Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Published by phuket strategy, 2019-12-25 03:20:59

Description: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Keywords: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ,ภูเก็ต,จังหวัดภูเก็ต

Search

Read the Text Version

3

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ชื่อบ้าน - นามเมืองในภูเก็จ หมายเลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๕๔๓-๖๐๘-๓ พิมพ์เมื่อ สิงหาคม ๒๕๖๒ จ�ำนวนพิมพ์ ๘๐๐ เล่ม คณะผู้จัดท�ำ นายสุพจน์ สงวนกิตติพันธุ์ นายเสทือน มุขดี นายสมศักดิ์ โสภานนท์ นายสุชัย วิเชียร นายสุเชาว์ พงศานนท์ นางเบญจมาศ ช่วยเก้ือ นางสาวอรศิริ รักแต่งาม นางสาวศศิวรรณ แสงทอง ศิลปกรรม การณิก ย้ิมพัฒน์ พิสูจน์อักษร หทัยรัตน์ ดอกบุญนาค จัดพิมพ์ สภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต ๓๘/๑๙๕ ถนนรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ ด�ำเนินการพิมพ์ บริษัท ป่าตองอ๊อฟเซ็ท เพรส จ�ำกัด ๗๔/๕๒ พูนผล ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ๘๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๗๖๒๒-๕๒๔๑, ๐-๗๖๒๒-๐๐๙๐ โทรสาร ๐-๗๖๒๒-๐๐๙๐ [email protected] สภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลและเอ้ือเฟื้อให้ถ่ายส�ำเนาภาพถ่ายประกอบเร่ือง รวมทั้งเจ้าของภาพถ่าย เว็บไซต์ ท่ีคณะผู้จัดท�ำไม่สามารถติดต่อเพ่ือขออนุญาตท่านได้ ต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ 4

ค�ำน�ำ ด้วยสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต ร่วมกับส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต จัดท�ำโครงการจัดเก็บองค์ความรู้ช่ือบ้านนามเมืองจังหวัดภูเก็ต เพ่ือรวบรวมข้อมูล ประวัติความเป็นมาของช่ือหมู่บ้านและต�ำบลทุกต�ำบลในจังหวัดภูเก็ต สภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตจึงได้ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ ช่ือบ้านนามเมืองจังหวัดภูเก็ตและจัดพิมพ์เป็นหนังสือ เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่ ผู้สนใจศึกษาประวัติของจังหวัดภูเก็ต หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มน้ีจะเป็น ประโยชน์ทางการศึกษาไม่มากก็น้อย หากหนังสือเล่มน้ีมีความบกพร่อง ผิดพลาด ประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบคุณส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต คณะกรรมการกองทุน ส่งเสริมงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ท่ีได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์ และขอขอบคุณคณะท�ำงานทุกท่าน ผู้ให้ข้อมูล ผู้ตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องที่ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน ในการจัดท�ำหนังสือ ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ จนส�ำเร็จด้วยดี นายสุพจน์ สงวนกิตติพันธุ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต 5

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ค�ำน�ำ ผลจากการประชุมคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ได้มีมติเห็นชอบให้ด�ำเนินการจัดท�ำหนังสือ ช่ือบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเเป็นมาของประชากรตามสภาพภูมิศาสตร์ ความหมายท่ีแสดงถึงความส�ำคัญของช่ือบ้าน – นามเมือง ของสถานท่ีน้ันๆ โดยมี ฉันทามติให้ข้าพเจ้าเป็นประธานโครงการ จัดเก็บรวบรวม เรียบเรียงไว้เป็นประวัติ เพื่อเก็บรักษาไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ ความเป็นมา ความหมายของชื่อบ้าน – นามเมือง ท้องถ่ินต่างๆให้เป็นท่ีสืบเน่ืองต่อไป ตลอดจนเป็นการเผยแพร่ความรู้ ทั้งด้าน การศึกษาค้นคว้าและส่งเสริมการท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมใน จังหวัดภูเก็ต ความส�ำเร็จของเอกสารเล่มน้ี จะบังเกิดข้ึนไม่ได้หากขาดความร่วมมือ สืบค้น จัดเก็บ รวบรวม จากคณะกรรมการที่ทุ่มเทท�ำหน้าที่สืบค้น จัดเก็บ ด้วย ความวิริยะ อุตสาหะ ของท้ังอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอถลาง และอ�ำเภอกะทู้ จึงขอขอบคุณ คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ และขอบคุณทางสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต วัฒนธรรม จังหวัดภูเก็ต ตลอดจนเจ้าหน้าท่ีทุกภาคส่วนในวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต โดยเฉพาะ ขอขอบคุณกรมส่งเสริม กระทรวงวัฒนธรรม ท่ีได้สนับสนุนงบประมาณในการ จัดพิมพ์หนังสือในครั้งนี้ ไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังว่าหนังสือเล่มน้ีคงจะเป็นประโยชน์ และไว้สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นสืบไป นายสุชัย วิเชียร ประธานโครงการช่ือบ้าน – นามเมือง จังหวัดภูเก็ต ประธานสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอกะทู้ 6

ค�ำน�ำ ตามที่สภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตได้ด�ำเนินการจัดท�ำโครงการ “ชื่อบ้าน นามเมืองจังหวัดภูเก็ต” เพื่อรวบรวมช่ือเรียก หมู่บ้าน ชุมชน และสถานที่ส�ำคัญ ตลอดจนประวัติบุคคลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับสถานท่ีน้ันๆ ในการน้ีสภาวัฒนธรรม อ�ำเภอเมืองภูเก็ต ได้รับความร่วมมือจากสภาวัฒนธรรมต�ำบลทุกแห่งท่ีตั้งอยู่ใน เขตอ�ำเภอเมืองภูเก็ตในการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมเป็นข้อมูลอย่างเป็นวิชาการ เก่ียวกับที่มาของสถานที่เหล่าน้ันไว้เป็นหลักฐาน เน่ืองจากช่ือบ้านนามเมืองย่อมมี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภูมิหลังของท้องถ่ินเสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ความรู้ เรื่องท่ีมาของชื่อบ้านนามเมือง จึงมีความส�ำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อการ เรียนรู้ตนเองทั้งในระดับท้องถ่ินและระดับชาติ อันเป็นปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนา ท้องถ่ินอย่างมีทิศทาง และการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ อย่างยั่งยืน สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอเมืองภูเก็ต หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ช่ือบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ จะยังประโยชน์แก่อนุชน ประชาชนและผู้สนใจทั่วไปในการได้ศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง และขยายผลต่อไปในอนาคต นายเสทือน มุขดี ประธานสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอเมืองภูเก็ต ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ 7

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ค�ำน�ำ การจัดท�ำ หนังสือ ช่ือบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ในคร้ังน้ี เป็นการริเริ่มและ ร่วมมือของสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต อันประกอบด้วย สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอและ สภาวัฒนธรรมต�ำบลท้ังหมดในจังหวัดภูเก็ต ร่วมกับส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ภูเก็ต โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดท�ำจาก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ในการจัดท�ำ ก็เพ่ือประโยชน์ให้ผู้คนได้ทราบถึง ประวัติ ที่มา ของชื่อ ของนาม ท่ีเรียกขาน ในแต่ละสถานท่ี แต่ละชุมชน ในจังหวัดภูเก็ต ซ่ึง ในการนี้คณะท�ำงานเครือข่ายสภาวัฒนธรรม จังหวัดภูเก็ต ได้ลงพ้ืนท่ี ศึกษา ค้นคว้า สอบถาม และจัดเก็บข้อมูลทั้งหมด มารวบรวมเป็นรูปเล่มเพื่อให้น่าอ่าน และง่ายต่อการสืบค้น ท้ังยังเป็นแหล่งข้อมูลเพ่ือใช้ในการศึกษาเรียนรู้ต่อไป ในอนาคต คณะผู้จัดท�ำหวังใจเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ี คงจะได้ประโยชน์ต่อ ผู้อ่านบ้าง ไม่มากก็น้อย ทั้งยังจะเป็นประวัติเพ่ือการบันทึกไว้กับ จังหวัดภูเก็ต ของเรา สืบไป นายสมศักดิ์ โสภานนท์ ประธานสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอถลาง 8

ค�ำนิยม หนังสือ “ช่ือบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ” เป็นหนังสือท่ีมีคุณค่า และ มีประโยชน์ต่อคนรุ่นหลัง เป็นอย่างย่ิง เนื่องจากข้อมูลภายในเล่มอัดแน่นไปด้วย เนื้อหาที่เป็นประโยชน์ทั้งสิ้น อาทิ ชื่อเรียก หมู่บ้าน ชุมชน และสถานที่ส�ำคัญ ตลอดจนประวัติของบุคคลส�ำคัญท่ีเก่ียวข้องกับสถานท่ีน้ันๆ โอกาสน้ีผมขอชื่นชม ความเป็นน้�ำหนึ่งใจเดียวกันของคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตทุกระดับ ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจกันสืบเสาะ แสวงหาข้อมูล จนได้ผลงานออกมาจนเป็นท่ีน่าพอใจ หากท่านก�ำลังมองหาหนังสือดีๆ สักเล่ม ผมมั่นใจอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มนี้ เป็นประโยชน์กับผู้อ่านเป็นอย่างมาก มิใช่เพียงแค่กับคนภูเก็ตเท่านั้น แต่จะเป็น ประโยชน์ต่อเด็ก เยาวชน และผู้คนทั้งประเทศ ที่จะได้ท�ำความรู้จักจังหวัดภูเก็ต ให้มากย่ิงขึ้น จากการอ่านหนังสือเล่มนี้ โกมาต แป้นเกิด วัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต 9

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 10

สารบัญ อ�ำเภอเมืองภูเก็ต ๒๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลเกาะแก้ว ๒๓ บ้านเกาะแก้ว ๒๕ บ้านสะปำ� ๒๗ บ้านบางเหนียว ๒๘ บ้านควนดินแดง ๒๙ บ้านบางคู และบ้านพะเกติ๋ว หรือปะเก้ติ๋ว ๓๑ บ้านนาลึก และบ้านหัวควน หรือหัวควนต้นยาง ๓๓ บ้านแหลมหิน ๓๔ ห่านฝร่ัง ๓๕ บ้านเกาะมะพร้าว ๓๖ บ้านนาใน ๓๗ คลองช้างผันหลัง หรือช้างหันหลัง ๓๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลรัษฎา ๓๙ ต�ำบลรัษฎา ๔๒ บ้านเกาะสิเหร่ ๔๕ บ้านบางชีเหล้า ๔๗ บ้านกู้กู ๔๙ เขาโต๊ะแซะ ๕๑ สุสานพระอร่าม ๕๓ บ้านท่าจีน และบ้านคอกช้าง ๕๔ บ้านโดราว และวัดโฆษิตวิหาร ๕๖ ทุ่งสัตมัน 11

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๕๘ ชุมชนโหนทรายทอง ๕๙ ชุมชนกิ่งแก้ว ๖๑ บ้านแหลมตุ๊กแก ๖๓ เขานางพันธุรัตน์ ๖๔ บ้านทุ่งคาพะเนียงแตก ๖๕ บ้านลักกงษี ๖๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลตลาดใหญ่ ๗๕ ตลาดใหญ่ ๘๑ ทุ่งคา ๘๕ แถวน้�ำ ๘๘ หั่งอาหล่าย ๙๐ บางเหนียว ๙๓ สะพานหิน ๙๖ ตัวบ่าง ๙๘ กอจ๊าน ๑๐๑ โก่ป๊ ีหึง ๑๐๓ จับเซ้ ๑๐๖ ฉ้ายตึ๋ง ๑๐๘ สามกอง ๑๑๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลตลาดเหนือ ๑๑๗ ตลาดเหนือ ๑๑๙ ซินหล่อ ๑๒๑ เฉี่ยโบ้ย ๑๒๔ จุ้ยตุ่ย ๑๒๖ ซีเต็กค้า 12

๑๒๘ อ่าวเก ๑๓๐ ท่าแครง ๑๓๓ เขารัง ๑๓๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลวิชิต ๑๓๗ ต�ำบลวิชิต ๑๔๐ บ้านนาบอนใต้ ๑๔๓ บ้านแหลมชั่น ๑๔๖ บ้านตีนเขา ๑๔๘ บ้านระแงง ๑๕๔ บ้านชิดเชี่ยว ๑๕๖ บ้านบ่อแร่ ๑๖๑ บ้านอ่าวมะขาม ๑๗๑ บ้านแหลมพันวา ๑๗๗ บ้านท่าแครงบน ชุมชนท่าแครงบน และชุมชนศักดิเดช ๑๘๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลฉลอง ๑๘๓ ต�ำบลฉลอง ๑๘๕ บ้านนาบอน และบ้านเขาน้อย ๑๘๘ บ้านบนสวน ๑๘๙ บ้านป่าหล่าย ๑๙๑ บ้านไฟไหม้ หรือบ้านตากแดด ๑๙๓ บ้านนากก ๑๙๕ บ้านฉลอง ช่ือเดิม “ตลาดน่ังยอง” ภาษาใต้ “หลาดน่ังยอง” ๑๙๙ บ้านวัดใหม่ ชื่อเดิม “บ้านตีนวัด” 13

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๒๐๐ บ้านโคกทราย ๒๐๒ บ้านโคกโตนด ๒๐๔ บ้านยอดเสน่ห์ ๒๐๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลราไวย์ ๒๐๗ ต�ำบลราไวย์ ๒๐๙ บ้านในหาน ๒๑๓ บ้านราไวย์ ๒๑๘ บ้านเกาะโหลน ๒๒๐ บ้านบางคณฑี ๒๒๒ บ้านห้าแยก ๒๒๓ บ้านแหลมพรหมเทพ ๒๒๕ บ้านใสยวน ๒๒๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลกะรน ๒๒๙ บ้านกะรน ๒๓๒ บ้านกะตะ ๒๓๕ บ้านโคกโตนด หรือบ้านโคกโหนด ๒๓๗ บ้านบางลา และบ้านในพรุ หรือในโพละ ๒๓๙ บ้านคอกช้าง ๒๔๐ บ้านท้ายนา ๒๔๒ ซอยแม่เฒ่าล้อม 14

อ�ำเภอถลาง ๒๔๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลเทพกระษัตรี ๒๔๕ บ้านตะเคียน ๒๔๘ บ้านแขนน ๒๕๐ บ้านพรุจ�ำปา ๒๕๒ บ้านเหรียง ๒๕๔ บ้านดอน ๒๕๖ บ้านเมืองใหม่ ๒๕๘ บ้านแหลมทราย ๒๖๐ บ้านนาใน ๒๖๒ บ้านพรุสมภาร ๒๖๔ บ้านป่าครองชีพ ๒๖๖ บ้านท่ามะพร้าว ๒๖๘ บ้านควน ๒๗๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลศรีสุนทร ๒๗๑ ต�ำบลศรีสุนทร ๒๗๔ บ้านลิพอนเขาล้าน บ้านพอนปะลัก (หลัก) บ้านลิพอนบ้านกล้วย บ้านในคล�ำ ๒๗๖ บ้านลิพอนบางกอก บ้านลิพอนบางขาม ๒๗๘ บ้านท่าเรือ ช้างผันหลัง บ้านผร้ัง พานยาง นาลึก โคกยาง ๒๘๒ บ้านบางโจ ๒๘๔ บ้านลิพอนบ้านใต้ ลิพอนบ้านใหญ่ บ้านวัดลุ่ม บ้านทุ่งนาเคียน บ้านนาสาด บ้านทุ่งจีน บ้านลิพอนตากแดด 15

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๒๘๗ บ้านยา ๒๘๙ บ้านม่าหนิก ๒๙๑ บ้านลิพอนหัวหาน บ้านลิพอนน้�ำผุด บ้านลิพอนบ่อแร่ ลิพอนบ้านแขก บ้านท่อง (ทุ่ง) ลากพระ ๒๙๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลเชิงทะเล ๒๙๕ บ้านเชิงทะเล ๒๙๙ บ้านบางเทา ๓๐๑ บ้านหาดสุรินทร์ ๓๐๔ บ้านป่าสัก ๓๐๖ บ้านบางเทานอก ๓๐๘ บ้านลายัน ๓๑๐ บ้านโคกโตนด ๓๑๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลป่าคลอก ๓๑๓ บ้านผักฉีด ๓๑๕ บ้านป่าคลอก ๓๑๗ บ้านบางโรง ๓๑๙ บ้านบางแป ๓๒๑ บ้านพารา ๓๒๓ บ้านเกาะนาคา ๓๒๕ บ้านอ่าวปอ ๓๒๗ บ้านยามู ๓๒๙ บ้านบางลา ๓๓๑ บ้านอ่าวกุ้ง 16

๓๓๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลไม้ขาว ๓๓๕ บ้านหมากปรก ๓๓๗ บ้านคอเอน ๓๓๙ บ้านสวนมะพร้าว ๓๔๑ บ้านไม้ขาว ๓๔๔ บ้านท่าฉัตรไชย ๓๕๐ บ้านบ่อไทร ๓๕๒ บ้านหยิด ๓๕๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลสาคู ๓๕๕ บ้านในยาง ๓๕๙ บ้านตรอกม่วง ๓๖๐ บ้านสาคู ๓๖๓ บ้านในทอน ๓๖๕ บ้านบางม่าเหลา 17

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ อ�ำเภอกะทู้ ๓๖๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลกะทู้ ๓๖๙ บ้านเก็ตโฮ่ ๓๗๗ บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๒ ๓๘๓ บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๓ ๓๘๘ บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๔ ๓๙๔ บ้านป๊ กั ก้ัวหลาว ๓๙๗ บ้านสี่กอ ๔๐๑ บ้านทุ่งทอง ๔๐๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลกมลา ๔๐๗ กมลา หรือก�ำมะรา ๔๐๙ บ้านบางหวาน ๔๑๓ บ้านเหนือ ๔๑๕ บ้านนอกเล ๔๑๙ บ้านโคกยาง ๔๒๐ บ้านหัวควน ๔๒๔ บ้านนาคา ๔๓๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลป่าตอง ๔๓๑ ชุมชนชายวัด ๔๓๗ ชุมชนบ้านมอญ ๔๔๒ ชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น ๔๔๖ ชุมชนบ้านนาใน ๔๔๙ ชุมชนบ้านโคกมะขาม 18

๔๕๒ ชุมชนบ้านกะหลิม ๔๕๕ ชุมชนหาดป่าตอง ภาคผนวก ๔๖๑ ภูเก็จ และ ภูเก็ต ๔๗๕ รู้จักค�ำขวัญจังหวัดภูเก็ต ๔๘๓ ภูเก็ตดีเจ็ดสิ่ง ๔๘๓ เพลงภูเก็ตร�ำลึก ๔๘๔ เพลงภูเก็ตเมืองงาม ๔๘๕ เพลงภูเก็ตจ๋า ๔๘๖ เพลงภูเก็ตเมืองทอง ๔๘๗ เพลงภูเก็ตเมืองสวรรค์ ๔๘๘ เพลงภูเก็ต ๔๘๙ เพลงหาดราไวย์ ๔๙๐ เพลงหาดสุรินทร์ ๔๙๑ เพลงสุดสวาทหาดภูเก็ต ๔๙๒ เพลงของกินภูเก็ต (หรอย หรอย) ๔๙๓ เพลงยอดนารีศรีถลาง ๔๙๔ คณะท�ำงานอ�ำเภอเมือง ๔๙๔ คณะท�ำงานอ�ำเภอถลาง ๔๙๕ คณะท�ำงานอ�ำเภอกะทู้ ๔๙๖ แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต 19

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ความยาว สะพานเทพกระษัตรี ๖เ ม๕ต๐ร เดินทางเข้ามาจากจงั หวัดพังงา สะพานท้าวศรีสุนทร เดินทางขาออกจากเกาะภเู ก็ต YACHT HAVEN ขนาดพื้นที่ท้ังหมด หาดไมข้ าว ๕๗๐.๐๓๔ ความยาว ุสดของเกาะภูเก็ต ัวดจากทิศเห ืนอ ึถง ิทศใ ้ต ๔๘.๗ กิโลเมตร ตารางกิโลเมตร เกาะภูเก็ต ๕๔๓.๐๓๔ ตารางกิโลเมตร เกาะบริวาร ๒๗ ตารางกิโลเมตร ถนนสายหลกั ๔๐๒ทางหลวงหมายเลข หาดบางเทา อนุสาวรียท์ ้าวเทพกระษัตรี หาด ท้าวศรสี ุนทร สุรนิ ทร์ PHUKET BOAT LAGOON ROYAL PHUKET MARINA หาดป่าตอง ภเู กต็ หมู่บ้านชาวเล เมืองเกา่ (Old Town) ทา่ เรือรษั ฎา หาดกะรน วัดฉลอง พระพทุ ธมิง่ มงคลเอกนาคคีรี อา่ วฉลอง หาดกะตะ ท่าเรอื น้�ำลกึ ภเู ก็ต หาดกะตะน้อย หาดในหาน หาดราไวย์ แหลมพรหมเทพ 20 กว้าง ๒๑.๓ กิโลเมตร

ในอ�ำเภอเมืองภูเก็ต 21

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 22

อ�ำเภอเมือง ต�ำบลเกาะแก้ว ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเกาะแก้ว สถานท่ีต้ัง ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ เกาะภูเก็ต ทิศเหนือ จด ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง ทิศใต้ จด ต�ำบลรัษฎา ทิศตะวันออก จด ทะเลอันดามัน ทิศตะวันตก จด ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง “บ้านเกาะแก้ว” เป็นนามท่ีเรียกขานต่อๆ กันมาก่อนจะมีการจัดต้ังหมู่บ้าน ตาม พรบ. ลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗ ในอดีตพื้นท่ีบ้านเกาะแก้ว มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มเนินดอน มีคลองเชื่อมต่อจากทะเลทิศตะวันออกล้อมรอบ เกือบท้ังหมู่บ้าน จึงมีลักษณะคล้ายเกาะ ช่ือเกาะแก้วมีความเชื่อสองทาง คือ หน่ึง ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือในอดีต (ปัจจุบันคือพื้นท่ีหมู่ท่ี ๕) มีการ พบแสงระยิบระยับมากมาย ต่อมาจึงมีการส�ำรวจพบแร่ดีบุกและท�ำเหมืองแร่ โดยแร่ท่ีเกิดแสงระยิบระยับนี้ชาวบ้านเรียกว่า สกายแลป โดยแสงที่สะท้อนจะ ระยิบระยับคล้ายแก้ว และเรียกพ้ืนท่ีน้ีว่าเกาะแก้ว ซึ่งคนแรกท่ีให้ช่ือเกาะแก้วน้ี ท่านมีนามว่า โต๊ะกาล่าหมาด (ปัจจุบัน ร่างฝัง ณ กุโบร์เกาะแก้ว) ชาวบ้านจึงเรียก พ้ืนที่น้ีว่าเกาะแก้วสืบต่อกันมา หลังจากยุคเหมืองแร่พ้ืนท่ีมีสภาพเปล่ียนแปลงไป มีการตัดถนนผ่านพื้นท่ีดังกล่าวเม่ือมองดูจึงไม่พบสภาพเป็นเกาะ 23

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ อีกความเชื่อหนึ่งคือบริเวณพ้ืนท่ีที่มีลักษณะเป็นเกาะน้ีจะมีต้นไม้ชนิดหน่ึง ชื่อไม้แก้ว ต้นใหญ่ยืนต้นอยู่บริเวณกลางเกาะ จึงเรียกว่าเกาะแก้ว (ไม้แก้วจะเป็น ไม้ท่ีมีความแข็งแรงให้เสียงใสกังวานนิยมน�ำมาใช้ท�ำเครื่องดนตรี เช่น ขลุ่ย ไม้เท้า อุปกรณ์ด้ามจับต่างๆ) ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต และภาษาไทย (กลาง) สถานที่ส�ำคัญ เช่น บ้านสะป�ำ บ้านนาใน หัวควน ห่านฝรั่ง พรุเตียว บางคู พะเกติ๋ว หรือปะเก้ต๋ิว ควนดินแดง ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายวัฒนา ถ่ินเกาะแก้ว ผู้ใหญ่บ้าน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ที่ ๕ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต นายมาหมูด คะหะปะนะ http://www.kohkeaw.go.th/content/information/2 ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถิ่นเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 24

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านสะป�ำ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๑ และหมู่ที่ ๓ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด บ้านบางคู หมู่ที่ ๒ ทิศใต้ จด บ้านควนดินแดง หมู่ท่ี ๑ ทิศตะวันออก จด อ่าวสะป�ำ ทะเลอันดามัน ทิศตะวันตก จด เขานางพันธุรัตน์ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง บ้านสะป�ำ มีช่ือเรียกหลากหลาย เช่น ตากป�ำ ตะป�ำ คนจีนมักเรียก ซิตัม สุนัย ราชภัณฑารักษ์ (๒๕๒๗:๑๙๔) ค้นคว้าพบว่า สะป�ำ มาจากค�ำ กราล�ำป�ำ แปลว่า ฝั่งน้�ำ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (๒๕๒๓:๕๑) ค้นคว้าพบว่า สะป�ำ มาจากภาษาทมิฬ แปลว่า ฝั่งน้�ำ เดิมชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งแปรรูปผลผลิต จากทะเล โดยท�ำเคยกะปิ ชาวบ้านจะน�ำกุ้งเคยมาตากแดดกันตลอดข้างทาง จึงเรียกกันว่า บ้านตากป�ำ และเพี้ยนมาเป็น ตะป�ำ และ สะป�ำ ปี พ.ศ.๒๓๔๕ คนกลุ่มแรกท่ีเข้ามาอาศัยคือ ชาวไทย ชาวเลโอรังลาโอด และไทยเชื้อสายจีน ภูมิประเทศเป็นป่าเขาส่วนหน่ึงติดทะเล ปัจจุบันพื้นท่ีส่วนหนึ่ง ติดหมู่ที่ ๑ และหมู่ท่ี ๓ ต�ำบลเกาะแก้ว ชาวบ้านที่อยู่ติดทะเลประกอบอาชีพประมง และแปรรูปผลิตภัณฑ์ทะเล มีการเล้ียงมุกท�ำเครื่องประดับ และมีอาชีพรับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ภาษาท่ีใช้ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นไทยใต้ บางส่วนใช้ภาษาโอรังลาโอด (คล้าย ภาษายาวี) 25

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ สถานที่ส�ำคัญ เช่น วัดสะป�ำธรรมาราม ซ้ายบน ศาลเจ้าสะป�ำ ซ้ายล่าง โรงเรียนบ้านสะป�ำ “มงคลวิทยา” โรงเรียนบ้านสะป�ำ “มงคลวิทยา” ศาลเจ้าสะป�ำ วัดสะป�ำธรรมาราม องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะแก้ว ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางแดง ประโมงกิจ ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๔ หมู่ที่ ๓ บ้านสะป�ำ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต http://www.kohkeaw.go.th/content/information/2 ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถิ่นเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 26

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางเหนียว สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๓ ซอยศาลเจ้าสะป�ำ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านบางเหนียว มาจากภาษาจีน แปลว่า แห หรือ อวน ก่อนสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ คนกลุ่มแรกชาวบางเหนียว เดิมต้ังรกรากอยู่ก่อนแล้ว และมีชาวทุ่งคา ชาวจีน ชาวประมงจากที่อื่นทยอยเข้ามา อาศัย ภูมิประเทศในอดีตเป็นป่าโกงกาง ป่าชายเลน ป่าพังกา ปัจจุบันยังเหลือ ป่าชายเลนและป่าโกงกาง ชาวบ้านประกอบอาชีพประมงและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ทะเล รับราชการ และมีอาชีพรับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ภาษาที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถ่ินไทยใต้ สถานที่ส�ำคัญ เช่น ศาลเจ้าสะป�ำ (กวนเต้กุ้น) ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางแดง ประโมงกิจ ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๔ หมู่ที่ ๓ บ้านสะป�ำ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต http://www.kohkeaw.go.th/content/information/2 ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 27

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านควนดินแดง สถานท่ีตั้ง ถนนเทพกระษัตรี เขตแดนระหว่างต�ำบลรัษฎากับต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด บ้านสะป�ำ หมู่ที่ ๑ ทิศใต้ จด บ้านบางชีเหล้า หมู่ที่ ๒ ต�ำบลรัษฎา ทิศตะวันออก จด เขานางพันธุรัตน์ ทิศตะวันตก จด เขานางพันธุรัตน์ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง บ้านควนดินแดง ชาวภูเก็ตเรียกเนินเขาว่า ควน และภูเขาแห่งน้ีมีดิน สีแดง จึงเรียก บ้านควนดินแดง อดีตเคยเรียกว่า ควนคะม�ำ เวลาเดินมักจะล่ืน ไปข้างหลัง จึงคะม�ำหน้าสู่พ้ืนดิน ภูมิประเทศในอดีตเป็นป่า เนินเขา ปัจจุบันเป็น ท่ีอยู่ อาศัย ร้านค้า เนินเขา ชาวบ้านประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว ค้าขาย และมีอาชีพ รับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ภาษาที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นไทยใต้ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางส่วนลุ่ย ธีรภาพพงษ์ ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๗/๒ หมู่ที่ ๑ บ้านแสนสุข ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 28

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางคู และบ้านพะเกติ๋ว หรือปะเก้ติ๋ว สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด โรงเรียนนานาชาติบริติช ทิศใต้ จด สามแยกถนนทุ่งคาพะเนียงแตก ทิศตะวันออก จด ท่าเทียบเรือโบ๊ทลากูน ทะเลอันดามัน ทิศตะวันตก จด เทือกเขานางพันธุรัตน์ ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง บ้านบางคู เป็นเขตแดนระหว่างเมืองถลางกับเมืองภูเก็ต โดยใช้คลอง บางคูเป็นเขตเส้นแบ่ง ด้านตะวันตกเป็นภูเขามีการท�ำเหมืองแร่ ทรายจากการท�ำ เหมืองไหลลงสู่ที่ราบ ชาวบ้านจึงขุดคูยาวมาจนถึงทิศตะวันออกลงสู่ทะเล จึง เรียกว่า บ้านบางคู ภูมิประเทศในอดีตเป็นป่ายาง เหมืองแร่ ปัจจุบันเป็นเหมืองแร่เก่าและ ท่ีอยู่อาศัย ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างท่ัวไป และธุรกิจส่วนตัว นับถือศาสนาพุทธ และอิสลาม ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินไทยใต้ สถานที่ส�ำคัญ เช่น บ้านพะเกต๋ิว หรือปะเก้ติ๋ว เป็นช่ือภาษาจีน แปลว่า บ่อนชนไก่ บ้านพะเกติ๋ว อยู่ใกล้ชายทะเลและบ้านท่าเรือ จึงมีคนจีนอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ค�ำว่าพะเกติ๋ว บางท่านว่ามาจากค�ำว่าบ้านตีไก่หรือบ้านที่เลี้ยงไก่ชน คนจีนท่ีอพยพเข้ามาอยู่ คงเป็นกลุ่มใกล้เคียงกับกลุ่มท่ีอยู่บ้านสะป�ำหรือกลุ่มบ้านท่าเรือ พื้นท่ีบริเวณน้ี เดิมมีการท�ำเหมืองรูของชาวจีนที่เดินทางเข้ามา และพัฒนาเป็นเหมืองหาบ เหมืองฉีด 29

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ศาลเจ้าซ�ำก้วนไต่เต่ ของ บริษัท หลุ่นเส้ง จ�ำกัด จนเม่ือกิจการเหมืองซบเซาลงก็มีการต้ังถิ่นฐานบริเวณ นี้ เช่น ต้นตระกูล รัตนสุบรรณ ศาลเจ้าซ�ำก้วนไต่เต่ 三官大帝 ศาลโต๊ะถ่าหมี บริษัท หลุ่นเส้ง จ�ำกัด บุคคลส�ำคัญที่เก่ียวข้อง นายระเบิด ครูหงวน นายบี้จ๋าย แป๊ะอิ่มฮ่อ แป๊ะเทียนเหลง ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายเลียบ ชนะศึก นายมาหมูด คะหะปะนะ นางสมพงศ์ จันทร์หอม ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๖/๑๗ หมู่ที่ ๒ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต นางโห้ย ชโลธร ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๖/๒๑ หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 30

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านนาลึก และบ้านหัวควน หรือหัวควนต้นยาง สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง บริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของหมู่ท่ี ๕ ชื่อบ้านนาลึกจะเป็นพื้นท่ีสองข้าง ถนนเทพกระษัตรี จากโรงเรียนมุสลิมวิทยา หมู่บ้านเจ้าฟ้าการ์เด้นโฮม ไล่มาจนถึง บ้านหัวควน ในอดีตเป็นพ้ืนท่ีลุ่มต�่ำจากใต้ข้ึนมาทางเหนือมีการท�ำนา ซึ่งว่ากันว่า เป็นนาขนาดที่มีความลึกมาก จึงเรียกกันว่าบ้านนาลึก หัวควนต้นยาง เพราะมีต้นยางขนาดใหญ่บนเนิน ซึ่งเดิมให้ประกอบพิธี ตะเลาะบะลอ หรือพิธีสะเดาะเคราะห์ของชาวมุสลิมในดินแดนน้ี ซ่ึงมีความเชื่อว่า เป็นการปัดเป่าส่ิงชั่วร้าย โดยตัดเล็บตัดผมไปท�ำพิธีสะเดาะเคราะห์ และเมื่อ เสร็จพิธีจะห้ามมิให้หันหลังกลับระหว่างเดินทางออกมาจากบริเวณดังกล่าว (พิธีน้ี สูญหายไปกว่า ๔๐ ปี ต้ังแต่ผู้เล่ายังเป็นเด็กประถม) สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ท่าเรือโบ๊ทลากูน ภูเก็ต รอยัลภูเก็ตมารีน่า โรงเรียนมุสลิมวิทยา กุโบร์ บ้านเกาะแก้ว มัสยิดบ้านเกาะแก้ว ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑/๘ หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถิ่นเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 31

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดบ้านเกาะแก้ว ท่าเรือโบ๊ทลากูน ภูเก็ต 32

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านแหลมหิน สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง บ้านแหลมหินเมื่อก่อนบริเวณนี้เป็นหินจ�ำนวนมาก และมีพื้นท่ีเป็นแหลม ที่มีหินยื่นลงไปในทะเล จึงเรียกที่น่ีว่าแหลมหิน ภูมิประเทศในอดีตเป็นที่นา ป่าเบญจพรรณ ปัจจุบันเป็นที่พักอาศัย ร้านอาหาร ฟาร์มกุ้ง กระชังปลา ชาวบ้าน ประกอบอาชีพท�ำการประมง รับจ้างทั่วไป ส่วนใหญ่ร้อยละ ๗๐ นับถือศาสนาอิสลาม รองลงมาคือศาสนาพุทธ ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินไทยใต้ สถานที่ส�ำคัญ เช่น มัสยิดกามาลียะห์ กุโบร์บ้านแหลมหิน ท่าเทียบเรือบ้านแหลมหิน ธนาคารปูบ้านแหลม- หิน ท่าเทียบเรือบ้านแหลมหิน ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายล่ี อุ่นเรือน ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๐/๒ บ้านแหลมหิน หมู่ท่ี ๗ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 33

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๘ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ห่านฝรั่ง สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ห่านฝรั่ง สันนิษฐานว่า มาจากหนองหานฝร่ัง “หาน” เป็นค�ำกร่อนจาก ค�ำเต็มว่า ละหาน ละหาน ยืมจากค�ำเขมรว่า รหาล (อ่านว่า รัวฮาล) แปลว่า ที่โล่งโปร่ง ไทยใช้ว่าห้วยละหาน ละหาน หมายถึงธารน้�ำ ห้วยน�้ำ ห้วงน้�ำ ร่องน�้ำ พื้นที่เดิมมีหนองน�้ำซ่ึงชาวพ้ืนเมืองเรียกหนองหาน หรือ หาน แต่ในส�ำเนียงภูเก็ต จะออกเสียงเหมือนกันกับค�ำว่าห่าน และในช่วงท่ีมีการท�ำแร่ดีบุก มีฝร่ังลูกจ้าง บริษัททุ่งคาฮาเบอร์เข้ามาส�ำรวจแร่และใช้เป็นที่ท�ำงานอาบน้�ำเล่นน�้ำ จึงเรียก หานน้ีว่า หานฝรั่ง หรือ หานผรั้ง (ผรั้ง เป็นค�ำท่ีชาวพ้ืนเมืองออกเสียงเรียกชาว ต่างชาติ หรือฝรั่ง มาจากค�ำว่า Foreigner) ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายลี่ อุ่นเรือน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๐/๒ บ้านแหลมหิน หมู่ที่ ๗ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถิ่นเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 34

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเกาะมะพร้าว สถานท่ีตั้ง เกาะมะพร้าวเป็นเกาะอยู่หน้าอ่าวสะป�ำ ในทะเลอันดามัน หมู่ที่ ๖ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง เกาะมะพร้าวมีพ้ืนท่ีเป็นเกาะกลางอ่าวสะป�ำ มีผู้คนอาศัยอยู่ ในอดีต คนบนเกาะภูเก็ตจะล่องเรือไปท�ำสวนโดยเฉพาะสวนมะพร้าวบนเกาะท�ำให้มี มะพร้าวจ�ำนวนมาก ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเกาะ มีทะเลล้อมรอบ ในอดีตพ้ืนท่ี ส่วนใหญ่เป็นสวนมะพร้าว ปัจจุบันมีร้านค้า ที่พัก สวนยาง สวนมะพร้าว ชาวบ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำการประมง การเกษตร นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นไทยใต้ สถานที่ส�ำคัญ เช่น มัสยิดบ้านเกาะมะพร้าว โรงเรียนบ้านเกาะมะพร้าว โรงพยาบาลสุขภาพ ต�ำบลบ้านเกาะมะพร้าว บุคคลส�ำคัญท่ีเก่ียวข้อง นายโปย นกดา ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายลี่ อุ่นเรือน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๐/๒ บ้านแหลมหิน หมู่ที่ ๗ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถิ่นเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 35

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๑๐ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านนาใน สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านนาใน แต่เดิมเป็นพื้นท่ีท�ำนา จากวัดท่าเรือ มีคลองกั้นระหว่างบ้าน ท่าเรือกับบ้านนาใน ปัจจุบันเป็นเขตแดนระหว่างอ�ำเภอเมืองกับอ�ำเภอถลาง ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายล่ี อุ่นเรือน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๐/๒ บ้านแหลมหิน หมู่ท่ี ๗ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 36

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลเกาะแก้ว ๑๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : คลองช้างผันหลัง หรือช้างหันหลัง สถานที่ต้ัง เป็นคลองกั้นเขตแดนระหว่างอ�ำเภอถลางทางทิศใต้ กับทิศเหนือของ อ�ำเภอเมือง ต้ังอยู่ที่ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง คลองช้างผันหลัง หรือช้างผินหลัง หรือช้างหันหลังกลับ ท่ีเรียกเช่นนี้ เน่ืองจากเดิมเกาะแก้วจะมีคลองน�้ำล้อมรอบ และคลองสายน้ีจะมีขนาดใหญ่มาก เป็นจุดรวมน้�ำท่ีไหลลงมาจากบนภูเขาในฤดูน้�ำหลาก จากปริมาณน้�ำจ�ำนวนมากนี้ จะได้ยินเสียงน�้ำไหลดังวูวู จนมีคนเรียกว่าคลองน้�ำวูวู และเล่ากันว่าเม่ือช้างป่า เดินทางมาถึงจุดนี้จะไม่กล้าเดินทางต่อต้องถอยหลังกลับ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น คลองน�้ำวูวู ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑/๘ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเจริญ ถ่ินเกาะยาว วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 37

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 38

อ�ำเภอเมือง ต�ำบลรัษฎา ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี ต�ำบลรัษฎา สถานท่ีต้ัง ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกถึงตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะภูเก็ต ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด แนวเขตต�ำบลเกาะแก้ว หมู่ท่ี ๑ (บ้านสะป�ำ) และหมู่ท่ี ๗ (บ้านแหลมหิน) ต�ำบลเกาะแก้ว 39

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ทิศใต้ จด แนวเทศบาลนครภูเก็ต เลียบแนวเขาโต๊ะแซะ และเขตเขารัง ทิศตะวันออก จด แนวชายฝั่งทะเลภูเก็ต ทิศตะวันตก จด แนวเขตต�ำบลวิชิต หมู่ที่ ๕ บ้านชิดเชี่ยว ต�ำบลวิชิต และเขตต�ำบลกะทู้ กับหมู่ท่ี ๒ บ้านบางทอง หมู่ท่ี ๓ และหมู่ที่ ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ต�ำบลรัษฎา เดิมช่ือ ต�ำบลสั้นใน ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๓ ได้มีการเปลี่ยน ช่ือต�ำบลช่ือเพ่ือเป็นเกียรติแก่ พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) สมุหเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการมณฑลภูเก็ต (พ.ศ.๒๔๔๔ - ๒๔๕๖) และ เป็นผู้ได้รับพระราชทานนามสกุล ณ ระนอง พ้ืนที่ต�ำบลมีเนื้อท่ีโดยประมาณ ๓๘ ตารางกิโลเมตร พ้ืนที่ประมาณร้อยละ ๔๐ เป็นภูเขา อีกร้อยละ ๖๐ เป็นพื้นท่ีราบ ประกอบด้วยที่ราบเนินเขา (หมู่ท่ี ๒, ๓, ๕ และ หมู่ที่ ๖) และที่ราบริมฝั่งทะเล (หมู่ที่ ๑, ๔ และ ๗) ซ่ึงเป็นป่าชายเลน มีหมู่บ้าน ๗ หมู่บ้าน ภาษาที่ใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาถิ่นใต้ ภาษาไทยกลาง และชาวไทยใหม่ ใช้ภาษาอูรักลาโว้ย (Urak Lawoi) หรือภาษาเลาตา ภาษาชาวเล ภาษาชาวน้�ำ ภาษา ลาโว้ย สถานที่ส�ำคัญ เช่น หมู่ท่ี ๑ บ้านเกาะสิเหร่ หมู่ท่ี ๒ บ้านบางชีเหล้า หมู่ท่ี ๓ บ้านกู้กู หมู่ท่ี ๔ บ้านแหลมตุ๊กแก หมู่ท่ี ๕ บ้านทุ่งคาพะเนียงแตก 40

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา หมู่ท่ี ๖ บ้านลักกงษี หมู่ท่ี ๗ บ้านท่าเรือใหม่ หาดปล้ืมสุข แหลมหงา บ้านท่าจีน เขาโต๊ะแซะ หาดศิลาพันธ์ บุคคลส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้อง พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) สมุหเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการมณฑลภูเก็ต ช่ือผู้ให้ข้อมูล เทศบาลต�ำบลรัษฎา http://www.rasada.go.th/content/information.pdf ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 41

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเกาะสิเหร่ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต อยู่ทางทิศตะวันออก ระยะทางห่างจากตัวอําเภอเมืองภูเก็ต ประมาณ ๕ กิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดทะเลภูเก็ต มีอ่าว และแหลมต่างๆ เช่น แหลมหงา หาดปล้ืมสุข หาดเกาะสิเหร่ และหาดแป๊ะอ๋อง ทิศใต้ จด บ้านแหลมตุ๊กแก หมู่ที่ ๔ ทิศตะวันตก จด คลองท่าจีน คลองลัดใหม่ และคลองขุนชิด หมู่ท่ี ๗ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านเกาะสิเหร่เป็นพ้ืนท่ีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะภูเก็ต มีพ้ืนที่ ส่วนหน่ึงเป็นเกาะมีน้�ำล้อมรอบ เรียกว่าเกาะสิเหร่ โดยมีคลองท่าจีนระหว่างเกาะ กับแผ่นดินใหญ่ มีสะพานเช่ือมเพ่ือการคมนาคมระหว่างเกาะกับผืนดินของเกาะ ภูเก็ต ซึ่งอาจจะนับเป็นเกาะแยกออกมาหรือเป็นพื้นที่ของเกาะภูเก็ตก็ได้ ลักษณะ พื้นท่ีเป็นภูเขา และมีท่ีราบชายฝั่งทะเลและบริเวณคลองท่าจีน คนส่วนใหญ่มีอาชีพ ประมง เก็บหอย หาหอยมุก “สิเหร่” เป็นภาษา ยาวี มลายู แปลว่า พลู ใบพลู จากภาษาชาวเลว่า ปูเลาสิเหร่ หมายถึง เกาะพลู (ปูเลา แปลว่า เกาะ, สิเหร่ แปลว่า พลู เคี้ยว) [ข้อมูลนี้ได้จากหนังสือ ถลาง ภูเก็ต และชายฝั่งอันดามัน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ และเศรษฐกิจ กรมศิลปากรพิมพ์เนื่องในโอกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็น 42

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา เกาะสิเหร่ ประธานในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ๑๔ มีนาคม ๒๕๓๒ หน้า ๒๒๒] มีความเป็นไปได้ว่าลักษณะของเกาะสิเหร่ใกล้เคียงกับเกาะปีนังซึ่งในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลา ปีนัง หรือเกาะหมาก เมื่อนักเดินเรือท่ีเดินทางจากปีนังมาพบ เกาะสิเหร่นี้จึงให้เป็นเกาะแฝดและใช้ช่ือว่า ปูเลาสิเหร่ หรือ เกาะพลู และใช้ช่ือ เกาะสิเหร่ สืบต่อมา สถานท่ีส�ำคัญ เช่น หาดปลื้มสุข หาดเกาะสิเหร่ หาดแป๊ะอ๋อง คลองท่าจีน คลองลัดใหม่ คลองขุนชิด แหลมหงา แหลมหงา ตั้งอยู่บนเกาะสิเหร่ หมู่ที่ ๑ เป็นหมู่บ้านชาวไทยที่ดั้งเดิม มีบรรพบุรุษส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมลายู อินโด นับถือศาสนาอิสลาม มาอาศัยอยู่ก่อน แต่ในปัจจุบันเริ่มมีคนย้ายถ่ินเข้ามาอาศัยและมีการแต่งงานแยกครอบครัวออกไป บ้าง จึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผู้คนพื้นถิ่นเดิมอาศัยปลูกยางท�ำสวน ท�ำไร่ ประมง หาปลา หาหอย 43

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ หาดปล้ืมสุข บุคคลส�ำคัญที่เก่ียวข้อง พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบ๊ี ณ ระนอง) สมุหเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการมณฑลภูเก็ต ช่ือผู้ให้ข้อมูล เทศบาลต�ำบลรัษฎา http://www.rasada.go.th/content/information.pdf หนังสือ ถลาง ภูเก็ต และชายฝั่งอันดามัน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ และเศรษฐกิจ กรมศิลปากรพิมพ์เนื่องในโอกาสสมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิด พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ๑๔ มีนาคม ๒๕๓๒ หน้า ๒๒๒ ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 44

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางชีเหล้า สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต บ้านบางชีเหล้า ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จากตัวอําเภอเมืองภูเก็ต ระยะทางห่างกันประมาณ ๗ กิโลเมตร มีลักษณะเป็นที่ราบเนินเขา ทิศเหนือ จด บ้านแหลมหิน ตําบลเกาะแก้ว ทิศตะวันออก จด ทะเลภูเก็ต มีป่าชายเลน คลองบางชีเหล้า และคลองท่าจีน และยังมีคลองต่างๆ ได้แก่ คลองบางเย็น คลองกู้กู คลองคอกช้าง และคลองด่วน ทิศตะวันตก จด ถนนเทพกระษัตรี ทิศใต้ จด บ้านกู้กู หมู่ท่ี ๓ ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามต�ำนานเล่าสืบทอดต่อกันมาว่า ค�ำว่า บางชีเหล้า เพี้ยนมาจาก บางเจ๊ะหล้า (บาง = คลอง, ชีเหล้า เพ้ียนมาจาก เจ๊ะหล้า หรือ พ่ี ชื่อหล้า) ชุมชน บริเวณน้ีเกิดจากการต้ังถิ่นฐานของชาวมุสลิมบริเวณใกล้ริมคลอง และบ้านมี หมอยาที่เป็นที่รู้จักในนาม โต๊ะจีน แต่ไม่ทราบช่ือเดิม ที่เรียกกันว่าโต๊ะจีนเนื่องจาก ท่านเป็นมุสลิมท่ีสามารถพูดจีนได้และมีเพ่ือนเป็นคนจีนมากจนใครๆ ต่างต้ัง สมญานามว่าโต๊ะจีน และมีน้องสาวเป็นหมอต�ำแยชื่อดัง ชื่อ สม้า ใครๆ ก็เรียก มะสม้า อาศัยอยู่บริเวณน้ี และผู้คนเรียกช่ือบริเวณนี้ว่าบางเจ๊ะหล้า (นายเกริกฤทธิ์ เชื้อชิต ผู้เล่า) อีกทางหนึ่งเล่าว่า สมัยก่อนมีสภาพเป็นพื้นท่ียางพาราเป็นส่วนใหญ่ และ ได้มีคนต่างถ่ินอพยพเข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยางจํานวนมาก ต่อมาได้ 45

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ เกิดโรคระบาดขึ้นในหมู่บ้าน ชาวบ้านเกิดล้มป่วยด้วยโรคดังกล่าว จึงได้มีผู้เฒ่า ผู้แก่ในหมู่บ้านบอกให้นําต้นผักชีดองกับเหล้าให้ผู้ป่วยกิน ปรากฏว่าผู้ป่วยหาย จากโรคจริงๆ จึงได้ถูกขนานนามว่า หมู่บ้าน “บ้านบางชีเหล้า” เป็นต้นมา บุคคลส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง ผู้ใหญ่หลาบ ผู้ใหญ่เหลบ ผู้ใหญ่เกชา ตระกูล เช้ือชิตเป็นผู้น�ำหมู่บ้านสืบทอดมาหลายรุ่น และต้นตระกูลเชื้อชิตเคยเป็นนายช่าง คุมงานสร้างถนนเทพกระษัตรี ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายเกริกฤทธิ์ เชื้อชิต อายุ ๖๗ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๙/๔ หมู่ท่ี ๒ ต�ำบล รัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต http://www.rasada.go.th/content/information.pdf ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 46

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านกู้กู สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด บ้านบางชีเหล้า หมู่ท่ี ๒ และบ้านลักกงษี หมู่ท่ี ๖ ทิศตะวันตก จด เทศบาลนครภูเก็ต ทิศตะวันออก จด แนวชายฝั่งทะเลภูเก็ต ทิศใต้ จด เทศบาลนครภูเก็ต บ้านเกาะสิเหร่ หมู่ที่ ๑ และบ้านท่าเรือใหม่ หมู่ที่ ๗ ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง บ้านกู้กูเกิดจากการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของชาวบ้านท่ีค่อนข้างล�ำบากยากจน ไม่เป็นที่แน่ชัดว่ากลุ่มใดเพราะตามต�ำนานเล่าขานมีสองความเห็นคือ หน่ึง เป็นทาส ท่ีได้รับการปลดปล่อยแต่ไม่มีท่ีอยู่จึงมาต้ังหลักแหล่งบริเวณนี้ กับความเห็นที่สอง คือ ชาวบ้านไพร่พลยากจนท่ีอพยพย้ายถ่ินฐานมาจากท่ีอ่ืน และพบว่าบริเวณหมู่บ้าน มีความอุดมสมบูรณ์ ท้ังภูเขา แหล่งน้�ำ ทะเล สามารถท�ำการเกษตร ปลูกผัก ยางพารา ท�ำนา ซึ่งนาผืนสุดท้ายปัจจุบันคือ ไร่วานิช นอกจากนี้มีการท�ำประมงชายฝั่งดักจับ สัตว์น้�ำ โดยใช้เครื่องมือที่ท�ำข้ึน เช่น ใช้นางหากุ้ง (นาง เป็นเครื่องมือในการจับกุ้ง ตามริมคลอง หนอง บึง ลักษณะคล้ายกระชอน) ใช้หยองจับปู และใช้ไซดักปลา ได้จ�ำนวนมาก ต่อมาก็มีการร่อนแร่ตามล�ำรางได้แร่ดีบุก จากความอุดมสมบูรณ์ของพื้นท่ี บริเวณน้ีจนมีการเปรียบเทียบว่าถ้าอยู่ที่กู้กูไม่ต้องซื้อกับข้าว เพียงหุงข้าวไว้แล้ว ออกไปหาอาหาร กลับมาข้าวสุกได้กินพร้อมข้าวพอดี นั้นหมายถึงบริเวณใกล้ๆ บ้าน ก็สามารถหาอาหารได้ง่ายไม่ล�ำบาก จนท�ำให้ผู้คนมีชีวิตท่ีดี จึงบอกว่าพื้นดินแห่งน้ี 47

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ คือแหล่งกู้กู (กู้ช่ือเสียง ฐานะให้มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น) และเรียกหมู่บ้านน้ีว่า “บ้านกู้กู” (นายจ�ำรัส ภูมิภูถาวร ผู้ให้ข้อมูล) ในครั้งหนึ่งท่ีชาวบ้านและคุณลุงจ�ำรัส ภูมิภูถาวร ครูภูมิปัญญาได้มีโอกาส ได้เข้าถวายงานต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระเทพฯ ณ สวนอัมพร ปรากฏว่าเมื่อ ข้ึนชื่อป้ายหมู่บ้านมีข้าราชการมาบอกว่าให้เอาลงเนื่องจากไม่สุภาพ แต่เม่ือพระองค์ เสด็จมาถึงได้ตรัสถามว่าเหตุใดจึงไม่มีป้ายชื่อ เมื่อสดับฟังก็ทรงตรัสด้วยพระเมตตา ว่า “ท่านก็กูเราก็กู” ยังความปล้ืมปีติอย่างหาท่ีสุดมิได้แก่ราษฎรบ้านกู้กู อีกต�ำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า ช่ือบ้านกู้กูมาจากเสียงนกร้อง เนื่องจาก ในอดีตบริเวณน้ีมีป่าปกคลุมเป็นที่อาศัยของเสือและนกรวมถึงสัตว์ต่างๆ และในเวลากลางคืนจะได้ยินเสียงนกฮูกร้อง ชาวบ้านจึงเรียกแถวนี้ว่าบ้านกู้กู (ข้อมูลจาก อาจารย์ฤดี ภูมิภูถาวร) สถานท่ีส�ำคัญ เช่น เขาโต๊ะแซะ ทุ่งสัตมัน มหาวิยาลัยราชภัฏภูเก็ต สุสานพระอร่าม โรงพยาบาล มิชชั่น วัดโฆษิตวิหาร บ้านโดราว บ้านท่าจีน บ้านคอกช้าง ศูนย์เรียนรู้เพ่ือการพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนต้นแบบ ธกส. บ้านกู้กู บุคคลส�ำคัญท่ีเก่ียวข้อง พ่อตาโต๊ะแซะ พระอร่ามสาครเขตร ก�ำนันบูด ก�ำนันกลั่น ผู้ใหญ่ประชุม ตาม่วง ไกรศาสตร์ แม่ข�ำ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายจ�ำรัส ภูมิภูถาวร อายุ ๗๖ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙/๙ หมู่ที่ ๓ ซอยแม่กล่ิน ถนนรัษฎานุสรณ์ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต นางสาวฤดี ภูมิภูถาวร ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙/๙ หมู่ที่ ๓ ซอยแม่กลิ่น ถนน รัษฎานุสรณ์ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 48

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : เขาโต๊ะแซะ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เขาโต๊ะแซะ เป็นยอดเขาสูงเป็นท่ีต้ังสถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์และวิทยุ หากขึ้นมาจากทางศาลจังหวัดภูเก็ต ตรงเชิงเขาทางด้านซ้ายมือ จะเห็นมีศาลเจ้าพ่อ โต๊ะแซะตั้งอยู่ ศาลเจ้าพ่อโต๊ะแซะ มีอยู่สองแห่งด้วยกัน คือ ท่ีถนนสุทัศน์กับบนยอดเขา โต๊ะแซะ ภายในศาลเจ้ามีรูปหล่อของโต๊ะแซะขาว โต๊ะแซะด�ำ และโต๊ะแซะแดง ซ่ึง เชื่อกันว่าท่านเป็นเจ้าท่ีท่ีชาวบ้านให้ความเคารพนับถือกันมาก บางคนที่เคร่งจริงๆ จะไม่รับประทานหมูทุกวันศุกร์ ท่ีศาลเจ้าพ่อโต๊ะแซะนี้ จะมีการจัดงานเซ่นไหว้ บวงสรวง เป็นประจ�ำในเดือนหกของทุกปี โดยในวันนั้นจะมีการประทับทรงและเซ่น ไหว้กัน ของเซ่นไหว้ ได้แก่ พริกแดง หมากพลู ยาเส้นใบจาก ดอกไม้ พวงมาลัย ข้าวเหนียวขาว และข้าวเหนียวเหลือง ส่วนข้อห้ามคือ ห้ามน�ำหมูเข้ามาในศาลเจ้า เด็ดขาด ประวัติความเป็นมาเล่าว่าบริเวณภูเขาแห่งนี้เป็นที่อยู่ของนักปราชญ์ ชาวมุสลิม ๓ ท่านซึ่งเป็นพี่น้องกันคือ โต๊ะแซะขาว โต๊ะแซะด�ำ และโต๊ะแซะแดง ตามล�ำดับ (ค�ำว่า โต๊ะ หมายถึง ผู้อาวุโส และ แซะ หมายถึง อาจารย์ นักปราชญ์ ผู้รู้) เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านอย่างมาก จนเมื่อท่านสิ้นชีวิตก็มีความเช่ือและ ยังนับถือมาถึงปัจจุบัน โดยมีการสร้างศาลแห่งแรกบริเวณเชิงเขา ถนนสุทัศน์ และ สร้างบนยอดเขาเป็นแห่งที่สอง บนยอดเขามีน้�ำตก เรียกกันว่า น�้ำตกบางวัน เน่ืองจากจะมีสภาพเป็นน้�ำตก เฉพาะช่วงท่ีมีฝนตก 49

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ จุดชมวิวเขาโต๊ะแซะ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น จุดชมวิวเขาโต๊ะแซะ ชื่อผู้ให้ข้อมูล www.phuketindex.com ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 50

อ�ำเภอเมือง l ต�ำบลรัษฎา ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : สุสานพระอร่าม สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พระอร่ามสาครเขตร (เพ็กฮวด ตัณฑัยย์) ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง หลุมฝังศพของอ�ำมาตย์ตรี พระอร่ามสาครเขตร ต้ังอยู่ริมถนนเทพ- กระษัตรี ต�ำบลรัษฎา ซุ้มประตูสร้างด้วยศิลปะแบบจีน สถูปอาคารเป็นทรงลังกา แบบสุโขทัย และตกแต่งภายในแบบยุโรปอย่างวิจิตรงดงาม พร้อมอนุสาวรีย์ พระอร่ามสาครเขตร และฝังสมบัติ เครื่องเพชร ทอง รัตนชาติไว้ ซ่ึงมีคุณค่า ทางศิลปะและประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น โรงพยาบาลมิชช่ัน สะพานพระอร่าม บ้านพระอร่ามสาครเขตร วัดป่าอร่าม รัตนาราม บุคคลส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้อง พระอร่ามสาครเขตร ต้นตระกูล ตัณฑัยย์ ช่ือผู้ให้ข้อมูล www.phuketcity.info/default.asp?content=contentdetail&id =17929 ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล สภาวัฒนธรรมต�ำบลรัษฎา วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 51


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook