดินเผาทรงหมอ้ สามขา พบทถ่ี ้ำ� เขาแอง อ.นบพิตำ� จ.นครศรีธรรมราช 1. ยคุ หิน ร่องรอยการอยู่อาศัยของมนุษย์เก่าท่ีสุดท่ีพบในภาคใต้ และเก่าท่ีสุดในประเทศไทย ตรงกับสมัยทาง ธรณีวทิ ยา เรียกว่า ไพลสโตซนี ตอนปลาย (Upper Pleistocene) จากการขดุ คน้ ไดพ้ บหลกั ฐานสมัยแรก ๆ เกย่ี วกับ การตง้ั ถิน่ ฐานของชุมชนโบราณภาคใต้ในพ้นื ที่ป่าเขากอ่ นพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล แหลง่ โบราณคดกี อ่ นประวัติศาสตร์ ไดพ้ บว่า บรเิ วณน้มี กี ารใชเ้ ครือ่ งมอื ขวานหินกะเทาะสองแหล่ง คือ ทถี่ �้ำดาหม่ืนยมและถ�้ำเขาหลัก ถ�้ำตาหมื่นยม ต้ังอยู่หมู่ท่ี 1 บ้านวงั เหรียง ตำ� บลชา้ งกลาง อำ� เภอช้างกลาง พบเครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ คุมรอบปลายแหลม ด้านบนมีรอยโดนตัดคล้ายกับขวานส้ัน ท่ีเคยพบที่อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี และ เศษภาชนะดินเผาสดี �ำ ลายเชือกทาบ ถ้�ำเขาหลัก ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลสิชล อ�ำเภอสิชล พบเครื่องมือหินกะเทาะแบบสองหน้า ลักษณะเป็น ขวานสนั้ มรี อยกะเทาะหยาบ ๆ ทำ� จากหนิ ควอรต์ ไซด์ จำ� นวน 1 ชนิ้ และพบภาชนะดนิ เผาประเภทหมอ้ กน้ กลม 1 ชน้ิ หมอ้ กน้ แบน 3 ชิ้น รวมกับกระดูกสตั ว์ประเภทลิง 2 ชน้ิ จากโบราณวัตถุที่พบสันนิษฐานว่า ถ้�ำท้ังสองแห่งน้ีมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์เข้ามาพักอาศัย แต่ไม่ สามารถกำ� หนดอายขุ องแหลง่ ไดช้ ดั เจน จากการเปรยี บเทยี บกบั แหลง่ อนื่ พอกำ� หนดอายไุ ดป้ ระมาณ 6,500 - 4,200 ปี 2. ยุคหินใหม่ ไดพ้ บแหล่งโบราณคดเี ปน็ จำ� นวนมาก พบโบราณวตั ถมุ ากชนดิ ไดแ้ ก่ ขวานหินขัด และภาชนะดนิ เผา ประเภทหมอ้ สามขา ซึ่งส่วนใหญ่ได้พบตามแหล่งท่เี ปน็ ถ�้ำหรอื เพงิ ผา ไดแ้ ก่ ถำ้� ชา้ ง อยทู่ เี่ ขาสำ� โรง ตำ� บลนาหลวงเสน อำ� เภอทงุ่ สง พบเศษภาชนะดนิ เผาเนอ้ื หยาบ เผาดว้ ยอณุ หภมู ติ ำ่� มที ้ังผวิ เรยี บ แบบลายเชอื กทาบ แบบลายกดทับ และเศษหม้อสามขา ถ�้ำเขาพลู อยู่ในต�ำบลเขาโร อ�ำเภอทุ่งสง พบขวานหินขัดมีบ่า เศษภาชนะดินเผาเนื้อหยาบและเศษ กระดกู สัตว์ 12 แหนลักวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

ถ�้ำตลอด อย่ใู นตำ� บลนำ้� ตก อำ� เภอทงุ่ สง พบขวานหนิ ชดั และภาชนะดนิ เผาทรงพาน ถ้�ำนางนอนหงาย อยูใ่ นตำ� บลบางขัน อำ� เภอบางขัน พบขวานหินชดั เศษภาชนะดนิ เผา ภาชนะดินเผา สภาพสมบูรณ์ ประเภทหมอ้ ก้นกลม ชามก้นกลมทรงขันนำ�้ ถว้ ยก้นตัดปากบาน ภาชนะก้นกลมปากบาน ขัดมนั ดำ� สว่ นใหญ่ตกแต่งผวิ นอกดว้ ยลายเชอ่ื กทาบ และเครือ่ งประดบั ท�ำจากเปลอื กหอยกาบเจาะรู ถำ้� เขาโพรงเสอื อยใู่ นเขตตำ� บลทอนหงส์ อำ� เภอพรหมครี ี พบเศษภาชนะดนิ เผา เนอ้ื หยาบ มที ง้ั ผวิ เรยี บ และลายเชือกทาบ ช้นิ สว่ นหมอ้ สามขาและขวานหนิ ขดั ถ�้ำเทวดางวงช้าง อยู่ในเขตต�ำบลลานสกา อ�ำเภอลานสกา พบภาชนะดินเผา เศษภาชนะดินเผา ขดั ผวิ ดา้ นนอกเรยี บมนั เนอ้ื คอ่ นขา้ งบาง ไดแ้ ก่ ภาชนะดนิ เผาลายเชอื กทาบรปู ทรงคลา้ ยขนั นำ้� และขวานหนิ ขดั แบบ จงอยปากนก เขาปนู อยทู่ วี่ ดั เขาปนู ตำ� บลพรหมโลก อำ� เภอพรหมครี ี พบเศษภาชนะดนิ เผาเนอ้ื หยาบตกแตง่ ผวิ ดว้ ย ลายกดทบั ลายเชือกทาบ เป็นชน้ิ สว่ นของภาชนะ ประเภทหม้อสามขา พบบริเวณยอดเขา วัดหัวตลิง่ (ร้าง) อยู่ในตำ� บลพรหมโลก อ�ำเภอพรหมครี ี พบเครือ่ งมอื หนิ ขนาดยาวขดั ไมเ่ รียบ ยาว 63 เซนตเิ มตร กวา้ ง 8 เซนตเิ มตร หนา 4 เซนตเิ มตร รูปร่างคลา้ ยเครือ่ งมือขดุ ดนิ ในขณะเดียวกันก็คลา้ ยเครอื่ งมือ ท่ีเรียกว่า ระนาดหิน แบบท่ีพบบริเวณคลองกลาย อ�ำเภอท่าศาลา (ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช) ถ�้ำเขาหินตก อยู่ในเขตต�ำบลเสาธง อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ พบลูกปัดเปลือกหอย ลูกปัดท�ำจากกระดูก เศษภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ หมอ้ สามขา ขวานหินขดั หนิ ทุบ หุบเขาลานสกา อยู่ในเขตต�ำบลลานสกา อ�ำเภอลานสกา พบขวานหินขนาดเล็ก รูปสี่เหล่ียมคางหมู ขวานหนิ ขัดมบี า่ เขาต่อ อยูท่ บ่ี า้ นเขาแก้ว อำ� เภอลานสกา พบขวานหนิ ขัดหรือระนาดหิน ขนาดหนา ขดั เรยี บ เขาพรง อยใู่ นเขตต�ำบลทงุ่ ปรงั อำ� เภอสิชล พบขวานหินขัดไม่มบี า่ รูปส่ีเหลีย่ มคางหมู ถ�้ำพรรณรา อยูใ่ นเขตต�ำบลพรรณรา อำ� เภอถำ�้ พรรณรา พบเศษภาชนะดินเผาสีดำ� แดง ลายเชอื กทาบ ขวานหนิ ขดั ช้นิ ส่วนกระดูกมนษุ ย์ ถ�ำ้ เขาแอง อยใู่ นเขตต�ำบลนบพิต�ำ อำ� เภอนบพติ �ำ พบหม้อสามขา สภาพเกอื บสมบรู ณ์ (ปจั จุบันอยู่ที่ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตินครศรธี รรมราช) ส�ำหรับแหลง่ โบราณคดยี ุคหนิ ใหม่ ทม่ี ใิ ชแ่ หลง่ ถำ�้ หรอื เพงิ ผา ไดแ้ ก่ คลองเขาแก้ว อยู่ทีห่ น้าวัดชายเขา ตำ� บลเขาแกว้ อ�ำเภอลานสกา พบขวานหินขัดขนาดใหญ่ โครงร่าง หา้ เหล่ียม คมแบบจะงอยปากนก บ้านในแหนบ อยู่ในเขตต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอลานสกา พบโกลนโครงร่างละเอียดของขวานหินขัด แต่งพอสมควร หว้ ยครกเบือ อยใู่ นเขตตำ� บลนาดี อ�ำเภอลานสกา พบขวานหนิ ขัด คลองกลาย อยู่ในเขตตำ� บลสระแกว้ อ�ำเภอทา่ ศาลา พบขวานหินยาว หรือระนาดหิน จำ� นวน 6 ช้นิ เป็นแผน่ สเ่ี หล่ยี มผนื ผา้ (ปจั จุบันอยู่ทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตนิ ครศรธี รรมราช) หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 13

เชิงเขาคา ต้ังอยู่ที่เชิงเขาคาด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ต�ำบลเสาเภา อ�ำเภอสิชล พบขวานหินขัด รูปสี่เหล่ียมคางหมู สิชล อยู่ในเขตพื้นที่อ�ำเภอสิชล พบมีดท�ำจากหินทรายสีเทา มีลักษณะเป็นมีดด้ามงอ โครงร่าง เป็นรูปมนรี ส่วนที่เป็นด้ามตอนปลายโค้งขนานกับส่วนคม ซ่ึงคอดเล็กกว่าด้าม สีสันร่องแบ่งระหว่างส่วนคม และส่วนดา้ มชดั เจน เหมือนมดี มีด้ามในปจั จุบัน (ปจั จุบันอยทู่ พ่ี พิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตินครศรีธรรมราช) ชุมชนใกล้วัดพระเพรง อยู่ในเขตต�ำบลนาสาร อ�ำเภอพระพรหม พบขวานหินขัดขนาดกลางไม่มีบ่า รูปสี่เหลี่ยมคางหมู คลองท่าเรอื อยู่ในเขตตำ� บลท่าเรอื อำ� เภอเมือง พบขวานหนิ ขดั และกำ� ไลหนิ วดั หวั มนี า (รา้ ง) อยใู่ นเขตตำ� บลทา่ เรอื อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช พบโกลนขวานหนิ ขดั และสะเกด็ หนิ จากโบราณวัตถุท่ีพบในแหล่งโบราณคดียุคหินใหม่ แสดงถึงการกระจายตัวของการตั้งชุมชนมายัง บริเวณนี้ พ้ืนที่ราบเชิงเขา ที่ราบริมน้�ำและท่ีราบแนวสันทราย โดยมีแม่น้�ำล�ำคลองอันเกิดจากภูเขาทางตอนกลาง ไหลลงสทู่ ร่ี าบทงั้ ทางดา้ นตะวนั ออก และดา้ นตะวนั ตก เปน็ เสน้ ทางการเชอ่ื มโยงของการเคลอื่ นยา้ ย และการกระจายตวั ของกลุ่มชนกสิกรรม ต่อเนื่องจนเข้าสู่สมัยเริ่มประวัติศาสตร์ ได้ก�ำหนดอายุชุมชนโบราณยุคหินใหม่ ในพ้ืนที่ จังหวดั นครศรธี รรมราชวา่ มอี ายปุ ระมาณ 4,000 – 2,000 ปีมาแลว้ โบราณวตั ถุ ยุคหินใหม่ 14 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

3. ยคุ โลหะ ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 1 - 3 เป็นช่วงที่ได้รับวัฒนธรรมจากดินแดนภายนอก โดยเริ่มติดต่อกับ ดินแดนโพ้นทะเล เช่น จีน อินเดีย และอาหรับ ท�ำให้ชุมชนพ้ืนเมืองเดิมเปล่ียนแปลงไปสู่ชุมชนในลักษณะใหม่ มีการต้ังถิ่นฐานรวมกลุ่มเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานการพัฒนาไปสู่การเป็นชุมชนเมือง หลักฐานทาง โบราณคดีสมัยน้ีที่พบในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ โบราณวัตถุที่ท�ำจากโลหะ ท้ังที่เป็นส�ำริดและเหล็ก ได้แก่ กลองมโหระทึกกับเครื่องมอื สำ� ริดและเหล็ก 3.1 กลองมโหระทึก เป็นกลองส�ำริด พบแหล่งผลิตครั้งแรกท่ีเมืองธันหัว ประเทศเวียดนาม เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 200 - 300 กลองมโหระทึกท่ีพบในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราช จ�ำนวน 4 ใบ คือ ใบที่ 1 พบที่บ้านเกียกกาย หมู่ 8 ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช สภาพช�ำรุด สว่ นกลาง (ปจั จุบันอยทู่ ่พี ิพิธภัณฑสถานแห่งชาตนิ ครศรธี รรมราช) ใบท่ี 2 พบท่คี ลองคดุ ดว้ น ในเขตอำ� เภอฉวาง เป็นส่วนของหนา้ กลอง พบเมื่อปี พ.ศ. 2482 ใบท่ี 3 พบทบ่ี ้านนากะชะ ตำ� บลนากะชะ อ�ำเภอฉวาง เมื่อปี พ.ศ. 2497 ใบที่ 4 พบท่ีคลองท่าทูน (บา้ นยวนเท่า) ตำ� บลเทพราช อ�ำเภอสชิ ล กลองมโหระทึก พบท่ีบ้านเกยี กกาย ต.ท่าเรือ อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมราช 3.2 เครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งประกอบด้วย แหล่งโบราณคดีบ้านเกียกกาย ต�ำบลท่าเรือ พบเครื่องมือ ส�ำริดขนาดเล็ก ขวานเหล็กมีป้องท่ีสัน คล้ายกับท่ีพบในแหล่งโบราณคดียุคโลหะที่จังหวัดกาญจนบุรี พบร่วมกับ โบราณวตั ถอุ นื่ เชน่ ภาชนะดนิ เผาแบบไหกน้ กลม เนอ้ื หยาบและบางมาก ชายปากบาน กน้ ตดั หมอ้ ขนาดเลก็ กน้ กลม ขวานหินขัด เครื่องประดับต่างหูทองค�ำ เศษภาชนะ ดินเผา เนื้อดินเผา เผาด้วยอุณหภูมิต�่ำเป็นจ�ำนวนมาก ชนั้ ดนิ ทางโบราณคดแี สดงกจิ กรรมการอยอู่ าศยั ของคนกอ่ นประวตั ศิ าสตรย์ คุ โลหะ มอี ายอุ ยปู่ ระมาณ 2,000 - 1,500 ปี หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ 6 – 11 แหล่งโบราณคดีบ้านพังสิงห์ ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมือง พบเครื่องมือเหล็ก รปู เคยี ว และปะหญ้า ลกั ษณะเป็นแผ่นเหลก็ ส่เี หลย่ี มผนื ผ้า มคี มดา้ นหนึ่งคลา้ ยจอบ เม่ือใช้งานดา้ ม จะอยู่ในแนวตงั้ สว่ นคมอยแู่ นวนอน ดา้ มเปน็ แทง่ เหลก็ เรยี งคลา้ ยคางหมู สำ� หรบั เสยี บเขา้ ดา้ มไม้ บางทอ้ งถน่ิ เรยี ก ปา้ ยหญา้ และไตร หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 15

สมยั แรกเรมิ่ ประวัติศาสตร์ นครศรธี รรมราช เขา้ สู่สมัยแรกเริม่ ประวัติศาสตร์ สมัยพุทธศตวรรษท่ี 5-6 หรือประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว ซ่ึงเป็นช่วงสมัยที่คาบเกี่ยวหรือร่วมสมัยกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคโลหะ ความเปล่ียนแปลงทางสังคมหรือ วฒั นธรรมในชว่ งนม้ี าจากการตดิ ตอ่ คา้ ขายกับสงั คมสมยั ประวัตศิ าสตร์จากดินแดนโพ้นทะเลทีม่ ีเทคโนโลยกี ้าวหน้า กวา่ รปู แบบของชมุ ชนแรกเรม่ิ ประวตั ศิ าสตรท์ พี่ บหลกั ฐานเปน็ ไปในรปู ของชมุ ชนเมอื งทา่ การคา้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ชมุ ชน บนเนินริมเส้นทางน้�ำท่ีมีทางออกสู่ทะเล โบราณวัตถุที่พบส่วนใหญ่เป็นสินค้าต่างแดน เช่น เคร่ืองประดับ แหวน ลกู ปดั จี้ เครอ่ื งทองรปู พรรณ ตราประทบั มจี ารกึ อักษร เปน็ ตน้ แหลง่ โบราณคดสี มยั แรกเรมิ่ ประวตั ศิ าสตรท์ พี่ บ เชน่ แหล่งโบราณคดบี า้ นเกยี กกาย หมู่ 8 พบกลองมโหระทึกสำ� รดิ เครือ่ งประดับส�ำรดิ เคร่อื งประดบั ทองคำ� (ตา่ งห)ู เคร่อื งมือเหลก็ เครือ่ งถ้วยจนี ราชวงศ์ถงั แหล่งโบราณคดีวัดหัวมินา (ร้าง) พบลูกปัดแก้วสีเขียวสลับลายเส้นสีด�ำ เศษแก้วหลอมและลูกปัดแก้ว แบบมตี า แบบเดยี วกบั ทพ่ี บในแหล่งโบราณคดีควนลกู ปัด อำ� เภอคลองท่อม จงั หวดั กระบี่ แหลง่ โบราณคดใี นบรเิ วณพน้ื ทคี่ ลองทา่ เรอื แสดงถงึ การเปน็ ทต่ี ง้ั ชมุ ชนเมอื งทา่ คา้ ขายและแหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ จนถึงสมัยประวัติศาสตร์ ต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ 5 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน (พบกลองมโหระทกึ เครอื่ งถว้ ยจนี ตง้ั แตส่ มยั ราชวงศถ์ งั ชอ้ ง หยวนและหมงิ เครอ่ื งถว้ ยเวยี ดนาม ลกู ปดั แกว้ เปน็ ตน้ ) แหล่งโบราณคดีอื่น ๆ ท่ีมีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 5-11 ได้แก่ แหล่งที่พบกลองมโหระทึกที่อ�ำเภอฉวาง และอ�ำเภอสิชล ในราวพทุ ธศตวรรษที่ 10-11 ไดพ้ บหลกั ฐานทางโบราณคดปี ระเภทโบราณวตั ถทุ างศาสนา ไดแ้ ก่ พระพทุ ธรปู เทวรูป และศิวลึงค์ ดังน้ี เศียรพระพุทธรูปพบท่ีอ�ำเภอสิชล อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 10-11 ลักษณะคล้ายกับพระพุทธรูปในศิลปะ อนิ เดยี ภาคตะวนั ออกเฉียงใตจ้ ากลมุ่ แม่น�้ำกฤษณา (ปจั จบุ ันอยทู่ พ่ี พิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตนิ ครศรีธรรมราช) พระวิษณุหรือพระนารายณ์ พบท่ีหอพระนารายณ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อายุราว พุทธศตวรรษที่ 10-11 เป็นรูปแบบพระวิษณุท่ีเก่าที่สุดในศิลปะอินเดียภาคตะวันออกเฉียงใต้ท่ีได้รับอิทธิพล ศลิ ปะอนิ เดยี แถบล่มุ แม่น�้ำกฤษณา (ปัจจบุ นั อยทู่ พี่ พิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาตนิ ครศรธี รรมราช) พระวิษณุพบที่วัดพระเพรง ต�ำบลนาสาร อ�ำเภอพระพรหม อายุราวพุทธศตวรรษท่ี 11 (ปัจจุบันอยู่ที่ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ วดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร นครศรีธรรมราช) ศวิ ลงึ คแ์ บบดัง้ เดิม คอื ศิวลงึ คท์ มี่ ลี กั ษณะรปู รา่ งเหมือนอวยั วะเพศชาย ได้แก่ ศิวลึงคส์ ลกั ตดิ กับฐานโยนิ พบทบ่ี ้านสระกดู ต�ำบลเสาเภา อ�ำเภอสชิ ล กำ� หนดรายปลายพทุ ธศตวรรษที่ 10 ตน้ พุทธศตวรรษที่ 12 และกลมุ่ ศวิ ลงึ คแ์ บบหวั เลย้ี วหวั ตอ่ กอ่ นทจี่ ะพฒั นาเปน็ ศวิ ลงึ คแ์ บบประเพณนี ยิ ม ลกั ษณะทป่ี รากฎสว่ นลา่ งเปน็ ฐานสเี่ หลย่ี ม เรียก “พรหมภาค” ส่วนกลางเป็นรูปทรงแปดเหล่ียม เรียก “วิษณุภาค” ส่วนยอดเป็นรูปทรงกระบอก เรียก “รทุ รภาค” ศวิ ลงึ คแ์ บบหวั เลยี้ วหวั ตอ่ จะมสี ว่ นรทุ รภาคสงู ใหญก่ วา่ สว่ นวษิ ณภุ าคและพรหมภาครวมกนั หรอื มเี ฉพาะ สว่ นพรหมภาคและรุทรภาค ไม่มีส่วนกลางทเ่ี ปน็ รูปแปดเหลีย่ ม ซง่ึ ต่อมาศวิ ลงึ ค์แบบหวั เลี้ยวหวั ต่อจะพัฒนาไปเป็น แบบประเพณีนิยม คอื มสี ัดสว่ นของรุทรภาค วิษณภุ าค และพรหมภาค เท่า ๆ กนั ซึ่งนยิ มทำ� ในราวพทุ ธศตวรรษที่ 12-14 16 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

สมัยประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลาทจ่ี ดั วา่ นครศรธี รรมราช เขา้ สสู่ มยั ประวตั ศิ าสตร์ ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี 12 ทง้ั นเี้ พราะไดพ้ บจารกึ อักษณโบราณหลายหลักในจังหวดั นครศรีธรรมราช จารึกร่นุ แรก พบศลิ าจารกึ อกั ษรปัลลวะ 3 หลกั ได้แก่ 1. ศลิ าจารึกหุบเขาช่องคอย พบที่ต�ำบลทุ่งโพธิ์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ เป็นจารึกบนแท่งหินติดกับภูเขา อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 12 จารกึ หลกั นเี้ ปน็ ของกลมุ่ ชนทนี่ บั ถอื ศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย คงจะเดินทางข้ามมาพ�ำนักอาศัยใน บรเิ วณแหง่ นเี้ ปน็ การชวั่ คราว ไมใ่ ชก่ ลมุ่ ชนทอี่ ยอู่ าศยั ประจ�ำถิ่น ได้ก�ำหนดสถานท่ีบริเวณหุบเขาช่องคอย เป็นศิวสถาน เพ่ือปฏิบัติศาสนกิจตามจารึกของตน พรอ้ มกบั อบรมส่งั สอนใหผ้ ้ทู ี่อยู่ในสนั นบิ าตนั้น ส�ำนกึ ในความเปน็ คนต่างถน่ิ ท่พี ลัดบ้านเมืองมา สมควรประพฤติตน เปน็ คนดี จะได้พำ� นักอาศัยอยู่ในสังคมทม่ี ีขนบธรรมเนยี มแตกต่างกนั ได้อย่างสงบสุข ศลิ าจารึกชอ่ งคอยหรอื ศลิ าจารกึ หุบเขาช่องคอย ลกั ษณะศิลาจารกึ เป็นหินขนาด ต้ังอยบู่ รเิ วณหนา้ ผา ระหว่างหุบเขาสามารถมองเห็นพื้นท่ีราบด้านล่างได้ชัดเจนด้านบนเป็นแผ่นราบมีอักษรปัลลวะจารึกเป็นข้อความ 3 ตอน ซึ่งแปลเปน็ ภาษาไทยปจั จบุ นั ได้ดังน้ี ตอนท่ี 1 (ศิลาจารกึ นีเ้ ปน็ ) ของผเู้ ปน็ สวามีของนางวิทยาเทวี (นางวิทยาเทวีเป็นร่างหน่ึง ของนางทรุ คา) ตอนท่ี 2 ขอความนอบนอ้ มจงมแี กท่ า่ น ผู้อยู่เป็นเจ้าแห่งป่าพระองค์น้ันขอความนอบน้อมจง มีแก่ท่านผู้เป็นเจ้าแห่งเทพทั้งมวลพระองค์น้ันชนท้ัง หลายผู้เคารพต่อพระศิวะ คิดว่าของอันท่านผู้เจริญ (พระศวิ ะ)นี้จะพงึ ใหม้ อี ยใู่ นทนี่ ้ีจงึ มาเพอ่ื ประโยชนน์ น้ั หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 17

ตอนท่ี 3 ถา้ คนดีอยู่ในหมู่บ้านของชนเหลา่ ใดความสขุ และผลจักมแี กช่ นเหลา่ น้นั 2. ศิลาจารึกวัดมเหยงคณ์ (จารกึ หลักท่ี 27 หรือ น.ศ.10) พบท่ีวัด มเหยงคณ์ ริมคลองกลาย ตำ� บลสระแกว้ อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช เป็นแท่งศิลาจารึกสีด�ำ รูปสี่เหล่ียมสภาพช�ำรุด มรี อยหกั ดา้ นขวาและดา้ นซา้ ยทงั้ สองขา้ ง จารกึ อกั ษร ปลั ลวะ ภาษาสนั สกฤต กำ� หนดอายรุ าวพทุ ธศตวรรษ ที่ 12 กล่าวรายละเอียดของการปฏิบัติศาสนกิจที่ บง่ บอกถงึ เสนาสนะของวัด การจ�ำหน่ายเคร่อื งเขยี น ทั้งหมึก แผ่นเขียน และได้กล่าวถึงคณะพราหมณ์ท่ีอยู่ร่วมกันด้วย ดังมีปริศนาลายทาง กล่าวไว้ว่า “ วัดมเหยงคณ์ มีธงสามชาย อยูป่ ากน�ำ้ กลาย ฝา่ ยทศิ อุดร มโี หนดต้นออ่ น ๆ มที ้อนตน้ แฉ้ ใครรู้จักแก้ กินไม่สนิ้ เอย” 3. ศลิ าจารกึ วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร (จารกึ หลกั ท่ี 28 หรอื น.ศ.3) เป็นแทง่ ศิลาแผน่ สเ่ี หล่ียม จารกึ อักษรปลั ลวะ ภาษามอญโบราณ ก�ำหนดอายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี 12 กรมศลิ ปากรอา่ นและแปลความไดว้ า่ “รปู จำ� ลอง พอ่ มายาแหง่ หวั เมอื งชน้ั นอก ผงู้ ามสงา่ ประดจุ ถา่ นไฟทกี่ ำ� ลงั ลกุ โชน” จารกึ อกั ษรปลั ลวะทงั้ 3 หลกั ทพ่ี บ แสดงใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดนิ แดนนครศรธี รรมราชกบั อนิ เดยี อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ชาวอินเดียที่เดินทางมาในภูมิภาคนี้นอกจากเป็นพ่อค้าวานิชแล้ว คงมีพราหมณ์ และภิกษุสงฆ์ เดินทางเข้ามาด้วย เนื้อหาสาระเน้นไปทางหลักธรรมค�ำสั่งสอนอันเป็นหัวใจของศาสนา ซ่ึงเป็นที่มา ของกฎเกณฑท์ างวฒั นธรรม ในการประคบั ประคองการดำ� เนนิ ชวี ติ ในสงั คมใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสงบสขุ ในชว่ งเวลานี้ น่าจะมีกลุ่มชาวอินเดีย เข้ามาตั้งถ่ินฐานอยู่อาศัยอย่างถาวรแล้ว อาจเป็นในลักษณะนิคมหรือสันนิบาต และมี การผสมผสานอารยธรรมกับกลุ่มชนพื้นเมือง ชาวอินเดียที่เข้ามาคงมีหลายกลุ่ม เขียนหนังสือด้วยอักษรปัลลวะ เหมอื นกนั แตใ่ ชภ้ าษาตา่ งกนั เชน่ ภาษาสนั สกฤต ภามอญ ภาษาทมฬิ (จารกึ เขาพระนารายณ-์ ตะกวั่ ปา่ จงั หวดั พงั งา) กลุ่มชนชาวอินเดียเหล่านี้น่าจะเข้าพ�ำนักอาศัยและต้ังถ่ินฐานบ้านเรือนผสมผสานกับชนพ้ืนเมืองอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของพ้ืนที่จังหวดั นครศรีธรรมราช ดงั จะเหน็ ว่าไดพ้ บหลักฐานทางโบราณคดีทีม่ ีอายตุ ้งั แต่พุทธศตวรรษท่ี 12 ขน้ึ ไป กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณพื้นท่ีราบระหว่างเทือกเขานครศรีธรรมราชทางด้านทิศตะวันออก กับชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ต้ังแต่อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช มาถึงอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ หลักฐานทางโบราณคดีดังกล่าว ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ซ่ึงส่วนใหญ่แสดงอิทธิพลศาสนาพราหมณ์ ทัง้ ท่ีเป็นไศวนกิ ายและไวษณพนิกาย ส่วนศาสนาพทุ ธ ก็ปรากฏอยู่บา้ งแต่ไมโ่ ดดเดน่ 18 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

สมยั อาณาจกั รตามพรลิงค์ ชอ่ื แรกของเมืองนครศรีธรรมราช ปรกฏต้ังแตก่ อ่ นพุทธศตวรรษท่ี 10 ท้ังกะมะลงิ ตะมะลิง ตามรยะลงิ ค์ ตามพรลงิ เคศวร ตนั หมา่ หลงิ และตามพรลิงค์ อันแปลวา่ ศวิ ลงึ ค์ทองแดง หรือลงิ ค์ทองแดง นักวชิ าการและผ้สู นใจ จ�ำนวนมากพยายามสืบค้นว่า ลึงค์ทองแดง เป็นช่ือจากอะไร และอยู่จุดไหน โดยมีนักโบราณคดีและนักวิชาการ บางส่วนได้ศึกษาอย่างละเอียด เจาะลึกและเทียบเคียงกับประเทศต่าง ๆ ท่ีรับอิทธิพลศาสนาพราหมณ์ ได้ชี้ชัดว่า เมอื งตามพรลงิ คอ์ นั มคี วามหมายวา่ ลงิ คท์ องแดง กำ� เนดิ จากเขาคา ลงิ คท์ องแดง เปน็ การตง้ั ชอื่ จากลงึ คบรรพต หรอื สยมภูวลงึ ค์ ทป่ี ระดิษฐานเนนิ เหนือสดุ ของเขาคา เปน็ หนิ รูปธรรมชาติ รปู ทรงแบบศวิ ลงึ ค์ ที่มีรอ่ งรอยการแกะสลัก เล็กน้อย เพ่อื ใหเ้ กิดเสน้ พรหมสูตรและเสน้ ปารศวสตู ร (เส้นเอน็ ของหนังหุม้ ปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถมองเหน็ จากทิศตะวันตก ทิศเหนือและทิศตะวันออก ลึงคบรรพต องค์น้ีจะห่างจากชายฝั่งโบราณประมาณ 400 เมตร ตงั้ สูง 60 เมตร จากระดับนำ้� ทะเลปานกลาง นกั เดนิ เรอื โลบราณสามารถมองเหน็ ไดเ้ ดน่ ชัด สามารถเปน็ จดุ หมาย (Land Mark) ส�ำคัญของนกั เดินเรอื ไดอ้ ยา่ งดี ในความเชอ่ื ของพราหมณล์ ทั ธิไศวนกิ าย ถ้าลงึ คบรรพต หรอื สยมภูวลึงค์ แตกหกั หรือรา้ ว จะเกดิ อุบัติภัย อย่างมากตอ่ ชาวบ้าน จะต้องท�ำพิธกี รรมบชู าเทพและหมุ้ หอ่ ศวิ ลึงค์ดว้ ยทองแดง หรอื ทองค�ำ ซง่ึ เชือ่ วา่ ลึงคบรรพต องค์นี้คงจะได้รับการหุ้มห่อด้วย ทองแดง และเรียกขานกันต่อมาว่า ตามพรลิงค์ โดยอาจเป็นที่ต้ังเมืองหรือเป็น จุดหมายนักเดินทางได้ จึงบันทึกชื่อเมืองแรกแถบทะเลใต้นี้ว่า “ ตามพรลิงค์ ” คติความเชื่อเรื่องการประดิษฐาน ศิวลงึ ค์ บนยอดเขาในพทุ ธศตวรรษท่ี 8-11 ปรากฏทั่วภาคพนื้ ทเี่ อเชียตะวันออกเฉียงใต้ รัฐที่นบั ถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธไิ ศวนกิ าย พระราชา คอื กษตั รยิ แ์ หง่ ภูเขา (King of the Mountain) ศิวลึงค์ จึงเปน็ ภเู ขาศักด์สิ ิทธิ์ ซง่ึ เปน็ สัญลักษณ์ของการสร้างบ้านแปงเมือง และการสถาปนาอ�ำนาจของกษัตริย์ ความเจริญรุ่งเร่ืองของรัฐ จึงผูกพันกับ การท�ำพิธีบูชาศิวลึงค์โดยรอบเขาคา อันเป็นตีรถะ มีร่องรอยหลักฐานการอาศัยของประชาชนจ�ำนวนมาก รวมทั้ง เทวสถานที่มลี ำ� ดบั รองลงไป ท่วั ทกุ สายน้�ำใกลเ้ คยี ง มีการขุดคลองเช่อื มต่อจากสายน้�ำอนื่ สเู่ ขาคา อนั เป็นศนู ย์กลาง แดนสถิตของเทพเจา้ บริเวณโดยรอบเหล่าน้ี นกั โบราณคดี คอื คงเดช ประพฒั นท์ อง ได้เรียกรวมว่า ไศวภูมมิ ณฑล อนั หมายถงึ สถานทอี่ นั เปน็ เขตแดนของพระศวิ ะ ซงึ่ พราหมณ์ ไดเ้ รยี กบรเิ วณนว้ี า่ มณั ฑละ อนั เปน็ มณฑลทอ่ี าศยั ของ ผู้คนโดยรอบ ตีรถะเขาคา เขตมณฑลโดยรอบเขาคา ท่ีปรากฏหลักฐานหนาแน่น ด้านทิศเหนือ มีลุ่มน�้ำท่าเรือรี ลมุ่ นำ้� ท่าควาย ลมุ่ น้�ำท่าเชย่ี ว และทางดา้ นทศิ ใต้ คอื ลุ่มน�ำ้ ทา่ หินเชือ่ มสลู่ ุ่มน�้ำกลาย ถอื เป็นมณฑลศิวะรอบเขาคา เปน็ ภมู สิ ถานทวี่ เิ ศษทัง้ ด้านหลังเปน็ ภเู ขา ด้านหน้าเป็นทะเล มคี วามอุดมสมบรู ณ์ เปน็ แหล่งรวมทรพั ยากรทกุ ชนิด และสอดคล้องกับพระคมั ภีร์ จึงเปน็ ไศวภูมมิ ณฑล หนง่ึ ในคาบสมทุ รทะเลใต้ ยคุ กอ่ ตั้งเมืองตามพรลิงค์ ตามพรลงิ ค์ จากยคุ ทก่ี อ่ ตงั้ ทเี่ ขาคา ตามคตศิ าสนาพราหมณล์ ทั ธไิ ศวนกิ ายแลว้ จากหลกั ฐานทางโบราณคดี นา่ จะมีการเปลยี่ นศนู ยก์ ลางเปน็ ระยะ จากเขาคาสตู่ ้นลมุ่ น้�ำคลองกลาย และส่บู า้ นทา่ เรือ ตามลำ� ดับ บางชว่ งสมัย กม็ อี าณาจกั รอน่ื ๆ มีอ�ำนาจเหนือกวา่ หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 19

สมัยอาณาจักรศรีวชิ ัย ศรีวิชัย เป็นช่ืออาณาจักรที่มีชื่อเสียงทางการเดินเรือและการค้า มีความเจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศักราชท่ี 13-16 อาณาจักรน้ีแต่เดิมอยู่แถวเกาะสุมาตรา และขยายอิทธิพลครอบครองช่องแคบมะละกาได้ เป็นจุดควบคุม เส้นทางเดนิ เรอื ท้ังในภูมิภาคและรัฐแดนไกล เช่น จนี และอินเดยี และศรวี ิชัยยังเป็นศูนยก์ ลางพระพุทธศาสนานิกาย มหายานในภูมิภาค ศรีวิชัยตามบันทึกต่าง ๆ ซึ่งเรียกชื่อตามส�ำเนียงของชาติต่าง ๆ เช่น ชิลิโฟชิ โฟชิ คันโทลี โดยมหี ลักฐานการบันทึกทสี่ �ำคัญ เชน่ บันทึกหลวงจนี อี้จิง (พ.ศ. 1213-1238) จารกึ สุมาตรา (พ.ศ. 1225-1229) บนั ทึกการเดนิ เรือของสไุ ลมาน พ่อค้าอาหรับ (พ.ศ. 1394) ของอาบูไซอคิ (พ.ศ. 1459) ของมาซูดี (พ.ศ. 1486) จารึกตันซอร์ของอินเดีย (พ.ศ. 1568) บันทึกจากเจาจูกัว ในหนังสือจูฟานฉี (พ.ศ. 1768) และหลักฐานของไทย ในศิลาจารึกหลักท่ี 23 (พ.ศ. 1318) ศิลาจารึกหลักที่ 25 (พ.ศ. 1726) และศิลาจารึกหลักท่ี 24 (พ.ศ. 1773) สรปุ ความได้ดังนี้ หลวงจีนอี้จิง เป็นชาวจีน บันทึกการเดินทางไปศึกษาคัมภีร์พระพุทธศาสนาประเทศอินเดีย พ.ศ. 1213 มาพักท่ีเมืองโฟชิ (ศรีวิชัย) แล้วไปศึกษาท่ีอินเดีย 12 ปี กลับมาพักท่ีโฟชิอีก 10 ปี เพ่ือแปลภาษาสันสกฤตเป็น ภาษาจนี ไดบ้ นั ทกึ ไวว้ า่ ศรวี ชิ ยั มกี ษตั รยิ ห์ ลายพระองคแ์ ละหวั หนา้ เผา่ ครอบครองหมเู่ กาะ เลอ่ื มใสในพระพทุ ธศาสนา มีพระสงฆ์มากกว่า 1,000 รูป ตอนกลับประเทศโมโลยู (มาลายู) ได้กลายเป็นโฟชิไปแล้ว หมายถึง ศรีวิชัยขยาย อาณาเขตขนึ้ คาบสมุทรมาลายแู ล้ว ซ่งึ สอดคล้องกับจารกึ สุมาตราท่กี ลา่ วถงึ ศรีวชิ ยั โจมตมี าลายูและชวา หลักฐานอาหรับ บันทึกการเดินเรือของสุไลมาน กล่าวว่า ศรีวิชัยเป็นหมู่เกาะ พระราชา เรียกมหาราช มีอ�ำนาจเหนือเกาะจ�ำนวนมาก มหาราชประทับบนเกาะของพระองค์ และโยนอิฐทองค�ำลงสระน้�ำสะสมทุกวัน บนั ทกึ ของมาซูดี กลา่ วว่า “มหาราช ราชาแหง่ เกาะ ไมม่ ผี ใู้ ดสามารถเดินเรอื รอบเกาะได้ภายใน 2 ปี” จารึกเมอื งตนั ซอร์ กล่าววา่ พระเจา้ โจฬะที่ 1 (พ.ศ. 1568) ไดย้ กทัพเรือมาตีศรวี ิชยั และปลน้ สะดม 12 เมอื ง บริวาร ปรากฏช่ือเมืองตักโกลา (ตะกวั่ ป่า) และตามพรลิงคท์ ่ีใหญ่ยงิ่ และสามารถในการรบดว้ ย ซ่ึงส่งผลให้ศรีวชิ ัย ออ่ นแอ และชวาได้เข้าโจมตีศรวี ชิ ัยซ�ำ้ บนั ทกึ เจาจกู วั ในหนงั สอื จฟู านฉี (พ.ศ. 1768) กลา่ วถงึ ทตี่ งั้ ของศรวี ชิ ยั ควบคมุ ชอ่ งแคบมะละกา มเี มอื งขน้ึ 15 เมอื ง ชาวตา่ งชาติไมว่ ่าจะเดนิ ทางบกทางเรอื ไมว่ ่ามาจากทิศใดจะตอ้ งผา่ นศรวี ิชยั นบั ว่าศรีวิชยั เป็นอาณาจกั ร ร�ำ่ รวย มีความเจรญิ รุ่งเรอื งทางด้านการค้า จนถงึ การถูกโจมตีจากพวกโจฬะ และชวา ส�ำหรบั หลักฐานของไทย มศี ลิ าจารึก 3 หลกั ทก่ี ล่าวถึงพระเจ้ากรงุ ศรวี ิชัย สงั่ ให้สรา้ งประสาทอฐิ 3 หลงั (สนั นิษฐานว่า วัดแกว้ วัดหลัง และวัดเวยี ง ท่ีไชยา) มีฐานพระพุทธรูปนาคปรก พบทวี่ ดั เวียง มขี ้อความวา่ “มหาราช แหง่ ศรีวชิ ยั ส่งั ให้มหาเสนาบดีตลาไน ผรู้ กั ษาเมอื งครหิ (ไชยา) หลอ่ พระปฏมิ ากร” และหลกั ศิลาจารึกหลักท่ี 24 (พ.ศ. 1773) กลา่ วถึง พระเจ้าศรธี รรมโศก (จนั ทรภาณุ) ว่า “พระผคู้ รองเมอื งตามพรลิงค์ จันทรภาณุศรธี รรมราช ทรงเป็นใหญเ่ หนือราชวงศท์ ง้ั หมด ทรงพระราชสมภพ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนท่ีถูกชนชาติต่ำ� ปกครองมาแล้วใหร้ ุ่งเรอื ง” จากหลักฐานต่าง ๆ สันนษิ ฐานไดว้ า่ ศรวี ชิ ยั กอ่ ตัง้ ขน้ึ บนเกาะใกลช้ ่องแคบมะละกา รุง่ เรืองทางดา้ นการค้า เพราะครอบครองเส้นทางคาบสมุทร สามารถขยายอาณาเขต มีเมืองขึ้นถึง 15 เมือง ต่อมาถูกพระเจ้าโจฬะที่ 1 จากอินเดยี เข้าโจมตีปลน้ สะดมเมอื งบรวิ าร จนศรวี ชิ ยั อ่อนแอ พวกชวาตะวนั ออกเข้าโจมตซี ้�ำ ศรีวชิ ัยจงึ หมดอ�ำนาจ ส่วนบนคาบสมุทรท่ีมีศูนย์กลางที่ไชยา มีเสนาบดีจากศรีวิชัยปกครอง ก็ถูกพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (จันทรภาณุ) เขา้ โจมตพี น้ื ท่ีนครศรธี รรมราชตามพรลิงค์อกี คร้ัง แต่เปล่ียนเปน็ นบั ถือพระพุทธศาสนา 20 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

สมัยสริ ธิ รรมนคร หรอื สิรธิ ัมนคร ชอื่ น้พี บวา่ ใชใ้ นกรณที ีเ่ ปน็ ช่อื ของสถานท่ี (คอื เมืองหรอื นคร) เช่นเดยี วกับชอื่ อน่ื ๆ ทก่ี ล่าวมา แต่หากเปน็ ชอ่ื ของกษตั รยิ ม์ ักจะเรยี นวา่ “พระเจ้าสริ ิธรรม” หรอื “พระเจ้าสริ ิธรรมนคร” หรอื “สิรธิ รรมราช” “สริ ธิ รรมนคร” ปรากฏในหนงั สือบาลีเร่อื งจามเทวีวงศ์ ซง่ี มพี ระโพธิรังสีพระเถระ ชาวเชียงใหม่ เปน็ ผ้แู ต่ง ข้ึนในราวพุทธศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ปรากฏอยู่ในหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ซึ่งพระรัตนปัญญา พระเถระชาว เชยี งใหม่ เปน็ ผแู้ ตง่ ขน้ึ เปน็ ภาษาบาลี เมอ่ื พ.ศ. 2060 มขี อ้ ความกลา่ วถงึ เมอื งนวี้ า่ “ใน พ.ศ. 1799 พระรว่ งโรจนราช แหง่ กรุงสุโขทยั ไดเ้ สดจ็ มาเยย่ี มพระเจา้ สริ ิธรรมนครทรงทราบเรอื่ งพระพทุ ธสิหงิ ค์ ทีล่ ังกา จึงทรงอยากได้ พระเจา้ สิริธรรมนครจึงส่งทูตไปขอกษัตริย์ลังกาให้ กรุงสุโขทัยจึงได้พระพุทธสิหิงค์มาบูชา” ในต�ำนานพระบรมธาตุเมือง นครศรีธรรมราช ได้กลา่ วถงึ เมืองขน้ึ ของนครศรีธรรมราช สิบสองเมอื งเรยี กว่าเมอื งสิบสองนักษตั ร ได้แก่ เมืองสาย (สายบรุ )ี ใช้ตราหนู เมืองตานี (ปัตตาน)ี ใชต้ ราววั เมอื งกลนั ตัน ใช้ตราเสอื เมอื งปาหัง ใช้ตราแพะ เมืองบันทายสมอ ใช้ตราลิง เมอื งสระอเุ ลา ใชต้ ราไก่ เมืองตะก่วั ป่า ใช้ตราหมา เมืองกระ (กระบุร)ี ใชต้ ราหมู และคงเป็นเมืองขน้ึ ตงั้ แต่ ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19 หรือตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี 20 ก่อนที่นครศรีธรรมราชจะถูกผนวก เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจกั รอยธุ ยารวมเวลาทนี่ ครศรธี รรมราช หรอื อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ เจรญิ อยา่ งสงู สดุ ประมาณ หนึง่ ศตวรรษต้ังแตป่ ลายพทุ ธศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา สมยั สุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 19 - 20 ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 18 นครศรีธรรมราช หรือตามพรลิงค์ เป็นเมืองใหญ่ ในคาบสมุทรภาคใต้ มีแสนยานุภาพทางทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งก�ำลังทางเรือ สามารถยกกองทัพเรือไปตีลังกา ถึงสองคร้ัง รวมทั้งยกพลไปตีเมืองละโว้ได้ด้วย พญาศรีธรรมาโศกราช มีความสัมพันธ์กับเมือง หรือดินแดนทาง ตอนเหนือ ต้ังแต่ดินแดนในลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยาไปจนถึงสุโขทัย ความสัมพันธ์นี้ส่วนหนึ่ง เกิดจากความสัมพันธ์ ในระบบเครือญาติโดยการแต่งงานนอกจากนี้นครศรีธรรมราช ยังเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ มปี ราชญแ์ ละมพี ระสงฆท์ ีม่ คี วามรไู้ ดเ้ ข้าไปสงั่ สอนผูค้ นในเมอื งสุโขทัย สมยั อยธุ ยา ในกลางพุทธศตวรรษท่ี 19 นครศรีธรรมราชอ่อนแอลง ตามต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราชมีว่า หลังจาก พระเจ้าอู่ทองสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาในปี พ.ศ. 1893 แล้วได้ยกกองทพั ลงมาทางใต้ สู้รบกบั เมอื งนครศรีธรรมราช แต่ไม่แพ้ชนะกัน จึงได้เจรจาแบ่งดินแดนกับพญาศรีธรรมาโศกราช ที่บริเวณบ้านบางตะพาน (อ�ำเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์) ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นครศรีธรรมราช เป็นเมืองหน่ึงในจ�ำนวนเมือง พระยามหานคร 8 เมืองท่ีต้องถือน้�ำพระพิพัฒน์สัตยา มีฐานะเป็นเมืองเอกข้ึนต่อกรุงศรีอยุธยาและไม่ได้มีอ�ำนาจทางการเมือง เหนือดินแดนมลายูดังก่อน ทางกรุงศรีอยุธยาได้สร้างดุลยภาพทางอ�ำนาจในภาคใต้ ด้วยการแยกเมืองพัทลุง ไชยาและชุมพร ออกจากนครศรีธรรมราช แล้วใหข้ ้นึ ตรงต่อ กรุงศรอี ยธุ ยา ลดฐานะเมืองนครศรธี รรมราชจากเมอื ง พระยามหานครลงมาเป็นหัวเมืองช้ันเอก ส่งข้าหลวงจากส่วนกลางมาปกครองแทนเชื้อสายคนท้องถ่ินเดิม เช่น หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 21

ส่งพระพนมวังกับนางเสดียงทองจากเมืองเพชรบุรีมาเป็นเจ้าเมือง จัดระบบควบคุมคณะสงฆ์ให้พระสังฆราชาอยู่ที่ เมืองนครศรีธรรมราช พทุ ธศตวรรษที่ 21 – 22 ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 22 ทางกรงุ ศรอี ยธุ ยาอ่อนกำ� ลงั ลงจากการทำ� สงครามกับพม่า มแี ขกมลายูทางใตเ้ ข้ามาก่อกวนนา่ นน้�ำเมอื งทา่ ชายทะเล ในตำ� นานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ไดก้ ลา่ วถงึ การปลน้ สะดมของแขกสลดั ตงั้ แตป่ ระมาณกลางพทุ ธศตวรรษที่20-21ครงั้ แรกประมาณปีพ.ศ.1919-2039 และถม่ี ากข้ึนในปี พ.ศ. 2141 ในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ เม่ือปี พ.ศ. 2155 ฮอลันดาสามารถท�ำการค้ากับนครศรีธรรมราช และเมืองปตั ตานี ปี พ.ศ. 2164 กรงุ ศรีอยธุ ยาอนุญาตให้องั กฤษเข้ามาต้ังห้างในนครศรธี รรมราชได้ ปี พ.ศ. 2172 ชาวฮอลันดาที่ค้าขายที่เมืองปัตตานีได้ยุยงให้ปัตตานีเป็นกบฏและยกก�ำลังเข้าตีหัวเมืองปักษ์ใต้เจ้าเมือง นครศรีธรรมราชต้องท�ำการปราบปราม และตดิ พนั อยกู่ ับการรบและถูกเจา้ พระยากลาโหมสรุ ยิ วงศก์ ราบทลู สมเด็จ พระอาทติ ยวงศว์ า่ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราชเปน็ กบฏ ใหส้ ง่ ออกญาเสนาภมิ ขุ (ยามาดา นางามาซา) ขนุ นางเชอ้ื สายญป่ี นุ่ ไปเป็นเจ้าเมืองแทน โดยมีอาสาญี่ปุ่นประมาณ 600 คนเศษ ติดตามไปด้วย ออกญาเสนาภิมุข จึงได้กินเมือง นครศรธี รรมราช และได้ยกกองทัพไปปราบเมอื งปตั ตานีแต่ไมส่ ำ� เรจ็ การส่งขุนนางเช้ือสายญี่ปุ่นออกมาเป็นเจ้าเมือง ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งจนเกิดการสู้รบระหว่าง ชาวเมืองกับทหารญี่ปุ่น ผู้คนล้มตาย และหลบหนีออกไปจากเมืองไปเป็นจ�ำนวนมากจนเกือบจะเป็นเมืองร้าง หลงั จากขับไลญ่ ป่ี นุ่ ออกไปแล้ว นครศรธี รรมราชจึงแข็งเมืองในปี พ.ศ. 2175 กรงุ ศรีอยธุ ยาไดส้ ่งกำ� ลงั 10,000 คน พร้อมด้วยแม่ทัพสามคน รวมทั้งเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชคนใหม่เข้าตีเมืองนครศรีธรรมราช จับตัวพวกกบฏได้ส่ง ไปยงั กรุงศรีอยธุ ยา ปี พ.ศ. 2177 ปัตตานีได้แข็งเมืองอีกครั้ง ทางกรุงศรีอยุธยาได้ให้นครศรีธรรมราชส่งกองทัพขนาดใหญ่มี กำ� ลัง 30,000 คน ลงไปปราบ โดยเคลื่อนทัพผา่ นเมืองสงขลา แต่ท�ำการไม่ส�ำเร็จ ปี พ.ศ. 2185 เมอื งสงขลาเป็น กบฏตอ่ กรงุ ศรีอยุธยา แต่ถูกปราบลงได้ และในในปี พ.ศ. 2192 เมืองสงขลาได้กอ่ กบฏอีกครัง้ โดยบุกเขา้ ยดึ เมอื ง นครศรธี รรมราชไวไ้ ดช้ วั่ คราวและไดด้ งึ เอาปตั ตานี พทั ลงุ และไทรบรุ ี เขา้ มาเปน็ พนั ธมติ ร สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง ส่งกองทัพมาปราบ แต่ไม่ส�ำเร็จ กำ� แพงเมอื งนครศรธี รรมราช 22 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

พทุ ธศตวรรษท่ี 23 ในรชั สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ได้ด�ำเนินกุศโลบายใหมโ่ ดยสง่ พระยารามเดโช ทหารเอกเชอื้ สายแขกอาหรบั นบั ถอื ศาสนาอสิ ลามมาเปน็ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช เพอื่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางอำ� นาจของ อยุธยาในแหลมมลายูเพื่อโดดเด่ียวและปิดล้อมเมืองสงขลา ส่งผลให้การค้าของสงขลาซบเซา และสามารถกีดกัน อ�ำนาจของอังกฤษออกไปจากสงขลาได้ในท่ีสุด สงขลาถูกกองทัพของกรุงศรีอยุธยา จากนครศรีธรรมราชตีแตก เมื่อปี พ.ศ. 2233 และกลบั มาอยู่ในปกครองของเมอื งนครศรธี รรมราชตามเดิม รชั สมยั สมเดจ็ พระเพทราชา ไดท้ รงจดั การกบั หวั เมอื งทขี่ ดั ขนื พระราชอำ� นาจ ไมไ่ ดเ้ ขา้ มารว่ มงานพระราชพธิ ี ถือน้�ำพระพิพัฒน์สัตยาแสดงความจงรักภักดี มีเมืองนครศรีธรรมราชกับเมืองนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2235 จงึ ไดย้ กกองทพั ทง้ั ทางบกและทางเรอื ไปตเี มอื งนครศรธี รรมราช โดยมพี ระยาสรุ สงครามเปน็ แมท่ พั หลวง และพระยา ราชวงั สนั เปน็ แมท่ พั หนา้ พระยารามเดโชมหี นงั สอื ลบั พระยาราชวงั สนั ซง่ึ เปน็ เพอื่ นและเปน็ มสุ ลมิ ดว้ ยกนั ชว่ ยจดั หา เรอื ใหพ้ ระยารามเดโชหนไี ปได้ เมอื่ ตเี มอื งนครศรธี รรมราชได้ พระยาราชวงั สนั ตอ้ งโทษประหารชวี ติ ภายหลงั เสรจ็ ศกึ ความเสียหายของนครศรีธรรมราชคร้ังน้ี ท�ำให้อ�ำนาจของเมืองนครศรีธรรมราชอ่อนแอลงไปมาก สมเดจ็ พระเพทราชา ทรงนำ� วธิ ีการกัลปนาวัดกลบั มาใช้อกี ครัง้ คอื ให้อำ� นาจพระสงฆใ์ นการควบคุมชุมชน สมยั กรุงธนบุรี พุทธศตวรรษท่ี 24 หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า เมื่อปี พ.ศ. 2310 หลวงสิทธินายเวร ผู้เป็นปลัด เมืองนครศรีธรรมราชหรอื ท่เี รียกกันว่า พระปลัดหนู ได้รวบรวมผคู้ นต้งั ตนเปน็ อสิ ระ เรียกว่า ชุมนมุ เจ้านคร ในปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้โปรดให้เจ้าพระยาจักรี (หมุด) พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยายมราช และพระยาเพชรบุรี ยกก�ำลังทางบกไปปราบแต่ไม่ส�ำเร็จสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงเสด็จ ยกก�ำลังทางเรือไปตีเมืองนครศรีธรรมราชทัพหลวงเข้าตีค่ายท่าหมาก ที่คลองปากนคร และที่คลองท่าศาลาสี่หน้า (บา้ นปากพญา) แตก เจ้านครศรีธรรมราชทิ้งเมืองอพยพครอบครัวหนไี ปเมอื งสงขลา แลว้ ใหห้ ลวงสงขลา (วเิ ถียน) พาไปพักพิงอยู่เมืองเทพา เมืองปัตตานี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้โปรดให้เจ้าพระยาจักรีและพระยาพิชัย ราชายกกองทัพเรือติดตามไปเมืองปัตตานี เจ้าเมืองปัตตานียอมส่งตัวเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) มาถวายแต่โดยดี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงแต่งต้ังพระเจ้าหลานเธอเจ้านราสุริยวงศ์ข้ึนครองเมืองนครศรีธรรมราช ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2312 จนถงึ แก่พิราลยั เม่ือปี พ.ศ. 2319 จึงทรงแต่งตั้งให้ เจา้ นครศรีธรรมราช (หนู) กลับไปครองเมืองนครศรธี รรมราชอกี ครัง้ พระราชทานบรรดาศักดิเ์ ปน็ พระเจา้ นครศรธี รรมราช เจา้ ขณั ฑสมี า ใหม้ เี กยี รตเิ สมอเจา้ ประเทศราชมอี ำ� นาจแตง่ ตง้ั ขนุ นางตามแบบจตสุ ดมภไ์ ดเ้ ชน่ เดยี ว กบั ราชธานี หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 23

สมยั รัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2325 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงฐานอำ� นาจ ทางการเมอื ง และการปกครองเมอื งนครศรีธรรมราช ดังนี้ 1. โปรดเกล้าให้พระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) พ้นจากต�ำแหน่ง ให้เข้ามารับราชการท่ีกรุงเทพฯ เมอื่ ปี พ.ศ. 2327 2. ลดอ�ำนาจและฐานะทางการเมอื งของนครศรีธรรมราช ในการปกครองหวั เมอื งปักษใ์ ต้ 2.1 ลดต�ำแหน่งพระเจ้านครศรีธรรมราช ซ่ึงมีเกียรติเสมอเจ้าประเทศราช ลงเป็นเจ้าพระยา นครศรธี รรมราช 2.2 ลดฐานะเมืองนครศรธี รรมราช จากเมอื งประเทศราช ลงมาเป็นหัวเมืองช้นั เอก 2.3 ลดฐานะเสนาบดีจตุสดมภ์เมืองนครศรธี รรมราช เปน็ เพียงกรมการเมอื ง 2.4 ใหแ้ ยกหวั เมืองซึ่งเคยอยู่ใตก้ ารปกครองของนครศรธี รรมราช ไดแ้ ก่ เมอื งสงขลา ปัตตานี ไทรบุรี ตรังกานู และกลันตัน ไปขน้ึ กบั กรุงเทพฯ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2335 3. แต่งตั้งเจ้าพัฒน์ (หรือพัด) ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นเป็นเจ้าเมืองแทนโดยได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาศรีโศกราช ชาติเดโชไชย มไหสุริยาบดี อภัยพิริยะ ปรากรมพาหุ พระยาศรีธรรมราช หรือเรียกส้ัน ๆ ว่าเจา้ พระยานครศรธี รรมราช (พัฒน)์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) ได้กราบ บังคมทูลขอลาออกจากต�ำแหน่ง เนื่องจากมีปัญหาเร่ืองสุขภาพ พระองค์ได้ทรงแต่งต้ังพระบริรักษ์ภูเบศร์ (น้อย) ผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเจ้าเมืองแทน เมื่อปี พ.ศ. 2354 โดยได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเป็น พระยานครศรธี รรมราช(นอ้ ย)มนี ามในตราตง้ั วา่ พระยาศรธี รรมโศกราชชาตเิ ดโชไชยมไหสรุ ยิ บิ ดีอภยั พริ ยิ ปรากรมพาหุ พระยานครศรีธรรมราช และได้เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คนท่ัวไปนยิ ม เรยี กวา่ เจ้าพระยานครน้อย สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวยกย่องเจ้าพระยานคร (น้อย) มีความตอนหน่ึงว่า “เป็นผู้มีอ�ำนาจมากกว่าเจ้าพระยานครทั้งปวง ได้บังคับบัญชาตลอดจนมาถึงเมืองไชยาข้างฝั่งตะวันตกก็มีอ�ำนาจ เอื้อมแผ่ไปจนถึงถลาง น�ำทัพศึกท่ีเป็นเรื่องส�ำคัญก็คือตีเมืองไทร มีอ�ำนาจในเมืองแขกมาก นับถือเป็นพระเจ้า แผน่ ดนิ รอง เปน็ ผไู้ ดร้ บั อำ� นาจทำ� หนงั สอื สญั ญากบั องั กฤษเจา้ ของพระขรรคเ์ นาวโลหะ พระแทน่ ถม พระราชยานถม พระแสงทวนถมและอนื่ ๆ ” เจ้าพระยาศรีธรรมราช (น้อย) ได้สร้างความส�ำคัญให้แก่เมืองนครศรีธรรมราชเป็นอันมาก สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงกล่าวถึงไว้ในหนังสือสาส์นสมเด็จภาคที่ 6 มีความตอนหน่ึงว่า “เจ้าพระยานครฯ (น้อย) ปกครองบ้านเมืองเข้มแข็งกว่าเจ้าเมืองแต่ก่อน” ในด้านการช่างได้ต่อเรือรบ และเรือก�ำปั่นแปลง แก่กองทัพไทยสมัยรัชกาลที่ 2 จ�ำนวน 30 ล�ำ ได้ส่งเสริมงานช่างศิลปกรรม เครื่องถมและ ผา้ ยกเมอื งนคร จนเปน็ ทร่ี จู้ กั กวา้ งขวางดา้ นการรบไดท้ ำ� ศกึ สงครามเพอื่ ปราบปรามกบฏ เมอื งไทรบรุ ชี นะ ทำ� ใหไ้ ทรบรุ ี ยงั คงขน้ึ อยกู่ บั ไทยและทำ� ใหท้ างองั กฤษยอมรบั วา่ ไทรบรุ เี ปน็ ประเทศราชของไทย และดา้ นการทตู ไดท้ ำ� หนา้ ทเี่ จรจา ความเมอื งชน้ั ตน้ เพอื่ เจรญิ ความสมั พนั ธไมตรกี บั ตวั แทนรฐั บาลองั กฤษ (จอหน์ ครอเฟริ ด์ และเฮนรเ่ี บอรน์ )่ี หลายครงั้ 24 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

ก่อนท่ีจะเดินทางไปเข้าเฝ้าที่กรุงเทพฯ ลักษณะเด่นดังกล่าวจึงทำ� ให้ทางกรุงเทพฯ ให้อ�ำนาจและความไว้วางใจแก่ เจ้าเมอื งนครศรีธรรมราชมากกวา่ ยคุ สมัยใด เจา้ พระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ถงึ แก่อนิจกรรม เม่อื ปี พ.ศ. 2382 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงแต่งต้ังพระเสน่หามนตรี (น้อยกลาง) ผู้ช่วยว่าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ผู้เป็นบุตรคนท่ีส่ีของ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เป็นเจ้าเมือง ปรากฏนามในตราตั้งว่า พระยานครศรีธรรมราช แต่คนท่ัวไป มักเรียกว่า พระยานครน้อยกลาง ภายหลังได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช เม่ือปี พ.ศ. 2395 และได้ถึงแกอ่ นิจกรรม เมอ่ื ปี พ.ศ. 2410 พระเสน่หามนตรี (หนพู รอ้ ม) บตุ รคนโตของเจา้ พระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง) ไดเ้ ขา้ ดำ� รงตำ� แหนง่ เจา้ เมืองเป็นเจา้ พระยานครศรีธรรมราชสบื แทน ปรากฏนามภายหลงั วา่ เจา้ พระยา สุธรรมมนตรี คนทัว่ ไป เรียกว่า เจา้ พระยาขนทวน ในปี พ.ศ. 2418 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนูพร้อม) ถูกเรียกตัวไปอยู่กรุงเทพฯ เน่ืองจากบกพร่อง ในหน้าทีร่ าชการเป็นเวลา 20 ปี จึงไดก้ ลบั มารบั ราชการท่เี มอื งนครศรีธรรมราชอกี คร้ัง เมือ่ ปี พ.ศ. 2437 อนั เป็น ระยะเวลาทท่ี างกรงุ เทพฯ กำ� ลงั ดำ� เนนิ การปฏริ ปู การปกครองใหม่ ทเี่ รยี กวา่ ระบบเทศาภบิ าล เมอื งนครศรธี รรมราช จงึ มาเปน็ เมอื งหนง่ึ ในมณฑลนครศรธี รรมราช หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 25

ยคุ มณฑลเทศาภิบาล มณฑลเทศาภบิ าล เปน็ รปู แบบปกครองโดยการรวมหวั เมอื ง เขา้ มาอยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ลและบงั คบั บญั ชา ของข้าหลวงเทศาภิบาลแทนการมีเจ้าเมืองดังแต่ก่อน ข้าหลวงเทศาภิบาล มีฐานะเป็นข้าราชการต่างพระเนตร พระกรรณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงไว้วางพระราชหฤทัย คัดเลือกจากขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ที่มีความรู้ ความสามารถสูงออกไปปฏิบัติราชการ และยังมีข้าราชการรองอีกจ�ำนวนหน่ึงรวมเรียกว่า กองมณฑลท�ำหน้าที่ ช่วยเหลอื การปฏบิ ัติราชการในแผนกการตา่ ง ๆ ในมณฑล ก่อนการปฏิรูปการปกครอง หัวเมืองทางปักษ์ใต้ท่ีมีความส�ำคัญมาก คือ เมืองนครศรีธรรมราช และเมอื งสงขลา เพราะเมืองท้งั สองท�ำหน้าทีค่ วบคมุ บงั คบั บัญชาประเทศราชมลายู เมอ่ื องั กฤษ มเี มอื งขน้ึ อยปู่ ระชดิ ดนิ แดนไทย เปน็ เหตใุ หไ้ ทยกบั องั กฤษมกี รณพี พิ าทกนั ในเรอ่ื งหวั เมอื งมลายู หลายครง้ั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงใชน้ โยบายประนปี ระนอม ทรงยกฐานะผคู้ รองนครรฐั ไทรบรุ ี ข้ึนเป็นเจ้าพระยาและให้ขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ จากเดิมที่ขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราชทรงมีพระราชประสงค์ให้ หัวเมืองมลายูเป็นพระราชอาณาเขตช้ันนอกติดกับฝรั่งเศสตะวันตกและได้โปรดเกล้าฯ ให้หัวเมืองปักษ์ใต้ทั้งหมด ทเี่ คยขน้ึ สังกัดกระทรวงกลาโหมมาอยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงเสนอนโยบายจดั การปกครองหวั เมอื งปกั ษใ์ ตโ้ ดยใหม้ ขี า้ หลวงกลาง สามคนเป็นข้าหลวงฝ่ายตะวันตก บังคับบัญชาหัวเมืองตลอดหน้านอกตั้งอยู่ที่ภูเก็ตคนหนึ่งให้มีข้าหลวงตั้งอยู่ท่ี หวั เมอื งสงขลาบงั คบั บญั ชาตงั้ แตเ่ มอื งนครศรธี รรมราชไปจนถงึ หวั เมอื งแรกคนหนงึ่ และมขี า้ หลวงตงั้ อยทู่ ชี่ มุ พรหรอื หลังสวนอีกคนหน่ึง บังคับบัญชาตั้งแต่เมืองก�ำเนิดนพคุณลงไปจนถึงกาญจนดิษฐ์ ให้ข้าหลวงทั้งสามคนน้ีฟังค�ำส่ัง จากกรงุ เทพมหานคร เสมอื นกระทรวงมหาดไทยเปน็ ผอู้ ำ� นวยการแทนขา้ หลวงใหญ่ ซงึ่ ควรจะมที เ่ี มอื งนครศรธี รรมราช เป็นการรวมนครศรีธรรมราชกับสงขลาอยู่ในมณฑลเดียวกันให้พระยาสุขุมนัยวินิตเมื่อคร้ังเป็นพระวิจิตรวรสาสน์ เป็นข้าหลวงเทศาภบิ าล พ.ศ. 2439 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลชุมพรข้ึน สมเด็จกรมพระยาด�ำรง ราชานุภาพทรงกล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “เมื่อเจ้าพระยายมราชเป็นพระยาสุขุมนัยวินิต ข้าหลวงเทศาภิบาลก็สามารถ เกบ็ ภาษอี ากรไดถ้ ว้ นถเี่ งนิ หลวงในมณฑลนครศรธี รรมราช เพม่ิ ขน้ึ กวา่ ทต่ี อ้ งใชใ้ นการตงั้ มณฑลมาก กระทรวงการคลงั จงึ เพม่ิ รายจา่ ยใหท้ า่ นทำ� การโยธาตา่ ง ๆ และยอมใหส้ รา้ งเรอื กำ� ปน่ั ไฟชอ่ื นครศรธี รรมราช ขน้ึ หนงึ่ ลำ� สำ� หรบั ตวั ทา่ น ไปตรวจราชการในมณฑล ได้ใช้ส�ำหรับขนเงินแผ่นดินเข้ากรุงเทพฯ และรับเสนาบดีไปตรวจราชการมณฑล ชายทะเลดว้ ย” พ.ศ. 2453 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ด�ำรงต�ำแหน่งข้าหลวงในฐานะ สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครศรีธรรมราชและในปี พ.ศ. 2458-2468 ด�ำรงต�ำแหน่งอุปราชปักษ์ใต้ มีอ�ำนาจบังคับ บญั ชามณฑลสรุ าษฎร์ธานี มณฑลนครศรีธรรมราช และมณฑลปัตตานี พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ยุบเลิกต�ำแห่งอุปราชภาคและให้มณฑล เทศาภบิ าลกลบั ไปสงั กดั กระทวงมหาดไทยตามเดมิ นครศรธี รรมราชจงึ อยภู่ ายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาของสมหุ เทศาภบิ าล มณฑลนครศรธี รรมราช จนกระทัง่ มีการเปลย่ี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ครั้นถงึ พ.ศ. 2476 จึงยุบมณฑล ให้มฐี านะเป็นจงั หวดั สบื มาถึงปจั จุบัน 26 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

Time Line ประวัติเมืองนครศรธี รรมราช 1. ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ ยุค อายุ (ประมาณ) วฒั นธรรม หลักฐาน ยคุ หิน - - ยุคหนิ กลาง - เครื่องมือหินกะเทาะ 4,000-5,000 ปี ยคุ หนิ ใหม่ - มนุษยถ์ �้ำ - เครอ่ื งมอื หินขวานหนิ ขดั 2,000-4,000 ปี - วัฒนธรรมผี - ขวานหินยาวหรอื ระนาดหนิ ยุคโลหะ - หม้อสามขา - มนุษย์ถ้�ำ/เชงิ เขา กลองมโหระทกึ ท�ำด้วยส�ำริด - วฒั นธรรมผี 2,000 ปีลงมา - มนุษย์เชงิ เขา /ล่มุ น้�ำ - วัฒนธรรมผี 2. ยุคประวตั ศิ าสตร์ ยคุ อายุ (ประมาณ) เหตุการณ์ หลกั ฐาน ชุมชนแรกเริ่ม ศ. 11 - การเข้ามาของศาสนาพรหมณ์ ศาสนาพทุ ธ - ต�ำนาน ตามพรลิงค์ ศ. 12 ศรวี ชิ ยั ศ. 14 - การค้ากับต่างชาติ (อนิ เดีย จีน อาหรบั ) - โบราณสถาน/วัตถุ - กลมุ่ โบราณสถาน 11 ลมุ่ นำ้� - ศลิ าจารึก - ศนู ยก์ ลางจักรวาล - โบราณสถาน /วตั ถุ - การสรา้ งมณฑลพราหมณ์ - ความเชอ่ื -ประเพณี (ลัทธิไศวนิกาย) - เมอื งภายใต้ศรีวชิ ยั - พุทธมหานกิ าย - บนั ทึกหลวงจีนอ้ีจิง - บนั ทึกเจาจูกัว ฯลฯ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 27

ยคุ อายุ (ประมาณ) เหตุการณ์ หลกั ฐาน ศรีธรรมราช/ ศ.18 พระบรมธาตุ สิริธรรมนคร/ - เมอื ง 12 นักษตั ร - ต�ำนาน สริ ธิ ัมนคร (ราชวงศ์ ศ.20 - พระเจ้าศรธี รรมโศกราช - ประเพณ/ี วัฒนธรรม ศรธี รรมโศกราช) ศ.21 - พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ - หลกั ฐานลังกา - การไปตีลังกา - ตำ� นาน นครศรธี รรมราช - การสรา้ งพระธาตุ - ตำ� นานชิลกาลมณีปกรณ์ ยุคเส่ือมถอย - ความสมั พันธก์ ับพระรว่ ง - ต�ำนาน - ต�ำนาน เมืองพระยา - การแบ่งอาณาเขตกบั อยธุ ยา - ต�ำนาน มหานคร (พระบรม - เกิดไขห้ า่ ครัง้ ใหญ่ ไตรโลกนาถ) - ยอดพระธาตุหกั - ประวัติศาสตร์ ขุนนางมาปกครอง - แขกสลัดโจมตเี มอื งนครฯ (เผาวัดท่าโพธ์ิ - ประวัตศิ าสตร์/แผนท่ี สมยั กรุงธนบรุ ี (2171) สมัยพระยารามราชท้ายน้ำ� - ประวตั ศิ าสตร์ สมัยรัตนโกสินทร์ 2176 - ยามาดะ (ออกญาเสนาภิมุข) ปราบกบฏเมอื งนคร - ประวัติศาสตร์ - ฝรัง่ เขา้ เมอื งนคร 2230 - มร.เดอลามาร์ (ฝรงั่ เศส) มาทำ� แผนที่ 2223 - สงครามพระเพทราชา 2310 - เสียกรงุ ศรอี ยุธยาคร้ังท่ี 2 2310 - ตง้ั ตนเปน็ อสิ ระ (ชุมนมุ เจา้ นคร) 2312 - สงครามปราบก๊ก - เมืองประเทศราช 2325 - หัวเมอื งใหญ่ 2328 - สงครมเกา้ ทพั 2354 - จัดปกครองใหม่ (เมืองนครศรธี รรมราช มี 9 กรมใหญ่ 13 กรมย่อย 10 เมือง 14 อ�ำเภอ) 2476 - เป็นจังหวดั 28 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

หน่วยท่ี 2 ภูมิประเทศนครศรีธรรมราช มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อการใช้แผนท่ี และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ช้ีวัด ป1/1 จำ� แนกสงิ่ แวดล้อมรอบตวั ที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติและทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้นึ ป 2/2 ระบตุ �ำแหนง่ และลักษณะทางกายภาพของสง่ิ ต่าง ๆ ท่ปี รากฏในแผนทีแ่ ผนผังภาพถ่ายและลูกโลก ป.3/1 สำ� รวจข้อมูลทางภมู ศิ าสตร์ในโรงเรยี นและชุมชน โดยใช้แผนผงั แผนทแี่ ละรปู ถา่ ย เพอื่ แสดงความสมั พันธ์ของตำ� แหน่ง ระยะ ทศิ ทาง ป.3/2 วาดแผนผังเพือ่ แสดงต�ำแหนง่ ทีต่ ้ังของสถานทส่ี �ำคญั ในบรเิ วณโรงเรียนและชมุ ชน ป.5/1 สืบค้นและอธบิ ายขอ้ มูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนดว้ ยแผนทีแ่ ละรูปถ่าย มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วถิ ีการดำ� เนนิ ชวี ติ มจี ติ ส�ำนึกและมสี ่วนร่วมในการจัดทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ตวั ชี้วัด ป.1/2 บอกส่ิงตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดตามธรรมชาตทิ สี่ ง่ ผลต่อความเปน็ อยู่ของมนษุ ย์ ป.2/1 อธบิ ายความสำ� คัญของสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติและทีม่ นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ สาระสำ� คญั การเรยี นรแู้ ละการสบื คน้ ขอ้ มลู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของจงั หวดั นครศรธี รรมราช จะสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจ บริบทของพน้ื ท่ไี ด้อย่างถูกตอ้ ง สาระการเรยี นรู้ 1. ที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศ 2. บริเวณเทือกเขาตอนกลาง 3. บรเิ วณทรี่ าบชายฝ่งั ดา้ นตะวนั ออก 4. บริเวณที่ราบด้านตะวันตก หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 29

กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. จัดกระบวนการเรยี นรู้แบบกลมุ่ และแบบเดี่ยวตามความเหมาะสม 2. ศกึ ษาลกั ษณะกายภาพของพนื้ ทใี่ นตำ� บลทอี่ าศยั อย/ู่ ศกึ ษาพน้ื ทข่ี องอำ� เภอทอ่ี าศยั อย/ู่ และศกึ ษาภมู ปิ ระเทศ ของจังหวดั นครศรธี รรมราช 3. ใหน้ กั เรยี นทำ� โครงงานเชงิ สำ� รวจเกย่ี วกบั ตำ� บลทอ่ี าศยั อย/ู่ ศกึ ษาพนื้ ทอ่ี ำ� เภอทอี่ าศยั อย/ู่ และศกึ ษาภมู ปิ ระเทศ ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช การวดั และประเมนิ ผล รายการ วิธีการ เครอื่ งมอื 1. ทดสอบกอ่ นเรียน 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. แบบทดสอบ 2. สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม 3. อธบิ าย บอกเกี่ยวกบั ลกั ษณะ 2. สนทนาซักถามเกยี่ วกบั 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม ภมู ิประเทศของจงั หวดั 4. องค์ประกอบและทำ� โครงงาน ทางภูมศิ าสตร์ ภูมปิ ระเทศ การสนทนา การแสดงความคดิ เหน็ 3. ตรวจใบกจิ กรรม 3. ใบกจิ กรรม 4. ตรวจโครงงาน 4. แบบประเมนิ โครงงาน 30 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

หน่วยที่ 2 ภูมิประเทศนครศรีธรรมราช ท่ตี ้ัง ขนาด และอาณาเขต จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพมหานคร 780 กิโลเมตร มีเนือ้ ทปี่ ระมาณ 9,942,502 ตร.กม หรอื ประมาณ 6,214,064 ไร่ มีพื้นท่ีมาก เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ และเปน็ อันดับที่ 16 ของประเทศ หรอื ประมาณ ร้อยละ 1.98 ของ พื้นท่ีท้งั ประเทศ ทตี่ ้งั ของตวั จังหวดั ตั้งอยู่ประมาณ ละติจดู 9 องศาเหนอื และลองติจูด 100 องศาตะวันออก มอี าณาเขตติดต่อกับจังหวดั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับ จ.สรุ าษฎร์ธานีและอา่ วไทย อ.เหนือสดุ คือ อ.ขนอม ทิศใต ้ ตดิ ตอ่ กบั อ.หว้ ยยอด จ.ตรงั อ.ควนขนุน จ.พทั ลุง และ อ.ระโนด จ.สงขลา อ.ใต้สุด คือ อ.หัวไทร อ.ชะอวด อ.ท่งุ สง และ อ.บางขนั ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กบั อา่ วไทย ซึ่งมีฝัง่ ทะเลยาว 225 กโิ ลเมตรจาก อ.ขนอมถงึ อ.หวั ไทร อ.ตะวันออกสดุ คือ อ.หัวไทร ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ จ.สรุ าษฎร์ธานี และจ.กระบี่ อ.ตะวันตกสุด คอื อ.ทงุ่ ใหญ่ หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 31

32 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดนครศรีธรรมราช แตกต่างไปตามลักษณะของเทือกเขานครศรีธรรมราช ซึง่ เปน็ เทอื กเขาท่มี ีความยาวตามแนวยาวของคาบสมทุ ร เปน็ ผลให้ ลักษณะภูมปิ ระเทศของจงั หวัดนครศรีธรรมราช แบ่งไดเ้ ปน็ 3 สว่ น คอื 1. บรเิ วณเทือกเขาตอนกลาง 2. บริเวณทร่ี าบชายฝงั่ ดา้ นตะวันออก 3. บริเวณทร่ี าบดา้ นตะวนั ตก 1. บริเวณเทอื กเขาตอนกลาง บริเวณเทือกเขาตอนกลาง ได้แก่ บริเวณเทือก เขานครศรธี รรมราช มอี าณาเขตตงั้ แตต่ อนเหนอื ของ จังหวัดลงไปถึงตอนใต้สุด บริเวณพื้นท่ีของอ�ำเภอ ที่อยู่ในเขตเทือกเขาตอนกลาง ได้แก่ อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอจุฬาภรณ์ และอ�ำเภอพระพรหม ในเขตเทือกเขาน้มี ีภเู ขาสูงสุด ในจงั หวัด คอื เขาหลวง ซงึ่ สูงประมาณ 1,835 เมตร พ้นื ท่ี อ.พรหมครี ี เหนอื ระดบั นำ้� ทะเล นอกจากน้ีเทือกเขาดังกล่าวยังเป็นเส้นแบ่งเขตอ�ำเภอ ระหว่างอ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอฉวาง กับอ�ำเภอชะอวด อำ� เภอรอ่ นพบิ ลู ย์ อำ� เภอลานสกา อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำ� เภอพรหมครี ี อำ� เภอทา่ ศาลา และเปน็ เสน้ แบง่ เขต จังหวัดนครศรีธรรมราชกับอ�ำเภอบ้านนาสาร อำ� เภอกาญจนดิษฐ์ จงั หวัดสุราษฎร์ธานอี ีกดว้ ย บริเวณเทือกเขาตอนกลาง มีเส้นทางคมนาคม ผา่ นจากบริเวณท่ีราบชายฝ่ังตะวนั ออก ไปยังบรเิ วณ ที่ราบด้านตะวันตกได้ คือ ทางหลวงหมายเลข 40 ซึ่งข้ามจากอ�ำเภอสิชล อ�ำเภอขนอมสู่เขต อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ทางหลวง หมายเลข 405 จากอ�ำเภอลานสกา ไปสู่อ�ำเภอฉวาง ในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช พื้นที่ อ.ลานสกา และทางหลวงหมายเลข 4 จาก อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ ไปสอู่ ำ� เภอทงุ่ สง หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 33

2. บรเิ วณทร่ี าบชายฝ่งั ด้านตะวนั ออก บรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออก ไดแ้ ก่ บรเิ วณตง้ั แต่ เทือกเขาตอนกลางไปทางตะวันออกถึงฝั่งทะเลอ่าว ไทย จำ� แนกได้ เปน็ 2 ตอน คือ ต้ังแต่อำ� เภอเมือง นครศรธี รรมราชลงไปทางใตเ้ ปน็ ทร่ี าบ ทม่ี คี วามกวา้ ง จากบรเิ วณเทอื กเขาตอนกลางไปถงึ ชายฝง่ั ทะเลระยะ ทางประมาณ 95 กโิ ลเมตร มแี มน่ ำ้� ลำ� คลองทม่ี ตี น้ นำ�้ เกิดจากบริเวณเทือกเขาตอนกลางไหลลงสู่อ่าวไทย หลายสาย พนื้ ท่ี อ.สิชล นับเป็นที่ราบซ่ึงมีค่าทางเศรษฐกิจของจังหวัด ล�ำน้�ำส�ำคัญ ได้แก่ แม่น้�ำปากพนัง และมีคลองสายเล็ก ๆ ในเขตอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราชอีกหลายสาย เช่น คลองปากพญา และคลองท้ายวัง เป็นต้น อีกบริเวณหนึ่ง คือต้ังแต่อ�ำเภอท่าศาลาขึ้นไปทางทิศเหนือ เป็นบริเวณ ฝง่ั แคบ ๆ ไมเ่ กนิ 15 กโิ ลเมตร อำ� เภอทอ่ี ยใู่ นเขตทร่ี าบชายฝง่ั ทะเลดา้ นน้ี คอื อำ� เภอขนอม อำ� เภอสชิ ล อำ� เภอทา่ ศาลา อ�ำเภอเมอื งนครศรีธรรมราช อำ� เภอปากพนงั อ�ำเภอเชยี รใหญ่ อ�ำเภอหัวไทรและอ�ำเภอชะอวด พืน้ ที่ อ.สิชล พ้ืนท่ี อ.หัวไทร พืน้ ท่ี อ.ปากพนงั 34 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

3. บริเวณทร่ี าบด้านตะวันตก บริเวณที่ราบด้านตะวันตก ได้แก่ บริเวณท่ีราบระหว่างเทือกเขานครศรีธรรมราช จึงมีลักษณะเป็นเนินเขา อยเู่ ปน็ แหง่ ๆ อำ� เภอทอี่ ยบู่ รเิ วณทรี่ าบดา้ นนี้ คอื อำ� เภอพปิ นู อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ อำ� เภอฉวาง อำ� เภอนาบอน อำ� เภอบางขนั อ�ำเภอถ�้ำพรรณรา และอำ� เภอทงุ่ สง ลำ� นำ�้ สำ� คญั ไดแ้ ก่ ตน้ นำ�้ ของแมน่ ำ�้ ตาปไี หลผา่ น อำ� เภอพปิ นู อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ อำ� เภอฉวางและไหลผา่ นอำ� เภอฉวาง ไหลออกทะเลอ่าวไทยที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี นอกจากน้ียังมีล�ำน้�ำที่เป็นต้นน้�ำของแม่น้�ำตรังอีกด้วย คือ น�้ำตกโยง และคลองวงั หบี ซึ่งไหลผ่านอำ� เภอทงุ่ สงไปยงั อ�ำเภอหว้ ยยอด จงั หวัดตรงั และออกทะเลอันดามนั ท่ีอ�ำเภอกนั ตงั พ้นื ท่ี อ.ฉวาง แมน่ ้�ำท่สี �ำคัญ จงั หวัดนครศรธี รรมราชมีแมน่ ้�ำสายสำ� คญั ๆ อยู่ดว้ ยกัน 11 สาย ดังน้ี 1. แมน่ ้�ำปากพนัง ต้นน�้ำเกิดจากเทือกเขาบรรทัด ในเขตต�ำบล วังอ่าง อ�ำเภอชะอวด ไหลผ่านอ�ำเภอชะอวด อำ� เภอเชยี รใหญ่ และมสี าขาจากอำ� เภอหวั ไทรไหลมา รวมกนั ทบ่ี า้ นปากแพรก กลายเปน็ แมน่ ำ้� ปากพนงั ไหล ลงสู่อ่าวนครศรีธรรมราช นับเป็นแม่น�้ำท่ีส�ำคัญทาง เศรษฐกิจของจังหวัดมากโดยเฉพาะ ทางการ เกษตรกรรม บริเวณลุ่มน้�ำปากพนัง และสาขาเป็น บรเิ วณทรี่ าบมพี ืน้ ทนี่ ากวา่ 500,000 ไร่ มโี ครงการ พฒั นาพ้นื ทีล่ ุ่มน้ำ� ปากพนงั อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ดำ� เนินการโดยกรมชลประทาน และแมน่ �้ำปากพนังเปน็ ที่ต้ัง ของทา่ เทยี บเรือประมงจงั หวดั นครศรธี รรมราช และตลาดกลางก้งุ กุลาดำ� นครศรธี รรมราช หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 35

2. แมน่ ้ำ� หลวง เป็นสาขาหน่ึงของแม่น�้ำตาปี ต้นน�้ำเกิดจาก บริเวณทิศตะวันตกของเทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาภูเก็ต ส่วนที่เกิดจากเทือกเขา นครศรีธรรมราช มตี น้ น�้ำอยู่ในเขตอำ� เภอพิปูน และ อ�ำเภอฉวางไหลผ่านอ�ำเภอฉวางและอ�ำเภอทุ่งใหญ่ เข้าเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานีในเขตอ�ำเภอพระแสง อำ� เภอนาสารไปรวมกบั แมน่ ำ�้ ครี รี ฐั นคิ ม (แมน่ ำ�้ พมุ ดวง) ท่ีอ�ำเภอพุนพินเรียกว่า “แม่น้�ำตาปี” แล้วไหลลงสู่อ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี แม่น้�ำสายน้ีเป็นแม่น้�ำสาย ที่มีความยาวที่สุดของภาคใต้ 3. คลองปากพนู ต้นน�้ำเกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราชบริเวณ เขาหลวงทางด้านตะวันออกของเทือกเขาต้นน้�ำอยู่ที่ น้�ำตกพรหมโลก ในเขตอ�ำเภอพรหมคีรี ไหลไปทาง ทิศตะวันออกผ่านต�ำบล บ้านเกาะ อ�ำเภอพรหมคีรี และบา้ นทา่ แพ ตำ� บลปากพนู อำ� เภอเมอื งแลว้ ไหลลง สู่อ่าวนครศรีธรรมราช ต้นน�้ำเรียกว่า คลองนอกท่า ใกลป้ ากนำ้� เรียกว่าคลองปากพูน เป็นคลองทม่ี ีความ ส�ำคญั ทางเศรษฐกิจมาแต่สมัยโบราณ 4. คลองปากพญา - คลองปากนคร ต้นน�้ำเกิดจากแหล่งน้�ำหลายสาขาในเขตเทือก เขานครศรธี รรมราช โดยเฉพาะทเ่ี ขาครี วี ง ตำ� บลกำ� โลน อ�ำเภอลานสกาไหลผ่านอ�ำเภอเมือง ต้นน�้ำเรียกว่า คลองทา่ ดี ผา่ นตำ� บลกำ� แพงเซา ตำ� บลมะมว่ งสองตน้ อำ� เภอเมอื ง เมอื่ ไหลมาถงึ สนั ทรายซงึ่ เปน็ ทต่ี งั้ ตวั เมอื ง คลองแบ่งแยกเป็นหลายสาขา สายหน่ึงไหลเลียบ ตัวเมืองขึ้นไปทางตะวันออกผ่านตัวเมือง ที่สะพาน ราเมศวร์ ต�ำบลท่าวัง ผ่านต�ำบลท่าซัก ออกทะเล ทปี่ ากพญา เรยี กวา่ คลองปากพญา ซง่ึ เปน็ คลองทมี่ คี วามสำ� คญั ดา้ นประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ ของจงั หวดั มหี ลกั ฐานวา่ เดิมมีขนาดกวา้ งและลึก เรอื ก�ำปัน่ ขนาดใหญเ่ ข้ามาติดต่อคา้ ขายได้ถงึ ตัวเมอื งนครศรธี รรมราช 36 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

5. คลองเสาธง ต้นนำ�้ เกดิ จากเทอื กเขานครศรีธรรมราช ในเขตอ�ำเภอลานสกา คลองนี้มชี ่ือเรยี กกนั หลายชื่อตามทอ้ งทท่ี คี่ ลอง ไหลผา่ น คอื เมอ่ื ไหลจากนำ�้ ตกกะโรม เรยี กวา่ คลองเขาแก้ว เมือ่ ไหลเขา้ ส่อู �ำเภอร่อนพบิ ูลย์ เรียกว่า คลองเสาธง เมอื่ ไหลผ่านบ้านโคกคราม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ เรียกว่า คลองโคกคราม เม่ือไหลเข้าสู่ต�ำบลชะเมาเรียกว่า คลองชะเมา เม่ือถึงหนองน�้ำมนต์มีคลองแยกไปลงคลองปากนคร แต่ส่วนใหญ่ออกทะเลท่ีปากคลองบางจาก ตอนปลายคลองน้ี จึงเรียกว่า คลองบางจาก คลองนี้เป็นคลองท่ีแบ่งเขต อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราชกับอ�ำเภอปากพนัง ในสมัยท่ี พระยาสขุ มุ นยั วินิตเปน็ เทศาภบิ าลมณฑลนครศรธี รรมราชได้ขดุ คลองน้ีเช่ือมกบั แมน่ �ำ้ ปากพนัง เรียกวา่ คลองสขุ ุม ที่ต�ำบลบางจาก กรมชลประทานได้สร้างประตูระบายน�้ำเพ่ือเก็บกักน้�ำไว้ในล�ำคลองและป้องกันน�้ำเค็ม ระบายให้ แก่คลองสขุ ุม และช่วยการเกษตรกรรมพื้นท่ี 58,200 ไร่  6. คลองกลาย ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ในเขตพ้ืนที่ อ�ำเภอนบพิต�ำ ไหลไปออกทะเลท่ี อ�ำเภอท่าศาลา คลองกลาย เป็นท่ีรู้จักของชาว นครศรธี รรมราชเพราะมสี ะพานทยี่ าวทส่ี ดุ ในจงั หวดั 7. คลองทา่ ทน ตน้ นำ้� เกดิ จากเทอื กเขานครศรธี รรมราชตอนบน ไหลลงสอู่ ่าวไทยที่อำ� เภอสิชล หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 37

8. คลองน้�ำตกโยง ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ดา้ นตะวนั ตกบรเิ วณนำ้� ตกโยงตำ� บลถำ้� ใหญ่อำ� เภอทงุ่ สง แลว้ ไหลผา่ นตำ� บลปากแพรกตำ� บลชะมาย ตำ� บลทว่ี งั และต�ำบลกะปาง เข้าสู่อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง กลายเป็นสาขาหน่ึงของแมน่ ้ำ� ตรัง 9. คลองมีน ตน้ นำ้� เกดิ จากภเู ขาสามจอมในเขตอำ� เภอทงุ่ ใหญ่ ไหลลงมาทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านบ้านห้วย ญวณข้างเหนือ ผ่านบา้ นเขาขาว สหกรณน์ ิคมทุง่ สง บ้านล�ำสาย บ้านทุ่งส้าน สถานีรถไฟหลักช้าง บ้านปากน�้ำ คลองจันดี ไหลไปเป็นสาขาหนึ่งของ แม่น�้ำหลวง หรือแม่น้�ำตาปี และออกอ่าวบ้านดอน จังหวดั สุราษฎรธ์ านี 10. คลองท่าเลา ตน้ น�้ำเกิดจากภเู ขาวงั หีบ อำ� เภอทุ่งสง ซึ่งเป็น ภูเขาลูกหนึ่งในเทือกเขานครศรีธรรมราชไหลลง ทางใต้ผ่านบ้านประดู่ บ้านท่าเลา บ้านปังทอง บ้านเขาปรีดี สถานีรถไฟทุ่งสง บ้านตลาดในบ้าน ดา่ นปาบ บา้ นห้วยขนั บา้ นเขากลาย บา้ นนาหลานำ้� บ้านฉลาง บ้านเขาโรแล้วเข้าอ�ำเภอห้วยยอด อ�ำเภอเมืองตรัง และออกทะเลอันดามันท่ี อำ� เภอกันตงั จังหวัดตรัง 11. คลองท่าโลน ต้นน้�ำเกิดจากภูเขาปลายเบิกใกล้ ๆ กับภูเขา วังหีบในอ�ำเภอทุ่งสง ไหลลงทางใต้ ผ่านบ้านท่าเลา บ้านเป็นคุ้ง ที่ว่าการอ�ำเภอทุ่งสงด้านตะวันออก บา้ นในหวงั บา้ นดา่ นปาบ บา้ นหว้ ยขนั แลว้ รวมเขา้ เปน็ ล�ำน�้ำเดียวกันกับคลองท่าเลา ไหลผ่านภูเขากลาย บ้านเขาโร เขา้ อ�ำเภอหว้ ยยอด อ�ำเภอเมืองตรงั และ ออกทะเลอันดามันในเขตอ�ำเภอกันตังที่ปันหยี จังหวัดตรงั 38 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

หน่วยที่ 3 ลักษณะภูมิอากาศ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอ่ กัน ใช้แผนท่ี และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปข้อมูลตามกระบวยการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ สารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ ตัวช้วี ัด ป.6/2 อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างลักษณะทางกายภาพกบั ภัยพิบัตใิ นประเทศไทย เพอื่ เตรยี มพรอ้ ม รบั มอื ภยั พบิ ัติ สาระสำ� คญั ลกั ษณะทางกายภาพของพนื้ ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเกดิ ภยั พบิ ตั ทิ แ่ี ตกตา่ งกนั การเขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งลกั ษณะ ทางกายภาพในประเทศไทยกับภัยพิบตั จิ ะชว่ ยให้มนษุ ย์อาศยั อยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติอยา่ งยั่งยนื สาระการเรียนรู้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับภัยพิบัติของประเทศไทย เช่น อุทกภัย แผ่นดินไหว วาตภยั สนึ ามิ ภัยแลง้ ดินถลม่ และโคลนถล่ม 2. การเตรยี มพรอ้ มรับมือภัยพบิ ตั ิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพทีส่ ่งผลต่อภัยพิบัติ เช่น ท่ีราบเชิงเขา แม่นำ�้ ฯลฯ ท�ำให้เกิดอทุ กภัย 2. ก�ำหนดเร่ือง/ความคิดรวบยอด “ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับ ภัยพิบัติ และการเตรียมตวั ” 3. ระดมสมองเกย่ี วกบั เรอ่ื ง/ความคดิ รวบยอดโดยใชเ้ คร่ืองมอื สื่อสารสบื คน้ ข้อมูล แลว้ บันทกึ ไว้ 4. ออกแบบแผนภาพโครงเรอ่ื ง “ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพกบั ภยั พบิ ตั แิ ละการเตรยี มตวั ” หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 39

การวัดและประเมนิ ผล รายการ วิธกี าร เครอื่ งมอื วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ 1. สงั เกตกระบวนการท�ำกจิ กรรมแผนท่ี - แบบสงั เกต ผลกระทบ ในจงั หวดั นครศรีธรรมราช ปกั หมุด 2. ตรวจใบกิจกรรมรูร้ อดปลอดภยั - ใบกจิ กรรม จากภัยพบิ ตั ิ กจิ กรรมท่ี 1 รรู้ อบ ภยั พิบัติ วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การ ตรวจใบกจิ กรรมรูร้ อดปลอดภยั - ใบกจิ กรรม ภัยพิบัติในจงั หวัดนครศรีธรรมราช จากภัยพิบตั ิ กจิ กรรมที่ 2 เผชญิ หน้า ภัยพบิ ัติ 40 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา