Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสบื สาน รกั ษา พฒั นาต่อยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบดิ า จึงทรงพฒั นาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และ ผสู้ นใจทวั่ ประเทศ เพือ่ ให้ประเทศไทยเปน็ สังคมแหง่ ปญั ญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทียม ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ นี้ เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็ปไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนธิ ิ และมีคมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้รายชวั่ โมงครบทง้ั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ซึ่ง ครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน วฒั นธรรมและบริบทของแต่ละโรงเรยี น การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารเพื่อส่งเสริมการเรียน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เกิด ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสและ โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดเล็กตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคอื ความมน่ั คงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ข บทนำ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไม่ครบชั้น โดยจัดการเรียนการสอนของครูห้องเรียนต้นทางจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปยังห้องเรียนปลายทางในโรงเรียนพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่สูง ชายแดน เกาะแก่งและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ การลดความเหลือ่ มลำ้ ในการจัดการศกึ ษาให้ทัว่ ถึง เทา่ เทียมและมคี ุณภาพ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประกอบด้วยเอกสาร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพ ๘) ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดับชั้นมีเอกสารรวม ๘ เล่ม แต่ละเล่มมีรายละเอียด คำชี้แจงการจัดกระบวน การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ/ใบงาน/แบบฝึก แบบประเมิน ที่ตรงกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนร้แู กนกลาง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของแตล่ ะสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) เป็นการทำงาน ร่วมกันของหลายหน่วยงาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา คณาจารย์ จากมหาวิทยาลัย คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้มีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื เยาวชนไทยทงั้ ประเทศ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังว่าคู่มือครูและแผนการจัด การเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนขนาดเล็กและขยายโอกาสในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพือ่ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนให้สงู ข้นึ ตอ่ ไป

สารบญั ฃ สารบญั (ต่อ) หนา้ ปกรอง กหนา้ คำนำ สารบญั กขหฃนกขา คำนำ สบาทรนจำากประธานกรรมการมูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียมฯ กกกกฃ -ฅฅ คสาํ รนบาํ ญั ฃฆ -ชง คําำชแี้ จงการรับชมรายการสอนออกอากาศ คโคมคมคคาําํำำาารอชชอตตงธแ้ี้ีแธรรสบิฐฐิบจจราางงาาา นนรรยยงาากกรรรยยาาาาาววยยยรรชิชิเเวววรราาิชชิิชียยี ภวาาานนิทภวาภรรษิทยาาู/ู้/าษาษยตตศไาาาัวัวทาศไไชชยทสทาวี้ี้วตยสยัดัดรรตหรรร์ รัสหหห์รัสสัหัสทัส2ททว322ว213332011131000111ช10้ันชชช1ั้นม้นันั้ชัธมัน้มมยัธธััธมมยยยธั ศมมมยึกศศศมษกึึกึกศษษษาึกปษาาาปปทปาปทีท่ีท3ที่ีี่่ี 333ภี่ 3ภภาภคภาาาเคคคารเเเคยีรรรเนียียยีรนทนนียทน่ีทท1ที่ี่่ี 111ี่ 1 ฃฃจ -๑ฉ หโคนรวงยสกรา้างรรเารยียวนชิ ราทู ว่ี ทิ๑ยเารศ่ือางสตจรับร์ ใหจสัจับวต2า3ห1า0ค1วชานั้ มมสัธาํ ยคมัญศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ซญฃฃ ๓ช -๔ฌ -๖ถ ฃ ๑๖๑ หนว่ -ยกาแรผเรนยี กนาร้ทูจดั่ี 1กาชร่อื เรหยี นน่วรยูที่แ๑รงแเรล่ือะงกกาารรเคอลาน่อื นออทกี่ เสียงบทรอยแกว ๑ ๒๑๖ -แผนแกผานรกจาัดรกจาดัรกเราียรนเรยีทู้ นี่ 1รูทเร่ีือ๒งกเาร่อืศงึกษกาครวอา มนเอร็วอใกนเกสายี รงตบกทขรอองยวัตกถรุอง ๕ ๓๑๑๖ - แแแแผผผผนนนนแแแแแกกกกผผผผผาาาานนนนนรรรรจกกกกกจจจดัาาาาาัดัดัดกรรรรรกกกาจจจจจาาารดัดัดัดัดัรรรเรกกกกกเเเรรรยี าาาาายียยีีนรรรรรนนนรเเเเเรรรรรรรรทู้ ียีียยยีียูู้ท้ทู้ท่ี 4นนนนน่ีี่่ี 523เรรรรรรูููููทททททเเเ่อื รรร่ีีี่ีี่่่งอ่ือ่ื่ือ๖๔๓๗๕กงงงากกแรรเเเเเาาศรรรรรงรรึกื่่ืื่อื่่ืออออกหคษงงงงงริำาาิยนคพกพพพคาววาวรรรรแณาราะะะะลมมทหออออะเเรอาภภภภรแว็ค็วงรยัยัยยัั เใจวงฉนมมมมปาําลกณณณณมบฏ่ียาเทตีีตีีตติกรรตออออริง่อกยินนนนาขาขพพพพอยรรรรงาะะะะวนัตออออถภภภภุ ััััยยยยกมมมมาณณณณรเคีหีหหหีี ลนนนนอื่ ีีนนีนนี นาาาาทงงงงี่แผผผผบีเีเเีเี สสสสบอื้ออ้ื้ือ้ืโพสสสสรมมมมเจุุุุททททกรรรรไท๔๓๒๑ล์ ๔๒๑๗ - ๘ ๔๓๖๒ - ๑๒ ๕๓๒๘ - ๑๖ ๕๔๗๓ - ๒๐ ๖๔๒๘ -แผนแกผานรกจาัดรกจาัดรกเราียรนเรยีู้ทนี่ 6รูทเร่ีอื ๘งแรเรงอื่พงยงุการวิจารณความสมเหตุสมผลและประเมินความถูกตอง ๒๓ ๖๕๖๒ แผนขกอางรเจรดั่ือกงาทรี่อเรา่ ียนนรู้ที่ 7 เร่ืองกาขรอคงำเนรอื่วณงทแี่อรางนพยุง - แแแผผผนนนแแแแกกกผผผผาาานนนนรรรกกกกจจจาาาาัดดัดั รรรรกกกจจจจาาาัดัดดััดรรรกกกกเเเรรราาาาียียียรรรรนนนเเเเรรรรรรรยียีียยีทู้ทู้้ทู นนนนี่่ี่ี 918รรรร0ููููททททเเรรเ่ีี่ี่ี่ื่อื่อร๙๑๑๑ือ่งง๒๐๑ทแงโรเิศมรงเเเทื่อเเรรรสมางื่อื่อือ่ ียนงงงงรดขตะทกรกอข์ ดะาาางอบัดนแรรงเเภแับรขขงราภยีียเงษสานนาษียคคดา๑ําําทขข๒าววนญััญใน๒๑ชีวิตประจำวัน ๒๖ ๗๕๒๘ - ๗๖๗๓ - ๒๙ ๘๖๓๙ - ๓๔ ๘๗๘๔ ๓๘ หนวยแกผานรกเรารียจนัดรกทู าี่ ร๒เรียเรนอ่ื รงทู้ ่ีพ1ิถ1ีพเรถิ ่อื ันงสการรา คงำสนรวรณคคหวาคามา่ โคมิดเมนต์ ๔๑ ๙๗๑๗ หน่ว-ยกาแรผเรนยี กนารู้ทจัดี่ 2กาชรื่อเรหียนนว่ รยูท่ีง๑านแเรลอ่ื ะงพคลํางั ทง่ีมาีคนวามหมายโดยตรงและโดยนัย ๔๕ ๙๘๔๐ -แผนแกผานรกจาดั รกจาัดรกเราียรนเรียู้ทนี่ 1ร2ูทเ่ี ร๒ือ่ งเงราอ่ื นงแใลจะคพวลาังมงสาาํนคัญและขอมูลสนับสนุนเรือ่ งที่อาน ๔๘๑๘๐๗๑ -แผนแกผานรกจาดั รกจาัดรกเรายี รนเรรียทู้ น่ี 1ร3ูทเี่ ร๓อ่ื งเกร่อืำลงังคณุ คาวรรณกรรม ๕๖๑๙๑๘๒ หน่ว----ยแแกผผานนรแแแแกกเผผผผราานนนนียรรนกกกกจจาาาารดััดรรรร้ทูกกจจจจ่ีาา3ดััดดัดัรรกกกกเเชรราาาาียียื่อรรรรนนหเเเเรรรรรรนยีียยีียู้ท้ทู ่วนนนน่ีี่ ย11รรรร54ููููททททพเเ่ีี่่ีี่ลรร๖๕๔๗ังอือ่่ื งงงาเเเเพกรรรรนื่่ืออื่อื่อฎลไฟงงงงกงั งาฟกกกการาาาา้านอรรรรกนเเแเลขขขุรสกัียยียี ดษนนนงพ์รยเคคาอลวายังคาโงงมควาาาครนนมงิดโโคเคหรรน็งงงงาานน/มารยาทในการเขยี น ๖๖๕๖๙๓๑๑๑๑๑๑๑๑๐๒๒๓๓๔๔๒๕๘๐๘๙๔๒๒ -แผนแกผานรกจาดั รกจาดัรกเรายี รนเรยีทู้ นี่ 1ร6ูทเี่ ร๘อื่ งเกรือ่ารงตห่อลเคักรสอื่ ังงเใกชตไ้ ฟคฟาํ บา้ เาขลา้ ีในภวงาจษราไไฟทฟยา้ ๖๙๑๑๔๕๓๗ -แผนแกผานรกจาัดรกจาัดรกเรายี รนเรียู้ทน่ี 1ร7ูทเี่ ร๙ือ่ งเพรื่อลงั งหานลไกั ฟสฟังเ้ากในตวคงําจสรันไฟสฟกฤา้ ตในภาษาไทย ๗๓๑๑๕๖๖๑ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑๐ เร่ือง คาํ ไทยแทและคําทีม่ าจากภาษาเขมร ภาษาจีน ๑๑๖๗๕๐ ภาษาองั กฤษ และภาษาอนื่ ๆ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑๑ เร่อื ง บทละครพดู เร่ืองเหน็ แกลูก ๑๑๖๗๕๙ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑2 เร่ือง ขอคิดจากบทละครพูดเรอื่ งเหน็ แกลูก ๑๑๖๘๘๒

ค สารบัญ (ต่อ) หนา้ สารบญั (ตอ) ๑๑๘๗๘๔ ๑๑๙๗๑๗ หนวยการเรยี นรูที่ ๓ เรอ่ื ง พนิ ิจคุณคา วรรณคดี ๒๑๐๘๐๖ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑ เร่อื ง การอานจับใจความสาํ คัญ ๒๑๐๙๘๔ - แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ เรอ่ื ง การอา นเพื่อวิเคราะหวิจารณ ๒๒๑๐๘๔ - แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๓ เรอ่ื ง การอา นวิจารณและแสดงความคดิ เหน็ จากการอา นบทความ ๒๒๑๘๔ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๔ เรอ่ื ง การวิเคราะห วจิ ารณ การใชภาษาของส่ือสิง่ พิมพ ๒๓๒๗๓ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ๒๔๒๑๗ - แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๕ เรื่อง การวิเคราะห วิจารณ เขียนแสดงความคิดเหน็ โตแยง เกี่ยวกับ ๒๔๓๕๑ เรอ่ื งท่ีอา น ๒๕๓๐๖ - แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรอ่ื ง หลกั การพูดโนมนาวใจ ๒๕๔๕๑ - แผนการจดั การเรียนรูที่ ๗ เรื่อง ปฏบิ ตั กิ ารพดู โนมนา วใจ ๒๒๖๕๕๑ - แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๘ เรื่อง การพดู ในโอกาสตา งๆ : การโตวาที ๒๒๗๖๕๑ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๙ เรอ่ื ง การพดู ในโอกาสตา งๆ : การโตว าที ๒๒๙๗๐๖ - แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑๐ เรอื่ ง การวิเคราะหคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรม ๒๙๘๙๕ - แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑๑ เรื่อง การวเิ คราะหคุณคาจากบทเพลงและบทรอยกรอง ๓๒๐๘๒๘ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑๒ เรอ่ื ง อานสรุป เนื้อหา ความรูและขอคิดอศิ รญาณภาษติ ๓๑๐๕๑ - แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๓ เรอื่ ง การวิเคราะหคุณคา วรรณคดี เรอ่ื ง อิศรญาณภาษติ ๓๒๑๔๐ ๓๓๑๐๖ หนว ยการเรียนรูท่ี ๔ เร่อื ง พฒั นาพาที ๓๓๒๘๔ - แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑ เร่ือง ใจความสาํ คญั น้นั สําคญั ไฉน ๓๔๒๑๗ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๒ เรื่อง การเขียนแสดงความคดิ เห็น ๓๓๕๓๓๙ - แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เร่อื ง ปฏิบัตกิ ารพูดแสดงความคิดเหน็ ๓๓๖๔๓๙ - แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๔ เรอ่ื ง การพูดอภิปราย ๓๓๗๕๐๖ - แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรือ่ ง ปฏิบัติการพดู อภิปราย ๓๓๘๖๒๘ - แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๖ เรื่อง ประโยคไทยใชใ หถูก ๓๓๓๙๙๘๗๗๓๓๙ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๗ เรอ่ื ง การสรา งประโยคซบั ซอน ๔๓๐๘๑๗ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๘ เรอ่ื ง เขียนประโยคซับซอน ๔๔๑๐๘๔ - แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๙ เรอ่ื ง พินิจวรรณกรรม ๔๔๒๑๘๔ - แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑๐ เรอื่ ง นําเสนอคุณคา ๔๔๓๒๖๒ - แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๑ เรื่อง นําไปปรับใชในชีวิตจรงิ ๔๔๔๓๔๐ หนวยการเรยี นรูท่ี ๕ เร่ือง บทกวีท่ีชน่ื ชอบ - แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑ เรอ่ื ง การอานจบั ใจความวรรณกรรมทองถ่ิน - แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ เรอ่ื ง การวิเคราะหและวิจารณวรรณกรรมทองถน่ิ - แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๓ เรอ่ื ง การอานตคี วามบทกวี - แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๔ เรอื่ ง การสรปุ ความรูขอคิดจากบทประพนั ธ - แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๕ เร่อื ง การเขียนวิเคราะห วิจารณ แสดงความรู ความคดิ เห็น หรือโตแยงจากบทประพนั ธ

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 18 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า ๗๗ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 19 เรอ่ื ง เรอื่ งความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ความตา่ งศักย์กับกระแสไฟฟา้ ๘๐ ฅ ๘๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 20 เรื่อง กฎของโอหม์ ๘๖ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 21 เรื่อง การตอ่ เคร่อื งสใาชร้ไฟบฟัญ้าใ(นตบ่อา้ )น ๘๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 เรื่อง ขนาดความยสาวาแรลบะัญชน(ตดิ อข)องลวดตัวนำกบั ความตา่ งศกั ย์ ๙ห๓หนน้าา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 23 เรอ่ื ง ประโยชน์ของฉนวนหุ้มสายไฟฟา้ ๑๑๐๐๙๙๔๔๔๔๔๑๔๕๘๕๗๕๕๖๕๓๔๕๔๘๑๐๕๔๗๐๔๑๖ -----แแแแผผผผนนนนแแแแแกกกกผผผผผาาาารรรรนนนนนจจจจกกกกกัดดัััดดาาาาากกกกรรรรราาาาจจจจจรรรรัดดดััดััดเเเเรรรรกกกกกยียียีียาาาาานนนนรรรรรรรรรเเเเเรรรรร้้ททููู้้ททู ียียียยีีย่ีี่่ีี่ 2222นนนนน4576รรรรรูููููทททททเเเเรรรรีี่ี่่่ี่ี ออ่ืื่ื่อ่ือ๘๖๗๙๑งงงง๐หกพตเเเเรรรราวันลเ่ออื่ืื่อื่อรตรังา้ นงงงงา้งื่อทานำงี่ตกกกกนตทวัาาาากัวไาตรรรรฟเานกแฝแฝ้ารฟแน็บตตกกฝ้าปทปองงอกแโโราาารอลคคคนนนะะาลล่าจคคนกไงงมุ ิิดดดำคสสาล้ววิด่สสี่ีใังเิิเชวุุภภคคไง้ฟเิาารรคาพพฟาานระะ้าาหหะเเหขขเ ียียขนนียเเนพพเิม่่ิมพเเิม่ ตตเิมิมตมิ ๑๐๔๗๗๖๖๒ -แผนแกผารนจกัดากราจรัดเรกยี านรรเรู้ทีย่ี 2น8รูทเรี่ อ่ื๑ง๑สนเกุร่อืกงับไปดรโอะดมวลผลรวบยอด : ระบสุ ิง่ ท่ีชอบ-ไมชอบ ๑๑๔๐๗๖๙๕ -แผนแกผารนจกดั ากราจรัดเรกียานรรเรทู้ ยี ่ี 2น9รูทเร่ี ื่อ๑ง๒ทรเารน่อื ซงิสปเตรอะรม์ วทลำผหลนรา้ วทบเี่ ปย็นอสดว:ิตนช์าํ เสนอผลงาน ๑๑๔๓๖๘๘๒ บภคบรําารรสคณรั่งณ321เมกคคคคเารพค...ลณณณณูลนียาณือ่ ุม่นนนกุะะะะกค(ค((คสะธิรคคคตจจปกุทาาํําาํกกิามดดััณณณรรร่ีรสสสรรา1วมบัคทเะ่งัั่ง่งัะะระรรจู่มปมมำสปกมศกททยี ปคือาํูลูลราึกกกรนําาํ รนมูุ่งครนนรงงาษาก๊ฟูคเอืักมาารรริธธิาราแู่มนนแูจศคงกิกิกรยีทาลอืลัดขึรกาาาสนาทนะแูคะรรรทอษองร้งัคจตศศแลรงไํานาู้วภกดัณูแอรึึกกผะค8ิททา2วลทลนแษษนมูะษยาจ5กผะผำุกกาาือกงาต6ลแ่ารนททราไคศรไ2นนปูมุกผรรทกาารรามสฉดลจเนงงมแูาสยลไไบัดาผากรกกลตกกม่รวภจกา่าบัาาะรลลคะเนรดัาราร์แคทผผก่มูดภครจดกกผูมยีาาาเือาดัเาาาานรือมรนนรนคครวรกยียีเกคดดศเเวเรราในรทนราราาิชูนกึยีรยียีรรแูทียววเานษพแจู้นรนลเเมก่ีกลรททายีรดั๑ระทาลู)ขะะนียยี(ู้รกแรี่Dุม่นั้แบะ1มมรา)ผLสผดพรรู้ฯฯนกTามนเบั้ืนกรลรVรกมฐยีาะุ่ม)าาาธัรนกชสรนยจราูปจามดัรูรรัดถะศกเะกรมั ดาึกกยีาภรับษารนเ์มรารเรรเตยีัธ้วูภรียยอนทิยีานมนรนษยรู้ศตารู ึกแ้นศูว้ภไทษทิตาาสยลาษยตตะาภศอรกไาท์านลภคสยมุตาเตรสนคภรียาเา์นรรภคะยีทาเกนรี่ค๑ายีทเรรนี่ เ1ียทรนีย่ี ๑ทน่ีร1ู) ๑๑๔๔๖๙ ๑๑๔๔๖๙ ๑๑๔๕๗๐ ๑๑๔๗๗๑

ฆ การรับชมรายการ การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ใหบ้ รกิ ารการจดั การเรยี นการสอน จากสถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทัง้ รายการสด (Live) และรายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรับชมผ่าน www.dltv.ac.th Application on mobile DLTV - Android เข้าที่ Play Store/Google Play พมิ พ์คำว่า DLTV - iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คำวา่ DLTV การเรยี กหมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ๑๕ ชอ่ งรายการ เวลาเรยี น / นอกเวลาเรยี น DLTV ๑ (ชอ่ ง ๑๘๖) รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ / สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV ๒ (ช่อง ๑๘๗) รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ / ความรรู้ อบตวั DLTV ๓ (ชอ่ ง ๑๘๘) รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ / วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV ๔ (ช่อง ๑๘๙) รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ / ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม DLTV ๕ (ช่อง ๑๙๐) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ / ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ (ช่อง ๑๙๑) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ / หนา้ ท่พี ลเมอื ง DLTV ๗ (ช่อง ๑๙๒) รายการสอนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV ๘ (ชอ่ ง ๑๙๓) รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ / ภาษาตา่ งประเทศ DLTV ๙ (ช่อง ๑๙๔) รายการสอนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ / การเกษตร DLTV ๑๐ (ชอ่ ง ๑๙๕) รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๑ / รายการสําหรับเดก็ -การเลยี้ งดูลูก DLTV ๑๑ (ช่อง ๑๙๖) รายการสอนช้นั อนบุ าลปีท่ี ๒ / สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ (ช่อง ๑๙๗) รายการสอนชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ / รายการสำหรับผูส้ งู วยั DLTV ๑๓ (ชอ่ ง ๑๙๘) รายการของการอาชีพวงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ (ช่อง ๑๙๙) รายการของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ (ช่อง ๒๐๐) รายการพัฒนาวชิ าชีพครู

ง การตดิ ตอ่ รับขอ้ มลู ขา่ วสาร ๑1. มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตปอ้ มปราบศัตรพู า่ ย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒2. สถานีวิทยโุ ทรทศั นก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ซอยหวั หนิ ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหวั หิน อำเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ - ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ตดิ ตอ่ เรื่องเว็บไซต์) dltv@dltv,ac.th (ตดิ ต่อเรือ่ งทว่ั ไป) 3๓.. โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อำเภอหวั หิน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔4. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : ครูตู้ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

1๑ จ 1 กล่มุ สกาลรุ่มะสกคาารำระชเรกแี้ ยี าจนรงรเรู้ภยี านษราู้ ไทย คาชีแ้ จงในกาปรนระากแอผบนกกปาารรรใจะชกดั ้แอกผบานรกกเารารยี รในจชรัดแ้ ู้ไกผปานใรชกเ้รายีรจนัดรกูก้ าลรุม่ เสรียารนะรกู้ภาารษเรายีไทนยรู้ภาษาไทย ใกทใลขขเหงคเเกวทใขเกหวเเกคลขแบปบนนปบนนาัสอ่วาาัวสอ2้ออบว่าาวอ้อ2งน็นรื้อก็นรรืรกง้ดาอรรางงาดงงง3บง3งนนหสสนมาธหโหกสสมาธโุเกหอแเุแอ1แฝร1รรรยรรออรยนรสออน1สาาุปต๑าา02แุปตงบ๒ียกึงจรีย345จิมร0๓๔๕นนิมะในน้าระใบา้เ.1ร่กเล.่มนก.ลดับหหมน.ัดรเ...ห6รกดเใ1๖กนด...ใบคนครคะคเชรมยีกนสะเมฝัดชยีกนสรแกมกอ่วม.ต่อแกวกฝ.ตณารลณ55รแลาำน5าขีะแะ๕๕๕ากึนแรีขาะกหาแ่านกกึกรนห่าผูากรแใูื่อผตรเแอ่ืตะอรอ้ผด..์ผผหอรเ.้อรใ์ผ..ยี.บรใลนรา13ยีชู้ส2นาลมเแช๒๓๑ผู้มนสินเแหดนนิาหชจผันดบนาชนรัดจนรมดร่รงมก่านอ่ำงลมุ่นอุมดลนไ่าับัดก้ดี้แียไา่ว้ก้ีแาขขยีกน5ชเัวดขไก55ขำขิจเไ๕๕๕หขนใหะอศนรใศะอสโ55ปโดัับจนรส๕๕ชสเกปัดับจบ้ั้ันนาัน้ทนเน้ัสา้ัน.กนั้มบกท..มัดว้ีนคง..ดยนย.กึว2งนียึกอ่ืคย22งแรัน้อ่ืใ๒๒..งผกภก๒แร..าใผกภสมสนบ่ราสีคร22สกา่ีาคบ๒๒รนวู่ชใยิยษนนใู่ชจษนวิจ.ลิจน้เูา..ลมรู้เา..รายรา่น.อ3รรัวธรยาน่าอว12จิราทรรวว..๑๒้รเกรเทร..ดั๓้ารำกัดะรา43พรมะ่มจงัธกุ๕๔ม่ตปปุัสงพยตนตาศกยีตัสกนาจกยีู้ศรควสกคูปก้สวกาปยเักใรดมาเศใ่รแดอมมรใศนึากเรรด่อรแเนานึกัปสใอน้หตดใใาน้นชาเอรใใาืน่รเมชเปตามร่ืนรเรเกึีวุอกกรยีหรศเกึษปยหชอุวกปปหชรษรปยนค็ปรจคนะรก้ย้นปคกคะผจ้กศนรม็ดนนษุปาษดมึ้สกสาเมุปา้้า็น้นส้าผเน็็ปน้ีนยัเ็นาวดวปร็นเวีู้ยรรขัว็ดเึนกาารรลมรำงขรรแอื่ามกษลาอื่ไไกแขกัูร้าะ้ามขเสกัรยีะา้ขขการแ้ัียมร้านนษรผกแรนจ้อววินเรจลัวร้ิน้ีใอนวยมรลาน้ัะบเใั้นงรบเมนแะะั้ัน้นผนาระเแลผนราาา้ทา้ีณกัสนรกยาำมะผผสัณปมกผ้าะนรทตรกวเทหีรรวรเนทยียมกตปรรงหนกียมหลด่ที่บนอ่หเลงดอบู้ทเลอีทน์ู้ีอูอนเ้ศเีา์ยู่้ี่ใเเนลตโกนาใ่ีองดนีทผกลโาทอุซอ้รดทาอุียนซอ้ศตรนหใบียำนดหกในีบา่ึกดใกม่นงาไใรมินลมีบาไ่งยี่ครุปง่ึบง1ีจ่ีบิปุึง่ยมนคงช่ีจึรบลกผ้เดลาชยชเผ้1าดเรยียษีกรเปเู้กีงสปรทเวนคะทรสชกคีนะวยร้ทกร่รู้เรวษจล้้จิน้่รู้เวจล้-าจทรามตาารีียมรูายใิ้นตวรมรก่ี้ยีารเใรีใ่ียีวยก-มรยีรงดััีงน่ดงเดังรงชาัาดครมยีะ3ี่ชหใคกคงยีะางมรนีณปู้กคางลีณปนมนหลู้าหนม3ควกหคบวชกยา้ปเคนกบมยเป้กเนแม้นาววคเแุ่มร้ยานพมุ่ือัด้านขกร์ปพอืาดันวนขนิ้์ปาว้นวรอรเรรไอรหรตยาาู้รทยไหกัตรกเยู้รหหปทา้แลรลารปแดร้้าาลระิาดู้งูรช้ผรรบระาัู้กมมรบงู่นอ้ผเวเ่่ีงอ้ใลจนีรหยเมละงหใรฏุ่มาีมลย่จ้เกะอฏงะรีรยยเ้อกะู้หจสราดหเพอืรดงจรูิิเ้ะมุ่งสรือชนนิเกะนพียะรยีกะานสิบดอรยียดาบินทอยกแคภโู้ทอ้ยีอ้วแคดก้อว้ียใรสอปโีอกยหคปานมในังูอกา้มบดังรน่ัตมาบลยหัต่อมศ่อนคางลยนอ้่อศนา้งวหอาสรนบรภสรนารบร้ไาราองสิ้เใรสวะงนิเมใาใ้ะรรนมงษยรนใครดมระือะ้แศนอืนขะรอืแู้ไศนกขคนไหู้ไมกมานงยหดมงู้เดะพน้เูสพปัียตกนเกส้วปีดยลเาเานในั้สโลเขักแ้นัาในงว้แษาออ้มคขตนรอก้ม้คนอรคนานนนิวเในรรนิวานไำะ้สารในะือ้ผนรอเรนผ้ือยีงรนิยวอยีชงนาตแินวาเยชตรทรปุจแรเนจหใทนหนจใรจเนหเตทาีงยนนตหราำน้าหงผงผรไีปเย้เหผออรัผดดัอเุปย้ัดาอนเัผำ้ดอเรมอ2เกาอนงอผมนทกป2ีาเลีนน็พข้นนลภรขนพง้นเกภกเแกปีงยใาเู้แเารงกราใงสราูรไ้สเา็นกยีต้นัรยปกกห่าัน้ไร่อืิปจิเกนหว่าวื่อปิาหจิเซ์นรรู้หดน็์รูา้นคซร้นดนนารอหคีเยาาสภเอ็คกใัมสรนัานภจนรใกีมยัจรลก้ปรรเลตีปยรรัหอีกร้ยเรรอหยเรวัอรนขเยารสอา่ัดรารคดัาู้เข่ภนง่ถปจง่็น้นูนหรจจค็นผู้ภโนถาเ้จผู่ยโรรย้เเน้เยาูู่รคนเยกวเกก้วาดมดัีาากดย็นัดพดัพมมตรใลมอตราัใดีลยาัไใมนสิในอาชไาษมาดิหยกีมยีหิดยหนปกยีตกมน้คขีมษงื่ขหน้กกงอืยปน่กอรอมรวอยาปาานา้ปุเมน้าาาน้นั้มิด้ศรเุมนั้าาาเใเ้าเมเศรเอกิครนกอใไเชรนรรรรปลรู้ตรหรไรปรรีึสกตครสลูทท้หึีกื้เอคหียิเทดหเะืต้ยีตู้อเาะเู้ตว่น่ารเต็นร้รษ่าคร็รว่นนรรยษ้รตน2วคโ้อนรยา่โบต้างอยีา่ปุยีงยีุปาเยีายียกายีายเกาท่งวอรกาำงม1งรน่งอยมนกนไมนชแคนๆไนาๆๆชมเแู้ๆคบาแดเแู้กปมด2กอร1กปรกมรรรพนก้รนนรนรกลพ้นนลงัยา1ดู้งัใียดรใดู้าู้ใใใีย0รใเู้า์สเนรครา์สะะชนนรนะนช1อรคระังตะนรนตังะนร1้้รอูงอทเพงูว้ีน้ในท้้0้ีหออ้ใพนแหนดวบรสแชจบรสสนจสนง้าม่ีไ1ัี้ฒ้ไ่ีางาตมี้อี้ย้อัอตำฒ่นีัวดยุดทอเัวดดุดกดกเเกพ่ลงกมงนน่ลเบชมพนตนนเร้บทเตา2้รนาเก่เชอเชะป่ลอะคป่ะนกรอ่รรคะรารกอ่ลรา22่านแน่นแีย็งบนจรนียกจบผวา็รนผวงากร2ผ1กผกยนัดดัรนยาไุาู้เกรผาทุไู้เหกาผห1รนกวรนวาาขารมกกาข0มาู้รอำิ้จูยีอ้อ้ม้ใ0อยีมกิ้ใรจไรเก้ัไนาราเพั้ในพน1นารวกนง1วนทำรีทงาเีกทบรราเตียน้สกแรรตสรแร้กีนรยศเศเ่ีเารี่งเแแดี้รยออดนรผอ่กมร้อีอผกวมย่อนใใาวรใยีลังียลมังหนน็นบบนมุรดยนห็บนนนนมุมดยรนนนนะู้ะู้้้ ี้ี้

๒ ฉ2 6.1 ทาการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ บันทึกผลการ เรียนรแู้ ล้วเทียบกบั เกณฑ์การประเมินผล 6.2 ตรวจประเมินผลงาน (ใบงาน แบบฝึกหัด ใบกิจกรรม สร้างผลงานช้ินงานหรือ โครงงาน) เทียบกบั เกณฑท์ ี่กาหนด แลว้ วิเคราะห์วา่ ควรสง่ เสรมิ หรอื อธบิ ายเพ่ิมเตมิ อย่างไร 6.3 สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน จากการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลเทียบกับเกณฑ์ ทก่ี าหนด

3ช คาอธิบายรายวชิ าภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ 1 รหัสวิชำ ท 23101 เวลำ 60 ชว่ั โมง ศึกษำวิธีกำรอ่ำน กำรเขียน กำรฟัง กำรดู และกำรพูด กำรวิเครำะห์ วิจำรณ์ ตีควำม และประเมินค่ำ วรรณคดีและวรรณกรรมโดยศึกษำเก่ียวกับกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรอง กำรอ่ำนจับใจควำม กำรอ่ำนตำมควำมสนใจ ระบุควำมแตกต่ำงของคำที่มีควำมหมำยโดยตรง และควำมหมำยโดยนัย เขียนกรอบ แนวคิด ผังควำมคิด บันทึก ย่อควำม รำยงำนจำกเร่ืองท่ีอ่ำน กำรเขียนข้อควำมตำมสถำนกำรณ์และโอกำส ต่ำง ๆ เขียนย่อควำม เขียนรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำและโครงงำน เขียนอธิบำย ช้ีแจง แสดงควำมคิดเห็น เขียนวิเครำะห์วิจำรณ์ แสดงควำมรู้ควำมคิดเห็นหรือโต้แย้ง พูดแสดงควำมคิดเห็นและกำรประเมินเร่ือง จำกกำรฟังกำรดู พูดวิเครำะห์วจิ ำรณ์จำกเรื่องท่ีฟังและดู พดู ในโอกำสต่ำง ๆ พูดโน้มน้ำว และศึกษำเก่ียวกับ คำภำษำต่ำงประเทศทใี่ ช้ในภำษำไทย โครงสรำ้ งประโยคซับซ้อน ระดบั ภำษำ กำรแต่งบทร้อยกรอง วิเครำะห์วิถีไทย ประเมินค่ำ ควำมรู้และข้อคิดจำกวรรณคดี วรรณกรรม ท่องจำบทอำขยำนท่ีกำหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่ำตำมควำมสนใจ และสรุปเน้ือหำวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่ิน ในระดับทยี่ ำกย่ิงขึ้น โดยใช้กระบวนกำรอ่ำนเพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหำในกำรดำเนินชีวิต กระบวนกำรเขียนเพ่ือกำรส่ือสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ กระบวนกำรฟัง กำรดู และกำรพูด สำมำรถเลือกฟัง และดู และพูดแสดงควำมรู้ควำมคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณและสร้ำงสรรค์ เพื่อให้เข้ำใจธรรมชำติภำษำ และหลักภำษำไทย กำรเปล่ียนแปลงของภำษำ พลังภำษำ ภูมิปัญญำทำงภำษำ วิเครำะห์วิจำรณ์วรรณคดี และวรรณกรรมอย่ำงเห็นคุณค่ำนำมำประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง รักษำภำษำไทยไว้เป็นสมบัติของชำติ และมีนิสัย รักกำรอ่ำน กำรเขยี น มมี ำรยำทในกำรอ่ำน กำรเขียน กำรฟัง กำรดู และกำรพดู ตัวช้ีวัด ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/2 ม.3/4 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/9 ม.3/10 ท 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/6 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวม 28 ตวั ชวี้ ัด

๔ ซ4 มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด รหสั วชิ ำ ท23101 รำยวิชำ ภำษำไทย ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 256๒ รวมเวลำ 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ สาระท่ี 1 : การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนกำรอ่ำนสร้ำงควำมรูแ้ ละควำมคิดเพื่อนำไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปญั หำใน กำรดำเนินชวี ติ และมนี สิ ยั รักกำรอ่ำน ตวั ชว้ี ัด : 1. อำ่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ตอ้ งและเหมำะสมกบั เรื่องทีอ่ ำ่ น 2. ระบคุ วำมแตกต่ำงของคำที่มีควำมหมำยโดยตรง และควำมหมำยโดยนัย 3. ระบุใจควำมสำคญั และรำยละเอียดของขอ้ มูลทีส่ นับสนนุ จำกเรอื่ งที่อ่ำน 4. อำ่ นเร่อื งต่ำง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคดิ ผังควำมคิด บนั ทึก ย่อควำมและรำยงำน 5. วเิ ครำะห์ วจิ ำรณ์ และประเมนิ เร่อื งที่อ่ำนโดยใชก้ ลวิธกี ำรเปรยี บเทยี บเพื่อให้ผูอ้ ่ำน เข้ำใจไดด้ ีขึน้ 7. วจิ ำรณค์ วำมสมเหตสุ มผลกำรลำดับควำม และควำมเป็นไปได้ของเรอื่ ง 8. วเิ ครำะหเ์ พ่ือแสดงควำมคิดเหน็ โตแ้ ย้งเก่ยี วกบั เรือ่ งทอี่ ่ำน 9. ตคี วำมและประเมินคุณค่ำและแนวคิดทไี่ ด้จำกงำนเขยี นอย่ำงหลำกหลำยเพ่อื นำไปใช้แก้ปัญหำในชวี ติ 10. มมี ำรยำทในกำรอำ่ น สาระท่ี 2 : การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนกำรเขียน เขียนสื่อสำร เขียนเรียงควำม ย่อควำม และเขียนเร่ืองรำวใน รูปแบบต่ำง ๆ เขยี นรำยงำนข้อมลู สำรสนเทศและรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำอยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ ตวั ชีว้ ัด : 2. เขยี นขอ้ ควำมโดยใช้ถ้อยคำไดถ้ ูกต้องตำมระดบั ภำษำ 4. เขยี นย่อควำม 6. เขยี นอธบิ ำย ชี้แจง แสดงควำมคดิ เหน็ และโต้แย้งอยำ่ งมีเหตผุ ล 7. เขยี นวเิ ครำะห์ วจิ ำรณ์ และแสดงควำมรู้ ควำมคิดเหน็ หรือโตแ้ ยง้ ในเรอ่ื งต่ำง ๆ 9. เขยี นรำยงำนกำรศึกษำค้นควำ้ และโครงงำน ๑๐1.0ม. ีมมามี รำยรายทำใทนใกนากรำอร่าเนขยี น สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สำมำรถเลือกฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ และพูดแสดงควำมรู้ ควำมคิดควำมรู้สึกใน โอกำสตำ่ ง ๆ อยำ่ งมีวจิ ำรณญำณ และสร้ำงสรรค์ ตัวช้ีวัด : 1. แสดงควำมคดิ เหน็ และประเมินเรือ่ งจำกกำรฟงั และกำรดู 4. พูดในโอกำสต่ำง ๆ ไดต้ รงตำมวัตถปุ ระสงค์ 5. พูดโน้มนำ้ วโดยนำเสนอหลักฐำนตำมลำดบั เนื้อหำอย่ำงมเี หตุผลและน่ำเช่ือถอื 6. มีมำรยำท ในกำรฟงั กำรดู และกำรพดู

๕ ฌ5 สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขำ้ ใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปลย่ี นแปลงของภำษำและพลงั ของภำษำ ภมู ิปญั ญำทำงภำษำ และรักษำ ภำษำไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชำติ ตัวชว้ี ดั : 1. จำแนก และใชค้ ำภำษำตำ่ งประเทศ ท่ใี ชใ้ นภำษำไทย 2. วิเครำะห์โครงสรำ้ งประโยคซบั ซ้อน 3. วเิ ครำะหร์ ะดบั ภำษำ 6. กำรแตง่ บทร้อยกรอง สาระที่ 5 : วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 : เข้ำใจและแสดงควำมคิดเห็น วิจำรณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่ำงเห็นคุณค่ำ และนำมำประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง ตวั ชี้วดั : 1. สรปุ เนอ้ื หำวรรณคดวี รรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ในระดบั ทย่ี ำกยิ่งขึ้น 2. วิเครำะห์วถิ ไี ทย และคุณคำ่ จำกรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่ำน 3. สรุปควำมรู้และข้อคดิ จำกกำรอำ่ น เพ่อื นำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ 4. ทอ่ งจำและบอกคุณค่ำบทอำขยำนตำมท่ีกำหนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณค่ำตำม ควำมสนใจและนำไปใชอ้ ำ้ งองิ

๖ ญ โครงสรา้ งรายวิชา 6 รหสั วชิ ำ ท23101 รำยวิชำ ภำษำไทย ชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศกึ ษำ 256๒ รวมเวลำ 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต หน่วยท่ี ช่ือหน่วย มำตรฐำน สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนกั กำรเรยี นรู้ กำรเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) คะแนน 1 จับใจจบั ตำหำควำมสำคัญ ท1.1 ม.3/1 การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อย 12 10 ม.3/3 ม.3/5 รก้อรยอกงรอเปง็นเทปาน็ นทอำ� งนเอสงนเาสะนไาดะ้ถหูกไู ตดอ้ ้ถงกู เขต้าอใงจเขา้ ใจ 10 ม.3/7 ความหมาย จับใจความสาคัญและ ม.3/9 รายละเอยี ดของเรื่องทอ่ี า่ นได้ครบครัน ม.3/10 วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่าน ท2.1 ม.3/2 อย่างสมเหตุสมผล แสดงความคดิ เห็น ท3.1 ม.3/6 โตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน ประเมินความ ท4.1 ม.3/3 ท5.1 ม.3/1 ถกู ต้องของข้อมูล และมีมารยาทในการอ่าน เขียนข้อความด้วยลายมือที่อ่านงา่ ยใช้ ม.3/3 ถ้อยคาถกู ต้องตามระดับภาษา การเขยี นคา ขวัญ มีมารยาทในการเขียน มมี ารยาทใน การฟัง การดู และการพูด สรุปเนื้อหา ประเมินคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรม นา คนวำ� าคมวราู้แมลรู้แะลขะ้อขค้อิดคไปดิ ปไปรปะยรุกะยตกุใ์ ชต้ใ์ นชช้ในวี ติชวีจิตริงจริง แลว้ ทอ่ งจา บอกคุณคา่ บทอาขยานตามที่ กาหนด และบทร้อยกรองทมี่ ีคณุ คา่ ตาม ความสนใจ 2 พถิ ีพิถนั สรำ้ งควำมคิด ท1.1 ม.3.2 เข้ำใจควำมแตกต่ำงของคำที่มีควำมหมำย 1๒ ม.3/3 โดยตรงและโดยนยั จับใจควำมสำคัญและ ม.3/5 รำยละเอยี ดของสิ่งท่อี ่ำน วิเครำะห์ วจิ ำรณ์ ม.3/7 และประเมนิ เรือ่ งท่อี ่ำนโดยใชก้ ำร ม.3/9 เกปารียเปบรเทียียบบเทเยี พบื่อใเหพ้ผ่อื ู้อใหำ่ นผ้ เ้อู ขา่ ำ้ นใจเขไดา้ ใด้ จีขไน้ึดด้ ขี ้นึ วิจำรณค์ วำมสมเหตสุ มผล ลำดบั ควำม ท2.1 ม.3/4 ควำมเป็นไปได้ ตคี วำมและประเมินคำ่ ม.3/9 แนวคิดทีไ่ ด้จำกงำนเขยี น เพ่ือนำไปใช้ ม.3/10 แก้ปัญหำ ยอ่ บทควำมนิทำนและขำ่ ว เขียน ท3.1 ม.3/1 เรขำยี นงำรนายแงลาะนโคแรลงะงโำคนรงองยานำ่ งอมยีมา่ำงรมยีมำทารใยนากทำใรน ท4.1 ม.3/1 เกขาียรนเขแยี สนดแงสคดวำงคมวคาดิ มเหคดิน็ เจหำน็กจกาำกรกฟางั รแฟลงัะและ ท5.1 ม.3/1 กำรดู จำแนกและใช้คำท่ีมำจำก ภำษำตำ่ งประเทศ สรปุ ควำมร้แู ละข้อคิด ม.3/3

ฎ 7 ๗ หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วย มำตรฐำน สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนกั 3 กำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน พินิจคุณคำ่ 4 จำกกำรอ่ำนวรรณคดี วรรณกรรม ไป 10 พฒั นำพำที ประยกุ ต์ใช้ ท1.1 ม.3/3 - กำรระบุใจควำมสำคญั และรำยละเอียด 1๓ 10 ม.3/4 ม.3.5 ของข้อมลู ที่สนับสนุน จำกเรื่องที่อ่ำนแล้ว ม.3/7 เขียนกรอบแนวคิด ผังควำมคิด บันทกึ ม.3/9 ยอ่ ควำมและรำยงำน ท2.1 ม.3/7 - กำรวเิ ครำะห์ วจิ ำรณ์ ประเมินเรือ่ งที่อ่ำน ท3.1 ม.3/1 โดยใชก้ ลวิธกี ำรเปรียบเทยี บ และวจิ ำรณ์ ม.3/4 ควำมสมเหตสุ มผลกำรลำดับควำม และ ท5.1 ม.3/2 ควำมเปน็ ไปได้ของเรื่อง และกำรตีควำม ม.3/3 ประเมนิ คุณค่ำ ตลอดจนแนวคดิ ทไี่ ด้จำก งำนเขียนอย่ำงหลำกหลำยเพ่ือนำไปใช้ แกป้ ัญหำในชวี ิต โดยกำรเขยี นวิเครำะห์ วจิ ำรณ์ และแสดงควำมรู้ ควำมคิดเห็น หรอื โต้แยง้ ในเร่ืองต่ำง ๆ สำมำรถแสดงควำม คิดเหน็ ประเมินเร่ืองจำกกำรฟังและกำรดู - กำรพูดในโอกำสตำ่ ง ๆ กำรพูดโนม้ นำ้ วใจ ได้ตรงตำมวตั ถปุ ระสงค์ - กำรวเิ ครำะหว์ ิถไี ทย และคุณค่ำ จำากรวรณรณ คดีและวรรณกรรมที่อำ่ น แล้วสรปุ ควำมรู้ และข้อคดิ จำกกำรอำ่ น เพื่อนำไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ท1.1 ม.3/3 - กำรระบใุ จควำมสำคญั รำยละเอยี ดของ 1๑ ม.3/5 ขอ้ มลู ทีส่ นบั สนนุ และวิเครำะห์ วจิ ำรณ์ ม.3/7 ประเมินเร่ืองที่อำ่ นโดยใช้กลวิธกี ำรตำ่ งๆ ม.3/8 กำรวิจำรณ์ควำมสมเหตสุ มผลกำรลำดับ ม.3/9 ควำม และควำมเปน็ ไปไดข้ องเร่อื ง ท2.1 ม.3/6 - กำรวิเครำะห์เพ่ือแสดงควำมคิดเห็นโต้แย้ง ม.3/7 เก่ียวกับเรอื่ งทอ่ี ่ำน ท3.1 ม.3/4 - กำรตีควำมและประเมินคุณค่ำ บอก ท4.1 ม.3/2 บแนอกวแคนิดวทค่ีไดิ ดท้จไี่ ำดก้จงาำกนงาเขนียเขนียอนยอ่ำยง่าหงลหำลกากหหลลำายย ท5.1 ม.3/1 เพ่ือนำไปใช้แก้ปญั หำในชีวิต ม.3/2 - กำรเขียนอธิบำย ชแ้ี จง แสดงควำมคดิ เห็น ม.3/3 และโตแ้ ยง้ อย่ำงมีเหตุผล กำรเขยี น วิเครำะห์ วจิ ำรณ์ และแสดงควำมรู้ ควำม คิดวาเหมน็ คดิหเรหอื ็นโตหแ้ ยร้งือใโนตเแ้ร่ือยง้ ตใน่ำงเรๆื่องตา่ งๆ

ฏ 8 ๘ หน่วยท่ี ช่อื หน่วย มำตรฐำน สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนัก 5 กำรเรียนรู้ กำรเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน บทกวที ่ชี นื่ ชอบ - กำรพดู ในโอกำสตำ่ งๆ ไดต้ รงตำม 10 วัตถุประสงค์ กำรโต้วำที กำรอภปิ รำย - กำรวเิ ครำะห์โครงสรำ้ งประโยคซับซอ้ น - กำรสรุปเน้ือหำวรรณคดีวรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถ่ิน วเิ ครำะห์วิถไี ทย และ คุณค่ำ จำกรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอำ่ น ในระดบั ท่ยี ำกยิ่งขึน้ แล้วสรปุ ควำมร้แู ละ ท1.1 ม.3/3 ขอ้ คิดจำกกำรอ่ำน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ใน 1๒ ม.3/5 ชีวติ จรงิ ม.3/7 - กำรระบใุ จควำมสำคัญและรำยละเอยี ด ม.3/9 ของขอ้ มูลท่ีสนับสนนุ และวิเครำะห์ วจิ ำรณ์ ประเมินเร่ืองที่อ่ำนโดยใช้กลวิธีกำร กเปารเียปบรเยีทบียเบทียสบำมสำารมถาวรจิ ถำวริจณา์ครณวำ์คมวาม ท2.1 ม.3/7 สมเหตสุ มผลกำรลำดบั ควำม และควำม ท3.1 ม.3/5 เป็นไปได้ของเร่ือง ท4.1 ม.3/6 - กำรตคี วำม ประเมินคุณค่ำ และแนวคิดท่ี ท5.1 ม.3/1 ได้จำกงำนเขยี นอย่ำงหลำกหลำยเพ่ือ ม.3/4 นำไปใชแ้ ก้ปัญหำในชวี ติ - กำรเขียนวิเครำะห์ วิจำรณ์ และแสดง ควำมรู้ ควำมคิดเห็น หรือโต้แย้งในเร่ือง ต่ำงๆ - กำรพูดโนม้ น้ำวโดยนำเสนอหลักฐำน ตำมลำดับเนอ้ื หำอย่ำงมเี หตผุ ลและ นำ่ เช่อื ถอื - กำรแตง่ บทรอ้ ยกรองโคลงส่ีสภุ ำพ - กำรสรุปเน้ือหำวรรณคดีวรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถน่ิ ในระดับท่ียำกขึน้ ตำม 3 ควำมสนใจและนำไปใชอ้ ้ำงองิ ประเมินผลระหว่างภาคเรยี น ประเมนิ ผลปลายภาคเรียน 3 รวมทัง้ สน้ิ 60 หมายเหตุ ไม่รวมเวลำประเมินผลระหว่ำงภำคเรียนและปลำยภำคเรียน

๙ 9ฐ แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประกำร ชื่อ-สกุลนักเรยี น..................................................................................................ชนั้ /ห้อง............................ เลขท…่ี ……………….. คำชี้แจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด / ลงในช่องท่ตี รงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รำยกำรประเมิน ระดบั คะแนน ๐ อันพึงประสงค์ ๓๒๑ ๑. รักชำติ ศำสน์ ๑.๑ มคี วามรัก และภมู ิใจในความเป็นชาติ กษัตริย์ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนา ๑.๓ แสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดตี ่อสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ๒.๑ ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บการสอน และไม่ลอกการบา้ น ๒. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ ๒.๒ ประพฤติ ปฏิบตั ิ ตรงตอ่ ความเปน็ จริงต่อตนเอง ๒.๓ ประพฤติ ปฏบิ ตั ิตรงต่อความเปน็ จริงตอ่ ผู้อ่ืน ๓.๑ เข้าเรียนตรงเวลา ๓. มีวนิ ัย ๓.๒ แตง่ กายเรยี บร้อยเหมาะสม ๓.๓ ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บทว่ี างไว้ ๔. ใฝ่หำควำมรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ๔.๒ มีการจดบันทกึ ความรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ๔.๓ สรปุ ความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยำ่ งพอเพยี ง ๕.๑ ใช้ทรพั ยส์ ินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยดั ๕.๒ ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ ๕.๓ ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน ๖. มงุ่ มั่นในกำร ๖.๑ มคี วามต้ังใจ และพยายามในการทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ทำงำน ๖.๒มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ ๗. รกั ควำมเปน็ ไทย ๗.๑ มีจติ สานกึ ในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา่ และปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย ๘.๑ ร้จู กั การให้เพ่อื สว่ นรวม และเพือ่ ผอู้ ื่น ๘. มจี ติ สำธำรณะ ๘.๒ แสดงออกถึงการมนี า้ ใจหรอื การใหค้ วามช่วยเหลือผู้อื่น ๘.๓ เขา้ รว่ มกจิ กรรมบาเพญ็ ตนเพอื่ ส่วนรวมเม่ือมโี อกาส รวม รวมคะแนน/เฉลยี่

เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน ๑๐ 1ฑ0 - พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ชิ ดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน คะแนน ๕๐ - ๖๖ ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม - พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั บิ างครั้ง ให้ ๐ คะแนน คะแนน ๔๐ - ๔๙ ระดับคณุ ภาพ ดี - พฤติกรรมที่ไม่ไดป้ ฏบิ ตั ิ คะแนน ๒๐ - ๓๙ ระดบั คุณภาพพอใช้ คะแนน ๐ - ๑๙ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ ลงชือ่ ......................................................................ผปู้ ระเมนิ (.....................................................................) สรุปผลกำรประเมิน ........... /................................/..................... ระดบั  ดเี ยย่ี ม  ดี  พอใช้  ปรับปรุง

๑๑ 11ฒ แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ชื่อ-สกุลนักเรียน..............................................................................................ชนั้ /หอ้ ง............................ เลขท่ี…………………… คำช้แี จง:ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี / ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดับคะแนน ระดบั คะแนน สมรรถนะดำ้ น รำยกำรประเมนิ ๓๒๑ ๐ ๑. ควำมสำมำรถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรับ – สง่ สาร กำรส่อื สำร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ๒. ควำมสำมำรถใน ๑.๓ ใชว้ ธิ ีการสื่อสารทเ่ี หมาะสม กำรคดิ ๑.๔ วเิ คราะหแ์ สดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตผุ ล ๒.๑ มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ๓. ควำมสำมำรถใน ๒.๒ มีทักษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสรา้ งสรรค์ กำรแกป้ ญั หำ ๒.๓ สามารถคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ๒.๔ มีความสามารถในการคดิ อยา่ งมรี ะบบ ๔. ควำมสำมำรถใน ๒.๕ ตัดสินใจแก้ปญั หาได้ กำรใช้ทกั ษะชีวิต ๓.๑ สามารถแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชญิ ได้ ๓.๒ ใชเ้ หตผุ ลในการแกป้ ัญหา ๕. ควำมสำมำรถใน ๓.๓ เข้าใจความสมั พันธแ์ ละการเปล่ียนแปลงในสังคม กำรใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๔ แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใชใ้ นการ แกไ้ ขปัญหา ๔.๑ สามารถทางานกล่มุ รว่ มกับผอู้ ่ืนได้ ๔.๒ ปฏบิ ัติตามบทบาทหนา้ ท่ี ๔.๓ ให้ความร่วมมือในการทางาน ๔.๔ ร่วมกิจกรรมสมา่ เสมอ ๔.๕ หลีกเลย่ี งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเอง ๕.๑ เลือกและใชเ้ ทคโนโลยไี ดเ้ หมาะสมตามวัย ๕.๒ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ๕.๓ ใชเ้ ทคโนโลยีในการแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ๕.๔ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี รวม รวมคะแนน/เฉลย่ี

เกณฑ์กำรให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน ๑๒ 1ณ2 - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน คะแนน ๕๐ - ๖๖ ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ชิ ดั เจนและบอ่ ยครั้ง ให้ ๐ คะแนน คะแนน ๔๐ - ๔๙ ระดับคณุ ภาพ ดี - พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ตั บิ างครัง้ คะแนน ๒๐ - ๓๙ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ - พฤติกรรมทีไ่ มไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ คะแนน ๐ - ๑๙ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง ลงชื่อ......................................................................ผปู้ ระเมิน สรปุ ผลกำรประเมนิ (.....................................................................) ระดบั  ดเี ย่ยี ม ........... /................................/.....................  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ

ด ๑๓ 13 แบบประเมนิ กำรคิดวเิ ครำะห์ ชื่อ-สกุลนกั เรยี น..............................................................................................ชั้น/หอ้ ง............................ เลขที่...................... คำช้แี จง:ใหผ้ ้สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด / ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน ระดบั คะแนน สมรรถนะด้ำน รำยกำรประเมิน ๓๒๑ ๐ ๑. ควำมสำมำรถใน ๑.๑ สามารถเลอื กใชข้ อ้ มูลไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และเหมาะสม กำรคดั สรรข้อมลู ๑.๒ สามารถจัดลาดบั ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ๑.๓ ประเมินความนา่ เชื่อถือของขอ้ มูลและเลอื กความคดิ หรอื ทางเลือกที่เหมาะสม ๒. ควำมสำมำรถใน ๒.๑ สามารถจบั ประเดน็ สาคัญและประเดน็ สนบั สนุนได้ กำรจบั ประเด็น ๒.๒ สามารถจับประเดน็ ใจความสาคญั ของขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ สำคัญ ๒.๓ เช่อื มโยงความสมั พันธร์ ะหวา่ งข้อมลู ความคดิ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องมีเหตผุ ล ๓.๑ วิเคราะหส์ ่งิ ท่ไี ดเ้ รียนรู้โดยผา่ นการไตร่ตรองอยา่ งมีเหตผุ ล ๓. ควำมสำมำรถใน ๓.๒ วเิ คราะห์ บอกความสาคญั ความสมั พนั ธห์ รอื ความคดิ รวบยอดของข้อมูลได้ กำรวเิ ครำะห์ ๓.๓ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเช่ือถือ ของสง่ิ ทเี่ รยี นรไู้ ด้ ๔.๑ สามารถตรวจสอบความถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑ์ได้อยา่ งตรงประเด็น ๔. ควำมสำมำรถใน ๔.๒ มกี ารทางานครบตามขนั้ ตอนการปรับปรงุ งานและผลงานบรรลุเป้าหมาย กำรสรุปคณุ คำ่ ๔.๓ อธบิ ายขนั้ ตอนการทางานและผลงานท่เี กดิ ขึน้ ท้ังสว่ นท่ดี แี ละส่วนทม่ี ีข้อบกพรอ่ ง ๕.๑ สามารถสรปุ สาระเชอื่ มโยงเพ่ือนามาวางแผนงาน โครงการได้ เช่น การเขียน ๕. ควำมสำมำรถใน โครงงาน รายงาน กำรสรปุ และ ๕.๒ สามารถสรุปเหตผุ ลเชิงตรรกะ และสร้างสงิ่ ใหมไ่ ด้ เชน่ การเขียนเรยี งความ อภิปรำย เขยี นเรอื่ งสนั้ ๕.๓ สามารถสรุป อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โตแ้ ย้ง สนบั สนนุ โนม้ น้าว โดยการเขียนส่ือสารในรูปตา่ งๆ เช่น ผงั ความคิด เป็นตน้ รวม รวมคะแนน/เฉล่ยี เกณฑก์ ำรให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน คะแนน ๑๒ – ๑๕ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม - พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน คะแนน ๘ - ๑๑ ระดบั คณุ ภาพ ดี - พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและบอ่ ยครงั้ ให้ ๑ คะแนน คะแนน ๔ - ๗ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนน ๐ - ๓ ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง - พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ิบางครัง้ ใใหห้ ้๐๐คคะแะนแนนน สรปุ ผลกำรประเมนิ -- พพฤฤตติกิกรรรรมมทไี่ทม่ีไไ่ มดไ่ป้ ดฏป้ บิ ฏตั ิบิ ัติ ระดับ  ดเี ยี่ยม ลงชอ่ื ......................................................................ผ้ปู ระเมิน  ดี (.....................................................................)  พอใช้ ........... /................................/.....................  ปรบั ปรุง

๑๔ 1ต4 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเรยี นของนกั เรยี นรำยบุคคล ความสนใจ การมีสว่ นรว่ มใน ความรับผดิ ชอบ คณุ ธรรมในการ เลขที่ ชอื่ -สกุล กระตือรือร้นใน การทากิจกรรม ต่องาน เรยี น เช่น ขยัน รวม การเรยี น เช่น ตอบคาถาม ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ซือ่ สัตย์ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ เกณฑ์กำรประเมิน ดี ระดบั คุณภำพ ๓ หมายถงึ พอใช้ ๙ – ๑๒ คะแนน = ดี ๒ หมายถึง ปรบั ปรุง ๕ – ๘ คะแนน = พอใช้ ๑ หมายถึง ๑– ๔ คะแนน = ปรับปรงุ

๑๕ 15ถ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเรยี นของนักเรียนรำยบคุ คล ประเด็นกำรประเมิน ๓ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑ ๑.ควำมสนใจ มีควำมสนใจและ ๒ ขำดควำมสนใจและ กระตือรอื รน้ ในกำรเรยี น กระตือรือร้นในกำรเรียน ควำมกระตอื รือร้น พดู คยุ ตลอดเวลำ มคี วำมสนใจและ นอกเร่ืองมำกกว่ำ ๓ คร้งั กระตือรือรน้ ในบำงเวลำ ขน้ึ ไป พูดคยุ นอกเร่ืองบำ้ ง ๑–๒ คร้งั ในคำบ ๒. กำรมสี ว่ นรว่ มใน มสี ่วนร่วมในกำรทำ มสี ่วนร่วมในกำรทำ ขำดกำรมสี ่วนรว่ มในกำร กำรทำกจิ กรรม เชน่ กจิ กรรมสมำ่ เสมอตลอด กิจกรรมสมำ่ เสมอตลอด ทำ� กิจกรรรรมมไไมม่ตต่ ออบบคค�ำำถถาำมม ตอบคำถำม คำบ ตอบคำถำมทุกครั้งที่ คำบ ตอบคำถำมท่ีครูถำม ท่คี รถู ำม ครูถำม ๑–๒ คร้งั ๓. ควำมรบั ผดิ ชอบ มคี วำมรบั ผิดชอบต่องำนที่ มีควำมรับผิดชอบต่องำน ขำดควำมรบั ผดิ ชอบตอ่ ตอ่ งำนที่ได้รบั มอบหมำย ได้รบั มอบหมำยอย่ำงดี ทไ่ี ด้รบั มอบหมำยแต่ งำนท่ไี ด้รับมอบหมำย ทำงำนเสร็จและสง่ ตำม ทำงำนไมเ่ สรจ็ และสง่ ไม่ ทำงำนไมเ่ สร็จและสง่ ไม่ เวลำทกุ ครัง้ ทนั เวลำ ๑–๒ ครัง้ ทนั เวลำ มำกกว่ำ ๓ ครงั้ ข้นึ ไป มีคุณธรรมในกำรเรียน มีคุณธรรมในกำรเรียน ขำดคุณธรรมในกำรเรียน โดยมีควำมขยัน ซื่อสัตย์ โดยมีควำมขยัน ซื่อสัตย์ โดยไมข่ ยนั เรยี น ๔. คุณธรรมในกำรเรียน และมีจิตสำธำรณะต่อครู และมีจิตสำธำรณะต่อครู ไม่ซ่ือสัตย์และไ ม่ มี จิ ต เช่น ควำมขยัน ซื่อสัตย์ แ ล ะ เ พ่ื อ น ทุ ก ค ร้ั ง ท่ี มี และเพื่อนบำ้ ง ๑–๒ คร้งั สำธำรณะต่อครูและเพอ่ื น มจี ิตสำธำรณะ โอกำส

๑๖116 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ จบั ใจจับตาหาความสาคัญ รหสั วิชา ท23101 รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เวลา 12 ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ัญหาใน การดาเนินชวี ิต และมนี ิสยั รักการอ่าน ม.3/1 อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีอา่ น ม.3/3 ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของขอ้ มูลที่สนับสนนุ จากเรอื่ งที่อ่าน ม.3/5 วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่ืองทอ่ี ่านโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรียบเทียบเพอ่ื ใหผ้ ู้อ่าน เข้าใจไดด้ ขี ึ้น ม.3/7 วจิ ารณค์ วามสมเหตสุ มผล การลาดบั ความ และความเปน็ ไปได้ของเรอ่ื ง ม.3/9 ตคี วามและประเมินคุณคา่ และแนวคิดทไี่ ดจ้ ากงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือ นาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชีวิต ม.3/10 มมี ารยาทในการอา่ น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ม.3/2 เขยี นข้อความโดยใชถ้ อ้ ยคาไดถ้ ูกตอ้ งตามระดบั ภาษา มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ ึก ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ม.3/6 มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ม.3/3 วเิ คราะห์ระดบั ภาษา มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่าและนามา ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ม.3/1 สรปุ เน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิน่ ในระดบั ท่ียากยิ่งขน้ึ ม.3/3 สรปุ ความรู้และข้อคดิ จากการอา่ นเพอ่ื นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

๑๗ 127 2 .สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเปน็ การอ่านออกเสียงมีลักษณะคลา้ ยการพดู ผอู้ ่านต้องฝึกการอ่านออก เสียงคาควบกล้า ร ล ใหช้ ัดเจน ร้จู ักการแบง่ วรรคตอนและฝึกบุคลกิ ท่าทางใหเ้ หมาะสม ๒. การอ่านออกเสียงร้อยกรองผู้อ่านต้องทาความเข้าใจฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์แต่ละประเภท อ่านออกเสียงคาให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธี การแบ่งวรรคตอน การอ่านรวบคา ใส่ลีลา น้าเสียง สื่ออารมณ์ ความรู้สึกให้เหมาะสมกับเน้ือหาของคาประพันธ์ที่อ่าน การฝึกอ่านออกเสียงร้อยกรองประเภทต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ จะทาให้เข้าใจถึงอารมณ์ความรู้สึกของเนื้อความน้ัน ๆ และถ่ายทอดออกมาด้วยน้าเสียงที่ไพเราะ น่าฟังและเป็นการพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการอ่าน ๓. บทอาขยานเป็นบทร้อยกรองท่ีผู้แต่งได้ถ่ายทอดความรู้ ความคิด คติสอนใจ แสดงแนวทางการปฏิบัติ ทเี่ หมาะสม โดยเลือกสรรถ้อยคาที่ประณีตไพเราะกินใจ เม่ือได้อ่านหรือได้ฟังจะเกิดความประทับใจ ซ่ึงสอดแทรก เน้ือหาสาระ ที่ควรค่าแก่การจดจาหรือนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน แสดงถึงเอกลักษณ์และมรดกของชาติ ควรคา่ แกก่ ารรกั ษาใหค้ งอยตู่ ลอดไป ๔. การอ่านเพ่ือสรุปใจความสาคัญของเร่ืองเป็นการอ่านท่ีต้องอาศัยทักษะการจับใจความสาคัญ ทาใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจส่ิงทีผ่ ู้เขยี นต้องการสอื่ สาร ๕. การตีความและประเมินคุณค่ารวมทั้งแนวคดิ ท่ีไดจ้ ากงานเขียนอยา่ งหลากหลาย ซึ่งงานเขียนประเภท ร้อยกรองก็เป็นงานที่ต้องอาศัยหลักการตีความและการประเมินคุณค่าจากเร่ือง เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาไปใช้ แก้ปัญหาในชวี ติ ๖. การอ่านวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีวรรณกรรมเป็นการอ่านเพ่ือพิจารณา คุณค่าด้านเน้ือหา คุณค่า ด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าด้านสังคม ที่สอดแทรกอยู่ในวรรณคดีวรรณกรรมเร่ืองนั้น ๆ ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ เพอ่ื นาคุณคา่ และขอ้ คิดไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนนิ ชีวิต ๗. การถอดคาประพันธ์เป็นการฝึกทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ โดยนาสาระสาคัญจากบทร้อยกรอง มาเขียนเรียบเรียงใหม่เป็นบทร้อยแก้ว แต่ยังคงใจความสาคัญไว้อย่างครบถ้วน ผู้อ่านต้องเข้าใจความหมาย ของคาศัพท์ และต้องอาศัยประสบการณ์ ซ่ึงการถอดคาประพันธ์จะทาให้ผู้อ่านเข้าใจเน้ือหาของบทร้อยกรอง เพมิ่ ข้นึ ๘. การอ่านเรื่องราวต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์ความสมเหตุสมผลลาดับความเป็นไปได้ของเร่ือง เพอ่ื ตีความ วิจารณ์ตามเน้ือหาสาระและสรุปผลเปรยี บเทยี บ ข้อดขี ้อด้อย เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ ๙. การศกึ ษาระดบั ภาษาจะทาใหส้ ามารถใช้ภาษาได้อยา่ งเหมาะสมถกู ต้องตามกาลเทศะ ๑๐. การวิเคราะหร์ ะดับภาษาจะทาใหเ้ ห็นข้อแตกต่าง ความเหมาะสมของการใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง ๑๑. คาขวัญเป็นงานเขียนสั้น ๆ กะทัดรัดใช้ภาษาที่สละสลวย มีสัมผัสคล้องจอง ทาให้จดจาได้ง่าย มีคตเิ ตอื นใจให้ข้อคดิ เชิญชวนใหป้ ฏบิ ัติหรือละเวน้ ๑๒. คาขวัญสร้างสรรค์ เปน็ ถ้อยคาคล้องจองเพ่ือเตือนใจ หรือแสดงเอกลักษณ์ของสิง่ ใดส่ิงหนึ่งใช้ภาษาที่ ส้ัน กะทดั รัดและสละสลวย มีสัมผสั คล้องจอง ทาให้จดจาได้งา่ ย

๑๘ 138 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 หลกั การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ 3.2 หลกั การออกเสยี งบทร้อยกรอง 3.3 ความหมายและความสาคัญของการทอ่ งจาบทอาขยาน 3.4 การอธิบายท่ีมาของวรรณคดีเรื่องพระอภยั มณีได้ 3.5 การสรุปเน้ือหาและอธิบายความหมายของคาศัพทใ์ นวรรณคดี เล่าเรือ่ งวรรณคดีแล 3.6 การวเิ คราะหว์ ถิ ีไทยและคุณค่าจากวรรณคดี 3.7 หลักการสรุปความร้แู ละข้อคิดที่ได้จากวรรณคดเี พ่ือการนาไปประยุกตใ์ ช้ 3.8 การวิจารณ์ความสมเหตุสมผลและประเมนิ ความถูกต้องของเรื่องที่อา่ น 3.9 ลักษณะและความสาคัญของระดบั ภาษา 3.10 การวิเคราะห์ระดบั ของภาษาได้ 3.11 หลกั การเขียนคาขวญั 3.12 การเขียนคาขวญั 4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุง่ มั่นในการทางาน 4. รักความเปน็ ไทย

๑๙ 149 6. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงานและเกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน 1. การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ระดับคุณภาพ เกณฑ์การประเมนิ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรบั ปรุง) อ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อา่ นออกเสยี ง อา่ นออกเสียง การอา่ นออกเสียง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกตอ้ ง ถูกต้อง บทรอ้ ยแกว้ ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอกั ขรวธิ ี ตามอักขรวธิ ี เสยี งดงั ชัดเจน เสียงดังชัดเจน เสียงดงั ชัดเจน เสียงดังชัดเจน เว้นวรรคตอน เว้นวรรคตอน เวน้ วรรคตอน แต่ยังต้อง เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ปรับปรุงเร่อื ง นา้ เสยี งนา่ ฟัง น้าเสียงน่าฟัง แต่น้าเสยี ง การเว้นวรรคตอน และเหมาะสม แตบ่ างช่วง ราบเรยี บ กับเรื่องที่อ่าน ตอ้ งปรบั ปรงุ ไม่น่าสนใจ ลีลาการอ่าน ใหส้ อดคล้อง เปน็ ธรรมชาติ กบั เนื้อหา 2. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพดว้ ยทานองเสนาะ ระดับคณุ ภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) เกณฑ์การประเมิน อา่ นออกเสยี ง อ่านออกเสยี ง อ่านออกเสยี ง อ่านออกเสียง ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง การอ่านออกเสยี ง ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวธิ ี บทร้อยกรอง เสียงดงั ชัดเจน เสียงดงั ชดั เจน เสียงดังชดั เจน เสยี งดงั ชดั เจน เวน้ จงั หวะเหมาะสม เว้นจังหวะเหมาะสม เว้นจงั หวะเหมาะสม แต่ยังต้องปรับปรุง สามารถทอดเสยี ง มีการทอดเสียง พยายามทอดเสยี ง เร่ืองการเวน้ จงั หวะ เออ้ื นเสียง เอือ้ นเสยี ง เออ้ื นเสียง และทว่ งทานอง และใชน้ า้ เสยี ง และใชน้ ้าเสียง และใช้นา้ เสยี ง ในการอ่าน แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ ได้ไพเราะ ในบางจังหวะได้ดี ในบางจงั หวะ แตย่ งั ทาได้ไมด่ นี ัก

๒๐ 250 3. การท่องจาบทอาขยาน ระดบั คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ทอ่ งจาบทอาขยาน ท่องจาบทอาขยาน ทอ่ งจาบทอาขยาน ทอ่ งจาบทอาขยาน เกณฑก์ ารประเมิน ได้ถูกต้องทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ได้ถูกต้องทุกคา ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ไม่มีตดิ ขดั ตกหล่น ไมม่ ีตดิ ขัด ตกหล่น ไม่มีตดิ ขัด ตกหล่น แต่มีตดิ ขัดบา้ ง การท่องจา ออกเสียงคาถูกต้อง ออกเสยี งคาถูกต้อง ออกเสยี งคาถูกต้อง ออกเสยี งคาบางคา บทอาขยาน ชดั เจนทกุ คา ชัดเจนทุกคา ชัดเจนทกุ คา ยงั ไมช่ ดั เจน เวน้ จงั หวะวรรคตอน เว้นจังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะวรรคตอน เว้นจงั หวะวรรคตอน ถกู ต้องทุกวรรค ถูกต้องทุกวรรค ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ถกู ต้องเป็นบางวรรค ใช้ระดับเสยี ง ใชร้ ะดับเสียง ใชร้ ะดบั เสียง ระดบั เสียงราบเรยี บ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ ไม่แสดงอารมณ์ ตามบทประพนั ธ์ ตามบทประพนั ธ์ ตามบทประพันธ์ ไดด้ ีมาก ได้ดี ไดพ้ อใช้ เกณฑ์การประเมินผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน ดมี าก ดี เกณฑ์การตดั สิน พอใช้ ระดบั คุณภาพ ๔ หมายถึง ปรบั ปรงุ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ๑ หมายถึง เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แต่ระดบั พอใช้ ขึน้ ไป

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ จับใจจับตาหาความสาคัญ เร่อื ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ขอบเขตเน้ือหา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ การอา่ นบทร้อยแกว้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ จุดประสงค์ ดา้ นความรู้ ขน้ั นา ๑. วีดิ ิทีทศั ศั นน์ ์การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ อธิบายหลกั การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ๑. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า “ถ้านักเรียนได้รับ https://www.youtube.com/watch?v=FUh1u ด้านทกั ษะ/กระบวนการ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ได้ถูกต้องเหมาะสม เชิญให้ออกมาอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วหน้าช้ันเรียน uq7puw กบั เรื่องที่อา่ น นักเรียนมีวิธีการอ่านอย่างไรให้ผู้ฟังเกิดความประทับใจ” ๒. ใบความร้เู ร่ือง การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ด้านคณุ ลักษณะ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ โดยนักเรียนสามารถแสดงความคิดเหน็ ได้อยา่ งอิสระ ๓. ใบงานที่ ๑ เรื่องการอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ๒. มุง่ มน่ั ในการทางาน ๒. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการวัดแ ละ ๔. ใบงานท่ี ๒ เรอื่ งการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ประเมนิ ผลใหน้ กั เรยี นทราบ ขนั้ สอน ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. ครใู หน้ ักเรยี นชมวีดิที ศัศนน์ ์การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแก้ว อ่านข่าว บทความ สารคดี ผ่านเสยี งตามสายใน นกั เรียนสงั เกตวิธีการอ่าน จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นวิเคราะห์ตาม โรงเรียน หวั ข้อตอ่ ไปน้ี ลงในสมุดบนั ทึกของนักเรยี น ๑. การออกเสยี งอักขรวิธี ร ล คาควบกลา้ ๒. การแบ่งวรรคตอนการอา่ น ๓. การใช้นา้ เสยี ง สีหนา้ และแววตา ๔. การแต่งกายและบุคลกิ ท่าทางการอา่ น 261 ๒๑

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ จับใจจบั ตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ๒. นักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ จากการสงั เกตและการ กวาเิ ครรวาิเคะรหา์จะาหกจ์ สางิ่ กทส่นี ง่ิ ทักเี่นรักยี เนรยีจนดจบดันบทนั กึ ทลกึงใลนงใสนมสุดมุดครคเู ขรูเียขนยี น ประเดน็ คาตอบของนักเรยี นบนกระดานตามหวั ข้อทีก่ าหนด ให้นักเรยี นจดบนั ทึกเพิ่มเตมิ ประเด็นวิเคราะหข์ องนกั เรียนใน สว่ นทขี่ าด ๓. นักเรียนศกึ ษาใบความรู้ เร่ือง การอ่านออกเสยี งบทร้อย แกว้ ๔. ใหน้ กั เรยี นจับค่กู บั เพ่ือนในห้อง ฝกึ การอา่ นออกเสยี งจาก ใบงานที่ ๑ และใบงานที่ ๒ การอา่ นออกเสยี งร้อยแก้ว นกั เรยี นกับคู่สลับกนั อา่ นจากนนั้ ใหเ้ พอ่ื นสงั เกตวธิ ีการอา่ น และแนะนาแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งใหก้ บั คู่ของนักเรียน ครแู นะนา เพ่ิมเติมเก่ียวกบั มารยาทในการอ่าน ครูนัดหมายใหน้ ักเรยี น ทดสอบการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ นอกเวลาเรียน ขนั้ สรปุ ๑. นักเรียนรว่ มกนั บอกประโยชน์และการนาความรทู้ ีไ่ ดไ้ ป ประยกุ ต์ใช้ ๒. นกั เรียนเขยี นสรปุ ความรูท้ ่ีได้จากการศึกษาเรื่อง การอ่าน ออกเสียงบทร้อยแกว้ ลงในสมุดบันทกึ ของนักเรียน 272 ๒๒

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ จับใจจบั ตาหาความสาคญั แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรือ่ ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ๓. ครูแนะนาแหลง่ ศึกษาข้อมูลเพม่ิ เติมเกย่ี วกับการอ่านออก เสียงร้อยแกว้ เชน่ ห้องสมดุ หนังสอื วชิ าภาษาไทย เว็บไซต์ เพ่ือใหน้ ักเรียนไดใ้ ช้เป็นแหลง่ ศึกษาเพ่มิ เตมิ ๔. ครูแนะนาให้นกั เรยี นหาโอกาสอ่านออกเสยี งรายการ ประชาสัมพันธเ์ สียงตามสายของโรงเรียน 23 8 ๒๓

๒๔ 294 ๗. การวดั ผลและการประเมินผล สิง่ ที่ต้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครื่องมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ใชค้ าถาม คาถาม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ๑. อธบิ ายหลักการอา่ นออก เสยี งบทร้อยแก้ว ทดสอบการอา่ นออก แบบประเมนิ การ ร้อยละ ๘๐ ด้านทักษะ/กระบวนการ เสยี ง กาอรา่ อนา่ อนอกอเกสเยีสงยี ง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรื่องท่ี สังเกตคณุ ลักษณะอันพึง แบบสงั เกต รอ้ ยละ ๘๐ อา่ น ประสงค์ คณุ ลักษณะอันพึง ดา้ นคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ๒. มุง่ ม่นั ในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่อื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ที.่ .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ........................................................................................................................................ ................................... ลงช่ือ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............

๒๕ 1205 ใบความรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หนว่ ยท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่ือง การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาท่ี ๓ จดุ ประสงค์ อธิบายหลักการอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ ๑. ความหมายของการอ่านออกเสียง การอา่ นออกเสยี ง คือ การเปลง่ เสียงตามอักษร ถอ้ ยคา และเครอื่ งหมายตา่ ง ๆ ท่ีกาหนดไว้ใหถ้ ูกต้อง ชัดเจน เป็นที่เข้าใจแก่ผู้ฟัง การอ่านออกเสียงถือเป็นการสื่อความหมายที่ก่อให้เกิด “ทักษะ” (วาสนา บุญสม, ๒๕๔๑ : ๒๒) ดงั ต่อไปนี้ ๑) เกิดทักษะในการเปลง่ เสยี งให้ชัดเจน ๒) เกดิ ทักษะในการใช้อวยั วะท่ีออกเสียงไดถ้ ูกต้อง ๓) เกดิ ทกั ษะในการออกเสียงควบกล้าได้ถกู ต้อง ชดั เจนย่งิ ข้ึน ๔) เกดิ ทกั ษะในการวิเคราะห์คาทอ่ี ่านมากขนึ้ ๕) เกิดทกั ษะในการเปล่งเสยี งตามรูปตัวอักษรควบกล้าได้อย่างคล่องแคล่ว ๒. หลักเกณฑใ์ นการอา่ นออกเสยี งร้อยแกว้ หลกั เกณฑท์ ว่ั ไปในการอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว (ฟองจันทร์ สขุ ย่งิ และคณะ, ๒๕๕๔ : ๓-๔) มดี งั นี้ ๑. ก่อนอ่านควรศึกษาเร่ืองที่อ่านให้เข้าใจโดยศึกษาสาระสาคัญของเร่ืองและข้อความทุกข้อความ เพือ่ แบ่งวรรคตอนในการอา่ นไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒. อ่านออกเสยี งดงั พอเหมาะกับสถานทีแ่ ละจานวนผู้ฟงั ใหผ้ ูฟ้ งั ได้ยินทั่วถงึ กนั ไม่ดงั หรือค่อย จนเกินไป ๓. อ่านให้คล่อง ฟังรื่นหูและออกเสียงให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ชัดถ้อยชัดคา โดยเฉพาะตัว ร ล หรือ คาควบกล้าตอ้ งออกเสียงให้ชดั เจน ๔. อา่ นออกเสยี งให้เป็นเสียงพดู อยา่ งธรรมชาตทิ ส่ี ดุ เน้นเสียงและถ้อยคาตามนา้ หนักความสาคัญของ ใจความ ใชเ้ สยี งและจังหวะใหเ้ ป็นไปตามเน้ือเรื่อง เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจงั โกรธ ๕. อ่านออกเสียงให้เหมาะกับประเภทของเรือ่ ง รู้จักใส่อารมณ์เหมาะสมตามเนอ้ื เร่ือง ขณะที่อา่ นควร สบสายตาผ้ฟู ังในลกั ษณะที่เป็นธรรมชาติ ๖. การอ่านในท่ีประชุมต้องจับหรือถือบทอา่ น ๓. ข้อควรคานึงในการอา่ นบทรอ้ ยแก้ว ๑. ศึกษาเร่อื งทีอ่ ่านให้เข้าใจสาระสาคญั ของเร่ือง อารมณ์ และวตั ถปุ ระสงค์ของผู้เขียนท่ตี ้องการสื่อถงึ ผูอ้ ่าน ๒. อ่านคาภาษาไทยให้ถกู ตอ้ งตามอักขระวิธี ชดั วรรค ชดั ถอ้ ย ชัดคา โดยเฉพาะคา ร ล หรือคาควบกล้า ๓. แบ่งวรรคตอนในการอ่าน และอ่านเคร่อื งหมายวรรคตอนให้ถกู ต้อง

๒๖ 1216 ๔. มีสมาธใิ นการอา่ น ไม่อ่านผิด อ่านตก อ่านเพิ่ม หรืออ่านผิดบรรทัด กวาดสายตาจากซา้ ยไปขวา อา่ นไปอีกบรรทดั ได้อย่าว่องไวและแมน่ ยา ๕. อา่ นด้วยนา้ เสยี งทีเ่ ป็นธรรมชาติ เหมือนเสียงพูด มลี ีลาและอารมณ์ตามเนื้อเร่ืองทอ่ี ่าน เน้นคา สาคญั และคาท่ีต้องการให้เกดิ ภาพพจน์ ๖. อ่านออกเสียงดังพอประมาณ ไม่ตะโกน หรืเสียงเบาเกินไป ถ้าอ่านออกเสียงผ่านไมโครโฟน ควรยืนให้สง่างาม ปากห่างจากไมโครโฟนพอเหมาะ เพ่อื มใิ ห้เสยี งหายใจเข้าไมโครโฟน ๗. ในระหวา่ งที่อ่านควรกวาดสายตาตามตัวอักษร สลับกับการเงยหนา้ ข้ึนสบตาผู้ฟงั อย่างเหมาะสม และเปน็ ธรรมชาติ ๔. คุณค่าของบทร้อยแก้ว ๑. ผูฟ้ งั ไดอ้ รรถรสจากถ้อยคาภาษาวรรณศิลป์ ๒. การอ่านดว้ ยน้าเสยี งไพเราะชดั เจน มจี งั หวะวรรคตอน ก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ๓. ได้เพิม่ พนู ความรจู้ ากผเู้ ขยี นเรียบเรียง ๔. สืบทอดวฒั นธรรมภาษาให้ย่ังยนื สืบไป ***********************************************************************

1227 ๒๗ ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาท่ี ๓ วันแห่งความรกั : วันวาเลนไทน์ ถ้าจะถามว่าวันแห่งความรักนั้นมีท่ีมาอย่างไร ใครๆ ก็คงอยากรู้ ก่อนท่ีจะรู้เรื่องราวของวันแห่งความ รัก อยากใหถ้ ามใจตัวเองว่า อยากให้มีวันแห่งความรักมาถึงเราบา้ งไหม อยากให้มีคนรกั เรา และเราก็อยากรัก คนอ่ืนด้วยมีบ้างไหม คนที่จะตอบคาถามนี้ได้ดีก็คงจะต้องเป็นคนที่มีความรักอยู่ในหัวใจ เพราะวันน้ีเป็นวันท่ี สง่ ความรกั ถงึ กัน เปน็ วันพเิ ศษสาหรบั คนท่ีมีความรัก วันที่ 14 กุมภาพันธข์ องทกุ ปี เชื่อกันวา่ ในวันน้ี “คิวปิด เทพเจา้ แหง่ ความรัก” จะแผลงศรมาปกั อกบรรดาชายหญิงทั้งหลายใหเ้ กิดความรักต่อกนั และกนั มีเร่ืองเล่าสืบต่อกันมาว่า วันวาเลนไทน์ มีต้นเค้ามาจากเทศกาลลูเปอร์คาเลีย (Lupercalia) ซ่ึงเป็น เทศกาลท่ีชาวโรมันโบราณจัดขึ้นเพ่ือเป็นเกียรติแก่ยูโนเทวีแห่งสตรีเพศ การสมรสและการให้กาเนิด ชายชาว โรมนั จะติดชื่อหญงิ สาวทจ่ี ะเป็นคู่ของตนในระหวา่ งเทศกาลนี้ไว้ทีแ่ ขนเสื้อ หญิงชายจะแลกเปลี่ยนของขวัญกัน ฝ่ายหญิงมักจะได้ถุงมืออบน้าหอม หรือเคร่ืองประดับต่างๆ ต่อมาชื่อ “ลูเปอร์คาเลีย” ได้กลายมาเป็นวันที่ ระลึกของ “เซนต์วาเลนไทน์” ผู้ซึ่งเล่ือมใสในครสิ ตศ์ าสนาอย่างแรงกล้า และคอยให้ความช่วยเหลือชาวครสิ ต์ ที่ถูกตามล่าจากกษัตริย์เคลาเดียสที่ 2 แห่งโรมันผู้เกลียดชังชาวคริสต์มาก จนในท่ีสุดตนเองต้องถูกประหาร ชีวิต แท้จริงแล้ว ถ้าจะถามว่าวันวาเลนไทน์คืออะไร ก็คงต้องบอกตามที่มาของวันน้ีว่า วันวาเลนไทน์เป็นวนั ที่ ฉลองการราลึกถึงนักบุญวาเลนไทน์ผู้ซ่ึงถูกประหารชีวิตเมื่อหลายร้อยปีก่อนนั้นเอง ความดีของท่านได้ กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักที่คนยกย่องท่ัวไปเล่ากันมาว่า พิธีเก่าๆ ยังคงได้รับการสืบทอดต่อมาดังที่ กล่าวกันว่าในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 17 หญิงสาวจะรับประทานไข่ต้ม และปักใบของต้นเบย์ ๕ ใบ ไว้ที่หมอน ก่อนเข้านอนในคืนวันวาเลนไทน์ เช่ือกันว่า กาารรกกระรทะาทด�ำังดกัลง่ากวลจ่าะทวาจใะหท้ฝ�ันำใเห็น้ฝคันู่ชีวเิหตใ็นนคอูน่ชาีวคิตตใ(นวิภอานาญคาณต (ววงั ิภศาะณ2า5ณ2ว2ังศ: ะ17๒๕) ๒๒ : ๑๗) เทศกาลวาเลนไทน์ในช่วงต่อมา จะเริ่มมีการแลกเปลี่ยนการ์ดวาเลนไทน์กันแทนของขวัญ เช่ือกันว่า ดุ๊กแห่งออร์ลีนส์เป็นบุคคลที่เริ่มทาการ์ดวาเลนไทน์เป็นคนแรก ในขณะที่ถูกคุมขังอยู่ในหอคอยแห่งลอนดอน ในปี ค.ศ. 1515 เขาได้เขียนโคลงเก่ียวกับความรักหรือ “วาเลนไทน์” ให้แกภ่ รรยาของเขาในฝร่ังเศส และใน คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ชายหนุ่มและหญิงสาวท่ีเปน็ คู่รักกัน ก็ทาการ์ดแลกเปลี่ยนกัน การ์ดวาเลนไทน์ ได้เริ่มแพร่หลายมายังประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างสงครามกลางเมือง และไม่นานหลังจากน้ัน ก็กลายมา เป็นวนั สาคัญวนั หน่งึ ของทั่วโลกทเี ดียว ในประเทศไทยปัจจุบัน นอกเหนือจากการมอบการ์ดวาเลนไทน์แล้ว หญิงชายยังนิยมส่งดอกกุหลาบ แดงให้แก่กัน บางคนให้เฉพาะดอกกุหลาบแดงเป็นสื่อแทนความรักหรือใช้ดอกกุหลาบแดงบอกความในใจ ของตนให้กับคนท่ีตนรักทราบก็มี บางคนให้ท้ังการ์ดวาเลนไทน์ และดอกกุหลาบ บางคนก็จะมีของท่ีระลึก อ่ืน ๆ ทีส่ วยงามมอบไปพร้อมๆ กบั ดอกกหุ ลาบและการด์ วาเลนไทน์กม็ ี การใช้ส่ือตา่ งๆ แทนความรกั ดงั กล่าว ไมเ่ พียงแต่บอกรักกนั เฉพาะกลุ่มวยั รุ่นหนมุ่ สาวเทา่ น้ัน ยงั ขยาย วงกว้างออกไปสู่กลุ่มเพื่อนต่อเพื่อน และยังเป็นกลุ่มลูกมอบส่ือความรักแทนความรักของลูกที่มีต่อพ่อแม่ด้วย เช่นกัน ภาพการสอื่ ความรกั จากกล่มุ ต่างๆ นบั เปน็ ภาพแห่งความสวยงาม ความอบอุ่น ความรัก และปรารถนา ดีต่อกัน ขอเพียงแต่อย่าเป็นภาพท่ีขัดต่อวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาวไทยก็น่าชื่นใจแล้วสื่อรัก ท่ีมอบแก่กัน สิ่งเหล่านี้พอจะบอกให้เราทราบได้ว่า เรื่องราวของวาเลนไทน์ยังคงได้รับการสืบทอด และอยูใ่ นความทรงจาของมนษุ ย์ พอๆ กบั การท่หี ญิงชายอยากจะบอกความในใจของตนใหแ้ กค่ นที่ตนพึงพอใจ และความรกั ที่อยากจะมอบให้ เพราะใครๆ กท็ ราบกันดอี ยู่แล้วว่า ความรกั เป็นสงิ่ ท่ยี ง่ิ ใหญแ่ ละมคี ่ากว่าส่งิ ใดๆ ประดับ จนั ทรส์ ุขศรี

1238 ๒๘ ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หน่วยที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรื่อง การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ รายวชิ า พ้นื ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศึกษาที่ ๓ บทกลอนพระอภัยมณี ตอนนางผเี สื้อลักพระอภัยมณี อสรุ ผี เี ส้อื แสนสวาท เหน็ ภูวนาถน่ิงไปกใ็ จหาย เออพอ่ คณุ ทลู หวั ผัวขา้ ตาย ราพณร์ ้ายลบู ต้องประคององค์ เหน็ อ่นุ อยรู่ ู้วา่ สลบหลบั ยังไมด่ บั ชนมช์ พี เป็นผยุ ผง พ่อทูลหัวกลวั นอ้ งนีม้ ่นั คง ดว้ ยรูปทรงอัปลกั ษณ์เป็นยักษ์มาร จาจะแสร้งแปลงร่างเป็นนางมนษุ ย์ ให้ผาดผดุ ทรวดทรงส่งสัณฐาน เหน็ พระองค์ทรงโฉมประโลมลาน จะเกย้ี วพานรักใคร่ดังใจจง แลว้ อ่านเวทเพศยกั ษ์ก็สูญหาย สกนธ์กายดงั กินนรนวลหง เอาธารามาชโลมพระโฉมยง เขา้ แอบองค์นวดฟ้ันค้นั ประคอง บทกลอนพระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเส้อื สมุทร ฝ่ายเงอื กนา้ นอนกลงิ้ นง่ิ สดบั กติ ติศัพทส์ องแจง้ แถลงไข รู้ภาษามนุษย์แน่ในใจ จะกราบไวว้ อนวา่ ใหป้ ราณี คอ่ นเขย้ือนเลื่อนลุกข้ึนท้งั เจบ็ ยงั มึนเหนบ็ น้อมประณตบทศรี พระผ่านเกล้าเจ้าฟ้าในธาตรี ขา้ ขอชีวิตไวอ้ ย่าใหต้ าย พระราชบตุ รฉุดลากลาบากเหลือ ดังหนงั เนื้อน้จี ะแยกแตกสลาย ทัง้ ลูกเตา้ เผ่าพงศ์ก็พลดั พราย ยังแต่กายเกอื บจะด้นิ สิน้ ชวี นั พระองค์เล่าเขาก็พาเอามาไว้ เศรา้ พระไทยทกุ ข์ตรอมเหมือนหม่อมฉนั ขอพระองค์จงโปรดแก้โทษทัณฑ์ ชว่ ยผ่อนผันใหต้ ลอดรอดชีวา บทกลอนพระอภัยมณี ตอนศรสี วุ รรณเข้าเมืองรมจกั ร ท้งั สามพราหมณเ์ ขา้ ประคองแล้วรอ้ งไห้ น้าตาไหลพรั่งพรายทั้งซา้ ยขวา ต่างนบนอบปลอบหนอ่ กษัตรา อย่าโศกาตรอมนักจงหกั ใจ อนั กาเนิดเกดิ มาในหล้าโลก สุขกบั โศกมไิ ด้สิ้นอยา่ สงสัย ซ่งึ เกิดเหตุเชษฐาเธอหายไป ก็ยังไมร่ เู้ หน็ ว่าเปน็ ตาย ควรจะคดิ ติดตามแสวงหา แลน่ นาวาไปในวนชลสาย แมน้ พระพี่มิได้ม้วยชวี าวาย กด็ รี า้ ยจะไดพ้ บประสบกัน ข้าทั้งสามก็จะตามเสดจ็ ดว้ ย ผดิ ชอบชว่ ยไปกวา่ จะอาสญั จงดบั ทรงโศกาอยา่ จาบัลย์ จะเนิน่ วันเสียเปล่าไม่เขา้ ยา

๒๙ 1249 เกณฑ์การประเมนิ การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ประเดน็ การ ระดบั คะแนน ประเมนิ ๔ ๓ ๒๑ ออกเสยี งอักขร ออกเสยี งอักขร ออกเสียงอักขร ออกเสยี งอักขร อักขรวธิ ี ตวั สะกด ควบกลา้ ตัวสะกด ควบกล้า ตวั สะกด ควบกล้า ตวั สะกด ควบกล้า ถูกต้องทุกแห่ง ถูกต้องแต่ยงั มผี ดิ อยู่ ส่วนใหญ่ไมถ่ ูกตอ้ ง ไมถ่ ูกต้อง น้าเสยี ง/ เสียงดังชดั เจน บา้ ง อารมณ์ สอดแทรกอารมณ์ เสียงดังพอสมควร เสยี งเบา เสียงเบาขาด ความถูกตอ้ ง เหมาะสมกับเร่ือง สอดแทรกอารมณ์ สอดแทรกอารมณ์ ความชดั เจน ในการอ่าน การเวน้ วรรคตอน เหมาะสมกับเรอื่ ง เหมาะสมกบั เร่ือง ขาดการสอดแทรก บคุ ลิกท่าทาง จงั หวะ ลีลาถูกต้อง อารมณ์ สมบูรณ์ การเว้นวรรคตอน การเว้นวรรคตอน การเว้นวรรคตอน มีความเชื่อมนั่ ทา่ ทาง จงั หวะถกู ต้อง ถูกต้องแต่ขาด ไม่ถูกต้องทง้ั จังหวะ สมั พนั ธก์ ับเน้ือเรื่อง แตข่ าดลลี า จงั หวะและขาดลีลา และขาดลลี า เหมาะสม มีความเชอ่ื มนั่ ทา่ ทาง ขาดความเชื่อมัน่ ขาดความเช่ือม่นั สัมพันธ์กับ ทา่ ทางสมั พันธก์ บั ทา่ ทางไม่สมั พันธ์ เน้อื เร่ืองบางส่วน เนือ้ เรอ่ื งบางสว่ น กับเนื้อเร่ือง ระดับคณุ ภาพ ๑๓ – ๑๖ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ ดี คะแนน ๕–๘ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑–๔ หมายถึง ปรับปรุง คะแนน

๓๐ 1350 แบบประเมนิ การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ รายการประเมนิ /คะแนน ท่ี ชื่อ-นามสกุล อกั ขรวิธี น้าเสยี ง/ ความ บุคลิก รวม ่ผาน 1 (๔ คะแนน) อารมณ์ ถูกต้องใน ท่าทาง ไ ่มผ่าน 2 (๔ คะแนน) การอา่ น (๔ คะแนน) 3 (๔ คะแนน) 4 5 6 7 8 9 10 (ลงช่อื )………………….....................ผ้ปู ระเมิน (……………………..…………………………) ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ 31 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ จบั ใจจับตาหาความสาคัญ เร่อื ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง เวลา ๑ ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ข้ันนา ๑. วีดที ัศนก์ ารอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ๑. ครูถามคาถามเพ่ือทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่ผ่านมา ๒. ใบงานเร่ือง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง จุดประสงค์ “บทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองแตกตา่ งกันอย่างไร” และ ดา้ นความรู้ “การอ่านบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองมีหลกั การอ่าน หลกั การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง อยา่ งไร” ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ๒. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรวู้ ธิ กี ารวัดและประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงาน ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ให้นักเรยี นทราบ อธิบายหลักอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง ข้นั สอน เหมาะสมกบั เรื่องท่ีอา่ น ๑. นกั เรยี นชมวดี ิที ศั น์การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง จากนน้ั ให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ ดา้ นคณุ ลักษณะ วธิ กี ารอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง นักเรยี นจดบันทึกลงใน ๑. ใฝ่เรียนรู้ สมดุ บนั ทึก ๒. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๒. นกั เรียนอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองแบบธรรมดา ๓. รกั ความเปน็ ไทย จากใบความรู้ที่ ๑ เร่อื ง การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ครใู ห้นกั เรียนอา่ นออกเสยี งแบบธรรมดา ครแู นะนาเรื่อง การแบง่ วรรคตอน และการอ่านเพอ่ื เอื้อสมั ผัส ครูนา นักเรยี นอา่ นออกเสียงแบบทานองเสนาะ นักเรยี นสงั เกต วิธีการแบง่ วรรคตอน การอ่านรวบคา การเอ้ือนเสยี ง จากน้ันให้นกั เรียนฝึกอ่านพร้อมกัน 1361

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ 32 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ จบั ใจจบั ตาหาความสาคญั เรอ่ื ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๓. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ ๓ – ๔ คน ครูมอบหมายให้ นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ฝกึ อ่านออกเสียงบทร้อยกรองแบบ รอ้ ยแก้วและแบบทานองเสนาะ ใหส้ มาชกิ ในทกุ คนใน กลุ่มสลับกันอา่ นใหเ้ พื่อนสมาชกิ ฟังท่ลี ะคน โดยให้เพอ่ื น ชว่ ยแนะนาวธิ กี ารอ่านให้กบั เพื่อนและช่วยฝกึ ให้กับเพ่ือน ท่ีอ่านไม่คล่อง ๔. ครนู ัดหมายใหน้ ักเรยี นแต่ละคนมาทดสอบอา่ นออก เสยี งบทรอ้ ยกรองแบบรอ้ ยแก้วและแบบทานองเสนาะ นอกเวลาเรียน ครูอธบิ ายวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลการ ทดสอบอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองใหน้ ักเรียนทราบ ขนั้ สรุป ๑. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปหลกั การอ่านออกเสียงบท รอ้ ยกรองใหถ้ ูกต้องและไพเราะ ๒. นกั เรยี นสรุปความรูท้ ่ไี ด้จากการเรยี นในชั่วโมงลงใน สมดุ บนั ทึกความยาวประมาณ ๓ บรรทัดเสรจ็ แลว้ นาส่ง ครู 1372

33 1383 ๗. การวัดผลและการประเมินผล สงิ่ ท่ตี ้องการวัด/ประเมนิ วิธกี าร เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ใช้คาถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ ๑. หลกั การอ่านออกเสยี งบท ทดสอบการอา่ นออก บทร้อยกรอง รอ้ ยละ ๘๐ รอ้ ยกรอง เสียงบทรอ้ ยกรอง ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อย สงั เกตพฤติกรรม รอ้ ยละ ๘๐ กรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับ คุณลกั ษณะอนั พงึ เรอื่ งที่อ่าน แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ ๒ ด้านคณุ ลกั ษณะ ประสงค์ คุณลักษณะอันพงึ ผ่านเกณฑ์ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน ประสงค์ ๓. รักความเป็นไทย ๘. บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดือน..........พ.ศ.............

34 1394 ใบความรู้เรอื่ ง การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรอ่ื ง การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง รายวิชา พน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาท่ี ๓ ๑ ความหมายของการอา่ นออกเสียงร้อยกรอง การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง เปน็ การอ่านทมี่ ุง่ ให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ ซาบซ้ึงในรสของคาประพนั ธ์ ซ่งึ จะต้องอ่านอย่างมีจังหวะ ลีลา และท่วงทานองตามลักษณะคาประพันธแ์ ต่ละชนดิ การอ่านบทร้อยกรอง อา่ นได้ ๒ แบบ ดังน้ี ๑. อ่านออกเสยี งธรรมดา เป็นการอา่ นออกเสยี งพูด ตามปกติเหมอื นกับอา่ นร้อยแกว้ แต่มจี งั หวะวรรคตอน ๒. อ่านเป็นทานองเสนาะ เป็นการอ่านมีสาเนียงสูง ต่า หนัก เบา ยาว สั้นเป็นทานอง เหมือนเสียงดนตรี มีการเอื้อนเสียง เน้นสัมผัส ตามจังหวะ ลีลาและท่วงทานองตามลักษณะบังคับ ของบทประพนั ธ์ให้ชัดเจนและเหมาะสม ๒. หลักในการอา่ นออกเสียงร้อยกรอง ๑. ศกึ ษาลักษณะบงั คบั ของคาประพนั ธ์ เชน่ การแบ่งจังหวะจานวนคาสัมผัสเสยี ง วรรณยุกต์เสียงหนกั เบา ๒. อา่ นใหถ้ กู ต้องตามลักษณะบงั คับของคาประพันธ์ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย ๓. อา่ นตามบังคับสัมผัส เช่น กัด-ตะ-เว-ที เพ่อื ให้สมั ผสั กับ สัตย์ ๔. อ่านออกเสยี ง ร ล คาควบกล้าใหช้ ัดเจน ๕. อ่านออกเสียงดงั ให้ผู้ฟงั ไดย้ นิ ท่วั ถึง ไม่ดังหรอื เบาจนเกินไป ๖. คาทร่ี บั สัมผสั กันต้องอ่านเนน้ เสยี งใหช้ ดั เจน ถา้ เปน็ สมั ผสั นอกต้องทอดเสยี งให้มีจงั หวะยาวกว่าธรรมดา ๗. มีศิลปะในการใชเ้ สียง เอื้อนเสียง หรอื หลบเสยี ง และทอดจงั หวะใหช้ ้าจนจบบท ๓. ข้อควรคานงึ ในการอ่านบทร้อยกรอง การอา่ นบทรอ้ ยกรอง หรือทานองเสนาะ ให้ไพเราะและประทับใจผฟู้ งั มีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. กอ่ นอ่านทานองเสนาะควรรกั ษาสุขภาพใหด้ ี มีความพรอ้ มท้ังกายและใจ จะชว่ ยใหม้ นั่ ใจมากขน้ึ ๒. ตั้งสติให้มั่นคง ไม่หวั่นไหว ต่ืนเต้น ตกใจ หรือประหม่า ควรมีสมาธิก่อนอ่านและขณะกาลังอ่าน เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ ขอ้ ผดิ พลาด ๓. ก่อนอา่ นควรตรวจดบู ทอ่านอย่างครา่ วๆ และรวดเรว็ เพอื่ พจิ ารณาคายาก หรือการผนั วรรณยกุ ต์ ๔. พจิ ารณาบททจี่ ะอ่าน เพื่อตดั สินใจ เลือกใสอ่ ารมณ์ในบทอ่านให้เหมาะสมสอดคล้องกับเน้ือความ ๕. หมั่นศึกษาและฝึกฝนการอ่านทานองเสนาะจากผู้รู้เกี่ยวกับกลวิธีต่าง ๆ อยู่เสมอจึงจะทาให้ สามารถอา่ นทานองเสนาะได้อย่างไพเราะ ๔. คุณคา่ ของการอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ๑. ผู้ฟังเหน็ ความงามของบทรอ้ ยกรองที่อ่าน ๒. ผฟู้ ังได้รับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ง ๓. เกิดความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ ๔. จดจาบทร้อยกรองไดร้ วดเรว็ แมน่ ยา

35 2305 เรอ่ื ง การอ่านออใกบเส๖๕งียา..นงบชชเรวว่่ทือ่ยยรงสก้อบืลกยอ่ทากมรอรอเดอกา่ วงลนัฒาอรจนอาติ ธยกใรจวเรสใชิมหียาใง้เนปบพก็นทื้นาครรฐนอ้อาอา่ยนน่อกภทนราอาโษยนงานอไงหทเนยสนว่ รยาหะทสั ไ่ี ว๑ทเ้ ป๒แน็ ๓ผมน๑รก๐ดาก๑รขจภอดั างกชคาาเรรตยีเิ รนยี ทนี่ ร๑ู้ที่ช๒้ันมธั ยมศึกษาที่ ๓ สตรมี สี องมือ อหงั การ์ของดอกไม้ มน่ั ยดึ ถอื ในแกน่ สาร เกลยี วเอน็ จักเป็นงาน มใิ ชร่ ่านหลงแพรพรรณ สตรีมสี องตีน ไว้ป่ายปีนความใฝฝ่ ัน ยดื หยดั อยูร่ ่วมกัน มหิ มายมัน่ กนิ แรงใคร สตรีมีดวงตา เพ่ือเสาะหาชีวิตใหม่ มองโลกอยา่ งกวา้ งไกล มใิ ชค่ อยชมอ้ ยชวน สตรมี ีดวงใจ เป็นดวงไฟไมผ่ นั ผวน สร้างสมพลังมวล ดว้ ยเธอลว้ นก็คอื คน สตรมี ชี ีวติ ล้างรอยผิดด้วยเหตุผล คุณค่า “เสรชี น” มิใชป่ รนกามารมณ์ ดอกไม้มีหนามแหลม มใิ ช่แยม้ คอยคนชม บานไวเ้ พ่ือสะสม ความอดุ มแหง่ แผน่ ดนิ ( จริ ะนนั ท์ พิตรปรีชา ) กระดูกสันหลัง ขา้ แต่สเู จา้ ชาวนา ขา้ ขอบชู า วา่ สเู ลิศมนษุ ยส์ ดุ แสวง รูปรา่ งกายาดาแดง เจ้าเป็นหัวแรง กระดูกสนั หลังรฐั เรา เล้ยี งเทศเล้ียงไทยไม่เบา ดว้ ยข้าวปลาเอา แลกเปลี่ยนสินค้าควรเมือง ครั้งกจิ พาณิชยร์ ุ่งเรือง เจา้ ไมฝ่ ดื เคือง วดั วาอารามจาเรญิ กินบา้ งเล่นบา้ งอยา่ งเพลิน ทาบญุ เหลือเกนิ กบั วดั กับพระดะไป ยามยากยังพอทนได้ ทองสะสมไว้ ขายหมดจานองไรน่ า โอ้สผู ู้พร่องศึกษา อดทนนักหนา โทษใดไปโ่ ทษโทษกรรม สูไมม่ ากปากมากคา สเู ป็นคนทา ทาได้เท่าไรทาไป ขาดแคลนแสนเขญ็ เปน็ ไฉน สูเจ้าอยไู่ ด้ ดว้ ยดวงหนา้ ย้มิ พรม้ิ พราย อ่ิมประโยชนโ์ ปรดคนท้ังหลาย เออื มกายใจสบาย ฤๅพ่อเพือ่ นยากแหง่ สยาม เป็นไฉนอย่างไรกต็ าม เจา้ ยอดพยายาม เป็นผู้คู่ควรบชู า (โครงกลอนครเู ทพ เล่ม ๒ : เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

21 กระดูกสนั หลัง ขา้ แตส่ เู จ้าชาวนา ข้าขอบูชา ว่าสเู ลิศมนษุ ย์สดุ แสวง เจา้ เป็นหัวแรง รปู ร่างก�ำย�ำด�ำแดง ด้วยข้าวปลาเอา กระดูสนั หลงั รฐั เรา เจ้าไม่ฝืดเคอื ง เล้ยี งเทศเลี้ยงไทยไม่เบา ทำ� บุญเหลอื เกิน แลกเปลย่ี นสนิ คา้ ควรเมอื ง ทองสะสมไว้ คร้งั กิจพาณชิ ยร์ ุ่งเรือง อดทนนกั หนา วัดวาอารามจำ� เริญ สูเป็นคนทำ� กินบา้ งเล่นบ้างอย่างเพลนิ สเู จา้ อย่ไู ด้ กบั วัดกับพระดะไป เอือมกายใจสบาย ยามยากยงั พอทนได้ เจา้ ยอดพยายาม ขายหมดจำ� นองไรน่ า โอ้สผู ูพ้ รอ่ งศึกษา โทษใดไปโทษโทษกรรม สไู มม่ ากปากมากคา้ ทำ� ได้เทา่ ไรท�ำไป ขาดแคลนแสนเข็ญเปน็ ไฉน ดว้ ยดวงหนา้ ย้มิ พริม้ พราย อม่ิ ประโยชน์โปรดคนท้งั หลาย ฤาพอ่ เพ่ือนยากแห่งสยาม เปน็ ไฉนอยา่ งไรก็ตาม เปน็ ผู้คู่ควรบชู า (โครงกลอนครเู ทพ เลม่ ๒ : เจา้ พระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี)

36 2326 เปน็ ไฉนอย่างไรกต็ าม เจา้ ยอดพยายาม เป็นผูค้ ู่ควรบชู า (โคลงกลอนครเู ทพ เลม่ ๒ : เจา้ พระยาธรรมศกั ด์ิมนตรี) เพลงชาตไิ ทย ธงชาตไิ ทย ไกวกวัด สะบดั พลว้ิ แลริว้ ๆสลับงามเป็นสามสี ผา้ ผนื นอ้ ยบางเบาเพียงเท่าน้ี แตเ่ ปน็ ท่ีรวมชวี ิตและจติ ใจ ชนรุ่นเยาว์ ยนื เรยี บระเบยี บแถว ดวงตาแน่วนิ่งตรง ธงไสว ประเทศไทย รวมเลอื ดเน้อื ชาติเช้ือไทย ฟังคราใดเลอื ดซ่านพลา่ นทัง้ ทรวง ผนื แผน่ ดินถิน่ น้ที พ่ี านัก เราแสนรักและแสนจะแหนหวง แผ่นดินไทย ไทยตอ้ งครองทั้งปวง ชพี ไมร่ ว่ งใครอยา่ ล้ามายา่ ยี เธอร้องเพลงชาตไิ ทยมั่นใจเหลอื พลชี พี เพื่อชาติที่รักสมศักดศ์ิ รี เพลงกระหึ่มก้องฟ้าก้องธาตรี แมน้ ไพรไี ด้ฟังยังถอนใจ แตส่ ่ิงหนึ่งซง่ึ ไทยรา้ วใจเหลอื คือเลอื ดเน้ือเปน็ หนอนคอยบ่อนไส้ บ้างหากินบนน้าตาประชาไทย บา้ งฝักใฝล่ ทั ธิชั่วน่ากลัวเกรง ทุกวนั นศ้ี กึ ไกลยงั ไม่ห่วง แต่หว่นั ทรวงศึกใกลไ้ ล่ข่มเหง ถา้ คนไทยหนั มาฆา่ กันเอง จะรอ้ งเพลงชาติไทยให้ใครฟัง โลกนม้ี ไิ ด้อยู่ด้วย โลก นภาลยั (ฤกษช์ นะ) สวุ รรณธาดา ทรายและสิ่งอืน่ มี ปวงธาตตุ ่ากลางดี มณี เดยี วนา ภาคจักรพาลมิรา้ ง ส่วนสร้าง ดลุ ยภาพ ภพนมี้ ใิ ช่หลา้ เพราะนา้ แรงไหน กาก็เจา้ ของครอง หงสท์ อง เดียวเอย เมาสมมตุ จิ องหอง ชพี ด้วย น้ามิตรแลง้ โลกมว้ ย หนิ ชาติ หมดส้นิ สขุ ศานต์ ฯ ( องั คาร กลั ยาณพงศ์ )

37 2337 แบบสังเกตกระบวนการการทางานกลุ่ม เรื่อง............................................................................................................................. ... ชื่อผถู้ ูกสงั เกต………………………………………………………..................................................... กลมุ่ …………………………………………………………………………………………………………………… ระดบั ความสนใจในการปฏบิ ัติ เรอ่ื งที่ รายการพฤติกรรมทส่ี งั เกต นอ้ ย ปานกลาง มาก ๑ การกาหนดหนา้ ทีส่ มาชกิ ในกลมุ่ ๑๒ ๓ ๒ การแสดงความคิดเหน็ การวางแผนการทางาน ๓ การรับฟังความคดิ เหน็ จากสมาชกิ ในกลุ่ม ๔ การตง้ั ใจทางานที่ไดร้ ับมอบหมายจากกลุ่ม ๕ ความรว่ มมอื ในการปรับปรุงผลงานของกลุม่ รวม รวมคะแนน (ลงช่ือ)……………………………………………............................หวั หน้ากลุ่ม………………………..

38 2348 แบบบันทกึ การสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล เลขที่ ช่ือ- นามสกุล รายการสังเกต รวม สรปุ ผล คะแนน สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ๑๒๓ ๔ ๔ ผา่ น ไม่ผา่ น ลงชอ่ื …………………....................…………..ผ้ปู ระเมนิ (......................................................) ครูผสู้ อน

39 2359 เกณฑก์ ารประเมินการอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ประเด็นการ ๔ ระดับคะแนน ๑ ประเมิน ออกเสียงอักขระ ๓๒ ออกเสียงอกั ขระ ตัวสะกด ควบกลา้ ออกเสยี งอกั ขระ ออกเสียงอักขระ ตัวสะกด ควบกลา้ อักขรวิธี ถูกต้องทุกแห่ง ตวั สะกด ควบกล้า ตัวสะกด ควบกล้า ไม่ถูกตอ้ ง เสยี งดงั ชดั เจนไพเราะ ถูกต้องแตย่ ังมีผดิ อยู่ ส่วนใหญ่ไมถ่ ูกต้อง นา้ เสยี ง/ สอดแทรกอารมณ์ บ้าง เสยี งเบาขาด อารมณ์ เหมาะสมกบั เรอื่ ง เสยี งดงั พอสมควรมี เสยี งเบา ความชดั เจน ความถกู ตอ้ ง การเว้นวรรคตอน ความไพเราะ สอดแทรกอารมณ์ ขาดการสอดแทรก ในการอ่าน จงั หวะ ลลี าถูกต้อง สอดแทรกอารมณ์ เหมาะสมกับเร่ือง อารมณ์ บคุ ลกิ ท่าทาง สมบูรณ์ เหมาะสมกับเรื่อง การเวน้ วรรคตอน มีความเช่ือมน่ั ท่าทาง ไม่ถูกตอ้ งท้งั จงั หวะ สมั พันธก์ บั เน้ือเรอื่ ง การเวน้ วรรคตอน การเว้นวรรคตอน และขาดลลี า เหมาะสม จังหวะถกู ต้อง ถกู ต้องแต่ขาด ขาดความเชื่อมนั่ แต่ขาดลลี า จงั หวะและขาดลลี า ทา่ ทางไมส่ มั พันธ์ มีความเชื่อม่ันทา่ ทาง ขาดความเช่ือม่ัน กับเน้ือเรื่อง สัมพันธก์ บั ท่าทางสมั พนั ธก์ บั เนือ้ เรือ่ งบางส่วน เน้อื เรื่องบางสว่ น ระดบั คณุ ภาพ ๑๓ – ๑๖ หมายถึง ดมี าก คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ ดี คะแนน ๕–๘ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑–๔ หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน

40 2460 แบบประเมินการอานออกเสยี งบทรอ ยกรอง รายการประเมนิ /คะแนน ที่ ชื่อ-นามสกลุ อักขรวธิ ี นา้ เสยี ง/ ความ บุคลิก ่ผาน (๔คะแนน) อารมณ์ ถกู ต้องใน ท่าทาง ไ ่มผ่าน (๔ คะแนน) การอา่ น (๔ คะแนน) รวม (๔ คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (ลงชอ่ื )………………….....................ผู้ประเมิน (……………………..…………………………) ………./………./……….


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook